The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-23 21:41:23

ตำนานภิกษุณี

ตำนานภิกษุณี

Keywords: ตำนานภิกษุณี

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

พระภิกษณุ ี

ในสมยั พระพุทธกาล

ภิกษุณี คือ
หญงิ ที่ไดอ ปุ สมบทแลว , พระผูหญิงในพระพุทธศาสนา
ความเปนมา
ภิกษุณี เกดิ ขน้ึ ในพรรษาที่ ๕ แหง การบําเพญ็ พทุ ธกิจ โดยมี
พระมหาปชาบดีโคตรมี พระมาตจุ ฉา ซงึ่ เปน พระมารดาเล้ยี งของ
เจาชายสิทธัตถะ เปนพระภกิ ษณุ ีรูปแรก

ดังเรื่องปรากฏ
ในภกิ ษณุ ีขันธกะและอรรถกถา สรุปไดค วามวา
หลงั จากพระเจา สทุ โธทนะ ปรินิพพานแลว วันหน่ึงขณะที่พระพุทธเจา
ประทบั อยูที่ นโิ ครธาราม ในเมอื งกบิลพสั ดุ พระนางมหาปชาบดีโคตร
มี เสด็จเขา ไปเฝา และทลู ขออนุญาตใหสตรีสละเรือนออกบวชในพระ

2

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

ธรรมวินัย แตการณนั้นมใิ ชงาย พระพุทธเจา ตรสั หามเสียถึง ๓ คร้งั

ตอมาพระพุทธเจาเสดจ็ ไปยังเมืองเวสาลี ประทบั ที่กูฎาคารศาลาในปา
มหาวัน พระนางมหาปชาบดโี คตรมี ไมล ะความพยายาม ถึงกับปลงผม
นงุ หมผากาสาวะเอง ออกเดินทางพรอมดวยเจาหญงิ ศากยะจํานวนมาก
(อรรถกถาวา ๕๐๐ นาง) ไปยงั เมืองเวสาลแี ละไดมายนื
กันแสงอยทู ซ่ี ุมประตูนอกกูฏาคารศาลาพระบาทบวม พระวรกาย
เปรอะเปอนธุลี
พระอานนทมาพบเขา สอบถามทราบความแลว รับชวยไปกราบทูลขอ
อนุญาตให แตเ มอื่ พระอานนทก ราบทูลตอพระพทุ ธเจากถ็ กู พระองค
ตรสั หา มเสยี ถึง ๓ ครง้ั

ในท่ีสุด พระอานนทเปล่ียนวธิ ใี หม โดยกราบทลู ถามวา

“ʵÃÕÍÍ¡ºÇªã¹¾ÃиÃÃÁÇÔ¹ÑÂáŌǨÐÊÒÁÒöºÃÃÅâØ Ê´Ò»˜µµÔ¼Å

¨¹¶Ö§ÍÃ资 ¼Å䴌ËÃ×ÍäÁ‹”
พระพทุ ธเจา ตรัสตอบวา ...ได
พระอานนทจึงอา งเหตผุ ลนั้น พรอ มท้งั การทีพ่ ระนางมหาปชาบดโี คตร
มเี ปนมาตุจฉาและเปน พระมารดาเลี้ยง มีอปุ การะมากตอพระองค แลว

3

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

ขอใหท รงอนุญาตใหส ตรีออกบวช
พระพุทธเจา ทรงอนญุ าตโดยมีเง่อื นไขวา พระนางจะตองรับปฏบิ ตั ิ
ตาม “ครุธรรม ๘ ประการ”
พระนางยอมรบั ตามพุทธานุญาตท่ีใหถ ือวา การรับคุณธรรมน้ันเปนการ
อุปสมบทของพระนาง สว นเจา หญิงศากยะ ท่ตี ามมาทงั้ หมด
พระพทุ ธเจาตรัสอนุญาตใหภิกษสุ งฆอุปสมบทให

ในคราวนัน้ พระพทุ ธเจาไดต รสั แกพระอานนทวา ¡ÒÃãËʌ µÃºÕ ǪáÅÐ

໹š à˵ãØ ËŒ¾ÃËÁ¨ÃÏ ¤Í× ¾ÃÐÈÒʹÒËÃ×ÍÊÑ·¸ÃÃÁµé§Ñ ÍÂä‹Ù Á‹ä´ÂŒ §Ñè ¹×

¨ÐÁÍÕ ÒÂÊØ ¹éÑ à¢ÒŒ à»ÃÕºàËÁ×͹µÃСÅÙ ·ÁèÕ ºÕ ØÃÉØ ¹ŒÍÂÁÕʵÃÕÁÒ¡¶¡Ù ¼ÙŒÃŒÒÂ

·íÒÅÒÂ䴌§‹Ò ËÃ×ÍàËÁÍ× ¹¹Ò¢ÒŒ Ç·ÁèÕ Õ˹͹¢Â͡ŧ ËÃ×ÍàËÁ×͹äË
Í͌ ·èÕÁàÕ ¾ÅÂÕé ŧ Â͋ ÁÍÂäً ´ŒäÁ‹ ×¹¹Ò¹พระองคทรงบญั ญตั ิครุธรรม ๘
ประการ กาํ กบั ไวก็เพื่อเปน หลักคุมกันพระศาสนาเหมือนสรา งคันกัน้
สระใหญไ วก อน เพอื่ กันไมใหนา้ํ ไหลลนออกไป
(พระศาสนาจกั อยไู ดยั่งยืนเชนเดมิ ) และไดท รงแสดงเหตผุ ลที่ไมให
ภิกษไุ หวภ กิ ษุณี แตใ หภกิ ษณุ ีไหวภ กิ ษไุ ดฝ า ยเดยี ว เพราะนกั บวชใน
ลัทธศิ าสนาอน่ื ท้ังหลาย ไมม ีใครไหวส ตรีกันเลย
กลาวโดยสรปุ วา

4

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

หากถอื เหตผุ ลทางดา นสภาพสังคมศาสนาแลว จะไมท รงอนญุ าตให
สตรีบวชเลย แตด ว ยเหตุผลในดา นความสามารถโดยธรรมชาติ จึงทรง
อนญุ าตใหสตรีบวชได

เมือ่ ภิกษณุ ีสงฆ เกดิ ขึ้นแลว สตรีท่ีจะบวชตอมาตอ งเปน สิกขมานา
รักษาศีล ๖ ( คอื ๖ ขอแรกในศีล ๑๐) ไมใหขาดเลยตลอด ๒ ปก อน จึง
ขออุปสมบทได และตองรบั การอปุ สมบทโดยสงฆสองฝา ย คอื
บวชโดยภิกษุณสี งฆแ ลว ตองบวชโดยภกิ ษุสงฆ เจริญแพรหลายใน
ชมพูทวีปอยชู า นาน เปนแหงใหก ารศึกษาแหลงใหญแ กสตรีท้งั หลาย
ภกิ ษณุ ีสงฆประดษิ ฐานในลังกาทวีป ในรชั การของพระเจาเทวานัมปย
ตสิ สะ โดยพระสงั ฆมติ ตาเถรี พระราชธิดาของพระเจาอโศกมหาราช
เดนิ ทางจากชมพทู วปี มาประกอบอปุ สมบทกรรมแกนางอนุฬาเทวี
ชายาของพระเจา มหานาค อนุชาของพระเจา เทวานัมปยตสิ สะ
พรอ มดว ยสตรอี ่ืนอกี ๑,๐๐๐ คน

ภกิ ษณุ สี งฆเจรญิ รุงเรอื งในลงั กาทวีปยาวนานไมนอยกวา ๑,๐๐๐ ป แต
ในทส่ี ุดไดสูญส้นิ ไปดว ยเหตใุ ด สากลใดไมปรากฏชัด สวนในประเทศ
ไทยไมปรากฏหลักฐานวา ไดเ คยมีการประดิษฐานภิกษุณสี งฆ

5

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

ᵋ»˜¨¨ØºÑ¹¹éÕ »ÃÐà·Èä·ÂÁÕ¾ÃÐÀÔ¡ÉسÕà¡Ô´¢Öé¹áŌÇ໚¹¾ÃÐÀÔ¡ÉسշÕè
ࡋ§´ÒŒ ¹ÍÀÔ¸ÃÃÁ ÁÕ·Ñé§ÍغÒÊ¡ ÍغÒÊÔ¡Òä»»¯ÔºÑµÔ¸ÃÃÁ ºÒ§¤ÃéѧÁÕ
¤³Ð¤ÃÙÍÒ¨ÒϹíÒ¾ÒÅÙ¡ÈÔɏ任¯ÔºÑµÔ¸ÃÃÁ·Õè¹èѹ

Êíҹѡ»¯ÔºÑµÔ¸ÃÃÁ ¹ÔâøÒÃÒÁ 127 ËÁً 6 µ.´ÍÂá¡ŒÇ Í.¨ÍÁ·Í§ ¨.
àªÕ§ãËÁ‹ 50160 â·Ã 084-8042040

6

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

¾ÃÐÁËÒ»ªÒº´Õ⤵ÃÁÕà¶ÃÕ

เอตทคั คะในฝา ยผูรตั ตัญู

พระมหาปชาบดเี ถรี เปนราชธดิ าของพระเจาสุปปพุทธะ แหง พระนคร
เทวทหะ เปน พระกนษิ ฐภคินขี องพระนางสริ ิมหามายา (พทุ ธมารดา)
พระประยรู ญาตถวายพระนามวา
“โคตม”ี
เปนท้ังพระนา นางและพระมารดาเล้ียง
พระนางสิริมหามายาทรงอภิเษกเปนพระมเหสีของพระเจาสทุ โธทนะ
ศากยราช แหง พระนครกบลิ พสั ดุ ตอ มาพระบรมโพธิสตั วจ ตุ จิ าก
สวรรคช ัน้ ดุสติ ทรงถือปฏิสนธิในพระครรภของพระนางสริ ิมหามาย
ราชเทวี พอประสตู พิ ระราชโอรส คือเจา ชายสิทธัตถะไดเ พียง
๗ วัน พระนางสิริมหามายาราชเทวี ก็สวรรคตไปบังเกิดเปนเทพบุตร
สวรรคช ้ันดสุ ิต พระเจาสุทโธทนะ ทรงมอบใหก ารเลย้ี งดูเจา ชายสิทธตั
ถะแกพระนางมหาปชาบดโี คตรมี ผูมีศักดิ์เปน พระมาตุจฉา (พระนา
นาง) ซึ่งตอ มาไดส ถาปนาพระนางไวในตาํ แหนง พระอัครมเหสี และ
ไดป ระสูตพิ ระราชโอรสนามวา “นนั ทกมุ าร” และพระราชธดิ านามวา

7

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

“รูปนันทา”

