The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-08-19 19:32:25

ชีวประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

ชีวประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

Keywords: ชีวประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

จากบนั ทกึ ของ มหาอามาตยต์ รี พระยาทิพโกษา (สอน โลหนันทน์)

ตอนท่ี ๑

ความนา

คำปรำรภและอนมุ ำนสนั นิษฐำนวำ่ ประวัตเิ รือ่ งควำมเปน็ ไปของสมเดจ็ พระพฒุ ำจำรย์ (โต) คร้ังในรชั กำลท่ี ๔
กรุงเทพฯ นั้น มคี วำมเป็นมำประกำรใด เพรำะเจำ้ พระคุณองคน์ ้ีเปน็ ที่ฤๅชำปรำกฏ เกียรตศิ ักดิ์เกียรตคิ ุณ
เกยี รตยิ ศ ขจรขจำยไปหลำยทศิ หลำยแคว มหำชนพำกนั สรรเสริญออกเซ็งแซก่ ึกก้องสำธกุ ำร บำงคนกบ็ ่นร่ำ
รำพรรณ ประสำนขำนประกำศกรนุ่ กลำ่ วถึงบญุ คณุ สมบัติ จริยสมบัติของทำ่ นเปน็ นิตยกำลนำนมำ ทกุ ทิวำ
รำตรีมิรู้มคี วำมจืดจำง

อนึ่ง พระพทุ ธรูปของทำ่ นทส่ี รำ้ งไว้ในวัดเกษไชโย ใหญ่ก็ใหญ่ โตก็โต วัดหน้ำตักกว้ำงถงึ แปดวำเศษนวิ้ เป็น
พระก่อทสี่ งู ล่วิ เปน็ พระน่ังทศ่ี ักดส์ิ ิทธ์ิ ดูรุ่งเรืองกระเด่ืองฤทธิ์มหิศรเดชำนภุ ำพ พระองคน์ ้เี ปน็ ทีท่ รำบท่ัวกนั
ตลอดประเทศแล้วว่ำ เปน็ พระที่มีคุณพเิ ศษสำมำรถ อำจจะดลบนั ดำลดับระงบั ทุกขภ์ ัยไข้ป่วย ช่วยปอ้ งกนั
อนั ตรำยได้ จึงดลอกดลใจใหป้ ระชำชนคนเปน็ อนั มำก หำกมำอภิวิวนั ทนำกำร สักกำรบูชำพลีกรรม
บรรณำกำรเสน้ สรวงบวงบน บำงคนมำเผดยี งเสีย่ งสตั ยอ์ ธิษฐำน กอ็ ำจสำเรจ็ สมปณธิ ำนทม่ี ุ่งมำดปรำรถนำ จงึ
เป็นเหตุให้มีสวะนะเจตนำแก่มหำชนจำนวนมำกกว่ำร้อยคน คดิ ใครร่ ู้ประวตั ขิ องสมเดจ็ พระพฒุ ำจำรย์ (โต) วดั
ระฆังโฆษิตำรำม บ้ำงกค็ บื เทีย่ วสบื ถำมควำมเป็นไปแต่หลงั ๆ แตค่ รำครั้งดั้งเดิมเริ่มแรก ตน้ สกุลวงศ์
เทือกเถำเหล่ำกอ พงศพ์ ันธ์ุ พวกพ้อง พน้ื ภูมฐิ ำน บำ้ นช่อง ข้องแขว แควจงั หวดั เป็นบญั ญัติของสมเดจ็ นั้น
เป็นประกำรใด

นำนมำแล้วจะถำมใครๆ ไมไ่ ด้ควำม หำมีใครตอบตรงคำถำมใหถ้ ่องแท้ จึงไดพ้ ำกนั ตรงแร่เข้ำมำหำ นำยพร้อม
สุดดีพงศ์ ออ้ นวอนใหร้ บี ลงมำกรุงเทพฯ ใหช้ ่วยเข้ำสูเ่ สพย์ษมำคม ถำมเงอื่ นเค้ำเจำ้ ประคุณสมเด็จพระพุฒำ
จำรย์ (โต) จงึ นำยพร้อม สุดดีพงศ์ ตลำดไชโย เมืองอ่ำงทอง จงึ ได้รบี ล่องลงมำสู่หำ ทำ่ นพระมหำสว่ำง วดั
สระเกศ นมัสกำรแลว้ ยกเหตุขนึ้ ไต่ถำม ตำมเน้ือควำมท่ีชนหมู่มำกอยำกจะรู้ จะดูจะฟังเร่ืองรำวแต่ครำวคร้ังต้น
เดิมวงษส์ กุล ของสมเด็จพระพุฒำจำรย์ (โต) นั้นเป็นฉันใด ขอพระคุณไดส้ ำแดงให้แจ้งด้วย

ที่นน้ั มหำสว่ำง ฟงั นำยพรอ้ มเผดยี งถำม จึงพำกนั ขำ้ มฟำกไปวดั ระฆัง ขึน้ ยงั กุฏิเจ้ำคุณพระธรรมถำวร (ช้ำง)
อันเปน็ ผูเ้ ฒ่ำสูงอำยศุ ม์ ๘๘ ปี ในบดั น้ียังมอี งคอ์ ยู่ ทัง้ เปน็ ผใู้ กลช้ ิด ท้ังเปน็ ศิษย์ทันรเู้ ห็น ทงั้ เคยเป็นพระครูฐำ
นำของสมเดจ็ พระพุฒำจำรย์ (โต) วัดระฆัง เคยอย่ตู ัง้ แตเ่ ล็กๆ เมอ่ื เป็นเดก็ เปน็ ชนั้ เหลน

นำยพรอ้ มจึงประเคนสกั กำระ ถวำยเจ้ำคุณพระธรรมถำวรแล้วจงึ ได้ไถ่ถำมตำมเนอ้ื ควำมทีป่ ระสงค์

2

ฝำ่ ยเจ้ำคุณพระธรรมถำวร ท่ำนจึงได้อนุสรณค์ ำนงึ นกึ ไปถึงเรอ่ื งควำมแตห่ นหลงั ทำ่ นไดน้ ง่ั เลำ่ ใหฟ้ งั หลำยสบิ
เรื่อง ลว้ นแต่เปน็ เร่อื งท่ีนำ่ ควรคิดพศิ วงมำก ลงท้ำยท่ำนบอกวำ่ อันญำตวิ งศ์พงศพ์ ันธ์ ภมู ฐิ ำนบำ้ นเดมิ นน้ั
เจำ้ ของทำ่ นได้ให้ช่ำงเขยี นเขียนไวท้ ผ่ี นังโบสถ์วัดอินทรวหิ ำร บ้ำนบำงขุนพรหม พระนคร ล้วนแตเ่ ปน็ เค้ำเงือ่ น
ตำมท่สี มเด็จเจำ้ โตได้ผ่ำนพบทัง้ นัน้ ท่ำนเจำ้ ของบอกใบส้ ำคญั ด้วยกริ ิยำของรปู ภำพ ขอจงไปทรำบเอำท่โี บสถ์
วัดอินทรวหิ ำรน้นั เถดิ

ครัน้ ม.ล.พระมหำสว่ำง เสนีวงศ์ กบั นำยพร้อม สุดดพี งศ์ ฟงั พระธรรมถำวรบอกเล่ำและแนะนำจำจดมำทุก
ประกำรแล้ว จงึ นมสั กำรลำเจ้ำคุณพระธรรมถำวรกลบั ข้ำมฟำกจำกวัดระฆงั รุ่งข้นึ วันท่ี ๑๖ กรกฎำคม พ.ศ.
๒๔๗๓ จงึ ขึน้ ไปหำท่ำนพระครสู ังฆรกั ษ์ เจำ้ อธกิ ำรวัดอนิ ทรวหิ ำร บำงขนุ พรหม แล้วขออนญุ ำตดูภำพ
เรือ่ งรำวของสมเดจ็ พระพฒุ ำจำรย์ (โต) ตำมคำแนะนำของเจำ้ คุณพระธรรมถำวรวดั ระฆังบอกใหด้ ทู กุ ประกำร

สว่ นท่ำนพระครูสังฆรักษ์ เจ้ำอธิกำรก็มีควำมเต็มใจ ทำ่ นนำพำลงไปในโบสถ์พรอ้ มกันแลว้ เปิดหนำ้ ต่ำงประตู
ใหด้ ไู ด้ตำมปรำรถนำ

นำยพร้อมจึงดูรปู ภำพ ช่วยกันพนิ ิจพจิ ำรณำ ตัง้ แตฉ่ ำกที่ ๑ จนถงึ ฉำกที่ ๑๒ นำยพรอ้ มออกจะเตม็ ตรอง เหน็
วำ่ ยำกลำบำกทจ่ี ะขบปัญหำในภำพตำ่ งๆ ใหเ้ ห็นควำมกระจำ่ งแจ่มแจ้งได้ นำยพร้อมชกั จะงนั งอท้อน้ำใจไมใ่ คร่
จะจดลงทำยืนงงเปน็ งนั งนั ไป

ม.ล.พระมหำสว่ำง ร้ใู นอัธยำศัยของนำยพรอ้ มวำ่ แปลรูปภำพไมอ่ อก บอกเปน็ เนอื้ ควำมเลำ่ แก่ใครไม่ได้ นำย
พรอ้ มอึดอดั ตันใจสุดคำดคะเน ทำท่ำจะรวนเรสละละกำรจดจำ ม.ล.พระมหำสว่ำงจึงแนะนำให้นำยพร้อม
อุตสำห์จดทำเอำไปท้ังหมดทุกตัวภำพ ไม่เปน็ ไร คงจะไดท้ รำบสิ้นทกุ อยำ่ ง คงไมเ่ หลวคว้ำงเหลอื ปัญญำนัก ฉัน
จะชว่ ยดุ่มเดำดกั ให้เดน่ เดด็ จงได้ ฉนั จะคิดคน้ รัชสมัยและพระบรมรำชประวตั ิและรำชพงศำวดำร เทยี บนยิ ำย
นทิ ำนตำนำนตำ่ งๆ ตำมทีผ่ ู้เฒำ่ ผแู้ กบ่ อกเล่ำสืบกนั มำ เรื่องนี้คงสมมำดปรำรถนำอย่ำวิตก ฉันจะเรยี บเรียงและ
สำธกยกเหตุผลใหเ้ ปน็ เบ้อื งต้นและเบือ้ งปลำยให้สมควำมมุ่งหมำยใครร่ ู้ ในเรื่องประวตั สิ มเด็จพระพุฒำจำรย์

แต่ขอ้ สำคัญเกรงว่ำจะช้ำกนิ เวลำหลำยสบิ วัน เปรียบเชน่ กับชำ่ งไม้ทำชอ่ ฟ้ำ จำต้องนำนเวลำเปลืองหน้ำไม้ ช่ำง
ตอ้ งบ่นั ทอนผ่อนไปจนถึงแงงอนกนก ของท่ีต้องกำรเปรยี บเทยี บเทำ่ ทีต่ ำนำนของสมเด็จน้ี กว่ำจะเรยี งควำม
ถกู ตำมทร่ี ่ำงข้อต่อตดั ถ้อยคำที่เขนิ ขัด ก็ต้องขดุ คัดตดั ทอนทิ้ง หรือควำมขำดไม่พำดพิงพดู ไม่ถูกแท้ กต็ กแตม้
แถมแกแ้ ปลให้สอดคล้องตอ้ งกบั ควำมจริง สืบหำส่งิ ท่ีเป็นหลักมำพกั พิงไมใ่ ห้ผิด สืบผสมให้กรมตดิ เปน็ เนื้อ
เดยี ว ไมพ่ ลำพลำด ถึงจะเปลืองกระดำษเปลืองเวลำ ฉันไม่ว่ำไม่เสยี ดำย หมำยจะเสำะค้นขวนขวำยหำเรือ่ งมำ
ประกอบให้ จะได้สมคดิ ตดิ ใจมหำชน จะได้ทรำบเรอ่ื งเบื้องตนและเบ้ืองปลำย โดยประวัติปรยิ ำยทกุ ประกำร

3

นำยพรอ้ ม สุดดีพงศ์ ได้ฟังคำบรหิ ำรอำษำของ ม.ล.พระมหำสว่ำงรับแข็งแรง จงึ เข้มขมัดจัดแจงจดเพยี รเขยี น
คดั บอกเป็นตวั หนงั สอื มำพรอ้ ม ทกุ ด้ำนภำพในฝำผนงั ทงั้ ๑๒ ฉำก แลว้ กล็ ะพำกันกลับมำยงั วดั สระเกศ ตอ่ แต่
วนั ท่ี ๑๖ กรกฎำคม ศกนม้ี ำ พระมหำสว่ำงก็ตงั้ หน้ำตรวจตรำเสำะสบื หำและไต่ถำม ได้เน้อื ควำมนำจดลงคน
พงศำวดำร รชั กำลรำชประวตั ิบัน่ ทอนตัดให้รัดกุม ไม่เดำสมุ่ มีเหตุพอควำมไมต่ อ่ ใช้วิจำรณ์ เปน็ พยำนอ้ำง
ตวั เองไปตำมเพลงของเรือ่ งรำวทสี่ บื สำวเรยี งเขียนลงเอำที่ตรงตอ่ ประโยชน์ ไมอ่ โุ ฆษป่ำวรอ้ งใคร ไมห่ ม่ินให้
ธรเณนทร์ โดยควำมเหน็ จึงกล้ำเล่ำ ดังจะกลำ่ วใหฟ้ ังดังนี้

สมเด็จพระพุฒำจำรย์ (โต) ท่ำนใหช้ ่ำงเขียน เขยี นเรอ่ื งของท่ำนไวใ้ นฝำผนังโบสถว์ ัดอินทรวหิ ำร บำงขุนพรหม
ดังน้ี เขยี นเมืองกำแพงเพชรเป็นเมอื งว่ำงวำ่ งไม่มีคน มีแต่ขนุ นำงข่ีมำ้ ออก เขียนวัดบำงลำพบู นผนงั ตดิ กับ
เมอื งกำแพงเพชร เขยี นบำงขุนพรหม เขยี นรูปเด็กอ่อนนอนหงำยแบเบำะอยมู่ ุมโบสถ์วัดบำงลำพู เขยี นรูปนำง
งุดกกลกู เขียนรปู ตำผลว่ำพระผล เขยี นรปู อำจำรย์แกว้ วัดบำงลำพูกำลังกวำดลำนวัด เขยี นรปู นำยทอง นำง
เพชร น่งั ยองยอง ยกมือทง้ั สองไหว้พระอำจำรย์แกว้ เขยี นรปู พระอำจำรย์แกว้ กำลงั พดู กบั ตำผลบนกุฏิ เขียน
รปู เรือเหนือจอดทท่ี ่ำบำงขนุ พรหม จงึ ต้องขอโอกำสแกท่ ่ำนผอู้ ำ่ นผู้ฟัง ด้วยข้ำพเจ้ำตรวจดูภำพทรำบไดต้ ำม
พิจำรณำและคำดคะเนสันนิษฐำน แปลจำกรูปภำพบนนัน้ คงได้ใจควำมตำมเหตุผลต้นปลำยของสมเดจ็ พระ
พุฒำจำรย์ (โต) วดั ระฆัง ดังจะกล่ำวตอ่ ไปน้ี คือ

แตค่ ร้งั เดิมเร่ิมแรก ตน้ วงศส์ กุลของสมเด็จพระพฒุ ำจำรย์ (โต) องคน์ ี้ ตั้งคฤหสถำนภมู ิสำเนำ สืบวงศ์พงศเ์ ผำ่
พชื พนั ธพ์ุ วกพ้อง เปน็ พีเ่ ป็นนอ้ งต่อแนวเนอ่ื งกนั มำแต่ครงั้ บุรำณนำนมำ ณ แถบแถวทีใ่ กลใ้ ตเ้ มอื ง
กำแพงเพชร เป็นชนชำวกำแพงเพชรมำชำ้ นำน ครั้นถงึ ปีระกำ สปั ตศก จลุ ศักรำช ๑๑๒๗ ปี (พ.ศ. ๒๓๐๒)
จึงพระเจำ้ แผ่นดินอังวะพุกำมประเทศ ยกพลพยุหประเวสนส์ ่พู ระรำชอำณำเขตประเทศสยำมน้ีกองทพั พมำ่ มำ
รำวี ตีหวั เมอื งเอกโทตรีจตั วำ ไล่รุกเข้ำมำทุกทิศทุกทำง ท้ังบกทัง้ เรอื ทั้งปำกใตฝ้ ่ำยเมืองเหนอื และทำงตะวนั ตก
เว้นไว้แต่ทิศตะวนั ออก หัวเมืองชน้ั นอก ชัน้ กลำง ชั้นโท ตอ่ รบตำ้ นทำนพมำ่ ไม่ไหว กต็ ้องล่ำร้ำงหลบหน้ี ซอ่ น
เรน้ เอำตวั รอด รำษฎรกพ็ ำกันทอดทิง้ ภูมสิ ถำนบ้ำนเรือน เหล่ยี มลีห้ นหี ำยพลดั พรำกกระจำยไป คนละทิศคนละ
ทำงห่ำงห่ำงวันกัน ในปรี ะกำศกน้ันจำเพำะพระยำตำก (สิน) เจ้ำเมืองกำแพงเพชรก็หำได้อยดู่ แู ลรักษำเมืองไม่
มรี ำชกำรเข้ำไปรบั สญั ญำบตั ร เลื่อนทเี่ ป็นพระยำวชริ ปรำกำร แล้วยังมไิ ดก้ ลับมำ พอทรำบข่ำวศกึ พมำ่
เสนำบดีใหร้ อรับพม่ำอย่ใู นกรุงนั้น ครั้นทัพหนำ้ พมำ่ รุกเข้ำมำถงึ กรุง พระยำวชริ ปรำกำรก็ตอ้ งกุมพลรบพุ่ง
ต้ำนทำนรบรบั ทพั พม่ำ พม่ำเข้ำลอ้ มกรุงศรีอยธุ ยำนน้ั ไว้ กองทัพพมำ่ มำล้อมกรุงเก่ำครำวนน้ั เกอื บสำมปี

คร้ันถงึ ปีกุนนพศก จุลศักรำช ๑๒๒๙ (พ.ศ. ๒๓๑๐) ถงึ ณ วันองั คำรเดอื นหำ้ แรมเก้ำคำ่ เวลำบำ่ ย ๓ โมง
เย็น พม่ำจึงนำปืนใหญ่เข้ำระดมยิงพระมหำนคร พระมหำนครก็แตก เสียแกพ่ มำ่ ในวันอังคำร เดือนหำ้ ขึน้ เก้ำ
ค่ำ ปีกนุ ศกน้ัน

ฝ่ำยพระยำวชิรปรำกำรเจ้ำเมืองกำแพงเพชร ได้ถอื พล ๕,๐๐๐ ช่วยป้องกันพระมหำนคร ครั้นเห็นว่ำชำตำกรุง
ขำดไมส่ ำมำรถจะตอ่ สู้พม่ำได้ ก็พำพล ๕,๐๐๐ นน้ั ฝ่ำฟนั หนอี อกไปทำงทศิ ตะวนั ออก ข้ำมไปทำงเพนยี ดคล้อง

4

ช้ำง เดินทำงไปเข้ำเขตเมอื งนครนำยก แล้วข้ำมฟำกไปแยง่ เอำเมอื งจันทบุรี ตไี ดแ้ ล้วก็เขำ้ ตั้งม่นั บำรุงพล
พำหนะละเลียงเสบียงอำหำร สรรพศำสตรำวุธยทุ ธภัณฑ์ไวพ้ รอ้ มมลู บรบิ ูรณเ์ รยี บร้อยแลว้ ก็ตั้งตัวเป็นเจำ้
ชำวเมืองเรยี กวำ่ พระเจำ้ ตำก ต้งั อย่เู มืองจันทบุรี ก๊กหนึ่งในครำวน้นั

ครน้ั ถงึ ปีชวด สัมฤทธิศก จุลศกั รำช ๑๑๓๐ ปี (พ.ศ. ๒๓๑๑) พระเจ้ำตำก (สนิ ) ได้ยกพลโยธแิ สนยำกรเปน็
กองทัพ เข้ำบกุ บ่ันรบทพั พม่ำต้ังแต่เมอื งปำใต้ ฝ่ำยตะวนั ตกวกเข้ำตีกองทพั พมำ่ มำถึงกรุงเกำ่ กองทัพพม่ำสู้
มิไดก้ ็แตกฉำนลำ่ ถอยข้ึนไปทำงหัวเมืองฝ่ำยเหนือ แล้วก็เข้ำชิงเอำกรุงเก่ำคืนจำกเงือ้ มมอื พม่ำข้ำศกึ ไดแ้ ล้ว
ลอยขบวนลงมำตั้งรำชธำนีที่เมอื งธนบรุ ี ตำบลที่วดั มะกอกนอก เหนอื คลองบำงกอกใหญ่ ใตค้ ลองคูวดั
ระฆงั โฆษติ ำรำม ทรงขนำนนำมเมืองว่ำกรงุ ธนบุรี พระนำมำภิธยั ว่ำ พระเจ้ำกรุงธนบรุ ี แตป่ ชี วดศกน้นั มำ

จึงหลวงยกกระบัตรเมืองรำชบรุ ี ออกไปต้ังคฤหสถำนบ้ำนเรอื นครอบครองทรพั ยส์ มบัติอยู่ ณ บ้ำนอัมพวำ
แขวงเมืองสมทุ รสงครำม ได้เขำ้ มำพร้อมด้วยเอกะและนอ้ งแลบุตรทั้ง ๔ เข้ำมำรับรำชกำรในพระเจำ้ กรงุ ธนบุรี
ๆ ไดต้ ้งั ให้หลวงยกกระบัตรเป็นท่พี ระรำชวรนิ ทร์ เจ้ำกรมพระตำรวจนอกขวำ ถอื ศกั ดนิ ำ ๑,๖๐๐ ไร่ จึงตั้งคฤห
สถำนบ้ำนเรอื นอยู่เหนอื พระรำชวังหลวง ใต้วดั บำงหว้ำใหญ่ (คอื วดั ระฆังในบัดน้)ี ในปีชวดศกนั้นเอง พระเจ้ำ
กรงุ ธนบรุ ี พระรำชทำนเกยี รตยิ ศเป็นแมท่ ัพถืออำญำสทิ ธิ์ ยกทพั ขน้ึ ไปปรำบเจ้ำพิมำย มชี ัยชำนะกลบั ลงมำ
ทรงพระกรุณำเลอ่ื นขึ้นเป็นท่ีพระยำอภยั รณฤทธิ์ จำงวำงกรมพระตำรวจซ้ำย ทรงศักดินำ ๓,๐๐๐ ไร่ ครัน้ ถึง
ปขี ำลโทศก ๑๑๓๒ ปี (พ.ศ.๒๓๑๓) พระเจ้ำกรงุ ธนบุรรี ับสงั่ ให้พระยำอภยั รณฤทธิ์ ถืออำญำสิทธ์ิเปน็ แมท่ ัพ
ยกกองทัพไปปรำบเจำ้ พระฝำง เมืองสวำงคบรุ ี ตีกองทัพเจำ้ พระฝำงแตก จบั ตัวเจำ้ พระฝำงได้ พรอ้ มท้ังช้ำงพัง
เผอื กกบั ลกู ดำ จบั ตวั พรรคพวกและช้ำงลงมำถวำย สว่ นพระยำอภัยรณฤทธิร์ ้ังหลงั เพื่อจัดกำรบ้ำนเมอื งฝำ่ ย
เหนือปำ่ วร้องใหอ้ ำณำประชำรำษฎรท่แี ตกฉำนซ่ำนเซน็ ให้รวมเข้ำมำเป็นหมวดหมู่ต้ังอยดู่ งั เก่ำ ตำมภมู ิลำเนำ
เดิมของตน ที่ขดั ขวำงยำกจนกแ็ จกจ่ำยใหป้ นั พอเปน็ กำลังสำหรบั ต้ังตัวต่อไปภำยหนำ้ เมอ่ื ขณะนเี้ องชำวเมอื ง
เหนอื จงึ ไดพ้ ำกนั นยิ มสวำมิภักดีต่อท่ำนพระยำอภัยรณฤทธิ์ รักใครส่ นทิ แตค่ รำวนนั้ เปน็ ต้นเป็นเดิมมำ เม่อื
กองทัพกลับแล้ว พวกรำษฎรเมืองเหนอื บำงครัว จึงได้พำกันมำอยใู่ นกรงุ เก่ำบ้ำง เมอื งอ่ำงทองบำ้ ง เมืองปทุม
บำ้ ง เมืองนนทบรุ บี ้ำง เมืองพระประแดงบำ้ ง ในกรุงธนบรุ ีบำ้ ง ในบำงขุนพรหมบ้ำง ต่ำงจับจองจำนองทีด่ นิ ซอ้ื
หำ ตำมกำลังและวำสนำของตนๆ เปน็ ต้นเหตุ ทม่ี ผี ู้คนคับขนั ข้นึ ท้ังในกรงุ และหัวเมืองแนน่ หนำขึ้นกวำ่ แตก่ ่อน
เปน็ ลำดับมำ

สว่ นพระเจำ้ กรุงธนบุรีจึงเล่ือนท่ีใหพ้ ระยำอภยั รณฤทธ์ขิ ้ึนเปน็ พระยำยมรำชเสนำบดีที่จตสุ ดมภ์ กรมพระนคร
บำล ทรงศกั ดนิ ำ ๑๐,๐๐๐ ไร่ พรรษำยุกำลได้ ๓๔ ปี ในปลำยปขี ำลศกนนั้ เอง พระเจ้ำกรงุ ธนบรุ ี ทรงพระ
กรุณำโปรดเล่อื นท่ีเจ้ำพระยำยมรำชขน้ึ เปน็ เจ้ำพระยำจักรี ทีส่ มหุ นำยก อรรคมหำเสนำบดี กระทรวงมหำดไทย
ทรงศักดนิ ำ ๑๐,๐๐๐ ไร่

5

ครนั้ ถงึ ปเี ถำะตรีศก จลุ ศกั รำช ๑๑๓๓ ปี (พ.ศ. ๒๓๑๔) พระเจำ้ กรุงธนบุรมี รี บั สง่ั โปรดเกลำ้ ใหเ้ จ้ำพระยำจกั รี
เปน็ แมท่ ัพถอื อำชญำสทิ ธต์ิ ่ำงพระองค์ ยกกองทพั ใหญ่ออกไปปรำบปรำมเมอื งเขมรกมั พูชำประเทศ กม็ ีชยั ชนะ
เรียบรอ้ ยกลับมำ ได้รับพระรำชทำนรำงวลั พเิ ศษ

ครั้นถึงปมี ะเมีย ฉศก จุลศกั รำช ๑๑๓๖ ปี (พ.ศ. ๒๓๑๗) มพี ระรำชโองกำรโปรดเกล้ำฯ ใหเ้ จ้ำพระยำจักรีเปน็
แมท่ ัพถอื อำญำสิทธิ์ ยกกองทัพใหญ่ขน้ึ ไปลอ้ มเมอื งเชียงใหมท่ ่ีพม่ำรกั ษำอยู่นัน้ พมำ่ ซ่ึงรกั ษำเมืองเชยี งใหม่
ไดค้ วำมอดอยำกยำกแค้นเข้ำ ก็พำกนั ละท้ิงเมืองเชยี งใหมเ่ สยี แล้วหนไี ปสิ้น ก็ไดเ้ มืองเชยี งใหม่โดยสะดวก
ง่ำยดำย ในปลำยปีมะเมีย ฉศกน้นั เอง อะแซหวนุ่ กี้ แม่ทพั พมำ่ อำยุ ๗๒ ปี เปน็ เสนำบดีผใู้ หญ่ในพระเจำ้ มังระ
กรงุ องั วะ คร้ังนั้นพระเจ้ำอังวะมพี ระโองกำรรบั สงั่ ใหอ้ ะแซหวนุ่ กีถ้ ืออำญำสทิ ธิ์ยกทพั ใหญ่ เดินกองทพั เขำ้ มำถงึ
ด่ำนเมืองตำก แลว้ ให้พม่ำลำ่ มถำมนำยด่ำนว่ำ พระยำเสอื อยูร่ ักษำเมอื งหรอื ไม่ นำยด่ำนตอบวำ่ พระยำเสอื ไม่
อยยู่ งั ไม่กลบั

อะแซหวนุ่ กีจ้ งึ หยุดกองทัพหน้ำไว้นอกด่ำน แล้วประกำศว่ำให้เจ้ำเมืองเขำกลบั มำรักษำเมอื งเสียกอ่ น จงึ จะยก
เข้ำตีดำ่ น เลยเขำ้ ตีเมืองพิษณุโลกทเี ดียว (เขยี นตำมพงศำวดำรพม่ำ)

สมเดจ็ พระเจำ้ กรงุ ธนบรุ ี ทรงทรำบข่ำวข้ำศกึ จงึ กรฑี ำทัพหลวงข้นึ ไปรักษำเมืองพระพษิ ณโุ ลกไว้ แล้วให้หำ
กองทพั กลบั จำกเมืองเชยี งใหม่ ครน้ั เจ้ำพระยำสุรสหี ์ทรำบวำ่ กองทัพมำอยู่ปลำยด่ำนเมืองตำก และทรำบว่ำ
พระเจ้ำอยู่หวั เสดจ็ กรฑี ำทพั หลวงขนึ้ มำประทับอยู่เพื่อปอ้ งกันรักษำเมอื งพษิ ณโุ ลกด้วย จงึ รบี ยกกองทัพกลบั
ครน้ั ถึงเมืองพิษณุโลกแล้วเข้ำเฝ้ำถวำยบังคม เจ้ำพระยำจักรีอย่จู ดั กำรเมืองเชยี งใหม่เรียบรอ้ ยแล้ว ได้เลยตั้ง
ข้ำหลวงไปพูดจำปลอบโยนชี้แจงแนะนำเจ้ำเมืองแพร่ เจ้ำเมอื งน่ำน เจำ้ เมอื งลำปำง เจ้ำเมอื งลำพูน เป็นต้น
เหลำ่ น้ี ยอมสวำมิภักดิ์ตอ่ กรงุ เทพฯ ขอพึ่งพระบำรมโี พธิสมภำรเปน็ ขำ้ ขอบขัณฑสีมำสบื ไปตลอดกำลนำน
เจ้ำพระยำจักรจี งึ ได้เลิกทัพพำเจำ้ ลำวและพระยำลำวท้ังปวง ลงมำถึงเมอื งพษิ ณโุ ลก เข้ำเฝ้ำกรำบบงั คมทูล
พร้อมกัน ณ เมืองพิษณุโลกนนั้

สมเดจ็ พระเจ้ำกรุงธนบุรี ทรงพระโสมนัสนัก จึงพระรำชทำนฐำนันดรศักด์ิเจำ้ ลำว พระยำลำวท้งั ปวงน้นั ให้
กลับข้ึนไปรกั ษำเมืองดังเก่ำ แล้วจึงพระรำชทำนรำงวัลเปน็ อันมำกแก่เจำ้ พระยำสรุ สีห์น้ันไดอ้ อกไปรักษำดำ่ น
หนำ้ เมืองตำกโดยแขง็ แรงกวดขนั มนั่ คงทกุ ประกำร

ฝำ่ ยอะแซหวุน่ ก้ีแม่ทพั ใหญ่พม่ำ ทรำบวำ่ เจ้ำพระยำเสอื กลับมำแล้ว ออกมำรักษำด่ำนอยู่ จงึ ส่ังใหม้ ังเรยำงู แม่
ทัพพม่ำเขำ้ ตีด่ำน ฝ่ำยทหำรรักษำด่ำนต้ำนทำนทหำรพม่ำไม่ไหวก็ร่นเข้ำมำ กองทัพพม่ำกต็ รี ุกเขำ้ ไปแล้วตง้ั ค่ำย
ม่ันลงภำยในดำ่ นถึง ๓๐ ค่ำย

6

ฝ่ำยเจ้ำพระยำจีกรีทรำบว่ำ กองทพั เจ้ำพระยำสุรสหี ์เสียดำ่ นรน่ เขำ้ มำ จึงกรำบบังคมทูลรับอำสำชว่ ยเจ้ำพระยำ
สรุ สีห์ สมเด็จพระเจ้ำกรุงธนบรุ ีมพี ระโองกำรรับสัง่ ว่ำ "ข้ำกอ็ ยำกเหน็ ควำมคดิ สติปญั ญำของเจำ้ และฝีมอื ของ
เจ้ำว่ำจะเข้มแขง็ สักเพยี งใด ข้ำจะขอดดู ้วย จงรบี ออกไปช่วยสรุ สีห์เถดิ "

เจ้ำพระยำจักรกี รำบถวำยบงั คมลำ ออกมำจัดขบวนทัพพร้อมสรรพ์ แล้วยกออกไปถึงค่ำยเจ้ำพระยำสุรสหี ์ แล้ว
จึงเจรจำว่ำ "เจ้ำถึงแมว้ ่ำจะเปน็ ขนุ นำงผ้ใู หญ่ก็จริงอยู่ แต่เจ้ำเป็นขนุ นำงบ้ำนนอก อะแซหวุ่นกีแ้ มท่ พั พมำ่ นัน้
เขำเป็นเสนำบดีผูใ้ หญอ่ ยใู่ นเมอื งหลวงพม่ำ ท้ังเขำกอปรด้วยควำมคิด สติปญั ญำเยีย่ มยิ่งอยู่ ควำมรกู้ ็พอตัว พี่
จะรบเอง" ตอ่ แต่นน้ั มำ เจ้ำพระยำจกั รกี ็จัดทพั ออกรกุ รบั รบพุ่งกับกองทพั อะแซหวนุ่ กี้เป็นหลำยคร้งั ผลดั กนั
แพ้ผลัดกนั ชนะ ล่วงวนั และเวลำช้ำนำนมำ จนถึงเดอื นหำ้ เดือนหก ปมี ะแม สปั ตศก จุลศกั รำช ๑๑๓๗ ปี (พ.ศ.
๒๓๑๘) เปน็ ปีที่ ๘ ในรชั สมัยพระเจำ้ กรุงธนบุรี

ฝ่ำยอะแซหวนุ่ กแ้ี ม่ทัพพม่ำ ก็คดิ ขยำดระอดิ ระอำ ทง้ั ทำงเมอื งพม่ำก็ชักจะวนุ่ วำยขึน้ ท้ังเสบียงอำหำรก็
บกพรอ่ งจวนเจียนไม่พอจ่ำย จึงคิดเพทบุ ำยะถำมว่ำ "ใครผู้ใดออกมำเป็นแมท่ พั ใหญบ่ ัญชำกำร" ทหำรไทยบอก
ไปว่ำ เจำ้ พระยำจกั รีเป็นแมท่ ัพ อะแซหวนุ่ กจี้ ึงประกำศหย่ำทพั ขอดตู ัวแมท่ พั ไทย

เวลำน้ันสมเดจ็ พระเจ้ำกรุงธนบุรี เสดจ็ ทอดพระเนตรอยใู่ นค่ำยน้นั ดว้ ย ไดท้ รงทอดพระเนตรเห็นกริ ิยำท่ำทำง
สภุ ำพองอำจ และท่วงทรี ูปโฉมของเจำ้ พระยำจักรีเมอ่ื ออกยนื ทัพรบั อะแซหวนุ่ กค้ี รำวน้ัน สมเด็จพระเจำ้ กรงุ
ธนบรุ ที รงพระเกษมสนั ต์โสมนัสปรำโมทยถ์ ึงกบั ออกพระโอษฐรับส่งั ชมว่ำ "งำมเป็นเจำ้ พระยำกษัตริยศ์ กึ เจียว
หนอ" แต่น้ันมำนำมอนั น้ี จงึ เปน็ นำมทีแ่ ม่ทพั นำยกองแลทหำรท้งั ปวง พำกันนยิ มเรียกว่ำ เจำ้ พระยำกษตั ริย์ศกึ
แต่ครำวน้ันมำ ในกองทพั พม่ำก็พลอยเรียกว่ำ เจ้ำพระยำกษัตรยิ ์ศึก ตลอดไปจนถึงทำงรำชกำรฝ่ำยพม่ำ ก็ได้
จดหมำยเหตลุ งพงศำวดำรไว้ว่ำ เจ้ำพระยำกษัตริยศ์ ึกเป็นแมท่ ัพฝำ่ ยไทย ได้รบกับอะแซหวุน่ กี้แมท่ ัพพม่ำที่
เมอื งพระพิษณุโลก เมือ่ ปมี ะเส็งถงึ ปีมะแม สปั ตศก จุลศักรำช ๑๑๓๗ ปี ครนั้ เมอ่ื ทอดพระเนตรแลทรงชมเชย
แล้ว กย็ ำตรำกระบวนออกยืนม้ำหนำ้ พลเสนำ ณ สนำมกลำงหน้ำค่ำยท้งั สองฝ่ำย

ฝำ่ ยอะแซหว่นุ กี้ ก็จัดกระบวนแตง่ ตวั เตม็ ท่ีอย่ำงจอมโยธำ ออกยืนอยู่หน้ำกระบวน ณ กลำงสนำม หน้ำค่ำยทัง้
สองฝ่ำยเชน่ เดยี วกนั (ตอนดูตัวนี้ควำมพิสดำรมีแจง้ อย่ใู นพระรำชพงศำวดำร) ครั้นอะแซหวนุ่ กี้ ได้เหน็ เจรจำ
ชมเชยพูดจำประเปรยตำมชน้ั เชิงพิชัยสงครำม แลว้ ก็นดั รบตอ่ ไป แต่อะแซหวุ่นกีค้ ดิ จะล่ำทัพถอยกลับกรุงอังวะ
เปน็ อย่ำงมำกกว่ำจะคิดแข็งใจรบเอำเมอื งพษิ ณุโลก แต่แตกแลว้ ก็รน่ ถอยลำ่ ไปออกทำงดำ่ นพระเจดีย์ ๓ องค์
ทำกิรยิ ำท่ำทำงเหมือนจะไปชงิ เอำเมืองกำแพงเพชร ทำให้ฝ่ำยไทยต้องแบ่งออกเป็นหลำยกองตดิ ตำมพม่ำ ก้ำว
สกดั หนำ้ ตีวกหลงั ตำมเชิงกลยทุ ธ ฝำ่ ยสมเดจ็ พระเจ้ำกรุงธนบรุ ี ก็เสดจ็ กลบั เข้ำกรุงธนบุรี ป้องกันพระรำชธำนี
ต่อไป.

