ปฏิปต ติปุจฉาวสิ ชั นา
พระธรรมเจดีย (จมู พนธฺ โุ ล) : ถาม
พระอาจารยม ั่น ภรู ทิ ัตตเถร : ตอบ
อบุ ายแหง วิปสสนาอนั เปน เครอื่ งถายถอนกเิ ลส
เทศนาโดย พระอาจารยมน่ั ภูริทตั ตเถร
ชมรมกัลยาณธรรม
หนงั สอื ดีอนั ดบั ท่ี ๑๐๖
ปฏิปตตปิ ุจฉาวิสจั นา : พระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) ถาม
ทานพระอาจารยมนั่ ภูริทตั ตเถร ตอบ
จัดพมิ พถวายเปนพุทธบชู าโดย
ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๐๐ ถ.ประโคนชัย ต.ปากนำ้ อ.เมอื ง
จ.สมุทรปราการ โทร. ๐๒-๗๐๒๙๖๒๔
หรือ ชมรมกัลยาณธรรม ๘๙/๖-๗ ซอยศึกษาวิทยา ถ.สาธรเหนือ
สลี ม บางรัก กทม. โทร. ๐๒-๖๓๕๓๙๙๘
รูปเลม -จัดพิมพ : กอ นเมฆแอนดก นั ยก รปุ โทร.๐๘๙๑๐๓-๓๖๕๐
พิมพครงั้ ที่ ๑ : ๕,๐๐๐ เลม
สพั พทานงั ธมั มทานงั ชินาติ
การใหธรรมะเปน ทาน ยอมชนะการใหท ง้ั ปวง
www.kanlayanatam.com
มอบเปน ธรรมบรรณาการ แด
.........................................................
จาก
.........................................................
.........................................................
หนงั สอื ธรรมะทรงคุณคา
ปฏปิ ตติปจุ ฉาวิสชั นา
พระธรรมเจดยี (จมู พนฺธุโล) : ถาม
พระอาจารยมนั่ ภูรทิ ตั ตเถร : ตอบ
๕
ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวสิ ัชนา
ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา
ก. ถามวา ผูป ฏบิ ตั ศิ าสนาโดยมากปฏิบัติอยูแคไ หน?
ข. ตอบวา ปฏบิ ัตอิ ยูภ มู กิ ามาพจรกุศลโดยมาก
ก. ถามวา ทำไมจงึ ปฏิบตั ิอยเู พยี งนนั้ ?
ข. ตอบวา อัธยาศัยของคนโดยมากยงั กำหนัดอยใู น
กามเห็นวา กามารมณทด่ี ีเปน สุข สว นที่ไมด ี เหน็ วา เปน
ทุกข จึงไดปฏิบัตใิ นบุญกิริยาวตั ถุ มกี ารฟงธรรมใหท าน
รักษาศีล เปน ตน หรือภาวนาบา งเลก็ นอ ย เพราะความ
มุง เพื่อจะไดสวรรคสมบตั ิ มนุษยสมบัติ เปนตน กค็ งเปน
ภูมิกามาพจรกุศลอยูน่ันเอง เบื้องหนาแตกายแตกตาย
ไปแลว ยอ มถึงสคุ ติบา ง ไมถ ึงบาง แลวแตว ิบากจะซดั
ไป เพราะไมใ ชนยิ ตบคุ คล คอื ยังไมป ดอบาย เพราะยงั
ไมไ ดบรรลโุ สดาปต ตผิ ล
ก. ถามวา กท็ านผปู ฏิบัติทด่ี กี วา นไี้ มมีหรือ ?
ข. ตอบวา มี แตวา นอย
ก. ถามวา นอยเพราะเหตุอะไร ?
ข. ตอบวา นอ ยเพราะกามทง้ั หลายเทา กบั เลอื ดในอกของ
๖
ปฏปิ ตติปจุ ฉาวิสชั นา
สัตว ยากท่ีจะละความยินดีในกามได เพราะการปฏิบัติ
ธรรมละเอียด ตองอาศัยกายวิเวก จิตตวิเวก จึงจะเปน
ไปเพ่อื อุปธวิ เิ วก เพราะเหตุน้ีแลจึงทำไดดว ยยาก แตไ ม
เหลือวสิ ัย ตองเปนผเู ห็นทกุ ขจรงิ ๆจึงจะปฏิบตั ิได
ก. ถามวา ถาปฏิบัติเพียงภูมิกามาพจรกุศล ดูไมแปลก
อะไร เพราะเกดิ เปน มนษุ ยก เ็ ปน ภมู กิ ามาพจรกศุ ลอยแู ลว
สว นการปฏิบตั ิจะใหดีกวา เกาก็ตอ งใหเลือ่ นช้ัน เปนภูมริ ู
ปาวจรหรอื อรูปวจร และโลกอดุ ร จะไดแ ปลกจากเกา?
ข. ตอบวา ถูกแลว ถาคิดดูคนนอกพุทธกาล ทานก็ได
บรรลฌุ านชน้ั สงู ๆ กม็ คี นในพทุ ธกาล ทา นกไ็ ดบ รรลมุ รรค
แลผล มีพระโสดาบัน แลพระอรหันต โดยมากน่ีเรา
ก็ไมไดบรรลุฌาน เปนอันสูคนนอกพุทธกาลไมได แล
ไมไ ดบ รรลมุ รรคแลผลเปนอันสูค นในพทุ ธกาลไมได
ก. ถามวา เมอ่ื เปนเชนนจ้ี กั ทำอยา งไรดี ?
ข. ตอบวา ตองทำในใจใหเห็นตามพระพุทธภาษิตที่วา
มตตฺ าสุขปรจิ จฺ าคา ปสเฺ ส เจ วิปลุ ํ สขุ ํ
ถาวาบุคคลเห็นซ่ึงสุขอันไพบูลย เพราะบริจาคซ่ึงสุขมี
ประมาณนอยเสยี ไซร จเช มตฺ ตาสุขํ ธโี ร สมฺปสสฺ ํ วิ
ปุลํ สขุ ํ
บุคคลผูมีปญญาเครื่องทรงไว เมื่อเล็งเห็นซึ่งสุขอัน
ไพบลู ย พงึ ละเสียซ่ึงสขุ มปี ระมาณนอ ย
๗
ปฏปิ ต ตปิ ุจฉาวสิ ชั นา
ก. ถามวา สขุ มปี ระมาณนอยไดแกส ขุ ชนดิ ไหน ?
ข. ตอบวา ไดแ กส ขุ ซง่ึ เกดิ แตค วามยนิ ดใี นกามทเ่ี รยี กวา
อามสิ สขุ น่ีแหละสุขมปี ระมาณนอย
ก. ถามวา กส็ ุขอันไพบลู ยไ ดแ กสขุ ชนดิ ไหน ?
ข. ตอบวา ไดแ กฌ าน วิปส สนา มรรค ผล นพิ พาน ที่
เรียกวา นริ ามสิ สุข ไมเจือดวยกาม นแี่ หละสุขอนั ไพบลู ย
ก. ถามวา จะปฏิบัติใหถึงสุขอันไพบูลยจะดำเนินทาง
ไหนดี ?
ข. ตอบวา จะตองดำเนินทางองคม รรค ๘
ก. ถามวา องคมรรค ๘ ใครๆ ก็รูทำไมจึงเดินกันไมใคร
จะถูก ?
ข. ตอบวา เพราะองคม รรคทงั้ ๘ ไมม ใี ครเคยเดนิ จงึ เดนิ
ไมใ ครถ กู พอถกู ก็เปน พระอรยิ เจา
ก. ถามวา ทเ่ี ดินไมถ ูกเพราะเหตุอะไร ?
ข. ตอบวา เพราะชอบเดนิ ทางเกา ซงึ่ เปน ทางชำนาญ
ก. ถามวา ทางเกานัน้ คอื อะไร ?
ข. ตอบวา ไดแกกามสุขัลลิกานุโยค แลอัตตกิลมถา
นุโยค
ก. ถามวา กามสขุ ัลลกิ านุโยคนั้นคอื อะไร ?
ข. ตอบวา ความทำตนใหเ ปน ผหู มกมนุ ตดิ อยใู นกามสขุ
น้แี ล ชอื่ วากามสุขัลลกิ านโุ ยค
๘
ปฏิปตตปิ ุจฉาวิสัชนา
ก. ถามวา อัตตกิลมถานโุ ยคไดแกท างไหน ?