ครนั้ เมือ่ พระบรมโพธสิ ัตวเ สดจ็ ออกผนวชไดบ รรลุพระสัพพัญตุ
ญาณแลว เสดจ็ ไปโปรดพระประยรู ญาติ ณ กรงุ กบิลพสั ดุ เสดจ็ เขาไป
บิณฑบาตในพระนคร และทรงแสดงธรรมกถาโปรดพระเจาสทุ โธท
นะพุทธบิดา ในระหวา งถนน ใหด ํารงอยูใ นอริยภูมิชนั้ พระโสดาบัน
ครั้นวันท่ี ๒ เสด็จเขาไปบิณฑบาตในถนน ใหดํารงอยใู นอรยิ ภูมิชัน้
พระโสดาบัน คร้ันวันท่ี ๓ เสดจ็ เขา ไปรับอาหารบณิ ฑบาตในพระราช
นเิ วศน ทรงแสดงธรรมโปรดพระพุทธบิดาและพระนา นางยงั พระบดิ า
ใหดํารงอยูในพระสกทาคามี ยงั พระนานางใหบรรลุพระโสดาปตติ
ผล และในวนั รงุ ขึ้น ทรงแสดงมหาปาลชาดกโปรดพระเจา สุทโธทนะ
พอจบลง พระพทุ ธบิดาทรงบรรลุเปนพระอริยบุคคลชั้นพระอนาคามี
ขอบวชแตผ ดิ หวงั
ในวันท่ี ๔ แหง การเสดจ็ โปรดพระประยูรญาติ พระพทุ ธองคเสด็จไป
ในพิธอี าวาหมงคลอภิเษกสมรส นันทกุมารพระอนุชาตางพระมารดา
กบั พระนางชนปทกลั ยาณี เม่อื เสร็จพิธีอาวาหมงคล พระพุทธองคได
นํานทั กุมาร ไปบวชในวันนั้น ครั้นถงึ วนั ท่ี๗ แหงการเสด็จกรุง
กบิลพัสดุ ไดท รงพาราหลุ กุมารออกบรรพชาเปนสามเณรอีก จงึ ยงั

8

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡ÉسÕ

ความเศราโศกใหบังเกดิ แกพระเจาสุทโธทนะยิ่งนกั เพราะเกรงวาจะ
ขาดรัชทายาทสบื สนั ตวิ งศ
ครนั้ กาลตอมา พระเจา สทุ โธทนะไดบรรลุพระอรหัตผลแลว เขาสู
ปรินิพพาน เม่ือการถวายพระเพลิงพระบรมศพเสร็จสนิ้ ลงแลว พระ
นางมหาปชาบดีโคตรมีรูสึกวาเหวพระทัย มพี ระประสงคจะทรงผนวช
ในพระพุทธศาสนาจงึ เสด็จไปเฝาพระบรมศาสดาท่ีนโิ ครธาราม กราบ
ทูลขออปุ สมบท แตพ ระพทุ ธองคไ มท รงอนุญาตใหส ตรบี วชใน
พระพุทธศาสนา พระนางกราบทลู ออ นวอนถึง ๓ คร้งั ก็ไมเปนผล
รูส ึกผิดหวังเศราโศกโทมนสั เปนอยางยง่ิ จงึ กราบทูลลาเสด็จ
กลบั พระราชนิเวศน

พระบรมศาสดาประทบั ณ นโิ ครธาราม กรุงกบลิ พัสดุ โดยสมควรแก
พระอธั ยาศยั แลว พรอ มดวยภิกษสุ งฆบริวาร เสด็จไปยงั พระนครเวสาลี
ประทบั อยู ณ กฏู าคารศาลา ปามหาวนั พระอานนทช วยกราบทลู จึงได
บวช ขณะนัน้ พระนางมหาปชาบดีโคตมี ผูม พี ระทัยเปย มดวยศรัทธา
รับส่ังใหชา งกลั บกมาปลงกระเกศา แลว ครองผา กาสาวพสั ตร นาํ พาศา
กิยนารีเปนบรวิ ารประมาณ ๕๐๐ พระองค
(นางกษัตรยิ เ หลา น้ีสวามีออกบวชไปกอนแลว ) เสด็จมุงตรงไปยัง

9

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô É³Ø Õ

เมอื งเวสาลแี ลว เขาไปเฝา พระผูมีพระภาคเจา กราบทูลออนวอนของ
อปุ สมบท ถงึ อยา งนั้น พระพุทธองคก ็ยงั ไมท รงอนุญาต จึงเสดจ็ ออกมา
ยนื รองไหอยทู ่ีซุมประตู ขณะนัน้ พระอานนทผานมาพบจึงสอบถาม
ทราบความโดยตลอดแลว พระเถระรูส ึกสงสารคดิ จะชวยพระนาง จงึ
เขา เฝากราบทูลถามพระพทุ ธองควา:

“¢ÒŒ áµ¾‹ ÃмÙÁŒ ¾Õ ÃÐÀÒ¤à¨ÒŒ ¶ŒÒʵÃպǪ㹾ÃÐÈÒʹÒáÅŒÇ ÍÒ¨·íÒãˌ

ᨧŒ «Ö§è ¾ÃÐâÊ´Ò»˜µµÔ¼Å ÃÐÊ¡·Ò¤ÒÁ¼Ô Å Ã͹ҤÒÁԼŠáÅоÃÐ

ÍÃËѵ¼Åä´ËŒ ÃÍ× äÁ‹ ¾ÃÐ਌ҢҌ ?”
“ดูกอ นอานนท อาจทําใหแ จง ไดเหมือนบรุ ษุ เพศทุกประการ”
“ขา แตพระองคผ ูเจรญิ ถาเชน นน้ั ควรจะอนญุ าตเพอ่ื อนุเคราะหแกพระ
นางมหาปชาบดีโคตมี ผมู คี ุณูปการบํารุงเลี้ยงดูพระองคมาตัง้ แตทรง
พระเยาว ใหสมปรารถนาดวยเถดิ พระเจาขา”
“ดกู อนอานนท ถาปชาบดโี คตรมีรับประพฤตคิ รธุ รรม ๘ จากพระผูมี
พระภาคโดยลาํ ดบั คือ:

๑. ภิกษุณีแมอ ปุ สมบทแลวได ๑๐๐ พรรษา กพ็ ึงเคารพกราบไว
พระภิกษุ แมอ ุปสมบทไดวันเดยี ว
๒. ภกิ ษุณี จะอยูจาํ พรรษาในอาวาสท่ไี มมีพระภิกษุน้ันไมได ตอ งอยู

10

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

ในอาวาสท่ีมีพระภกิ ษุ
๓. ภกิ ษุณี จะตอ งทําอุโบสถกรรม และรบั ฟงโอวาทจากสํานักภิกษุ
สงฆทกุ กึ่งเดอื น
๔. ภกิ ษณุ ี อยจู าํ พรรษาแลว วันออกพรรษาตอ งทําปวารณาในสํานกั
สงฆท งั้ สองฝาย
(ภกิ ษสุ งฆแ ละภิกษุณีสงฆ)
๕. ภิกษณุ ี ถาตองอาบัติสงั ฆาทิเสส อยูปริวาสกรรม ตอ งประพฤติ
มานตั ในสงฆส องฝาย
๖. ภกิ ษณุ ี ตองอุปสมบทในสํานักสงฆส องฝาย หลงั จากเปนนาง
สกิ ขมานารกั ษาสิกขาบท ๖ ประการ
คือ ๑. เวนจากการฆาสตั ว ๒. เวนจากการลักขโมย ๓. เวน
จากการประพฤตผิ ดิ พรหมจรรย ๔.เวนจากการพูดเท็จ ๕. เวน จาการดม่ื
สุราเมรัยและของมึนเมา ๖. เวน จากการรับประทานอาหารในเวลา
วิกาล
ทง้ั ๖ ประการน้ีมิใหข าดตกบกพรองเปน เวลา ๒ ป ถา บกพรองใน
ระหวาง ๒ ป ตองเริ่มปฏบิ ตั ิใหม
๗. ภกิ ษุณี จะกลาวอกั โกสกถาคือ ดาบรพิ าษภกิ ษุ ดว ยอาการอยางใด
อยางหน่ึงมิได

11

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡ÉسÕ

๘. ภิกษุณี ต้งั แตวันอุปสมบทเปนตนไป พึงฟงโอวาทจากภกิ ษุเพียงฝาย
เดยี ว จะใหโอวาทภกิ ษุมไิ ด

พระเถระจดจํานําเอาครธุ รรมท้งั ๘ ประการนี้มาแจง แกพ ระนางมหาป
ชาบดีโคตมี พระนานางไดส ดับแลวมพี ระทยั ผอ งใสโสมนัส ยอมรบั
ปฏิบัตไิ ดทกุ ประการ พระพทุ ธองคจ ึงประทานการอุปสมบทใหแ กพ ระ
นานางสมเจตนาพรอ มศากยขดั ติยนารีทีต่ ิดตามมาดวยท้ังหมด

เม่อื พระนางมหาปชาบดีโคตมี ไดอปุ สมบทสาํ เร็จเปนนางภิกษณุ แี ลว
เรียนพระกรรมฐานในสาํ นักพระบรมศาสดา อุตสาหบ าํ เพญ็ เพียรดว ย
ความไมประมาทไมนานนักก็ไดบรรลพุ ระอรหัตผล พรอ มดวยภกิ ษณุ ี
บริวารทั้ง ๕๐๐ รปู และไดบ ําเรฑญกิจพรศาสนาเต็มกาํ ลงั
ความสามารถ
ลําดับตอมา เม่ือพระศาสดาประทับ ณ พระเชตะวันมหาวหิ าร ทรง
สถาปนาภิกษุณีในตาํ แหนง เอตทัคคะ หลายตาํ แหนง พระพุทธองคทรง
พจิ ารณาเห็นวา พระนางมหาปชาบดีโคตมี เปนผูม วี ัยวฒุ ิสูง คอื รกู าล
นาน มีประสบการณมาก รเู หตุการณต าง ๆ มาตงั้ แตตน จงึ ทรง

12

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô É³Ø Õ

สถาปนาพระนางนําแหนงเอตทัคคะ เปนผูเลศิ กวา ภกิ ษุณีทัง้ หลาย ใน
ฝาย ผูรตั ตัญู คือ ผูร รู าตรีนาน

13

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô É³Ø Õ

¾ÃÐà¢ÁÒà¶ÃÕ

เอตทัคคะในฝายผมู ีปญ ญา

พระเขมาเถรี เกิดในราชสกลุ กรงุ สาคละ แควน มทั ทะ พระประยรู ญาติ
ไดใ หพ ระนามวา “เขมา” เพราะพระนางมีผวิ พรรณเลือ่ มเร่ือดังสีนาํ้
ทอง เมอ่ื เจรญิ พระชันษาแลว ไดอภเิ ษกสมรสเปน มเหสขี องพระเจาพิม
พิสารแหงนครราชคฤห เมอื่ พระบรมศาสดาประทับอยู ณ พระวหิ าร
เวฬุวัน ใกลกรงุ ราชคฤหน้นั พระนางไดส ดับขา ววา พระพุทธองคท รง
แสดงโทษในรูปสมบตั ิและเพราะความทพ่ี ระนางเปนผูห ลงมัวเมาใน
รูปโฉมของตนเอง จึงไมกลา ไปเขาเฝาพระทศพล ดวยเกรงวาพระพุทธ
องคจ ะแสดงโทษในรูปโฉมของพระนางหลงอุบายถูกหลอกใหไ ปวัด
ฝายพระเจาพมิ พสิ าร กท็ รงดํารวิ า “เราเปนอคั รอุปฏ ฐากของพระ
ศาสดา แตอคั รมเหสี ของอริยสาวกเชนเราน้กี ลับไมไปเฝา พระทศพล
ขอ นี้เราไมช อบใจเลย” ดังน้นั พระองคจึงคดิ หาอุบายดวยการใหพวก
นักกวผี ูฉลาด แตบทกวีประพนั ธถึงคณุ สมบัตคิ วามงดงามของพระ
วิหารเวฬุวนั ราชอทุ ยานแลว รับส่งั ใหนาํ ไปขบั รองใกล ๆ ที่พระนาง