7

ตอนที่ ๒

ฝ่ำยเจ้ำพระยำจกั รนี ัน้ ครนั้ ส่งเสด็จแล้ว จึงจัดกองทัพออกตดิ ตำมสกดั จับพม่ำตรี กุ หลังพมำ่ แตกฉำนเป็นหลำย
ทัพ จบั ได้รีพ้ ลชำ้ งมำ้ เปน็ อันมำก ทั้งตวั เจำ้ พระยำจักรเี องกย็ กทัพหนนุ ไปด้วย จนถงึ เมืองกำแพงเพชร แล้ว
จัดกำรพิทักษร์ ักษำเมืองโดยกวดขนั ส่วนตัวทำ่ นเจ้ำพระยำเองกอ็ อกขม่ี ้ำสำรวจตรวจตรำกองทพั นอ้ ยๆท่ัวไป
เพรำะใส่ใจตอ่ หนำ้ ท่รี ำชกำรจนพม่ำไมก่ ล้ำหำญชิงเอำเมอื งเหนือใต้ ต้องหนอี อกไปทำงด่ำนชน้ั นอก พ้นเขต
แดนสยำม กองทัพไทยไล่จับพม่ำทีล่ ำ้ หลังไดไ้ ว้เปน็ กำลงั รำชกำรเปน็ อันมำก ทพั อะแซหวนุ่ กลี้ ำ่ ทพั ออกพน้
ประเทศอำณำเขตสยำมในครำวนต้ี ำมกำหนดมีว่ำเดอื น ๗ ปมี ะแม สัปตศก จุลศักรำช ๑๑๓๗ ปี

คร้ังนัน้ เจ้ำพระยำจกั รี ตั้งทัพอยู่ ณ เมืองกำแพงเพชร เวลำเชำ้ วนั หนึง่ ออกลำดตระเวนกองทัพท้งั ปวงเพื่อ
บญั ชำกำร และชักม้ำวกลดั เพ่อื ตัดทำง ม้ำก็เลยพำท่ำนเขำ้ ป่ำฝ่ำพงจำเพำะมำยงั บำ้ นปลำยนำใต้เมอื ง
กำแพงเพชร เปน็ เวลำเยน็ จงึ แลเห็นโรงหนงึ่ ตงั้ อยู่ปลำยทุ่งนำ เจำ้ คณุ แมท่ ัพผู้น้นั จงึ ไดช้ กั ม้ำไปถึงโรงนนั้ ไม่
เห็นมีคนผูใ้ หญอ่ ยู่ ได้เห็นแต่หญงิ สำวคนหนง่ึ เดนิ ออกมำ เจ้ำคุณแมท่ พั ผ้นู ัน้ จงึ บอกแกน่ ำงสำวคนนน้ั ว่ำ ข้ำ
กระหำยนำ้ เจำ้ จงตกั น้ำมำใหข้ ำ้ กินสกั ขันเถดิ นำงสำวคนนัน้ จงึ วง่ิ ด่วนเข้ำไปในหอ้ ง หยิบได้ขนั ลำ้ งหน้ำใบหนง่ึ
แล้วจ้วงตกั น้ำในหม้อกลั่น แลว้ ล้วงไปหกั ดอกบวั หลวงในหนองนอ้ ยข้ำงโรงน่นั สองสำมดอก แลว้ ฉีกกลีบเด็ด
เอำแต่เกสรบัวโรยลงไปในขนั นำ้ น้นั จนเต็ม แลว้ นำส่งให้บนหลงั ม้ำ เจำ้ คณุ ทัพรับเอำมำเป่ำเกสรเพื่อแหวกหำ
ชอ่ งนำ้ แล้วต้องเอำริมฝีปำกเบื้องบนเมม้ เกสรไว้ แล้วดูดด่มื นำ้ จนหมดขนั ดว้ ยอยำกกระหำยนำ้ ครนั้ ดมื่ นำ้
หมดแล้ว เจ้ำคณุ แม่ทพั จึงถำมนำงสำวคนนัน้ วำ่ เรำอยำกกระหำยนำ้ สอู้ ตุ สำหบ์ ำกหนำ้ มำขอน้ำเจ้ำกิน เหตุไฉน
จงึ แกล้งเรำเอำเกสรบวั โรยลงส่งใหเ้ รำกนิ นำ้ ของเจ้ำลำบำกนกั เจ้ำแกล้งทำเลน่ แกเ่ รำหรือ

นำงสำวคนนน้ั ตอบวำ่ "ดิฉันจะได้คดิ แกลง้ ทำ่ นนัน้ กห็ ำไม่ ทีด่ ฉิ นั เอำเกสรบัวโรยลงในขันน้ำให้เต็มน้ัน เพรำะ
ดิฉันเหน็ วำ่ ผำกแดดแผดลมเหนอ่ื ยมำ และกระหำยนำ้ ด้วย ก็เพ่ือปอ้ งกนั เสยี ซง่ึ อันตรำยแหง่ ท่ำน เพ่ือจะกนั
สำลกั นำ้ และสะอึกนำ้ และกนั จกุ แนน่ แหง่ ทำ่ นผดู้ ม่ื น้ำของดิฉนั ถำ้ ท่ำนไม่มีอนั ตรำยในกำรดมื่ นำ้ แล้ว น้ำจะได้
ทำประโยชนแ์ ก้กระหำยแห่งท่ำน ดฉิ ันจะพลอยไดป้ ระโยชนเ์ พรำะให้น้ำแก่ท่ำน ท่ำนสมปรำรถนำแล้วกจ็ ะเป็น
บญุ แก่ดฉิ นั เหตุนดี้ ฉิ ันจึงโรยเกสร" เจำ้ คุณแมท่ พั ฟังคำนำงสำวตอบอย่ำงไพเรำะอ่อนหวำน ถ้อยคำที่ให้กำรมำ
น้ันก็พอฟงั จงึ ลงมำจำกหลังมำ้ แล้วถำมว่ำ "ตัวของเจ้ำกเ็ ปน็ สำวเต็มเน้ือแล้ว มีใครๆมำหมัน้ หมำยผกู สมัครรกั
ใครเ่ จำ้ บำ้ งหรอื ยงั " นำงสำวบอกว่ำ "ยังไม่เห็นมใี ครๆ มำรกั ใคร่หมั้นหมำยดฉิ นั และดฉิ นั กย็ งั ไม่ได้ไปเที่ยว
บอกใครวำ่ เปน็ สำว มวั แต่หลบซ่อนตัวอยู่ ด้วยบ้ำนเมืองเกดิ ยงุ่ นุ่งถุงมำนำนจนกำลบัดน้ี จงึ มิไดม้ ใี ครเหน็ วำ่
ดิฉันเป็นสำว" เจำ้ คณุ ทพั ว่ำ "ถำ้ กระนั้นเรำเองเป็นผูท้ ่ีได้มำเหน็ เจำ้ เปน็ สำวกอ่ นคน เจ้ำต้องยอมตกลงเป็นคู่รัก
ของเรำ เรำจะต้องเป็นค่รู ่วมรักของเจำ้ สืบไป เจ้ำจะพร้อมใจยินยอมเปน็ คู่รกั ของเรำโดยสุจริตหรอื ว่ำประกำร
ใด"

นำงสำวตอบว่ำ "กำรทที่ ำ่ นจะมำเปน็ คู่รกั ของดฉิ นั น้ัน ก็เป็นพระเดชพระคณุ ยิง่ อยู่แลว้ แตท่ ว่ำกำรจะมีผัวมเี มีย
กนั ตำมประเพณนี ้นั ดฉิ นั ไม่ทรำบเรอื่ ง จะวำ่ ประกำรใดแกท่ ่ำนกไ็ ม่มีอะไรจะว่ำ เรื่องกำรผวั กำรเมียนั้น ท่ำน

8

ต้องเจรจำกับผู้ใหญ่จึงจะทรำบกำร" เจ้ำคุณแม่ทพั ถำมว่ำ "ผู้ใหญข่ องเจ้ำไปไหน" นำงสำวตอบว่ำ "ไปรดน้ำถัว่
จวนจะกลบั แลว้ " เจ้ำคุณแม่ทัพขยบั เดินเขำ้ ใหใ้ กล้ นำงสำวไพล่ว่ิงปรู๋ออกแอบท่หี ลังโรงเลยไม่เข้ำหำ ทำ่ นเจ้ำ
คณุ แม่ทพั ก็ตอ้ งน่ังเฝ้ำโรงคอยท่ำบดิ ำมำรดำของนำงสำวต่อไป จนเกือบตะวันตกดินจวนคำ่

ฝำ่ ยตำผล ยำยลำ กลับมำถึงโรงแลว้ เจ้ำคุณแม่ทพั ได้เห็นแลว้ จึงยกมือขนึ้ ไหวต้ ำยำยก็น้อมตวั ก้มลงไหวต้ อบ
ทำ่ นเจ้ำคณุ แมท่ พั กก็ ้มลงไหว้ให้ต่ำลงไปอกี ตำยำยกห็ มอบลงไปไหว้อกี ทำ่ นเจ้ำคณุ แมท่ พั ก็หมอบไวอ้ ยู่อยำ่ ง
น้นั ตำ่ งคนต่ำงหมอบตัวกนั อย่นู ัน่ ทัง้ สองฝ่ำย ฝ่ำยยำยแกเป็นคนปำกเร็ว แกนึกขันและประหลำดใจแกจึงเปิด
ปำกถำมออกไปก่อนวำ่ "นี่เป็นขุนนำงมำแตบ่ ำงน้ำบำงกอก เหตุไฉนจึงมำหมอบกรำบไหว้ข้ำเจำ้ เป็นชำวบำ้ น
นอกเปน็ ชำวทุง่ ชำวป่ำ เปน็ คนยำกจน ทำ่ นจะมำหมอบไหว้ข้ำเจำ้ ทำไม" เจ้ำคุณแมท่ พั บอกว่ำ "ฉันมำสมัครเข้ำ
มำเป็นลกู เขยท่ำนท้งั สอง เจ้ำข้ะ"

ยำยะถำมว่ำ "ท่ำนเหน็ ดีงำมอยำ่ งไร เหน็ ลูกสำวฉันเปน็ อย่ำงไร ท่ำนจึงจะมำยอมตัวเปน็ ลกู เขยเล่ำ" เจ้ำคุณแม่
ทพั ว่ำ "ฉันเห็นบุตรสำวท่ำนดีแล้ว พอใจแลว้ จึงเขำ้ มำออ่ นนอ้ มยอมตวั เป็นลกู เขยท่ำน" ทำ่ นเจ้ำคณุ แมท่ ัพเล่ำ
ถึงกำลแรกมำขอน้ำและนำงเอำเกสรบวั โรยลงและได้ต่อวำ่ นำงไดโ้ ตต้ อบถ้อยคำนำ่ ฟังน่ำนบั ถอื จงึ ทำให้เกดิ
ควำมรักปรำนีข้นึ และต้ังใจจะเลย้ี งดูจริงๆ จึงต้องทนอยูค่ อยทำ่ เพอ่ื จะแสดงควำมเคำรพและขอเป็นเขย ขอให้
แมพ่ ่อมีเมตตำกรณุ ำเห็นแกไ่ มตรที ีไ่ ดม้ ำอ่อนนอ้ มพดู จำโดยเตม็ ใจจริงๆ ตำมวำจำทว่ี ่ำมำนที้ กุ อย่ำง "ขอพ่อแม่
ได้โปรดอนญุ ำตยกนำงสำวลูกนน้ั ให้เป็นสทิ ธแิ์ ก่ฉันในวันน"ี้ ยำยตำแกรอ้ งขน้ึ ดว้ ยควำมตกใจวำ่ "โอตำยจรงิ
ข้ำเจำ้ เปน็ คนยำกจนข้นแค้นและตำ่ ศักดิ์ ทัง้ ผ้ำผอ่ นท่ีหลบั ที่นอนก็เหม็นตืดเหมน็ สำบ ท้ังเครื่องเหย้ำเครือ่ ง
เรือนก็ขัดขวำง ทั้งถว้ ยชำมรำมไหทดี ีงำมก็ไม่มี ฉบิ หำยป่นป้แี ตค่ รั้นบ้ำนเมืองเกดิ ยุ่งนงุ นังหลำยครั้งหลำยครำ
มำแลตัวนำงหนเู ล่ำก็ยังไม่เป็นภำษำ ทงั้ จรติ กิรยิ ำก็ยังปำ่ เถ่อื น ไมเ่ หมอื นชำวใต้ จะใฝส่ ูงเกนิ ศักดิ์เกินสมควรไป
ละกระมงั พ่อคณุ "

เจำ้ คณุ แม่ทัพว่ำ "ขอ้ น้ันพ่อแมอ่ ย่ำมีควำมวติ กหวำดกลัวอะไรเลย ขอ้ สำคัญกค็ ือ แม่พอ่ ยกให้เปน็ กรรมสทิ ธิ์แก่
ฉนั เดด็ ขำดแลว้ ตอ่ ไปเปน็ หน้ำทข่ี องฉันฝ่ำยเดียว ตำมที่แม่พ่อยกขึน้ เป็นทำงปรำรมภ์นนั้ เปน็ ธรุ ะของฉันหมด
ทกุ อย่ำง ขอแตว่ ่ำอย่ำเกีย่ งงอนขดั ขวำงดิฉันเลย"

ยำยลำ ตำผล ขอทุเลำถำมเจ้ำตวั ว่ำ "มันอยำกมผี ัวหรืออย่ำงไรไม่ทรำบ" แล้วกอ็ อกไปตำมหำทหี่ ลังโรง ตำยำย
พดู กบั ลกู สำว ลูกสำวพูดกบั พ่อกบั แมไ่ ดย้ ินแตก่ ระจูก๋ ระจ๋กี ระเส่ำๆ กระซิบกระซำบอยคู่ รู่หนง่ึ แล้วกก็ ลบั มำ แล้ว
นัง่ ลงถำมว่ำ "ในเวลำน้ีท่ำนก็มำแตต่ ัวกบั ม้ำตัวหนงึ่ ถำ้ หำกวำ่ ดิฉนั ทัง้ สองพร้อมใจยกอีงุดลูกสำวฉนั ให้เป็นเมีย
ท่ำน ทำ่ นจะจดั กำรประกำรใดแกด่ ฉิ ันเพื่อใหเ้ ปน็ มงคล จงว่ำใหด้ ิฉันฟงั ก่อนเถดิ เจำ้ ขะ้ "

เจ้ำคณุ แมท่ พั ถอดแหวนออกจำกนว้ิ แล้วบอกว่ำ "แหวนวงนม้ี รี ำคำสูง ถำ้ ว่ำท่ำนบดิ ำมำรดำยนิ ยอมพรอ้ มใจ
ยกแมง่ ุดให้เป็นเมยี เป็นสิทธิแ์ ก่ฉันแล้ว ฉนั จะยกแหวนวงน้ี ตรี ำคำทำสัญญำให้ไว้เป็นสนิ ถ่ำย ๒๐ ช่ัง คดิ เป็น

9

ทนุ เปน็ ค่ำของหม้นั ขันหมำกผ้ำไหวอ้ ยู่ใน ๒๐ ชงั่ ท้ังค่ำเครื่องเหย้ำเครือ่ งเรอื นเบี้ยเลี้ยงคำ่ เลย้ี งค่ำดู คำ่ เครื่อง
เสน้ วกั ตัก๊ แตนเสร็จในรำคำ ๒๐ ชงั่ ด้วยแหวนวงน้ี" สองตำยำยไดฟ้ ังดีใจ เตม็ ใจ พร้อมใจ ตกลงยกลูกสำวให้
ตำมปรำรถนำ เจ้ำคุณแม่ทพั ก็จดั แจงยมื พำนปำกกระจับทองเหลอื งมำแล้วเขียนสัญญำถ่ำยแหวนแลว้ เอำ
ใบตองรองก้นพำนแล้ววำงแหวนทีว่ ่ำนนั้ ลงบนใบตองรองในพำน เชิญเขำ้ ไปคกุ เข่ำสง่ ให้ตำยำยๆ กใ็ ห้ศลี ให้พร
เป็นตน้ วำ่ ขอใหพ้ ่อมคี วำมเจรญิ ดว้ ยลำภยศ ให้เป็นเจ้ำคนนำยคนเถดิ แล้วจัดแจงหุงข้ำว ต้มแกง พลำ่ ยำ ตำ
นำ้ พรกิ ตม้ ผัก เผำปลำ เทยี บสำรับตำมป่ำๆ แล้วเชิญใหอ้ ำบน้ำทำดนิ สพี อง ยำยตำก็อำบนำ้ ลกู สำวก็อำบน้ำ ตำ
ตักนำ้ ใหม้ ้ำกิน พำไปเล้ยี งใหก้ นิ หญ้ำ คร้นั เจ้ำคุณแม่ทพั อำบน้ำทำดินสีพองแลว้ ลกู สำวทำขมิ้นแล้ว ยำยก็ยก
สำรับปเู สอ่ื ลำแพน แลว้ เอำผ้ำขำวม้ำปูบนเส่ือลำแพน ยำยเชญิ เจ้ำคณุ แมท่ ัพให้รบั ประทำนอำหำร

ยำยตำก็รบั ประทำนพรอ้ มกัน นำงงดุ นัน้ ให้กินภำยหลัง ครนั้ รบั ประทำนอำหำรแล้วต่ำงคนนง่ั สั่งสนทนำกัน
ครน้ั เวลำ ๔ ทุ่ม จงึ พำลกู สำวออกมำรดนำ้ รดท่ำ เสร็จแล้วก็ส่งมอบหมำยฝำกฝงั ตำมธรรมเนยี มของชำวเมอื ง
กำแพงเพชรอันเคยทำพธิ มี ำแตก่ อ่ น

สว่ นเจ้ำคุณแมท่ พั รบั ตวั แลว้ กห็ ลบั นอนอยู่ด้วยนำงงุดในกระทอ่ มโรงนำจนรงุ่ สำงสว่ำงฟ้ำแล้ว ตน่ื ขึน้ อำบนำ้
รับประทำนอำหำรแล้วกล็ ำตำยำยข้นึ ม้ำมำบัญชำกำรทก่ี องทัพ พอเวลำคำ่ ส่งั กำรเสรจ็ สรรพแลว้ ห่อเงิน ๒๐
ชั่งมำสูโ่ รงบ้ำนปลำยนำถ่ำยแหวนคนื สัญญำแลว้ กห็ ลับนอน เช้ำกลับค่ำไป เป็นนยิ มมำดังน้ี แม่ทพั นำยกองทั้ง
ปวงจะได้ลว่ งรู้และร่ำลือใหอ้ ้ือฉำวก็เปน็ อันว่ำหำมไิ ด้ แตบ่ ุตรชำยของเจ้ำคุณแมท่ ัพซ่ึงนอนอยใู่ นคำ่ ยมอี ำยุ ๘
ขวบโดยปี จะรกู้ เ็ ขำ้ ใจว่ำไปดูแลตรวจตรำบญั ชำกำร แต่เป็นดังนนี้ ำนประมำณเดอื นเศษ ตำมสังเกตรู้วำ่ นำงงุด
ตั้งครรภ์ ต่อแต่น้นั ก็เพียงแต่ไปมำถำมข่ำว

ครัน้ มที อ้ งตรำหำกองทัพกลับ เจ้ำคณุ แม่ทพั กไ็ ปล่ำลำและส่งั สอนกำชับกำชำโดยนำนปั กำร จนนำงเขำ้ ใจ
รำชกำรตลอดรับคำทกุ ประมำร แล้วทำ่ นกค็ มุ ทัพกลบั กรงุ ธนบุรี

ครน้ั นำงงดุ ไดแ้ ต่งงำนแลว้ เม่ือเดอื นแปด ปีมะแม สปั ตศก แลว้ ก็ต้ังครรภ์ เม่ือครรภย์ ังออ่ นๆอย่นู ้ัน นำงงดุ ไป
ปรกึ ษำหำรอื ด้วย ตำผล ยำยลำ ผู้เปน็ บิดำมำรดำวำ่ จะคดิ กำรข้นึ ลอ่ งค้ำขำยกรุงธนบรุ แี ละเมืองเหนือนัน้ ครน้ั
คนทง้ั สำมปรกึ ษำตกลงเหน็ ชอบพร้อมใจกันแล้ว คนท้งั สำมจงึ ไดร้ วบรวมเงนิ ตน้ ทนุ ทไี่ ด้ไว้ ปนั สว่ นออกเปน็ คำ่
เรอื คำ่ สินค้ำ คำ่ รองสนิ คำ้ ค่ำจำ้ งคน คำ่ ซ่อมแซมอดุ ยำเรือ มน่ั คงเรยี บร้อยแล้ว จงึ ละโรงนำนน้ั เสยี สว่ นนำ
และไร่ผักกใ็ ห้เขำเช่ำเสียแลว้ พำกันลงอยใู่ นเรอื ใหญ่ จัดกำรซอื้ สินคำ้ บรรทุกเรือน้นั เต็มระวำง

ครน้ั ถงึ กำหนดลอ่ งกรงุ ธนบุรี จึงเรยี กคนแจวออกเรอื ล่องลงมำถึงบ้ำนบำงขุนพรหม ฝั่งตะวันออกแห่งกรงุ
ธนบุรีแล้ว เข้ำจอดเรืออำศัยทำ่ หน้ำบ้ำนนำยทอง นำงเพยี น บำงขนุ พรหม เป็นคนเคยอยูเ่ มอื งเหนือแต่ก่อน
และนำยทองนำงเพยี นไดล้ งมำอยูบ่ ำงขุนพรหม ครนั้ ตำผลจัดกำรจอดเรือเรียบร้อยแลว้ จงึ ผอ่ นสินคำ้ ขำยส่ง
จนหมดลำ จงึ จัดซ้อื สินคำ้ บำงกอกและสนิ ค้ำเมืองปกั ษ์ใต้ บรรทกุ เรอื ตำมระวำงแล้ว พอถึงวันกำหนดจงึ แจว

10

กลับขึ้นไปปำกนำ้ โพจำหนำ่ ยในตลำดเมอื งเหนือ ตั้งแต่เมอื งนครสวรรคข์ ึน้ ไป จนถึงเมืองกำแพงเพชร ครั้นคน
ทง้ั สำมซ้ือและขำยหมดเสร็จแลว้ ก็กลับบรรทุกสินคำ้ เมอื งเหนือกลับล่องเรอื ลงมำจอดทำ่ หนำ้ บำ้ นนำยทอง
นำงเพียน บำงขนุ พรหม คำ้ ขำยโดยนยิ มดังน้ี ลว่ งวันและรำตรีมำถึงเก้ำเดอื น ได้กำไรมำกพอแก่กำรปลูกเรอื น
แลว้ จึงเหมำช่ำงไม้ให้ปลกู เป็นเรอื นแพสองหลงั แฝด มชี ำนสำหรบั ผ่งึ แดดพร้อมท้งั ครัวไฟ บนั ไดเรือนบนั ได
น้ำ จำนองที่ดนิ ลงในถน่ิ บำงขนุ พรหมเหนอื บ้ำนนำยทอง นำงเพยี นขน้ึ ไปสัก ๔ ว่ำเศษ เพ่ือเหตจุ ะได้อำศยั
คลอดลกู และใช้ผกู พกั ผ่อนหยอ่ นสินคำ้ เห็นเปน็ กำรสะดวกดที ส่ี ดุ

คร้นั ถงึ ณ วนั พุธ เดอื นหก ปีวอก อัฏฐศก จลุ ศกั รำช ๑๑๓๘ (พ.ศ. ๒๓๑๙) นำงงุดปั่นปว่ นครรภเ์ ปน็ สำคญั
ร้กู ันวำ่ จะคลอดบุตร จึงจัดแจงหอ้ งนำงงดุ ให้เปน็ ท่คี ลอดบุตรโดยฉบั ไว บนเรือนทป่ี ลูกใหมบ่ ำงขุนพรหมนน้ั
คร้นั ได้ฤกษง์ ำมยำมดี นำงงดุ ก็คลอดบุตรเปน็ ชำยทลี่ ำ่ สัน หมู่ญำติมติ รก็ได้มำพร้อมกนั ช่วยอภิบำลบำรุงรกั ษำ
พยำบำล

ครน้ั บุตรน้นั เจรญิ วฒั นำกำรประมำณไดส้ กั เดือนเศษ ญำติมิตรพำกันมำสังเกต ตรวจตรำจับตอ้ ง ประคอง
ทำรกน้อยข้นึ เชยชม บำงคนคลำถกู กระดกู แขนเห็นเป็นแกนกระดูกท่อนเดยี วกัน ก็พำกันเฉลยี วใจโจทย์กันไป
โจทยก์ นั มำ ครน้ั ชอ้ นทำรกขึ้นนอนบนขำเพื่อจะอำบน้ำจงึ พำกนั เหน็ ปำนดำท่ีกลำงหลังอย่หู นึ่งดวง ต่ำงคนตำ่ ง
ก็ทกั ทว้ งกันไปทำยกันมำพูดไปต่ำงๆ นำนำ เปน็ วำจำตำ่ บ้ำงสูงบ้ำงเปน็ ควำมเห็นของคนหมมู่ ำก ทักทำยหลำย
ประกำร จึงทำควำมรำคำญใหแ้ ก่นำงงุดไมส่ บำยใจ เกรงไปวำ่ วำสนำตัวนอ้ ย จะไมส่ ำมำรถคอยเล้ียงลกู คนนี้
ยำก นำงงดุ ถงึ ออกปำกอ้อนวอนบดิ ำ นำยทองและนำงเพียน ให้ชว่ ยสืบเสำะดใู หร้ วู้ ่ำพระสงฆอ์ งคเ์ จำ้ รูปใดอยู่
วดั ไหนทีอ่ ย่ำงดีมอี ยูบ่ ้ำงในแถวน้ี เหน็ พระสงฆ์ท่ดี ี มศี ลี ธรรมวิชำภูมริ ู้ปฏิบตั ิเคร่งครัดอยู่ในวดั ใด ขอได้ช่วยพำ
บตุ รไปถวำยเป็นลูกท่ำนองค์น้นั ในวัดนน้ั ดว้ ยเถิด

นำยทอง นำงเพียนจึง่ พำกันนิ่งนกึ ตรึกตรำไปทกุ วนั ในแถบน้ันจงึ คดิ ถงึ หลวงพ่อแก้ว วดั บำงลำพูบน จึงบอก
แก่นำยผลวำ่ หลวงพ่ออำจำรย์แก้ววัดบำงลำพบู นนี้ท่ำนดจี ริง ดที ุกสง่ิ ตำมทกี่ ล่ำวมำน้ัน ทัง้ เป็นพระสำคัญ
เคร่งครัด ปริยัติ ปฏบิ ัตกิ ด็ ี วิชำก็ดี มีผูค้ นไปมำนบั ถือข้นึ ท่ำนมำกถ้ำพวกเรำไปออกปำกฝำกถวำยเจ้ำหนแู ก่ท่ำน
เห็นท่ำนจะไมข่ ดั ขอ้ ง เพรำะท่ำนมีอธั ยำศยั กว้ำงขวำงดี เมอื่ คนทั้ง ๔ นงิ่ ปรึกษำหำรือตกลงเห็นพรอ้ มใจกนั
แล้ว จงึ ได้พำกนั ลงเรอื ช่วยกันแจวลอ่ งมำวดั บำงลำพูบนเม่ือเวลำบ่ำย ๔ โมงเย็น ถึงแล้วกพ็ ำกนั ขน้ึ วดั นำงงดุ
อมุ้ เบำะลูกอ่อนพำไปนอนแบเบำะไว้มุมโบสถ์วดั บำงลำพู ตอนข้ำงใต้หนำ้ กฏุ ิพระอำจำรย์แก้ว แล้วนำยทองนำง
เพยี น จงึ ไปเทีย่ วตำมหำพระอำจำรย์แก้ว เวลำเย็นน้ันท่ำนพระอำจำรย์แก้วเคยลงกระทำกิจกวำดลำนวดั ทกุ ๆ
วนั เป็นนริ ันดรมิได้ขำด

นำยทอง นำงเพียน มำหำพบหลวงพ่อ กำลงั กวำดลำนข้ำงตอนเหนอื อยู่ นำยทอง นำงเพียนจึงทรดุ ตัวลงนงั่
ยองยอง ยกมือทงั้ สองขึน้ ประนมไหว้ แลว้ ออกวำจำปรำศรัยบอกควำมตำมทีต่ นประสงค์มำทุกประกำร ฝำ่ ย
หลวงพ่ออำจำรย์แก้ว ฟังคำทำนำยนำงเพยี นแล้วตรวจน้ิวมอื ดูร้ฤู กษย์ ำมตำมตำรำ ท่ำนจึงพงิ กวำดไวท้ ่งี ่ำม
ต้นไม้แล้วกม็ ำขึน้ กฏุ ิ ออกนัง่ ทส่ี ำหรบั รับแขกบ้ำนทนั ที

11

ตำผล นำงงดุ ก็ประคองบตุ รน้อยขนึ้ กุฏิ เขำ้ กรำบกรำนพระอำจำรยแ์ ก้ว แล้วจึงกล่ำวคำว่ำ กระผมเปน็ ตำของ
อ้ำยหนนู ้อย อีแมม่ ันนัน้ เปน็ ลูกสำวของกระผมๆ กับอีแม่มันมีควำมยนิ ยอมพรอ้ มใจกันยกอ้ำยหนูน้อยถวำย
หลวงพอ่ เปน็ สทิ ธ์ิขำดแตว่ ันน้ี ขอหลวงพ่อได้โปรดปรำนโี ปรดอนุเครำะห์ รบั อ้ำยเจำ้ หนูนอ้ ยเปน็ ลูกของหลวง
พอ่ ด้วยเถดิ จ๊ะคะ่ ครัน้ กล่ำวคำเช่นน้นั แลว้ จึงพร้อมกันอมุ้ เบำะทำรกขน้ึ วำงบนตักหลวงพอ่ พระอำจำรย์แก้ว
แลว้ ก็ถอยมำนั่งอยหู่ ่ำงตำมท่ีน่งั อยู่เดิมน้นั

ฝำ่ ยพระอำจำรย์แกว้ ต้ังใจรับเด็กอ่อนไว้แลว้ ท่ำนก็ตรวจตรำพจิ ำรณำดู ท่ำนก็รดู้ ้วยกำรพิจำรณำ รู้ว่ำเด็กคน
น้มี ีปัญญำสำมำรถท้งั เฉลยี วฉลำดในกำรร่ำเรียนทงั้ ประกอบดว้ ยควำมเพียรและควำมอดทน ทั้งจะเป็นบุคคลที่
เปร่อื งปรำชญ์อำจหำญ ทั้งจะเปน็ คนท่เี ชีย่ วชำญวิทยำคม ทงั้ จะมีแตค่ นนยิ มฤๅชำปรำกฏ ทัง้ จะเป็นคนกอปร
ดว้ ยอสิ รยิ ศบริวำรยศมำก ท้ังจะเป็นคนประหลำดแปลกกว่ำคน ทง้ั จะเจรญิ ทฤฆชนมม์ ีอำยยุ ืนนำน ครน้ั พระ
อำจำรย์แก้วตรวจวิจำรณ์ชะตำรำศีแล้ว จงึ ผกู ขอ้ มือเสกเปำ่ เข้ำปำกนวดนำบดว้ ยน้ิวของท่ำน เพ่ือรักษำ
เหตกุ ำรณ์ ตำนทรำง หละ ละลอก ทรพิษ ไมใ่ ห้มีฤทธ์ิมำรบกวนแกก่ ุมำรนอ้ ยต่อไป แล้วท่ำนกฝ็ ำกให้นำงงดุ
ชว่ ยเลี้ยง กวำ่ จะได้สำมขวบเปน็ คำ่ จ้ำงค่ำน้ำนมข้ำวปอ้ นเสร็จปลี ะ ๑๐๐ บำท แล้วทำ่ นกป็ ระกำศสงั่ ซ้ำว่ำ อย่ำ
ให้มำรดำกนิ ของขมและของเผด็ ร้อน และของบูดแฉะ เกรงขีระรสธำรำจะเสยี แล้วท่ำนก็กำชบั ส่ังนำยผลให้เอำ
ใจใส่ระไวระวังคอยเตอื น อย่ำใหน้ ำงแม่มันเลน่ เล่อเหมอ่ ประมำท คอยขูต่ วำดนำงแม่มันอย่ำให้กนิ ของแสลง
ตำมที่เรำหำ้ มจงทำตำมทุกประกำร

ฝำ่ ยตำผล นำงงดุ พนมมือรับปฏญิ ำณแล้วกรำบกรำนลำ รับเบำะลกู นอ้ ยมำแล้วลงกฏุ ิ พำกันมำลงเรือปูแ้ หระ
ช่วยกันแจวแชะแชะมำจนถึงเรอื ใหญ่ท่ำหน้ำบำ้ นบำงขนุ พรหม แล้วกร็ ออยพู่ อหำยเหนอ่ื ย จนอำยเุ ด็กเจริญข้นึ
ได้ ๓ เดือน จึงหำฤกษ์โกนผมไฟในเดอื น ๙ ปีวอก ฉศกน้ัน ครน้ั กำหนดวนั ฤกษ์แลว้ จึงนำยผลออกไปวัด
บำงลำพูบน นิมนตท์ ำ่ นพระอำจำรยแ์ กว้ แล้วขอเผดียงสงฆ์อกี ๔ รูป รวมเป็น ๕ รปู เข้ำมำเจรญิ พระปริตร
พุทธมนต์ในเวลำเย็น รุ่งขนึ้ ฤกษ์โกนผมไฟ แล้วนมิ นต์รบั อำหำรบิณฑบำต

ครนั้ นำยผลทรำบว่ำ พระอำจำรย์ทรำบแลว้ จึงนมสั กำรลำกลับมำ เที่ยวบอกงำนและจดั หำเคร่อื งบชู ำ เคร่ืองใช้
สอย โตกถำดภำชนะ ทงั้ เครื่องบุดำดอำสนะพร้อมแม่ครวั เมื่อถึงวันกำหนด พระสงฆ์มำพร้อม จงึ เผดยี งขึ้นสู่
โรงพธิ บี นเรือนแพทป่ี ลูกใหม่น้นั แล้วพระสงฆ์ก็เร่ิมกำรสวดมนต์ ครั้นสวดมนตแ์ ล้ว พระสงฆ์กลับแลว้ จึง
จัดกำรเล้ียงดูกนั

ครนั้ รุง่ เช้ำพระสงฆ์มำพรอ้ มน่ังอำสน์ จึงนำเดก็ ออกมำฟังพระสวดมนต์ พระสงฆ์สวดชยั มงคลคำถำแล้วโกน
ผมไฟกนั ไปเรอื่ ย แล้วจัดอำหำรบณิ ฑบำตอังคำสแกพ่ ระสงฆ์แล้ว พระสงฆ์ทำภตั กจิ อนุโมทนำแลว้ กลบั จงึ
จดั กำรประพรมเหย้ำเรือนจุณเจิมเรอื และเรือนเสรจ็

12

ครน้ั จัดกำรทำบุญให้ทำนเสร็จแลว้ พักผ่อนพอหำยเหนื่อยจึงจดั สรรพสินค้ำเมืองปกั ษ์ใตไ้ ดเ้ ตม็ ระวำงแลว้ จึง
ออกเรอื ไปเมืองเหนอื จำหน่ำยสนิ ค้ำ กจ็ ดั รองสินค้ำเมืองเหนอื มำจำหน่ำยในบำงกอก กระทำพำนชิ กรรม
สัมมำอำชีวะอย่ำงน้ีเสมอมำ กบ็ นั ดำลผลใหเ้ กิดหมนุ พูนเถำมัง่ ค่ังสมบรู ณข์ ้ึนหลำยสบิ เท่ำ พ่อค้ำแม่ค้ำทั้งปวงก็
ร้จู ักมกั คุ้นมำกข้ึนเปน็ ลำดับมำ ตำผล ยำยลำ นำงงดุ จึงได้ละถน่ิ ฐำนทำงเมอื งกำแพงเพชรเสียลงมำจบั จอง
จำนองหำท่ีดินเหนือเมืองพจิ ิตร ปลกู คฤหำสถำนตระหง่ำนงำมตำมวิสัยมีเรือนอยู่ หอน่ัง ครัวไฟ บันไดเรือน
บนั ไดน้ำ โรงสี โรงกระเดื่อง โรงพักสนิ คำ้ โรงเรือน ร้ัวล้อมบำ้ น ประตหู น้ำบำ้ น ประตูหลังบำ้ น ไดท้ ำบุญให้
ทำนท่วี ัดใหญ่ในเมอื งพิจิตรนัน้ จึงไดม้ ีควำมชอบชิดสนทิ กบั ทำ่ นพระครูใหญ่ วัดใหญ่นน้ั มีธรุ ะปะปงั อันใดก็ได้
สงั สรรค์ไปมำ ทำยกแจกฎกี ำไม่ว่ำกำรอะไรมำถึงแล้วไมผ่ ลกั ยนิ ดีรกั ในกำรทำบุญกำรกศุ ล เลยเป็นบคุ คลมี
หน้ำปรำกฏในเมอื งพจิ ิตรสืบไป

ทำ่ นพระครใู หญ่วัดใหญใ่ นเมืองพิจติ รนนั้ ท่ำนองค์น้ดี ีมำกในทำงควำมรู้วชิ ำอำคมกข็ ลังมำก วชิ ำฝ่ำยนักเลง
ตำ่ งๆ พอใช้ เปน็ ทเ่ี คำรพยำเกรงของหมู่นกั เลงขย้ันเกรงกลัวท่ำนมำก ท่ำนพระครูใหญ่วัดใหญพ่ ระองคน์ ี้
เชยี่ วชำญชำนำญรอบรู้ในคัมภีร์มูลปกรณท์ ั้ง ๕ คมั ภรี ห์ ำมีผู้เปรียบเทยี บเทำ่ ท่ำนในเมืองนน้ั ในครำวน้นั มไิ ด้
ใช่แตเ่ ท่ำนัน้ ทำ่ นขลังในอำคมทำงอยยู่ งคงกระพันชำตรี ทำงภตู ทำงผที ำงปศี ำจก็เกง่ พร้อม ห้ำมเสอื ห้ำมจระเข้
ห้ำมสัตวร์ ้ำยก็ได้ เสกเปำ่ ให้คนและสตั วร์ ำ้ ยอ่อนเพลียเสียกำลงั ยนื งงนง่ั จงั งังก็ทำได้ พระสงฆใ์ นเมืองพจิ ติ ร
เกรงกลัวท่ำนมำกตลอดแขวงตลอดคุ้ม ไมม่ วี ดั ไหนล่วงบัญญัตกิ ัตติกสัญญำณำบัติเลย ทงั้ เจ้ำเมอื งกรมกำรก็
ยำเกรงขำมท่ำนพระครูวัดใหญม่ ำก ใช่แต่เท่ำน้ันท่ำนกอปรด้วยเมตตำกรณุ ำอนกุ ลู สปั ปุรุษ อุบำสิกำ สำนุศษิ ย์
มิตรญำติ สงเครำะหอ์ นเุ ครำะห์ อำรีอำรอบทัว่ ไป มีอัธยำศยั กว้ำงขวำง เผอ่ื แผเ่ อื้อเฟอื้ เกือ้ กูลคนท่ีควร
สงเครำะห์ ไมจ่ ำเพำะบุคคล ข่มขข่ี ัดเกลำกิเลสด้วยไมโ่ ลภโมหโ์ ทสันต์ ขันติธรรมก็พอใช้ วินัยกพ็ อชม มผี ูน้ ยิ ม
สหู่ ำมำไปมไิ ด้ขำด ท้ังฉลำดในขอ้ ปฏิสนั ถำร กำรวัดกจ็ ดั จ้ำนเอำใจใส่ กำรปฏสิ ังขรณก์ เ็ ข้ำใจปะตปิ ระต่อก่อปรงุ
ถำวรวัตถกุ รรม แนะนำภิกษุสำมเณรและอุบำสกอุบำสิกำให้รจู้ ัดกิจถือพระพุทธศำสนำให้กอปรด้วยประสำทะ
ศรัทธำมนั่ คง จำนงแน่ในพระรตั นตรัย หมน่ั เอำใจใส่สอนศษิ ย์ให้รทู้ ำงประโยชน์ดี.

13

ตอนท่ี ๓

เมือ่ ตำผล ยำยลำ นำงงดุ จะลอ่ งลงมำค้ำขำย กต็ อ้ งออกไปล่ำลำรดนำ้ มนตร์ บั น้ำมำพรมสนิ คำ้ และพรมเรือ
พรมคนแจว พรมบ้ำนเรือน เพือ่ ใหพ้ น้ ภยั อนั ตรำยใหซ้ ้ือง่ำยขำยคล่อง เวลำตำผลนำงงุดกลับก็ต้องข้ึนสกั กำระ
ทำ่ นพระครู จึงบันดำลใหม้ ผี ู้นิยมรกั แรงแข็งขอบไปท้ังเมืองเหนอื เมืองใต้ มีคนเกรงใจเชือ่ หนำ้ ถอื ตำ เมอ่ื จะค้ำ
ก็ไม่ตอ้ งลงทุนไดผ้ ่อนทรัพยอ์ อกไปหมนุ หำดอกเบี้ย และปัวเปยี เข้ำหนุ้ กับพอ่ ค้ำใหญ่ๆ ก็ได้กำไรงอกงำม ตำม
ประวตั กิ ำรแหง่ พำณิชยกรรม ร่ำมำด้วยประกำรดังนี้.

