The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่ม ศาสนาอิสลาม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by psorn6658, 2022-01-14 04:10:10

รูปเล่ม ศาสนาอิสลาม

รูปเล่ม ศาสนาอิสลาม

46

จนกระทง่ั กลายเป็ นสงครามกลางเมืองอยบู่ ่อยๆประชาชนในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตจ้ ึงไม่รังเกียจท่ีจะนบั
ถือศาสนาอิสลาม

4. ในการนบั ถือศาสนาอิสลามน้ี บรรดาเจา้ ผูค้ รองแควน้ และขา้ ราชการในราชสานกั เป็ นผูน้ บั ถือ
ก่อน แลว้ จึงเผยแพร่ต่อไปยงั ประชาชน เหตุผลท่ีเจา้ ผคู้ รองเมืองในหมู่เกาะอินโดนีเซียหนั ไปนบั ถือศาสนา
อิสลามน้นั นอกจากเพราะศาสนาอิสลามท่ีแพร่เขา้ มาไม่มีขอ้ บงั คบั อนั ใดที่ขดั ต่อความเช่ือถือหรือสถาบนั
ทางสังคมแต่เดิมแลว้ ก็เพราะศาสนาอิสลามยงั ให้ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจและการเมืองอีกดว้ ย กล่าวคือ
เจา้ เมืองและชนช้นั สูงในราชสานกั เป็ นผดู้ าเนินการคา้ ขายอยกู่ บั พอ่ คา้ ต่างชาติ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงกบั พ่อคา้
มุสลิมจากอินเดีย จึงเห็นวา่ การติดต่อคา้ ขายสะดวกข้ึน ถา้ หากหนั ไปนบั ถือศาสนาอิสลาม เพราะชาวมุสลิม
ถือว่ามุสลิมดว้ ยกนั น้นั คือพี่นอ้ งกนั ส่วนผลประโยชน์ 4 ทางการเมืองก็คือ ในสมยั คริสตศ์ ตวรรษท่ี 14 น้ี
บริเวณเมืองท่าต่างๆ ในสุมาตราและชายฝั่งชวาภาคเหนือ ตอ้ งการปลีกตวั ออกจากอานาจของอาณาจกั รมชั
ปาหิต ซ่ึงขณะน้ันยงั มีวฒั นธรรมแบบตนั ตระอยู่ ถา้ เจา้ เมืองต่างๆ ต่างหันไปนบั ถือศาสนาอิสลาม จะได้
อาศยั ศรัทธาในศาสนาสร้างความกลมเกลียวข้ึนในแว่นแควน้ ของตน ประชาชนท่ีเป็ นมุสลิมจะต่อตา้ น
อานาจของมชั ปาหิต ซ่ึงเป็นพวกนอกศาสนาไดอ้ ยา่ งเขม้ แขง็ ยงิ่ ข้ึน

ศาสนาอิสลามจะแพร่หลายไปอยา่ งกวา้ งขวางต้งั แต่สมยั คริสตศ์ ตวรรษที่ 15 เป็ นตน้ ไป ท้งั น้ีโดย
อาศยั การเผยแพร่ของบรรดาพอ่ คา้ ในอาณาจกั รมะละกา ซ่ึงรุ่งเรืองข้ึนในศตวรรษท่ี 15 และไดท้ าการคา้ ขาย
ติดต่อกบั เมืองต่างๆ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง พ่อคา้ เหล่าน้ีจะนาศาสนาอิสลามไปเผยแพร่
ตามเส้นทางการคา้ ของตนดว้ ย

47

ศาสนสถานของศาสนาอสิ ลาม

มสั ยดิ หรือ สุเหร่า เป็นสถานที่ใชป้ ระกอบศาสนกิจ มสั ยดิ เสมือนบา้ นของอลั ลอฮ์ ผทู้ ่ีเขา้ มสั ยดิ จะ
เสมือนเขา้ ใกลช้ ิด อลั ลอฮ์ ในบา้ นเรามกั จะเห็นกิจกรรมที่มุสลิมประกอบกิจกรรมต่างๆ เช่น ละหมาด สอน
หลกั การศาสนาแก่สมาชิกในชุมชน แต่ละชุมชนอาจจะมีกิจกรรมท่ีประกอบในมสั ยิดเหมือนกันบ้าง
แตกต่างกนั บา้ ง ซ่ึงส่วนใหญ่จะเนน้ กิจกรรมที่เนน้ กิจกรรมทางศาสนาเป็นสาคญั

ภาพท่ี 4 ศาสนสถาน มสั ยดิ หรือ สุเหร่า

ในศาสนสถานมีการนมสั การทุกวนั ศุกร์ เพ่ือให้ชาวมุสลิม ไดม้ าประชุมโดยพร้อมเพียงกนั เพื่อ
นมสั การพระผเู้ ป็ นเจา้ ร่วมกนั รับการอบรมศีลธรรม รับการสั่งสอนจากผมู้ ีความรู้ชาวมุสลิม นิยมนุ่มโสร่ง
และสวมหมวกผา้ เป็นเอกลกั ษณ์

มัสยดิ หรือ สุเหร่า เป็นสถานท่ีใชป้ ระกอบศาสนกิจ เป็นสถาปัตยกรรมแบบอิสลามภายในมสั ยดิ