14

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

เขมาเทวีประทับ เพื่อใหทราบสดับบทประพันธนนั้

พระนางไดสดับคําพรรณนาความงดงามของพระราชอุทยานแลว ก็มี
พระประสงคจะเสดจ็ ไปชม จงึ เขา ไปกราบทลู พระราชาผสู ามี ซงึ่ ทาว
เธอกท็ รงยนิ ดีใหเ สดจ็ ไปตามพระประสงค เม่ือพระนางไดเ สด็จชม
พระราชอุทยานจนส้ินวันแลว ใครจะเสดจ็ กลับ พวกราชบรุ ุษทงั้ หลาย
ไดน ําพระนางไปยังสํานกั ของพระบรมศาสดาทัง้ ๆ ท่พี ระนางไมพ อ
พระทัยเลยพระบรมศาสดาทอดพระเนตรเห็นพระนางกาํ ลังเสด็จมา จึง
ทรงเนรมติ นางเทพอัปสรนางหนึ่ง ซงึ่ กําลังถอื พัดกา นใบตาลถวายงาน
พัดใหพระองคอยเู บ้ืองหลงั พระนางเขมาเทวี เห็นนางเทพอัปสรน้ัน
แลวถงึ กบั ตกพระทยั ดําริวา
“แยแลว สิเรา สตรที ี่งามปานเทพอัปสรเห็นปานนย้ี ืนอยูใกล ๆ พระทศ
พล แมเราจะเปนปริจาริกา หญงิ รบั ใชของนาง กย็ ังไมค คู วรเลย เพราะ
เหตุไร เราจึงเปนผูต กอยูในอํานาจจิตคดิ ชั่วหลงมัวเมาอยใู นรปู เชนนี้
หนอ”
พระนางยนื ทอดพระเนตรเพงดูสตรีนน้ั อยู ในขณะน้ันเอง พระบรม
ศาสดา ไดทรงอธษิ ฐานใหส ตรีน้นั มีสรีระเปล่ียนแปลงลวงเลยปฐมวยั
แลวยางเขา สูมชั ฌิมวัย ลวงจากมชั ฌมิ วัยแลวยา งเขาสปู จ ฉิมวัย เปนผูมี

15

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

หนงั เหี่ยวยน ผมหงอก ฟนหกั แกห งอม แลว ลม ลงกล้ิงพรอมกบั
พดั ใบตาลนน้ั
พระนางเขมาเทวี ไดท อดพระเนตรเห็นรปู สตรีน้ันโดยตลอดแลว จึง
ดํารวิ า
“สรีระทสี่ วยงามเห็นปานน้ียังถึงงามวบิ ัตอิ ยา งน้ีได แมสรรี ะของเราก็
จักมีคติเปนไปอยา งนี้เหมือนกัน”
ขณะท่พี ระนางกาํ ลงั มพี ระดาํ ริอยางนอ้ี ยูนั้น พระพุทธองคไดต รัสพระ
คาถาภาษิตวา:
“ชนเหลาใดถกู ราคะยอ มแลว ยอมตกไปในกระแสราคาเหมอื นแมลง
มุมตกไปในขา ยใยท่ตี นทาํ เองเม่ือชนเหลา น้นั ตัดกระแสน้ันได โดยไม
มีเยื่อใยแลวละกามสขุ เสียได ยอมออกบวช”

เม่อื จบพระพุทธดํารัสคาถาภาษิตแลว พระนางเขมาเทวี ไดบ รรลพุ ระ
อรหัตผลพรอมดวยปฏสิ ัมภิทาทัง้ หลาย ในอิรยิ าบถทปี่ ระทับยืนอยู
นัน่ เอง
พระอรหันตฆราวาสเปนไดไมนานธรรมดาผูอ ยคู รองเรือน เมื่อบรรลุ
พระอรหัตแลว จําตอ งปรินิพพานหรือไมกบ็ วชเสยี ในวันนั้น เพราะเพศ
ฆราวาสไมส ามารถจะรองรบั ความเปนพระอรหตั ถได แตพระนางรูวา

16

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

อายสุ งั ขารของตนยงั เปน ไปได จึงเสดจ็ กลับพระราชนเิ วศนใหพระ
เจา พิมพสิ ารพระสวามที รงอนญุ าตการบวชกอ น แมพระราชาก็ทรง
ทราบโดยสญั ญาณคอื อาการท่พี ระนางแสดงวา บรรลอุ รยิ ธรรมแลว
ทรงพอพระทยั เปน อยางยง่ิ ใหพระนางประทับบนวอทองแลว นาํ ไป
อุปสมบทในสํานักของภกิ ษุณสี งฆ
เมื่อพระนางบวชแลวไดน ามวา “พระเขมาเถร”ี เพราะอาศัยเหตทุ ่พี ระ
นางมปี ญ ญามาก บรรลุพระอรหัตผลทั้ง ๆ ทอี่ ยูในเพศฆราวาส พระ
บรมศาสดาจงึ ทรงยกยองเธอไวในตําแหนง เอตทัคคะ เปนผเู ลศิ กวา
ภกิ ษณุ ีทั้งหลายในฝา ย ผูมปี ญ ญา และทรงแตงตั้งใหเปน อัครสาวกิ า

ฝา ยขวา
วิชชา ความรูแ จง ความรูวเิ ศษ มี ๘ คือ
๑. วิปส สนาญาณ ญาณอันนับเขาในวิปส สนา
๒. มโนมยิทธิ ฤทธิ์ทางใจ
๓. อิทธวิ ธิ ี แสดงฤทธิ์ตาง ๆ ได
๔. ทิพพโสต หูทพิ ย
๕. เจโตปริยญาณ รูจ กั กาํ หนดใจผูอ นื่ ได
๖. ปุพเพนวิ าสานุสสติญาณ ระลกึ ชาตไิ ด

17

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

๗. พิทพจกั ขุ ตาทพิ ย (จตุ ปู ปาตญาณ)
๘. อาสวกั ขยญาณ รูจักทาํ อาสวะใหส้ิน

18

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

¾ÃÐ꼯 ÅÇÃóÒà¶ÃÕ

เอตทัคคะในฝายผมู ีฤทธิ์

พระอุบลวรรณาเถรี เกดิ ในตระกูลเศรษฐี ในกรงุ สาวัตถี บิดามารดาได
ตั้งช่ือใหน างวา “อบุ ลวรรณา” ตามนมิ ติ ลักษณะที่นางมีผวิ พรรณ
เหมอื นกลับดอกอุบลเขยี วเพราะสวยบาดใจจึงตอ งใหบวช
เมือ่ นางเจรญิ วัยเขาสูวัยสาว นอกจากจะมีผวิ งามแลวรปู รา งลักษณะยัง
งดงามสดุ เทาทจี่ ะหาหญิงอื่นทดั เทยี มได จึงเปน ท่หี มายปองตองการ
ของพระราชาและมหาเศรษฐที ่ัวท้ังชมพทู วีป ซง่ึ ตางกส็ งเคร่อื ง
บรรณาการอันมีคาไปมอบใหพรอมกบั สขู อเพื่ออภิเษกสมรสดวย

ฝา ยเศรษฐีผบู ดิ าของนางรูส กึ ลําบากใจดวยคิดวา
“เราไมส ามารถท่ีจะรกั ษานา้ํ ใจของคนท้ังหมดเหลา น้ไี ด เราควรจะหา
อบุ ายทางออกสักอยางหนึง่ ”
แลว จงึ เรยี กลูกสาวมาถามวา :
“แมอ บุ ลวรรณา เจา จะสามารถบวชไดไหม ?”
นางไดฟ งคาํ ของบดิ าแลวรูสกึ รอ นทว่ั สรรพางคกายเหมือนกบั มคี น

19

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

นาํ เอานาํ้ มันทเี่ คีย่ วใหเดือด ๑๐๐ ครัง้ ราดลงบนศีรษะของนาง ดว ยวา
นางไดสั่งสมบุญมาแตอ ดตี ชาติ และการเกิดในชาตนิ ้ีกเ็ ปนชาตสิ ุดทา ย
ของนาง ดงั นั้น นางจึงรบั คําของบดิ าดวยความปติยินดีเปนอยางยงิ่
เศรษฐผี บู ิดาจงึ พานางไปยังสํานักของภิกษสุ งฆแ ลวใหบ วชเปนที่
เรยี บรอ ย

เมอ่ื นางอุบลวรรณาบวชไดไ มนาน ก็ถงึ สาระทีจ่ ะตองไปทาํ ความ
สะอาดโรงอโุ บสถ เธอไดจ ุดประทีปเพื่อขจดั ความมืดแลวกวาดโรง
อุโบสถ เห็นเปลวไฟทีด่ วงประทปี แลวยดึ ถือเอาเปนนมิ ิตร ขณะท่ีกําลัง
ยืนอยนู ้ันไดเขาฌานมีเตโช กสิณเปน อารมณ แลว กระทาํ ฌานน้ันให
เปนฐานเจรญิ วิปสสนา กไ็ ดบรรลุพระอรหัตผล พรอมดวยปฏสิ ัมภทิ า
และอภิญญาทัง้ หลาย ณ ที่น้ันนน่ั เอง

เม่ือพระเถรีสําเร็จเปนพระอรหนั ตแ ลว ไดเ ท่ยี วจาริกไปยงั ชนบทตาง ๆ
แลวกลับมาพกั ท่ีปาอนั ธวัน สมัยนัน้ พระผูม ีพระภาคยังมิไดท รงบัญญตั ิ
หามภิกษุณอี ยใู นปาเพียงลาํ พงั ประชาชนไดช วยกันปลูกกระทอมไวใน
ปาพรอ มท้งั เตียงตั่งกน้ั มา นแลว ถวายเปนทีพ่ กั แกพ ระเถรีน้นั

20

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

ฝา ยนนั ทมาณพ ผูเปนลูกชายของลุงของพระเถรีนน้ั มีจิตหลงรกั นาง
ตงั้ แตยงั ไมบวชเมอ่ื ทราบขาววาพระเถรมี าพักท่ปี า อันธวนั ใกลเ มอื งสา
วตั ถี จงึ ไดถือโอกาสขณะท่ีพระเถรีเขาไปบิณฑบาตในเมืองสาวตั ถนี ้ัน
ไดเขาไปในกระทอมหลบซอนตัวอยใู ตเตยี ง เมอ่ื พระเถรีกลับมา
แลว เขา ไปในกระทอมปดประตแู ลว น่ังลงบนเตยี ง ขณะทีส่ ายตายงั ไม
ปรับเขา กับความมืดในกระทอ ม นนั ทมาณพก็ออกมาจากใตเตยี งตรง
เขา ปลุกปลํา้ ขม ขืนพระเถรี ถึงแมพ ระเถรีจะรองหามวา:

“เจาคนพาล เจา อยาพนิ าศฉิบหายเลย เจา คนพาล เจา อยาพินาศฉิบหาย
เลย”
นันทมาณพ กไ็ มยอมเชื่อฟง ไดทาํ การขม ขืนพระเถรสี มปรารถนาแลว
กห็ ลกี หนีไป พอเขาหลบหนีไปไดไ มไกล แผน ดนิ ใหญก ม็ อี าการ
ประหน่ึงวาไมสามารถจะรองรับนาํ้ หนกั ของเขาเอาไวได จึงออนตัวยุบ
ลงแลวนนั ทมาณพก็จมดงิ่ ลงในแผนดิน ไปเกิดในอเวจีมหานรก
ฝายพระอบุ ลวรรณาเถรี ก็มิไดปดบังเรอื่ งราวท่ีเกิดขึ้น ไดบอกแจงเหตุ
ที่เกดิ ข้ึนกบั ตนน้ันแกภิกษุณีทั้งหลาย ตอ จากนน้ั เรอ่ื งราวของพระเถรกี ็

21

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

ทราบถึงพระบรมศาสดา พระพทุ ธองคไ ดต รสั พระคาถาภาษติ วา:

“คนพาล ยอ มราเริงยินดใี นบาปกรรมลามกท่ตี นกระทาํ
ประดจุ วาดืม่ นาํ้ ผึง้ ที่มีรสหวานจนกวา บาปกรรมน้ันจะใหผ ล
จึงจะไดป ระสบกับความทุกข เพราะกรรมน้ัน”
พระขีณาสพเหมอื นไมแ หง ไมผเุ มื่อกาลเวลาลว งไปภิกษุทัง้ หลาย
สนทนากันในโรงธรรมเกี่ยวกบั เหตุการณของพระอุบลวรรณาเถรี นั้น
วา:
“ทา นทงั้ หลาย เห็นทพี ระขีณาสพทงั้ หลาย คงจะยังมคี วามยนิ ดใี นกาม
สุข คงจะยังจะพอใจในการเสพกาม ก็ทาํ ไมจะไมเสพเลา เพราะทาน
เหลา น้นั มิใชไมผ ุ มิใชจอมปลวก อกี ท้ังเนื้อหนังรางกายท่วั ทั้งสรีระก็
ยังสดอยู ดังนน้ั แมจะเปนพระขณี าสพก็ชอื่ วายังยินดใี นการเสพ
กาม”
พระบรมศาสดาเสดจ็ มาแลว ตรสั ถามทรงทราบเน้ือความที่พวกภิกษุ
เหลาน้นั สนทนากันแลวจึงตรัสวา :

“ภกิ ษทุ ้งั หลาย พระขีณาสพทั้งหลายน้ันไมยินดีในกามสุข ไมเ สพกาม
เปรียบเสมือนหยาดนํ้าตกลงในใบบัวแลวไมต ดิ อยู ยอมกล้งิ ตกลงไป

22

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô É³Ø Õ

และเหมือนกับเมล็ดพันธผุ ักกาด ยอมไมตดิ ต้งั อยูบนปลายเหล็กแหลม
ฉนั ใด ขนึ้ ชอื่ วากามกย็ อมไมซ ึมซาบ ไมติดอยูใ นจติ ของพระ
ขณี าสพ ฉนั นน้ั ”

ตอ มาพระบรมศาสดา ทรงพิจารณาเหน็ ภัยอันจะเกดิ แกก ลุ ธดิ าผเู ขา มา
บวชแลวพกั อาศยั อยูในปา อาจจะถกู คนพาลลามกเบียดเบยี น
ประทษุ รา ย ทาํ อันตรายตอ พรหมจรรยได จงึ รับสง่ั ใหเชิญพระเจา ป
เสนทิโกศลมาเฝา ตรัสใหท ราบพระดาํ รแิ ลว ขอใหสรางทอ่ี ยูอาศยั เพ่ือ
นางภกิ ษณุ ีสงฆใ นทบี่ ริเวณใกล ๆ พระนคร และตงั้ แตน ้ันมา ภิกษณุ กี ม็ ี
อาวาสอยูในบานในเมืองเทา นั้น
พระอบุ ลวรรณาเถรี ปรากฏวา เปน ผชู าํ นาญในการแสดงฤทธต์ิ าง ๆ ดัง
จะเหน็ ไดในวนั ที่ พระบรมศาสดาทรงกระทาํ ยมกปาฏิหาริยน น้ั พระ
เถรีก็กราบทูลอาสาขอแสดงฤทธิเ์ พอื่ ตอสกู ับพวกเดียรถยี แ ทนพระ
พทุ ธองคด ว ย และทรงอาศัยเหตุน้จี งึ ไดทรงสถาปนาพระอุบลวรรณา
เถรี นไี้ วในตําแหนงเอตทัคคะเปน ผเู ลศิ กวา ภกิ ษณุ ีทั้งหลาย ในฝา ย ผมู ี
ฤทธิ์ และเปน อคั รสาวิกาฝา ยซาย

23

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡ÉسÕ

¾Ãл¯Ò¨ÒÃÒà¶ÃÕ

เอตทัคคะในฝา ยผูทรงพระวินยั

พระปฏาจาราเถรี เปน ธิดาของมหาเศรษฐใี นเมอื งสัตถี เมื่ออายยุ า งได
๑๖ ป เปน หญิงมีความงดงามมาก บดิ ามารดาทะนถุ นอมหวงใยใหอยู
บนปราสาท ช้นั ๗ เพือ่ ปองกันการคบหากับชายหนุม

แมกระนน้ั เพราะนางเปน หญงิ โลเลในบรุ ุษ จงึ ไดคบหาเปนภรรยาคน
รบั ใชในบา นของตน ตอมาบดิ ามารดาของนางไดต กลงยกนางใหแ ก
ชายคนหนง่ึ ทมี่ ีชาตสิ กลุ และทรพั ยเ สมอกัน เมอ่ื ใกลก าํ หนดวันวิวาห
นางไดพ ูดกับคนรบั ใชผ เู ปน สามีวา :
“ไดท ราบวา บิดามารดาไดย กฉันใหก ับลูกชายสกุลโนน ตอไปทานก็
จะไมไ ดพบกบั ฉันอีก ถาทา นรักฉันจรงิ ทานก็จงพาฉนั หนไี ปจากท่ีนี่
แลว ไปอยูร วมกนั ท่ีอืน่ เถิด”
เมือ่ ตกลงนดั หมายกนั เปนทเ่ี รียบรอยแลว ชายคนรับใชผ ูเปล่ียนฐานะมา
เปนสามีน้ัน ไดไ ปรออยูขางนอกแลวนางก็หนีบดิ ามารดาออกจากบาน
ไปรวมครองรักครองเรอื นกันในบา นตําบลหน่ึงซง่ึ ไมม คี นรูจัก ชวยกัน

24

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

ทําไร ไถนา เขา ปา เก็บผักหักฟนหาเล้ยี งกนั ไปตามอัตภาพ
นางตอ งตักน้ําตาํ ขาวหงุ ตมดวยมือของตนเอง ไดร บั ความทุกขยากแสน
สาหสั เพราะตนไมเคยทํามากอน

กาลเวลาผา นไป นางไดต ั้งครรภบตุ รคนแรก เม่ือครรภแ กข น้ึ นางจึง
ออนวอนสามีใหพานางกลับไปยังบานของบิดามารดาเพอ่ื คลอดบตุ ร
เพราะการคลอดบตุ รในท่ีไกลจากบดิ ามารดาและญาตินั้นเปนอนั ตราย
แตส ามีของนางก็ไมกลาพากลับไปเพราะเกรงวา จะถกู ลงโทษอยางรุน
แรง จงึ พยายามพดู จาหนวงเหนี่ยวเธอไว จนนางเห็นวา สามไี มพาไป
แน วันหนึ่ง เมื่อสามอี อกไปทํางานนอกบาน นางจึงส่งั เพ่ือนบา น
ใกลเคียงกันใหบ อกกบั สามีดว ยวา นางไปบานของบิดามารดาแลวนางก็
ออกเดนิ ทางไปตามลาํ พัง เมื่อสามีกลับมาทราบความจากเพื่อนบาน
แลว ดวยความหวงใยภรรยาจงึ รบี ออกตดิ ตามไปทนั พบนางในระหวา ง
ทาง แมจ ะออนวอนอยา งไรนางกไ็ มยอมกลับ ทันใดนั้น ลมกัมมชั วาต
คือ อาการปวดทอ งใกลคลอด ก็เกิดข้นึ แกนาง จงึ พากนั เขา ไปใตร ม รมิ
ทาง นางนอนกลงิ้ เกลือกทุรนทุรายเจ็บปวดทุกขท รมานอยางหนัก ใน
ทีส่ ดุ กค็ ลอดบตุ รออกมาดวยความยากลาํ บาก

25

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡ÉسÕ

เมอ่ื คลอดบตุ รโดยปลอดภยั แลว ก็ปรึกษากันวา
“กจิ ที่ตองการไปคลอดที่เรือนของบดิ ามารดาน้ันกส็ ําเรจ็ แลว จะ
เดินทางตอไปก็ไมมปี ระโยชน”
จึงพากนั กลับบานเรือนของตน อยรู วมกนั ตอไป

ตอมาไมนานนักนางก็ต้งั ครรภอ กี เม่อื ครรภแกขึ้นตามลําดบั นางจึง
ออนวอนสามีเหมอื นคร้ังกอน แตส ามีก็ยงั คงไมยนิ ยอมเชนเดิม นางจึง
อุมลูกคนแรกหนีออกจากบานไป แมสามีจะตามมาทนั ชกั ชวนใหกลับ
ก็ไมยอมกลับ จึงเดินทางรวมกันไป เมื่อเดนิ ทางมาไดอ กี ไมไ กลนัก
เกิดลมพายุพดั อยา งแรงและฝนกต็ กลงมาอยา งหนัก พรอมกันนั้นนางก็
ปวดทองใกลจะคลอดข้ึนมาอีก จึงพากันแวะลงขางทาง ฝายสามไี ดไ ป
หาตัดกงิ่ ไมเพ่อื มาทําเปน ท่ีกําบังลมและฝน แตเคราะหร ายถูกงูพิษกัด
ตายในปา น้นั นางทง้ั ปวดทองทั้งหนาวเย็น ลมฝนก็ยงั คงตกลงมาอยา ง
หนัก สามกี ็หายไปไมก ลับมา ในท่ีสุดนางกค็ ลอดบุตรคนทส่ี องอยาง
นาสงั เวช ลกู ของนางทง้ั สองคนทนกาํ ลงั ลมและฝนไมไหว ตางก็
รองไหกนั เสยี งดังลั่นแขงกับลมฝน นางตอ งเอาลูกท้ังสองมาอยใู ตทอง
โดยนางใชมือและเขายืนบนพื้นดินในทา คลาน ไดร ับทขุ เวทนาอยาง
มหันตส ุดจะรําพนั ได เมอ่ื รุงอรุณแลว สามกี ย็ ังไมกลับมาจึงอุมลกู คน

26

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô É³Ø Õ

เล็กซ่ึงเนื้อ หนงั ยังแดง ๆ อยูจูงลูกคนโตออกตามหาสามี เห็นสามนี อน
ตายอยูข างจอมปลวกจึงรอ งไหราํ พันวา สามีตายก็เพราะนางเปนเหตุ
เม่ือสามีตายแลว ครั้นจะกลับไปทีบ่ า นทุงนากไ็ มมปี ระโยชน จึง
ตดั สินใจไปหาบิดามารดาของตนทเ่ี มอื งสาวัตถี โดยอมุ ลูกคนเลก็ และ
จูงลกู คนโตเดินไปดว ย ความทุลกั ทุเลเพราะความเหนอ่ื ยออ นอยา ง
หนักดูนา สังเวชย่ิงนัก