(เรียบเรียงตำมเค้ำรูปภำพในฉำกที่หน่งึ คงไดค้ วำมเพียงนี้)

เรื่องท่ีว่ำ ตำผล ยำยลำ นำงงดุ ค้ำขำยเกิดหนนุ พูนเถำ ได้กำไรมั่งมี ถึงกบั ย้ำยถน่ิ ฐำนภูมลิ ำเนำเดิมมำตงั้
หลกั ฐำนอยู่ในแขวงเมอื งพิจิตรน้ัน เรียงควำมตำมเค้ำรปู ภำพในฝำผนังเป็นฉำกท่ี ๒ เจ้ำของทำ่ นเขียนเป็นรูป
เมืองพจิ ติ ร เขียนรูปเจำ้ เมอื งพิจติ รกำลังมีงำน เขียนรูปวัดใหญ่ในเมืองพิจติ ร เขียนรูปท่ำนพระครูใหญ่ เขียน
รปู สำมเณรโตเรยี นหนงั สือ เขียนรูปสำมเณรโตทดลองวชิ ำทเี่ รียนจำกท่ำนพระครูใหญว่ ัดใหญ่ เขียนบ้ำนเรือน
ตำผล ยำยลำ นำงงดุ เขยี นหนโู ต ๗ ขวบ พจิ ำรณำแล้วลงสันนิษฐำน อนุมำนแปลออกจำกใบ้ในรปู ภำพประวตั ิ
ฉำกท่ี ๒ ของทำ่ น คงได้เรอ่ื งไดค้ วำม ดงั จะเล่ำสกู่ นั ฟงั ดังน้ี

ครัน้ ถงึ ปีขำล จัตวำศก จุลศักรำช ๑๑๔๔ แผ่นดินพระเจ้ำกรุงธนบรุ สี นิ้ อำนำจแล้ว เป็นปีทส่ี มเดจ็ เจ้ำพระยำ
มหำกษัตริยศ์ กึ ได้ขึ้นเถลงิ ถวัลรำชยป์ รำบดำภิเษกเปลยี่ นเปน็ ปฐมบรมจักรีพระองค์แรก และยำ้ ยพระมหำนคร
มำข้ำงฝ่งั ตะวันออกแห่งกรุงธนบุรี ตรงหวั แหลมระหว่ำงวัดโพธิ์และวัดสลกั เปน็ วัดเก่ำมำกทงั้ ๒ วัด เป็นครำว
ผลัดแผน่ ดินใหม่ ทรงขนำนนำมพระนครใหม่ว่ำ กรุงเทพพระมหำนครฯลฯ พระบรมรำชนำมำภไิ ธยวำ่ สมเดจ็
พระพุทธยอดฟำ้ จุฬำโลก รัชกำลท่ี ๑ กรุงเทพฯ ทรงต้งั เจำ้ พระยำสุรสีห์น้องชำย เปน็ สมเด็จพระอนุชำธริ ำช
เจ้ำฟำ้ มหำสุรสหี นำท กรมพระรำชวงั บวรสถำนมงคล ทรงตั้งมเหสเี ดมิ เปน็ สมเดจ็ พระเจ้ำลกู เธอเจ้ำฟ้ำกรม
หลวงอศิ รสนุ ทร ทรงตั้งสมเด็จพระจำ้ หลำนเธอเจ้ำฟำ้ กรมขุนอนรุ ักษ์เทเวศร์ ขนึ้ เป็นสมเด็จพระเจำ้ ภคเิ ณย
รำชกรมพระรำชวงั บวรสถำนพมิ ขุ ฝำ่ ยพระรำชวังหลังรบั พระรำชบัญชำ

ฝำ่ ยหนโู ต บุตรชำยของนำงงุดเมืองพจิ ติ รน้ัน มีชนมำยุได้ ๗ ขวบ ครั้นกำรบ้ำนเมืองสงบเรยี บรอ้ ยเป็นปกติ
แล้ว นำงงุดจึงไดน้ ำหนูโต อำยุ ๗ ขวบ น้ันเข้ำไปถวำยท่ำนพระครใู หญ่ เมอื งพิจติ ร ให้เปน็ ศษิ ยเ์ รยี นหนังสือ
ไทย หนังสือขอมและกิรยิ ำมำรยำท และขนบธรรมเนียมกำรวัด กำรบำ้ นกำรเมือง กำรโยธำ กำรเรอื น กำรค้ำ
ขำย เลขวิธี กำรของผู้อยู่ กำรของผไู้ ป กำรรบั กำรส่ง กำรท่เี จ้ำจะใช้นำยจะวำน กำรไว้ท่ำวำงทำง ทำทว่ งทำที
สำหรับผ้ลู ำกมำกดีในสำนกั นี้ ท่ำนพระครใู หญว่ ัดใหญ่นนั้

ครนั้ ถึงปวี อก สัมฤทธิศก จลุ ศกั รำช ๑๑๕๐ อำยหุ นูโตได้ ๑๓ ขวบ เป็นครำวทจ่ี ะทำกำรโกนจุกแล้ว ตำผล นำง
งดุ จงึ รบั เขำ้ พักอย่ทู ี่บำ้ น เพ่ือระวังเหตุกำรณ์ แล้วจึงจัดบ้ำนชอ่ งค้ำจุนหนนุ เตำหมอ้ ก่อเตำไฟ ซ่อมบันได

14

เตรียมเครือ่ งครัวพร้อมกำหนดวันฤกษ์งำมยำมดี หนกี ำฬกิณีตำมวิธีโหรำจำรยบ์ รุ ำณประเพณไี ดว้ นั ดีแล้ว ใน
เดอื น ๖ ข้ำงข้ึน จึงเผดียงท่ำนพระครใู หญ่พระอำจำรย์พระเจ้ำอธกิ ำรวัด พระฐำนำ พระทเี่ ป็นญำติและพระที่
เปน็ มติ รรวม ๑๑ รูป กำหนดวนั เวลำแล้วเผดยี งสวดมนต์ฉันเช้ำ และเชิญท่ำนเจ้ำเมืองกรมกำรผใู้ หญ่ พ่อค้ำ
แมค่ ำ้ คฤหบดี คฤหปตำนี เจ้ำภำษี นำยอำกร อำเภอ กำนัน พนั ทะนำยบ้ำน นำยกองขุนตำบล และคณะญำติ
ผู้ใหญ่ผนู้ อ้ ยรอบคอบแล้ว จัดกระจำยใบบวั บรรจขุ นมของกิจและผลำผลกบั ปิยจรรหรรมจั ฉมังสำหำร เป็น
เครือ่ งไทยทำน ถวำยแถมพกตอนเช้ำ ผ้ำไตรจวี รถวำยตอนเย็น หำเสภำมำขับตลอดกลำงคนื หำละครสมโภช
ในตอนทำขวญั แล้วบุดำษมงุ บัง ปู ปดั จดั ตัง้ พร้อมทุกสิ่งทุกประกำร

ครั้นถงึ วันกำหนด พระสงฆ์มำ แขกก็มำ จดั บุคคลทีส่ มควรรับรองเชื้อเชิญนั่งลกุ ตำมขนบธรรมเนียมอย่ำงชำว
เหนือในเวลำนัน้ เรมิ่ กำรสวดมนต์ ตงั้ หม้อเตำ้ นำ้ สังข์มงั มี มีดโกนดำ้ มสำมกษัตรยิ ์ บัตรบำยศรมี พี ร้อมในโรง
พธิ บี นหอนัง่ เป็นทเี่ อิกเกริก สวดมนต์พระสงฆแ์ ล้วกจ็ ดั แจงเลีย้ งดกู ันอ่มิ หนำสำรำญ พอตกพลบคำ่ ก็จดุ ตำม
ประทีปโคมไฟสว่ำงมเี สภำรำต่อไป

ครั้นเวลำเช้ำวันรุ่งขึ้น พระสงฆม์ ำพร้อมตำมเวลำ แขกท่ีเชิญมำน่ังพรอ้ มตำมกำหนดนดั นำหนูโตออกจำก
เรือน มำนงั่ ในโรงพธิ ีทห่ี อนัง่ ฟังพระสงฆส์ วดชยั มงคลคำถำ แล้วได้เวลำกำหนดฤกษ์ พระสวดชะยันโต ท่ำน
เจ้ำเมืองหยิบกรรไกรยกกระบัตรแหวกจกุ ผกู สำมรอบเรียกวำ่ ไตรสิงขร พระสวดถึง (ปลั ลังเกสีเส) ทำ่ นเจ้ำ
เมืองลงกรรไกรคีบจกุ ขำดออกท้งั สำมจอบ แล้วโกนดว้ ยมีดด้ำมนำค ด้ำมเงิน ด้ำมทอง เรยี กว่ำมดี สำมกษัตริย์

ถำมวำ่ เหตไุ ฉนจึงทำกันอย่ำงน้ี?
ตอบ เดมิ เปน็ ทำงมำตำมคัมภีร์ไสยศำสตร์ก่อน

ภำยหลังพรำหมณน์ ำมำเชือ่ มกับพุทธศำสตร์ (แตผ่ ู้เรียบเรียงมีควำมเห็นวำ่ ท่ำนบรุ ำณคณำจำรยค์ งจะคิดเหน็
ตำมศพั ท์ว่ำ สัพเพเต อนั ตรำยำ ฯลฯ ชะรอยท่ำนจะแปลคำวำ่ เต ว่ำ ๓ ท่ำนจะไมแ่ ปลคำ เต ว่ำ เหลำ่ นั้น จงึ ทำ
๓ แหยม เปน็ ปอยๆ)

ครน้ั พนกั งำนโกนผมทีศ่ ีรษะหนโู ตหมดแลว้ จึงอมุ้ หนโู ตออกไปน่ังเตียงเบญจำ ท่ำนเจ้ำเมืองรดนำ้ มนตด์ ้วยสงั ข์
ก่อน แล้วบรรดำแขกท่ีเชิญมำและคณะญำติมติ รกช็ ่วยรดนำ้ หลั่นกันลงไป เสรจ็ กำรรดน้ำแลว้ ก็อุ้มหนโู ตเข้ำ
เรือนจัดแจงเปลี่ยนเสอ้ื ผ้ำต่อไป

ฝ่ำยพนักงำนยกสำรบั ก็ยกมำ พวกใส่บำตรก็ใสไ่ ป เสร็จแล้วก็ยกประเคนพระ พระลงมือฉัน ครั้นพระเสรจ็ จำก
ภัตตกิจแลว้ เจำ้ ของงำนก็จดั แจงถวำยเคร่ืองไทยทำนตำมทีจ่ ดั ไวแ้ ละเพิ่มเตมิ ค่ำจตปุ ัจจัยตำมควร พระ
อนโุ มทนำแล้วกลบั ไป

15

ฝ่ำยเจ้ำงำนกจ็ ัดแจงเล้ยี งดปู ูเสื่อกนั เสรจ็ แลว้ จงึ ตั้งระเบียบบำยศรี แวน่ เวยี นแวดลอ้ มญำตมิ ิตรคนเชิญขวญั ก็
มำนง่ั จงึ อุ้มหนโู ตออกมำน่ังกลำงหอนัง่ ให้คอยฟังคนเชญิ ขวัญร่ำรำพรรณ พรรณนำสน้ิ วำระ ๓ จบแล้ว ก็ออก
เทียน แวน่ ที่มรี ูปหอยออกกอ่ น เวยี นเปน็ ทักษิณำวัฏ ๓ รอบแลว้ ผู้อวยพรกร็ บั มำเศกวิษณุเวทยม์ นตรำคมน์
เป่ำลมแล้วระบำยควันดบั เทยี นนนั้ เปำ่ ควนั ให้กุมำรได้รบั สัมผสั แล้วผจงผลดั ผ้ำห้มุ คลมุ บำยศรี หยบิ เคร่ืองพลี
มีกุ้งพล่ำและปลำยำ สิ่งละคำคกุ เข่ำป้อน เปิดมะพร้ำวออ่ น ชอ้ นตักนำ้ นำใหซ้ ด จุณจนั ทนบ์ ทกระแจะเจิมเสก
ส่งเสริมสวัสดี ตำมพธิ ไี สยศำสตร์ พวกพณิ พำทย์บรรเลงเพลงคร้ืนเครงโครม เสียงส่งสำเนยี งโห่สน่ัน เมือ่ ทำ
ขวัญกุมำรโตเปน็ มะโหรำดิเรก เป็นเอเ้ อกอกึ กระทึก ทร่ี ะลึกทว่ั ไปสำหรบั ใหเ้ ป็นตวั อย่ำงคนลำงบำงในภำยหลงั
จะได้ฟงั เป็นกำรดี ครน้ั ทำพิธีทำขวัญแลว้ เปน็ ท่ีแผ้วผอ่ งภิญโญ กมุ ำรโตจงึ ส่งผำ้ ให้มำรดำรับไว้ เก็บเขำ้ ไปใน
เรอื นพลัน พวกลงขันยื่นเงนิ ตรำใหเ้ สอ้ื ผ้ำตำมฐำนะ ไมเ่ กณฑก์ ะเป็นอตั รำเคยมมี ำแต่โบรำณ

ครั้นกำรน้นั เสรจ็ แล้ว โดยสะดวกเรียบรอ้ ยทุกประกำร พวกละครรำกโ็ หมโรงเลน่ ไปวันหนึง่ จึงเลิกงำน แล้ว
เลีย้ งดกู ันสำรำญในเวลำเย็นอีกครำวหนึง่ ครน้ั ล่วงมำอีก ๗ วนั นำงงุดจึงนำกุมำรโตบตุ รออกไปมอบถวำย
ทำ่ นพระครูวัดใหญใ่ นเมืองพิจิตรอีก แล้วให้ท่ำนสอนสำมเณรสิกขำ นำสะนงั คะใหร้ ขู้ อ้ ปฏบิ ัตใิ นวัตรทำง
สำมเณรภมู ติ ่อไป

ครน้ั ถึงเดอื น ๘ ปีวอกนั้นเอง นำงงดุ มำรดำและคณำญำติใหญ่น้อย ได้จดั บริขำรไตรจีวรและยอ้ มรัดประคด
ของบิดำทีไ่ ดก้ ำชดั มอบหมำยไว้แต่เดมิ นนั้ เป็นองคะพนั ธบริขำรพรอ้ มทัง้ บำตรโอตะลุม่ เสอ่ื มุง้ น้ำมนั มะพรำ้ ว
ตะเกยี ง กับเคร่อื งถวำยพระอุปชั ฌำยแ์ ละถวำยพระอันดบั อกี ๔ องค์ แล้วพำกนั ออกไปที่วดั อำรำธนำทำ่ นพระ
ครูให้ประทำนบรรพชำแกก่ มุ ำรโต และขอสงฆน์ ั่งปรกอกี ๔ องค์ รวมเป็น ๕ ทัง้ พระอปุ ัชฌำย์ลงโบสถ์ พระครู
กอ็ นมุ ตั ติ ำมทุกประกำร

คร้นั สำมเณรโตได้บรรพชำเสรจ็ แลว้ ก็ตงั้ ใจเคร่งครดั เกรงต่อพระพุทธอำญำ อตุ สำห์เอำใจใส่ปรนนิบตั ิพระ
อุปัชฌำยท์ กุ วนั วำร อุตสำห์กิจกำรงำนในหน้ำท่ี อตุ สำห์เล่ำเรียนคมั ภีร์มูละกัจจำยนะปกรณ์ เป็นต้นว่ำเลำ่ สตู ร
จบเล่ำโจทยจ์ บจำไดแ้ มน่ ยำดี เรียนบำลีไวยำกรณ์ ตงั้ แต่สนธิ นำม และษมำส ตทั ธิต อุณณำท กริต กำรก และ
สนธพิ ำละวะกำร สทั ทะสำร สนั ททะพินธ์ุ สทั ทะสำลนิ ี คัมภีร์มูลทั้งส้นิ จบสิ้นบรบิ ูรณแ์ ม่นยำจำไดด้ ี ถึงเวลำค่ำ
รำตรกี จ็ ุดประทีปถวำยพระอปุ ัชฌำย์ นวดบำทำบีบแขง้ ขำนวดเฟ้น หมั่นไต่ถำมสอบทำนในกำรทเ่ี รยี นเพยี รหำ
ควำมตำมภำษำเดก็ ถำมเล็กถำมนอ้ ยค่อยๆออเซำะพูดจำประจ๋อประแจ๋ กระจ๋มุ กระจ๋ิมยิ้มย่องเปน็ ทีต่ ้องใจใน
ทำ่ นพระครุอปุ ชั ฌำย์ ท่ำนเกิดเมตตำกรณุ ำแนะนำธรรมปรยิ ำย ท่ำนต้องขยำยเวทย์มนต์ดลคำถำสำหรบั แรด
หมี เสอื สำง ช้ำง มำ้ มหิงสำ โคกระทงิ เถอื่ นที่ดรุ ้ำย จระเข้เหรำวำ่ ยวนเวียนไมเ่ ขำ้ ใกล้ สนุ ขั ปำ่ สุนัขไน สุนัข
บ้ำน อันธพำล คนเก่งกำจฉกรรจ์เปำ่ ไปใหง้ งงนั ยืนจังงัง ต้งั ฐำนภำวนำบริกรรมทำศูนยต์ รงนฯี้ ต้ังสตไิ วเ้ บอ้ื ง
หน้ำแห่งวิถีจติ อยำ่ งน้ๆี ทำ่ นบอกกะละเมด็ วิธีสอนสำมเณรให้ชำนชิ ำนำญ รอบรใู้ นวทิ ยำคณุ คำถำมหำนยิ ม เกิด
เปน็ มหำเสน่ห์ทวั่ ไป สำมเณรโตก็อตุ สำห์รำ่ เรยี นได้ในอำคมต่ำงๆ หลำยอยำ่ งหลำยประกำร ออกป่ำเข้ำบำ้ น
ทดลองวิชำควำมรู้ ในวันโกนวันพระท่วี ่ำงเรียนมูละปกรณแ์ ลว้ ก็ตอ้ งทดลองวิชำเบด็ เตล็ดเป็นนติ ยกำล จน
คลอ่ งแคลว่ ชำนชิ ำนำญใช้ได้ดงั ประสงคท์ กุ อย่ำง

16

ครน้ั ถงึ ปีจอ โทศก จุลศกั รำช ๑๑๕๒ อำยุของสำมเณรโตได้ ๑๕ ปี บวชเปน็ เณรได้ ๓ พรรษำ เลำ่ เรยี น
คัมภรี ์มลู ะกจั จำยนะปกรณจ์ บ เข้ำใจไวยำกรณ์ รู้สมั พนั ธบ์ ริบรู ณ์ ครัน้ ถึงเดอื น ๑๒ ปีจอ โทศกน้ัน สำมเณรโต
เกิดกระสันใคร่เรยี นคมั ภีร์พระปรยิ ัติศำสนำตอ่ ไป

ฝ่ำยท่ำนพระครไู ดฟ้ ังคำสำมเณรโต เขำ้ มำร้องขอเรยี นคมั ภีร์พระปริยัตธิ รรม อกี ท่ำนก็อั้นอกอึกอักอกี ด้วย

คมั ภรี พ์ ระปรยิ ัตไิ ด้กระจัดกระจำยตกเร่ียเสยี หำยป่นปีม้ ำก แต่คร้ังพม่ำเขำ้ มำตกี รุง ซ้ำสังฆรำชเรือง เผยอตัง้

ตัวขึน้ เป็นเจ้ำแผ่นดนิ ทำใหส้ มบตั ิของวัดวำอำรำมเสียหำยหมดอกี เป็นคำรบ ๒ ซำ้ ร้ำยพวกผรู้ ้ำยเข้ำปล้น

พระพุทธศำสนำคว้ำเอำพระคัมภีร์ปริยัติสำหรับวดั น้ีไปจนหมดสิ้นเปน็ คำรบ ๓ และวัดแถบนีก้ ็หำตำรำหยบิ ยืม

กันยำก ถึงจะมีบำ้ งก็เล็กนอ้ ยสกั วดั ละผูกสองผูก ก็จะไม่พอแก่สตปิ ัญญำของออสำมเณรโต จะเป็นทำงกระดัก

กระเดิก ครั้นกจู ะปิดบงั เณรเพือ่ หนว่ งเหนี่ยวชักนำไปทำงอื่นก็จะเปน็ โทษมำกถึงอเวจี ควรกูจะตอ้ งช้ีช่องนำ

มรรคำจงึ จะชอบด้วยพระพุทธศำสนำตำมแบบพระอรหันตำขีณำสพแต่กอ่ นๆ เม่ือทำ่ นไดก้ ลุ บตุ รทด่ี มี ี

สติปัญญำวสิ ำระทะแกล้วกล้ำ สำมำรถจะทำกิจพระศำสนำได้ตลอด ท่ำนก็มิได้ทิ้งทอดหวงหำ้ มกักขังไว้ ท่ำน

ย่อมส่งกุลบุตรน้ันๆไปสสู่ ำนกั พระมหำเถระเจ้ำซึง่ เชย่ี วชำญต่อๆ ไปเป็นลำดบั จนตลอดกลุ บตุ รนั้นๆ ลุลว่ งสำเร็จ

กิจตำมประสงค์ทุกๆพระองค์มำ ก็กำลนีส้ ำมเณรโตเธอก็มีปรีชำวอ่ งไว มีอุปนสิ ัยยินดตี ่อพระบวรพุทธศำสนำ

มำกอยู่ ไม่ควรตัวกูเปน็ อุปัชฌำย์อำจำรย์จะทำนทดั ขดั ไว้

คร้นั ทำ่ นดำริเหน็ แจม่ แจ้งน้ำใจที่ถูกต้องตำมคลองพระพทุ ธศำสนำนิกมณฑลฉะนีแ้ ล้ว ท่ำนจึงมีเถระบญั ชำแก่
สำมเณรโตดังน้ี

เออแน่ะ สำมเณรโต ตัวกูนี้มคี มั ภีร์มลู กูชอบและกสู อนกุลบุตรไดต้ ลอดทุกคัมภรี ์ แตก่ กู ็มแี ต่คัมภีร์มลู ครบ
ครนั เหตุว่ำกูรักกนู ยิ ม กรู วบรวมรกั ษำไว้ ถงึ ว่ำจะขำดเรยี่ เสยี หำยกระจัดกระจำยไป ก็จัดงำนซ่อมแซมข้ึนไวจ้ ึง
เปน็ แบบแผนพร้อมเพรยี งอยู่ เพรำะกมู นี ิสัยรู้แต่เรื่องมูลและไวยำกรณ์เท่ำน้ัน แตค่ ัมภรี ป์ ริยตั ิธรรมนนั้ เปน็
ของสดุ วสิ ยั กู กไู ม่ได้สะสมตำรับตำรำไมม่ คี มั ภีร์ฎกี ำอะไรไวเ้ ลย ในตูห้ อไตรเล่ำกม็ ีแต่หอและตู้อยเู่ ปล่ำๆ ถ้ำหำก
วำ่ กูจะเท่ยี วยืมมำแตอ่ ำรำมอื่นๆ มำบอกมำสอนเธอไดบ้ ำ้ ง แตก่ ูไมใ่ ครจ่ ะไวใ้ จตัวกู ก็คงบอกไดแ้ ต่กค็ งไมด่ ี
เพรำะกูไม่สู้ชำนำญในคมั ภรี พ์ ระปริยัตินกั จะกักเธอไว้ กจ็ ะพำเธอโง่งมงำยไปด้วย เพรำะครูโง่ลกู ศษิ ย์กต็ อ้ งโง่
ตำม กูเองก็เปน็ เพรำะเหตุนจ้ี งึ ได้ยอมโง่ แตค่ ร้ันมำถึงเธอเข้ำจะทำให้เธอโงต่ ำมนัน้ ไมค่ วรแก่กู และว่ำถ้ำเธอมี
ศรัทธำอตุ สำหะใคร่แท้ในทำงเรยี นคัมภีรพ์ ระปริยัตศิ ำสนำแนน่ อนแล้ว กจู ะบอกหนทำงให้ กจู ะแนะนำไปถงึ
ทำ่ นพระครูวดั เมืองไชยนำท ทำ่ นพระครูเจ้ำคณะพระองค์นี้ดีมำก ทั้งท่ำนก็คงแก่เรยี น ทง้ั เปน็ ผ้เู อำใจใส่หมั่น
ตรวจตรำสอบสวนศัพทแ์ สงถ้อยคำบำบำทพระศำสนำเสมอ ทั้งบอกพระบอกเณรเสมอ จึงเรยี กว่ำมีควำมรู้
กวำ้ งขวำงทำงคมั ภรี พ์ ระพทุ ธศำสนำ อรรถฎกี ำกม็ มี ำก ท้ังท่ำนเอำใจใสต่ รวจตรำรวบรวมหนังสือไว้มำก ถึง
นกั ปรำชญ์ในกรงุ ทำ่ นก็ไม่หว่ันหวำดสยดสยอง ถ้ำเธอมีควำมอตุ ส่ำหจ์ ริงๆ เธอก็พยำยำมหำหนทำงไปเรยี นกับ
ท่ำนใหไ้ ดเ้ ธอจะรธู้ รรมดที ีเดียว

17

ฝำ่ ยสำมเณรโตได้สดับคำแนะนำของท่ำนพระครูผู้เป็นพระอุปัชฌำย์ดัง่ นัน้ เธอย่ิงมีกระสนั เกดิ กระหำยใจใคร่
เรยี นรู้ จึงกรำบลำท่ำนพระครู เลยเขำ้ ไปบ้ำนอ้อนวอนมำรดำและคุณตำโดยอเนกประกำร เพื่อจำให้นำไปถวำย
ฝำกมอบกบั ทำ่ นครจู งั หวัด วัดเมอื งไชยนำทบุรี

ฝำ่ ยคุณตำผล นำงงุดโยมผู้หญงิ ฟังสำมเณรโตมำออดแอดอ้อนวอนก็คดิ สงสำรไม่อำจขัดขวำงหำ้ มปรำมได้
จงึ ไดร้ ับคำสำมเณรว่ำจะนำจะพำไปฝำกให้ ขอรอใหจ้ ดั เรอื จัดคนจดั เสบยี งอำหำรก่อนสัก ๒ วนั จะพำไป
สำมเณรโตไดฟ้ ังก็ดใี จกลับมำสูอ่ ำรำมเดิม

ครน้ั รุ่งข้นึ เวลำเยน็ ๆ นำงงุด ตำผลจงึ ออกไปกรำบเรียนบอกควำมประสงค์สำมเณรโตแกท่ ำ่ นพระครวู ัดใหญ่
ทุกประกำร แล้วขอลำพำเณรไปสง่ ตำมใจในวันรุ่งเช้ำพรงุ่ น้ี ทำ่ นพระครกู ็ยนิ ดีอนญุ ำตตำมประสงค์ ทง้ั ๒
ผใู้ หญน่ ้นั ก็ลำกลับมำบ้ำนจดั เรอื จัดคนจัดเสบียงอำหำรไวพ้ ร้อมเสรจ็ จบรบิ ูรณ์ ครัน้ ไดเ้ วลำรุง่ เช้ำสำมเณรโต
เข้ำไปฉนั ทีบ่ ้ำน คร้นั ฉนั เช้ำแล้วกล็ งเรอื แขวออกไปทำงแม่น้ำไชยนำทบุรี.

(สิ้นข้อควำมในรูปภำพประวัติสมเด็จฯโตท่ฝี ำผนงั ฉำกที่ ๒)

ทีนี้จะไดแ้ ปลจำกรูปภำพทฝี่ ำผนังโบสถว์ ดั อนิ ทรวิหำร สมเด็จฯโต ทำ่ นให้ช่ำงเขียนประวัตขิ องท่ำน เม่ือท่ำนได้
ผ่ำนมำเรียนพระปริยตั ธิ รรมในสำนัก ทำ่ นพระครูหัวเมอื งไชยนำทบุรี เจำ้ ของท่ำนเขียนไวด้ ังนี้

เขียนทำ่ วัดเมอื งไชยนำทบุรี เขยี นเรือท่ำนจอดอยทู่ ่ที ่ำวัด เขยี นจระเข้ขน้ึ ทำงหัวเรือของทำ่ น เขยี นคนหัวเรือ
ของท่ำนนอนหลับ เขียนคนที่สองตกใจต่ืนลุกขึน้ โยงโยฉ่ ุดคนหัวใหถ้ อยเข้ำมำเพือ่ ใหพ้ ้นปำกจระเข้ เขียนคน
แจวคนที่สำมน่ังไขวห่ ้ำงหวั เรำะ เขียนคนบนบำ้ น ๓ คน แมล่ ูกยำยเหนย่ี วร้ังกนั ขึ้นบำ้ นเรือน กระโตงกระเตง
กระตอ่ งกระแต่งเพ่ือหนจี ระเข้ เขียนตำผลนำยเรือออกมำยนื ตัวแขง็ อยทู่ อ่ี ุดเรอื เขียนรูปสำมเณรโตเรยี น
คมั ภรี ก์ ับท่ำนพระครจู ังหวัด วัดเมืองไชยนำทบุรี

ผ้เู รยี บเรยี งจงึ อนุมำน สันนษิ ฐำนตำมลักษณะพรอ้ มกับเหตุผลแลว้ แปลเป็นเร่ือง ควำมดังนี้

คร้นั คนแจว แจวเรอื เปด็ มำสุดระยะทำง ๒ คนื ก็ถงึ ท่ำเรือวัดเมืองไชยนำทบุรี จึงได้จอดเรอื เขำ้ ทท่ี ่ำในเวลำ
กลำงคนื คนแจวเรือจอดเรือเรยี บร้อยแล้ว จึงอำบนำ้ ดำเกล้ำแล้วพกั นอนในเรอื ท้ัง ๓ คน

ครัน้ เวลำรุ่งเช้ำสว่ำงแล้ว เจำ้ จระเขใ้ หญ่ในน่ำนน้ำท่ำนนั้ ก็ขึน้ เสือกตัวมำตรงหัวเรอื เป็ดของตำผลนน้ั คนบน
เรอื รมิ ตลิ่ง ๓ คน แมล่ กู หญิงผ้ใู หญล่ งอำบน้ำหนำ้ บันไดแต่เช้ำ ครนั้ เห็นจระเข้ขึ้นจะคำบคนนอนหลบั ทหี่ ัวเรือ
ใหญ่ จงึ พำกันตกใจกลัว แล้วร้องบอกกลำ่ วกันโวยวำยขึ้น คนแจวที่ ๒ นอนถัดเข้ำมำ ได้ยินเสียงคนบน

18

บ้ำนเรอื นนั้นรอ้ งเอะอะโวยวำยจึงตกใจตนื่ ข้ึน เห็นจระเข้ข้ึนทตี่ รงหวั เรือลุกขึน้ โยงโย่จับบน้ั เอวคนนอนหลับหวั
เรือ เพื่อจะให้พน้ จำกปำกจะเข้ สว่ นคนแจวเรือคนที่ ๓ ก็ตน่ื ขึน้ น่งั ไขว่หำ้ งหวั เรำะ คนบนบำ้ นท่กี ำลงั หนีจระเข้
ขึ้นบนั ไดผำ้ ผ่อนหลดุ ลยุ่ ลอ่ นจ้อน ลูกเดก็ หญิงเหน่ียวขำแม่ นำงแม่เหนย่ี วขำยำย ยำยผำ้ ลุย่ หมด กำ้ วขำตอ่ ไป
กก็ ้ำวไม่ออก ตำผลอยู่ในเรือกโ็ ผล่ออกมำยืนดูอยู่หน้ำเรืออุดเฉย จะวำ่ อย่ำงไรก็ไมว่ ่ำดูชอบกล

ฝำ่ ยสำมเณรโตกล็ ุกขึน้ น่ังภำวนำอยใู่ นประทนุ เรือ จระเข้ข้นึ มำแล้วก็อ้ำปำกไม่ออกจมก็ไม่ลง และไม่วำดไม่
ฟำดหำงทั้งน้นั ดูอำกำรอ่อนมำก คนบนบำ้ นก็งง คนในเรือกง็ ันอย่ทู ำ่ เดยี ว

คร้ันเวลำเช้ำ โยมของสำมเณรโต กจ็ ัดแจงหุงต้มอำหำรอยู่ตอนท้ำยเรือเปด็ น้ัน ครน้ั ได้เวลำก็จดั แจงเลยี้ งดูกนั
ถวำยอำหำรใหเ้ ณรขบฉนั เสร็จแล้วพอถึงเวลำ ๓ โมงเชำ้ ก็พำเณรขึ้นจำกเรือ เณรเดนิ หนำ้ ตำผลตำมเณร นำง
งุดโยมผู้หญิงพำกันเดินตำมเปน็ แถว ข้นึ กุฏทิ ำ่ นพระครู ครั้นถึงทำ่ นพระครูแล้วตำ่ งคนต่ำงปูผ้ำลงกรำบกนั เป็น
แถว เณรกย็ นื วันทำแลว้ ลงกรำบทำ่ นพระครูแล้วนั่ง

ฝ่ำยทำ่ นพระครูเจ้ำวดั เมอื งไชยนำทบุรี จึงมีปฏิสันถำรปรำศรัยไตถ่ ำมถึงเหตุกำรณท์ ี่มำ ถำมถงึ บ้ำนช่อง และ
ถำมควำมประสงค์

ฝ่ำยตำผลจงึ กรำบเรยี นท่ำนว่ำ เณรหลำนชำยของเกล้ำกระผม บวชอยูใ่ นสำนักทำ่ นพระครูใหญ่ เจ้ำคณะวัด
ใหญ่ ในเมืองพจิ ิตร ไดร้ ่ำเรียนบำลีไวยำกรณ์ท้ัง ๕ คมั ภีรจ์ บแล้ว เณรใคร่จะเรียนคัมภีร์ใหญต่ อ่ ไป จึงขอเรยี น
ทที่ ำ่ นพระครวู ดั ใหญ่ แต่ท่ำนไมเ่ ต็มใจสอนเณรและท่ำนพระครวู ัดใหญ่ไดแ้ นะนำเณรให้ได้มำสู่สำนักพระเดช
พระคุณเพอ่ื เล่ำเรียนคมั ภีรใ์ หญ่กบั พระเดชพระคณุ แล้วจะมีควำมรู้ดีกว่ำเรียนกับท่ำนๆ แนะนำมำดังนี้ เณรดใี จ
เตม็ ใจใคร่เรียนในสำนกั ของพระเดชพระคณุ เณรจึงมำรบเร้ำเกล้ำกระผมและมำรดำเณร ขอรอ้ งให้เกล้ำ
กระผมเป็นผ้นู ำมำสู่สำนกั พระเดชพระคณุ ในวันนี้เกล้ำกระผมพรอ้ มด้วยมำรดำเณร ขอถวำยเณรใหเ้ ป็นศษิ ย์
เรยี นพระคัมภรี ก์ บั พระเดชพระคุณตอ่ ไป

ครัน้ กล่ำวสุดถ้อยคำแล้วจึงบอกใหเ้ ณรถวำยดอกไมธ้ ูปเทยี นต่อทำ่ นพระครู ฝ่ำยท่ำนพระครูผ้รู ูพ้ ระปริยตั ิ
ธรรมเมืองไชยนำทบรุ ี จงึ รับเครือ่ งสกั กำระแล้ว พิจำรณำดูเณรก็รู้ด้วยกำรพนิ ิจพิจำรณำว่ำ สำมเณรน้มี ีวำสนำ
บำรมีธรรมประจำอยู่ สรรพอวัยวะก็สมบรู ณโ์ ตพร้อมไม่บกพร่องตอ้ งตำมลักษณะ ท่ำนก็ออกวำจำว่ำ รูปจะ
ช่วยแนะนำเส้ียมสอนให้มีควำมร้ใู นคมั ภรี ต์ ่ำงๆ ตำมวัยและภูมิของสำมเณรดังท่ีโยมทั้ง ๒ ไดอ้ ุตสำ่ หม์ ำ
ทำงไกล ไมเ่ ป็นไร รูปจะชว่ ยให้สมดังปรำรถนำทุกประกำร.

19

ตอนที่ ๔

ตำผลและนำงงดุ ก็ดีใจ กรำบไหวแ้ ล้วมอบหมำยฝำกฝงั ทุกสิง่ อัน แลว้ ถวำยกบั ปยิ ะจรรหรรมัจฉะมงั สำหำรทงั้
ปวงแล้ว พระสมุห์ของท่ำนกเ็ รียกคนมำยกถ่ำยทนั ที แล้วจัดห้องหับให้พกั อำศัยสำรำญ ตำผลและนำงงดุ ก็ยก
บริขำรของสำมเณรเข้ำบรรจจุ ัดปอู ำสน์ เรยี บเรียงต้งั ไว้ตำมตำแหนง่ แห่งที่ แลว้ ออกมำกรำบลำท่ำนพระครูลง
ไปพักในเรอื ค้ำงคืนคอยปรนนิบตั สิ ำมเณรดลู ำดเลำ กำรอยู่กำรขบฉันบณิ ฑบำตยำตรำ เห็นวำ่ สะดวกดไี มค่ ับ
แคน้ เดือดร้อน พอเปน็ ท่ไี วว้ ำงใจได้แล้ว จึงขึน้ นมัสกำรลำทำ่ นพระครูกลับมำยังบำ้ น ณ แขวงเมอื งพิจติ ร

ตัง้ แตส่ ำมเณรโตได้เข้ำสู่สำนักท่ำนพระครูวดั เมอื งไชยนำทบรุ แี ลว้ เป็นปรกติก็หมนั่ ทำกรณยี กิจตำมหน้ำที่และ
อนโุ ลมตำมข้อกติกำไม่ฝ่ำฝนื ชะอ้อนอ่อนนอ้ มต่อพระลูกวดั มิให้ขดั อัชฌำสยั เพ่ือนศิษย์เพื่อนเณรเหล่ำน้นั ก็
ประนีประนอมพร้อมหน้ำไม่ไวท้ ่ำ ไม่ถอื ตัว ไมห่ วั สูง อดเอำเบำสู้ ระงบั ไมห่ ำเหตุแข่งดีกวำ่ เพอ่ื น ไม่ส่อเสยี ด
สอพลอพร่อย เรียบร้อยหงิบเสง่ียมเจยี มตัว หมน่ั เอำใจใส่รบั ใชป้ ฏิบัตทิ ่ำนพระครูระแวดระวังหนำ้ หลงั ท่ำนมี
กจิ ธุระจะไปไหน กจ็ ัดกำรสิง่ ของทจี่ ะต้องเอำไป ไม่เกย่ี งงอนเพือ่ นศษิ ย์ เวลำท่ำนจะกลบั กร็ ับรองเกบ็ งำ
สมำ่ เสมอตลอดมำ คร้นั ถึงเวลำเรียนก็เข้ำเรยี น ถึงครำวฟังกฟ็ งั ตั้งสติสมั ปชัญญะ สำเหนียกสำเนำเสมอ เรยี น
แลว้ จดจำตกแต้มกำหนดกฎหมำย กลำงคนื ก็เข้ำรับโอวำทปรยิ ำยของท่ำนพระครู ส่ิงใดท่ไี ม่ร้กู ็ถำม รู้เท่ำไม่ถึง
ควำมกซ็ กั ท่ีตรงไหนขัดขอ้ งไมต่ ้องกนั ก็หำรือ ตำมบำฬที มี่ ีมำในพระคัมภรี ์น้ันๆ ถำ้ บทไหนบำทไหนเปน็ นริ ตุ ิ ไม่
ชอบด้วยเหตผุ ลไม่เข้ำกนั เธอก็ยงั ไมล่ งมตไิ ม่ถอื เอำควำมคดิ เหน็ ควำมรู้ของตนเปน็ ประมำณ ตงั้ ใจวิจำรณจ์ น
เหน็ ถอ่ งแท้แนน่ อนตำมพระบำฬี ในธรรมบททีปะนี ทศะชำติ (๑๐ชำติ) สำรตถ์ สำมนต์ ฎกี ำรโยชนำคณั ฐี ใน
คมั ภีร์พระไตรปฎิ กธรรมนั้นทกุ วนั ทกุ เวลำ เรยี นแปลเปน็ ภำษำลำวบ้ำง แปลเป็นภำษำเขมรบำ้ ง แปลเปน็ ภำษำ
พมำ่ บ้ำงตำมเวลำ ครั้นล่วงมำได้ ๓ ปีเรียนจนถึงแปดป้ันบำฬี สำมเณรโตไม่มอี ปุ สรรคกดี กั้น ไม่มอี ำกำร
เจ็บป่วยไขส้ ะดวกดที ุกเวลำท้ังไม่เบ่ือไม่หน่ำย นิยมอยแู่ ต่ท่ีจะหำควำมจริงซ่ึงยังบกพรอ่ งภูมปิ ญั ญำอยู่ร่ำไป

ครั้นถึงเดือน ๑๒ ปีฉลู เบญจศก จุลศักรำช ๑๑๕๕ สำมเณรโตมีควำมกระหำยใคร่จะล่องลงมำรำ่ เรียนใน
สำนักรำชบัณฑติ นักปรำชญห์ ลวงบ้ำง ใคร่จะเข้ำสู่สำนกั พระเถระเจำ้ ผสู้ ูงศักด์ิอรรคฐำนในกรุงเทพพระมหำ
นครโดยควำมเต็มใจ

ครงั้ สำมเณรโต อำยุได้ ๑๘ ปีย่ำง ปลงใจแนว่ แนแ่ ล้วในกำรทจ่ี ะละถิน่ ฐำน ญำติโยมได้จะทนทำนในกำรอนำถำ
ในกรงุ เทพฯ ไดแ้ นใ่ จแลว้ จึงได้กรำบกรำนทำ่ นพระครูจังหวัดบรรยำยแถลงยกย่องพิทยำคณุ และควำมรู้ของ
ทำ่ นพระครเู มอื งไชยนำทบรุ ี พอเป็นท่ปี ล้มื ปรำโมทยป์ รำศจำกควำมลบหลดู่ หู ม่ิน ด้วยระเบยี บถอ้ ยคำอนั ดี
พอสมควรแล้ว ขอลำว่ำเกลำ้ กระผมขอถวำยนมสั กำรลำฝ่ำทำ้ วเพ่อื จะลงไปสู่สำนักรำชบัณฑติ ย์ ผู้สงู ศักดอ์ิ รรค
ฐำนให้เป็นกำรเชิดชูเกียรตคิ ณุ ของฝ่ำทำ้ วใหแ้ พร่หลำยในกรงุ เทพฯ ขอบำรมฝี ่ำท้ำวจงกรณุ ำส่งเกล้ำกระผมให้
ถึงญำตโิ ยม ณ แขวงเมอื งพิจิตรด้วย

ฝ่ำยทำ่ นพระครูเจ้ำคณะเมืองไชยนำทบุรีได้ฟัง ซ่ึงมคี วำมพอใจอยแู่ ลว้ ในกำรท่ีจะแสวงหำศษิ ย์ท่ีดมี ีสำระทะ
แกลว้ กล้ำองอำจ ฉลำดเฉลียวรอบรคู้ มั ภีร์ คิดจะสง่ ศิษย์อยำ่ งดีเข้ำกรุงเทพฯ เพอ่ื ชว่ ยเผยแพร่ให้ควำมรูแ้ ละ