ข. ตอบวา ไดแ กผ ปู ฏบิ ตั ผิ ดิ แมป ระพฤตเิ ครง ครดั ทำตน
ใหลำบากสักเพียงไร ก็ไมสำเร็จประโยชน ซึ่งมรรค, ผล,
นิพพาน, น่แี หละเรียกวาอตั ตกลิ มถานโุ ยค
ก. ถามวา ถา เชน นนั้ ทางทง้ั ๒นี้เหน็ จะมคี นเดนิ มากกวา
มัชฌมิ าปฏปิ ทาหลายรอ ยเทา ?
ข. ตอบวา แนทีเดียว พระพุทธเจาแรกตรัสรู จึงได
ทรงแสดงกอนธรรมอยางอื่นๆ ท่ีมาแลวในธัมมจักกัปป
วัตตนสูตร เพื่อใหสาวกเขาใจ จะไดไมดำเนินในทางท้ัง
๒ มาดำเนนิ ในทางมัชฌิมาปฏิปทา
ก. ถามวา องคมรรค ๘ ทำไมจงึ ยกสัมมาทิฏฐิ ซ่ึงเปน ก
องปญญาข้ึนแสดงกอ น สว นการปฏบิ ตั ขิ องผูดำเนนิ ทาง
มรรค ตองทำศีลไปกอน แลวจึงทำสมาธิแลปญญา ซึ่ง
เรียกวาสิกขา ท้งั ๓ ?
ข. ตอบวา ตามความเหน็ ของขา พเจา วา จะเปน ๒ ตอน
ตอนแรก สวนโลกิยกุศลตองทำศีล สมาธิ ปญญา เปน
ลำดบั ไป ปญ ญาทเ่ี กดิ ขนึ้ ยงั ไมเ หน็ อรยิ สจั ทงั้ ๔ สงั โยชน
๓ ยังละไมได ขีดของใจเพียงนี้เปนโลกีย ตอนที่เห็น
อริยสัจแลวละสังโยชน ๓ ไดตอนนี้เปน โลกตุ ตร
ก. ถามวา ศลี จะเอาศลี ชนิดไหน ?
ข. ตอบวา ศีลมีหลายอยาง ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ศีล
๙
ปฏิปตติปจุ ฉาวิสชั นา
๒๒๗ แตใ นที่นีป้ ระสงคศีลทเี่ รียกวา สมฺมา วาจา สมฺมา
กมฺมนโฺ ต สมมฺ าอาชโี ว แตตองทำใหบ ริบรู ณ
ก. ถามวา สมมฺ าวาจา คอื อะไร ?
ข. ตอบวา มุสาวาทา เวรมณี เวนจากพูดเท็จ ปสุณาย
วาจายเวรมณี เวนจากพูดสอเสียด ใหเขาแตกราวกัน
ผรสุ าย วาจายเวรมณี เวน จากพดู คำหยาบ สมผฺ ปปฺ ลาปา
เวรมณี เวน จากพดู โปรยประโยชน
ก. ถามวา สมฺมากมฺมนโฺ ต การงานชอบนน้ั มกี ่อี ยาง ?
ข. ตอบวา มี ๓ อยาง คือ ปาณาติปาตา เวรมณี เวน
จากฆาสัตว อทินฺนาทานา เวรมณี เวนจากการลัก
ทรัพย อพฺรหมฺจริยา เวรมณี เวนจากอสัทธรรม ไมใช
พรหมจรรย
ก. ถามวา สมมฺ ากมมฺ นโฺ ต ในทอ่ี นื่ ๆ โดยมากเวน อพรฺ หมฺ
สว นในมหาสตปิ ฏ ฐานทำไมจงึ เวน กาเมสมุ ิจฉาจาร ?
ข. ตอบวา ความเห็นของขาพเจาวาที่ทรงแสดงศีล
อพฺรหมฺ เหน็ จะเปน ดวยรับสง่ั แกภกิ ษุ เพราะวาภิกษเุ ปน
พรหมจารบี คุ คลทง้ั นน้ั สวนในมหาสติปฏ ฐาน ๔ ก็รับสงั่
แกภ กิ ษุ เหมอื นกนั แตว า เวลานน้ั พระองคเ สดจ็ ประทบั อยู
ในหมชู นชาวกรุ ุ พวกชาวบา นเหน็ จะฟงอยมู าก ทานจึง
สอนใหเ วนกามมจิ ฉาจาร เพราะชาวบา นมักเปน คนมคี ู
ก. ถามวา สมมฺ าอาชโี ว เลยี้ งชวี ติ ชอบ เวน จากมจิ ฉาชพี
นั้นเปน อยา งไร ?
๑๐
ปฏปิ ตติปจุ ฉาวสิ ชั นา
ข. ตอบวา บางแหงทานก็อธิบายไววา ขายสุรายาพิษ
ศัสตราอาวุธ หรือขายสัตวมีชีวิตตองเอาไปฆา เปนตน
เหลานี้แหละเปน มิจฉาชพี .
ก. ถามวา ถา คนทไ่ี มไ ดข ายของเหลา นเี้ ปน สมมฺ าอาชโี ว
อยางนนั้ หรือ?
ข. ตอบวา ยังเปนไปไมได เพราะวิธีโกงของคนมีหลาย
อยา งนกั เชน คา ขายโดยไมซ อ่ื มกี ารโกงตาชงั่ ตาเตง็ หรอื
เอารัดเอาเปรียบอยางใดอยางหนึ่ง ในเวลาท่ีผูซื้อเผลอ
หรอื เขาไวใ จ รวมความพดู วา อธั ยาศยั ของคนทไี่ มซ อ่ื คดิ
เอารัดเอาเปรียบผูอื่น เห็นแตจะได สุดแตจะมีโอกาส
จะเปนเงินหรือของก็ดี ถึงแมจะไมชอบธรรม สุดแตจะ
ไดเปนเอาทั้งน้ัน ขาพเจาเห็นวา อาการเหลาน้ีก็เปน
มิจฉาชพี ทั้งสน้ิ สมฺมาอาชโี ว จะตองเวน ทุกอยาง เพราะ
เปน สง่ิ ทค่ี ดคอมไดมาโดยไมช อบธรรม.
ก. ถามวา สมมฺ าวายาโม ความเพยี รชอบนนั้ คอื เพยี ร
อยางไร?
ข. ตอบวา สงั วรปธานเพยี รระวงั อกศุ ลวติ ก๓ทย่ี งั ไมเ กดิ
ไมใ หเกดิ ข้นึ ปหานปธาน เพียรละอกศุ ลวติ ก ๓ ทเี่ กดิ ขนึ้
แลวใหหายไป ภาวนาปธาน เพียรเจริญกุศลท่ียังไมเกิด
ใหเกิดขึ้น อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลท่ีเกิดแลวไว
ใหส มบรู ณ.
๑๑
ปฏปิ ตติปจุ ฉาวสิ ัชนา
ก. ถามวา สมฺมาสติ ระลกึ ชอบนน้ั ระลกึ อยา งไร?
ข. ตอบวา ระลึกอยูในสติปฏฐาน ๔ คือ กายานุปสฺ
สนา ระลึกถงึ กาย เวทนานุปสฺสนา ระลึกถึงเวทนา จิตตฺ า
นปุ สสฺ นา ระลึกถึงจติ ธมฺมานปุ สฺสนา ระลึกถึงธรรม
ก. ถามวา สมฺมาสมาธิ ความตั้งใจไวชอบ คือตั้งใจไว
อยา งไร จงึ จะเปนสมฺมาสมาธ?ิ
ข. ตอบวา คอื ตง้ั ไวใ นองคฌ านทง้ั ๔ทเ่ี รยี กวา ปฐมฌาน
ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน เหลาน้ีแหละเปน
สมมฺ าสมาธิ.
ก. ถามวา สมฺ มา สงฺกปฺ โป ความดำริชอบน้ันดำริ
อยางไร?
ข. ตอบวา เนกขฺ มมฺ สงกฺ ปโฺ ปดำรอิ อกจากกามอพยฺ าปาท
สงกฺ ปโฺ ป ดำริไมพยาบาท อวหิ ึ สาสงฺกปฺโป ดำริในความ
ไมเบียดเบียน.
ก. ถามวา สมมฺ าวายาโม กล็ ะอกุศลวิตก ๓ แลว สมฺมา
สงฺกปฺโป ทำไมจงึ ตองดำริอกี เลา ?