เรียบง่าย พ้ืนโล่ง ไม่มีรูปป้ันภาพวาดใดๆท้งั สิ้น ไม่มีภาพมนุษย์ สัตวแ์ มแ้ ต่ภาพท่ีเก่ียวกบั พระอลั เลาะห์
หรือศาสดา ก็ไม่ให้มี (เป็ นสิ่งที่เป็ นขอ้ ห้ามในศาสนา)มีเพียงลวดลายธรรมดาเท่าน้ันสีที่มกั ใช้สีเขียว
ลวดลายแต่งตามหลกั แต่งตามหลกั ของอิสลามคือ จะไม่มีรูปป้ันภาพคนหรือสิ่งมีชีวิตอ่ืนๆลวดลายส่วน
ใหญ่ใชข้ อ้ ความจากอลั -กรุ อาน รูปทรงเลขาคณิตหรือลวดลายใบไม้ เถาวลั ยห์ รือดอกไม้

ภาพที่ 5 มสั ยดิ กลาง ปัตตานี ภาพท่ี 6 มสั ยดิ กลาง จงั หวดั สงขลา

48

นิกายของศาสนาอสิ ลาม

นกั วชิ าการอิสลาม มีทศั นะแตกต่างกนั ในการแบ่งจานวนนิกายต่างๆในโลกอิสลาม

1. บางท่านตีความหมายของคาว่า 73 จาพวกในท่ีน้ีว่าหมายถึงมุสลิมจะแตกแยกกนั มากมายหลาย
กลุ่ม ไม่ไดเ้ จาะจงวา่ ตอ้ งแตกออกเป็น 73 จาพวกพอดีตามตวั บทวจนะของท่านศาสดา(ศ)

2. บา้ งกล่าววา่ มีมากกวา่ 73 กลุ่ม

3. บา้ งวา่ มีนอ้ ยกวา่ 70 กลุ่ม

อยา่ งไรกต็ ามไม่วา่ ศาสนาอิสลามจะแตกออกเป็นหลายกลุ่ม แต่ศาสนาอิสลามที่ถูกตอ้ งมีเพียงกลุ่มเดียวส่วน
กลุ่มอื่นๆท่ีแตกแนวน้นั ถือเป็นกลุ่มนอกศาสนา เพราะท่ีอยขู่ องเขาเหล่าน้นั คือไฟนรก ดงั น้นั เราอาจจะสรุป
ไดว้ า่ ศาสนาอิสลาม มีนิกายเดียว (เพราะนิกายอื่นๆน้นั ไม่ใช่อิสลาม ณ.ท่ี อลั ลอฮฺ)

รายช่ือนิกายในศาสนาอิสลามจากตาราต่างๆ มานาเสนอรวมท้งั ได้ผนวกกลุ่มต่างๆเท่าท่ีปรากฏอยู่ใน
ปัจจุบนั เขา้ ไปดว้ ย ซ่ึงการนาเสนอน้ีอาจแตกต่างไปจากตาราท้งั หลาย แต่ก็ไม่น่าแปลกอะไร เพราะแมแ้ ต่
ตาราเก่ียวกบั นิกายต่างๆในอิสลาม แต่ละเล่มต่างไดก้ ล่าวไว้ ไม่เท่ากนั และแตกต่างกนั ไป ขอ้ สาคญั ท่ีสุดที่
ทุกท่านไม่ควรมองขา้ มก็คือ แต่ละกลุ่มย่อมมีหลกั ความเชื่อ(อะกีดะฮ์หรืออุซูลุดดีน)และหลกั ปฏิบตั ิ(อลั
ฟิ กฮห์ รืออะห์กาม)ท่ีเหมือนกนั และแตกต่างกนั เพราะฉะน้นั ทางเราใคร่ขอความร่วมมือจากทุกท่าน กรุณา
ส่งขอ้ มูลท่ีแทจ้ ริงจากมซั ฮบั (แนวทาง)ของท่านมายงั เรา เพ่ือเป็นขอ้ มูลแก่ผใู้ ฝ่ ศึกษาศาสนาอิสลามจะไดร้ ับ
ประโยชนจ์ ากท่าน เช่นเดียวกนั ทางเราจะพยายามนาเสนอขอ้ มูลนิกายต่างๆแก่ท่านดว้ ย อินชาอลั ลอฮ์

นิกายที่เป็ นแกนหลกั

จากที่ไดน้ าเสนอมา สามารถแบ่งกลุ่มแกนนาหลกั ๆได้ 6 กลุ่มดงั น้ีคือ

1. นิกายซุนนี(Sunni) เป็ นนิกายที่ชาวมุสลิมยดึ ถืออลั กุรอานและจริยาวตั รของพระมะหะหมดั เป็น
หลกั

2. นิกายชีอะห์(Sheite) เป็นนิกายท่ีมีความเช่ือมน่ั ในเอกภาพของพระเจา้ ในศาสนาท้งั หลาย และใน
อีหม่าม ซ่ึงสืบเน่ืองจากศาสดาเหล่าน้นั

3. นิกายซูฟี (Sufi) เป็นนิกายท่ีเริ่มข้ึนในเปอร์เซีย ปฏิเสธความหรูหราฟ่ ุมเฟื อย เนน้ ความศรัทธาต่อ
พระเจา้ ควรจะเป็นผเู้ คร่งครัดไม่ใยดีต่อทรัพยส์ มบตั ิและต่อโลก ควรบาเพญ็ ตบะและพรตอยา่ งสงบ

49

4. นิกายวาฮาบี(Wahabi) เป็ นนิกายที่ถือว่าอลั กุรอานเป็ นใหญ่และสาคญั ที่สุด ไม่เช่ือว่ามีผูอ้ ยู่
ระหวา่ งพระเจา้ กบั มนุษยแ์ ละประณามการขอพร ณ สุสานของศาสดามะหะหมดั