นางเดินทางมาถึงรมิ ฝงแมนํ้าจิรวดี มีน้ําเกือบเต็มฝงเนือ่ งจากฝนตก
หนกั เม่ือคืนท่ผี านมา นางไมส ามารถจะนําลูกนอยท้ังสองขา มแมน ํ้าไป
พรอมกนั ไดเ พราะนางเองก็วา ยนํา้ ไมเ ปน แตอาศัยที่น้ําไมล ึกนกั พอที่
เดินลุยขา มไปได จงึ ส่ังใหลกู คนโตรออยกู อนแลว อุมลูกคนเลก็ ขาม
แมนํ้าไปยังอีกฝงหนงึ่ เมอ่ื ถึงฝงแลวไดนําใบไมมาปูรองพ้ืนใหลูกคน
เล็กนอนท่ีชายหาดแลวกลับไปรับลกู คนโตดวยความหว งใยลูกคนเล็ก
นางจึงเดินพลางหันกลบั มาดูลูกคนเล็กพลาง ขณะที่มาถงึ กลางแมน้าํ
นน้ั มีนกเหยย่ี วตัวหนึ่งบนิ วนไปมาอยบู นอากาศ มนั เหน็ เดก็ นอ ยนอน
อยมู ีลักษณะเหมอื นกอนเนอ้ื จึงบินโฉบลงมาแลเฉ่ียวเอาเด็กนอยไป
นางตกใจสุดขดี ไมร ูจะทําอยางไรได จึงไดแ ตโ บกมือรอ งไลต ามเหยย่ี ว
ไป แตก ็ไมเปนผล เหยี่ยวพาลูกนอ ยของนางไปเปนอาหาร

27

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡ÉسÕ

สวนลูกคนโตยนื รอแมอยูอีกฝง หน่ึง เห็นแมโ บกมือทงั้ สองตะโกนรอง
อยูก ลางแมน ํ้า กเ็ ขาใจวา แมเ รียกใหต ามลงไป จึงวิ่งลงไปในนํ้าดวย
ความไรเดยี งสา ถกู กระแสนํา้ พัดพาจมหายไป
เม่อื สามีและลกู นอยทั้งสองตายจากนางไปหมดแลว เหลอื แตน างคน
เดียวนางจงึ เดนิ ทางมุงหนาสูบ า นเรือนของบดิ ามารดา ท้งั หิวท้งั เหน่ือย
ลา ไดร บั ความบอบชาํ้ ท้งั รางกายและจติ ใจ รูส กึ เศราโศกเสยี ใจสดุ
ประมาณ พลางเดินบนรําพึงรําพนั ไปวา :
“บุตรคนหนึง่ ของเราถูกเหยี่ยวเฉยี่ วเอาไป บุตรอกี คนหนง่ึ ถกู นํ้าพัดไป
สามกี ็ตายในปาเปลย่ี ว”
นางเดนิ ไปก็บนไปแตก ็ยงั พอมสี ติอยูบางไดพบชายคนหนึ่งเดนิ สวน
ทางมา สอบถามทราบวา มาจากเมืองสาวตั ถี จงึ ถามถงึ บดิ ามารดาของ
ตนทอ่ี ยใู นเมอื งนั้น ชายคนน้ันตอบวา :
“นอ งหญิงเม่อื คืนน้ีเกิดลมพายแุ ละฝนตกอยางหนักเศรษฐีสองสามี
ภรรยาและลูกชายอีกคนหน่งึ ถูกปราสาทของตนพังลมทับตายพรอม
กนั ทัง้ ครอบครัวเธอจงมองดคู วนั ไฟที่เห็นอยูโนน ประชาชนรว มกนั ทาํ
การเผาทั้ง ๓ พอ แม และลกู บนเชิงตะกอนเดยี วกนั ”

28

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô É³Ø Õ

นางปฏาจารา พอชายคนน้ันกลา วจบลงแลวก็ขาดสิตสัมปชญั ญะไม
รสู ึกตัววา ผา นงุ ผา หมท่ีนางสวมใสอยหู ลดุ ลุยลงไป เดินเปลือยกายเปน
คนวิกลจรติ รอ งไหบนเพื่อราํ พนั เซซวนครํา่ ครวญวา :
“บุตรสองคนของเราตายแลว สามีของเราก็ตายท่ีทางเปลี่ยว มารดาบิดา
และพ่ชี ายของเรากถ็ กู เผาบนเชงิ ตะกอนเดยี วกัน”
นางเดินไปบนไปอยา งน้ี คนท่ัวไปเห็นแลวคดิ วา
“นางเปนบา ”
พากนั ขวางปาดวยกอนดินบาง โรยฝนุ ลงบนศีรษะนางบา ง และนาง
ยงั คงเดินตอเร่ือยไปอยางไรจุดหมายปลายทาง

ขณะน้นั พระพทุ ธองคท รงแสดงธรรมอยทู ามกลางพทุ ธบรษิ ทั ทรง
ทราบดวยพระฌาณวา นางปฏาจารามอี ุปนสิ ัยแหง พระอรหตั จึงบนั ดาล
ใหน างเดินทางมายังวดั พระเชตวัน นางไดเ ดินมายนื เสาศาลาโรงธรรม
อยทู า ยสุดพทุ ธบริษทั หมูคนทั้งหลายพากนั ขบั ไลนางใหออกไป แต
พระบรมศาสดาตรสั หามไวแลวตรับกับนางวา
“จงกลับไดสตเิ ถดิ นองหญงิ ”
ดวยพุทธานภุ าพ นางกลับไดสตใิ นขณะน้ันเอง มองดตู วั เองเปลอื ยกาย
อยู รูส กึ อายจงึ นง่ั ลง อบุ าสกคนหน่ึงโยนฝา ใหนางนุงหม นางเขา ไป

29

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

กราบถวายบงั คมพระศาสดาท่พี ระบาท แลวกราบทูลเคราะหกรรมของ
นางใหทรงทราบโดยลําดบั พระพุทธองคไดต รัสพระดาํ รัสวา:
“แมนาํ้ ในมหาสมทุ รทั้ง ๔ ก็ยังนอยกวาน้ําตาของคนท่ีถูกความทุกข
ความเศรา โศกครอบงํา ปฏาจารา เพราะเหตุไร เธอจึงยังประมาทอย”ู
ปฏาจารา ฟง พระดํารัสนี้แลวกค็ ลายความเศรา โศกลง พระบรมศาสดา
ทรงทราบวา นางหายจากความเศราโศกลงแลว จงึ ตรัสตอไปวา :
“ปฎาจารา ขน้ึ ชื่อวาบตุ รสุดท่รี ัก ไมอ าจเปนทพ่ี งึ่ เปนทต่ี า นทานหรือ
เปน ที่ปอ งกันแกผ ไู ปสูปรโลกได บุตรเหลา น้ัน ถงึ จะมีอยูก็เหมือนไมมี
สวนผูรูท้ังหลายรักษาศีลใหบ รสิ ทุ ธิ์แลว ควรชาํ ระทางไปสูพระ
นิพพานของตนเทาน้ัน”
เมอื่ จบพระธรรมเทศนา นางปฏาจาราดาํ รงอยูในโสดาปตผล เปน พระ
อรยิ บคุ คลชัน้ พระโสดาบันแลว กราบทูลขออุปสมบท พระพทุ ธองค
ทรงอนุญาตแลวจึงบวชเปน ภิกษณุ ี ไมนานนักก็ไดบรรลพุ ระอรหัตผล
เม่ือนางปฏาจาราไดอปุ สมบทแลว ปรากฏวาเปนพระเถรีผูมีความรอบ
รใู นเร่ืองพระวินยั เปนอยา งดี อาศัยเหตุนี้ พระบรมศาสดาจงึ ทรงยกยอง
เธอไวในตําแหนง เอตทคั คะ เปนผูเลิศกวาภกิ ษณุ ที ้ังหลายในฝา ย ผทู รง
พระวินัย

30

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô É³Ø Õ

¾Ãй¹Ñ ·Òà¶ÃÕ

เอตทคั คะในฝายผูแพง ดวยฌาน

พระนันทาเถรี เปนธดิ าของพระเจา สุทโธทนะกับพระนางมหาปชาบดี
โคตมี เปนกนิษฐภคนิ ีของเจา ชายนนั ทะ พระนามเดิมวา “นนั ทา” แต
เพราะนางมพี ระสริ ิโฉมงดงามย่ิงนัก นาทัศนา นา รกั นาเลื่อมใส พระ
ประยูรญาตจิ ึงพากันเรยี กวา “รปู นันทา” บา ง “อภริ ูปนนั ทา” บา ง
“ชนปทกลั ยาณี” บา งเมื่อเจา ชายสิทธตั ถะ ผนู ับเนอื่ งเปนพระเชษฐา
ของนาง เสด็จออกบรรพชา ไดตรสั รเู ปน พระสพั พัญพู ทุ ธเจาแลว
เสดจ็ มาโปรดพระประยุรญาติ ณ พระนครกบิลพัสดุ เทศนาสง่ั สอน
ใหไ ดบ รรลุมรรคผลตามวาสนาบารมี ทรงนําพาศากยกมุ ารทั้งหลายมี
พระนันทะ พระราหลุ และพระภัททยิ ะ เปนตน ออกบรรพชา
ครั้นกาลตอมา พระเจาสทุ โธทนะมหาราชพุทธบดิ า เสด็จเขาสพู ระ
นิพพานแลว พระนางมหาปชาบดีโคตรมีพระมารดา และพระนางยโส
ธราพมิ พาพระมารดาของพระราหลุ ตา งกพ็ าสากิยกุมารีออกบวชใน
พระพุทธศาสนาดว ยกันทัง้ สิ้น นางจึงมีพระดํารสั วา

31

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡ÉسÕ

“เหลอื แตเราเพียงผูเดยี ว ประหน่ึงไรญ าติขาดมติ ร จะมปี ระโยชนอะไร
กบั การดํารงชีวติ ในฆราวาสวิสัย สมควรท่ีเราจะไปบวชตามพระ
ประยูรญาติผูใ หญข องเราจะประเสริฐกวา ”

เมอื่ พระนางมพี ระดาํ ริดงั นีแ้ ลว จึงจัดเตรียมผา กาสาวพัสตร เสด็จไปสู
สาํ นกั พระมหาปชาบดโี คตมเี ถรี กราบแทบเทากลา วขอบรรพชา
อปุ สมบทพระเถรี ก็โปรดใหบรรพชาตามปรารถนา แตก ารบวชของ
พระนางนันทานั้นมิใชบวชดว ยความศรัทธา แตอาศัยความรักใน
หมญู าติจงึ ออกบวชครนั้ บวชแลว พระรปู นนั ทาเถรีไดก ราบวา พระ
พทุ ธองคทรงตาํ หนติ ิเตียนเรอ่ื งรปู กาย จึงไมกลาไปเฝาพระศาสดา เพอ่ื
รับพระโอวาท เม่ือถงึ วาระที่ตนจะตอ งไปรบั โอวาทกส็ ั่งให
ภิกษุณรี ูปอื่นไปรบั แทน พระบรมศาสดาทรงทราบวาพระนางหลงมัว
เมาในพระสริ ิโฉมของตนเอง จงึ ตรัสรบั สั่งวา :
“ตอแตน ี้ ภกิ ษณุ ที ้งั หลาย ตอ งมารบั โอวาทดวยตนเอง จะสงภิกษณุ ีรูป
อนื่ มารับแทนไมได”
ตั้งแตนนั้ พระรปู นันทาเถรี ไมมที างอื่นที่จะหลีกเลยี่ งไปได จึงจําเปน
และจําใจไปรบั ประโอวาท ทง้ั ๆ ทไ่ี มปรารถนา ไปเฝา พระบรมศาสดา
พรอ มกบั ภิกษณุ ที ้ังหลาย แตม กิ ลาแมก ระทงั่ จะนัง่ อยูแถวหนา จึงนั่ง