20

ควำมดีของท่ำนนั้นโดง่ ดังปรำกฏแพร่หลำยไปในกรุงเทพฯ อนึ่งสำมเณรองคน์ ้กี ็เปน็ คนดี มคี วำมรกู้ อปรด้วย
คติสตปิ ญั ญำ ควำมเพียรกก็ ลำ้ ไมง่ อนงอ้ ทอ้ ถอยเลย หัวใจก็จดจ่ออยู่แตก่ ำรเล่ำเรียนหำควำมรดู้ ูฟังตั้งใจจรงิ
ไม่เปน็ คนโง่งมซมเซำ พอจะเขำ้ เทียบเทยี มเมธีทก่ี รุงเทพพระมหำนครได้ ท่ำนพระครูเห็นสมควรจะอนุญำตได้
ท่ำนจึงกล่ำวเถระวำทสุนทรกถำ เป็นทำงปลกู ผกู อำลัยแก่สำมเณรพอสมควรแล้ว ท่ำนกอ็ อกวำจำอนุญำตว่ำ
"ดแี ลว้ นมิ นต์เถอะจ้ะ" เรำขอรอผลัดจัดกำรส่งสกั ๓ วัน เพอ่ื เตรียมตัวเตรยี มกำรส่งใหเ้ ป็นท่ีเรยี บร้อยตำม
ระเบียบแบบธรรมเนียมกำร สำมเณรก็กรำบถวำยนมสั กำรลำมำยังกุฏทิ อี่ ยู่ แล้วกจ็ ัดกำรตระเตรยี มเก็บสรรพ
ส่ิงเครอื่ งอุปโภคตำ่ งๆ ส่งคนื เข้ำทต่ี ำมเดมิ คัมภีรท์ ยี่ ังเรียนค้ำงอยูก่ ท็ ำใบยืมๆ ไปเรียนต่อไป สิง่ ของท่เี หลือ
บริโภคอุปโภคแล้ว ก็แบ่งปันถวำยเพอ่ื นสำมเณรท่ีอย่ทู ่เี คยเป็นเพือ่ นกันไว้ใช้สอยพอเป็นทำงผกู อำลัยทำไมตรี

ครัน้ เวลำรุ่งเชำ้ แล้ว สำมเณรโตก็ออกพำยเรอื สำมปัน้ บิณฑบำตไปถึงบ้ำนทีส่ ดุ เหนือน้ำและใตน้ ำ้ สำมเณรก็
บอกกลำ่ วลำ่ ลำแก่ญำติโยมอุปัฏฐำกและที่ปวำรณำและผทู้ ่ีมีวสิ ำสะทั่วหน้ำกันทั้งสองฝ่ัง ท่อี ย่บู ำ้ นดอนข้นึ ไปก็
บอกลำฝำกขึน้ ไปท่วั กัน

ฝ่ำยเจ้ำพวกเดก็ ๆ ลูกศษิ ย์วดั ทัง้ ปวงรู้วำ่ หลวงพ่ีเณรของเขำจะลงไปอยู่บำงกอก พวกเด็กทั้งหลำยกพ็ ำกนั
เสยี ดำย ใจเขำหำย เขำทำได้แตห่ น้ำแหง้ ทำตำแดงๆ เหตุเขำมคี วำมคุ้นเคยรักใครอ่ ำลยั หลวงพ่ีสำมเณรโต เขำ
เคยกินอยสู่ ำรำญด้วยอำหำรเกดิ ทวีข้ึน เพรำะอำนำจบำรมีศีลธรรมของสำมเณรโต จนเขำ้ ของแปลกประหลำด
เหลอื เฟอื เอื้อเอำใจเขำมำช้ำนำนประมำณ ๓ ปลี ่วงมำ

ฝำ่ ยแมร่ ุ่นสำวๆ ครำวกันกับพอ่ เณร ซงึ่ มีใจโอนเอนไปข้ำงฝ่ำยรัก ก็ทำอึกอักผะอืดผะอมกระอักกระอ่วน
รญั จวนใจ ด้วยพ่อเณรเธอจะไปอย่ไู กลถงึ บำงน้ำบำงกอก ตำ่ งก็อั้นอนั อ้นจนใจไม่อำจออกวำจำห้ำมปรำม
เพรำะควำมอำย รักก็รกั เสยี ดำยกเ็ สยี ดำย ท้งั ควำมยดึ ถือมุ่งหมำยก็ยังมอี ยู่มน่ั คงจงใจ ทั้งเกรงผูห้ ลักผู้ใหญจ่ ะ
ล่วงรดู้ ูแคลน แสนกระดำกทำกระเดอื่ งชำเลืองโฉมพ่อเณรโต แอบโผลห่ นำ้ ตำ่ งตำมมองแลลอดสอดตำมชอ่ ง
รัว้ หวั บ้ำนแลจนลบั นัยนต์ ำ เสียวซ่ำนถึงโศกำเช็ดน้ำตำอยู่กม็ ี ฝำ่ ยพวกเด็กๆ พอกลบั ถึงวัด เขำกต็ ะโกนบอก
เพื่อนกันวำ่ ต่อแต่วนั นีพ้ วกเรำจะอดกนั ละโวย้ ๆ

คร้นั พระเณรฉนั เช้ำแล้ว ท่ำนพระครูเจำ้ คณะจงั หวัดจึงเรียกพระปลดั พระสมุหม์ ำส่ังกำรวำ่ แนะพระปลดั จ๋ำ
พร่งุ น้ีเธอต้องส่งั เลขวัด ให้เขำจดั เรือเกง๋ ๔ แจว คนแจวประจำพรอ้ มและจดั เสบียงทำงไกลให้พร้อมมลู ด้วย
ใหพ้ อเลย้ี งกนั ทัง้ เวลำไปและมำด้วย ส่วนเธอและพระสมุหช์ ว่ ยพำสำมเณรโตเข้ำไปส่งใหถ้ งึ ญำตโิ ยมเณร ณ
เมอื งพจิ ิตรในวันรุ่งพร่งุ น้ีแทนตวั ดิฉันดว้ ย พรุ่งน้มี ำรับจดหมำยส่งของฉันก่อน

ฝ่ำยพระปลดั ๑ พระสมุห์ ๑ รบั เถระบัญชำแล้วออกมำเรียกร้องกะเกณฑ์เลขวัดส่ังให้จดั เรอื จดั เสบียงให้พรอ้ ม
ทง้ั เคร่อื งต้มเคร่ืองแกง หม้อน้อยหม้อใหญ่ กระทะ ข้ำวเหนียว นำ้ ตำล มำขำมเปียก พริกสด พรกิ แห้ง หอม
กระเทยี ม ขิง ขำ่ กะทอื พริกไท ให้พร้อมไว้ เวลำเท่ยี งมำแลว้ จอดไว้ทีท่ ่ำวัดนี้ตำมที่ทำ่ นพระครสู ั่ง

21

ครัน้ รุ่งขนึ้ วันที่ ๓ พระปลดั ฉันเช้ำแล้วเข้ำหำท่ำนพระครู รับจดหมำยแล้วกรำบลำออกมำ แล้วนดั หมำยพระ
สมุห์และนัดสำมเณรโตว่ำเทีย่ งแลว้ ลงเรือพรอ้ มกัน ครน้ั ถงึ เวลำฉนั เพลแล้ว ขอแรงศษิ ยว์ ัดและเพอื่ นเณร ๒-
๓ คน ชว่ ยขนขนบบรขิ ำรหีบ ตะกร้ำ กระเชำ้ กระบงุ ทบ่ี รรจุของสำมเณรโตลงทำ่ วัดพร้อมกัน สำมเณรโตก็เขำ้
ไปสักกำรวันทำลำท่ำนพระครูด้วยควำมเคำรพ ส่วนท่ำนพระครูก็ประสทิ ธิ์ประสำทพรใหว้ ฒั นำถำวรภญิ โญ
ภำวะยิ่ง ให้สมั ฤทธิ์สมควำมมุ่งหมำย จงทกุ ส่ิงทุกประกำรเทอญ

ครน้ั เวลำเทยี่ งทกุ ส่ิงทกุ อย่ำงเรยี บรอ้ ยแล้ว พระปลัด พระสมุห์ และสำมเณรโต พรอ้ มคนแจวเรือก็ลงเรือ ได้
เวลำบำ่ ยโมงกอ็ อกเรือทำงแม่นำ้ บำ่ ยหัวเรือไปเมอื งพิจติ รในวันนนั้

ครัน้ แจวมำ ๒ คนื กถ็ ึงท่ำบ้ำนสำมเณรโต ฝ่ำยตำผล ยำยลำ นำงงดุ เหน็ เรอื เป็นเก๋งมำจอดทำ่ หนำ้ บ้ำน ต่ำงก็
ออกมำดู รู้ว่ำทำ่ นปลัด ท่ำนสมุห์และสำมเณรโตมำ กด็ ใี จลงไปในเรือตอ้ นรับและนมิ นต์ขนึ้ เรอื น แล้วขนึ้ มำปู
อำสน์ ตักนำ้ เย็น ต้มน้ำร้อน จัดเภสชั เพลำยำสูบใสพ่ ำนแล้ว คร้ันพระปลดั พระสมุห์ สำมเณรขึน้ มำอำรำธนำที่
หอนัง่ ประเคนหมำก นำ้ ยำสูบ แล้วกก็ รำบ

คร้นั พระปลดั เห็นเจำ้ บำ้ นนั่งปรกติเรยี บรำบแล้วจึงปฏิสนั ถำร และนำจดหมำยของทำ่ นพระครเู มืองไชยนำทบรุ ี
สง่ ให้ตำผลๆ รบั มำอำ่ นได้ทรำบควำมตลอดแล้วด้วยควำมพอใจ เม่ือสนทนำเสรจ็ จึงพำพระปลัด พระสมหุ ์และ
สำมเณรออกไปยงั วัดใหญ่ เมืองพิจติ รทรำบ

ครนั้ ทำ่ นพระครูอำ่ นดรู ้ขู อ้ ควำมตลอดแล้ว ก็เห็นดี เห็นชอบดว้ ย ตกลงก็เหน็ ดีเห็นงำมด้วยกนั ทั้งครอู ำจำรย์
และคณะญำติโยมพรอ้ มใจกันหมด ครน้ั ไดเ้ วลำ พระปลดั พระสมุห์ ตำผลและนำงงุดกล็ ำทำ่ นพระครูใหญ่
กลับมำบำ้ น แลว้ ก็จัดแจงอำหำรเล้ียงพระเลยี้ งเณร และคนแจวเรือจนอิ่มหนำสำรำญแล้วท้งั ๓ เวลำ สว่ นพระ
ปลดั และพระสมหุ ์เมื่อได้ทำสง่ิ ที่ได้รบั มอบหมำยมำเสร็จและสมควรแกเ่ วลำ กล็ ำเจำ้ ล้ำนๆ กจ็ ัดกำรส่งพระปลดั
และพระสมุหใ์ หก้ ลบั ไปยังวดั เมืองไชยนำทบุรี

สว่ นทำงบ้ำนเม่ือได้กำหนด นำงงดุ ก็จัดเรือจัดคนจัดลำเลียงเสบียงอำหำรจดั ของแจกใหข้ องฝำกชำวกรงุ เทพฯ
ท้งั ของถวำย ของกำนัลทำ่ นผใู้ หญใ่ นกรุงเทพฯ ลงบรรทุกในเรือเรยี บร้อยเสร็จแล้ว ก็เกณฑ์ตำผลให้เป็นผูน้ ำ
พร้อมดว้ ยคนแจวสง่ สำมเณรไปกรุงเทพฯ แต่ต้องใหแ้ วะนมัสกำรบูชำพระพทุ ธชนิ รำชในวันกลำงเดอื น ๑๒ นี้
ก่อน และพอ่ ต้องอ้อนวอนขอหลวงพอ่ ชนิ รำชให้ชว่ ยคมุ้ ครองกำกบั รกั ษำสง่ พอ่ เณรอย่ำให้มเี หตุกำรณ์ และ
อย่ำใหป้ ว่ ยไขไ้ ด้เจบ็ อย่ำใหม้ ีภัยอนั ตรำย ต้ังแต่วันน้จี นตรำบเท่ำจนเฒำ่ จนแก่ และขอให้เณรรำ่ เรียนลุสำเรจ็ จง
ทุกส่ิงทกุ ประกำร กับขอบำรมีหลวงพอ่ ชนิ รำชชว่ ยปกป้องกันศตั รหู มูอ่ นั ธพำล อย่ำผจญและอยำ่ เบียดเบียนพอ่
เณรได้ ขอพ่อจงแวะไหว้บูชำอ้อนวอนวำ่ ตำมคำสั่งขำ้ นีอ้ ย่ำหลงลืมเลย

22

ฝำ่ ยตำผลรับคำลกู สำวแล้ว ก็ลงเรอื ออกเรือจำกท่ำหนำ้ บ้ำน และให้แจวออกทำงแม่นำ้ พิษณุโลก ล่องมำหลำย
เพลำก็มำถึงวดั พระชนิ รำชในวันขน้ึ ๑๔ เดือน ๑๒ ปีฉลู เบญจศก จุลศกั รำช ๑๑๕๕ ปีนนั้

คร้นั ณ วนั ท่ี ๑๕ ค่ำเดือน ๑๒ ศกนั้น ตำผลนมิ นตส์ ำมเณรโตขึ้นไปโบสถพ์ ระชนิ รำช เดินประทกั ษิณรอบแล้ว
เข้ำนมสั กำรทำสกั กำรบูชำ สำมเณรยนื ขน้ึ วนั ทำแล้วตั้งสักกำระ โดยสกั กจั จะเคำรพแก่พระพทุ ธชินรำช ตำผล
จึงพรำ่ พรรณนำถวำยเณรแก่พระชินรำชและวิงวอนขอฝำก ขอควำมคมุ้ ครองปอ้ งกนั ขอใหพ้ ระพทุ ธชนิ รำช
บันดำลดลส่งเสริมแก่สำมเณรตำมคำนำงงุดโยมของเณรสั่งมำทกุ ประกำร

ครน้ั ทำกำรเคำรพสักกำรบูชำแก่พระพทุ ธชินรำชเสรจ็ แล้ว ก็กรำบลำพำสำมเณรโตมำลงเรอื แจวล่องมำ ๒ คืน
ก็ถงึ หน้ำท่ำวดั บำงลำพูบน กรุงเทพฯ ตอนเวลำเชำ้ ๒ โมง แรม ๒ ค่ำ เดือน ๑๒ ปฉี ลู เบญจศก จุลศกั รำช
๑๑๕๕ เป็นปที ี่ ๑๒ ในรัชกำลที่ ๑ กรุงเทพพระมหำนคร

ตำผลชำวเมืองกำแพงเพชร ซ่ึงถอยลงมำต้งั ถน่ิ ฐำนภมู ิลำเนำอยู่เหนือเมืองพจิ ิตรได้นำสำมเณรโตผู้หลำนอนั
เปน็ ลกู ของนำงงดุ ลูกสำว สำมเณรโตนน้ั มีอำยยุ ่ำงเข้ำ ๑๘ ปี ตำผลผู้เป็นตำ จงึ ได้นำพำสำมเณรโตขน้ึ ไปมอบ
ถวำยพระอำจำรยแ์ ก้ววดั บำงลำพบู น พระนคร ตำผลได้เล่ำถงึ กำรเรียนของสำมเณรโตจนกระท่งั ถงึ ท่ำนพระ
ครจู ังหวัดเมืองเหนือทง้ั ๒ อำรำม มคี วำมเหน็ ชอบพร้อมกันที่จะใหล้ งมำกรงุ เทพ เกล้ำกระผมจึงได้นำสำมเณร
โตมำสู่ยังสำนักของหลวงพ่อ เพอ่ื หลวงพ่อจะได้ทำนบุ ำรุงชี้ช่องนำทำง ให้สำมเณรดำเนินหำคุณงำมควำมดีมี
ควำมรู้ย่งิ ในพระมหำนครสบื ไป

ฝำ่ ยพระอำจำรย์แกว้ ทรำบพฤติกำรณ์ ตำมทตี่ ำผลเล่ำ กเ็ กิดควำมเชอ่ื และเล่ือมใสในสำมเณรโต และมี
ควำมเห็นพ้องด้วยกับทำ่ นพระครทู ้ัง ๒ จังหวัด สมจริงดังที่พยำกรณ์ไว้แตย่ งั นอนแบเบำะ และได้รับเปน็ ลกู ไว้
จึงนกึ ข้ึนได้ถึงเงินทไ่ี ดล้ ั่นวำจำว่ำจะจำ้ งแมม่ ันเลย้ี งปลี ะ ๑๐๐ บำท ๓ ปีหยำ่ นมเปน็ เงินคำ่ จำ้ ง ๓๐๐ บำท จึง
ใหศ้ ิษยท์ ่เี ป็นไวยำวัจกรหยิบเงินมำ ๓๐๐ บำท ส่งมอบใหต้ ำผลเพ่ือฝำกไปใช้ให้นำงงุดเป็นค่ำน้ำนมขำ้ วปอ้ น ๓
ปี เงนิ ๓๐๐ บำท

ตำผลน้อมคำรับเอำเงิน ๓๐๐ บำท มำกำไวส้ ักครู่ เม่อื จวนจะลำกลบั จึงพร่ำพรรณนำมอบฝำกเณรโดยอเนก
ประกำร แล้วถวำยเงนิ ๓๐๐ บำทน้นั คนื หลวงพอ่ แก้ว แล้วถวำยอีก ๑๐๐ บำทเปน็ คำ่ บำรงุ เณรสบื ไป แล้วก็
ลำท่ำนอำจำรยแ์ ก้วไปเยย่ี มญำติพนี่ ้อง ณ บำงขุนพรหมต่อไป

ฝำ่ ยพระอำจำรย์แก้ว จงึ จัดห้องหบั ใหส้ ำมเณรอยบู่ นหมู่คณะวดั บำงลำพบู นวนั นน้ั มำ เวลำเช้ำกล็ ุกข้นึ
บณิ ฑบำต และสำรับกับข้ำวของฉันในคณะอำจำรย์แกว้ น้ันอดุ มลน้ เหลือไมบ่ กพร่อง ทั้งบำรมศี ีลและธรรมท่ี
สำมเณรโตประพฤตดิ ี กบ็ ันดำลใหม้ ีผู้ขน้ึ ถวำยเช้ำและเพลและทป่ี วำรณำก็กลำยเป็นโภชนะสัปปำยของโยคะ
บคุ คลทุกเวลำ

23

ฝำ่ ยพระอำจำรย์แก้วเม่ือเหน็ เวลำฤกษด์ แี ล้ว จึงได้นำสำมเณรโตไปฝำกพระโหรำธบิ ดี, พระวเิ ชียร กรมรำช
บัณฑิต ให้ช่วยแนะนำส่ังสอนสำมเณรให้มีควำมรดู้ ีในคมั ภรี ์พระปริยัตธิ รรมทั้ง ๓ ปิฎก พระโหรำธิบดี, พระ
วเิ ชียรกร็ บั และสอนตั้งแต่วนั นั้นเป็นตน้ มำ

พระโหรำธบิ ดี พระวิเชยี ร อยบู่ ้ำนหลังวัดบำงลำพูบน เสมยี นตรำดว้ งบำ้ นบำงขนุ พรหม ท่ำนขุนพรหมเสนำ
บำ้ นบำงขุนพรหม ปลัดกรมนุท บำ้ นบำงลำพูบน เสมียนบุญและพระกระแสร ทั้ง ๗ ทำ่ นนเ้ี ป็นคนมง่ั ค่ัง
หลักฐำนทง้ั มีศรทั ธำควำมเชอื่ มั่นในบวรพทุ ธศำสนำ เม่ือไดเ้ ห็นจรรยำอำกำรของสำมเณรโต และควำม
ประพฤติดี หมั่นเรียนเพียรมำก ปำกคอลน้ิ คำงคลอ่ งแคล่วไม่ขดั เขนิ เคร่งครดั ดี รูปรำ่ งกำยก็ผ่ึงผำยองอำจ ดู
อำกำรมไิ ดน้ อ้ มไปทำงกำมคุณ มรรยำทเณรกล็ ะมนุ ละม่อม เม่อื ร่ำเรยี นธรรมะในคมั ภรี ์ไหนกเ็ อำใจใส่ไต่ถำม
ใหร้ ้ลู กั ษณะ จะเดินประโยคอะไร ก็ถูกต้องตำมในรูปประโยคแบบอย่ำง ถูกใจอำจำรยม์ ำกกว่ำผดิ ทำ่ นทงั้ ๗
คนดง่ั ออกนำมมำนี้พร้อมกนั เข้ำเปน็ โยมอปุ ัฏฐำกชว่ ยกันอุปถมั ภ์บำรุง หม่นั ไปมำหำสูท่ ่ีวัดบำงลำพูเสมอ และ
สปั ปรุ ษุ อ่นื ๆ ต่ำงกเ็ ล่ือมใสใส่บำตรอย่ำงบริบูรณ์ บำงคนก็นิมนต์แสดงธรรมเทศนำ ถงึ ฤดูหนำ้ เทศน์มหำชำติ
ตำมวัดแถวนั้น คนก็ชอบนิมนต์สำมเณรโตเทศนห์ ิมพำนต์บำ้ ง เทศนท์ ำนกัณฑ์บ้ำง เทศน์วนั ประเวศน์บ้ำง
เทศน์ชูชกบ้ำง เทศนจ์ ลุ พนบำ้ ง เทศนม์ หำพนบ้ำง เทศน์กมุ ำรบรรพบ้ำง เทศนม์ ทั รีบำ้ ง เทศน์สกั กะบรรพบำ้ ง
เทศนม์ หำรำชบ้ำง เทศนฉ์ กษัตรยิ บ์ ำ้ ง เทศนน์ ครกัณฑบ์ ้ำง ตกลงเทศนไ์ ด้ถกู ต้องทง้ั ๑๓ กณั ฑ์ ทำเสียงเลก็
แหลมก็ได้ ทำเสียงหวำนแจ่มใสกไ็ ด้ ทำเสยี งโฮกฮำกก็ได้ กลเมด็ มหำพนและแหล่สระแหล่รำชสหี ์ ว่ำกลเม็ด
แพรวพรำว ที่หยุดท่ีไป ทหี่ ำยใจขน้ึ ลงเข้ำออกสนิททกุ อย่ำงทกุ กณั ฑ์ กระแสเสยี งเสนำะน่ำฟงั ทุกกัณฑ์ ทำนอง
เปน็ หมดไมว่ ่ำกณั ฑ์อะไรเทศน์ได้ทุกกัณฑ์ จังหวะก็ดีเสมอ แตส่ ำมเณรโตมไิ ด้มวั เมำหลงใหลในกำรรวยเร่ือง
เทศนำมหำชำติ และมไิ ด้มัวเมำหลงใหลดว้ ยอปุ ัฏฐำกมำก เอำใจใสแ่ ตก่ ำรเรยี นกำรปฏิบัตทิ ำงเพลดิ เพลินเจริญ
สมณธรรมเปน็ เบอ้ื งหน้ำ จึงได้เปน็ ทร่ี ักทนี่ บั ถอื ของทำ่ นโหรำธบิ ดี, พระวิเชยี ร, เสมยี นตรำดว้ ง, ปลัดกรมนุท,
ขุนพรหมเสนำ, และทำ่ นขรัวยำยโหง, เสมียนบญุ , พระกระแสร, ท่ำนยำยงว้ น และใครต่อใครอีกเป็นอนั มำกจน
จดไมไ่ หว

คร้นั ถึงเดือนหำ้ ปีขำล ฉศก จุลศักรำช ๑๑๕๖ เป็นปีที่ ๑๓ ในรชั กำลท่ี ๑ กรงุ เทพพระมหำนครฯ พระชนมำยุ
กำลแห่งสมเดจ็ พระเจ้ำลกู ยำเธอเจำ้ ฟ้ำกรมหลวงอิศรสุนทร ย่ำงขึ้นได้ ๒๘ พระพรรษำโดยจันทรคตนิ ยิ ม อำยุ
สำมเณรโตกไ็ ด้ ๑๘ ปีบริบูรณใ์ นเดอื น ๕ ศกน้นั

จึงท่ำนพระโหรำธิบดี, พระวิเชียร, เสมยี นตรำด้วง ได้พิจำรณำเหน็ กริ ยิ ำท่ำทำง และจรรยำอำกำรสติปัญญำ
อยำ่ งเยี่ยมแปลกกวำ่ ท่ีเคยไดเ้ หน็ มำแต่ก่อน ทง้ั มรี ัดประคดหนำมขนุนคำดดว้ ย จะทกั ถำมและพยำกรณเ์ องก็ใช่
เหตุ จงึ ปรกึ ษำเห็นตกลงพรอ้ มกันว่ำควรจะนำเข้ำถวำยตวั แด่สมเดจ็ พระเจ้ำลกู ยำเธอเจ้ำฟำ้ กรมหลวงอศิ ร
สุนทรใหไ้ ด้ทรงทอดพระเนตร อนงึ่ พระองค์ท่ำนกท็ รงโปรดพระและเณรท่รี ่ำเรียนรู้ในธรรมทั้ง ๒ คอื คัณถ
ธรุ ะและวปิ ัสสนำธรุ ะ บำงทีพ่อเณรมีวำสนำดีก็อำจจะเป็นพระหลวงเณรหลวงกไ็ ด้ คร้ันท่ำนขนุ นำงทั้ง ๓
ปรกึ ษำตกลงเหน็ พร้อมใจกันแลว้ จึงแนะนำใหส้ ำมเณรโตให้รู้ตัววำ่ จะนำเขำ้ เฝ้ำสมเด็จพระเจ้ำลกู ยำเธอ เจ้ำ
ฟ้ำกรมหลวงอิศรสนุ ทร ในวันเดอื น ๕ ข้ึน ๕ ค่ำ ศกนเี้ ป็นแน่

24

ฝำ่ ยสำมเณรรตู้ ัวแล้ว จงึ เตรียมตัวสผุ ้ำย้อมผำ้ และสยุ อ้ มรัดประคดหนำมขนนุ ของโยมผ้หู ญงิ ใหม้ ำนน้ั ซึง่ โยม
ผหู้ ญงิ กระซิบสั่งสอนเป็นควำมลับกำกับมำด้วย ฟอกย้อมรัดประคดสำยน้ันจนใหม่เอ่ียมดี

ครั้นถงึ วันกำหนด จึงพระโหรำธิบดี, พระวิเชียร, และเสมียนตรำด้วงไดอ้ อกมำที่วดั บำงลำพู เรยี นกบั ท่ำน
อำจำรย์แก้ว ใหร้ ู้ว่ำจะพำสำมเณรโต เข้ำเฝ้ำถวำยตวั แด่สมเด็จพระเจ้ำลกู ยำเธอ เจ้ำฟำ้ กรมหลวงอิศรสุนทรฯ
พระอำจำรย์แกว้ กอ็ นมุ ตั ติ ำมใจแล้วทำ่ นจึงเรียกสำมเณรโต มำซำ้ ร่ำสอนทำงขนบธรรมเนียมเดนิ นงั่ พูดจำกบั
จ้ำวใหญน่ ำยโตใช้ถ้อยคำอยำ่ งนน้ั ๆ เม่ือจะทรงถำมอะไรมำกใ็ หม้ สี ติระวังระไว พูดมำกเป็นขเ้ี มำก็ใช้ไม่ได้ พูด
น้อยจนต้องซักตอ่ ก็ใชไ้ ม่ได้ ไมพ่ ูดก็ใช้ไมไ่ ด้ พูดเขำ้ ตัวก็ใชไ้ มไ่ ด้ จงระวังต้ังสตสิ มั ปชัญญะไวใ้ นถอ้ ยคำของตน
เมอ่ื พดู อย่ำจ้องหนำ้ ตรงพระพกั ตร์ เมื่อพูดอย่ำเมนิ เหม่ไปทำงอน่ื ตง้ั อกต้งั ใจเพด็ ทลู ให้เหมำะถ้อยเหมำะคำ ให้
ชดั ถ้อยชดั คำ อย่ำหัวเรำะ อยำ่ ตกใจ อย่ำกลัว อย่ำกล้ำ จงทำหน้ำให้ดี อย่ำมคี วำมสะทกสะทำ้ น จงไปห่มผ้ำ
ครองจีวรให้เรยี บรอ้ ย ไปกับคณุ พระเดี๋ยวนี้

สำมเณรโตนอ้ มคำนบั รบั เถโรวำทใส่เกลำ้ แลว้ ไปห้องครองผำ้ คำดรัดประคดเสร็จแล้ว จดุ ธูปเทยี นอำรำธนำ
พระบรกิ รรมภำวนำประมำณอดึ ใจหนึ่ง แลว้ ก็ออกเดนิ มำหำพระโหรำธบิ ดี พระวิเชียร เสมยี นตรำด้วง ท่ำนท้ัง
๓ จึงนมสั กำรลำพระอำจำรย์แก้ว แล้วพำสำมเณรโตลงเรือแหวด ๔ แจว คนแจวก็ลอ่ งลงมำจอดทีท่ ำ่ ตำหนกั
แพหน้ำพระรำชวังเดิม แล้วนำพำสำมเณรข้ึนไปบนท้องพระโรงในพระรำชวังเดมิ ณ ฝั่งธนบรุ ีใต้วดั ระฆังน้ัน

ฝ่ำยพนักงำนหนำ้ ท้องพระโรง นำควำมข้ึนกรำบทลู วำ่ พระโหรำธิบดี พำสำมเณรมำเฝ้ำ จงึ เสด็จออกทอ้ งพระ
โรง ทรงปรำศรยั ทักถำมพระโหรำธิบดี พระวิเชยี ร และเสมยี นตรำดว้ งแล้ว ได้ทรงสดับคำพระโหรำธิบดีกรำบ
ทูลเสนอคณุ สมบตั ขิ องสำมเณรขนึ้ ก่อน เพื่อใหท้ รงทรำบ

จงึ ทอดพระเนตรสำมเณรโต ทรงเหน็ สำมเณรโตเปล่งปลง่ั รังสี รัศมีกำยออกงำมมีรำศี เหตดุ ว้ ยกำลังอำนำจ
ศีลคณุ สมำธคิ ณุ ปัญญำคุณ หำกอบรมสมกับผำ้ กำสำวพัตร์ และมีรดั ประคดหนำมขนุนอยำ่ งของขุนนำง
นำยตำรวจใหญ่ คำดเปน็ บรขิ ำรมำดว้ ย.

25

ตอนท่ี ๕

สมเดจ็ พระเจ้ำลูกยำเธอ เจ้ำฟ้ำกรมหลวงฯ พระองคน์ ้นั ทรงพระเกษมสนั ตโ์ สมนัสยงิ่ นัก จึงเสด็จตรงเข้ำจับมอื
สำมเณรโตแลว้ จูงให้มำนัง่ พระเก้ำอี้เคียงพระองค์ แลว้ ทรงถำมว่ำอำยเุ ท่ำไรฯ ทลู ว่ำ ขอถวำยพระพรอำยุได้
๑๘ เตม็ ในเดอื นนฯ้ี ทรงถำมว่ำ เกิดปีอะไรฯ ทูลว่ำ ขอถวำยพระพรเกดิ ปีวอกอฐั ศกฯ รบั สั่งถำมว่ำ บ้ำนเกิดอยู่
ทไี่ หนฯ ทูลว่ำขอถวำยพระพรฯ บ้ำนเดิมอยู่ใต้เมืองกำแพงเพชร แล้วยำ้ ยลงมำต้งั บ้ำนอยเู่ หนอื เมืองพิจิตร ขอ
ถวำยพระพรฯ รบั สั่งถำมว่ำ โยมผู้ชำยชอ่ื อะไรฯ ทลู ว่ำ ขอถวำยพระพร ไม่รูจ้ ักฯ รบั สั่งถำมว่ำ โยมผหู้ ญิงช่ือ
อะไรฯ ทลู วำ่ ขอถวำยพระพร ช่อื แม่งุดฯ รับส่ังถำมว่ำ ทำไมโยมผหู้ ญงิ ไม่บอกตัวโยมผู้ชำยให้เจ้ำกรู จู้ ักบำ้ งหรือ
ฯ ทลู ว่ำ โยมผหู้ ญงิ เป็นแตก่ ระซิบบอกว่ำเจำ้ ของรัดประคดนีเ้ ป็นเจ้ำคณุ แมท่ ัพขอถวำยพระพร

ครั้นทรงไดฟ้ ัง ตระหนักพระหฤทัยแลว้ ทรงพระปรำโมทย์เอ็นดูสำมเณรยิ่งขนึ้ จึงทรงรับสั่งทกึ ทักว่ำ แน่ะ คณุ
โหรำ เณรองค์นี้ ฟำ้ จะทกึ เอำเป็นพระโหรำนำชำ้ งเผือกเขำ้ มำถวำย จงเปน็ เณรของฟ้ำต่อไป ฟำ้ จะเป็นผู้อุปถัมภ์
บำรงุ เอง แต่พระโหรำตอ้ งเป็นผชู้ ว่ ยเลย้ี งชว่ ยสอนแทนฟ้ำ ทงั้ พระวิเชยี รและเสมียนตรำด้วง ชว่ ยฟ้ำบำรุงเณร
เณรกอ็ ย่ำสึกเลยไม่ต้องอนำทรอะไร ฟำ้ ขอบใจพระโหรำมำกทเี ดยี ว แต่พระโหรำอย่ำทอดธรุ ะท้ิงเณรชว่ ยเล้ยี ง
ชว่ ยสอนต่ำงหูต่ำงตำชว่ ยดูแลให้ดดี ้วย และเห็นจะต้องย้ำยเณรให้มำอย่กู บั สมเด็จพระสงั ฆรำชมี จะได้ใกล้ๆ
กับฟำ้ ให้อยู่วดั นิพพำนำรำมจะดี (วดั นพิ พำนำรำม คือวดั มหำธำตยุ ุวรำชรังสฤษด์ิเด๋ียวน)้ี

ครั้นรับสงั่ แล้ว จงึ ทรงพระอกั ษรเปน็ ลำยพระรำชหตั ถเลขำมอบสำมเณรโตแกส่ มเด็จพระสงั ฆรำช (ม)ี แล้วสง่
ลำยพระรำชหัตถเลขำนั้นมอบพระโหรำธิบดใี ห้นำไปถวำย พระโหรำธิบดนี ้อมเศียรคำนบั รบั มำแล้วกรำบถวำย
บังคมลำ ทัง้ พระวิเชยี รและเสมยี นตรำด้วง สำมเณรโตกถ็ วำยพระพรลำ แล้วก็เสด็จขน้ึ

ฝ่ำยขุนนำงทงั้ ๓ ก็พำสำมเณรลงเรอื แจวข้ำมฟำกมำขึน้ ท่ำวดั มหำนพิ พำนำรำมตำมคำสงั่ พำเณรเดนิ ข้ึนบน
ตำหนกั สมเด็จพระสังฆรำช (ม)ี ครั้นพบแล้วต่ำงถวำยนมัสกำร พระโหรำธบิ ดีกท็ ลู ถวำยลำยพระรำชหตั ถเลขำ
แกส่ มเด็จพระสังฆรำชเจ้ำฯ คลี่ลำยพระหตั ถ์ออกอ่ำนดูรูค้ วำมในพระกระแสรับสง่ั น้นั แล้ว จึงรบั ส่ังให้พระครู
ใบฎกี ำไปหำตัวพระอำจำรย์แกว้ วดั บำงลำพบู น ซึ่งเปน็ เจ้ำของสำมเณรเดิมน้ันขน้ึ มำเฝ้ำ ครั้นพระอำจำรย์แก้ว
มำถึงแล้วจึงรบั ส่ังใหอ้ ่ำนพระรำชหตั ถ์เลขำ พระอำจำรยแ์ ก้วอ่ำนแล้วทรำบว่ำพระยพุ รำชนยิ มก็มคี วำมชนื่ ชอบ
อนญุ ำตถวำยเณรใหเ้ ป็นเณรอยู่วดั นิพพำนำรำมตอ่ ไป ได้รับนสิ ัยแตส่ มเด็จพระสังฆรำชดว้ ยแต่วนั นั้นมำ

สำมเณรโตนัน้ ก็อุตส่ำหท์ ำวัตรปฏบิ ัติแกส่ มเด็จพระสังฆรำชเจ้ำ และเข้ำเรยี นคัมภรี ์พระปรยิ ัติธรรม จนทรำบ
สนั ธวิธขี องสมเด็จพระสังฆรำชเจำ้ จนชำนชิ ำนำญดี และเรียนกับพระอำจำรย์เสม วดั นิพพำนำรำมอกี อำจำรย์
หนึ่งดว้ ย

26

ครั้นถงึ เดอื น ๖ ปมี ะเส็ง นพศก จลุ ศักรำช ๑๑๕๙ เป็นปีท่ี ๑๖ ในรัชกำลท่ี ๑ กรุงเทพพระมหำนครฯ จึง
สมเดจ็ พระเจำ้ ลูกยำเธอ เจ้ำฟ้ำกรมหลวงอิศรสนุ ทร ทรงพระคำนวณปเี กดิ ของสำมเณรโต เป็นกำหนดครบ
๒๑ ปีบริบูรณ์ ควรอปุ สมบทไดแ้ ลว้ จงึ รับสั่งใหพ้ ระโหรำธิบดีกับเสมียนตรำด้วงมำเฝ้ำ แล้วทรงรบั ส่งั โปรดว่ำ
พระโหรำฯตอ้ งไปบวชสำมเณรโตแทนฟำ้ ต้องบวชท่วี ดั ตะไกร เมอื งพิษณโุ ลก แล้วทรงมอบกจิ กำรท้งั ปวงแก่
พระโหรำธบิ ดี พรอ้ มทัง้ เงินที่จะใชส้ อย ๔๐๐ บำท ท้ังเคร่ืองบริขำรพรอ้ ม และรับส่ังให้ทำขวัญนำค เวยี นเทยี น
แต่งตวั นำคอยำ่ งแบบนำคหลวง กำรซซู่ ่ำแหแ่ หนน้ันอนุญำตตำมใจญำตโิ ยมและตำมคติชำวเมือง แล้วรับส่ังให้
เสมียนตรำด้วงแต่งทอ้ งตรำบัวแก้วขนึ้ ไปวำงให้เจ้ำเมอื งพษิ ณุโลก ใหเ้ จำ้ เมืองเปน็ ธรุ ะช่วยกำรบวชนำค
สำมเณรโต ใหเ้ รยี บร้อยดงี ำม ตลอดทั้งกำรเลีย้ งพระเลี้ยงคน ใหอ้ ิม่ หนำสำรำญทวั่ ถึงกัน กบั ทั้งใหข้ อแรงเจ้ำ
เมืองกำแพงเพชร เจ้ำเมืองพิจิตร เจ้ำเมืองพชิ ยั และเจำ้ เมืองไชยนำมบุรี ให้มำช่วยกันดแู ลกำรงำน ให้เจ้ำเมอื ง
พษิ ณุโลกจดั กำรงำนในบำ้ นในจวนนนั้ ใหเ้ รยี บร้อยและให้ได้บวชภำยในข้ำงข้นึ เดือน ๖ ปีน้ี แล้วแตจ่ ะสะดวก
ดว้ ยกันทั้งฝ่ำยญำติโยมของเณร

รบั ส่งั ให้สังฆกำรีในพระรำชวังบวร วำงฎกี ำอำรำธนำสมเดจ็ พระวนั รตั วัดระฆัง ใหข้ ้ึนไปบวชนำคที่วดั ตะไกร
ใหข้ ้ึนไปแต่ข้ำงขึ้นออ่ นๆ ให้สำเรจ็ กจิ บรรพชำอปุ สมบทภำยในกลำงเดือน ใหไ้ ปนัดหมำยกำรงำนต่อเจ้ำเมือง
พษิ ณโุ ลกพรอ้ มดว้ ยญำติโยมของเณร และตำมเหน็ ดีของเจำ้ เมืองดว้ ย พระโหรำธบิ ดี เสมยี นตรำดว้ ง รบั พระ
กระแสรบั ส่ังแล้วถวำยบังคมลำออกมำจดั กจิ กำรตำมรับส่ังทกุ ประกำร

ฝำ่ ยข้ำงญำตโิ ยมของสำมเณรโต ทรำบพระกระแสรับสั่งแล้ว จึงจัดเตรียมเขำ้ ของไว้พร้อมสรรพ แล้วไปนิมนต์
ทำ่ นพระอำจำรย์แก้ววัดบำงลำพูบนใหเ้ ปน็ พระกรรมวำจำจำรย์ รับข้ึนไปพรอ้ มดว้ ยตน แล้วนิมนต์ท่ำนเจำ้
อธิกำรวัดตะไกรเปน็ อนุสำวนำจำรย์ จะเป็นวัดไหนกแ็ ล้วแตส่ มเดจ็ พระอุปัชฌำย์จะกำหนดให้ และเผดยี ง
พระสงฆอ์ นั ดบั ๒๕ รปู ในวัดตะไกรบ้ำง วัดท่ีใกล้เคียงบ้ำง ให้คอยฟังกำหนดวันท่ีสมเด็จพระอปุ ัชฌำย์จะ
กำหนดให้