ข. ตอบวา ตางกันเพราะ สมฺมาวายาโมนั้น เปนแต
เปล่ียนอารมณ เชน จิตท่ีฟุงซาน หรือเปนอกุศลก็เลิก
นึกเรอ่ื งเกา เสีย มามสี ตริ ะลึกอยใู นอารมณท ี่เปนกศุ ล จงึ
สงเคราะหเ ขา ในกองสมาธิสว นสมมฺ าสงกฺ ปโฺ ป มปี ญ ญา
พจิ ารณาเหน็ โทษของกาม เหน็ อานสิ งสข องเนกขมั ม จงึ
๑๒
ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวสิ ชั นา
ไดค ดิ ออกจากกามดว ยอาการทเี่ หน็ โทษ หรอื เหน็ โทษของ
พยาบาท วิหงิ สา เห็นอานิสงสของเมตตากรณุ า จงึ ไดค ดิ
ละพยาบาทวหิ งิ สา การเหน็ โทษแลเหน็ อานสิ งสเ ชน น้ี
แหละจงึ ผดิ กบั สมมฺ าวายาโม ทา นจงึ สงเคราะหเ ขา ไว
ในกองปญญา.
ก. ถามวา สมมฺ ทฏิ ฐิ ความเหน็ ชอบนน้ั คอื เหน็ อยา งไร?
ข. ตอบวา คือ เห็นทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ที่เรียกวา
อริยสัจ ๔ ความเหน็ ชอบอยา งนแ้ี หละ ชอื่ วา สมมฺ าทิฏฐิ.
ก. ถามวา อริยสจั ๔ นน้ั มกี ิจจะตองทำอะไรบาง ?
ข. ตอบวา ตามแบบที่มีมาในธรรมจักร มีกิจ ๓ อยาง
ใน ๔ อริยสัจรวมเปน ๑๒ คือ สัจญาณ รูวาทุกข กิจ
ญาณ รวู าจะตองกำหนด กตญาณ รวู า กำหนดเสรจ็ แลว
แลรูวาทุกข สมุทัยจะตองละ แลไดละเสร็จแลว และรู
วาทุกขนิโรธจะตองทำใหแจง แลไดทำใหแจงเสร็จแลว
แลรูวาทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา จะตองเจริญ แลได
เจรญิ เสร็จแลว นแี่ หละเรียกวากจิ ในอริยสจั ทัง้ ๔.
ก. ถามวา ทกุ ขน ัน้ ไดแกส ่ิงอะไร?
ข. ตอบวา ขันธ ๕ อายตนะ ๖ ธาตุ ๖ นามรูปเหลานี้
เปนประเภททุกขสจั .
ก. ถามวา ทุกขมีหลายอยางนักจะกำหนดอยางไรถกู ?
ข. ตอบวา กำหนดอยางเดียวก็ได จะเปนขันธ ๕ หรือ
๑๓
ปฏปิ ตติปุจฉาวิสัชนา
อายตนะ ๖ หรือธาตุ ๖ นามรูปอยางใด อยางหนึ่งก็ได
ไมใชวาจะตองกำหนดทีละหลายอยาง แตวาผูปฏิบัติ
ควรจะรูไว เพราะธรรมท้ังหลายเหลานี้ เปนอารมณของ
วิปสสนา.
ก. ถามวา การที่จะเห็นอริยสัจก็ตองทำวิปสสนาดวย
หรอื ?
ข. ตอบวา ไมเจริญวิปสสนา ปญญาจะเกิดอยางไร
ได เมอ่ื ปญญาไมม ีจะเหน็ อรยิ สจั ท้งั ๔ อยางไรได แตท่ี
เจริญวิปสสนากันอยู ผทู ่ีอินทรียออน ยังไมเ หน็ อรยิ สัจทัง้
๔ เลย.
ก. ถามวา ขนั ธ ๕ ใครๆ ก็รู ทำไมจึงกำหนดทกุ ขไ มถ กู ?
ข. ตอบวา รแู ตช อ่ื ไมร อู าการขนั ธต ามความเปน จรงิ
เพราะฉะนนั้ ขนั ธ ๕ เกดิ ข้นึ ก็ไมร ูว า เกดิ ขนั ธ ๕ ดับไปก็
ไมรูวาดับ แลขันธมีอาการสิ้นไปเสื่อมไปตามความเปน
จรงิ อยางไร กไ็ มท ราบท้งั นั้น จงึ เปนผูห ลงประกอบดวย
วปิ ลาส คอื ไมเ ทยี่ ง กเ็ หน็ วา เทย่ี ง เปน ทกุ ขก เ็ หน็ วา เปน สขุ
เปนอนัตตาก็เห็นวาเปนอัตตาตัวตน เปนอสุภไมงามก็
เห็นวาเปน สุภะงาม เพราะฉะนน้ั พระพุทธเจาจงึ ทรงสงั่
สอนสาวก ท่มี าแลว ในมหาสติปฏฐานสูตร ใหร ูจกั ขนั ธ
๕ แลอายตนะ ๖ ตามความเปนจริง จะไดกำหนดถกู .
ก. ถามวา ขนั ธ๕คอื รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ
นั้นมลี ักษณะอยา งไร เมื่อเวลาเกดิ ขึ้นแลดบั ไป จะไดรู?
๑๔
ปฏปิ ตตปิ ุจฉาวิสัชนา
ข. ตอบวา รปู คือธาตดุ ิน ๑๙ น้ำ ๑๒ ลม ๖ ไฟ ๔ ช่อื
วามหาภูตรูป เปนรูปใหญแลอุปาทายรูป ๒๔ เปนรูปท่ี
ละเอียด ซ่งึ อาศัยอยใู นมหาภูตรปู ๔ เหลา นี้ ชอื่ วา รปู แต
จะแจงใหล ะเอยี ดกม็ ากมาย เมอื่ อยากทราบใหล ะเอยี ด ก็
จงไปดูเอาในแบบเถดิ .
ก. ถามวา กเ็ วทนานน้ั ไดแกส ิง่ อะไร?
ข. ตอบวา ความเสวยอารมณ ซงึ่ เกดิ ประจำอยใู นรปู
นี้แหละ คือบางคราวก็เสวยอารมณเปนสุข บางคราวก็
เสวยอารมณเปนทุกข บางคราวก็ไมท ุกขไมสุข น่แี หละ
เรียกวา เวทนา ๓ ถา เตมิ โสมนสั โทมนัส กเ็ ปนเวทนา ๕.
ก. ถามวา โสมนสั โทมนสั เวทนาดเู ปน ชอ่ื ของกเิ ลส ทำไม
จึงเปนขันธ ?
ข. ตอบวา เวทนามี ๒ อยา ง คอื กายกิ ะเวทนาๆ ซ่งึ
เกิดทางกาย ๑ เจตสกิ เวทนาๆ ซง่ึ เกดิ ทางใจ ๑ สขุ
เวทนาเสวยอารมณเ ปน สขุ ทกุ ขเวทนาเสวยอารมณ
เปนทุกข ๒ อยางน้ีเกิดทางกาย โสมนัสโทมนัส
อทุกขมสุขเวทนา ๓ อยางน้ีเกิดทางใจไมใชกิเลส
คือ เชนกับบางคราวอยูดๆี ก็มีความสบายใจ โดยไมได
อาศยั ความรกั ความชอบกม็ ี หรอื บางคราวไมอ าศยั โทสะ
หรอื ปฏฆิ ะ ไมส บายใจขนึ้ เอง เชน คนเปน โรคหวั ใจหรอื โรค
เสนประสาทก็มี อยางนเี้ ปน ขนั ธแ ท ตองกำหนดรวู า เปน
๑๕
ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวิสัชนา
ทุกข เม่ือเวทนาอยา งใด อยางหน่ึงปรากฏขนึ้ นัน่ แหละ
เปนความเกิดข้ึนแหงเวทนา เมื่อเวทนาเหลาน้ันดับหาย
ไป เปนความดับไปแหงเวทนา น่ีแหละเปนขันธแท เปน
ประเภททขุ สัจ.
ก. ถามวา เวทนาน้นั อาศยั อะไรจึงเกดิ ขนึ้ ?
ข. ตอบวา อาศยั อายตนะภายใน๖ภายนอก๖วญิ ญาณ
๖ กระทบกันเขา ช่ือวาผสั สะ เปนทเ่ี กดิ แหงเวทนา
ก. ถามวา อายตนะภายใน ๖ ภายนอก ๖ วญิ ญาณ ๖
ผสั สะ ๖ เวทนาทเี่ กดิ แตผ สั สะ ๖ กไ็ มใ ชก เิ ลส เปน ประเภท
ทุกขท ้ังนน้ั ไมใ ชห รือ ?
ข. ตอบวา ถูกแลว
ก. ถามวา แตทำไมคนเราเม่ือเวลาตาเห็นรูป หูไดยิน
เสียง จมูกไดด มกลน่ิ ลิ้นไดลิม้ รสหรอื ถูกตอ งโผฏฐัพพะ
ดวยกาย รูรับอารมณดวยใจ ก็ยอมไดเวทนาอยางใด
อยา งหนง่ึ ไมใ ชห รอื กอ็ ายตนะแลผสั ส เวทนากไ็ มใ ชก เิ ลส
แตท ำไมคนเราจงึ เกดิ กิเลส และความอยากขึ้นไดเ ลา ?