32

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

หลบอยดู านหลัง
พระพทุ ธองค ทรงเนรมิตรูปหญงิ สาววัยรุนคนหนึ่งใหมีรูปสิรโิ ฉม
สวยงามสุดที่จะหาหญิงใดในปฐพีมาเปรียบได ใหหญงิ น้ันดูประหนึ่ง
วาถอื พัดวชี นีถวายงานพัดอยเู บอื้ งหลังของพระพุทธองค และให
สามารถมองเห็นเฉพาะพระพุทธองคก บั พระรูปนันทาเถรเี ทา น้ัน
พระรปู นนั ทาเถรี ไดเห็นหญงิ รูปเนรมติ น้ันแลวก็คดิ วา เราหลงผิดคดิ
มวั เมาอยูในรปู โฉมของตนเองโดยใชเ หตุ จงึ มิกลามาเฝา พระพทุ ธองค
หญงิ คนน้ีมีความสนิมสนมอยูในสํานกั พระบรมศาสดา รปู โฉมของเรา
นนั้ เทียบไมไดส วนเส้ียวท่ี ๑๖ ของหญงิ นี้เลย ดูนางชา งงามยิ่ง
นกั ผมก็สวย หนา ผากก็สวย หนา ตากส็ วย ทุกส่ิงทุกอยา งชางสวยงาม
พรอมทง้ั หมด พอเบื่อหนอ ยก็ไดส าํ เร็จ
เมื่อพระรูปนันทาเถรี กําลังเพลดิ เพลินช่ืนชมโฉมของรูปหญิงเนรมติ อยู
นน้ั พระพุทธองคทรงอธิษฐานใหรปู หญิงนั้นปรากฏอยใู นวัยตาง ๆ
ตงั้ แตเ ปนหญงิ วัยรุน เปนหญงิ สาววัยมีลูกหนึ่งคน มีลกู ๒ คน จนถงึ วัย
กลางคน วัยชราและวยั แกห งอ ม ผมหงอก ฟนหัก หลงั คอม และ
ลมตายลงในขณะนน้ั รา งกายมีหมูหนอนมาชอนไชเจาะกนิ เหลือแต
โครงกระดูก

33

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

พระพุทธองคท รงทราบวา พระรูปนันทาเถรี เกิดความสงั เวชสลดจติ
เบือ่ หนายในรูปกายทตี่ นยึดถือแลว จงึ ตรัสวา:
“ดูกอ นนันทา เธอจงดูอัตภาพรา งกายอันเปนเมอื งแหง กระดกู น้ี (อฏฐีนํ
นครํ) อนั กระสับกระสา ย ไมสะอาด อันบูดเนาน้ีเถดิ เธอจงอบรมจติ ให
แนว แนมั่นคง มีอารมณเ ดียวในอสุภกรรมฐาน จงถอนมานะละทฏิ ฐิให
ไดแลว จติ ใจของเธอก็จะสงบ จงดวู า รูปนเ้ี ปนฉันใด รปู ของเธอก็เปน
ฉันน้นั รูปของเธอเปนฉันใดรูปนก้ี ็เปน ฉันนั้น รปู อันมีกลน่ิ เหม็นบดู
เนา น้ี ยอมเปนท่ีเพลิดเพลินอยา งยง่ิ ของผโู งเ ขลาทงั้ หลาย”
พระรปู นนั ทาเถรี สง กระแสจติ ไปตามพระพุทธดาํ รสั เมื่อจบลงกส็ ิ้น
กิเลสาสวะ บรรลุพระอรหัตผลเปนพระอเสขบคุ คลในพระพุทธศาสนา
ปรากฏวาเมอื่ พระนางสาํ เร็จเปนพระอรหันตแลวเปนผมู คี วามชาํ นาญ
พิเศษในการเพงดวยฌาน ดว ยเหตนุ ี้ พระบรมศาสดาจงึ ทรงยกยองเธอ
ไวในตาํ แหนงเอตทัคคะ เปนผูเลิศกวา ภิกษุณีทง้ั หลายในฝา ย ผูแพง
ดว ยฌาน หรือ ผูทรงฌาน

ฌาน การเพง อารมณจ นใจแนวแนเปน อัปปนาสมาธิ มี ๔ คือ
๑. ปฐมฌาน ฌานท่ี ๑ มีองค ๕ คือ วิตก วิจาร ปต ิ สุข เอกัคคตา
๒. ทตุ ยิ ฌาน ฌานท่ี ๒ มีองค ๓ ปต ิ สุข เอกคั คตา

34

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

๓. ตตยิ ฌาน ฌานที่ ๓ มอี งค ๒ คอื สุข เอกคั คตา
๔. จตถุ ฌาน ฌานท่ี ๔ มีองค ๒ คือ อเุ บกขา เอกคั คตา

35

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

¾ÃиÃÃÁ·¹Ô ¹Òà¶ÃÕ

เอตทคั คะในฝา ยผูเ ปนธรรมกถกึ

พระธรรมทินนาเถรี เกิดในตระกูลเศรษฐี ในเมอื งราชคฤห เม่ือเจรญิ วัย
แลว ไดเ ปนภริยาของวสิ าขเศรษฐี ผูซ่งึ เปนพระสหายของพระเจา พิม
พสิ าร แหง พระนครราชคฤหน้ัน

วิสาขเศรษฐี ไดไปเฝาพระผูมพี ระภาค ครงั้ แรกโดยการชกั ชวนของ
พระเจาพิมพสิ าร และไดรวมฟง พระธรรมเทศนาดวยกนั เมอ่ื จบพระ
ธรรมเทศนาลงแลว วสิ าขเศรษฐีไดบรรลุโสดาปตตผิ ล ตอมาภายหลงั
ไดไ ปฟง ธรรมจากพระพทุ ธองคอีกและไดบ รรลเุ ปนพระอนาคามี
เม่ือกลับจากวดั มายังบา น โดยปกตทิ ุก ๆ ครัง้ นางธรรมทินนาจะยืน
คอยทาอยูท่เี ชิงบันได เมอื่ วิสาขเศรษฐีมาถึงกย็ ่ืนมอื ใหเกาะกุมแลวขึ้น
บันไดไปดวยกัน แมว ันน้ันนางธรรมทินนาก็ยังปฏิบตั ิเชนเดิม แตฝายวิ
สาขเศรษฐีผูส ามไี มเกาะมือ และไมแสดงอาการยิ้มแยม ดงั เชนเคยทํา
มา แมแ ตเ วลาบริโภคอาหาร ซ่งึ นางคอยนง่ั ปฏิบตั ิอยู ทานเศรษฐีก็ไม
ยอมพดู จาอะไรทง้ั สิ้น ทําใหน างคิดหว่ันวิตกวา

36

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô É³Ø Õ

“ตนคงจะทําผดิ ตอ สาม”ี
ครัน้ วิสาขเศรษฐผี ูส ามบี ริโภคอาหารเสร็จแลว นางจึงถามวา:
“ขา แตน าย ดิฉนั ทาํ สิ่งใดผิดหรือ วันน้ีทา นจงึ ไมจับมอื และพูดจาอะไร
เลย ?”
ทานเศรษฐกี ลาวตอบวา :
“ธรรมทินนา เธอไมมคี วามผิดอะไรหรอก แตน บั ตง้ั แตวันนี้เราไมควร
นัง่ ไมค วรยืนในทใ่ี กลเธอ ไมควรถูกตองสัมผัสเธอ และไมควรใหเธอ
นําอาหารมาใหแลวนั่งเค้ียวกินในท่ีใกลๆ เธอ ตอแตน ไ้ี ป ถาเธอ
ประสงคจะอยูทีเ่ รอื นนกี้ ็จงอยูตอ ไปเถิด แตถ า ไมประสงคจ ะอยกู ็จง
รวบรวมเอาทรัพยสมบัตติ ามความตอ งการแลวกลับไปอยูท ตี่ ระกูลของ
เธอเถิด”
นางธรรมทินนา จงึ กลาววา
“ขาแตน าย ดฉิ ันไมข อรับเอาขยะหยอกเยื่ออันเปรยี บเสมือนนํ้าลายที่
ทา นถม ทิ้งแลว มาเดินบนศรี ษะหรอก เมื่อเปนเชน นขี้ อทานไดโปรด
อนุญาตใหดิฉันบวชเถิด”
วสิ าขเศรษฐี ไดฟ งคําของนางแลวกด็ ีใจ ไดกราบทลู พระเจาพิมพิสาร
ขอพระราชทานวอทอง นํานางธรรมทนิ นา ไปยงั สาํ นักของนางภิกษณุ ี
เพื่อขอบรรพชาอุปสมบทเมื่อนางธรรมทนิ นา ไดบ รรพชาอปุ สมบทสม

37

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

ดงั ความปรารถนาแลว อยใู นสาํ นกั ของอปุ ช ฌาย (ภกิ ษณุ ีสงฆ) เพียง
๒-๓ วัน ก็ลาไปจาํ พรรษาอยใู นอาวาสใกลหมูบา นแหง หน่งึ
บาํ เพ็ญเพยี รเจรญิ วิปสสนากรรมฐาน ไมนานนักกไ็ ดบ รรลุพระ
อรหตั ผลพรอมดวยปฏิสัมภทิ าท้ังหลาย

ตอ มาพระนางธรรมทนิ นาเถรี คดิ วา
“กิจของเราบรรลุถงึ ความสน้ิ สุดแลว เราควรกลับไปกรงุ ราชคฤห เพ่ือ
หมูญาติไดอาศยั เราแลวทําบญุ กศุ ลใหก บั ตนเอง”
วสิ าขอบุ าสก ทราบวา นางกลับมาจึงไปหานางยังท่ีพัก มีความประสงค
ท่จี ะทราบวานางไดบ รรลุคณุ ธรรมวิเศษอยา งใดหรือไม แตม ิกลา ถาม
ตรง ๆ จึงเลี่ยงถามปญ หาวา ดวยเรื่องเบญจขันธ พระนางธรรมทินนา
เถรี ก็วิสัชนาอยางคลองแคลว ชดั เจนทุกประเดน็ ปญ หา
วสิ าขอบุ าสกกท็ ราบวา พระนางธรรมทนิ นาเถรี มีฌานแกก ลา จึงถาม
ปญ หาในลําดบั ของพระอนาคามที ี่ตนไดบ รรลแุ ลว เมอ่ื พระเถรีวิสัชนา
ไดอีก จึงกาวลํา้ ถามปญ หาในวสิ ัยพระอรหัตมรรค
พระเถรีทราบวา อุบาสกมีวสิ ยั เพียงอนาคามีน้นั แตถ ามปญ หาเกนิ วสิ ยั
ของตน จึงกลาวเตอื นวา :
“วิสาขะ ทา นยงั ไมอาจกาํ หนดท่สี ดุ แหง ปญหาได ถาทานยงั หวังท่จี ะ