5. นิกายอิสมาอีลียะห์(Ismailia) เดิมนิกายน้ีมีทศั นะเช่นเดียวกบั นิกายชีอะห์ทุกอย่าง แต่ต่อมาได้
ขดั แยง้ กนั เร่ืองอิหม่าม

6. นิกายคอวาริจ(Khawarij) นิกายน้ีแยกตวั ออกเพราะไม่พอใจในการสิ้นชีวิตของอุสมาน อิหม่าม
องคท์ ่ี 3

คมั ภรี ์และตาราของศาสนาอสิ ลาม

คมั ภีร์ที่อลั เลาะฮ์ได้ประทานแก่เหล่าศาสนทูต ของพระองค์ เพื่อนามาประกาศเผยแผ่แก่ปวง
ประชาชาติใหเ้ หินห่างจากความมืดมนไปสู่ทางอนั สวา่ งไสวและเท่ียงตรง ซ่ึงคมั ภีร์ท่ีสาคญั มีอยู่ 4 คมั ภีร์ คือ

คมั ภีร์โตราห์ หรือเตารอต (Torah) ประทานแก่นบีมูซาหรือโมเสส (Moses) เป็นภาษาฮีบรู

คมั ภีร์ซะบูร์ (Zaboor) ประทานแก่นบีดาวดู หรือดาวดิ (David) เป็นภาษาอียปิ ตโ์ บราณ

คมั ภีร์อินญีล (Injeel or Gospel) ประทานแก่นบีอีซาหรือเยซู (Jesus) เป็นภาษาซีเรียโบราณ

คมั ภีร์อลั -กุรอาน (Al-Quran) ประทานแก่นบีมุฮมั มดั (Muhammad) เป็นภาษาอาหรับ อลั กุ
รอาน เป็นคมั ภีร์ฉบบั สุดทา้ ยที่สมบูรณ์ที่สุดและมุสลิมเช่ือวา่ ท่านนบีมุฮมั มดั เป็นนบีคนสุดทา้ ย

คมั ภีร์ต่างๆ ท้งั หมดน้ีสรุปคาสอนไดเ้ ป็น 2 ประการ คือ

1. สอนถึงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั พระเจา้

2. สอนถึงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั มนุษยด์ ว้ ยกนั

คมั ภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ คมั ภีร์อลั กุรอาน เป็ นคมั ภีร์ท่ีบนั ทึกคาส่ังของพระอลั เลาะห์ ซ่ึงมีเทวโองการ
ผ่านมาทางพระมะหะหมดั ในคมั ภีร์อลั กุรอาน คมั ภีร์อลั -กุรอานน้ีไดม้ ีการรวบรวมบนั ทึกไวด้ ว้ ยภาษา
อาหรับ เป็นรูปเล่มอยา่ งสมบูรณ์คร้ังแรกหลงั จากที่ท่านนบีสิ้นชีวิตแลว้ 5 เดือน

ลกั ษณะการบรรจุเน้ือหาในคมั ภีร์อลั -กุรอานแบ่งออกเป็ น “ซูเราะฮฺ” หรือ บทมี 114 บท (หรือจะ
เรียกว่า “บรรพ” ก็ได)้ แต่ละบทประกอบดว้ ย “อายะฮฺ” หรือโองการ มีท้งั หมด 6,666 โองการ (หรือจะ
เรียกว่า “วรรค” ก็ได)้ จานวนโองการของแต่ละบทจะไม่เท่ากนั ถา้ คิดเป็ นคาท้งั หมดในคมั ภีร์มีจานวนนบั
ได้ 77,639 คา แต่ละบท (ซูเราะฮฺ) จะมีช่ือหวั ขอ้ กากบั และบอกวา่ ทรงส่งขอ้ ความลงมา ณ ที่ไหน คือ ที่เมือง
เมกกะหรือที่เมืองเมดินะ ท้งั 2 เมืองน้ีมีเน้ือหาสาระแตกต่างกนั

50

พธิ ีกรรมในศาสนาอสิ ลาม

ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาที่ไม่มีนกั บวชหรือนกั พรตในการประกอบพิธีกรรม แต่มุสลิมทุกคนเป็น
ท้งั ฆราวาสและนกั บวชอยใู่ นตวั คนเดียวกนั และถือหลกั การของศาสนาเป็นธรรมนูญสูงสุดในการดารงชีวิต

หลกั ปฏิบตั ิทางศาสนกิจที่สาคญั ไดแ้ ก่ หลกั ปฏิบตั ิ ๕ ประการ มีดงั น้ี

1. การละหมาด

การละหมาด เป็ นการปฏิบตั ิศาสนกิจอยา่ งหน่ึงในศาสนาอิสลาม เพ่ือเป็ นการภกั ดีต่ออลั ลอฮฺ มุสลิม
ทุกคนจะตอ้ งละหมาด วนั ละ 5 เวลา เรียกว่า ละหมาดฟัรฎู ละหมาด หมายถึง การขอพร ความหมายทาง
ศาสนาหมายถึง การกล่าวและการกระทา ซ่ึงเร่ิมตน้ ดว้ ยตกั บีร และ จบลงดว้ ยสะลาม การละหมาดเป็ นการ
สร้างเอกภาพอย่างหน่ึงของมุสลิม เม่ือละหมาดมุสลิมทวั่ โลก หันหน้าไปทางกิบละฮฺ เพ่ือเคารพภักดี
ต่ออลั ลอฮฺ การละหมาด ฝึ กฝนใหเ้ ป็ นคนตรงต่อเวลา มีความอดทน และขดั เกลาจิตใจ ให้บริสุทธ์ิผอ่ งแผว้
ไม่ประพฤติสิ่งหน่ึงสิ่งใดในทางชวั่ ร้าย ดงั อลั กรุ อานระบุไว้ ความวา่