ข. ตอบวา เพราะไมรูวาเปนขันธแลอายตนะ แลผัสส
เวทนาสำคัญวาเปนผูเปนคนเปนจริงเปนจัง จึงไดเกิด
กเิ ลสและความอยาก เพราะฉะนัน้ พระพทุ ธเจา จึงทรง
แสดงไวใ นฉกั กะสตู รวา บคุ คลเมอื่ สขุ เวทนาเกดิ ขน้ึ
ก็ปลอยใหร าคานสุ ยั ตามนอน ทุกขเวทนาเกิดข้นึ ก็
๑๖
ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวิสชั นา
ปลอ ยใหปฏิฆานสุ ัยตามนอน อทกุ ขมสุขเวทนาเกดิ
ขน้ึ กป็ ลอ ยใหอ วชิ ชานสุ ยั ตามนอน การทำทสี่ ดุ แหง
ทุกขในชาติน้ีไมใชฐานะที่จะมีไดเปนได ถาบุคคล
เมื่อเวทนาท้ัง ๓ เกิดข้ึน ก็ไมปลอยใหอนุสัยทั้ง ๓
ตามนอน การทำท่ีสุดแหงทุกขในชาติน้ีมีฐานะท่ีมี
ไดเ ปนได นกี่ ็เทากบั ตรสั ไวเ ปน คำตายตวั อยูแลว.
ก. ถามวา จะปฏบิ ตั อิ ยา งไรจงึ จะไมใ หอ นสุ ยั ทงั้ ๓ ตาม
นอน ?
ข. ตอบวา ก็ ตอง มี สติ ทำความ รูสึก ตัว ไว แล มี
สัมปชัญญะ ความรูรอบคอบในอายตนะ แลผัสส
เวทนาตามความเปน จรงิ อยา งไร อนสุ ยั ท้งั ๓ จึงจะ
ไมตามนอน สมดวยพระพุทธภาษิตในโสฬสปญหาท่ี
๑ ตรัสตอบอชิตะมานพวา สติ เตสํนิวารณํ สตเิ ปนดุจ
ทำนบเครอื่ งปด กระแสเหลา นนั้ ปญฺ าเยเตปถ ยิ ยฺ เร
กระแสเหลานั้นอันผูปฏิบัติจะละเสียไดดวยปญญา
แตในที่น้ันทานประสงคละตัณหา แตอนุสัยกับตัณหาก็
เปน กิเลสประเภทเดยี วกนั .
ก. ถามวา เวทนาเปน ขนั ธแ ท เปน ทกุ ขสจั ไมใ ชก เิ ลส แต
ในปฏจิ จสมปุ บาท ทำไมจงึ มี เวทนาปจจฺ ยาตณั หา เพราะ
เหตอุ ะไร?
ข. ตอบวา เพราะไมรูจักเวทนาตามความเปนจริง
๑๗
ปฏิปต ติปจุ ฉาวิสัชนา
เมอ่ื เวทนาอยา งใดอยา งหนงึ่ เกดิ ขน้ึ เวทนาทเี่ ปน สขุ
ก็ชอบเพลิดเพลินอยากได หรือใหคงอยูไมใหหาย
ไปเสยี เวทนาทีเ่ ปนทุกขไมด ีมีมา ก็ไมช อบประกอบ
ดวยปฏิฆะ อยากผลักไสไลขับใหหายไปเสียทุก
ขมสุขเวทนา ที่มีมาก็ไมรูอวิชชานุสัยจึงตามนอน
สมดวยพระพุทธภาษิตในโสฬสปญหาท่ี ๑๓ ท่ี อุทยะ
มานพทลู ถามวา กถํ สตสสฺ จรโตวิ ญฺ าณํอุปรชุ ฺฌติ เมอื่
บุคคลประพฤติมีสติอยางไร ปฏิสนธิวิญญาณจึงจะดับ
ตรสั ตอบวา
อชฺฌตฺตฺจ พหทิ ฺธา จ เวทนํ นาพนิ นทฺ โต
เม่ือบุคคลไมเพลิดเพลินย่ิง ซ่ึงเวทนาท้ังภายในแล
ภายนอก
อวํ สตสฺส จรโต วิ ฺญาณํ อปุ รุปชฌฺ ติ
ประพฤติมสี ตอิ ยูอ ยา งน้ี ปฏสิ นธิวิญญาณจึงจะดับ.
ก. ถามวา เวทนาอยา งไรช่ือวาเวทนาภายนอก เวทนา
อยางไรชอื่ วาเวทนาภายใน?
ข. ตอบวา เวทนาทเี่ กดิ แตจ กั ขสุ มั ผสั โสตะสมั ผสั ฆานะ
สมั ผสั ชวิ หาสมั ผัส กายสมั ผสั ๕ อยา งน้ี ช่ือวา เวทนาท่ี
เปน ภายนอก เวทนาทเี่ กดิ ในฌาน เชน ปต หิ รอื สขุ เปน ตน
ชอื่ วา เวทนาภายใน เกดิ แตมโนสัมผสั .
ก. ถามวา ปติแลสขุ กเ็ ปน เวทนาดวยหรอื ?
๑๘
ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวิสชั นา
ข. ตอบวา ปติแลสุขนั้นเกิดข้ึนเพราะความสงบ อาศัย
ความเพยี รของผูปฏบิ ตั ิ ในคิรมิ านนทสูตร อานาปานสติ
หมวดที่ ๕ กับที่ ๖ ทานสงเคราะหเขาในเวทนานุปส สนา
สตปิ ฏ ฐาน เพราะฉะนัน้
ปติแลสุขจึงจัดเปนเวทนาภายในได.
ก. ถามวา ทเ่ี รยี กวา นริ ามสิ เวทนา เสวยเวทนาไมม อี ามสิ
คือไมเจือกามคุณ เห็นจะเปนเวทนาท่ีเกิดข้ึนจากจิตท่ี
สงบน้ีเอง แตถาเชนนนั้ ความยินดีใน รปู , เสียง, กล่นิ , รส,
โผฏฐพั พะ ท่เี รียกวากามคุณ ๕ เวทนาท่เี กดิ คราวนัน้ ก็
เปน อามิสเวทนา ถกู ไหม?
ข. ตอบวา ถูกแลว .
ก. ถามวา สว นเวทนาขา พเจา เขา ใจดแี ลว แตส ว นสญั ญา
ขันธ ความจำรูป จำเสียง จำกล่ิน จำรส จำโผฏฐัพพะ
จำธัมมารมณ ๖ อยางนี้ มีลักษณะอยางไร เมื่อรูป
สัญญาความจำรูปเกิดขึ้นนั้น มีอาการเชนไร แลเวลาท่ี
ความจำรปู ดบั ไป มอี าการเชน ไร ขา พเจา อยากทราบ เพอ่ื
จะไดกำหนดถูก?
ข. ตอบวา คือเราไดเ ห็นรปู คน หรอื รูปของอยางไร อยา ง
หนึ่งแลว มานกึ ขน้ึ รปู คนหรือรปู ของเหลา น้ันก็มาปรากฏ
ขน้ึ ในใจ เหมือนอยางไดเ หน็ จริงๆ นีเ่ รยี กวาความจำรปู .
ก. ถามวา ยังไมเขาใจดี ขอใหชี้ตัวอยางใหขาวอีกสัก
หนอย ?
๑๙
ปฏิปต ตปิ จุ ฉาวสิ ัชนา
ข. ตอบวา เชนกับเม่ือเชาน้ี เราไดพบคนที่รูจักกันหรือ
ไดพ ูดกนั ครนั้ คนนน้ั ไปจากเราแลว เม่ือเรานึกถึงคนนน้ั
รูปรา งคนน้ันก็ปรากฏชดั เจนเหมือนเวลาท่ีพบกนั หรอื ได
เหน็ ของสงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ ไว เมื่ อเวลานกึ ขน้ึ กเ็ หน็ สง่ิ นนั้ ชดั เจน
เหมอื นอยา งเวลาทเี่ หน็ รวมเปน ๒อยา งคอื อปุ าทนิ นกรปู
รูปท่มี ีวิญญาณ เชน รปู คนหรอื รูปสตั ว อนุปาทินนกรูป
รปู ที่ไมมวี ญิ ญาณครอง ไดแ กส่งิ ของตางๆ หรอื ตน ไมด ิน
หนิ กรวด.