ฝ่ำยพระโหรำธิบดี เสมยี นตรำด้วง จึงจดั เรอื ญวนใหญ่ ๖ แจว ๑ ลำ เรือญวนใหญ่ ๘ แจว ๑ ลำ, เรอื ครวั ๑
ลำ คนแจวพร้อม และจดั หำผ้ำไตรคสู่ วดอุปัชฌำย์ จัดเทียนอุปัชฌำยค์ ่สู วด จดั เครอ่ื งทำขวัญนำคพร้อมผ้ำยก
ตำลอมพอก แวน่ เทียน ขนั ถม ผ้ำคลุม บำยศรี เสรจ็ แล้ว เอำเรอื ๖ แจว ไปรับสมเด็จพระวนั รัต ลำเณรจำก
สมเด็จพระสงั ฆรำช แล้วนำมำลงเรอื ๖ แจว ส่วนพระโหรำธิบดี เสมยี นตรำด้วง ไปลงเรือ ๘ แจว

เรือสมเด็จพระวนั รตั และสำมเณรโต เรือพระโหรำธบิ ดี เสมียนตรำด้วง ออกเรอื แจวขึ้นไปทำงแม่นำ้ เจ้ำพระยำ
ตำมกนั เปน็ แถวขน้ึ ไปรอนแรมคำ้ งคนื ตำมหนทำงล่วงเวลำ ๒ คนื ๒ วัน กถ็ งึ เมอื งพิษณุโลก ตรงจอดท่ีท่หี น้ำ
จวนพระยำพิษณโุ ลก เสมียนตรำดว้ งจึงขนึ้ ไปเรียนทำ่ นผูว้ ่ำรำชกำรเมืองให้เตรียมตัวรบั ทอ้ งตรำบัวแก้ว และ
รับรองเจ้ำประคณุ สมเด็จพระวันรตั วัดระฆัง ตำมพระกระแสรบั ส่ัง

27

ครั้นทำ่ นพระยำพษิ ณุโลกทรำบแล้ว จงึ จดั กำรรบั ท้องตรำก่อน เสมียนตรำด้วงจงึ เชิญทอ้ งตรำบัวแก้วขึน้ ไปบน
จวน เชิญทอ้ งตรำตั้งไวต้ ำมท่ีเคยรับมำแตก่ ำลก่อน เมือ่ เจ้ำเมือง ยกกระบตั ร กรมกำรมำประชุมพร้อมกนั แล้ว
เสมยี นตรำด้วงจึงแกะคร่ังประจำถงุ ตรำ เปดิ ซองออกอ่ำนท้องตรำ ให้เจำ้ เมอื ง ยกกระบัตร กรมกำรฟัง ทรำบ
พระประสงค์ และพระกระแสรบั สั่งตลอดเร่อื งแลว้ เจ้ำเมืองกรมกำรนอ้ มคำนับถวำยบงั คมพรอ้ มกนั แล้ว
เสมียนตรำด้วงจึงวำงไว้บนพำนถมบนโต๊ะแล้วคุกเข่ำถวำยบงั คม ภำยหลงั แล้วจึงคำนบั ท่ำนเจ้ำเมือง ไหว้
ยกกระบตั ร กรมกำรทั่วไป ตำมฐำนนั ดรแลอำยุ ท่ำนเจำ้ เมืองจงึ ลงไปอำรำธนำสมเดจ็ พระวันรตั และสำมเณร
โตขนึ้ พกั บนหอน่ังบนจวน กระทำควำมคำนบั ตอ้ นรบั เช้อื เชิญตำมขนบธรรมเนยี ม โดยเรียบรอ้ ยเป็นอนั ดี ผูว้ ่ำ
รำชกำรจึงสั่งหลวงจำ่ เมือง หลวงศภุ มำตรำ ๒ นำย ใหอ้ อกไปบอกขำ่ วท่ำนสมภำรวดั ตะไกรใหท้ รำบว่ำ สมเดจ็
พระวันรัตวัดระฆงั มำถึงตำมรับสง่ั แล้ว ใหท้ ำ่ นสมภำรจัดเสนำสน์ปูอำสนะใหพ้ รอ้ มไว้ ขำดแคลนอะไร หลวงจ่ำ
เมือง หลวงศุภมำตรำ ต้องช่วยทำ่ นสมภำร สั่งหลวงแพ่ง หลวงวิจำรณ์ ให้จดั ทพ่ี กั คนเรอื และนำเรอื เข้ำโรงเรือ
เอำใจใส่ดแู ลรกั ษำเหตุกำรณ์ทว่ั ไป สงั่ ขุนสรเลขให้ขอแรงกำนนั ที่ใกลๆ้ ชว่ ยยกสำรับเลี้ยงพระเลี้ยงคนในตอน
พรงุ่ น้ี จนตลอดงำน ส่ังพระยำยกกระบัตรให้มตี รำเรยี กเจ้ำเมืองทง้ั ๔ ใหม้ ำถึงปะรืนนี้ สง่ั หลวงจูใ๊ หข้ อกำลัง
เลย้ี งฝีพำยบำงกอก สั่งรองวิจำรณ์ รองจ่ำเมือง ให้นัดประชมุ กำนันในวนั ปะรนื น้ี สัง่ รองศภุ มำตรำใหเ้ ขยี นใบ
เชิญพอ่ ค้ำคฤหบดี ครนั้ เวลำเย็นเห็นวำ่ ท่วี ัดจัดกำรเรยี บร้อยแล้ว จึงอำรำธนำสมเดจ็ พระวนั รตั ออกไปพักผ่อน
อริ ยิ ำบถที่วดั สบำยกว่ำพักบ้ำนตำมวสิ ัยพระ ส่วนท่ำนเจ้ำเมืองพรอ้ มด้วยเสมยี นติดตำมสง่ สมเดจ็ พระวนั รัต
ณ วดั ตะไกร และนดั หมำยสำมเณรโตใหน้ ัดญำติโยมพรอ้ มหำรอื กนั ใน ๒ วันนี้

ครั้นทำ่ นเจ้ำเมืองมำส่งสมเด็จพระวันรตั ทว่ี ดั ตะไกรถงึ แล้ว ไดต้ รวจตรำเห็นวำ่ เพยี งพอถกู ตอ้ งแล้ว จึงส่ัง
กรรมกำร ๒ นำยใหอ้ ยู่ท่ีวดั คอยระวังปฏบิ ตั ิ และใหก้ ำนนั ตำบลน้ีคอยดแู ลระวังพวกเรอื ญำตโิ ยมของสำมเณร
โต อย่ำใหม้ ีเหตกุ ำรณไ์ ด้ คร้ันสงั่ เสยี เสร็จแล้วจงึ นมสั กำรลำสมเด็จพระวันรตั นัดหมำยกับท่ำนว่ำ อกี ๒ หรอื
๓ วัน จงึ จะออกมำให้พร้อม จะไดน้ ัดหมำยกำรงำนให้ร้กู ัน แล้วนมัสกำรลำมำจัดแจงกำรเลย้ี งดูท่ีบ้ำนอีก ท่ำน
เจ้ำเมอื งได้สั่งใหห้ ลวงชำนำญคดีจัดหอ้ งนอนบนจวนให้ขำ้ หลวงและเสมียนตรำ พักให้เป็นที่สำรำญ สั่งในบำ้ น
หุงตม้ เล้ียงคนเลี้ยงแขกเลี้ยงกรรมกำรทม่ี หี น้ำทีท่ ำงำนในวันพรุ่งน้ี ต่อไปตดิ กันไปในกำรเลย้ี ง

(ส้ินใจควำมในรูปภำพประวตั ิเขียนไว้ในฉำกที่ ๓ เท่ำน้นั ในประวตั ิทฝี่ ำผนงั โบสถ์เปน็ ฉำกที่ ๔ เจ้ำของท่ำนให้
เขียนไวด้ ังน้ี เขียนรูปสมเด็จพระวนั รตั เขียนรปู อำจำรย์แก้ว เขยี นรูปวัดตะไกร เขียนบ้ำนเจำ้ เมอื ง เขยี นคนมำ
ชว่ ยงำนท้ังทำงบกทำงนำ้ เขียนพวกกระบวนแห่นำค เขยี นรปู ท่ำนนวิ ัติออกเป็นเจ้ำนำค เขยี นพวกเตน้ รำทำทำ่
ตำ่ งๆ เขียนคนพำยเรอื น้ำเปน็ คลน่ื จึงอนุมำนสนั นิษฐำนใคร่ครวญกอปรเหตุกอปรผลเข้ำได้ควำมดังน้)ี

ครั้นลว่ งมำอกี ๓ วัน เจำ้ เมืองกำแพงเพชร ๑ เจำ้ เมอื งพิจิตร ๑ เจ้ำเมือง ไชยนำทบุรี ๑ เจ้ำเมืองพิชัย ๑ พอ่ ค้ำ
คฤหบดี กำนนั ในตำบลเมืองพษิ ณุโลก กรมกำรเมืองพิษณุโลกทัง้ ส้นิ มำประชุมพรอ้ มกันทีจ่ วนทำ่ นเจำ้ เมือง
พษิ ณโุ ลก ท่ำนเจำ้ เมอื งพษิ ณุโลกจึงได้พำคนท้ังปวงออกไปประชุมทศี่ ำลำใหญ่วัดตะไกร โดยอำรำธนำสมเดจ็
พระวันรัต ให้ลงมำประชุมร่วมด้วยพร้อมทัง้ ตำผลนำงงุด และคณะญำติของสำมเณรโต ครนั้ เข้ำในท่ปี ระชมุ
เรยี บร้อยแล้ว ท่ำนเจำ้ เมืองพิษณุโลกจงึ ขอควำมตกลงท่แี ม่งุดเจ้ำของนำคหลวงนัน้ กอ่ น วำ่ กำรบวชนำคหลวง
คร้ังน้ี มีพระกระแสรบั ส่ังโปรดเกลำ้ ใหเ้ จ้ำเมอื ง กรมกำรอำเภอ เจำ้ ภำษี นำยอำกร คฤหบดี ทัง้ ปวงน้ีเป็นผชู้ ่วย

28

สนับสนุนกำรจนตลอดแลว้ โดยเรยี บร้อย แต่รบั สัง่ ใหอ้ นมุ ัติตำมเจ้ำของนำคหลวง กฝ็ ่ำยแม่งดุ เป็นมำรดำจะ
คิดอ่ำนอย่ำงไรขอให้แจ้งมำ ฝ่ำยบ้ำนเมืองจะเป็นผู้ช่วยอำนวยกำรท้ังส้ิน

ฝำ่ ยนำงงดุ จึงเรยี นทำ่ นเจ้ำเมืองพษิ ณโุ ลกว่ำ ดฉิ นั กะไว้วำ่ จะบวชแต่เช้ำ บวชแล้วเล้ียงเชำ้ ท้งั ๒๙ รปู เลีย้ งเพล
อกี ๒๙ รูป ดฉิ ันจะตงั้ โรงครัวที่วัดน้ี ดิฉนั ใครจ่ ะมพี ณิ พำทย์ กลองแขกตกี ระบี่กระบอง มแี หน่ ำค มีแห่พระใหม่
มกี ำรสมโภชฉลองพระใหม่ ดฉิ ันใครจ่ ะนมิ นตท์ ่ำนพระครวู ดั ใหญ่ทเ่ี มอื งพิจติ ร ๑ ท่ำนพระครทู ว่ี ัดเมืองไชย
นำท ๑ มำสวดมนต์ฉนั เช้ำในกำรฉลองพระใหม่ มีกำรทำขวญั เวียนเทยี น มกี ำรสมโภชพระใหม่ มีกำรมหรสพ
ด้วยเจำ้ ค่ะ ทำ่ นเจ้ำเมืองพษิ ณุโลก ก็รบั ทีจ่ ะจัดทำตำมทกุ ประกำร

ท่ำนเจ้ำเมืองพิษณโุ ลก หนั เข้ำขอประทำนมติ ต่อสมเด็จพระวนั รัต ตอ่ ไปว่ำเม่ือวนั ไหนจะสะดวกในรูปกำรเชน่ น้ี
สมเดจ็ พระวนั รตั ตอบว่ำ โครงกำรท่ีร่ำงรปู เช่นนี้เปน็ หนำ้ ที่ท่ีเจ้ำคุณจะดำริและสั่งกำรจะนำนวันสกั หนอ่ ย ข้ำเจำ้
คิดเหน็ เหมำะวำ่ วันขนึ้ ๑๔ ค่ำ เดอื น ๖ ปีมะเสง็ นพศกน้ี เป็นวันนิวัตสิ ำมเณรออกมำเป็นเจำ้ นำค สำมโมงเยน็
วันนนั้ ห้อมล้อมอปุ สัมปทำเปกข์เข้ำไปทำขวัญในจวน ให้นอนค้ำงในจวน เช้ำมืดจดั ขบวนแล้วแห่มำ วันข้ึน ๑๕
ค่ำ เดอื น ๖ เวลำ ๑ โมงเชำ้ บวชเสรจ็ ๒ โมงเช้ำ พระฉัน มีมหรสพเรอ่ื ยไปวันยังคำ่ พอ ๕ โมงเย็นจัดกระบวน
แห่พระใหม่ เข้ำไปในจวนเจ้ำคุณ เรมิ่ กำรสวดมนต์ธรรมจักรตอ่ ๑๓ ตำนำน ตำมแบบหลวง แล้วรุ่งเชำ้ ฉนั ฉัน
แลว้ เล้ยี งกัน มีเวียนเทียน แล้วมกี ำรเล่นกนั ไปวนั ยังคำ่ อีกค่ำลงเสรจ็ กำร เจ้ำเมืองรับเถรวำทวำ่ สำธุ เอำละ

ครั้นท่ำนเจำ้ เมืองพษิ ณุโลก หำรือด้วยสมเด็จพระวันรัต ลงมติกำหนดกำรกำหนดวันเปน็ ท่ีมั่นคงแล้ว จึง
ประกำศให้บรรดำทีม่ ำประชุมกันรแู้ น่ว่ำ วนั ขึน้ ๑๔ ค่ำ เดือน ๖ เปน็ วันทำขวัญ วันขนึ้ ๑๕ ค่ำ เดอื น ๖ เปน็
วนั บวชเช้ำ ตำมโครงกำรบวชนำคหลวงครำวนีม้ รี ำยกำรอย่ำงนนั้ ๆ ท่ำนท้ังหลำยท้ังผูใ้ หญ่และผู้นอ้ ย จงได้
กำหนดไวท้ กุ คน และขอเชิญไปฟังคำสัง่ ที่แนน่ อนทจี่ วนอกี ครั้ง แล้วท่ำนเจ้ำเมอื งพิษณโุ ลกก็นมัสกำรลำสมเด็จ
พระวันรตั และพระสงฆ์ท้งั ปวง นำเจ้ำเมืองท้งั ๔ กับบรรดำทม่ี ำประชุมกันสู่จวน ท่ำนเจ้ำเมืองพิษณโุ ลกจึง
แสดงสนุ ทรกถำชะลอเกียรติคณุ ของทำงพระรฏั ฐะปสำสน์ ปลุกน้ำใจขำ้ รำชกำร และรำษฎรท้งั ปวงใหม้ ีควำม
เอื้อเฟ้ือต่อพระกศุ ลอนั นี้ พอเป็นท่พี ร้อมใจกันแล้ว จงึ ส่ังกิจกำรท้ังปวงและแบง่ หน้ำทที่ ุกแห่งตำแหนง่ กำร ทั้ง
ทำงทว่ี ัดและจดั ที่บ้ำน ตลอดกำรปรงุ ปลูกมงุ บังบดุ ำษปูปัดจดั ตงั้ แบกหำมยกขน และขอแรงมำช่วยเพ่ิมพระ
บำรมกี ุศลตำมมีตำมไดต้ ำมสติกำลงั ควำมสำมำรถจงทุกกำนนั เป็นต้นวำ่ ของเลี้ยงกันเข้ำโรงครัวถั่วผัก
มจั ฉะมังสำกระยำกำรตำลโตนด ตำลทรำย หมำก มะพร้ำว ข้ำวเหนยี ว ข้ำวสำร เจ้ำภำษนี ำยอำกรขุนตำบล
ชว่ ยกนั ใหแ้ ข็งแรง พวกท่ไี มม่ ีจะใหม้ แี ต่ตีเป่ำเตน้ รำทำท่ำพิณพำทยก์ ลองแขก กระบีก่ ระบอง ชกมวย มวยปล้ำ
ใครมีอะไรมำช่วยกนั ใหพ้ รอ้ ม ท้งั ของข้ำวนำมำเขำ้ โรงครวั แต่ ณ วันขึ้น ๘ คำ่ เดือน ๖ เปน็ ตน้ ไป จนถึงขึ้น
๑๓ คำ่ ส้นิ กำหนดสง่ จะลงบัญชีขำด กำรโยธำเล่ำใหเ้ รียบรอ้ ยแลว้ เสรจ็ ในวันข้นึ ๑๓ คำ่ เหมอื นกนั ฝ่ำยท่ำน
เจำ้ เมืองทั้ง ๔ จงนำฎีกำสวดมนต์ฉนั เชำ้ ไปวำงฎกี ำอำรำธนำพระครจู งั หวัดท้งั ๔ มำสวดมนต์พระธรรมจักร
และ ๑๒ ตำนำน ในกำรสมโภชพระบวชใหมท่ ี่จวนนี้ ในวันขนึ้ ๑๕ คำ่ รุง่ ข้ึนวนั แรม ๑ ค่ำเดอื นนี้ ศกนี้ นิมนต์
ฉนั เจ้ำเมอื งทั้ง ๔ ต้องนำบอกงำนแก่ผ้มู ีชื่อในจังหวดั ของเมืองนน้ั ๆ จงทั่วหน้ำ

29

ถำ้ หำกว่ำผ้ทู ี่จะมำช่วยงำนในกำรน้ีติดขัดมำไม่สะดวก ขอเจำ้ เมืองจงเป็นธรุ ะส่งแลรับให้ไปมำจงสะดวกทกุ ย่ำน
บ้ำนบึงบำง ขอใหเ้ จ้ำเมอื งมอบเมืองแก่ยกกระบตั รกรมกำร ใหก้ ำนันเป็นธรุ ะเฝ้ำบ้ำนเฝ้ำควำยเฝ้ำเกวยี น แก่
บรรดำผทู้ จ่ี ะมำในงำนนี้ แต่ ณ วนั ขน้ึ ๑๓ คำ่ เดอื นน้ีศกนี้ ท่ำนเจำ้ เมืองท้ัง ๔ จงมำถงึ ให้พร้อมกัน คำสั่ง
ดังกลำ่ วนจ้ี งอยำ่ ขำดเหลอื ได้ กิจกำรท้งั วัดทั้งบ้ำนท้ังใกลท้ ง้ั ไกล ขอให้ยกกระบัตรเป็นพนกั งำนตรวจตรำ
แนะนำตักเตอื น ต่อว่ำเรง่ รดั จเรทว่ั ไปจนตลอดงำนน้ี หลวงจำ่ เมอื ง รองจ่ำเมือง เป็นหนำ้ ท่ีพนกั งำนตรวจตรำ
อำวธุ กำรทะเลำะววิ ำทอย่ำใหม้ ีในกำรน้ี หลวงแพ่ง รองแพ่ง เปน็ หน้ำทีร่ บั แขกคนเชิญนั่ง หลวงวจิ ำรณ์ รอง
วิจำรณเ์ ป็นพนกั งำนจดั กำรเล้ียงนำ้ ร้อนน้ำชำท้งั พระท้ังแขกคนที่จะมำจะไป หลวงชำนำญ รองชำนำญเป็น
พนกั งำนหมำกพลูยำสบู ท้งั พระทั้งแขกทงั้ คนเตรียมเครือ่ งดว้ ย หลวงศภุ มำตรำ รองศภุ มำตรำเป็นพนักงำน
จัดกำรหน้ำฉำกทุกอย่ำง ท้ังกำรพระกำรแขก ขุนสรเลข เป็นเสมยี นจดนำมผนู้ ำของมำ จดทงั้ บำ้ นเมอื งอำเภอ
หมู่บ้ำนให้ละเอียด ทั้งมำกทั้งน้อย พระธำรงผคู้ มุ ต้องเป็นพนักงำนปลูกปรุงมุงบงั บุดำษ เสมยี นทนำยดูเล้ียง
หลวงจ่ำเมือง ต้องจัดหำตะเกียงจุดไฟท่วั ไป ขัดข้องต้องบอกขำ้ พเจ้ำ ช่วยกันให้เต็มฝมี ือดว้ ยกนั สั่งกำรเสรจ็
แลว้ ส่งั แขกท่ีเชิญมำกลบั ไปสง่ั ส่งเจำ้ เมืองทั้ง ๔ กลับข้ึนบำ้ นเมือง

ส่วนผวู้ ่ำรำชกำรเมืองพรอ้ มด้วยพระโหรำธิบดี เสมียนตรำดว้ ง คิดกำรจดั ไทยทำนถวำยพระ จดั ซ้อื ผ้ำย่ีโปไ้ ว้
สำหรบั สำร่วยกำรมหรสพทัง้ ปวง ขอแรงภรรยำกรมกำรเปน็ แม่ครัว ทำ่ นผ้หู ญิงเปน็ ผู้อำนวยกำรครัว พระ
ยกกระบัตรเป็นพนักงำนเล้ียงพระเลยี้ งคนด้วย พวกผ้หู ญิงลกู หลำนพ่ีนอ้ งกรมกำร ขอแรงเย็บบำยศรีเจียน
หมำกจีบพลู มวนยำควน่ั เทยี น ตำโขลกขนมจีน ทำน้ำยำเล้ียงกัน ครั้นท่ำนผู้ว่ำรำชกำรเมอื งจดั กำรสัง่ กำรเสรจ็
สรรพแลว้ พกั ผอ่ นพูดจำกับท่ำนเสมยี น ท่ำนพระโหรำธบิ ดีตำมผำสขุ สำรำญคอยเวลำ

ตง้ั แต่วนั ท่ีกำหนดสง่ ของเขำ้ ครวั อำหำรก็ไหลเรอ่ื ยมำแต่ข้ึน ๘ ค่ำ จนถึง ๑๓ ค่ำ ทำ่ นเจ้ำเมืองส่งไปครวั ทำง
วดั บำ้ ง เขำ้ ครัวบ้ำนบ้ำง คนทำกจิ กำรงำนได้บรโิ ภคอมิ่ หนำตลอดถงึ กรมกำรและลกู เมีย กำนนั และลกู บ้ำนท่ียงั
คำ้ งอยู่ก็ได้บรโิ ภคอ่ิมหนำทั่วหน้ำกัน นำยอำกรสรุ ำกส็ ่งสุรำมำเล้ียงกันสำรำญใจ ต่ำงก็ชมเชยบำรมีพอ่ เณร
และชมอำนำจเจ้ำคุณผู้ว่ำรำชกำรเมือง และชมเชยพระยุพรำชกศุ ลกัลยำณวัตรของสมเดจ็ พระเจำ้ ลกู ยำเธอเจ้ำ
ฟ้ำพระองค์น้ี เปน็ ท่ีสนกุ สนำนทั่วกัน

(ถำมว่ำ เรือ่ งนที้ ำไมผ้เู รยี บเรียงจึงเรยี งควำมได้ละเอยี ด ตอบว่ำเสมียนดว้ ง พระโหรำ ไดเ้ ห็นไดร้ ู้ นำมำเล่ำสบื ๆ
มำ)

คร้ันร่งุ ขน้ึ ณ วันข้ึน ๑๔ คำ่ เดือนหก ปมี ะเส็ง นพศก จลุ ศักรำช ๑๑๕๙ ปี เวลำเชำ้ เจ้ำเมืองทั้ง ๔ ก็มำถงึ
พระครูจงั หวดั กม็ ำถึง ผมู้ ีช่ือที่มำช่วยกิจกำรอปุ สมบทน้ีก็มำถึงทงั้ ใกลไ้ กล ท่ำนเจ้ำเมืองพษิ ณโุ ลกก็ยม้ิ แย้ม
ทกั ทำยตอ้ นรบั พระยกกระบัตร กด็ ูแลเลี้ยงดเู ช้ือเชญิ ใหร้ ับประทำนทว่ั ถงึ กนั ตลอดพวกมหรสพ ฝีพำย ทงั้ เรือ
พระ เรอื เจ้ำเมอื ง เรือคฤหบดี กเ็ รยี กเชิญเลี้ยงดูอิ่มหนำทกุ เวลำ

30

ครัน้ เวลำเทย่ี งแล้ว ทำ่ นผู้วำ่ รำชกำรเมืองพิษณโุ ลก พรอ้ มด้วยเจ้ำเมอื งท้ัง ๔ และพระโหรำธบิ ดี เสมยี นตรำ
ดว้ ง กับท้งั พวกกระบวนแห่ก็เตรยี มออกไปรบั นำคทว่ี ัด สมเด็จพระวนั รตั ก็ให้สำมเณรโตลำสกิ ขำบท นิวัติ
ออกเปน็ นำค ท่ำนสมภำรวัดตะไกรก็ส่ังพระใหโ้ กนผมเจ้ำนำคแล้ว พระโหรำกแ็ ต่งตัวเจำ้ นำค นำเครือ่ งผำ้ ยก
ออกมำจำกหบี เสื้อกรุยเชิงมีดอกพรำวออกแลว้ นงุ่ จีบโจงหำงโหง ชักพก แล้วติดผ้ำหน้ำเรยี กว่ำเชิงงอน ท่ี
ภำษำชะวำเรียกว่ำซ่ำโปะ แล้วคำดเข็มขัดทองประดับเพชร สอดแหวนเพชร ถือพชั นดี ้ำมส้นั สวมเทรดิ ยอด
ประดับพลอยทบั ทิมแลมรกตทคี่ ำสำมัญเรียกว่ำตะลอมพอกทรงเคร่ือง แต่งตัวเสรจ็ แล้ว ท่ำนผวู้ ่ำรำชกำรกน็ ำ
นำค พระโหรำธิบดี เสมียนตรำด้วง เดินแซงข้ำงนำค ญำตโิ ยมตำมหลังเป็นลำดับลงไป พวกกระบวนแห่ก็
เตน้ รำตำมกันมำ ตำมเจ้ำคุณพระยำพิษณโุ ลกนำนำคเข้ำมำทำขวญั ที่จวนเมื่อเวลำบ่ำย ๓ โมงเย็น วนั ข้ึน ๑๔
คำ่ เดอื น ๖ ศกน้ัน

ครัน้ ถึงจวนเจ้ำเมืองก็นำนำคเข้ำโรงพิธีท่ีจดั ไว้บนหอนัง่ แล้วเรยี งรำยเจ้ำเมือง กรมกำร เจำ้ บำ้ นคหบดี เจำ้
ภำษีนำยอำกร รำษฎรสูงอำยุ และญำติโยมของเจ้ำนำค พระโหรำธบิ ดเี รียกคนเชญิ ขวัญ ทน่ี ำไปแตก่ รุงเทพท้ัง
พรำหมณ์พรหมบตุ รชดุ หนง่ึ ขึ้นมำจำกเรือ แล้วเข้ำน่ังทำขวัญๆ แล้วเวียนเทยี น พณิ พำทยก์ บ็ รรเลงตำมเพลง
กระ, กรม กรำว เชดิ ไปเสรจ็ แล้วจดั กำรเลย้ี งเยน็ ค่ำลงจดุ ไฟแล้วมกี ำรเตน้ รำรอ้ งเพลงสนกุ จรงิ

คร้ันเวลำย่ำรุ่ง ท่ำนผูว้ ่ำรำชกำรเมืองพษิ ณโุ ลก พร้อมด้วยเจ้ำเมืองทั้ง ๔ แลกรมกำรผู้ใหญผ่ ้นู ้อย พ่อค้ำแม่ค้ำ
เจำ้ ภำษีนำยอำกร อำเภอ กำนนั พันทนำยบำ้ น ขุนตำบล พระธำมะรงค์ผูค้ ุม ผู้ใหญม่ ำพรอ้ มกันทห่ี น้ำจวน จงึ
จดั กระบวนแห่ เปน็ ๗ ตอน ตอน ๑ พวกกระบี่กระบอง ตอน ๒ พวกชกมวยมวยปลำ้ ตอน ๓ กลองยำว ตอน
๔ เทียนอุปัชฌำย์ ไตรบำตร ไตรอปุ ัชฌำย์ ตอน ๕ เจ้ำเมืองท้งั ๕ กรรมกำรเสมียนตรำข้ำหลวง ตอน ๖ ญำติ
มิตรคนช่วยงำนถอื ของถวำยอันดับ ตอน ๗ พวกเพลงพวกเต้นรำตำ่ งๆ เป็นแถวยดื ไป แหแ่ หนห้อมลอ้ มเปน็
ขบวนเดนิ มำ จนถงึ เขตกำแพงวดั ตะไกรผ่อนๆ กันเดินเขำ้ ไป ต้งั ชุมนุมเป็นกองๆ แต่พวกกลองยำวพวกขบวน
ถือเทยี น ถือไตรบำตรบรขิ ำรของถวำยพระนน้ั เวยี นโบสถ์ไปดว้ ย พวกพิณพำทย์ กลองแขกนงั่ ตที ศ่ี ำลำหนำ้
โบสถ์ ครบสำมรอบแล้ว เจ้ำนำควันทำสมี ำเจ้ำเมืองท้ัง ๔ แวดล้อม พระโหรำเปน็ ผคู้ ุมและสอน แล้วข้ึนโบสถ์
สำก็ท้งิ ทำนเปลอ้ื งเคร่ืองทีแ่ ต่งแหม่ ำ ผลดั เป็นยกพืน้ ขำว ผ้ำกรองทองห่มสไบเฉยี ง เปล้ืองเสอ้ื กรุยออกถอด
ตะลอมพอก ถอดแหวนแลสรอ้ ยส่งใหเ้ สมียนตรำๆ รับบรรจลุ งหบี ลน่ั กุญแจมอบเจ้ำเมืองท้งั ๕ เป็นผู้รักษำ
แล้วโยมญำติช่วยกันจูงช่วยกันรมุ เข้ำโบสถ์ พระโหรำธบิ ดนี ำเข้ำวนั ทำพระประธำน แล้วมำนัง่ คอยพระสงฆ์
ฝำ่ ยพระสงฆ์ ๒๙ รปู มสี มเด็จพระวนั รัตเป็นปรำนทพ่ี ระอปุ ัชฌำย์ ลงโบสถพ์ รอ้ มกนั แล้ว นำงงดุ จึงยืน่ ผ้ำไตร
บวชส่งใหน้ ำคๆ น้อมคำนับรับเอำเข้ำมำในท่ำมกลำงสงฆ์ พวกกรมกำรยกเทยี นอุปัชฌำย์ ไตรอปุ ัชฌำย์ พรอ้ ม
ดว้ ยกรวยหมำก เข้ำมำส่งใหเ้ จ้ำนำคถวำยอุปัชฌำย์ แลว้ ให้เจำ้ นำคยนื ขึ้นวนั ทำอ้อนวอนขอบรรพชำเป็นภำษำ
บำฬี (ตำมวิธีบวชพระมหำนิกำย) คร้ันเสร็จเรยี นกัมมัฏฐำน แลว้ ออกไปครองผ้ำเขำ้ มำถวำยเทยี น ผำ้ ไตร แก่
พระกรรมวำจำ แล้วยนื ขึ้นประทำนวิงวอนขอพระสรณำคมน์ นงั่ ลงรบั พระสรณำคมนเ์ สร็จ รบั ศีล ๑๐ ประกำร
เป็นเณรแล้วเข้ำมำยนื ขอนสิ สยั พระอปุ ชั ฌำย์ สำเร็จเป็นภกิ ษใุ นเพลำ ๓๒ ชนั้ คอื ๗ นำฬิกำเช้ำ วนั พุธขนึ้ ๑๕
ค่ำ เดอื น ๖ ปีมะเส็ง นพศก จุลศกั รำช ๑๑๕๙ ปี ประชุมสงฆ์ ๒๘ รปู เป็นคณะปักกะตดั ตะในพัทธสมี ำของ
วัดตะไกร เมอื งพิษณโุ ลก สมเดจ็ พระวนั รตั วดั ระฆังโฆสิตำรำม ธนบรุ ี เป็นพระอุปัชฌำย์ พระอำจำรย์แก้ว วัด

31

บำงลำพบู น เปน็ กัมมำวำจำ พระอธกิ ำรวัดตะไกร เมืองพิษณุโลกเป็นอนสุ ำวะนะ คร้นั เสร็จกำรอปุ สมบทแล้ว
พระสงฆ์ทงั้ ปวงออกจำกโบสถ์ ลงมำฉันเชำ้ ทีศ่ ำลำวัดตะไกรพรอ้ มกันทง้ั ภิกษโุ ตด้วย

ตอนท่ี ๖

คร้นั เจำ้ ภำพอังคำสถวำยอำหำรบิณฑบำต พระสงฆ์ทำภัตกิจเสรจ็ แล้ว ก็ถวำยไทยทำนเปน็ อันมำกมำยหนัก
หนำ พระภกิ ษุโตก็รับของถวำยเปน็ ก่ำยกองสุดจะพรรณนำ ครัน้ เสร็จแลว้ พระสงฆ์อนุโมทนำ เจ้ำภำพจัดกำร
เลยี้ งกัน เสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว พวกกระบี่ก็รำกระบี่กระบองรำวี พวกมวยก็คลุกคลีเปน็ คู่คู่ พวกเพลงกร็ ้องสูก้ นั
เซง็ แซ่ พวกกลองยำวของพม่ำกบ็ ุ้มบำ้ รำถวำย คนดูกเ็ ดินกรำยชำยตำมองจ้องทต่ี ้องใจ สมโภชพระบวชใหม่ถึง
ห้ำโมงเยน็ ครน้ั เยน็ แลว้ ท่ำนเจ้ำเมืองทัง้ ๕ จดั กระบวนพระ กระบวนแห่ แห่พระเข้ำไปเจรญิ พทุ ธมนต์เย็นท่ี
จวน สมโภชพระบวชใหม่
คร้ันถึงแล้ว พระสงฆ์นง่ั บนอำสนะถวำยนำ้ รอ้ นนำ้ ตำลเภสัชหมำกพลูบุหร่ีเป็นทีส่ ำรำญ ผ้วู ำ่ กำรเมอื งจุดเทยี น
หลวงบูชำ หลวงนำวำว่ำท่ีกรมกำรอำรำธนำศลี แล้วอำรำธนำพระปริตต์ สวดธรรมจกั รต่อกับ ๑๒ ตำนำน จบ
แลว้ พระสงฆก์ ็กลบั กจ็ ัดกำรเล้ียงกันจนเรยี บร้อยก็จดุ ไฟ มกี ำรสมโภชต่อไปเปน็ ทส่ี นุกสนำนคึกครื้นร่ืนเริงทั่ว
หนำ้ กัน

เวลำเช้ำพระสงฆ์มำสวดมนต์ฉนั เชำ้ แล้ว ก็ถวำยเครอ่ื งไทยทำนต่ำงๆเป็นอนั มำก พระสงฆร์ ับแล้วอนโุ มทนำ
ทำนเสร็จแล้วกก็ ลบั พรำหมณ์ ๓ คนเขำ้ ท่ีโอมอำ่ น อ่ำนพระศลุ ีเทวะรำชประสทิ ธ์ิ เบิกแว่นอณุ ำโลม แล้วตพี ิณ
พำทย์ ฆอ้ งกลอง เป่ำแตร เป่ำสงั ข์ แกว่งบัณเฑำะว์ เคำะกรับ และเวียนเทยี น ๗ รอบ สมโภชพระภิกษโุ ตผบู้ วช
ใหม่ เป็นอนั เสรจ็ พธิ ี ดีงำมทุกสิง่ ทุกประกำร

(เรยี บเรียงแกไ้ ขพรรณนำตำมเคำ้ รูปภำพทีเ่ จ้ำของท่ำนให้ชำ่ งเขียนๆ ไว้ทีฝ่ ำผนงั โบสถ์ด้ำนสกัด เป็นประวตั ิกำร
บวชพระของท่ำน ก็จบลงเพยี งเท่ำน้ี)

(ต่อไปน้ีจะได้บรรยำยประวัติในรปู ภำพทีฝ่ ำผนงั โบสถ์ วดั อินทรวหิ ำร บำงขุนพรหม ฝ่ำยทักษิณแห่งพระ
อโุ บสถวัดนนั้ เป็นฉำกท่ี ๕ ต่อไป ในฉำกที่ ๕ นน้ั ท่ำนให้ช่ำงเขยี นรปู พระสังฆรำชมี เขียนรูปทำ่ นเขำ้ ไปไหวล้ ำ
เขยี นรูปวัดระฆงั เขียนรปู เรียนหนงั สือ เขียนรูปพระบรมมหำรำชวัง และรปู พระบวรรำชวงั รูปฉันในบำ้ น
ตระกูลต่ำงๆ รปู พระสังฆรำชนำค สันนษิ ฐำนตำมเค้ำเหตุผล เรียงตำมลำดับดังน้ี)

ครน้ั รุ่งขนึ้ เป็นวนั แรมสองค่ำ เดือนหก ศกนั้น ท่ำนพระยำพิษณุโลกให้ส่งสมเดจ็ พระวันรตั และพระภกิ ษุโตกบั
พระอำจำรย์แก้วกลบั กรุงเทพฯ ไดข้ อทุเลำกับสมเด็จพระวนั รตั ว่ำ "เกลำ้ ฯ ขอทุเลำใหห้ ำยเหน่ือยสัก ๒ วนั และ

32

สงั่ กจิ กำร ตอ่ วันแรม ๔ ค่ำ เดอื นหก จึงจะไปหำพระคุณเจ้ำ" สมเดจ็ พระวนั รตั ว่ำ "ตำมใจเจำ้ คณุ เถิด" ครนั้ ตก
ลงกนั แล้ว พระยำพษิ ณโุ ลกก็ทำรำยงำนเร่อื งอุปสมบทตรำพระกระแสรับส่ัง มอบใหเ้ สมียนตรำด้วงน้อมเกล้ำ
ถวำยแล้วสง่ เจ้ำเมอื งท้ัง ๔ กลบั พร้อมทง้ั ผคู้ น สั่งยกกระบัตรและกรมกำรใหญน่ ้อยใหท้ ำหน้ำที่ แล้วจดั เรือแจว
๖ แจว มีฝพี ำย เรือครัวไปสง่ พระในกรุงเทพฯ ในวนั แรม ๔ ค่ำ เดือนน้นั

คร้ันแรม ๔ ค่ำ ศกน้นั พระยำพิษณุโลกได้อำรำธนำสมเด็จพระวนั รตั พระอำจำรย์แก้ว พระภิกษุโตบวชใหม่
เข้ำไปฉันในจวน เล้ียงข้ำหลวงเสมยี นตรำ ฝีพำย พรำหมณ์ เสรจ็ แล้วก็ลงเรือล่องลงมำเป็น ๕ ลำด้วยกนั

วันแรม ๖ ค่ำ ศกนน้ั คร้ันถงึ วัดนพิ พำนำรำม สมเด็จพระวนั รตั พระอำจำรย์แกว้ ได้พำพระภกิ ษุโต พระยำ
พษิ ณุโลก พระโหรำธบิ ดี เสมียนตรำดว้ ง เฝ้ำสมเดจ็ พระสงั ฆรำชเจ้ำพรอ้ มกนั กรำบเรียนใหท้ รำบพอสมควร
สมเดจ็ พระสงั ฆรำชเจ้ำจงึ มอบให้เป็นหนำ้ ท่ขี องสมเด็จพระวันรัต เป็นอำจำรยส์ อน และบอกคัมภรี ์พระปรยิ ตั ิ
ธรรมตอ่ ไป ด้วยพระดำรัส "กำรสอนกำรบอกจงเป็นภำระของสมเดจ็ ฯ ด้วยขำ้ พเจำ้ ชรำมำกแล้ว ลมก็กล้ำ
อำหำรกน็ อ้ ย จำวดั ไม่ใครห่ ลับ บอกหนงั สอื กอ็ อกจะพลำดๆ ผิดๆ" รบั สงั่ ให้พระครฐู ำนำจัดกุฏใิ หภ้ กิ ษโุ ตอำศยั
ตอ่ ไปในคณะตำหนกั วดั นิพพำนำรำมแต่วันน้ันมำ

บรรดำสัปปรุ ุษ สีกำ ผู้หลกั ผ้ใู หญ่ทเ่ี ลือ่ มใสคนุ้ เคยกบั พระภกิ ษโุ ตแต่คร้ังเป็นสำมเณร ครัน้ ทรำบว่ำอุปสมบท
แล้ว ตำ่ งกพ็ ำกนั มำเยี่ยมเยยี นปวำรณำตัว ควำมอตั คัดขัดข้องไม่มีแกภ่ ิกษโุ ตเลย ฟมุ่ เฟือยสงำ่ โออ่ ่ำองอำจผ่ึง
ผำยเสมอๆ มำ