" และจงละหมาด แทจ้ ริงการละหมาดจะยบั ย้งั ความลามกอนาจารและส่ิงตอ้ งหา้ ม "

การละหมาดฟัรฏู อลั ลอฮฺทรงกาหนดใหม้ ุสลิมทาการละหมาด วนั ละ 5 เวลา คือ
1. ละหมาดศุบหฺ มี 2 ร็อกอะฮฺ เวลา เร่ิมต้งั แต่ฟ้าสางจนถึงก่อนดวงอาทิตยข์ ้ึน

2. ละหมาด ซุฮฺริ มี 4 ร็อกอะฮฺ เวลาเริ่มต้งั แต่ดวงตะวนั คลอ้ ยจนเงาของส่ิงหน่ึงส่ิงใดทอดยาว
ออกไปเท่าตวั

3. ละหมาดอศั รฺ มี 4 ร็อกอะฮฺ เวลา เริ่มต้งั แต่เม่ือเงาของสิ่งหน่ึงสิ่งใด ยาวกว่าเท่าตวั ของมนั
เอง จนถึงดวงอาทิตยต์ กดิน

4. ละหมาดมกั ริบ มี 3 ร็อกอะฮฺ เวลา เริ่มต้งั แต่ดวงอาทิตยต์ กดิน จนสิ้นแสงอาทิตย์ คือเวลา
พลบค่า

5. ละหมาดอิชาอฺ มี 4 ร็อกอะฮฺ เวลา เริ่มต้งั แต่เวลาค่าจนถึงก่อนฟ้าสาง

คุณสมบตั ิของผทู้ ี่ตอ้ งละหมาด

1. เป็นมุสลิม

2. บรรลุศาสนภาวะ

51

3. มีสติสมั ปชญั ญะ

4. ปราศจากหยั ฎฺ นิฟาส หรือ วลิ าดะฮฺ

ความสาคญั

ชาวไทยท่ีนับถือศาสนาอิสลามทุกคนตอ้ งปฏิบตั ิศาสนกิจอย่างเคร่งครัดเพราะ การละหมาดเป็ น
ศาสนกิจเพื่อเขา้ เฝ้าต่อเบ้ืองพระพกั ตร์ของพระผูเ้ ป็ นเจา้ อลั ลอฮ (ซุบฮาฯ) ดว้ ยความสงบ สารวม จึงเป็ น
หนา้ ท่ีของมุสลิมทุกคนที่จะตอ้ งปฏิบตั ิเป็นกิจวตั รประจาวนั วนั ละ ๕ เวลาตลอดไป

พธิ ีกรรม

ในการละหมาดน้นั จะเริ่มปฏิบตั ิต้งั แต่อายุ ๗ ขวบ การละหมาดฟัรดูท้งั ๕ เวลาคือ ซุบฮิ ดุฮรี อสั ริ มกั
ริบ และอีซา ซ่ึงมีจานวนรอกาอัตที่แตกต่างกันคือ ๒, ๔, ๔, ๓และ ๔ รอกาอัต ในรอกาอัตหน่ึง ๆ
ประกอบดว้ ยท่ายืน ท่ากม้ โคง้ (รูกูอ) ท่ากม้ กราบ(สุญูด) และท่าน่ัง ดว้ ยความสงบสารวม การกม้ กราบ
(สุญูด) มุสลิมจะกม้ กราบไดเ้ ฉพาะกบั พระเจา้ อลั ลอฮ (ซุบฮาฯ)องคเ์ ดียวเท่าน้นั เวลาละหมาดใหห้ นั หนา้ ไป
ทางกิบละอ ซ่ึงกิบละอของไทยอยทู่ างทิศตะวนั ตก สาหรับการละหมาดญุมอะฮ หรือชาวไทยมุสลิมเรียกว่า
"ละหมาดวนั ศุกร์" เป็ นละหมาดฟี รดูจาเป็ นหรือบงั คบั สาหรับผูช้ ายที่จะตอ้ งไปละหมาดรวมกนั โดยมี
อิหม่ามเป็นผนู้ าละหมาด ซ่ึงมีจานวน ๒ รอกาอดั หลงั จากการกล่าวคุฎบะฮ (คาอบรมของอิหม่าม) สถานที่
ควรเป็ นมสั ยิด หากบริเวณน้ันไม่มีมสั ยิดก็ให้รวมกนั เพื่อการละหมาดในสถานที่ที่สะอาด โดยให้มีผูท้ า
หนา้ ท่ี มุอซั ซิน กล่าวคุฎบะฮและนาละหมาด

เง่ือนไขของการละหมาด

นอกจากมีกฎเกณฑด์ งั กล่าวแลว้ ผลู้ ะหมาดยงั ตอ้ งคานึงถึงเง่ือนไขของการละหมาดอีก 8 ประการ คือ

1. ตอ้ งปราศจากหะดษั ใหญ่และหะดษั เลก็ คือ ตอ้ งไม่มีญะนาบะฮฺ หัยฎู นิฟาส หรือ วิลาดะฮฺ และตอ้ งมีน้า
ละหมาด