ก. ถามวา ถา เชนนั้นคนเปน ก็เปน รูปทม่ี วี ิญาณ คนตาย
กเ็ ปน รูปท่ไี มม วี ิญญาณ อยางน้นั หรอื ?
ข. ตอบวา ถูกแลว นา สลดใจ ชาติเดียวเปน ได ๒ อยาง.
ก. ถามวา ถาเชนน้ันสัญญาก็เปนเร่ืองของอดีตทั้งนั้น
ไมใ ชปจ จุบนั ?
ข. ตอบวา อารมณน้ันเปนอดีต แตเมื่อความจำ
ปรากฏขน้ึ ในใจ เปน สญั ญาปจ จบุ นั นแ่ี หละ เรยี กวา
สัญญาขันธ.
ก. ถามวา ถาไมรูจักสัญญา เวลาที่ความจำรูปคนมา
ปรากฏขึ้นในใจ กไ็ มรูวาสญั ญาของตวั เอง สำคญั วาเปน
คนจรงิ ๆ หรอื ความจำรปู ทไี่ มม วี ญิ ญาณมาปรากฏขนึ้ ใน
ใจ กไ็ มร วู า สญั ญาสำคญั วา เปน สง่ิ เปน ของจรงิ ๆ เมอ่ื เปน
เชนน้ีจะมีโทษอยางไรบาง ขอทานจงอธิบายใหขาพเจา
เขาใจ ?
๒๐
ปฏิปต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา
ข. ตอบวา มีโทษมาก เชนนึกถึงคนท่ีรัก รูปรางของคน
ที่รักก็มาปรากฏกับใจ กามวิตกท่ียังไมเกิดก็จะเกิดข้ึน ที่
เกิดขึ้นแลวก็จะงอกงาม หรือนึกถึงคนที่โกรธกัน รูปราง
ของคนที่โกรธกันนั้นก็มาปรากฏชัดเจนเหมือนไดเห็น
จรงิ ๆ พยาบาทวิตกท่ยี งั ไมเกดิ กจ็ ะเกิดขน้ึ ทเ่ี กิดข้นึ แลวก็
จะงอกงาม หรือนึกถึงส่ิงของท่ีสวยๆ งามๆ รูปรา งสง่ิ ของ
เหลานั้นก็มาปรากฏในใจ เกิดความชอบใจบาง แหละ
อยากไดบาง เพราะไมรูวาสัญญาขันธของตัวเองสำคัญ
วา สง่ิ ทง้ั ปวงเปนจรงิ เปนจงั ไปหมด ที่แทก็เหลวทั้งนน้ั .
ก. ถามวา ก็ ความ เกิด ข้ึน แหง สัญญา มี ลักษณะ
อยางไร?
ข. ตอบวา เม่ือความจำรูปอยางใดอยางหน่ึงมาปรากฏ
ในใจ เปนความเกิดข้ึนแหงความจำรูป เมื่อความจำรูป
เหลา น้ัน ดับหายไปจากใจ เปนความดับไปแหง ความจำ
รูป.
ก. ถามวา ความจำเสยี งน้นั มีลกั ษณะอยา งไร ?
ข. ตอบวา เชนเวลาเราฟงเทศน เม่ือพระเทศนจบแลว
เรานึกขึ้นจำไดวาทานแสดงวาอยางนั้นๆ หรือมีคนมา
พูดเลาเร่ืองอะไรๆ ใหเราฟง เม่ือเขาพูดเสร็จแลว เรานึก
ข้นึ จำถอ ยคำนน้ั ได น่ีเปนลกั ษณะของความจำเสยี ง เม่อื
ความจำเสยี งปรากฏขน้ึ ในใจ เปน ความเกดิ ขน้ึ แหง ความ
๒๑
ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวสิ ชั นา
จำเสียง เมื่อความจำเสียงเหลาน้นั ดับหายไปจากใจ เปน
ความดับไป แหงสทั ทสัญญา.
ก. ถามวา คันธสัญญาความจำกล่ิน มีลักษณะ
อยางไร?
ข. ตอบวา เชนกับเราเคยไดกลิ่นหอมดอกไมหรือน้ำอบ
หรือกลิ่นเหม็นอยางใดอยางหนึ่งไว เม่ือนึกข้ึนก็จำกลิ่น
หอมกลนิ่ เหมน็ เหลานนั้ ได นเี่ ปน ความเกิดขึน้ ของความ
จำกลน่ิ เมอื่ ความจำกลนิ่ เหลา นนั้ หายไปจากใจเปน ความ
ดบั ไปแหงคันธสญั ญา.
ก. ถามวา รส สัญญา ความ จำ รส น้ัน มี ลักษณะ
อยางไร?
ข. ตอบวา ความจำรสนนั้ เมอ่ื เรารบั ประทานอาหารมรี ส
เปรี้ยว หวาน จดื เคม็ หรอื ขม เปน ตน เมอื่ รับประทาน
เสรจ็ แลว นึกขึน้ กจ็ ำรสเหลาน้นั ไดอ ยา งนี้เรียกวา ความ
จำรส เมอื่ ความจำรสปรากฏข้นึ ในใจ เปนความเกิดขน้ึ
แหงรสสัญญา เมือ่ ความจำรสเหลานนั้ ดบั หายไปจากใจ
เปนความดับไปแหงรสสญั ญา.
ก. ถามวา โผฏฐัพพสญั ญานน้ั มลี กั ษณะอยางไร ?
ข. ตอบวา ความจำเครอื่ งกระทบทางกาย เชน เราเดนิ ไป
เหยียบหนาม ถกู หนามยอก หรอื ถกู ตองเย็นรอ นออนแข็ง
อยา งใดอยางหนึ่ง เมอ่ื นกึ ข้นึ จำความถูกตองกระทบทาง
กายเหลานน้ั ไดช อ่ื วา โผฏฐัพพสัญญา.
๒๒
ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวิสัชนา
ก. ถามวา เชนเมื่อกลางวันน้ีเราเดินทางไปถูกแดดรอน
จัด ครน้ั กลบั มาถงึ บาน นึกถึงท่ีไปถกู แดดมานนั้ กจ็ ดั ได
วา วันน้นั เราไปถกู แดดรอ นอยา งนีเ้ ปน โผฏฐพั พสญั ญา
ถูกไหม ?
ข. ตอบวา ถูกแลว ส่ิงใดสิ่งหน่ึงมากระทบถูกตองทาง
กาย เม่ือเรานึกคิดถึงอารมณเหลานั้นจำได เปนโผฏฐัพ
พสัญญาทั้งนั้น เม่ือความจำโผฏฐัพพสัญญาเกิดขึ้นใน
ใจ เปนความเกิดขึ้นแหงโผฏฐัพพสัญญา เมื่อความจำ
เหลาน้ันดับหายไปจากใจ เปนความดับไปแหงโผฏฐัพพ
สัญญา.
ก. ถามวา ธมั มสญั ญามีลักษณะอยา งไร?
ข. ตอบวา ธัมมสัญญา ความจำธัมมารมณนั้นละเอียด
ยิ่งกวา สัญญา ๕ ท่ไี ดอธิบายมาแลว.
ก. ถามวา ธัมมารมณนน้ั ไดแกส่งิ อะไร?
ข. ตอบวา เวทนาขนั ธ สญั ญาขนั ธ สงั ขารขนั ธ ๓ อยา งนี้
ชอ่ื วา ธมั มารมณ เชน เราไดเ สวยเวทนาทเี่ ปน สขุ หรอื ทเ่ี ปน
ทุกขไว แลเวทนาเหลาน้ันดับไปแลว นึกข้ึนจำไดอยางนี้
ชื่อวาความจำเวทนา หรือเราเคยทองบนอะไรๆ จะจำได
มากก็ตามหรือจำไดนอยก็ตาม เม่ือความจำเหลาน้ันดับ
ไป พอนึกขึ้นถึงความจำเกาก็มาเปนสัญญาปจจุบันข้ึน
อยา งนเ้ี รียกวาความจำสญั ญา หรือเราคดิ นกึ เรือ่ งอะไรๆ
๒๓
ปฏปิ ต ตปิ ุจฉาวสิ ัชนา
ขึ้นเองดวยใจ เม่ือความคิดเหลาน้ันดับไป พอเรานึก
เรอ่ื งอะไรๆ ขน้ึ เองดว ยใจ กจ็ ำเรอ่ื งนนั้ ได นเี่ รยี กวา ความ
จำสงั ขารขนั ธ ความจำเรอื่ งราวของเวทนา สญั ญา สงั ขาร
เหลา น่ีแหละชื่อวา ธัมมสัญญา ความจำธัมมารมณ เมอ่ื
ความจำธัมมารมณมาปรากฏขึ้นในใจ เปนความเกิดข้ึน
แหง ธมั มสญั ญา เมอื่ ความจำธมั มารมณเ หลา นน้ั ดบั หาย
ไปจากใจ เปนความดบั ไปแหง ธัมมสญั ญา.