คร้นั เข้ำพรรษำปีนั้น จึงได้ขำ้ มไปเรยี นคมั ภีร์กับสมเด็จพระวนั รัตเสมอๆ มำ ก็มคี วำมรู้แตกฉำนลึกซึง้ ในธรรม
วินยั ไตรปิฎกไมต่ ดิ ขัด ทงั้ ท่ำนก็ปฏิบตั ิตรงตอ่ พระธรรมวนิ ยั มคี วำมเคำรพยำเกรงต่อผู้ใหญ่ ปฏิบัตนิ อบน้อม
ยอมตนให้สมำ่ เสมอไป จงึ เป็นเหตุใหอ้ ำมำตย์รำชเสนำ คฤหบดี คฤหปตำนี คณุ ท้ำว คุณแก่ คณุ แม่ คุณนำย
คณุ ชำย คณุ หญิง ผู้ค้นุ เคยไปมำหำสู่ อำรำธนำให้แสดงธรรมตลอดไตรมำสบำ้ ง พิเศษบ้ำง เทศน์มหำชำตบิ ้ำง
สวดมนต์เยน็ ฉันเช้ำ ในงำนมงคลต่ำงๆ เกิดอดิเรกลำภเสมอๆ มิได้ขำด ทั้งพระโหรำธบิ ดี เสมียนตรำด้วง พระ
วเิ ชียร ขนุ พรหม ปลัดนทุ ขรัวยำยโหง เสมยี นบญุ ทั้ง ๗ ท่ำนน้ี ได้เปน็ อุปฏั ฐำกประจำทไี่ วว้ ำงใจ

ครน้ั เห็นวำ่ งรำชกิจควรเข้ำเฝ้ำถวำยพระรำชกศุ ล จงึ หำรือด้วยพระโหรำธบิ ดี พระวเิ ชยี ร เสมียนตรำด้วง
ทงั้ หมดเหน็ ดีดว้ ย จงึ พรอ้ มกันเขำ้ เฝำ้ ถวำย ณ พระรำชวังเดมิ สมเดจ็ พระเจ้ำลกู ยำเธอ เจ้ำฟ้ำกรมหลวงอศิ ร
สุนทร เสด็จออกทรงรบั พระรำชกุศล ถวำยเป็นองค์อุปัฏฐำก ทำ่ นกร็ ุ่งเรืองในกรุงเทพฯ แตน่ ้ันมำ

ครน้ั ลุปขี ำล อฐั ศก จุลศกั รำช ๑๑๖๘ ปี พระภกิ ษุโตมีอำยุ ๓๐ ปี มพี รรษำได้ ๑๐ อันเป็นปที สี่ มเด็จพระเจ้ำ
ลูกเธอ เจ้ำฟ้ำกรมหลวงอิศรสุนทร ได้รบั พระรำชทำนพระบวรรำชอิศรศกั ดส์ิ ูงข้ึน เม่ือเสรจ็ อปุ รำชำภิเษกแล้ว
ทำ่ นได้เข้ำเฝ้ำถวำยพระพรชัยมงคล จงึ ได้ทรงโปรดพระรำชทำนเรอื พระทีน่ ัง่ กรำบเป็นเรือสี ถวำยแกพ่ ระภิกษุ

33

โต โปรดรบั ส่ังวำ่ "เอำไวส้ ำหรบั ไปเทศน์โปรดญำติโยม" ท้ังยงั ทรงต้งั ให้เป็น "มหำโต" ดว้ ย แต่นน้ั มำทุกคนจงึ
เรียกทำ่ นมหำโตท่วั ทั้งแผ่นดิน หำกมรี ำชกิจกุศลในวังหน้ำ หรอื กำรงำนเล็กนอ้ ยแล้ว พระมหำโตเป็นต้องถกู
รำชกำรด้วยองคห์ นง่ึ

(๒ ปีล่วงมำ สมเดจ็ พระสงั ฆรำชมี ชรำภำพถึงมรณะล่วงไปแล้ว ยังหำมีสมเดจ็ พระสงั ฆรำชองค์ใหม่ครองวดั
นิพพำนำรำมไม่) ปมี ะเสง็ เอกศก จุลศกั รำช ๑๑๗๑ ปี กรมพระรำชวงั บวรเสดจ็ ขึ้นเถลิงรำชย์เปน็ พระเจ้ำ
แผ่นดิน จึงทรงพระมหำกรุณำโปรดยกพระปัญญำวิสำรเถร (พระชินวร) วดั ถมอรำย ข้ึนเป็นสมเด็จ
พระสังฆรำชเจำ้ ทรงพระรำชทำนนำมวดั นิพพำนำรำมเสียใหมว่ ่ำ "วัดมหำธำตุ" สมเด็จพระสังฆรำชไดล้ งมำ
ประทับอยทู่ ีว่ ัดมหำธำตุด้วย พระมหำโตจงึ ร่วมอุโบสถสังฆกรรมกบั สมเด็จพระสังฆรำชถึง ๒ พระองค์ คือ
สมเด็จพระสังฆรำชมี สมเด็จพระสงั ฆรำชนำค (จึงไดใ้ ห้ช่ำงเขียนเป็นรปู พระสังฆรำชไว้ ๒ พระองค์ ตำมท่ีท่ำน
ได้ผำ่ นพบมำ) ในศกน้ี พระมหำโตมีพรรษำ ๑๒ ในแผน่ ดินพระพทุ ธเลิศหลำ้ นภำลยั รัชกำลที่ ๒ กรุงเทพฯ
พระมหำโตทำสง่ำโอโ่ ถงภำคภูมมิ ำก เทศนำวำจำกล้ำหำญองอำจ เพรำะเชยี่ วชำญรอบรพู้ ระไตรปิฎกแตกฉำน
ท้งั ยงั เป็นพระของพระเจำ้ แผ่นดนิ อันพระองค์ทรงเป็นอุปฏั ฐำกอกี ด้วย อดิเรกลำภก็มีทวคี ูณ ลูกศิษยล์ ูกหำ
มำกมำย ช่อื เสยี งโด่งดงั กึกก้องตลอดกรุง

ลุปีฉลู นพศก จุลศักรำช ๑๑๗๙ ปี ทรงพระมหำกรุณำโปรดเกล้ำให้สร้ำงพระตำหนกั ใหม่ในวดั มหำธำตุ เพรำะ
ทูลกระหม่อมฝ้ำพระองคใ์ หญ่จะทรงพระผนวชเปน็ สำมเณร ครนั้ ทรงพระผนวชแล้วก็เสดจ็ มำประทบั อยู่ พระ
มหำโตกไ็ ด้เข้ำเปน็ พระพ่เี ลยี้ งและไดเ้ ป็นครสู อนอกั ขระขอม ตลอดจนถึงคมั ภรี ม์ ูลกัจจำยน์ เมือ่ สมเด็จ
พระสังฆรำชมกี ิจ พระมหำโตกไ็ ดอ้ ธิบำยขยำยควำมแทน เปน็ เหตุใหท้ รงสนิทคนุ้ เคยกนั แต่น้นั มำ

ครน้ั ทูลกระหมอ่ มเณรทรงลำสกิ ขำนิวตั ิกลับพระรำชวังแล้ว กท็ รงทำสักกำระแก่พระมหำโตย่ิงข้นึ พระมหำโต
เลยกว้ำงขวำงยง่ิ ใหญ่ รจู้ ักคุณทำ้ วคณุ นำงฝำ่ ยใน ท้ังจ้ำวนำยฝ่ำยนอกมำกมำย บ้ำนขุนนำงกแ็ ยะ เมอ่ื มีงำน
ต้องนมิ นตพ์ ระมหำโตมิได้ขำด

จลุ ศกั รำช ๑๑๘๖ ปีวอก ฉศก วันพธุ เดือน ๘ ข้ึน ๑๒ ค่ำทลู กระหมอ่ มองค์ใหญท่ รงผนวชเป็นพระภิกษุ เสดจ็
ขึน้ ไปประทับวดั ถมอรำย (เปลี่ยนเป็นวดั รำชำธิวำส) ภำยหลังเสดจ็ กลับมำประทบั ณ ตำหนักเดิมวัดมหำธำตุ
พระมหำโตก็ไดเ้ ป็นผ้บู อกธรรมวนิ ยั และพระปริยัตธิ รรมอกี เป็นเหตุให้ทรงคุน้ เคยกนั มำกขึ้นเพรำะมอี ธั ยำศยั
ตรงกัน

ในศกนี้ สมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลำ้ นภำลยั เสดจ็ สวรรคต ในวันพฤหสั บดเี ดือน ๘ แรม ๑๑ ค่ำ ปีวอก ฉศก
จุลศักรำช ๑๑๘๖ เสดจ็ ขน้ึ เถลิงรำชย์ได้ ๑๔ ปี ๑๐ เดอื น สริ ิพระชนมำยไุ ด้ ๕๖ พระพรรษำ

ปีนีพ้ ระมหำโตอำยุได้ ๔๙ พรรษำ ๒๘ พระชนมำยทุ ูลกระหมอ่ มได้ ๒๑ พระพรรษำ

34

พระน่งั เกล้ำเจ้ำอยู่หัว เสด็จข้ึนเถลิงรำชย์เปล่ยี นเปน็ รชั กำลที่ ๓ ในปนี ้นั วันน้นั

ลจุ ลุ ศักรำช ๑๑๘๘ ปจี อ อฐั ศก สมเด็จพระนัง่ เกลำ้ เจำ้ อยู่หัว มีพระบรมรำชโองกำรโปรดเกล้ำให้เผดียง
ทูลกระหมอ่ มพระองคใ์ หญ่ ให้ทรงแปลพระปรยิ ตั ธิ รรม ๓ วนั กท็ รงแปลไดห้ มด แล้วให้พระมหำโตแปลแก้
รำคำญหเู สียบ้ำง ท่ำนเข้ำแปลถวำย วนั หนงึ่ แปลไปได้สกั ลำนกว่ำ ผ้กู ำกบั กำรสอบถือพดั ยศเข้ำมำ ท่ำนกเ็ ลย
ม้วนหนังสือ ถวำยกรำบลำมำข้ำงนอกพระรำชวงั ใครถำมวำ่ "ไดแ้ ล้วหรือขอรับ คณุ มหำ" ทำ่ นรบั คำว่ำ "ได้
แล้วจะ้ "

ปีฉลู เอกศก จลุ ศกั รำช ๑๑๙๑ ทลู กระหม่อมองคใ์ หญ่ไมส่ ำรำญพระหฤทยั ในวดั มหำธำตุ จงึ ทรงกลับมำ
ประทบั ณ พระตำหนักเดมิ วัดถมอรำย

ในศกนี้ พระมหำโตมอี ำยุ ๕๔ ปี พรรษำ ๓๒ ยังรอรกั อยูว่ ัดมหำธำตุ มผี บู้ อกข่ำววำ่ โยมผู้หญิงอยู่ทำงเหนอื
ปว่ ยหนัก ท่ำนขี่เรอื เสำขน้ึ ไป พร้อมนำเรอื สีไปดว้ ย เพื่อจะพำยอวดโยมของท่ำน แต่โยมกถ็ ึงแก่อนิจกรรม
เสียกอ่ น ท่ำนกท็ ำฌำปนกิจเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว จงึ แบ่งทรัพย์มรดกของโยมแก่บรรดำญำติและหลำนๆ ทั่วกนั
แลว้ ท่ียังเหลอื เป็นเงินทองก็นำมำถงึ อำเภอป่ำโมกข์ จังหวัดอำ่ งทอง ณ ทว่ี ดั ขนุ อินทรป์ ระมลู ท่ำนก็เอำทรัพย์
น้นั ออกสรำ้ งพระนอนไว้ มีลักษณะงดงำมองค์หนงึ่ ยำวมำก สร้ำงอยู่หลำยปจี ึงสำเรจ็ ต่อนนั้ ท่ำนก็เปน็ พระสงบ
มจี ติ แน่วแนต่ ่อญำณคติ มีวิถีจติ แนว่ แนไ่ ปในโลกตุ ตรภูมิ ไม่ฟ้งุ ซ่ำนโออ่ ่ำ เจียมตัวเจยี มตน เทศน์ได้ปัจจัยมำ
สรำ้ งพระนอนนน้ั จนหมด ท่ำนทำซอมซอ่ เงยี บๆ สงบปำกเสยี งมำ ๒๕ ปี ตลอดรัชสมัยของแผน่ ดินพระนง่ั เกลำ้
เจ้ำอย่หู ัว

คร้ันถึงปีกุน ยงั เปน็ โทศก จลุ ศักรำช ๑๒๑๒ ปี วันพธุ ขนึ้ ๑ ค่ำ เดอื นหำ้ เวลำค่ำ ๘ ทุ่ม ๕ บำท สมเด็จพระ
นั่งเกล้ำเสดจ็ สวรรคต สิริพระชนมำยุได้ ๖๓ พรรษำ กบั ๑๑ วัน ดำรงอยูใ่ นรำชสมบัติ ๒๕ ปี ๗ เดอื น ๒๓
วัน พระมหำโตอำยุได้ ๖๔ ปี ๔๒ พรรษำ พวกข้ำรำชกำรไดท้ ูลอญั เชิญเสดจ็ ทลู กระหม่อม พระรำชำคณะ วัด
บวรนิเวศวรวหิ ำร ให้เสด็จนวิ ัตอิ อกเถลิงรำชย์ พระมหำโตเลยออกธดุ งค์หนหี ำยไปหลำยเดือน คร้ันทรงระลึก
ได้ จึงรับสั่งให้หำตัวมหำโตก็ไมพ่ บ ทรงกริ้วสังฆกำรี รบั สัง่ ว่ำ "ท่ำนเหำะกไ็ ม่ได้ ดำดินกไ็ มไ่ ด้ แหกกำแพง
จักรวำลหนีก็ยังไปไม่ได"้ จงึ รับส่งั พระญำณโพธอิ อกติดตำมกไ็ ม่พบ รบั ส่ังวำ่ "ฉนั จะตำมเอง" ครนั้ ถึงเดือนเจ็ด
ปีน้นั มีกระแสรบั ส่ังถึงเจ้ำเมือง ฝำ่ ยใต้ ฝ่ำยเหนือ ตะวนั ตก ตะวันออก ทั่วพระรำชอำณำจกั ร จบั พระมหำโตสง่
มำยังเมอื งหลวงใหไ้ ด้ ให้เจำ้ คณะเหนือ กลำง ใต้ ตก ออก ออกค้นหำมหำโต เลยสนกุ กันใหญ่ ทัง้ ฝ่ำยพุทธจักร
อำณำจักร แมจ้ ะมีท้องตรำรบั สัง่ เร่งรัดอย่ำงไรกย็ ังเงยี บอยู่ เจำ้ เมอื ง เจ้ำหมูฝ่ ่ำยพระ ร่วมใจกนั จับพระ
อำคันตกุ ะทกุ องค์สง่ ยงั ศำลำกลำง ครำวน้ีพระมหำโตลองวิชำเปลี่ยนหน้ำ ทำใหค้ นรูจ้ ักกลบั จำไม่ได้ เหน็ เปน็
พระองค์อนื่ ปลอ่ ยท่ำนไปก็มี (อำคมชนดิ นี้ พระอำจำรย์เจ้ำเรียกว่ำ นำรำยณแ์ ปลงรปู ) ต่อมำทำ่ นพจิ ำรณำเหน็
ว่ำ นำยด่ำน นำยตำบล เจำ้ เมือง กรรมกำร จบั พระไปอดเช้ำบ้ำง เพลบำ้ ง ตำกแดดตำกฝน ได้รบั ควำมลำบำก
ทำทุกขท์ ำยำกแก่พระสงฆ์คงไมด่ ีแน่ จงึ แสดงตนใหก้ ำนนั บ้ำนไผร่ ู้จกั จึงส่งตัวมำยงั ศำลำกลำง เจ้ำเมอื งมใี บ
บอกมำยังกระทรวงธรรมกำร บอกสง่ ไปวดั โพธิเชตุพนฯ พระญำณโพธิขนึ้ ไปดตู ัวกจ็ ำได้ แล้วคมุ ตวั ลงมำเฝ้ำ

35

ณ พระทนี่ ่ังอมรนิ ทร ท่ำมกลำงขนุ นำงข้ำรำชกำร ครั้นเห็นพระญำณโพธนิ ำพระมหำโตเข้ำเฝ้ำ จงึ มพี ระดำรัส
ว่ำ "เป็นสมยั ของฉันปกครองแผ่นดิน ทำ่ นต้องช่วยฉันพยงุ พระบวรพทุ ธศำสนำด้วยกัน" แล้วมีพระบรมรำช
โองกำรใหก้ รมสังฆกำรี วำงฎกี ำตั้งพระรำชำคณะตำมธรรมเนียม พระมหำโตก็เข้ำไปตำมฎีกำนิมนต์ จึงทรง
ถวำยสัญญำบัตรตำลปตั รแฉกหักทองขวำง ดำ้ มงำ เป็นพระรำชำคณะทีพ่ ระธรรมกติ ติ เจ้ำอำวำสวดั ระฆังโฆสิ
ตำรำม มีฐำนำนุกรม ๓ องค์ มนี ิตยภตั เดอื นละ ๔ ตำลึง ๑ บำท ทั้งค่ำข้ำวสำร เมือ่ ออกจำกพระบรมรำชวงั
แล้ว ทำ่ นแบกพัดไปเอง ถงึ บำงขนุ พรหมและบำงลำพู บอกลำพวกสัปปุรษุ ทเ่ี คยนับถือ มีเสมยี นตรำดว้ ง และ
พระยำโหรำธบิ ดเี กำ่ และผู้อื่นอีกมำก แล้วทำ่ นกก็ ลับมำวัดมหำธำตุ ลำพระสงฆท์ ัง้ ปวง ลงเรือกรำบสีท่ไี ด้รบั
พระรำชทำนมำแตพ่ ระพุทธเลิศหล้ำ ข้ำมไปกับเด็กชำ้ งผู้เป็นหลำน ทำ่ นถือบำตร ผ้ำไตรและบรขิ ำร ไปบอกพระ
วัดระฆังว่ำ "จ้ำวชวี ิต ทรงต้ังฉนั เปน็ พระธรรมกิตติ มำเฝ้ำวดั ระฆังนจี่ ะ้ " ท่ำนแบกตำลปัตร พดั แฉก สะพำยถงุ
ยำ่ มสัญญำบัตร ไปเกๆ้ กังๆ พะรงุ พะรงั พวกพระนึกขบขัน จะช่วยท่ำนถอื เจำ้ คณุ ธรรมกิตตกิ ็ไม่ยอม พระเลย
สนุกตำมมุงดกู นั แนน่ แหก่ ันเป็นพรวนเขำ้ ไปแน่นในโบสถ์ บำงองค์ก็จดั โน่นทำนี้ ต้มนำ้ บำ้ ง ตักน้ำถวำยบ้ำง
ตะบันหมำกบ้ำง กติ ติศพั ทเ์ กรียวกรำวตลอดกรุง คนนนั้ มำเยยี่ ม คนนัน้ กม็ ำดู เล่อื มใสในจรรยำบ้ำง เลือ่ มใน
ในยศศักด์ิบำ้ ง ท่ำนทำขบขันมำก ดสู นกุ เป็นมหรสพโรงใหญท่ เี ดยี ว บำงคนชอบหวยกเ็ อำไปแทงหวย ขลังเข้ำ
ทุกๆ วัน คนกย็ ง่ิ เอำไปแทงหวยถกู กนั มำกรำยยิ่งขน้ึ เลยไม่ขำดคนไปมำหำสู่ บำงคนก็ว่ำทำ่ นบ้ำ บำงคนก็ตอบ
ว่ำ "เม่อื ขรัวโตบ้ำพำกันนยิ มชมว่ำขรัวโตเปน็ คนดี ยำมนขี้ รวั โตเปน็ คนดีพูดกนั บน่ อู้อ้ีว่ำขรวั โตบ้ำ" บำงวนั เขำ
นมิ นต์ไปเทศน์ เม่ือจบทำ่ นบอกว่ำ "เอว พังก้ยุ " บ้ำง บำงวันก็บอกว่ำ "เอว กงั สือ" บำงวนั ก็บอกว่ำ "เอว
หนุ หัน" เล่ำกนั ตอ่ ๆ มำว่ำ ท่ำนเทศนไ์ มเ่ ว้นแตล่ ะวนั ครั้งหนง่ึ ท่ีวังเจ้ำฟ้ำมหำมำลำ กรมหม่ืนบำรำบปรปักษ์ มี
เทศน์ไตรมำส ๓ วันยก พระพิมลธรรม (อ้น) ถวำยเทศน์ พระธรรมกิตติเปน็ ผ้รู บั สัพพี พระพมิ ลธรรมถวำย
เทศน์เรื่องปฐมสมโพธิ ปรเิ ฉทลกั ขณะปริวตั ร ควำมว่ำ "กำลเทวินทรด์ ำบสรอ้ งไห้ เสียใจว่ำตนจะตำยไปกอ่ น
ไม่ทนั เห็นพระสทิ ธำตถ์ตรสั รู้เปน็ พระพทุ ธเจ้ำ ซ้ำจะตอ้ งเกิดในอสญั ญีภพเสียอกี เพรำะผลของอรปู สมำบตั ิ
เนวะสัญญำนำสัญญำยะตะนะฌำนในปัจจุบนั ชำต"ิ วันที่ ๓ กม็ ำถวำยอีก พระธรรมกิตติ (โต) กไ็ ปรบั สพั พีอกี
เจำ้ ฟ้ำมหำมำลำฯ ทรงรบั สั่งถำมพระพิมลธรรมวำ่ "พระคุณเจำ้ ฌำนโลกีย์นีไ้ ด้ยินว่ำเสือ่ มได้มิใชห่ รือ" พระ
พมิ ลธรรมรับวำ่ "ถวำยพระพร เสอื่ มได้" ทรงรับส่งั รุกอีกวำ่ "เส่อื มกไ็ ด้ ทำไมกำลเทวนิ ทรไ์ มท่ ำใหเ้ สื่อม
เสียกอ่ น บำเพ็ญแต่กำมำวจรฌำน ถึงตำยก่อนสิทธำตถ์ ก็พอไปเกดิ อยูใ่ นรปู พรหม หรือ ฉกำมำพจรช้ันหน่ึง
ชน้ั ใดก็พอจะได้ เหตุใดไม่ทำญำณของตนใหเ้ ส่อื ม ตอ้ งมำนั่งรอ้ งไห้เสียนำ้ ตำอย่ทู ำไม" ครำวนพ้ี ระพมิ ลธรรม
อั้นตู้ ไมส่ ำมำรถแก้ไขออกใหแ้ จ้งได้ ส่วนพระธรรมกติ ติ (โต) เปน็ พระรบั สัพพี เหน็ พระพมิ ลธรรมเฉย ไม่เฉลย
ข้อปัญหำนั้น จงึ ออกเสยี งเรอดัง "เออ" แล้วบ่นว่ำ "เรำหนอชำ่ งกระไร วดั ระฆงั อยใู่ กล้ๆ ตรงวังข้ำมฟำก เหตุ
ใดไมข่ ำ้ มฟำก ตอ้ งมำฝืนรำ่ งกำยทนลำบำกจนดกึ ดนื่ ๒ วัน ๓ คืน ดังน้"ี แล้วท่ำนกน็ ่ังนง่ิ สมเด็จเจ้ำฟ้ำมหำ
มำลำฯ กท็ รงจุดเทียน พระพมิ ลธรรมก็ขนึ้ ถวำยเทศน์จบ ลงจำกธรรมำสนแ์ ล้ว สมเด็จเจ้ำฟำ้ มหำมำลำฯ ก็
ประเคนเครื่องไทยธรรม พระพมิ ลธรรมยะถำ พระธรรมกิตติรบั สัพพี พระพิมลธรรม ถวำยพระพรลำ เม่อื ถึง
กำหนดเทศนอ์ กี พระธรรมกิตตกิ ็ได้รับฎกี ำอันเป็นลำยพระหัตถข์ องสมเดจ็ เจ้ำฟำ้ มหำมำลำฯ นมิ นต์เทศน์ตอ่
จำกพระพิมลธรรม ท่ำนเต็มใจรบั และบอกมหำดเล็กให้ไปกรำบทูลให้ทรงทรำบ

คร้ันวนั ๗ คำ่ เวลำ ๓ ทุ่ม พระธรรมกิตติกไ็ ปถึงทอ้ งพระโรง สมเดจ็ เจำ้ ฟ้ำมหำมำลำฯ เสด็จออก ทรงเคำรพ
ปรำศรัย แล้วจดุ เทียน พระธรรมกิตตขิ ึน้ ธรรมำสนถ์ วำยศีล ถวำยศกั รำช ถวำยพระพร แล้วจงึ เดนิ คำถำทผ่ี ูก
ข้นึ ว่ำ ววมิ ลธมมฺ สสฺ ฯลฯ กสฺมำโส วิโสจตตี ิ

36

อธบิ ำยควำมว่ำ "มหำบพติ รเจ้ำ มีพระปจุ ฉำ แกเ่ จ้ำคุณพระพิมลธรรมว่ำ เหตไุ ฉน กำลเทวินทร์จงึ ร้องไห้ ควร
ทำฌำนของตนให้เสือ่ ม ดีกว่ำนัง่ รอ้ งไห้" ดังน้ี ข้อน้อี ำตมำภำพ ผูม้ ีสตปิ ัญญำทรำม หำกไดร้ ับพระอภัยโทษ
โปรดอนุญำตให้แสดง ต่อขอ้ ปุจฉำ อำตมำจำต้องแกต้ ่ำงเจ้ำคณุ พระพิมลธรรม ดังมีข้อควำมตำมพระบำลที ี่มี
มำในพระปุคคลบัญญตั ิ มอี รรถกถำฎีกำ แกไ้ วพ้ รอ้ มตำมพระคัมภรี ว์ ่ำ กปุ ฺธมโฺ ม อกุปปฺ ธมฺโม

ทำ่ นแสดงตำมคมั ภีร์เสียพักหนงึ่ ว่ำด้วยฌำนโลกยี ์เสอ่ื มไดใ้ นคนทค่ี วรเสอ่ื ม ไม่เสือ่ มไดใ้ นคนทไ่ี ม่ควรเสอื่ ม
ฌำนก็เสือ่ มไม่ไดต้ ำมบำฬี แลว้ อธบิ ำยซ้ำวำ่ ธรรมดำ ฌำนโลกยี เ์ ส่อื มได้เร็วก็จรงิ อยู่ แตบ่ ุคคลผู้เป็นเจ้ำของ
ฌำนมีควำมกระหำยต่อเหตกุ ำรณ์ อำรมณ์ทเ่ี กดิ ข้ึนในใจเป็นของใหม่ ของเก่ำกย็ ังอำลยั สละทอดทงิ้ เสียไม่ได้
เพรำะเคยเสวยสขุ คุน้ เคยกนั มำนำน ของเก่ำคอื ฌำนทตี่ นอำศยั สงบอำรมณ์ ก็เห็นมคี ุณดอี ยู่ ของใหม่ตำมข่ำว
บอกเล่ำกันต่อมำ และคนที่ควรเชอ่ื ได้ ชี้แจงอย่ำงถ่ีถ้วนว่ำของใหมด่ ีอยำ่ งนนั้ ๆ แตอ่ ำลัยของเก่ำกม็ ำก จึงทง้ิ
ไมไ่ ด้ ทำไปไมไ่ ด้ จะยดึ สองฝ่ำยกไ็ มไ่ ด้ เพรำะของใหมไ่ มค่ ุ้นกนั ไม่เคยเห็นใจกัน ผะอดื ผะอมมำก เสียดำยของ
รักก็มี เสียดำยของใหม่ คือร้แู น่วำ่ พระสทิ ธำตถจ์ ะตรสั เป็นพระพุทธเจำ้ กม็ ี แตแ่ กเสยี ใจวำ่ จะตำยไปเสียก่อน
และเห็นว่ำพรหมโลกอยู่ในเงื้อมมอื แน่นอน แต่คุณของกำรพบพระพุทธเจ้ำนัน้ จะทำประโยชนส์ ุขสมบตั อิ ะไร
กำลเทวินทร์ยังไม่รู้ จงึ ไมอ่ ำจทำฌำนให้เสื่อม ท้ังเปน็ บคุ คลท่ีเป็นอุปธรรม ยงั ไม่เป็นคนทค่ี วรเสือ่ มจำก
คุณธรรมทต่ี นได้ตนถงึ ดว้ ย เปรียบเสมอื นคนที่ปว่ ยไขอ้ ยู่ จะกระทำกระปร้ีกระเปรำ่ แข็งแรงคกึ คัก กนิ ข้ำว กิน
น้ำอรอ่ ยอยำ่ งคนธรรมดำดีดีนั้นไมไ่ ด้ คนทีด่ ีดี ผิวพรรณผุดผ่อง จะมำรยำทำปว่ ยไข้ จะนง่ั หม่ ผ้ำคลุมกรอม
ซอมซ่อ พดู กระร่อกระแร่เป็นคนไขก้ ท็ ำไมไ่ ด้ ทำให้คนอ่ืนแลเห็นรแู้ นว่ ่ำ คนทีท่ ำเป็นไข้นั้น เปน็ ไข้มำรยำ ไข้ไม่
จรงิ คนในเหน็ คนนอกเปน็ สุขสบำย กอ็ อกมำเปน็ คนนอกไมไ่ ด้ เหตำลัยควำมคุ้นเคยขำ้ งในอย่มู ำก คนนอกเหน็
คนในนวยนำฏนำ้ นวลผ่องใสดว้ ยผ้ำนุ่งห่ม แตไ่ มอ่ ำจเปน็ คนในกับเขำ เพรำะเป็นห่วงอำลยั ของขำ้ งนอก จะไป
เทย่ี วช่ัวครำวน้นั ได้ แตจ่ ะไปอยู่ทีเดยี วน้ันไม่ได้ เพรำะไม่ไวว้ ำงใจว่ำเหตกุ ำรณ์ขำ้ งใน จะดหี รอื เลวยังไมแ่ น่ใจ
แต่เปน็ กระหำยอยู่เท่ำนั้น คนท่ีมคี วำมสุขสบำยอย่ดู ้วยเพศบวชมำช้ำนำน แตแ่ ลเหน็ คนทีไ่ ม่บวชเท่ียวเตร่ กนิ
นอน ดู ฟัง เลน่ หัวสบำย ไม่มเี ครือ่ งขีดคัน่ อะไร บำงครำวชำววดั บำงคนเหน็ ดี แต่ไม่อำจออกไป เพรำะถ้ำ
ออกไปไม่เหมอื นเชน่ เขำ หรือเลวทรำมกวำ่ เขำ จะทุกขต์ รมระบมทวีมำก จะเดือดรอ้ นย่ิงใหญ่มำก กเ็ ป็นแต่นึก
สนุกไมอ่ อกไปทำอย่ำงเขำ เพรำะอำลยั ควำมสุขในกำรบวชค้ำใจอยู่ ออกไปไมไ่ ด้ เป็นแต่ทำเอะอะฮดึ ฮัดไปตำม
เพลง คนทย่ี ังไมเ่ คยบวชนนั้ เห็นวำ่ ผู้บวชสบำยไมต่ อ้ งกังวลอะไร กินแล้วก็นอน นอนแลว้ ก็เทยี่ วตำมสบำย ไม่
ตอ้ งเหง่ือไหลไคลยอ้ ย ไมต่ ้องแสวงหำอำหำร มีคนเลยี้ งคนเชญิ น่ำสบำย คนท่ีไม่บวชคดิ เห็นดีไปเพ้อๆ เท่ำนัน้
เลยนั่งดูกนั ไปดกู ันมำ เพรำะยงั ไม่ถึงครำวจะบวช หรอื ยังไม่ถงึ ครำวจะสึก ก็ยงั สึกและยังบวชไมไ่ ด้นน่ั เอง ขอ้
อปุ มำทง้ั หลำยดังถวำยวิสัชนำมำน้ี ก็มอี ุปมัยเปรยี บเทยี บด้วยฌำนทั้ง ๙ ประกำร ที่เป็นธรรมเสื่อมได้เร็วกจ็ รงิ
แต่ยงั ไม่ถงึ ครำวเสอื่ ม ก็ยังเสื่อมไม่ได้ กำลเทวินทร์ดำบสก็เปรยี บดังชำววดั ชำวบ้ำน ชำวนอก ชำวใน ต่ำงเห็น
ของกนั และกัน ไม่อำจแสร้งใหฌ้ ำนเสือ่ ม ที่ตรงแกรอ้ งไห้น้นั อำตมำภำพเข้ำใจว่ำ แกรอ้ งไห้เสยี ดำยขนั ธ์
เพรำะแกกลำ่ วโดยอันยังไมร่ ู้เท่ำทนั ขนั ธ์ ว่ำมนั เป็นสภำพแปรปรวน แตกดังเปน็ ธรรมดำของมนั เอง แต่เวลำ
นัน้ โลกยึดถือขันธ์มำช้ำนำน ที่กำลเทวนิ ทร์เจริญอรูปฌำนจนสำเร็จ ก็เพรำะคดิ รักษำขันธ์ เพื่อมใิ หข้ นั ธพ์ ลัน
แตกสลำยทำลำย จึงพยำยำมได้สำเรจ็ ควำมปรำรถนำและเสียดำยหนำ้ ตำ ถ้ำชีวติ ของแกอยู่มำอีก ๓๖ ปี แกจะ
ไดเ้ จ้ำบรรจบประสบคุยกบั หมู่พุทธบรษิ ัท และหมพู่ ระประยูรญำติ และหมูพ่ ทุ ธมำมกะผู้นับถอื แกจะพลอยมีชอ่ื
ยกตัวเปน็ ครอู ย่ำงดกี ว่ำที่แล้วมำ แต่พระอรรถกถำจำรย์ท่ำนไมว่ ่ำอยำ่ งขรัวโต เหน็ ท่ำนวำ่ เพียงกำลเทวนิ ทร์
เสียใจวำ่ จะตำยเสยี ก่อนเท่ำนั้น ไม่ทันพระสิทธำตถ์เปน็ พระพทุ ธเจำ้ เท่ำน้ี.

37

ตอนท่ี ๗

เร่อื งเทศน์ถวำยและเฉลยพระปญั หำถวำยสมเดจ็ เจำ้ ฟำ้ มหำมำลำ กรมหม่นื บำรำบปรปักษ์ ตำมที่เรียบเรยี งไวน้ ี้
ไดฟ้ ังมำจำกสำนกั พระปรีชำเฉลิม (แกว้ ) เจ้ำคณุ พระปรชี ำเฉลิม (แก้ว) ไดฟ้ งั มำจำกเจ้ำคณุ ปรชี ำเฉลิม (เกษ)
พระปรีชำเฉลิม (เกษ) เป็นเปรยี ญ ๖ ประโยค อยู่วดั อรณุ รำชวรำรำม ไดเ้ ป็นพระรบั สพั พี จึงได้ยินเทศนำถวำย
ของเจ้ำคุณธรรมกิตติ (โต) ภำยหลังเลื่อนข้นึ เป็นสมเดจ็ พระพุฒำจำรย์ (โต)

ตอ่ แต่นนั้ มำ ท่ำนก็มีชอ่ื เสยี งในทำงเทศน์ ตดั ทอนธรรมะให้ผฟู้ ังเข้ำใจง่ำย ไม่ต้องเสียเวลำไตรต่ รองสำนวน
เพรำะเทศน์อยำ่ งคำไทยตรงๆ จะเอำข้อธรรมอะไรแสดง ก็งำ่ ยต่อผู้ฟังดังประสงค์ อย่ำงท่ีถวำยในวงั สมเดจ็ เจ้ำ
ฟ้ำมหำมำลำ ผ้ฟู งั ชมว่ำดี เกิดโอชะในธรรมสวนะได้ง่ำย โลกนิยมเทศน์อย่ำงนมี้ ำก พระธรรมกิตตแิ สดงธรรม
ตำมภำษำชำวบ้ำน ถอื เอำควำมเข้ำใจของผู้ฟังเป็นเกณฑ์ ไม่ตอ้ งรอ้ ยกรอง

ครั้นถึงปีชวด ฉศก จลุ ศกั รำช ๑๑๒๖ ปี ไดถ้ กู นิมนต์เทศน์หน้ำพระท่นี ่ัง พอเข้ำไปถงึ พระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หวั
เสด็จออก จงึ ปรำศรยั สัพยอก "ว่ำไงเจำ้ คุณ เขำพำกันชมว่ำเทศนด์ ีนักนี่ วันนี้ต้องลองด"ู พระธรรมกติ ติ (โต)
ถวำยพระพรว่ำ "ผ้ทู ี่ไม่มีควำมรู้เหตผุ ลในธรรม ครั้นเขำฟังรู้ เขำก็ชมว่ำดี ขอถวำยพระพร" พระองค์ทรงพระ
สรวล แล้วทรงถำมว่ำ "ไดย้ ินข่ำวเขำว่ำ เจ้ำคุณบอกหวยเขำถูกกัน จริงหรือ" ทูลว่ำ "ขอถวำยพระพร อำตม
ภำพไดอ้ ุปสมบทมำ ไม่เคยออกวำจำว่ำหวยจะออก ด กวำงเหมงตรงๆ เหมือนดังบอก ด กวำงเหมงแด่สมเด็จ
พระบรมบพิตรพระรำชสมภำรเจ้ำอย่ำงวันน้ี ไม่ได้เคยบอกแก่ใครเลย" ไดท้ รงฟังแล้วทรงพระสรวลอีก แล้ว
ทรงจุดเทยี น พระธรรมกติ ติจบั ตำลปตั รแฉกขึ้นธรรมำสน์ เม่อื อำรำธนำแล้ว กถ็ วำยศีลแลว้ ถวำยศักรำช พอ
ถงึ ปีชวด ท่ำนก็ย้ำ "ฉศก ฉศก ฉศก ฉศก" สมเด็จพระจอมเกล้ำเจำ้ อยู่หัว กำลังทรงพระอักษรอยู่ ได้ทรงฟงั ปี
ชวด ฉศก ย้ำๆ อยู่นำน ก็เงยพระพักตรขน้ึ พนมหัตถร์ บั ว่ำ "ถูกแล้ว ชอบแล้ว เจ้ำคณุ "

แตก่ อ่ นกำลท่ีล่วงมำแล้ว เดิมเลข ๖ ทำ้ ยศักรำช เขยี นและอำ่ นตอ่ ๆ มำว่ำ "ฉ้อศก" น้ันไมถ่ ูก แล้วรับสั่งกรม
รำชเลขำให้ตรำพระรำชบัญญัตอิ อกประกำศเปน็ ใบปลิวให้รทู้ ัว่ กนั ทว่ั พระรำชอำณำจกั รว่ำ "ตั้งแตป่ ีชวด ฉศก
เหมือนศกน้ีมีเลข ๖ เปน็ เศษด้วย ไม่ใหเ้ ขยี นและอ่ำนวำ่ ฉ้อศก อยำ่ เขียนตวั อ เคียง ไม่ให้เขยี นไมโ้ ทลงไปเป็น
อนั ขำด ใหเ้ ขียน ฉ เฉยๆ กพ็ อ ถ้ำเขยี นและอ่ำนว่ำ ฉอ้ ศกอกี จะต้องว่ำผ้นู ้ันผิดและฝ่ำฝนื " กรมรำชเลขำก็บันทกึ
และออกประกำศทรำบทั่วกัน และนมิ นตท์ ำ่ นเทศน์ต่อไป

พระธรรมกติ ตกิ ต็ ้ังคัมภีร์ บอกศกั รำชต่อจนจบ ถวำยพรแล้วเดนิ คำถำจุณณียบท อันมีมำในพรำหมณส์ ังยตุ ต
นกิ ำยปำฏิกวรรคน้ัน แปลถวำยวำ่ ยังมีพรำหมณผ์ ู้หน่งึ แกนัง่ คดิ ว่ำ "สมณ โคตม อปุ สงฺกมิตฺวำ อิม ปณฺห ปุจฉำ
มิ อห" กูจะเข้ำไปหำพระสมณโคดมแลว้ กจู ะถำมปัญหำกับเจ้ำสมณะโคดมดูสักหน่อย "สีสณฺหำตฺวำ ปำรุปนนิ
วำเสตวำ คำมโตนิกฺขมติ วฺ ำ เชตวน มหำวิกำรภิมโุ ข อคมำสิ" แปลว่ำ โสพรฺ ำหฺมโณ พรำหมณผ์ ู้น้ัน คดิ ฉะน้แี ลว้
แกจึงลงอำบน้ำดำเกล้ำ โสพฺเภ ในห้วยแล้ว แกออกจำกบำ้ นแก แกตัง้ หน้ำตรงไป พระเชตวนั มหำวหิ ำร ถึงแล้ว
แกจงึ ต้งั ขอ้ ถำมขึน้ ตน้ แกเรียกกระตุกใหร้ ตู้ ัวขนึ้ ก่อนว่ำ "โภ โคตม นีแ่ นะพระโคดม ครั้นทำ่ นวำ่ มำถึงคำว่ำ "นี่
แน่ พระโคดม" เท่ำน้แี ล้ว กก็ ลำ่ วว่ำ คำถำมของพรำหมณ์และคำเฉลยของพระผู้มีพระภำคเจำ้ น้ันมอี ยู่เป็น