2. ร่างกาย เคร่ืองนุ่งห่ม และสถานท่ีละหมาด ตอ้ งสะอาด

3. ตอ้ งปกปิ ดเอาเราะฮฺ กล่าวคือ ผูช้ ายตอ้ งปิ ดต้งั แต่สะดือถึงหัวหัวเข่า ผูห้ ญิงจะตอ้ งปกปิ ดทว่ั ร่างกาย
ยกเวน้ มือและใบหนา้

4. ตอ้ งหนั หนา้ ไปทางกิบละฮฺ

5. ตอ้ งรู้วา่ ไดเ้ วลาละหมาดแลว้

52

6. ตอ้ งรับวา่ มุสลิมทุกคนตอ้ งปฏิบตั ิการละหมาด

7. ตอ้ งไม่ต้งั ใจเปลี่ยนการละหมาดเป็นอยา่ งอ่ืน

8. ตอ้ งห่างไกลจากส่ิงที่ทาใหเ้ สียละหมาด

ช่วงเวลา

การละหมาดเป็นการประกอบศาสนกิจที่สาคญั ยง่ิ สาหรับมุสลิมทุกคนท่ีจะตอ้ งปฏิบตั ิใหถ้ ูกตอ้ ง และ
ตามเวลาในแต่ละวนั โดยแบ่งประเภทของการละหมาดออกเป็น ๒ ประเภท คือ การละหมาดฟัรดู และการ
ละหมาดสุหนตั การละหมาดฟัรดูเป็นการละหมาดท่ีบงั คบั หรือจาเป็นตอ้ งปฏิบตั ิ หากไม่ปฏิบตั ิจะตอ้ งไดร้ ับ
การลงโทษ โดยแบ่งเป็นสองส่วนคือฟัรดูอิน เป็นละหมาดท่ีบงั คบั ตอ้ งปฏิบตั ิโดยไม่มีเง่ือนไขหรือขอ้ ยกเวน้
เฉพาะตน วนั ละ ๕ เวลา สาหรับผูช้ ายจะตอ้ งละหมาดญุมอะฮหรือละหมาดวนั ศุกร์ อีกส่วนหน่ึงคือ ฟัรดู
กิฟายะฮู เป็นละหมาดท่ีบงั คบั ตอ้ งปฏิบตั ิแต่มีเง่ือนไขในการปฏิบตั ิตามสถานการณ์ คือหากมีผปู้ ฏิบตั ิอยบู่ า้ ง
แลว้ จะไม่เป็ นบาปแก่คนท้งั หมด เช่น ละหมาดวนั อีด (คือการละหมาดในวนั อิดิลฟิ ตรี และอิดิลอฎั ฮา)
ละหมาดญะนาซะฮ (ละหมาดคนตาย) ส่วนการละหมาดสุหนตั เป็ นการละหมาดเน่ืองในเวลาและโอกาส
ต่างๆนอกเหนือจากการละหมาดฟัรดู

2. การปฏิญาณตน คากล่าวท่ีว่า “ไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลลอฮ์ เท่านั้น และมุฮัมมัดเป็ นบ่าวและ
ศาสนาทูตของอัลลอฮ์ ” ในการปฏิญาณน้ีคือ การยอมรับ ยอมจานนทุกอยา่ งที่เก่ียวกบั อิสลาม ทุกอยา่ งท่ีมา
จากคมั ภีร์อลั กุรอานและอลั ฮะดิษ คือซุนนะฮ์ที่มาจากท่านนะบี ซ่ึงเป็ นส่วนสาคญั ของการดาเนินชีวิต
ศาสนาอิสลามมีพระเจา้ เพยี งองคเ์ ดียว หา้ มสกั การะในส่ิงที่มนุษยส์ ร้างข้ึนมาและหา้ มกม้ กราบมนุษยด์ ว้ ยกนั
เอง เพราะมนุษยน์ ้นั มีฐานะเท่าเทียมกนั ถึงแมจ้ ะต่างกนั ที่สถานภาพ ฐานะ ตาแหน่ง และหนา้ ที่เราสามารถ
ให้ความเคารพไดแ้ ต่เป็ นในแนวทางอื่น เพราะมนุษยเ์ กิดมาจากดินเหมือนกนั มิไดม้ ีวิวฒั นาการมาจากลิง
ลิงเป็นสตั วอ์ ีกชนิดหน่ึงท่ีถูกสร้างข้ึนมา

3. การถือศีลอด

โดยการถือศีลอด เป็ นหลกั ปฏิบตั ิในศาสนบญั ญตั ิ 1 ใน 5 ประการ (ประกอบไปดว้ ย 1.นบั ถือพระ
เจา้ (อลั ลอฮฺ)องคเ์ ดียวและนบีมูฮาหมดั เป็นศาสนฑูตคนสุดทา้ ย 2.ดารงละหมาด 3.บริจาคทาน 4.ถือศีลอด 5.
บาเพญ็ ฮจั ยท์ ี่ นครเมกกะ) ซ่ึงชาวมุสลิมจะประพฤติปฏิบตั ิตน โดยการ...