ก. ถามวา แหมชางซบั ซอนกนั จรงิ ๆ จะสังเกตอยางไร
ถูก?
ข. ตอบวา ถา ยงั ไมร จู กั อาการขนั ธ กส็ งั เกตไมถ กู ถา รจู กั
แลวก็สงั เกตไดงาย เหมือนคนทีร่ จู กั ตวั แล รูจกั ช่ือกัน ถึง
จะพบหรือเห็นกันมากๆ คนก็รูจักไดทุกๆ คน ถาคนท่ีไม
เคยรูจักตัวหรือรูจักชื่อกันมาแตคนเดียวก็ไมรูจักวา ผูน้ัน
คือใคร สมดวยพระพุทธภาษิต ในคหุ ัฏฐกสตู รหนา ๓๙๕
ทว่ี า สฺญํ ปริญฺ า วติ เรยยฺ โอฆํ สาธชุ นมากำหนด
รอบรสู ัญญาแลวจะพึงขา มโอฆะได.
ก. ถามวา สังขารขนั ธคอื อะไร?
ข. ตอบวา สังขารขันธค ือความคดิ ความนึก.
ก. ถามวา สังขารขันธเปน ทกุ ขสจั หรือเปน สมุทยั ?
ข. ตอบวา เปน ทกุ ขสจั ไมใ ชสมุทัย.
ก. ถามวา ก็สังขารขันธตามแบบอภิธัมมสังคหะ ทาน
๒๔
ปฏปิ ต ตปิ ุจฉาวสิ ัชนา
แจกไวว า มีบาปธรรม ๑๔ โสภณเจตสกิ ๒๕ อญั ญสมนา
๑๓ รวมเปน เจตสกิ ๕๒ ดวงนน้ั ดูมที ัง้ บญุ ทัง้ บาป และ
ไมใ ชบ ญุ ไมใ ชบ าปปนกนั ทำไมจงึ เปน ทกุ ขสจั อยา งเดยี ว
ขา พเจายงั ฉงนนัก?
ข. ตอบวา อัญญสมนา ๑๓ ยกเวทนาสัญญาออก
เสีย ๒ ขันธ เหลืออยู ๑๑ นี่แหละเปนสังขารขันธแท
จะตอ งกำหนดรูวาเปนทุกข สวนบาปธรรม ๑๔ นน้ั เปน
สมุทัยอาศัยสังขารขันธเกิดข้ึน เปนสวนปหาตัพพธรรม
จะตองละ สวนโสภณเจตสิก ๒๕ นั้นเปนภาเวตัพพ
ธรรมจะตอ งเจรญิ เพราะฉะน้นั บาปธรรม ๑๔ กับโสภณ
เจตสกิ ๒๕ ไมใชสังขารแท เปน แตอาศยั สงั ขารขันธเ กิด
ขน้ึ จงึ มหี นา ทจี่ ะตอ งละแลตอ งเจรญิ ความคดิ ความนกึ
อะไรๆ ที่มาปรากฏข้ึนในใจ เปนความเกดิ ขึน้ แหง
สังขารขันธ ความคิดความนึกเหลาน้ันดับหายไป
จากใจ กเ็ ปนความดับไปแหงสังขารขันธ.
ก. ถามวา วิญญาณขันธท ร่ี ูทางตา ทางหู ทางจมกู ทาง
ลนิ้ ทางกาย ทางใจ ๖ อยา งน้ี มลี กั ษณะอยา งไร และเวลา
เกดิ ข้ึนแลดับไปมอี าการอยา งไร?
ข. ตอบวา คือ ตา ๑ รูป ๑ กระทบกันเขา เกิดความรู
ทางตา เชนกับเราไดเห็นคนหรือส่ิงของอะไรๆ ก็รูไดคน
น้ันคนน้ี หรือส่ิงนั้นสิ่งน้ี ชื่อวาจักขุวิญญาณ เมื่อรูปมา
๒๕
ปฏปิ ตติปจุ ฉาวิสัชนา
ปรากฏกบั ตา เกดิ ความรทู างตาเปน ความเกดิ ขนึ้ แหง จกั ขุ
วิญญาณ เมื่อความรูทางตาดับหายไป เปนความดับไป
แหงจกั ขุวญิ ญาณ หรอื ความรทู างหู รกู ล่ินทางจมูก รรู ส
ทางล้ิน รูโผฏฐัพพะทางกายมาปรากฏขึ้น ก็เปนความ
เกิดขึ้นแหงโสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ
กายวญิ ญาณ เม่อื ความรู ทางหู จมกู ล้ิน กาย หายไป ก็
เปน ความดับไปแหงโสตวิญญาณ ฆานวญิ ญาณ ชิวหา
วิญญาณ กายวิญญาณ เมื่อใจกับธัมมารมณมากระทบ
กนั เขาเกดิ ความรทู างใจเรยี กวา มโนวญิ ญาณ.
ก. ถามวา ใจนนั้ ไดแกส่ิงอะไร?
ข. ตอบวา ใจนั้นเปนเครื่องรับธัมมารมณใหเกิดความรู
ทางใจ เหมอื นอยา งตาเปน เคร่อื งรับรูปใหเ กดิ ความรูท าง
ตา.
ก. ถามวา รเู วทนา รูสัญญา รูสงั ขารนนั้ รอู ยา งไร ?
ข. ตอบวา รเู วทนานนั้ เชน สขุ เวทนาเปน ปจ จบุ นั เกดิ ขน้ึ ก็
รวู าเปนสุข หรือทกุ ขเวทนาเกดิ ขึ้น กร็ ูว าเปนทกุ ข อยางนี้
แลรเู วทนาหรอื สญั ญาใดมาปรากฏขน้ึ ในใจ จะเปน ความ
จำรปู หรอื ความจำเสยี งกด็ ี กร็ สู ญั ญานน้ั อยา งนเี้ รยี กวา รู
สญั ญาหรอื ความคดิ เรอื่ งอะไรๆ ขนึ้ กร็ ไู ปในเรอื่ งนน้ั อยา ง
นี้ รูสงั ขาร ความรเู วทนา สญั ญา สงั ขาร ๓ อยา งนี้ ตองรู
ทางใจ เรยี กวา มโนวญิ ญาณ.
๒๖
ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวสิ ชั นา
ก. ถามวา มโนวิญญาณ ความรูทางใจก็เหมือนกันกับ
ธรรมสัญญา ความจำธัมมารมณอยางน้ันหรือ เพราะ
นก่ี ็รวู าเวทนา สญั ญา สงั ขาร นน่ั ก็จำเวทนา สญั ญา
สงั ขาร ?
ข. ตอบวา ตา งกนั เพราะสญั ญานนั้ จำอารมณท ลี่ ว งแลว
แตตวั สญั ญาเอง เปนสัญญา ปจ จบุ นั สวนมโนวญิ ญาณ
นนั้ รเู วทนาสญั ญาสงั ขารทเี่ ปน อารมณป จ จบุ นั เมอ่ื ความ
รเู วทนา สัญญา สงั ขาร มาปรากฏขนึ้ ในใจ เปน ความเกิด
ขนึ้ แหงมโนวญิ ญาณ เม่อื ความรู เวทนา สัญญา สังขาร
ดบั หายไปจากใจ เปน ความดับไปแหง มโนวิญญาณ.
ก. ถามวา เชนผงเขาตา รูวาเคืองตา เปนรูทางตาใช
ไหม?
ข. ตอบวา ไมใช เพราะรูทางตานั้น หมายถึงรูปท่ีมา
กระทบกัน ตาเกิดความรูขึ้น สวนผงเขาตาน้ันเปนกาย
สมั ผัส ตอ งเรียกวา รโู ผฏฐพั พะ เพราะตานัน้ เปน กาย ผง
นัน้ เปน โผฏฐัพพะ เกดิ ความรขู ้นึ ช่ือวา รูทางกาย ถาผง
เขาตาคนอ่ืน เขาวานเราไปดู เมื่อเราไดเห็นผงเกิดความ
รขู ้นึ ชอ่ื วารูทางตา.
ก. ถามวา สาธุ ขาพเจาเขาใจไดความในเร่ืองนี้ชัดเจน
ดแี ลว แตขันธ ๕ น้นั ยังไมไดค วามวาจะเกิดข้นึ ทลี ะอยา ง
สองอยาง หรอื วา ตอ งเกิดพรอ มกนั ท้งั ๕ ขันธ
๒๗
ปฏิปตติปจุ ฉาวสิ ชั นา
ข. ตอบวา ตอ งเกิดพรอมกันทัง้ ๕ ขนั ธ.