38

ประกำรใด สมเด็จพระบรมบพติ รเจ้ำได้ทรงตรวจตรำตริตรองแล้ว ก็ไดท้ รงทรำบแล้วทกุ ประกำร ดัง
รับประทำนวสิ ชั ชนำมำ ก็สมควรแก่เวลำแต่เพียงน้ี เอว ก็มดี ว้ ยประกำรดงั นี้ ขอถวำยพระพร พอยะถำ สัพพี
แล้ว ก็ทรงพระสรวลตบพระหัตถ์ว่ำ "เทศน์เกง่ จริง พวกพรำหมณท์ ี่เขำถือตัววำ่ เขำร้มู ำก เขำแกม่ ำก เขำไม่ใคร่
ยอมเคำรพพระพทุ ธเจำ้ นกั เขำมำคยุ ๆ ถำมพอแก้รำคำญ ต่อนำนๆ เขำกเ็ ชือ่ ในธรรม เขำก็สำเรจ็ เปน็ พระโสดำ
ทีค่ วำมดำริของพรำหมณ์ผู้เจำ้ ทฏิ ฐิทัง้ หลำยเขำวำงโตทุกคน เจ้ำคุณแปล อห ว่ำ กู นั้น ชอบแท้ทำงควำมดจี รงิ ๆ
รำงวลั กไ็ ด้รับพระรำชทำนรำงวัล ๑๖ บำท เตมิ ท้องกณั ฑ์ ๒๐ บำท รวมเปน็ ๓๖ บำท

เรอื่ ง ฉศก เร่อื งถวำยเทศนอ์ ยำ่ งที่เรยี บเรยี งมำน้ี พระปรีชำเฉลมิ (แก้ว) เคยเล่ำใหฟ้ งั เป็นพน้ื จำมอี ย่บู ้ำง ซ่ึง
ได้สบื ถำมพระธรรมถำวรอกี ท่ำนก็รบั ว่ำ จรงิ แต่เทศน์วำ่ อย่ำงไรน้นั ลมื ไป พระธรรมถำวรวำ่ แต่ควำมคดิ ของ
พรำหมณ์ใชค้ ำว่ำ กู กู น้ี ยงั จำได้ เจ้ำคณุ ธรรมถำวรเลยบอกตอ่ ไปว่ำ วนั ท่ถี วำยเทศน์ ฉศก นี้ และถวำย ด
กวำงเหมง ไว้กอ่ นขึ้นเทศนน์ ้ันวำ่ วนั นั้นหวยจำเพำะออก ด กวำงเหมง จริงอย่ำงทท่ี ำ่ นแกพ้ ระรำชกระทู้วำ่ ไม่
เคยบอกตัวตรงๆ กบั ใครๆ เหมือนดังบอกสมเด็จพระบรมบพิตรวันน้ี คร้ันถึงเดอื น ๑๑ ขึ้น ๑๔ คำ่ ปีชวด ศก
นี้เอง ทรงพระมหำกรณุ ำโปรดเล่ือนสมณศกั ดพ์ิ ระธรรมกิตติ (โต) ข้ึนเป็นพระเทพกวี รำชำคณะผู้ใหญ่ ใน
ตำแหน่งสูง มีนิตยภตั ร ๒๘ บำท คำ่ ข้ำว ๑ บำท

(สน้ิ ข้อควำมในประวตั ิท่ีเจำ้ ของท่ำนเขยี นไวใ้ นฉำกท่ี ๕ ในฝำผนังโบสถ์วดั อินทรวหิ ำร ที่ไดค้ ิดวจิ ำรณ์ อนมุ ำน
แสวงหำเหตุผลตน้ ปลำย ตรวจรำชประวตั แิ ละรำชพงศำวดำร ประกอบกบั รปู ภำพในฉำกน้ี ก็สิ้นขอ้ ควำมใน
เพียงนี้

ในประวตั ขิ องสมเดจ็ ฯโต ท่ำนให้ชำ่ งเขยี นๆ วัดระฆงั เขยี นรปู บำ้ นพระยำโหรำ รปู เสมียนตรำด้วง รูปสมเด็จ
พระสังฆรำช (นำค) รูปพระเทพกวี (โต) รปู วัดอนิ ทรวหิ ำร รูปวัดกัลยำณมิตร รปู เดก็ แบกคมั ภีร์ ในงำนฉลอง
วัดทง้ั ๒ และรูปป่ำพระพทุ ธบำท รปู ป่ำพระฉำย รูปพระอำจำรย์เสม รปู พระอำจำรย์รุกขมูล รูปเมืองเขมร รูป
เสอื ที่ทำงไปเมืองเขมร รูปจำ้ งเขมร ต้ังแตฉ่ ำกท่ี ๑ ถึง ฉำกที่ ๑๓ – ๑๔ จะไดส้ นั นษิ ฐำนเป็นเรื่องดังตอ่ ไปนี้)

ครัน้ ออกพรรษำในปชี วด ศกน้นั แล้ว พระเทพกวี (โต) จึงลงมำจัดกำรกวำดล้ำงกฏุ ใิ หญ่ ๕ ห้อง ข้ำงคลองคู
วดั ระฆังข้ำงใต้ แล้วบอกบญุ แกบ่ รรดำผู้ท่มี ำสนั นบิ ำต ให้ชว่ ยกำรทำบุญข้นึ กุฏิ ไดเ้ ผดียงสงฆ์ลงสวดมนต์ท้ังวัด
ทกี่ ุฏนิ ้ัน ค่ำวนั นน้ั มีมหรสพฉลองผู้ท่ีศรัทธำนบั ถือ ลือไปถึงไหน กไ็ ด้มำช่วยงำนถึงน่นั บรรดำผทู้ ี่มำน้ันตำ่ งก็
หำเลีย้ งกนั เอง งำนที่ทำครำวน้ันเป็นงำนใหญ่มำก เล้ยี งพระถงึ ๕๐๐ องค์ ผ้คู นต่ำงนำสำรับคำวหวำน เคร่อื ง
ไทยทำนมำถวำยพระเทพกวแี น่นวดั แนน่ วำ ครัน้ กำรเลีย้ งพระเลย้ี งคนสำเรจ็ เรยี บร้อย ท่ำนลงแจกด้ำยถกั ผูก
ขอ้ มือคนละเสน้ แล้วท่ำนบอกวำ่ "ดนี ักจ้ะ ลองดูจะ้ ตำมประสงค์"

ครน้ั พระเทพกวี (โต) ขนึ้ อยู่บนกฏุ ิ ๕ ห้องแล้ว ผู้คนกม็ ำละเล้ำละลุมเพื่อจบั หวยทกุ วัน คร้ันน้นั พระยำโหรำธิ
บดี ทำบุญฉลองสัญญำบัตร พระเทพกวกี ไ็ ด้ไปสวดมนต์ไปฉนั ครัน้ พระยำโหรำธบิ ดี และเสมียนตรำด้วง

39

ปฏสิ งั ขรณว์ ัดบำงขุนพรหม (วดั อินทรวิหำร) สมเด็จพระสังฆรำช (นำค) พระเทพกวีก็ได้ไปเทศน์ไปฉนั กำร
ฉลองวดั เมื่อท่ำนพระยำนิกรบดนิ ทร์สร้ำงวดั กัลยำณมติ รแล้วก็มกี ำรฉลอง สมเด็จพระสังฆรำช (นำค)
พระเทพกวี (โต) ก็ได้ไปฉนั ครำวพระยำนิกรบดนิ ทรส์ ร้ำงโบสถว์ ดั เกษไชโย พระเทพกวี (โต) ก็ไดไ้ ปเปน็ แม่
งำนฉลองโบสถ์ มีกำรมหรสพใหญต่ ำมภำษำชำวบำ้ นนอก อำเภอไชโยนนั้ มพี ระสงฆ์ผู้ใหญ่ในกรงุ เทพฯ ได้ขนึ้
ไปช่วยงำนฉลองโบสถ์วดั เกษไชโยน้นั มำกทำ่ นด้วยกัน

ครั้นกำลลว่ งมำ สมเด็จพระวันรัต วดั มหำธำตุ ถึงมรณภำพแล้ว สมเด็จพระวนั รตั (เซ่ง) วัดอรุณ เปน็ เจำ้ คณะ
กลำง ครง้ั นัน้ พระอันดบั ในวดั ระฆังทะเลำะกนั และฝ่ำยหน่ึงได้ตีฝำ่ ยหนง่ึ ศรี ษะแตก ฝ่ำยศีรษะแตกได้เข้ำฟ้อง
พระเทพกวี เจ้ำอำวำสๆ ก็ช้หี น้ำวำ่ "คณุ ตีเขำกอ่ น" พระองคห์ ัวแตกเถยี งวำ่ "ผมไมไ่ ด้ทำอะไร องคน์ น้ั ตกี ระผม"
พระเทพกวีว่ำ "ก็เธอตีเขำก่อน เขำกต็ ้องตีเธอบ้ำง" พระนั้นกเ็ ถยี งว่ำ "เจ้ำคุณเห็นหรือ" พระเทพกวีเถยี งว่ำ "ถงึ
ฉันไมไ่ ดเ้ หน็ ก็จริง แตฉ่ ันรูอ้ ยู่นำนแล้วว่ำ คณุ ตีเขำกอ่ น คุณอย่ำเถยี งฉันเลย" พระองค์ศรี ษะแตกเสียใจมำก จึง
ไดอ้ ุตส่ำห์เดนิ ลงไปวดั อรณุ เขำ้ อทุ ธรณต์ อ่ สมเด็จพระวันรัต (เซ่ง) เจ้ำคณะกลำง

ส่วนสมเดจ็ พระวันรัต (เซ่ง) จงึ เรยี กตวั พระเทพกวี (โต) ไปชำระตำมคำอทุ ธรณ์ พระเทพกวี (โต) กโ็ ต้คำ
อุทธรณ์และตอบสมเด็จพระวันรตั ว่ำ "ผมรดู้ ีกว่ำเจำ้ คุณอีก เจำ้ คณุ ไดแ้ ตร่ ู้ว่ำ เห็นเขำหัวแตกเท่ำน้นั ไม่รถู้ งึ เหตุ
ในกำลเดิมมลู กรณี ผมรู้ดีว่ำ คุณองคน์ ั้นไดต้ คี ณุ องค์น้นั กอ่ น และเขำบ่หอ่ นจะรู้สึกตัว เขำมำมัวแต่ถือหัว หวั
เขำจึงแตก"

สมเดจ็ พระวันรัต (เซ่ง) ฟังๆ ก็นกึ แปลก แยกวนิ ิจฉยั ก็ไม่ออก กลับจะเปน็ คนถือเอำแต่คำบอก จึงย้อนถำมว่ำ
"เจ้ำคณุ เหน็ อย่ำงไร จึงรู้ได้ว่ำ พระองคน์ ี้ตพี ระองค์นั้นกอ่ น แจง้ ให้ฉนั ฟังสักหน่อย ให้แลเหน็ บำ้ ง จะไดช้ ่วยกัน
ระงบั อธิกรณ"์

พระเทพกวีว่ำ "พระเดชพระคุณจะมีวิจำรณย์ กขึ้นพิจำรณำแล้ว กระผมก็เต็มใจ อำ้ งอิงพยำนถวำย" พระวันรัต
ว่ำ "เอำเถอะ ผมจะตั้งใจฟงั เจ้ำคณุ ชี้พยำนอ้ำงอิงมำ" พระเทพกวีจึงว่ำ "ผมทรำบตำมพทุ ธฎกี ำ บอกให้ผมทรำบ
ว่ำ นหิเวรำ นวิ ปสัมมันติ ว่ำ เวรต่อเวร ยอ่ มเป็นเวรกันร่ำไป ถ้ำจะระงับเสยี ด้วยไมต่ อบเวร เวรย่อมระงบั นี่
แหละ พระพุทธเจำ้ บอกผมเป็นพยำน กระผมว่ำ เวรต่อเวร มนั จงึ ทำกนั ได้ ผมเหน็ ตำมคำพระพุทธเจ้ำบอกผม
เทำ่ น้ี ผมจึงวจิ ำรณ์พจิ ำรณำกลำ้ กล่ำวไดว้ ่ำ คณุ ตีเขำกอ่ น"

สมเด็จพระวันรตั (เซง่ ) ชักงงใหญ่ จะเถยี งกไ็ ม่ขึน้ เพรำะท่ำนอำ้ งพทุ ธภำษติ จงึ ล้มเข้ำหำพระเทพกวี (โต) ว่ำ
"ถำ้ กระนัน้ เจำ้ คุณตอ้ งระงับอธิกรณ์ เรอื่ งนี้วำ่ ใครเปน็ ผ้ผู ิด ผู้ถูก โทษจะตกกับผู้ใด แล้วแต่เจ้ำคุณจะตดั สนิ
เถดิ " พระเทพกวีมดั คำพระวันรัตวำ่ "พระเดชพระคณุ อนุญำตตำมใจผม ผมจะชโี้ ทษคุณให้ยนิ ยอมพร้อมใจกัน
ท้งั คคู่ วำม ท้ังพิพำกษำให้อธิกรณ์ระงบั ได้ ใหเ้ วรระงับด้วย" สมเด็จพระวนั รตั ก็อนุญำต

40

พระเทพกวี (โต) ก็ประเลำ้ ประโลมโน้มน้ำวกลำ่ วธมั มิกถำ พรรณนำอำนสิ งส์ของผรู้ ะงับเวร พรรณนำโทษของ
ผู้ตอ่ เวร ให้โจทก์จำเลยสลดจิต คิดเหน็ บำปบุญคุณโทษ ปรำโมทย์เข้ำหำกัน ท่ำนจึงแก้ห่อผ้ำไตรออกกบั เงินอีก
สำมตำลึง ทำขวัญองค์ท่ีศรี ษะแตก แยกบทชี้เปน็ สำมสถำน ผตู้ ตี อบเอำเปน็ หมดเวร จกั ไมต่ ใี ครตอ่ ไป ถ้ำขืนไป
ตีใครอีก จะลงโทษว่ำเปน็ ผกู้ ่อเวร ฝืนตอ่ พระบวรพทุ ธศำสนำ มีโทษหนักฐำนละเมดิ

ผทู้ ่ีถูกตกี ็ระงบั ใจไม่อำฆำต ไมม่ งุ่ ร้ำยต่อก่อเวรอีก "ถ้ำขืนคดในใจทำหน้ำไหว้หลังหลอก เอำฉันเป็นผปู้ กครอง
หรอื ขืนฟอ้ งร้องกันตอ่ ไป ว่ำฉนั เอนเอียงไม่เที่ยงธรรมแล้ว จะตอ้ งโทษฐำนบังอำจหำโทษผูใ้ หญ่ โดยหำ
ควำมผิดมไิ ด้ ทง้ั จะเป็นเสีย้ นหนำมต่อพระบวรพุทธศำสนำ เป็นโทษใหญ่รอ้ นถึงรัฐบำล จะต้องลงอำญำตำม
ระบิลเมืองฯ"

"ฝำ่ ยฉนั เปน็ คนผดิ เอำแต่ธรุ ะอน่ื ไม่สอดส่องดูแลลกู วัด ไมค่ อยชี้แจงส่ังสอนอันเตวำสิก สัทธิวำหำริก ให้รู้
ธรรมรูว้ ินยั จึงลงโทษตำมพระวินยั วำ่ ไมค่ วรย่อมเปน็ โทษแท้ ขอคดเี รอื่ งนจ้ี งเลกิ ระงบั ไปตำมวนิ ยั นี"้ พระฐำนะ
ท่นี ่ังฟังทัง้ มหำบำเรยี นและพระอนั ดบั พระคูค่ วำม ก็สำธุกำรเห็นดีพร้อมกนั อย่ำงเย็นใจ พระวันรัต (เซง่ ) ก็เหน็
ดี สงบเรอื่ งลงเท่ำนี้ฯ

คร้งั หนงึ่ พระวดั ระฆงั เต้นด่ำท้ำทำยกนั ข้ึนอีกคู่ พระเทพกวี (โต) ทำ่ นเอกเขนกน่ังอยู่นอกกฏุ ิท่ำน ท่ำนแลเหน็
เข้ำ ทั้งได้ยินพระทะเลำะกนั ด้วย จึงลุกเข้ำไปในกฏุ ิ จดั ดอกไมธ้ ูปเทียนใส่พำน รีบเดนิ เข้ำไปในระหว่ำงวิวำท
ทรดุ องคล์ งนั่งคกุ เข่ำไปถวำยดอกไม้ธูปเทียนพระคนู่ น้ั แล้วออ้ นวอนฝำกตัวว่ำ "พ่อเจ้ำประคณุ พอ่ จงคุ้มครอง
ฉันด้วย ฉนั ฝำกตวั กบั พอ่ ดว้ ย ฉนั เห็นจรงิ แล้วว่ำ พอ่ เก่งเหลอื เกนิ เก่งพอได้ เก่งแท้แท้ พอ่ เจำ้ ประคุณ ลกู ฝำก
ตัวดว้ ย" เลยพระคนู่ ้นั เลกิ ทะเลำะกัน มำคุกเขำ่ กรำบพระเทพกวีๆ กค็ ุกเข่ำกรำบตอบพระ กรำบกนั อยนู่ ่ัน หมอบ
กนั อยนู่ ัน่ นำนฯ

ครง้ั หนึ่งสมเด็จพระยำมหำศรีสรุ ิยวงศ์ (ช่วง) นิมนต์เข้ำไปเทศนท์ ่จี วน สมเดจ็ เจำ้ พระยำจดุ เทียน พระเทพกวี
ขึน้ ธรรมมำสน์ คร้ันรบั ศลี เสร็จแลว้ พวกหวั เมืองเข้ำมำหำสมเดจ็ เจ้ำพระยำ หมอบกนั เป็นแถว ส่วนตวั
เจำ้ พระยำนัน้ เอกเขนกรินนำ้ ชำไขว่ห้ำงกำลังพระเทศน์ พระเทพกวีเลยเทศน์วำ่ "สมั มำมวั รนิ กนิ น้ำชำ มจิ ฉำ
หมอบก้มประนมมอื " สมเดจ็ เจำ้ พระยำบำดหูลุกเข้ำเรือน ส่วนพระเทพกวีก็ลงจำกธรรมำสนก์ ลับวดั ระฆงั ขำ่ ว
วำ่ ตึงกันไปนำน

ครน้ั สมเด็จพระวันรัต (เซ่ง) ถึงมรณภำพแล้ว พระเทพกวีตอ้ งเปน็ ผ้ใู หญ่นงั่ หนำ้ ครง้ั หนงึ่ เมอ่ื มกี จิ กำรฉลอง
สวดมนต์ในพระบรมมหำรำชวัง พระเทพกวีเป็นผชู้ ักนำพระรำชำคณะอ่อนๆ ลงมำ คร้ันสวดเสรจ็ แล้วยะถำ
พระรบั สพั พีแล้วสวดคำถำโมทนำจบแล้ว พระเทพกวี (โต) จงึ ถวำยอติเรกข้นึ องค์เดียวว่ำดงั น้ี

41

อตเิ รกวสสฺ ต ชวี ตุ อติเรกวสฺสต ชีวตุ อติเรกวสฺสต ชีวตุ ทฆี ำยโุ ก โหตุ อโรโคโหตุ สุขิโต โหตุ มหำรำชำ สทิ ฺธิ
กจิ จ สทิ ธฺ ิกมมฺ สิทธฺ ิลำโภ ชโย นิจฺจ มหำรำชส ส ภวตุ สพฺพทำ ขอถวำยพระพร ดังนี้

สมเดจ็ พระจอมเกลำ้ ทรงโปรดมำก รบั ส่ังถำมวำ่ แกล้ ดั ตดั เติมจะได้บำ้ งไหม พระเทพกวี (โต) ถวำยพระพรว่ำ
อำตมำภำพได้เปยยำลไวใ้ นตัวบทคำถำ สำหรับสมเดจ็ บรมพิตรพระรำชสมภำรเจ้ำจะได้ทรงตรอกลง ตำมพระ
บรมรำชอธั ยำศยั แลว้ สมเดจ็ พระจอมเกล้ำทรงตรอกซ้ำลงตรง ฑีฆำยุ อกี บรรทดั หน่ึง ทรงตรอกลงท่หี นำ้ ศัพท์
มหำรำชสสฺ เปน็ ปรเมนทรมหำรำชวรสฺส นอกน้ันคงไวต้ ำมคำพระเทพกวี (โต) ทกุ คำ แลว้ ตรำพระรำชบัญญตั ิ
ประกำศไปทุกๆ พระอำรำม ให้เปน็ ขนบธรรมเนยี มตอ้ งให้พระรำชำคณะผูน้ ั่งหน้ำถวำยคำถำอติเรกนก้ี ่อน จงึ
รบั ภะวะตุสพั ฯ จึงถวำยพระพรลำ ออกจำกพระที่นัง่ ได้ ตลอดจนกำรพระเมรุ กำรถวำยพระกฐินทำนตำมพระ
อำรำมหลวง ต้องมีพระรำชำคณะถวำยอติเรกน้ีทุกครำวที่พระรำชดำเนนิ จึงเป็นรำชประเพณีสืบมำจนทุกวนั นี้
แล

ครัน้ ถงึ ปฉี ลู สปั ตศก จุลศกั รำช ๑๒๒๗ ปี สมเดจ็ พระจอมเกล้ำเจำ้ อยหู่ วั จึงทรงสถำปนำพระเทพกวี (โต) ขน้ึ
เป็นสมเดจ็ พระพุฒำจำรย์ รับหริ ญั บัฏมีฐำนำ ๑๐ มีนิตยภัตร ๓๒ บำท ค่ำข้ำวสำร ๑ บำทตอ่ เดอื น สมเดจ็ ฯ
มีชนมำยุ ๗๘ พรรษำ ๕๖ ได้เป็นสมเด็จพระพุฒำจำรย์ ในปโี สกันต์สมเดจ็ พระพุทธเจำ้ หลวง โสกันต์ครำวนมี้ ี
เทศนก์ ณั ฑเ์ ขำไกรลำส รวมที่ได้รบั พระรำชทำนสมณศกั ดิ์เป็นรำชำคณะ เป็นพระรำชำคณะผใู้ หญ่ เป็นเจำ้
อำวำสวดั ระฆังมำได้ ๑๕ ปี จึงได้เป็นสมเดจ็ พระพุฒำจำรย์ ในปฉี ลู สัปตศก จุลศกั รำช ๑๒๒๗ เปน็ ปที ี่ ๑๕
ในรัชกำลที่ ๔ แหง่ กรุงเทพมหำนครแล

คร้งั หน่งึ มรี ำชกำรโสกันต์ สังฆกำรีวำงฎีกำว่ำย่ำรุ่งถึง แลว้ ถวำยพระพร ถวำยชัยมงคลคำถำ พระฤกษ์โสกนั ต์
วำงฎกี ำสมเด็จพระพุฒำจำรย์ (โต) คร้นั ไดเ้ วลำย่ำรงุ่ ตรงทำ่ นกม็ ำถงึ พระมหำปรำสำทยังไม่เปิดพระทวำร
สมเดจ็ พระพุฒำจำรยก์ ็มำนงั่ อยูบ่ นบนั ไดพระมหำปรำสำทชนั้ บน แล้วท่ำนก็สวดชัยมงคลคำถำ ชะยนั โตโพธยิ ำ
ลัน่ อยู่องคเ์ ดียว สำมจบแล้ว ท่ำนกไ็ ปฉนั ขำ้ วต้มท่ีทิมสงฆ์ แลว้ ท่ำนกไ็ ปพกั จำวดั ในโรงม้ำต้น ใน
พระบรมมหำรำชวงั ครนั้ เวลำสำมโมงเช้ำ เสด็จออกจวนพระฤกษ์ สงั ฆกำรีประจุ พระรำชำคณะประจำทีห่ มด
ยังขำดแต่สมเด็จพระพุฒำจำรยอ์ งค์เดยี ว เท่ยี วตำมหำกนั ลั่นไปหมด สมเด็จพระจอมเกล้ำทรงกริ้วใหญ่ พวก
ทนำยเลอื กสนใจใน บอกต่อๆ กนั เข้ำไปว่ำไดเ้ หน็ สมเด็จหำยเข้ำไปในโรงมำ้ ต้น พวกสงั ฆกำรีเข้ำไปคน้ คว้ำเอำ
องคท์ ำ่ นมำได้ ช่วยกันรนุ ก้นดนั ส่งเข้ำไปในพระทวำร ครั้นทอดพระเนตรเห็นกก็ ริว้ แหว รับสัง่ ว่ำ "ถอดๆ ไม่
ระวงั ร้ัวงำนรำชกำร เป็นขนุ นำงไม่ได้ แฉกคนื ๆ เร็วๆ เอำชะยนั โตทเี ดียว" ขรัวโตก็เดินชะยันโตจนถงึ อำสนสงฆ์
ลงเข้ำแถวสวด พระจอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ ัวก็ทรงคบี พระเมำฬี พระบรมวงศำนวุ งศ์กค็ บี และคีบ แลโกน เปน็ ลำดับ
ไป ครน้ั เสร็จแล้ว ทรงประเคน อังคำสพระสงฆ์ แล้วเสดจ็ เข้ำในพระฉำก

ขรัวโตฉนั แล้วก็นง่ั นง่ิ เสดจ็ ออกเร่งให้ยะถำ ขรัวโตก็ยะถำ แตไ่ มต่ ง้ั ตำลปัตร เวลำนนั้ พระธรุ ะมำก มวั หนั พระ
พักตร์ไปรบั สง่ั รำชกจิ อ่นื ๆ พระพฒุ ำจำรย์ (โต) ก็เดินดมุ่ ๆ รีบออกไปลงเรอื ข้ำมฟำก พอแปรพักตรไ์ ปรับสั่ง
อตเิ รก จะรบี ฯ พระรำชำคณะรองๆลงมำ กไ็ ม่มีใครกลำ้ นง่ิ งนั กนั ไปหมด รบั สัง่ ถำมวำ่ "อ้ำว สมเด็จหำยไปไหน"

42

เขำทลู ว่ำ "ท่ำนกลบั ไปแล้ว" "อ้ำวพัดยงั อยู่ ชะรอยจะทำใจนอ้ ยไมเ่ อำพัดไป เร็ว เอำพัดไปสง่ เอำตัวมำถวำย
อติเรกก่อน" สังฆกำรรี ีบออกเรือตำมรอ้ งเรียก "เจ้ำคุณขอรับ นิมนตก์ ลบั มำกอ่ น มำเอำพัดแฉก" ท่ำนรอ้ งตอบ
มำว่ำ "พอ่ จะมำตงั้ สมเดจ็ กลำงแมน่ ้ำไดห้ รือ" สังฆกำรีว่ำ "รับสง่ั ให้หำ" ทำ่ นกข็ ้ำมกลบั มำ เข้ำทำงประตตู ้นสน
ดุ่มๆ ขนึ้ มำบนพระปรำสำท แล้วรับส่งั ให้ถวำยอติเรกเร็วๆ ฯ ทลู ว่ำ ขอถวำยพระพร ถวำยไม่ไดฯ้ " รบั ส่ังถำมว่ำ
"ทำไมถวำยไมไ่ ดฯ้ " ทลู ว่ำ "ขอถวำยพระพร เหตุพระรำชบัญญตั ิตรำไว้ว่ำ ให้พระรำชำคณะถวำยอตเิ รก บดั น้ี
อำตมำภำพกลำยเปน็ พระอันดับแล้ว จึงไมค่ วรถวำยอตเิ รก ขอถวำยพระพรฯ" รับสั่งว่ำ "อ้อ จรงิ ๆ เอำสิ ต้ังกัน
ใหม"่ กรมวังออกหมำยตง้ั สมเดจ็ บอกวเิ สศเลี้ยงพระอกี สังฆกำรีวำงฎีกำ เอำพระชุดนี้ก็ได้ วิเสศทำไมท่ ัน ก็
ทำแต่นอ้ ย กไ็ ด้เพียง ๕ องค์ ศุภรัตนเ์ ตรียมผ้ำไตรต้งั และพระไตร พระชะยนั โต แลว้ เสดจ็ พวกสงั ฆกำรีวำง
ฎกี ำพระชุดโสกันต์กำหนดเวลำ เลยกลบั ไม่ได้

ครนั้ เวลำ ๕ โมง เสดจ็ ออกทรงประเคน พระฉันแล้ว (ประกำศตง้ั สมเด็จ) ทรงประเคนหริ ัญบัฏ ประเคนไตร
บำตร ตำลปตั ร ยำ่ ม พระชะยันโต ครำวนส้ี มเดจ็ ยกไตรแพรครอง กลบั เข้ำมำอนุโมทนำแลว้ ถวำยอติเรก ถวำย
พระพรลำ เป็นอนั เสร็จกำรไปครำวหนึง่ ฯ

ครง้ั หนึง่ เข้ำไปฉนั ในพระบรมรำชวัง ได้ทรงประเคนไตรแพร ท่ำนก็นำไตรแพรนน้ั เชด็ ปำก เช็ดมอื ย่งุ ไปหมด
รบั ส่ังทกั ว่ำ "ไตรเขำดดี ี เอำไปเช็ดเปรอะหมด" ท่ำนตอบว่ำ "อะไรถวำยได้ ผ้ำเชด็ มือถวำยไม่ได้ อำตำมภำพก็
ต้องเอำผ้ำไตรของอำตมำเองเช็ดอำตมำเอง เป็นอันได้บริโภคของทำยกแล้ว ไมเ่ ปน็ สัทธำเทยสินบิ ำตฯ

ครัง้ หนึง่ เข้ำไปฉันในพระบรมมหำรำชวังอีก ถวำยเงนิ องคล์ ะ ๒๐ บำท สมเดจ็ ทำดใี จ รวบเงนิ ใส่ย่ำมกรำว ทรง
ทักว่ำ "อ้ำว พระจบั เงนิ ไดห้ รือ" "ขอถวำยพระพร เงนิ พระจบั ไม่ได้ แตข่ รัวโตชอบ" เรื่องแผลงๆ ของสมเด็จ
พระพุฒำจำรย์ (โต) องคน์ ต้ี ้ังแต่เป็นพระธรรมกติ ติ มำจนเปน็ สมเดจ็ พระพฒุ ำจำรย์ ต่อหนำ้ พระทน่ี ่งั เสมอมำ
แตก่ ็ทรงอภัย ซ้ำพระรำชทำนรำงวัลอีกด้วย ถึงวนั รวบเงนิ น้ี ก็รำงวัลอีก ๓๐ บำท รวบใสย่ ่ำมทนั ที ครั้นหิว้
คอนยำ่ มออกมำ คนนน้ั ล้วงบ้ำง คนน้ีลว้ งบ้ำง จนหมดย่ำม ท่ำนคยุ พึมวำ่ "วนั นี้รวยใหญ่ๆ" ฯ

ครัน้ ครำวหนง่ึ นักองคด์ ้วง เจ้ำแผ่นดินเขมร กลุม้ พระหฤทยั มีใบบอกเข้ำมำกรำบบงั คมทูลพระกรณุ ำใหท้ รง
ทรำบ จงึ มพี ระบรมรำชโองกำร โปรดใหเ้ ผดียงสมเด็จพระพุฒำจำรย์ (โต) ให้ออกไปแสดงธรรมโปรดนกั องค์
ดว้ ง ณ เมืองเขมร ครำวน้ีสมเดจ็ พระพฒุ ำจำรย์ ถึงกบั บ่นท่วี ัดระฆังวำ่ สมเดจ็ พระนงั่ เกล้ำกไ็ ม่ใช่โง่ แต่ว่ำใช้
ขรัวโตไมไ่ ด้ สมเด็จพระจอมเกลำ้ ฉลำดว่องไว กลับมำไดใ้ ช้ขรัวโตฯ

ครน้ั ถึงวนั กำหนด ท่ำนกพ็ ำพระฐำนำ ๔ รปู ไปลงเรือสยำมปู สดัมภ์ เจำ้ พนกั งำนไปส่งถึงเมอื งจันทบุรี แล้วขึ้น
เกวียนไปทำงเมอื งตรำด ไปถึงหมู่บำ้ นใหญแ่ ห่งหนง่ึ แขวงเมอื งตรำดน้นั เป็นตำบลทม่ี เี สือชมุ มำก มันเผน่ เขำ้
ขวำงหนำ้ เกวยี น เวลำรอนๆ จวนคำ่ คนนำทำงหน้ำเกวียนสมเดจ็ จดพลองเลน่ ตกี บั เสือ เจ้ำเสือแยกเขี้ยว ห้ือ

43

ใส่ รกุ ขนำบ คนถอื พลองถอยหลงั ทกุ ที จนถึงหนำ้ เกวียนสมเดจ็ คนหน้ำเกวียนยกเท้ำยนั คนถือพลองไว้ไมใ่ ห้
ถอยฯ

ตอนท่ี ๘

สมเดจ็ พระพฒุ ำจำรย์ ท่ำนเห็นเสอื มีอำนำจดุมำก ท่ำนจงึ บอกว่ำ เสือเขำจะธรุ ะฉันคนเดียวดอกจ้ะ ฉันจะพูดจำ
ขอทุเลำเสอื สักคนื ในทน่ี ้ี ครัน้ แลว้ ท่ำนก็ลง ส่งเกวียน ส่งคนใหไ้ ปคอยอยูข่ ้ำงหน้ำ ท่ำนก็นอนขวำงทำงเสอื เสยี
เสือก็น่งั เฝ้ำท่ำนคนื หนึง่ เสือกไ็ ปไหนไม่ได้ จะไปไลค่ นอื่นก็ไปไมไ่ ด้ ตอ้ งเฝ้ำยำมสมเดจ็ ยันรุ่ง ครั้นเวลำเชำ้ ท่ำน
เชิญเสือใหก้ ลบั ไป แล้วทำ่ นลำเสอื ว่ำ ฉนั ลำก่อนจ้ะ เพรำะมีรำชกจิ ใชใ้ ห้ไปจ้ะ ว่ำแล้วทำ่ นก็เดนิ ตำมเกวยี นไปทนั
กัน แล้วทำ่ นเล่ำให้พระครปู ลัดฟัง (พระครูปลัดคอื พระธรรมถำวร เดีย๋ วน)้ี พวกครัวก็หงุ ตม้ เล้ียงท่ำน เลี้ยงกัน
เสร็จแล้ว ก็นมิ นต์สมเดจ็ ขึ้นเกวยี นคนลำก ท่ำนไมช่ อบวัวควำยเทยี มเกวียน
คร้นั ไปถึงเมอื งพระตะบอง ข้ำหลวงฝ่ำยสยำมบอกกำรเข้ำไปถงึ กรมเมืองเมืองเขมร กรมเมืองทรำบแลว้ นำ
ควำมทูลนักองค์ด้วง เจ้ำเมืองเขมรฯ ทรงทรำบ แล้วสั่งคนนำแคร่ออกไปรบั สมเด็จเขำ้ ไปถงึ ในวัง กระทำควำม
เคำรพ ปฏิสนั ถำร ปรำศรัยปรนนบิ ัตแิ กส่ มเด็จเปน็ อนั ดี แล้วรับส่ังให้จัดกำรเล้ยี งดขู ้ำหลวง และผคู้ นท่ีเชญิ
สมเด็จมำนน้ั แล้วจัดที่พกั ท่ีอย่ใู ห้ตำมสมควร ครนั้ เวลำเชำ้ จัดแจงตั้งธรรมำสน์ บอกกล่ำวพระยำพระเขมร
แล้วเจำ้ นำยฝ่ำยเขมรตลอด พอ่ ค้ำคฤหบดีเขมร ใหม้ ำฟังธรรมของสมเดจ็ จอมปรำชญ์สยำม สมเด็จพระเจำ้
กรุงสยำม รบั ส่งั โปรดให้สมเด็จพระพฒุ ำจำรย์มำโปรดเขมร เขมรทัง้ หลำยต่ำงยินดเี ต็มใจ พร้อมใจกันมำฟงั
เทศนำสมเดจ็ ทกุ ตัวคน

ครน้ั เพลแล้วก็อำรำธนำให้ขึ้นเทศน์ สมเดจ็ ก็เลอื กเฟ้นหำธรรมะนำมำยกขนึ้ แสดง ช้ีแจงและแปลแก้ไขเปน็
ภำษำเขมร ให้พวกเขมรเข้ำใจตอ่ ตลอดมำ ถึงพระมหำกรุณำธคิ ณุ ของกรงุ สยำมด้วย เชอื่ มกบั ศำสนปศำสน์
และพระรฐั ปศำสนใ์ หก้ ลมเกลียวกลืนกัน เทศน์ให้ยึดโยงหยัง่ ถึงกนั ชักเอำเหตผุ ลตำมชำดกต่ำงๆ พระสูตรต่ำงๆ
ทำงพระวนิ ยั ต่ำงๆ อำนสิ งส์สันตภิ ำพ และอำนสิ งสส์ ำมคั คีธรรม นำมำปรงุ เปน็ เทศนำกัณฑ์หนง่ึ ครน้ั จบลงแลว้
นกั องคจ์ นั ทร์มำรดำนักองคด์ ้วง ไดส้ ละรำชบุตร รำชธิดำ บชู ำธรรม และสักกำระด้วยแก้วแหวนเงนิ ทอง
ผำ้ ผอ่ น และขัชกะโภชำหำร ประกำรต่ำงๆ เขมรนอกนัน้ ก็เลื่อมใส เห็นจรงิ ตำมเทศนำของสมเดจ็ ทกุ คน แลต่ำง
ก็เกิดควำมเลอ่ื มใสในองค์เจำ้ ประคุณสมเด็จ

สมเด็จพระพฒุ ำจำรย์ จงึ ได้ฝำกนำงธดิ ำกุมำรีไว้กบั มำรดำเจ้ำนักองค์ดว้ ง รบั มำแต่เจำ้ ชำยกมุ ำรคนเดยี ว นกั
องค์ดว้ งเจ้ำเมืองเขมรจึงจดั กำรสง่ สมเด็จ มีเกวยี นสง่ เข้ำมำจนถึงเมืองตรำด เจ้ำเมืองตรำดจัดเกวียนสง่ มำถึง
เมืองจนั ทบุรี เจำ้ เมืองจันทบุรีจดั เรือใบ เรือเสำสง่ เข้ำมำถงึ กรุงเทพพระมหำนคร จอดหน้ำวัดระฆังทเี ดียว

44

ครัน้ รุง่ เช้ำ สมเดจ็ พระพุฒำจำรยจ์ งึ เข้ำในพระบรมมหำรำชวงั เสด็จออกรบั และทรงสดบั รำยงำน กำรที่ไปและ
กำรท่ีถึง และเจำ้ เขมรยนิ ดีรับรองเลอ่ื มใส ไดเ้ ทศนโ์ ปรดด้วยขอ้ น้ัน นำข้อนน้ั เทยี บข้อนัน้ ใหเ้ จำ้ เขมรเข้ำใจ
ด้วยนยั อยำ่ งนนั้ ลงมติอย่ำงน้ันตลอดเสนำเขมรท่ัวกัน เขมรบชู ำธรรมพลบี รรณำกำรมำอย่ำงน้ันเทำ่ นน้ั ของ
เท่ำนั้นๆ ให้ทรงถวำยโดยละเอยี ดทุกประกำร

สมเดจ็ พระจอมเกล้ำเจำ้ อย่หู ัว ไดท้ รงทรำบรำยงำนของสมเด็จพระพุฒำจำรย์ (โต) บรรยำยถวำย เป็นที่พอ
พระรำชหฤทยั ย่ิงนกั ทรงนิยมชมเชยควำมสำมำรถของสมเดจ็ พระพุฒำจำรย์ (โต) จึงทรงยนิ ดีถวำยเครื่อง
กณั ฑ์ท่ไี ด้มำนน้ั จงเป็นสรรพสิทธิของเจ้ำคุณทง้ั หมด ท้ังทรงปวำรณำว่ำเจำ้ คณุ ประสงค์สิ่งอะไร พอทโี่ ยมจะ
อนุญำตได้ โยมก็จะถวำย แล้วกเ็ สด็จขึน้ สมเด็จพระพุฒำจำรยก์ ก็ ลับวัดระฆัง

ครน้ั หำยเหนี่อยสองสำมวนั จึงเข้ำไปในพระบรมมหำรำชวัง เสด็จออกรับสมเด็จพระพุฒำจำรย์ (โต) ขอถวำย
พระพร ขอพระบรมรำชำนุญำตท่ดี นิ ทว่ี ัดเกษไชโยเท่ำน้ันว่ำ ขอพระรำชำนุญำตสรำ้ งพระใหญ่นั่งหน้ำตัก ๘ วำ
ไว้ในอำเภอไชโย ขอให้ทรงพระกรุณำรบั สง่ั เจำ้ เมอื ง กรมกำรวดั ให้มพี ระรำชลัญจกรประทับ รบั สัง่ ว่ำดแี ล้ว
จึงเปน็ แบบอย่ำงที่ต้องขอพระบรมรำชำนญุ ำตก่อน ต้องมบี ัตรพระรำชลัญจกรอนุญำตแลว้ จึงเป็นวิสุงคำม
ทรงพระกรณุ ำโปรดมใี บพระบรมรำชำนุญำต ประทับตรำแผ่นดนิ ถวำยสมเด็จพระพุฒำจำรย์ (โต) เลยตรำ
พระรำชบัญญัติวสิ งุ คำมสีมำต่อไปในครำวนน้ั เป็นลำดบั กันมำ