53

- งดอาหาร น้า เพื่อจะไดร้ ับรู้ความยากลาบากคนที่ยากไร้ โดยจะเร่ิมต้งั แต่แสงพระอาทิตยข์ ้ึน แสง
พระอาทิตยเ์ ริ่มตกดิน จากการคานวนดูเวลาแสงพระอาทิตย์ ข้ึน-ตก ตามการคานวณของหลกั ดาราศาสตร์
อิสลาม วดั ตามพิกดั องศาแต่ละพ้ืนที่ และเม่ือถึงเวลาละศีลอด มกั จะรับประทานอินทผลมั โดยไดแ้ บบอยา่ ง
มาจากท่านนบีมูฮามดั ท้งั น้ี ผลอินทผลมั น้นั ประกอบดว้ ย น้าตาลฟรุกโตส กลูโคส น้า วิตามิน และแร่ธาตุ
โดยเฉพาะน้าตาลฟรุกโตส จดั เป็นสารอาหารท่ีใหพ้ ลงั งานแก่ร่างกายเป็นอยา่ งมาก และเขา้ สู่ร่างกายไดอ้ ยา่ ง
รวดเร็ว

- งด ละ เลิก จากสิ่งที่ไม่ดีท้งั หมด ไดแ้ ก่ มือ(ทาร้ายหรือขโมย), เทา้ (เดินไปสู่สถานท่ีตอ้ งหา้ ม), ตา (ดู
สิ่งลามก), หู ( การฟังส่ิงไร้สาระ ,ฟังเรื่องชาวบา้ นนินทากนั ), ปาก (การนินทาวา่ ร้ายคนอื่น โกหกโป้ปด)

- ทาความดี บริจาคทานแก่คนยากจน

- อ่านคมั ภีร์อลั กุรอาน เนื่องจากในเดือนน้ีเป็ นเดือนศกั ด์ิสิทธ์ิท่ีพระเจา้ ประทานคมั ภีร์อลั กรุอานมา
ให้แก่มนุษย์ ดงั น้ัน ชาวมุสลิมจึงตอ้ งอ่านอลั กุรอาน เพื่อศึกษาถึงสิ่งที่พระเจา้ ตอ้ งการให้มนุษยร์ ู้ว่าการ
เป็นอยใู่ นโลกน้ีและโลกหนา้ จะเป็นอยา่ งไร และจะตอ้ งทาตวั อยา่ งไรบา้ ง

สาหรับผู้ทไี่ ด้รับการยกเว้นไม่ต้องถือศีลอด ได้แก่

1. คนเจบ็ ป่ วย

2. หญิงท่ีมีประจาเดือน

3. หญิงท่ีใหน้ มบุตร แต่หากมีความสามารถ กจ็ ะถือได้

4. หญิงท่ีต้งั ครรภ์

5. คนแก่ชรา ท่ีไม่มีความสามารถเพยี งพอ

อยา่ งไรก็ตาม บุคคลเหล่าน้ีตอ้ งจ่ายทาน เป็ นขา้ วสารวนั ละ 1 มุด (1 มุด ประมาณ 6 ขีด) และสาหรับ
คนเจบ็ ป่ วย และสตรีที่มีประจาเดือนน้นั ใหถ้ ือศีลอดใชภ้ ายหลงั ใหค้ รบก่อนรอมฎอนในปี ถดั ไป

เห็นแลว้ ใช่หรือไม่คะวา่ การถือศีลอดในเดือนรอมฎอน ไม่ใช่แคเ่ ร่ืองของการงดอาหาร หรือเป็นเพยี ง
แค่การปฏิบตั ิตามหนา้ ท่ีทางศาสนาของชาวมุสลิมเท่าน้นั แต่เพ่ือเป็ นการขดั เกลาจิตใจของตนเอง เพื่อมุ่งสู่
เป้าหมายที่สาคญั และยิ่งใหญ่ของการเดินทางสู่การเป็ นมนุษยท์ ่ีสมบูรณ์และสูงส่งทางดา้ นจิตวิญญาณตาม
วตั ถุประสงคแ์ ละเจตนารมณ์ของพระองคท์ ี่ไดป้ ระทานอลั กรุ อานมาใหแ้ ก่มนุษยน์ นั่ เอง

54

4. การจ่ายซะกาต

ใหจ้ ่ายซะกาตเม่ือถึงเวลาท่ีวาญิบตอ้ งจ่าย และจ่ายดว้ ยความพึงพอใจ โดยจ่ายส่ิงท่ีดีและมีคุณภาพมาก
ที่สุดจากทรัพยท์ ี่ตอ้ งจ่าย เป็ นสิ่งที่เขารักที่สุด ท่ีมีความเป็ นหะลาลมากท่ีสุด ทาให้ผูร้ ับพึงพอใจ ให้ผูจ้ ่าย
มองว่าสิ่งท่ีให้ไปเป็ นสิ่งที่เล็กน้อยเพื่อให้พน้ จากความลาพองใจ และพยายามปิ ดบงั เพ่ือให้พน้ จากการโอ้
อวด แต่เปิ ดเผยบา้ งเป็นบางคร้ังเพ่อื เป็นการส่งเสริมใหเ้ ห็นสิ่งที่เป็นวาญิบน้ี(ซะกาต) และเป็นการกระตุน้ ให้
คนร่ารวยไดป้ ฏิบตั ิตาม และตอ้ งไม่ทาลาย(ผลบุญ)มนั ดว้ ยการลาเลิกและการก่อความเดือดร้อนแก่ผรู้ ับ