ก. ถามวา ขนั ธ ๕ ทเี่ กดิ พรอ มกนั นน้ั มลี กั ษณะอยา งไร?
และความดบั ไปมอี าการอยา งไร ? ขอใหช ตี้ วั อยา งใหข าว
สกั หนอย
ข. ตอบวา เชน เวลาเรานึกถึงรูปคนหรือรูปสิ่งของอยาง
ใดอยางหน่ึง อาการที่นึกข้ึนนั้นเปนลักษณะของสังขาร
ขันธ รปู รางหรือสิ่งของเหลา นน้ั มาปรากฏขึ้นในใจ น่เี ปน
ลกั ษณะของมโนวิญญาณ สุขหรอื ทุกขห รืออเุ บกขาที่เกดิ
ขึน้ ในคราวน้ัน นี่เปน ลักษณะของเวทนา มหาภตู รูป หรอื
อุปาทายรูปท่ีปรากฏอยูนั้น เปนลักษณะของรูป อยางนี้
เรียกวาความเกิดขึ้นแหง ขันธพรอมกันทัง้ ๕ เม่ืออาการ
๕ อยา งเหลานัน้ ดบั ไปเปน ความดับไปแหง ขนั ธทงั้ ๕.
ก. ถามวา สวนนามท้ัง ๔ เกิดขึ้นและดับไปพอจะเห็น
ดว ย แตท ่ีวา รปู ดับไปนั้นยังไมเ ขาใจ ?
ข. ตอบวา สว นรปู นนั้ มคี วามแปรปรวนอยเู สมอ เชน ของ
เกา เสอื่ มไป ของใหมเ กดิ แทนแตท วา ไมเ หน็ เอง เพราะรปู
สันตติ รปู ท่ีติดตอ เนื่องกนั บังเสีย จึงแลไมเหน็ แตก็ลอง
นกึ ดถู งึ รปู ตงั้ แตเ กดิ มาจนถงึ วนั น้ี เปลย่ี นไปแลว สกั เทา ไร
ถารูปไมด บั กค็ งไมมีเวลาแก แลเวลาตาย.
ก. ถามวา ถา เราจะสังเกตขนั ธ ๕ วา เวลาเกดิ ขนึ้ แลดับ
ไปนั้น จะสังเกตอยางไรจึงจะเห็นได แลท่ีวาขันธสิ้นไป
๒๘
ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวสิ ชั นา
เสอื่ มไปนน้ั มลี กั ษณะอยา งไร เพราะวา เกดิ ขน้ึ แลว กด็ บั ไป
แลว กเ็ กิดข้นึ ไดอ ีก ดูเปนของคงทไ่ี มเ หน็ มคี วามเส่อื ม?
ข. ตอบวา พดู กบั คนทไี่ มเ คยเหน็ ความจรงิ นน้ั ชา งนา ขนั
เสยี เหลอื เกนิ วิธีสงั เกตขนั ธ ๕ นัน้ ก็ตอ งศกึ ษาใหร จู กั
อาการขันธตามความเปนจริง แลวก็มีสติสงบความคิด
อ่ืนเสียหมดแลว จนเปนอารมณอันเดียวที่เรียกวาสมาธิ
ในเวลาน้ันความคิดอะไรๆ ไมมีแลว สวนรูปนั้นหมาย
ลมหายใจ สวนเวทนาก็มีแตปติหรือสุข สวนสัญญาก็
เปนธรรม สัญญาอยางเดียว สวนสังขารเวลานั้นเปนสติ
กับสมาธิ หรอื วิตกวิจารอยู สว นวญิ ญาณกเ็ ปน แตค วาม
รอู ยใู นเรอื่ งทสี่ งบนน้ั ในเวลานนั้ ขนั ธ ๕ เขา ไปรวมอยเู ปน
อารมณเดียว ในเวลานั้นตองสังเกตอารมณปจจุบัน ที่
ปรากฏอยูเปนความเกิดขึ้นแหงขันธ พออารมณปจจุบัน
นน้ั ดบั ไป เปน ความดบั ไปแหง นามขนั ธ สว นรปู นน้ั เชน ลม
หายใจออกมาแลวพอหายใจกลับเขาไป ลมหายใจออก
นนั้ กด็ บั ไปแลว ครนั้ กลบั มาหายใจออกอกี ลมหายใจเขา
กด็ บั ไปแลว นี่แหละเปน ความดบั ไปแหงขันธท ั้ง ๕ แลว
ปรากฏขน้ึ มาอกี กเ็ ปน ความเกดิ ขนึ้ ทกุ ๆ อารมณ แลขนั ธ
๕ ทเี่ กดิ ขน้ึ ดบั ไป ไมใ ชด บั ไปเปลา ๆ รปู ชวี ติ นิ ทรยี ความ
เปน อยขู องรปู ขนั ธ อรูปชวี ิตินทรยี ความเปน อยขู องนาม
ขนั ธท ง้ั ๔ เมอื่ อารมณด บั ไปครงั้ หนงึ่ ชวี ติ แลอายขุ องขนั ธ
ท้ัง ๕ กส็ ้ินไปหมดไปทุกๆ อารมณ.
๒๙
ปฏิปต ติปุจฉาวิสชั นา
ก. ถามวา วิธีสังเกตอาการขันธที่ส้ินไปเส่ือมไปนั้น
หมายเอาหรอื คดิ เอา?
ข. ตอบวา หมายเอากเ็ ปน สญั ญา คดิ เอากเ็ ปน เจตนา
เพราะฉะนั้นไมใชหมายไมใชคิด ตองเขาไปเห็น
ความจริงทปี่ รากฏเฉพาะหนา จึงจะเปน ปญญาได.
ก. ถามวา ถา เชน นน้ั จะดคู วามสนิ้ ไปเสอื่ มไปของขนั ธท ง้ั
๕ มิตอ งต้ังพธิ ีทำใจใหเปน สมาธทิ กุ คราวไปหรือ?
ข. ตอบวา ถายังไมเคยเห็นความจริง ก็ตองต้ังพิธีเชนนี้
รำ่ ไป ถา เคยเหน็ ความจรงิ เสยี แลว กไ็ มต อ งตงั้ พธิ ที ำใจให
เปนสมาธิทกุ คราวก็ได แตพอมสี ติข้ึน ความจริงก็ปรากฏ
เพราะเคยเห็นแลรจู ักความจรงิ เสยี แลว เมื่อมสี ตริ ูตัวขน้ึ
มาเวลาใด กเ็ ปน สมถวิปสสนากำกบั กันไปทกุ คราว.
ก. ถามวา ทว่ี า ชวี ติ แลอายขุ องขนั ธส นิ้ ไปเสอ่ื มไปนนั้ คอื
สิน้ ไปเส่อื มไปอยางไร?
ข. ตอบวา เชน เราจะมลี มหายใจอยไู ดส กั ๑๐๐ หน กจ็ ะ
ตาย ถา หายใจเสยี หนหนงึ่ แลว กค็ งเหลอื อกี ๙๙ หน หรอื
เราจะคดิ จะนกึ อะไรไดส กั ๑๐๐ หน เมอ่ื คดิ นกึ เสยี หนหนง่ึ
แลว กค็ งเหลอื ๙๙ หน ถาเปน คนอายยุ ืน กห็ ายใจอยไู ด
มากหน หรอื คดิ นกึ อะไรๆ อยไู ดม ากหน ถา เปน คนอายสุ นั้
กม็ ีลมหายใจและคิดนึกอะไรๆ อยูไ ดน อ ยหน ที่สุดก็หมด
ลงวนั หนึ่ง เพราะจะตองตายเปน ธรรมดา.
๓๐
ปฏิปต ติปุจฉาวิสัชนา
ก. ถามวา ถา เราจะหมายจะคดิ อยใู นเรอ่ื งความจรงิ ของ
ขนั ธ อยา งนีจ้ ะเปน ปญ หาไหม ?
ข. ตอบวา ถาคิดเอาหมายเอา ก็เปนสมถะ ที่เรียกวา
มรณัสสติ เพราะปญ ญานัน้ ไมใ ชเรอ่ื งหมายหรือเรอื่ งคิด
เปนเรื่องของความเห็นอารมณปจจุบันที่ปรากฏ เฉพาะ
หนา ราวกับตาเหน็ รปู จึงจะเปนปญ ญา.