38

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡ÉسÕ

กา วหย่ังลงสปู ระตพู ระนิพพานแลว ขอทา นจงไปเฝาพระผมู พี ระภาค
แลวกราบทูลถามขอความนั้นเถดิ เมอื่ พระพุทธองคทรงพยากรณ
อยางไร ก็จงจําไวอยางนน้ั ”
วสิ าขอบุ าสก ทําตามคาํ แนะนาํ ของพระเถรี ไปเฝา พระบรมศาสดาแลว
กราบทูลเนื้อความตามนยั แหงปุจฉาและวิสัชนาถวายใหท รงสดับทกุ
ประการทรงยกยองเปนผูเ ลิศทางแสดงธรรม
พระผูม ีพระภาค ทรงสดับแลวตรัสวา:
“ธรรมทินนาเถรธี ิดาของเราน้ี ไมมีตณั หาในขนั ธท ้ังหลาย ท้ังในอดีต
ปจจบุ ัน และอนาคต เธอเปน บัณฑิต มีปญญามาก ถาวสิ าขอบุ าสก ถาม
ขอความนน้ั กบั เรา แมเราเองก็จะพยากรณ เหมือนอยางทธ่ี รรมทินนา
เถรพี ยากรณแ ลวน้นั ทกุ ประการ ขอทา นจงจาํ เน้ือความน้ันไว
เถดิ ”
ตอ มา เมื่อพระบรมศาสดาประทับอยู ณ พระเชตะวันมหาวิหาร เม่อื
ทรงสถาปนาบรรดาภกิ ษณุ ใี นตาํ แหนงตา ง ๆ ตามลาํ ดับ ทรงพิจารณา
ความสามารถในการวสิ ัชนาปญญาของพระนางธรรมทนิ นาเถรี ในครั้ง
นั้นเปนเหตุ จึงทรงสถาปนาพระเถรีนใ้ี นตําแหนงเอตทัคคะ เปน ผูเลศิ
กวาภกิ ษณุ ีทงั้ หลายในฝาย ผเู ปนธรรมกถึก

39

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡ÉسÕ

¾ÃÐâʳÒà¶ÃÕ

เอตทัคคะในฝา ยผปู รารถนาความเพยี ร

พระโสณาเถรี เกิดในตระกูลเศรษฐี ในเมืองสาวัตถี ไดช อื่ วา “โสณา”
เม่ือเจริญวัยแลวไดม ีคคู รองที่มฐี านะเสมอกัน อยูรวมกันมามีบุตร๗
คน มธี ิดา ๗ คน

เมอ่ื บตุ รธิดาท้ังหลายเจริญวัยแลว ไดแ ตงงานมคี คู รองเรือนแยกยา ยกนั
ออกไปอยตู ามลาํ พัง ตา งกม็ ีฐานะความเปนอยูสขุ สบายตามสมควรแก
อัตภาพฆราวาสวสิ ัย ตอมาสามีของนางถงึ แกกรรมลง นางไดปกครอง
ดูแลทรพั ยส มบตั ทิ ้ังหมดโดยยังมไิ ดจดั สรรแบงปนใหแกบ ุตรธิดา
เลย และตอ มา บตุ รธดิ าเหลา นั้นไดพากันพาพูดกับนางบอ ย ๆ วา :
“คณุ แม บดิ าของพวกขา พเจา ก็ตายไปแลว ทรัพยสมบตั เิ หลานแ้ี มจะ
เกบ็ เอาไวทาํ ไม หรือแมเกรงวาพวกเราท้งั ๑๔ คนนี้จะเลี้ยงแมไมไ ด”

นางโสณาไดฟงคําของลูก ๆ มาพูดกันอยบู อย ๆ กค็ ิดวา

40

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô É³Ø Õ

“เม่ือเราแบงทรพั ยสมบตั ใิ หแ ลว ลกู ๆ กค็ งจะเล้ียงดูเราใหม คี วามสขุ
ได ไมตอ งลาํ บาก”
เมือ่ คดิ อยางนแี้ ลว นางกแ็ บง ทรัพยส มบัตใิ หแกลูกชายหญงิ ท้ัง ๑๔ คน
ๆ ละเทา ๆ กันแลวนางก็ไปอยูอาศยั กลับลกู ชายคนโต เมอ่ื ไปอยใู หม ๆ
กไ็ ดรบั การปฏิบัติ ดูแลอยางดี แตเมือ่ นานไปลูกสะใภก็เร่ิมมีความ
รังเกียจ พดู จาเสียดสขี น้ึ วนั ละเล็กวันละนอ ย พรอ มทงั้ ไปยุแหยใ ห
สามีรงั เกียจแมของตนเอง เมือ่ พดู บอ ย ๆ เขา สามี กเ็ หน็ คลอ ยตามดวย
จนกระทง่ั วนั หนึง่ ลกู สะใภไ ดพ ูดกับนางวา :
“คุณแมค วามจริงแมกม็ ีลูกชายลกู หญิงตั้งหลายคน ทรพั ยสมบัติ
ทั้งหลายแมก แ็ บงใหเทา ๆ กนั มิใชว าฉนั จะได ๒ สวนมากกวา คนอ่นื
ๆ แตทําไมแมจ งึ มาอยมู ากินแตท ีบ่ า นฉันคนเดียว แมไ มรูจกั ทางไป
บา นลกู คนอ่ืนเลยหรือ ?”

นางโสณา ไดฟ งคําของลกู สะใภแ ลว อกี ทงั้ ลูกชายก็ดทู าทคี ลอ ยตาม
ภรรยาของตน นางจงึ จําใจหอของใชสวนตัวไปอาศยั ลูกคนตอ ๆ ไป
และเหตกุ ารณก ็เปนไปทาํ นองเดียวกัน นางไมส ามารถจะพ่ึงพาอาศยั
ลูกชายและลูกหญิงท้งั ๑๔ คนน้ันได จึงคดิ วา

41

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡ÉسÕ

“จะมปี ระโยชนอ ะไรกบั การอาศยั ลูกเหลานี้เราไปบวชเปน ภิกษุณจี ะ
ดกี วา ”
นางโสณา ไดไปยงั สาํ นกั ภิกษณุ ีสงฆ ขอบรรพชาอุปสมบทเปน ภิกษุณี
เพราะความทีน่ างเปนผูมลี กู มาจงึ ไดช ื่อวา
“พหปุ ตตกิ าเถร”ี
นางเองกค็ ดิ วา “เราบวชในวัยชราไมค วรทจ่ี ะอยดู วยความประมาท” จง
ไดช ว ยนางภิกษุณีทั้งหลายทาํ วัตรปฏบิ ัตติ ามกจิ ของภกิ ษณุ ีสงฆ แต
เพราะความเปนผูบวชใหม และอยใู นวัยชราจึงทาํ กิจบกพรอง นาง
ภิกษุณีทัง้ หลายจึงกระทาํ ทณั ฑกรรมลงโทษแกเธอโดยใหเธอทาํ หนา ที่
ตมน้ําอุนใหภ กิ ษุณที ้ังหลายสรง ท้ังเชา-เยน็ เปนประจํา บุตรธิดาของ
เธอไดมาเห็น กพ็ ากนั พดู จาเยาะเยย จนเธอรสู ึกสลดใจ
วันหน่ึง พระโสณาเถรี ไดไปหาฟนและตกั นาํ้ มาไวในโรงครัว แตยัง
มิไดกอไฟ พระเถรีกค็ ดิ วา
“เราไมค วรประมาท ควรจะอาศัยเวลาและสถานท่ีอันสงบสงัดนี้
บาํ เพญ็ สมณธรรมท้งั กลางวันและกลางคืน”
คิดดังน้ีแลว ก็ไดพ ิจารณาอาการ ๓๒ ทองบนภาวนาไป เดินจงกรมไป
โดยยดึ เสาโรงครวั เปน แกนกลางเดินวนรอบเสาสาํ รวมจติ เจริญ
วิปส สนา

42

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

ขณะน้ัน สมเดจ็ พระบรมศาสดา ประทบั อยูในพระคันธกุฎี ทรงทราบ
ดว ยพระฌาณ จงึ ทรงเปลงพระโอภาสรศั มีปานประหนึ่งวา ประทับอยู
ตรงหนา พระเถรีน้ันแลว ตรสั สอนวา :
“ดกู อ นนพหุปุตติกา ชีวติ ความเปนอยูเพยี งวันเดียวครูเดียว ของผูทเี่ ห็น
ธรรมอันสูงสดุ ที่เราไดแสดงแลว ดกี วาประเสรฐิ กวาชวี ติ ความเปนอยู
ตงั้ ๑๐๐ ป ของผไู มเห็นธรรม”

พอส้ินสุดพุทธดํารัสพระเถรกี ็ไดบรรลุพระอรหตั ผลพรอมดวย
ปฏสิ มั ภิทาทัง้ หลาย และเม่ือสําเร็จเปนพระอรหันตแลว จึงคดิ วา
“เมอ่ื ภิกษุณีเหลานั้นมาเพ่อื ตองการน้ําอุน พอเหน็ เราแลวไมทันได
ใครครวญ ก็จะพดู ลวงเกินดหู มิ่นเราเหมือนกอน กจ็ ะไดร ับบาปกรรม
อันหนัก เราควรจะทําอะไรพอเห็นทส่ี ังเกตใหพ วกเขากาํ หนดรสู ัก
อยา งหนึ่ง”
แลวนางก็ยกภาชนะตม นํ้าข้ึนตั้งบนเตาไฟ แตมิไดก อไฟเพียงแตใ สฟน
เขาไว เมื่อนางภิกษุณีทง้ั หลายมาทโ่ี รงครัว เพื่อจะนํานํา้ อนุ ไปสรง เหน็
มีแตภ าชนะตมนํา้ อยูบนเตาไฟแตไมเห็นไฟ จึงกลาววา :
“พวกเราบอกใหห ญิงแกคนน้ตี มนาํ้ ถวายภกิ ษณุ ีเพ่อื นาํ ไปสรง จนบดั นี้

43

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

นางก็ยงั ไมไ ดใ สไฟในเตาเลย ไมท ราบวานางมัวทําอะไรอย”ู
พระโสณาเถรี จงึ กลา ววา :
“ขาแตแ มเจา ถา ทา นทง้ั หลายตองการน้ําอุนไปสรง ก็จงตักเอาจาก
ภาชนะนั้นเถิด”
แลว พระเถรี ก็อธษิ ฐานเตโชธาตาํ ทาํ ใหน ้าํ น้นั อุนขึ้นทนั ที
ภิกษุณที ง้ั หลายไดฟ งคาํ ของนางแลวก็คิดวา
“คงจะมีเหตกุ ารณอ ยางใดอยางหน่ึงเปน แน” จงึ ทดลองใชมือจุมลงใน
ภาชนะ ก็ทราบวา เปนน้ําอุน จึงตักเอาไปสรงทั่วกัน แตวาตักสกั
เทาใด นาํ้ ก็ยงั ปรากฏเต็มภาชนะอยูเชนเดิม ภกิ ษุณที ้ังหลายจงึ ทราบชดั
วา พระเถรีน้ี สําเร็จเปนพระอรหันตแ ลว ตา งก็พากันตกใจ
นางภกิ ษุณี ผมู ีวยั ออ นกวา กก็ มกราบแทบเทา กลาวขอขมาโทษวา
“ขาแตพ ระแมเ จา พวกขาพเจาไดพดู จาดหู มิ่นลวงเกินทาน พระความ
เขลาเบาปญ ญา มิไดพจิ ารณาใหรอบครอบตลอดกาลนานมาแลว ขอ
พระแมเจา จงเมตตาอดโทษแกพวกขา พเจาดว ยเถิด”
สวนนางภิกษุณผี มู ีวัยแกกวาก็น่ังกระหยง(นั่งคุกเขา) กลา วขอขมาให
อดโทษานุโทษใหเชนกัน โดยขอขมาโทษดว ยคําวา