ผรู้ ับซะกาตท่ีดีท่ีสุด

ท่ีดีที่สุดก็คือใหผ้ จู้ ่ายซะกาตเลือกจ่ายแก่คนท่ีมีความยาเกรงต่ออลั ลอฮฺมากท่ีสุด คนท่ีเป็นญาติใกลช้ ิด
ท่ีสุด มีความจาเป็นมากท่ีสุด และเลือกใหท้ านของเขาแก่คนที่จะทาใหท้ านน้นั เจริญงอกงามจากบรรดาญาติ
ที่ใกลช้ ิด มีความยาเกรง เป็นผศู้ ึกษาหาความรู้ คนยากจนท่ีไม่ยอมขอ ครอบครัวใหญ่ท่ีมีความขดั สนเป็นตน้
โดยท่ีเขาควรท่ีจะจ่ายซะกาตหรือให้ทานก่อนที่จะมีส่ิงกีดขวางมา(ทาให้ไม่สามารถจ่ายหรือให้ได)้ และ
เมื่อใดท่ีมีคุณสมบตั ิที่คู่ควรจะรับซะกาตมากข้ึนในบุคคลหน่ึงๆ กจ็ ะยงิ่ ทาใหเ้ ขาคู่ควรในการรับซะกาตมาก
กวา่ เช่นยากจนและเป็นญาติ ยากจนและเป็นผกู้ าลงั ศึกษา เป็นตน้

“และจงบริจาคส่ิงท่ีเราไดใ้ หป้ ัจจยั ยงั ชีพและพวกท่านก่อนท่ีความตาย

จะมาเยอื นคนใดคนคนหน่ึงในหมู่พวกท่าน แลว้ เขากจ็ ะกล่าววา่ โอ้ พระผอู้ ภิบาลแห่งขา้

หากพระองคท์ รงยดื เวลาใหก้ บั ขา้ อีกสกั ระยะเวลาหน่ึงอนั ใกล้

แลว้ ขา้ กจ็ ะจ่ายทานและขา้ จะเป็นหน่ึงในหมู่ผมู้ ีคุณธรรม”

5. การประกอบพธิ ีฮัจญ์

พิธีฮจั ญจ์ ะทาในเดือน ซุล-ฮิจยะห์ (เดือนที่ 12 ของปี ฮิจเราะห์ศกั ราช) ของแต่ละปี การกาหนดพิธี
ฮจั ยน์ ้นั จะใชก้ ารดูเดือน เพอ่ื กาหนดวนั ต่างๆ โดยจะดูเดือนกนั ในวนั ที่ 29 เดือน ซุลเกี๊ยะดะห์ เพอ่ื กาหนด
วนั ท่ี 1 เดือนซุลฮิจยะห์ และวนั ที่ 10เดือนซุลฮิจยะห์ จะเป็นวนั อีดิ้ลอฎั ฮา หรือ อีดใหญ่(รายอ)ท่ีบา้ นเรา ผทู้ ี่
ไม่ไดไ้ ปประกอบพิธีฮจั ยจ์ ะทากรุบาน (เชือดสตั ว์ และแบ่งปันเน้ือใหก้ บั ผยู้ ากไร้)

การประกอบพิธีฮจั ญม์ ี 3 แบบ

55

1.ตะมตั ตวั ะอฺ คือผคู้ รองอิหฺรอมต้งั เจตนาทาอุมเราะฮฺก่อนการทาฮจั ย์ ขณะที่เขา้ สู่เทศกาลฮจั ญแ์ ลว้
2.อิฟร้อด คือผคู้ รองอิหฺรอมหลงั จากการทาการตอวาฟกดุ ูมแลว้ เขาจะตอ้ งสวมชุดอิหฺรอมจนกระท้งั ถึง
วนั ท่ี 10 ซุลฮิจญะฮฺหลงั จากน้นั จึงทาอุมเราะฮฺ
3.กิรอน คือผคู้ รองอิหฺรอมต้งั เจตนาทาอุมเราะฮฺและการทาฮจั ยพ์ ร้อมกนั หลงั จากการทาอุมเราะฮฺคือตอ
วาฟและสะแอแลว้ ไม่ตอ้ งโกนศีรษะหรือตดั ผม แต่ใหเ้ ขาครองอิหฺรอมกระท้งั ถึงวนั ท่ี 10 ซุลฮิจญะฮฺ
สถานทีส่ าคญั ทใ่ี ช้ในการประกอบพธิ ีฮัจย์คือ
ทุ่งอารอฟะห์, ตาบลมุซดะลิฟะห์, ตาบลมีนา, และอลั -กะบะฮฺ (การตอวาฟรอบกะบะห์น้ีไม่ไดก้ ระทา
พร้อมกนั ในเวลาเดียวกนั )

ตารางเวลาและเส้นทางการทาฮัจย์ (เป็ นข้นั ตอนหลกั ท่ีสาคญั )
1. ผทู้ าฮจั ญแ์ บบตะมตั ตวั ะอฺ ครองอิหฺรอมเพือ่ เจตนาทาฮจั ย์ ที่บา้ นพกั ในมกั กะฮฺเชา้ วนั ท่ี 8
2. ออกเดินทางจากมกั กะฮฺมุ่งสู่มีนา และพกั คา้ งแรมที่นน่ั (วนั ตรั วยี ะฮฺ วนั ที่ 8)
3. ออกเดินทางจากมีนามุ่งสู่อะระฟะฮฺเพ่ือทาการวกุ ฟู (ออกจากมีนา เชา้ วนั ท่ี 9)
4. หยดุ อยทู่ ี่อะรอฟะฮฺเพอ่ื ทาการวกุ ฟู ต้งั แต่เวลาบ่ายจนถึงเวลามฆั ริบ (วนั อะรอฟะฮฺท่ี 9)
5. ออกจากอะรอฟะฮฺต้งั แต่เวลามฆั ริบมุ่งสู่มุซดะลิฟะฮฺ และพกั คา้ งแรมท่ีนนั่ ( คนื วนั ที่10 )
6. ออกจากมุซดะลิฟะฮฺ ม่งุ สู่มีนา เพ่ือขวา้ งเสาหินหนา้ เดียวตน้ ท่ี3 ญมั เราะตุล้ อะกอบะฮฺ (เชา้ วนั ท่ี10วนั