สมเดจ็ จึงจำหน่ำยเครอื่ งกัณฑ์เทศนจ์ ำกเมืองเขมรลงเป็นอฐิ เป็นปนู เปน็ ทรำย เปน็ ค่ำแรงคนงำน เป็นทุนรอง
งำน ขน้ึ ไปจดั กำรสร้ำงพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ณ ท่รี ิมวดั เกษไชโย เจ้ำเมอื งกรมกำรก็มำรำงวัดท่ีตำมท่ีมที ้องตรำ
บังคับ รำชบุรุษท้ังปวงใหส้ มเด็จนำชท้ี ่ี สมเด็จก็ชีห้ มดท้ังวัด และชท้ี ่สี ร้ำงพระวหิ ำรวัดเกตุ สำหรบั คลุมองค์พระ
และชี้ท่ีฐำนสุกะชี ชีท้ ีส่ รำ้ งองคพ์ ระ รำชบุรษุ ก็วัดตำมประสงค์ ชีท้ โ่ี บสถ์ด้วย ชท้ี ่ีอปุ จำรท้ังหมดดว้ ย รวมเน้ือที่
วัดเกษไชโยมีประมำณแจง้ อยู่ในบัญชีหรดำรของหลวงเสร็จแลว้

เมอื่ กำลังสร้ำงพระใหญอ่ งค์นี้ พระยำนิกรบดินทร์ และอำมำตย์รำชตระกลู รำษฎร พอ่ คำ้ แม่ค้ำ คฤหบดี และ
สมเดจ็ พระจอมเกลำ้ สมเด็จพระปิน่ เกล้ำ และแขก ฝรง่ั เขมร ลำว มอญ จีน กไ็ ด้เข้ำส่วนด้วยมำกบ้ำงนอ้ ยบ้ำง
สร้ำงอย่นู ำนเกือบสำมปจี งึ สำเร็จ จึงไดถ้ วำยวัดไชโยเป็นวัดหลวง พระรำชทำนนำมว่ำ วัดเกษไชโย แปลวำ่
พระธงชยั วดั ธงไชย อำเภอไชโย จงั หวัดอ่ำงทอง มอี ธบิ ำยวำ่ รถต้องมีธงท่ีงอนรถ เป็นทป่ี รำกฏประเทศเมอื ง
หลวงว่ำ รำชรฐั ตอ้ งมีธงทกุ ประเทศ ทุกชำติ ทุกภำษำ พระศำสนำกค็ วรมธี งประกำศให้เทวดำ มนุษย์ รู้ว่ำ
ประเทศน้นี ับถอื พระพุทธศำสนำ จึงสมมตพิ ระพทุ ธรปู องค์ใหญน่ เ้ี ป็นประดจุ ดงั ธงไชย ใหป้ ลวิ ไปปลิวมำปรำกฏ
ท่วั กัน เหตุนัน้ เทพยดำผมู้ ฤี ทธิ์ จงึ เข้ำสถิตในองค์พระปฏิมำกร จึงได้ศักดส์ิ ิทธลิ์ ือขจรท่ัวนำนำทิศำภำคย์ คน
หมมู่ ำกเสน้ สรวงบวงบน ใหค้ ุ้มกนั รักษำ ชว่ ยทุกขร์ ้อนยำกจน บำงคนบำงครำวกไ็ ดส้ มมำตรปรำรถนำ จึงมีผู้
สักกำรบูชำมไิ ด้ขำด เป็นด้วยอำนำจสัจจำธิษฐำนของสมเด็จบรมบพติ รพระรำชสมภำรเจ้ำทุกพระองค์ ทรง
ปณธิ ำนไวอ้ ยำ่ งหนงึ่ เปน็ ไปดว้ ยควำมสจั ควำมจริงทีด่ ีที่แท้ ทส่ี มเด็จพระพฒุ ำจำรย์ (โต) ท่ำนแน่วแน่อยู่ใน
เมตตำกรณุ ำ หวังว่ำจะใหเ้ ปน็ ประโยชน์แลควำมสุขสวัสดมิ งคลแกป่ ัจฉิมชนกิ ชน แตบ่ รรดำทน่ี ับถือ

45

พระพุทธศำสนำ ได้บูชำได้หย่ังนำ้ ใจแน่วแนล่ งไปถงึ คณุ พระพุทธเจ้ำว่ำ มีพระคุณแก่สัตว์โลกพ้นประมำณ พระ
จงึ บนั ดำลเปลง่ แสงออกดว้ ยอำนำจเทวดำรักษำ แสดงอิทธฤิ ทธิอ์ อกรบั เสน้ สรวงบวงบนของคนทีต่ ง้ั ใจมำจรงิ
จงึ ให้สำเรจ็ ประโยชน์สมคดิ ทุกสง่ิ ทกุ ประกำร

แหละในระหว่ำงกำรสร้ำงพระนั้น ทำ่ นได้ข้ึนไปดูแลกจิ กำรต่ำงๆ อยู่เสมอ ไดต้ ้ังพระสมุหไ์ ว้องคห์ นึง่ ชื่อพระ
สมหุ ์จ่ัน พระสมุห์จน่ั ได้เลำ่ ให้ใครๆ ฟังอยเู่ สมอว่ำ ได้ถำมสมเดจ็ ดวู ่ำ พระโพธสิ ตั วน์ น้ั จะร้จู ักได้อย่ำงไร สมเดจ็
กช็ ูแขนของท่ำนว่ำ จงคลำดูแขนขรวั โต ครั้นพระสมุห์และใครๆ คลำแขนก็เหน็ เป็นกระดูกทอ่ นเดียว

ครงั้ หนงึ่ ทำ่ นตงั้ ขรวั ตำขนุ เณรเป็นพระวัดชปี ะขำว เปน็ ท่พี ระอปุ ัชฌำย์ เมื่อแหจ่ ำกวดั มำวัดเกษไชโยแลว้ น่ัง
พร้อมกันบนอำสน์สงฆ์ สมเดจ็ เจำ้ โต อุม้ ไตรเข้ำไปกระแทกลงท่ตี กั ขรัวตำขนุ เณรแลว้ ออกวำจำว่ำ ฉนั ให้ท่ำน
เปน็ อุปัชฌำยห์ นำจ๋ำ พระอ่ืนก็เษกชะยนั โตโพธยิ ำฯ

ขรัวตำทองวดั เกษไชโยเลำ่ วำ่ ทำ่ นไดท้ ันเหน็ สมเด็จ ฝงั ตุ่มใหญ่ไว้เหนือพระโตแล้วเอำเงินใสไ่ ว้ ๑ บำท เอำ
กระเบ้ืองหนำ้ วัดปดิ หลุมไว้ คร้ังหนึ่งท่ำนขนึ้ ไปตรวจงำนท่วี ัดเกษไชโย ท่ำนปำ่ วรอ้ งชำวบ้ำนมำช่วยกนั ทำบุญ
เลีย้ งพระบนศำลำ ทำ่ นแจกทำนของท่ำนคนละเหรียญฬศ ๑ ในรชั กำลท่ี ๔ กับผำ้ ขำวคนละฝำ่ มือจนทวั่ กนั หมด
ทุกคน ครนั้ ตอนสุดที่พระแลว้ ท่ำนข้นึ ไปทว่ี ัดเกษไชโย สัปปุรุษเอำแคร่คำนหำมลงไปรับท่ำน ครั้นทำ่ นน่งั มำบน
แครแ่ ลว้ สองมือเหน่ียวแครไ่ ว้แน่น ปำกกว็ ่ำไปไมห่ ยุด หมำเขำดีๆ จะ้ อย่ำให้เขำตกหนำจ๊ะ เขำเป็นของหลวง
หนำจ๊ะ

สมเด็จพระพฒุ ำจำรย์ (โต) ทำ่ นทำแปลกๆ ทำขันๆ พูดแปลกๆ พูดขันๆ แต่พูดทำแล้ว แล้วไมย่ ักซำ้ ร่ำไป ได้
ปรำกฏทนั ตำเหน็ ทันหู ไดย้ ินแต้วๆ แว่วๆ อยู่จนทกุ วันน้ี เม่ือกำรสร้ำงพระเสร็จถวำยเปน็ วดั หลวงแล้ว ทรง
รับเข้ำทะเบียนแล้ว ท่ำนอย่ใู นกรงุ เทพกไ็ ม่มเี วลำว่ำงเปล่ำสกั วันเดียว มีผูค้ นไปมำหำสู่ไม่ขำดสำย จนทำ่ นตอ้ ง
นำปัสสำวะสำดกุฏิบำ้ ง เอำทำหัวบำ้ งจนหวั เหลือง ต้องมำพักผอ่ นอำรมณใ์ นป่ำชำ้ ผดี ิบวัดสระเกศ เป็นที่สำรำญ
ของท่ำนมำก จนพวกวัดสระเกศหลอ่ รูปท่ำนไว้ปรำกฏจนทกุ วันน้ี กุฏิเก่ำเขำสร้ำงถวำยท่ำนหลังหนง่ึ ท่ำนเขยี น
ภำษติ ไวใ้ นกุฏิน้บี ทหนง่ึ ยำวมำก จำไดบ้ ำ้ ง ๒ วรรค ทำ่ นว่ำ "อย่ำอวดกล้ำกบั ผี อยำ่ อวดดีกบั ควำมตำย" บำง
วันก็ไปผ่อนอำรมณ์อยู่ในวัดบำงขนุ พรหม มีคนแถบน้นั นยิ มนับถอื ท่ำนมำก บำงรำยถวำยท่ีสวนเขำ้ เป็นท่ีวัดก็
มำก เต็มไปท้ัง ๔ ทิศ ทำงตะวันตกถึงแมน่ ้ำ ซ่งึ เป็นวดั ทัง้ ๒ อย่ใู นบัดน้ี ฝ่ังเหนอื จดคลอง ตะวันออกก็เปน็
พรมแดนกับบำ้ นพำน บ้ำนหลอ่ พระนคร เปน็ วดั กลำงสวน ท่ำนจงึ สรำ้ งพระ คดิ จะสร้ำงพระปำงโปรดยกั ษ์ตน
หน่งึ ในป่ำไมต้ ะเคยี น ท่ำนคิดจะทำพระนั่งบนตอไมต้ ะเคยี นใหญ่ ทำ่ นจึงเตรยี มอิฐ ปูน ทรำย ช่ำงก่อ แต่เป็น
กำรไม่เร่ง ท่ำนก่อตอไมน้ ้ขี ้นึ ก่อน แล้วกอ่ ขำพระเป็นลำดับขึน้ ไป อนมุ ำนดรู ำวๆ ปเี ถำะ นพศก จลุ ศกั รำช
๑๒๒๙ ปี ทำพระพมิ พ์ ๓ ชนดิ สำมชั้นน้นั ๘๔,๐๐๐ องค์ ทำด้วยผลบ้ำง ลำนจำนเผำบ้ำง กระดำษวำ่ วเขียน
ยนั ตเ์ ผำบำ้ ง ปูนบ้ำง น้ำมันบ้ำง ชนั บ้ำง ปนู แดงบ้ำง นำ้ ลำยบำ้ ง เสลดบำ้ ง เม่ือเข้ำไปมองดคู นตำ คนโขลก มี
จำม มีไอขน้ึ มำ ท่ำนก็บอกว่ำเอำใส่เขำ้ ลงด้วย เอำใสเ่ ข้ำลงด้วย แลว้ ว่ำดีนักจ้ะ ดีนักจะ้ เสรจ็ แล้วตำผสมปูน

46

เพชร กลำงคนื ก็นง่ั ภำวนำไปกดพิมพ์ไป ตั้งแต่ยังเปน็ พระเทพกวี จนเปน็ พระพฒุ ำจำรย์ พระยังไม่แล้ว ยังอกี
๘ หม่ืน ๔ พนั ทีส่ ำม กบั ทสี่ ี่

คร้นั ถึงปมี ะโรง สมั ฤทธิศก จุลศกั รำช ๑๒๓๐ ปี ณ วันพฤหสั บดี เดือน ๑๑ ข้ึน ๑๕ คำ่ เวลำยำมกับ ๑ บำท
นำฬกิ ำ สมเด็จพระปรเมนทรมหำมงกฎุ พระจอมเกลำ้ เจ้ำอยหู่ ัว เสด็จสวรรคต พระชนมำยศุ มไ์ ด้ ๖๔ พรรษำ
เถลงิ ถวัลยรำชได้ ๑๗๖ เดอื น กบั ๑๔ วนั เวลำน้นั อำยุสมเดจ็ ได้ ๘๑ ปี เป็นสมเด็จมำได้ ๓ ปีเศษ

เมื่อสมเด็จทรำบแน่วำ่ สมเด็จพระจอมเกลำ้ สวรรคตแล้ว ทำ่ นเดนิ ร้องไห้รอบวดั เดนิ บ่นไปด้วยรอ้ งไหไ้ ปดว้ ย
วำ่ ส้ินสนกุ แล้วๆ ครั้งนๆี้ สิ้นสนกุ แลว้ เดินรอ้ งไหโ้ ฮๆ รอบวัดระฆัง ดังจนใครๆ ไดย้ ิน คร้นั สมเดจ็ พระปรมินทร
มหำจฬุ ำลงกรณ์ พระจลุ จอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ ัว ขึ้นเถลิงถวัลยรำชสบื สนั ตติวงศแ์ ล้ว สมเด็จพระพุฒำจำรย์ (โต)
จงึ ทำพระพมิ พ์ ๕ ช้ัน ๗ ช้นั ๙ ช้นั ขึ้นอีก ตง้ั ใจจะถวำยสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำฯ พิมพ์แลว้ ครง้ั ก่อนน้นั ได้
แอบบรรจไุ วใ้ นพระเกษไชโยหมด แล้วพมิ พพ์ ระ ๕ ชน้ั ๗ ชน้ั ๙ ชั้น รวมกนั ใหไ้ ด้ ๘๔,๐๐๐ เท่ำกับพระ
ธรรมขันธ์ กำลงั พมิ พ์อยู่ วธิ ีกระทำเช่นคร้ังก่อน แปลกแต่เสกข้ำวในบำตรใส่ด้วย จำนหนังสือใสบ่ ำตรไปด้วย
ไปบิณฑบำตกจ็ ำนหนงั สือไปด้วย แล้วทำผงลงตัวเขียนยนั ต์ ตำปนู เพชรพิมพไ์ ปทุกวนั ๆ กลำงวันไปกอ่ เท้ำพระ
วัดบำงขนุ พรหม เจริญทิวำวิหำรธรรมด้วย ดูชำ่ งเขียนออกแบบกะสว่ นใหช้ ่ำงเขยี นๆ ประวัตขิ องท่ำนข้ึน ท่ีผำ่ น
มำแล้วแต่ต้นจนจบตลอด จนทำ่ นนมสั กำรพระพทุ ธบำท ตั้งแตเ่ ปน็ พระมหำโตมำ จนเป็นพระพฒุ ำจำรย์ (โต)
ก็ยงั ข้นึ พระพุทธบำทตำมฤดเู สมอ เม่ือคร้ังทูลกระหมอ่ มพระ คอื สมเดจ็ พระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หวั ยังทรงผนวชอยู่
วดั ถมอรำย (รำชำธวิ ำส) ยงั ทรงซักถำมพระมหำโตว่ำ ท่ำนเชอ่ื พระบำทลพบุรีเป็นของแท้หรอื พระมหำโตทลู
ว่ำ เปน็ เจดีย์ทน่ี ่ำประหลำด เปน็ ทไี่ ม่ขำดสักกำระ

คร้นั เม่ือสมเดจ็ พระพฒุ ำจำรย์ (โต) ยังเปน็ มหำโต ในแผ่นดนิ พระนง่ั เกลำ้ ทูลกระหม่อมพระยงั เป็นพระรำชำ
คณะเจ้ำอำวำสวดั ถมอรำย ได้นิมนต์พระมหำโตไปสนทนำด้วยเป็นทำงที่จะชวนเข้ำหมู่ รบั ส่งั ถำมว่ำ มบี ุรษุ สอง
คนเปน็ เพ่อื นเดนิ ทำงมำด้วยกัน คนทงั้ สองเดินมำพบไหมเข้ำ จึงทิ้งปอทแ่ี บกมำเสีย เอำไหมไป อีกคนหนึ่งไม่
เอำ คงแบกเอำปอไป ท่ำนจะเหน็ วำ่ คนแบกปอดหี รือคนแบกไหมดี

มหำโตทลู เฉลยไปอีกทำงหนง่ึ วำ่ ยังมีกระต่ำยสองตัว ขำวตัวหนง่ึ ดำตัวหนึ่ง เปน็ เพื่อนรว่ มหำกินกันมำช้ำนำน
วันหนึง่ กระต่ำยสองตวั เท่ียวและเล็มหญ้ำกนิ แตก่ ระต่ำยขำวเหน็ หญำ้ อ่อนๆ ฝั่งฟำกโน้นมีชมุ จึงว่ำยน้ำข้ำม
ฟำกไปหำกินฝง่ั ข้ำงโนน้ กระต่ำยดำไมย่ อมไป ทนกนิ อยู่ฝ่ังเดียว แตน่ ั้นมำ กระต่ำยขำวก็ข้ำมน้ำไปหำหญ้ำออ่ น
กนิ ฝงั่ ข้ำงโนน้ อยูเ่ ร่ือย วนั หนงึ่ ขณะทกี่ ระต่ำยขำวกำลังว่ำยนำ้ ข้ำมฟำก บังเกดิ ลมพัดจัด มคี ล่นื ปั่นปว่ น
กระแสน้ำเชย่ี วกรำก พดั พำเอำกระตำ่ ยขำวไป จะเข้ำฝ่ังไหนกไ็ มไ่ ด้ เลยจมน้ำตำยในทส่ี ุด ส่วนกระต่ำยดำก็ยงั
เทย่ี วหำกนิ อย่ไู ดไ้ ม่ตำย ฝ่ำธุลพี ระบำทลองทำนำยว่ำกระต่ำยตวั ไหนดี

(ทัง้ สองเรือ่ ง นัยอนั น้ี เชิญออกควำมเห็นเอำเอง)

47

เมื่อในแผน่ ดนิ สมเด็จพระน่ังเกล้ำเจ้ำอย่หู ัว ยำยคุน้ ทำ้ วแฟง เก็บตลำดเอำผลกำไรไดม้ ำก แกรู้วำ่ ในหลวงทรง
โปรดผทู้ ำบุญสร้ำงวัด แกจึงสรำ้ งวัดดว้ ยเงินรำยได้ของแก สร้ำงเปน็ วัดทใี่ นตรอกแฟง พระนคร คร้นั สร้ำงวัด
แลว้ แกทูลขอพระรำชทำนนำม ทรงพระกรุณำโปรดพระรำชทำนนำมว่ำ วัดคณิกำผล แกจงึ นมิ นตม์ หำโตไป
เทศน์ฉลอง มหำโตเทศน์ว่ำ เจำ้ ภำพคิดเพอื่ เหตเุ ชน่ นี้ ทำด้วยผลทุนรอนอย่ำงน้ียอ่ มได้อำนสิ งสส์ ลึงเฟือ้ ง เช่น
ตำกบั ยำย ฝังเงนิ เฟ้ืองไวท้ ี่ศลิ ำรองหน้ำบันได เงนิ สลงึ เฟอ้ื งหนีไปเขำ้ คลงั เศรษฐี ไปติดอย่กู บั เงินก้อนใหญ่ของ
เศรษฐี ตำจึงขุดตำมรอยทเี่ งินหนเี ขำ้ ไปจนถงึ บำ้ นเศรษฐี เศรษฐีจงึ ห้ำมมใิ หข้ ดุ ตำก็จะขดุ ให้ได้ อำ้ งว่ำจะขุด
ตำมเงนิ อ้ำยน้อยไปหำอำ้ ยใหญ่ เศรษฐีจึงถำมวำ่ อ้ำยนอ้ ยคอื อะไร ตำกบ็ อกว่ำ อ้ำยนอ้ ยคอื เงินที่เทวดำใหผ้ ม
สลึงเฟือ้ ง เศรษฐีมนั่ ใจว่ำ เงินในคลังมแี ตก่ ้อนใหญๆ่ ท้ังนนั้ เงินย่อยหำมไี ม่ จึงท้ำตำว่ำ ถ้ำขุดตำมได้เงินสลึง
เฟ้อื ง เรำจะทำขวัญใหต้ ำ หนกั เท่ำตัว ถำ้ ขุดตำมไม่ไดจ้ ะเอำเรือ่ งกบั ตำ ฐำนเปน็ คนรำ้ ยบกุ รุก ตำกย็ นิ ยอม เลย
ขดุ ต่อไปไดพ้ บเงนิ สลึงเฟื้อง คลำนเข้ำไปกอดกับเงินกอ้ นใหญ่ของเศรษฐีอยู่ เศรษฐีก็ยอมให้ตำปรับตำมที่ตก
ลงกันไว้ คร้ันเอำตัวตำข้ึนช่ัง กไ็ ด้นำ้ หนกั เพยี งแค่สลึงเฟอ้ื ง ตำมทีเ่ ทวดำเคยช่ังให้ ด้วยผลบุญทีท่ ำไว้น้อย ต้ัง
มลู ไวผ้ ิดฐำน ดงั เจำ้ ของวัดนี้สร้ำงลงไปจนแล้ว เป็นกำรดี แตฐ่ ำนบญุ ไม่ถูกบุญใหญ่ ผลจงึ ใหญ่ไปไม่ได้ คงได้
สลงึ เฟื้องของเศษบุญเท่ำนัน้

เจ้ำของวดั ขัดใจโกรธหน้ำแดง แกเกอื บจะด่ำเสียอีก แต่เกรงเปน็ หมิ่นประมำท แกประเคนเครอื่ งกณั ฑ์
กระแทกๆ กังกุกกกั ใหญ่ แกก็ข้ึนไปเชิญเสด็จทลู กระหม่อมพระมำประทำนธรรมบอกอำนสิ งคบ์ ำ้ งต่ออกี กณั ฑ์
ทลู กระหมอ่ มทรงแสดงถึงจติ ของบุคคลทท่ี ำกุศลว่ำ ถ้ำทำด้วยจิตผอ่ งใสไม่ขุ่นมวั จะไดผ้ ลมำก ถ้ำทำดว้ ยจิตขนุ่
มัวย่อมได้ผลน้อย ดังเช่นสร้ำงวดั น้ีดว้ ยเรอื่ งขุ่นมัวท้ังนนั้ แต่ท่ำนหำโตทำ่ นชักนิทำนเรื่องทุกคะตะบรุ ุษท่ีเคยทำ
กศุ ลเศร้ำหมองไวแ้ ตป่ ุเรชำติ คร้ันมำชำตนิ ไี้ ด้อตั ภำพเปน็ มนษุ ยเ์ หมอื นเขำ แต่ยำกจนจงึ ได้ไปออ้ นวอนขอเงิน
เทวดำท่ตี ้นไมใ้ หญ่ เทวดำรำคำญจงึ ช่งั ตัวบุรษุ นั้นแลว้ ใหเ้ งินตำมน้ำหนัก คร้นั จะใหน้ อ้ ยกจ็ ะวำ่ แกลง้ ให้ คร้ันจะ
ใหม้ ำกก็ไม่เห็นมบี ุญคณุ ควรจะได้มำก เทวดำจึงชัง่ ตัวใหเ้ ขำจะไดส้ ้ินธุระต่อว่ำต่อขำน ชงั่ ให้ตำมนำ้ หนกั ตวั เป็น
อนั หมดแงท่ ่ีจะคอ้ นติงต่อว่ำ เร่ืองน้ีในฎกี ำพระอภิธรรมพระฎกี ำจำรยท์ ่ำนแตง่ ไว้ทำฉำกใหพ้ ระมหำโตตดั สิน
บญุ รำยน้ี ว่ำได้ผลแหง่ บุญจะอำนวยเพยี งเลก็ น้อย คอื ท่ำนแบ่งผลบุญเปน็ ๘ ส่วน คงได้ผลแต่ ๓ ส่วน เหมือน
เงิน ๑ บำท แปดเฟื้อง โว่งเว้ำหำยไปเสยี ๕ เฟือ้ ง คือ ๕ ส่วน คงได้แต่ ๓ สว่ น น่ียงั ดีนักทเี ดียว ถ้ำเปน็
ควำมเหน็ ของขำ้ พเจำ้ แลว้ คงจะตัดสนิ ให้ได้บญุ เพยี งสองไพเทำ่ นั้น ในกำรสร้ำงวดั ด้วยวธิ ีคิดในใจไวแ้ ตเ่ ดิม
เทำ่ น้ี มดี เี ท่ำนี้ เอวงั ก็มี

(เทศน์ ๒ กัณฑ์นี้ ควรผู้สดบั คิดวนิ จิ ฉยั เอำเอง)

อน่ึง ในแผ่นดินสมเดจ็ พระจอมเกล้ำ สมเดจ็ พระพุฒำจำรย์ (โต) แต่เมื่อคร้ังยังเป็นพระเทพกวี ไดเ้ คยเทศนค์ ู่
กับพระพมิ ลธรรม (ถกึ ) วัดพระเชตุพนเสมอ เป็นคู่เทศนท์ ีเ่ ผด็ ร้อนถึงอกถึงใจคนฟงั จนควำมทรำบถึงพระ
กรรณสมเดจ็ พระจอมเกล้ำ ทรงนมิ นต์เจำ้ คณุ ทั้ง ๒ เข้ำไปเทศน์ในพระบรมมหำรำชวังคร้งั หนึง่ สมเดจ็ พระ
จอมเกลำ้ ทรงตดิ เงินพระรำชทำนให้สลึงเฟอ้ื ง พระเทพกวีไหวทนั หนั มำบอกพระพิมลธรรมว่ำ เจ้ำถกึ จ๋ำ เจำ้ ถกึ
เจ้ำถึกรูห้ รือยงั ฯ พระพิมลธรรมถำมว่ำ จะให้รอู้ ะไรอีกหนำฯ อ้ำว ทำ่ นเจ้ำถึกยังไมร่ ู้ตัว โง่จรงิ ๆ แฮะ ฯ ท่ำนเจ้ำ
ถกึ ถำมรุกใหญ่ว่ำ จะให้รู้อะไรอกี นอกคอกเปลำ่ ๆ พระเทพกวีว่ำ จะนอกคอกทำไม เรำมำเทศน์กนั วันนี้ ในวงั

48

มใิ ช่หรอื ฯ รับว่ำ ในวังนน่ั ซฯี กใ็ นวงั ในคอก ในกำแพงด้วยซ้ำรู้ไหมหละฯ รู้อะไรนะฯ จงรู้เถดิ จะบอกให้ว่ำ ท่ำน
เจ้ำถกึ นนั้ หัวล้ำนมศี รี ฝ่ำยพระเทพกวีน้นั หัวเหลือง สมเด็จพระบรมบพิตร จงึ ทรงติดให้สลงึ เฟือ้ ง รู้ไหมฯ พอ
หมดคำ ก็ ฮำครืนแนน่ คึกบนพระที่นัง่ เลยใหร้ ำงวัลองค์ละ ๑๐ บำท พอ่ จงเอำเงนิ นม้ี ำแบง่ จงจัดแจงใหเ้ ขำ้ ใจ
พอ่ ถกึ หวั ล้ำน พอ่ โตหัวเหลอื ง เป็นหวั ละเฟอ้ื งสองไพฯ ได้อีกฮำ ไดอ้ งคล์ ะ ๑๐ บำท ครำวนี้เจ้ำจอมคกิ คกั กัน
เซง็ แซ่ คณุ เฒ่ำคุณแกย่ ิงเหงอื กยงิ ฟัน อ้ำปำกกันหวอไปหมด สมเดจ็ พระเจำ้ แผน่ ดนิ กท็ รงพระสรวล แล้วถวำย
ธรรมเทศนำปจุ ฉำ วสิ ัชนำสบื ไปจนจบฯ

ครงั้ หน่งึ เมอ่ื ยังเปน็ พระเทพกวี ได้เขำ้ ไปฉนั บนพระทนี่ ัง่ แลว้ ยะถำจบ สมเดจ็ พระจอมเกลำ้ ทรงสัพยอกว่ำ
ทำไมจงึ ไปใหเ้ ปรตเสยี หมด คนผ้ทู ีท่ ำจะไมใ่ ห้บ้ำงหรือ สมเด็จพระพฒุ ำจำรย์ยะถำใหม่ว่ำ ยถำ วำริ วหำ ปรุ ำปริ
ปุเรนตฺ ิสำคร เอว เมวอิโตทนิ น ทำยกำน ทำยกิ ำน สพฺเพส อุปกปฺปติ รบั สงั่ วำ่ ยะถำอตุ ตริ สพั พอี ตุ ตรอย แลว้
ทรงรำงวลั ๖ บำท สมเด็จเข้ำวังทใี ด อะไรมอิ ะไรกข็ ยำยให้เป็นท่ีพอพระรำชหฤทัย ได้รำงวลั ทุกครำวฯ

กำรจะนิมนต์สมเดจ็ ไปเทศน์ ถำ้ กำหนดเวลำ ท่ำนไมร่ ับ ถ้ำไมก่ ำหนดเวลำท่ำนรบั ทุกแห่ง ตำมแต่ท่ำนจะไปถงึ
ครำวหนึ่งเขำนมิ นตท์ ำ่ นไปเทศน์ท่ีวัดหนงึ่ ในคลองมอญ สมเดจ็ ไปถงึ แตเ่ ช้ำ เจำ้ ภำพเลยตอ้ งจัดให้มีเทศน์
พเิ ศษขนึ้ อกี กณั ฑห์ น่งึ เพรำะกำหนดเอำไว้ว่ำ จะมีเทศน์คู่ ตอนฉันเพลแลว้ เมื่อสมเด็จไปถึงกอ่ นเวลำ เลยตอ้ ง
นมิ นต์ให้เทศน์เป็นพิเศษเสียก่อนกัณฑ์หนึ่ง พอ ๔ โมงกว่ำ พระพมิ ลธรรม (ถกึ ) คู่เทศน์กไ็ ปถงึ สมเด็จกห็ ยุด
ลง ฉนั เพล คร้นั ฉันแล้วก็ขึ้นเทศน์ สมเด็จถำมท่ำนเจำ้ ถึก ท่ำนเจำ้ ถึกตดิ เลยนิ่ง สมเดจ็ บอกกลำ่ วสัปปุรุษว่ำ ดู
นะดเู ถิดจ๊ะ ท่ำนเจ้ำถึกเขำอิจฉำฉัน เขำเห็นฉนั เทศน์ ๒ กัณฑ์ เขำเทศนย์ ังมไิ ดส้ ักกัณฑ์ เขำจงึ อจิ ฉำฉนั ฉันถำม
เขำ เขำจึงไมพ่ ดู ถำมไม่ตอบ นั่งอม…. ได้ยนิ ว่ำทำยกเขำจดั เครอ่ื งกณั ฑ์ใหท้ ำ่ นเจำ้ ถกึ ไดเ้ ทำ่ กบั ๒ กัณฑ์ เครอ่ื ง
เท่ำกันแล้ว ท่ำนเจ้ำถกึ จึงถำมบำ้ งว่ำ เจ้ำคุณ โทโสเป็นกเิ ลสสำคัญ พำเอำเจ้ำของต้องเสยี ทรพั ย์ เสยี ช่อื เสียง
เงนิ ทอง เสียน้องเสยี พ่ี เสียท่ีเสยี ทำง เสยี อย่ำงเสยี ธรรมเนียม เสียเหลีย่ มเสียแต้ม เพรำะลุแก่อำนำจโทโส ให้
คณุ ให้ทุกขแ์ กเ่ จ้ำของมำกนกั กล็ กั ษณะแรก โทโสจะเกดิ ขนึ้ เกดิ ตรงท่ไี หนก่อนนะขอรับ ขอให้แกใ้ หข้ ำว

สมเด็จน่ังหลับ กรนเสียด้วย ทำเปน็ ไมไ่ ด้ยินคำถำม ท่ำนเจ้ำถกึ ก็ถำมซ้ำอีก ๒-๓ ครั้ง สมเด็จก็นงั่ เฉย ทำ่ นเจ้ำ
ถึกชกั ฉิว ตวำดแหวออกมำว่ำ ถำมแล้วไม่ฟัง นง่ั หลับใน ท่ำนเจำ้ ถึกตวำดซ้ำไป สมเดจ็ ตกใจตน่ื แล้วด่ำออกไป
ด้วยว่ำ อ้ำยเปรต อ้ำยกำก อ้ำยห่ำ อ้ำยถึกกวนคนหลบั ฯ

ทำ่ นเจำ้ ถกึ มพี ืน้ ฉิวอยู่กอ่ นแล้ว ครนั้ ถูกดำ่ เสยี เกียรติในท่ีประชมุ ชนเชน่ นั้น ก็ชักโกรธ ชักฉวิ ลืมสังวร จงึ จบั
กระโถนปำมำตรงสมเด็จ สมเดจ็ นงั่ ภำวนำกนั ตัวอยู่ กระโถนไพลไ่ ปโดนเสำศำลำ กระโถนแตกเปร้ียงดัง
สมเด็จเทศน์ผสมซ้ำ แก้ลกั ษณะโทโสวำ่ สปั ปรุ ุษดซู ิ เหน็ ไหมๆ เจำ้ คุณพิมลธรรมองค์นี้ ทำ่ นดแี ตช่ อบคำเพรำะๆ
แตพ่ อไดย้ ินเสียงด่ำ ก็เกิดโทโสโอหงั เพรำะ อนิษฐำรมณ์ รูปร่ำงทีไ่ มอ่ ยำกจะดู มำกระทบนัยน์ตำ เสียงทไ่ี ม่น่ำ
ฟังมำกระทบหู กล่ินที่ไมน่ ำ่ ดมมำกระทบจมูก รสที่ไม่นำ่ กินมำกระทบล้ิน สัมผัสควำมกระทบถูกมำกระทบถงึ
กำย ควำมคิดทไี่ มส่ มคิดผิดหมำยมำกระทบใจ ใหเ้ ป็นมลู มำรับ เกิดสัมผสั สชำเวทนำข้ึนภำยใน สำรวมไมท่ นั จึง
ดนั ออกข้ำงนอก ให้คนอื่นเขำรูว้ ำ่ โกรธ ดงั เช่นเจ้ำคณุ พิมลธรรมเป็นตัวอยำ่ ง ถ้ำเขำยอท่ำนว่ำ พระเดชพระคุณ

49

แลว้ ทำ่ นยิ้ม พอเขำด่ำก็โกรธ โทโสเกดิ ในทวำร ๖ เพรำะถูกกระทบกระเทือนส่งิ ทเ่ี ป็นอนิษฐำรมณไ์ ม่พอใจ ก็
เกิดโกรธ แตโ่ ทโสกไ็ ม่มีอำนำจกดข่เี จ้ำของเลย เว้นแตเ่ จ้ำของโง่ เผลอสติ เชน่ พระพมิ ลธรรมถกึ น้ี โทโสจงึ กด
ขีไ่ ด้ ถ้ำฉลำดแล้ว ระวังต้งั สตไิ มพ่ ลุม่ พล่ำม โทโสเป็นสหชำติเกดิ กบั ดว้ ยจติ ไม่ได้ติดอยู่กบั ใจ ถึงเปน็ รำกเหง้ำ
เค้ำมูลกจ็ ริง แตเ่ จ้ำของไม่นำพำ หรือคอยห้ำมปรำมข่มขู่ไว้ โทโสก็ไม่เกิดข้ึนได้ เปรียบเช่นพชื พนั ธ์ุเคร่ือง
เพำะปลกู เจ้ำของอยำ่ เอำไปดอง อย่ำเอำไปแช่ อยำ่ เอำไปหมักในทฉี่ ำแฉะแล้ว เคร่อื งพชื พนั ธ์ุ เพำะปลูกท้ังปวง
ไมถ่ ูกข้นึ แล้วงอกไม่ได้ โทโสก็เช่นกัน ถ้ำไม่รบั ใหก้ ระทบถกู แลว้ โทโสกไ็ ม่เกิดข้นึ ได้ ดูแต่ท่ำนเจ้ำถกึ เปน็
ตัวอย่ำง ตัวท่ำนเป็นเพศพระ ครน้ั ท่ำนขำดสังวรทำ่ นก็กลำยเปน็ พระ กระโถนเลยพลอยแตกโพละ เพรำะโทโส
ของท่ำน ท่ำนรับรองยดึ ถือทำใหม้ ูลแฉะช้ืน จงจำไว้ทุกคนเทอญ.

ตอนท่ี ๙

มีรำยหน่ึง นมิ นต์ท่ำนเจำ้ คู่นี้ไปเทศน์ ท่ำนก็ใสก่ ัน เปน็ ต้นวำ่ สมเด็จเจ้ำโต ทำ่ นเทศน์บอกสปั ปรุ ุษวำ่ รปู ไป
เทศน์กลำงทุ่งนำ ยงั มีหมำตัวหนงึ่ เจำ้ ของเขำเรยี กว่ำอ้ำยถึก อำ้ ยถึกมันแฮ่ใสอ่ ำตมำ อำตมำไม่มีอะไรจะสอู้ ำ้ ย
ถกึ หมำ มแี ต่หุบบำนๆ สู้มันจ๊ะ หุบบำนไม่ใช่อ่นื หยำบคำยหนำจำ๋ คือฉนั เอำรม่ น่ีเอง กำงบำนแล้วหบุ เขำ้ จ๊ะ หุบ
บำนๆ แล้วหมำหนี
ครั้งหนึ่ง เขำ้ บิณฑบำตเวรในพระบรมมหำรำชวัง พอถงึ ตรงบันทรง เสอื่ กระจูดลื่นแทบคะมำ แต่ท่ำนหลักดี มี
สตสิ ัมปชญั ญะมำก ท่ำนผสมกม้ ลงจบั มุมเส่อื เตน้ ตำมเสอื่ ตบุ้ ตบั้ ไป สมเด็จพระจอมเกล้ำฯ ทรงทำพระสุรเสยี ง
โอะ่ โหะ่ ๆ ๆ เจ้ำคณุ หลกั ดี เจ้ำคณุ หลักดี ทรงชมฯ

คร้งั หนึง่ ไปเทศน์บำ้ นขุนนำงผ้หู น่ึง พอบอกศกั รำชแล้วคุยขึน้ ว่ำ วันนเ้ี สยี งคลอ่ ง เทศน์กมุ ำรกไ็ ด้ ขนุ นำงผนู้ ั้น
เลยใหเ้ ทศนท์ ำนองกุมำร ขำ่ ววำ่ เพรำะดี (หญิงชอบ) ครั้งหน่ึงเขำนิมนตไ์ ปเทศนท์ ่ีศำลำบ้ำนหมอ้ อ.บำงตะนำว
ศรี กัณฑ์ชูชก ท่ำนไปถงึ ยำมสำม เขำไปนอนกันหมด ทำ่ นไปถงึ ให้คนแจวตีกลองตูมๆ ขึ้นแลว้ ท่ำนเทศนช์ ชู ก
ไปองคเ์ ดยี ว ชำวบำ้ นตอ้ งลุกขึน้ มำฟังท่ำนยนั รุ่ง

ครง้ั หนึ่งไปเทศนท์ บี่ ้ำนขุนนำงทอี่ ยู่ริมน้ำ เขำต้ังธรรมำสน์เทศน์ ยงั ไม่มำ ทำ่ นจอดเรือถือคัมภรี ข์ ้ึนธรรมำสน์
เทศนว์ ำ่ อด อด อด อดๆ อยู่นำน แลว้ ลงธรรมำสนไ์ ป

ครง้ั หนึ่ง ไปทอดกฐนิ ทำงอ่ำงทอง ไปจอดนอนท้ำยเกำะใหญ่ ท่ำนจำวดั บนโบสถว์ ดั ท่ำซุง คนเรอื นอนหลับหมด
ขโมยล้วงเอำเครื่องกฐินไปหมด ท่ำนดีใจยิ้มแต้ แล้วกลบั ลงมำ ชำวบำ้ นถำมว่ำ ทำ่ นทอดแล้วหรือ ท่ำนตอบวำ่
ทอดแล้วจะ้ แบง่ บุญให้ด้วย แล้วทำ่ นเลยซื้อหม้อบำงตะนำวศรบี รรทุกเตม็ ละ ใครถำมว่ำเจ้ำคณุ ซื้อหม้อไป
ทำไมมำก ทำ่ นตอบว่ำ ไปแจกชำวบำงกอกจะ๊ แล้วแจวลัดเข้ำคลองบำงลำพู ไปออกคลองโอง่ อ่ำง คลองสะพำน
หนิ เลยออกไปแมน่ ้ำ แล้วข้นึ วัดระฆัง วนั นนั้ หวยออก ม หนั หนุ เชดิ คนคอยหวยถูกกันมำก แต่กินห้หู มด ท่ำน

50


Click to View FlipBook Version