44

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡ÉسÕ

“ขา แตพ ระแมเจาพวกขาพเจาไดพ ูดจาดหู มิ่นลวงเกินทาน โดยมิได
พิจารณาใหร อบคอบตลอดกาลนานมาแลว ขอทา นจงอเมตตาอดโทษ
ใหพวกขาพเจา ดวยเถิด”

ตง้ั แตน น้ั มา คณุ งามความดขี องพระโสณาเถรี ก็ปรากฏเปนทที่ ราบกนั
ทว่ั ไปวา
“พระเถรี ผูแมบวชในเวลาแกเฒา กย็ ังสามารถดํารงอยใู นพระอรหตั ผล
ไดใ นเวลาไมนาน เพราะอาศัยความเปน ผปู รารภความเพยี รไมเกยี จ
ครา น”
พระบรมศาสดา ขณะประทับอยู ณ พระเชตะวันมหาวหิ าร เมอื่ ทรง
สถาปนาภกิ ษณุ ที ง้ั หลาย ในตําแหนงตาง ๆ ตามลําดบั แลว อาศัยความ
เปน ผปู รารภความเพียร ขยัน ไมเกียจครานของพระเถรีน้ี จึงไดท รง
สถาปนาพระนางโสณาเถรี นใ้ี นตาํ แหนงเอตทคั คะ เปน ผเู ลิศกวา
ภกิ ษณุ ีทั้งหลายในฝาย ผูเปนผูปรารถนาความเพียร

อภญิ ญา ปญญาเปน เคร่ืองรูย่ิง มี ๖ อยาง
๑. อิทธวิ ิธี แสดงฤทธิต์ าง ๆ ได
๒. ทิพพโสต หูทพิ ย

45

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

๓. เจโตปริยญาณ ญาณท่ีใหท ายใจคนอนื่ ได
๔. ปุพเพนวิ าสานุสสติ ญาณท่ที าํ ใหร ะลึกชาติได
๕. ทิพพจักขุ ตาทิพย
๖. อาสวักขยญาณ ญาณท่ที ําใหอ าสวะสิ้นไป
(๕ อยางแรกเปนโลกยิ อภญิ ญา ขอสดุ ทา ยเปนโลกุตตรอภญิ ญา)

46

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô É³Ø Õ

¾ÃÐÊ¡ØÅÒà¶ÃÕ

เอตทัคคะในฝา ยผมู ีทิพยจักษุ

พระสกุลาเถรี เกดิ ในตระกลู พราหมณ ผูมฐี านะอยใู นขั้นมหาเศรษฐี
บิดามารดาตัง้ ชอื่ วา “สกุลา” เปนผูมีจิตศรทั ธานอมไปในการบรรพชา
อนั เปน ผลมาจากบญุ กศุ ลเกา ในอดตี ชาติอยแู ลว

ครัน้ เมอ่ื พระบรมศาสดา เสด็จเท่ียวจาริกเทศนาสัง่ สอนเวไนยสตั วไ ป
ตามคามนิคมนอยใหญต าง ๆ ยังหมสู ัตวท ง้ั หลายใหบรรลุมรรคผล
ตามอปุ นิสัยอํานาจวาสนาบารมขี องแตละคน เสดจ็ มายังพระนครสาวตั
ถี ประทบั ณ พระมหาวหิ ารเชตวันทอี่ นาถบิณฑกิ เศรษฐีสรา งถวาย
นางไดเ ห็นพระบรมศาสดาผสู มบรู ณด วยมหาปุรสิ ลักษณะ เสด็จเขา ไป
บิณฑบาตในเมืองสาวตั ถีแลวเกิดศรัทธาเลื่อมใส ไดแสดงตนเปน
อุบาสกิ า ขอถงึ พระรตั นตรัยเปนสรณะตอ มาภายหลัง ไดฟง ธรรมใน
สํานักของพระอรหันตองคห นึง่ แลวเกิดความสลดใจในโลกสันนิวาส
จงึ ไดอ อกบรรพชาในสักของภิกษุณี อตุ สาหบ าํ เพ็ญเพยี รเจริญวิปส สนา
ไมนานนกั กไ็ ดบรรลุพระอรหตั ผล พรอมทั้งวชิ ชา ๓ และอภญิ ญา ๖

47

¤µÕ иÒÃÒ µíÒ¹Ò¹¾ÃÐÀ¡Ô ÉسÕ

พระสกลุ าเถรี เม่อื ไดส ําเร็จเปน พระอรหนั ตแลว ปรากฏวา เปน ผูมคี วาม
ชํานาญในฤทธ์ทิ ้งั หลาย มีทิพพจกั ขญุ าณ ทิพพโสตญาณ และบุพเพนิ
วาสานุสสติญาณ เปน ตน
ทัง้ นี้ ก็ดวยอานิสงสจ ากอดตี ชาติ ครั้งพระศาสนาพระพทุ ธเจา นามวา
กสั สปะ นางไดบ วชเปนปริพาชกิ า คอื นักบวชนอกพระพุทธศาสนา
นางไดจ ุดประทบี โคมไฟถวายบูชาพระเจดียข องพระกัสสปสมั มาสัม
พทุ ธเจา ดวยศรทั ธาเล่ือมใส จึงเปนผลสง ใหนางมคี วามชํานาญใน
ทิพพจักขญุ าณ สามารถมองทะลุฝา ทะลุกาํ แพง และภเู ขาไดตามความ
ปรารถนาดวยเหตุน้ี พระผมู พี ระภาคจึงทรงประกาศยกยองพระสกุลา
เถรีน้ีไวใ นตาํ แหนง เอตทัคคะ เปน ผูเลศิ กวา ภิกษณุ ที ั้งหลายในฝาย ผมู ี
ทพิ ยจกั ษุ

วิชชา ความรูแจง ความรูวเิ ศษ มี ๓ คอื
๑. ปพุ เพนวิ าสานสุ สติญาณ ความรูท ีใ่ หระลกึ ชาตไิ ด
๒. จตุ ูปปาตญาณ ความรจู ุตแิ ละอุบตั ิเกดิ ของสตั วท ั้งหลาย
๓. อาสวกั ขยญาณ ความรทู ท่ี าํ อาสวะใหส น้ิ

48

¤ÕµÐ¸ÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

¾ÃÐÀÑ··Ò¡Ø³±Åà¡ÊÒà¶ÃÕ

เอตทัคคะในฝา ยผตู รสั รูเ รว็ พลัน

พระภทั ทากุณฑลเกสาเถรี เปน ธดิ าของเศรษฐี ในกรุงราชคฤห บดิ า
มารดาต้งั ชื่อใหวา “ภัททา”

ในวันท่นี างเกดิ น้ัน ไดม ีบุตรของปุโรหติ ในกรุงราชคฤหเ กิดในวัน
เดยี วกันนดี้ วย ขณะที่เขาคลอดจากครรภมารดา ไดเ กดิ เหตุอศั จรรย คือ
บรรดาอาวุธทั้งหลายในบานของปโุ รหิตเองและในบา นคนอื่น ๆ ตลอด
จนถึงในพระราชนิเวศนต า ง ๆ ก็เกดิ แสงประกายรงุ โรจนไ ปท่ัวพระ
นครตลอดคนื ยนั รงุ ปุโรหิตทราบในบพุ นมิ ติ ดีวา บตุ รของตนเกิดฤกษ
โจร เมอ่ื เขาโตขน้ึ จะตองเบยี ดเบยี นทาํ ความเดอื ดรอนฉบิ หายแก
ชาวเมอื ง จึงเขา เฝา พระราชาแตเชา ตรกู ราบทลู ความใหทรงทราบ
โดยตลอดแลว ทูลเสนอแนะวา ขอพระองคโปรดรบั สัง่ ใหประหารชวี ิต
เขาเสยี เพ่ือมใิ หเปนภัยแกช ายเมอื งในอนาคต แตพระราชาตรัสวา เมื่อ
เขาไมไ ดเบยี ดเบียนเราก็ไมเ ปน ไร อยา ไปฆาเขาเลย ปุโรหติ จึงเลี้ยงดู
บุตรตอไป โดยไดต ั้งช่อื ใหวา “สตั ตุกะ”

49

¤µÕ иÒÃÒ µÒí ¹Ò¹¾ÃÐÀÔ¡É³Ø Õ

สตั ตุกะเม่ือโตข้ึนอยูใ นวัยเด็ก นายสัตตุกะก็ได ตัดชองยองเบาลกั ขโมย
ทรพั ยและส่ิงของมีคานอยบา งมากบางตามแตจ ะไดมาเปน เครื่องเล้ียง
ชีพจนไดช ่อื วาไมมีบา งหลงั ใดท่ไี มถูกยองเบาลกั ขโมยเลย ความ
เดือดรอนของชาวเมอื งทราบไปถงึ พระราชา จึงรบั ส่ังใหห นาที่ตดิ ตาม
จบั กมุ โจรช่ัวนั้นใหได พวกเจา หนา ที่ทง้ั หลายจงึ ออกตดิ ตามสืบพบหา
จนจับตัวไดแลวนาํ มาถวายพระราชาเพื่อทรงวินจิ ฉยั ตัดสินโทษ
พระราชา รับสง่ั ใหโบยโจรพรอมทั้งนําตัวตระเวนออกไปตามถนน ให
ท่วั ทัง้ พระนครกอนแลวจึงนําออกไปประหารท่ีเหวสาํ หรบั ทงิ้ โจร

ขณะน้ัน นางภัททา ธิดาเศรษฐมี ีอายยุ างเขา วัย ๑๖ ป มีรปู รา งสวยงาม
บดิ ามารดาจึงระวังรักษาใหอยบู นปราสาทชัน้ ท่ี ๗ ใหห ญิงรับใชห นงึ่
คนคอยดแู ลรับใชของนาง ก็เปนธรรมดาของหญิงสาวในวยั น้ี ยอ มมี
ความฝก ใฝในชายหนุม ดงั น้ัน เมื่อเจา หนาทน่ี าํ โจรหนมุ
ตระเวนมาทางบานของนาง พอนางเปดหนา ตา งมองลงไปเหน็ โจร
เทา นัน้ ก็เกิดจิตปฏิพัทธร กั ใครในตวั โจรทนั ทคี ิดวา
“ชาตินถี้ า ไมไ ดโ จรหนมุ มาเปนคูครองกจ็ ะไมขอมีชวี ติ อย”ู
และรูว า พวกเจาหนา ท่ีกาํ ลงั นาํ โจรไปประหาร ความรสู กึ ของนาง
เหมือนกบั กําลังสูญเสียสามสี ดุ ท่รี ัก ความทุกขเ ศรา โศกเสียใจสุดจะ

50


Click to View FlipBook Version