อีด)
7. ตดั ผมหรือโกนศีรษะ เปล้ืองชุดอิหฺรอม(อยใู่ นชุดอิหรอมเป็นเวลา3วนั คือวนั ที่8-10)
8. พกั แรมที่มีนา และขวา้ งเสาหินท้งั 3 ตน้ โดยขวา้ งเรียงกนั ไป1-3 เป็นเวลา 3 วนั (วนั ตชั รีก วนั ที่ 11 - 12

- 13)
9. ออกเดินทางจากมีนา มุ่งสู่เมืองมกั กะฮฺ (ก่อนดวงอาทิตยต์ ก)
10.การฏอวาฟบยั ตุลลอฮฺ 7 รอบ
11.การเดินสะแอระหวา่ งภูเขาซอฟาและมรั วะฮฺ 7 เที่ยว
12.การฏอวาฟวดิ าอฺ ( ฏอวาฟอาลา คือการเวยี นรอบกะบะฮฺเป็นคร้ังสุดทา้ ยก่อนออกจากดินแดนเมืองมกั

กะฮฺเพื่อจะเดินทางกลบั )

56

พธิ ีฮัจย์ตามรุก่นและวาญบิ
- การครองอิหฺรอม คือการต้งั เจตนาเขา้ สู่พธิ ีฮจั ย์ (รุก่น)
- การวกุ ฟู ที่ทุ่งอะรอฟะฮฺ เริ่มต้งั แต่ดวงอาทิตยค์ ลอ้ ยของวนั ท่ี 9 ซุลฮิจญะฮฺ จนกระท้งั ดวงอาทิตยต์ ก (รุ

ก่น)
- การโกนศีรษะหรือการตดั ผม(รุก่น)
- การฏอวาฟบยั ตุลลอฮฺ 7 รอบ (รุก่น)
- การเดินสะแอระหวา่ งภูเขาซอฟาและมรั วะฮฺ 7 เที่ยว (รุก่น)
- การคา้ งแรมท่ีมุซดะลิฟะฮฺ เริ่มต้งั แตด่ วงอาทิตยต์ กของคืนวนั ที่ 10 ซุลฮิจญะฮฺ จนกระท้งั เวลาซุบฮฺ (วา

ญิบ)
- การขวา้ งเสาหิน 7 กอ้ นที่ญมั รอตุลอะเกาะบะฮฺ ที่มีนา เริ่มต้งั แต่ดวงอาทิตยข์ ้ึนของวนั ที่ 10 ซุลฮิจญะฮฺ

จนกระท้งั ดวงอาทิตยต์ ก (วาญิบ)
- การคา้ งแรมที่มีนา ในค่าคืนของวนั ตชั รีก (วาญิบ)
- การขวา้ งเสาหินท้งั 3 ตน้ ในวนั ท่ี 11 12 13 ซุลฮิจญะฮฺ ตน้ ละ 7 กอ้ น (วาญิบ)
- การฏอวาฟวิดาอฺ (ฏอวาฟอาลา คือการเวยี นรอบกะบะฮฺเป็นคร้ังสุดทา้ ยก่อนออกจากดินแดนเมืองมกั

กะฮฺเพื่อจะเดินทางกลบั ) (วาญิบ)

57

บรรณานุกรม

Islammore. (2558). ความหมายของอสิ ลาม. [ออนไลน]์ . แหล่งที่มา :
https://www.islammore.com/view/1983#. (วนั ที่สืบคน้ : 5 มกราคม 2565)

มสั ยดิ ฮิดายาตุดดีนียะฮ.์ (2559). ความหมายของศาสนาอสิ ลาม. [ออนไลน]์ . แหล่งที่มา :
https://www.masjidhidayah.com/?p=47. (วนั ที่สืบคน้ : 5 มกราคม 2565)

วกิ ิพีเดีย. (2564). นบกี บั เราะซูล. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/.
(วนั ที่สืบคน้ : 5 มกราคม 2565)

Google Sites. (2561). ศาสนาอสิ ลาม. [ออนไลน]์ . แหล่งท่ีมา :
https://sites.google.com/site/wichasangkhom/sasna-xislam. (วนั ท่ีสืบคน้ : 5 มกราคม 2565)

กองบก. (2560). ประวตั ศิ าสดาของศาสนาอสิ ลาม. [ออนไลน]์ . แหล่งที่มา :
https://www.publicpostonline.net/13904. (วนั ท่ีสืบคน้ : 5 มกราคม 2565)

วิภา เรืองรัตนวงศ.์ (2558). หลกั คาสอน. [ออนไลน]์ . แหล่งท่ีมา : https://wipa2555.wordpress.com/.
(วนั ที่สืบคน้ : 5 มกราคม 2565)

ภาคภูมิ จนั ทบาล. (2561). การเผยแผ่ศาสนาอสิ ลาม. [ออนไลน]์ . แหล่งท่ีมา :
https://poombkp.wordpress.com/. (วนั ที่สืบคน้ : 5 มกราคม 2565)

สอง สุดหล่อ. (2557). ศาสนสถานของอสิ ลาม. [ออนไลน]์ . แหล่งที่มา :
http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AboutStudent/Document/Reli_Religion/Islam/pdf/Islam6.pdf.

(วนั ท่ีสืบคน้ : 5 มกราคม 2565)


Click to View FlipBook Version