ก. ถามวา เม่ือจิตสงบแลว ก็คอยสังเกตดูอาการขันธ
ที่เปนอารมณปจจุบัน เพ่ือจะใหเห็นความจริง นั่นเปน
เจตนาใชไหม?
ข. ตอบวา เวลานั้นเปนเจตนาจริงอยู แตความจริงก็ยัง
ไมป รากฏ เวลาทค่ี วามจรงิ ปรากฏขน้ึ นนั้ พน เจตนาทเี ดยี ว
ไมม เี จตนาเลย เปน ความเห็นท่เี กิดข้ึนเปนพิเศษ ตอจาก
จติ ทสี่ งบแลว.
ก. ถามวา จติ คูกับเจตสิก ใจคกู ับธมั มารมณ มโนธาตุคู
กับธรรมธาตุ ๓ คูนเี้ หมอื นกนั หรอื ตา งกัน?
ข. ตอบวา เหมอื นกัน เพราะวาจิต กบั มโนธาตุกบั ใจน้ัน
อยางเดียวกัน สว นใจนัน้ เปน ภาษาไทย ภาษาบาลี ทา น
เรยี กวา มโน เจตสกิ นน้ั กไ็ ดแกเ วทนา สญั ญา สงั ขาร ธัม
มารมณน นั้ ก็ คอื เวทนา สญั ญา สงั ขาร ธรรมธาตนุ น้ั กค็ อื
เวทนา สญั ญา สังขาร.
ก. ถามวา ใจน้นั ทำไมจงึ ไมใ ครปรากฏ เวลาที่สงั เกตดูก็
๓๑
ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวสิ ชั นา
เหน็ แตเ หลา ธมั มารมณ คอื เวทนาบา ง สญั ญาบา ง สงั ขาร
บาง มโนวิญญาณความรูทางใจ เพราะเหตุไร ใจจึงไม
ปรากฏเหมอื นเหลา ธมั มารมณ กับมโนวญิ ญาณ?
ข. ตอบวา ใจนน้ั เปนของละเอียด เหน็ ไดยาก พอพวก
เจตสิกธรรมที่เปนเหลาธัมมารมณมากระทบเขาก็เกิด
มโนวญิ ญาณ ถกู ผสมเปนมโนสัมผสั เสียทีเดียว จงึ แลไม
เห็นมโนธาตไุ ด.
ก. ถามวา อเุ บกขาในจตุตถฌาน เปน อทกุ ขมสขุ เวทนา
ใชหรือไม?
ข. ตอบวา ไมใ ช อทุกขมสุขเวทนา น้ันเปนเจตสิกธรรม
สว นอุเบกขาในจตตุ ถฌานนั้นเปน จิต.
ก. ถามวา สงั โยชน ๑๐ นนั้ คอื สกั กายทฐิ ิ วจิ ิกจิ ฉา
สลี พั พตั ตปรามาส กามราคะ พยาบาท รูปราคะ อรูป
ราคะ มานะ อทุ ธจั จะ อวชิ ชา ทีแ่ บง เปน สงั โยชนเบ้อื ง
ตำ่ ๕ เบ้อื งบน ๕ นัน้ ก็สว นสักกายทฐิ ิท่ที า นแจกไว ตาม
แบบขันธละ ๔ รวม ๕ ขนั ธ เปน ๒๐ ทีว่ า ยอมเหน็ รูป
โดยความเปนตวั ตนบาง ยอมเห็นตวั ตนวามีรูปบา ง ยอม
เห็นรูป ในตวั ตนบาง ยอมเห็นตัวตนในรปู บา ง ยอ มเห็น
เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ โดยความเปนตวั ตนบา ง
ยอมเหน็ ตัวตนวามี เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณบาง
ยอ มเห็น เวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณในตัวตนบาง
๓๒
ปฏิปต ตปิ ุจฉาวสิ ชั นา
ยอ มเหน็ ตัวตนในเวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณบา ง
ถาฟง ดูทา นท่ลี ะสักกายทิฐไิ ดแลว ดไู มเ ปน ตัวเปนตน
แตท ำไมพระโสดาบนั กล็ ะสักกายทฏิ ฐไิ ดแ ลว สงั โยชน
ยังอยอู ีกถึง ๗ ขา พเจา ฉงนนัก?
ข. ตอบวา สกั กายทฏิ ฐิ ทที่ า นแปลไวต ามแบบ ใครๆ ฟง
กไ็ มใ ครเ ขา ใจ เพราะทา นแตก อ น ทานพดู ภาษามคธกนั
ทานเขาใจไดความกันดี สวนเราเปนไทย ถึงแปลแลวก็
จะไมเขาใจ ของทาน จึงลงความเหน็ วา ไมเปนตวั เปน ตน
เสีย ดูออกจะแรงมากไป ควรจะนึกถึง พระโกณทัญญะ
ในธมั มจกั ร ทา นไดเ ปน โสดาบนั กอ นคนอน่ื ทา นไดค วาม
เหน็ วา ยงฺกิจฺ ิ สมทุ ยธมฺมํ สพพฺ นตฺ ํ นโิ รธธมมํ สง่ิ ใดสิง่
หน่ึง มีความเกิดข้ึนเปนธรรมดา สิ่งนั้นลวนมีความดับ
เปน ธรรมดา แลพระสารบี ตุ รพบพระอัสสชิ ไดฟงอรยิ สจั
ยอ วา
เย ธมมฺ า เหตปุ ฺปภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต เตสฺจ โย นิ
โรโธ จ เอวํวาที มหาสมโณ
ธรรมเหลาใดเกิดแตเหตุ พระตถาคตเจาทรงแสดงเหตุ
ของธรรมเหลานั้น และความดับของธรรมเหลาน้ัน พระ
มหาสมณะมปี กติกลาวอยางนี้ ทานกไ็ ดด วงตาเหน็ ธรรม
ละสักกายทฐิ ไิ ด.
ก. ถามวา ถาเชนน้ันทานก็เห็นความจริงของปญจขันธ
๓๓
ปฏิปตติปุจฉาวิสชั นา
ถา ยความเหน็ ผดิ คอื ทิฏฐิวปิ ลาสเสยี ได สว นสลี พั พตั กับ
วิจกิ ิจฉา ๒ อยา งนั้น ทำไมจงึ หมดไปดว ย?
ข. ตอบวา สักกายทิฏฐิน้ัน เปนเร่ืองของความเห็นผิด
ถึงสีลัพพัตก็เก่ียวกับความเห็นวาส่ิงที่ศักด์ิสิทธ์ิตางๆ ที่
มีอยูในโลกจะใหดใี หช ่ัวได วจิ ิกจิ ฉาน้ัน เมือ่ ผูท่ยี งั ไมเคย
เห็นความจริง ก็ตองสงสัยเปนธรรมดา เพราะฉะนั้นทาน
ที่ไดดวงตาเห็นธรรมคือเห็นความจริงของสังขารท้ังปวง
สว นสีลพั พตั น้นั เพราะความเห็นของทา นตรงแลวจึงเปน
อจลสัทธา ไมเห็นไปวาสิ่งอ่ืนนอกจากกรรมท่ีเปนกุศล
แลอกุศล จะใหดีใหชั่วได จึงเปนอันละสีลัพพัตอยูเอง
เพราะสงั โยชน ๓ เปนกิเลสประเภทเดยี วกนั .
ก. ถามวา ถาตอบสังโยชน ๓ อยางนี้แลว มิขัดกันกับ
สกั กายทฏิ ฐิตามแบบทว่ี า ไมเปนตวั เปนตนหรอื ?
ข. ตอบวา คำท่ีวาไมเปนตัวเปนตนนั้น เปนเรื่องที่
เขาใจเอาเองตางหาก เชน กับพระโกณฑัญญะ เมื่อฟง
ธรรมจักร ทานก็ละสักกายทิฏฐิไดแลว ทำไมจึงตองฟง
อนัตตลักขณะสูตรอีกเลา นี่ก็สอใหเห็นไดวาทานผูท่ี
ละสักกายทิฏฐิไดน้ัน คงไมใชเ ห็นวาไมเปนตัวเปนตน.
ก. ถามวา ถา เชน นนั้ ทวี่ า เหน็ อนตั ตา กค็ อื เหน็ วา ไมใ ชต วั
ไมใ ชต นอยางนั้นหรือ?
ข. ตอบวา อนัตตาในอนัตตลักขณะสูตรท่ีพระพุทธเจา
๓๔
ปฏิปต ตปิ ุจฉาวสิ ชั นา
ทรงซกั พระปญ จวคั คยี มเี นอ้ื ความวา ขนั ธ ๕ ไมเ ปน ไปใน
อำนาจ สิง่ ที่ไมเ ปน ไปในอำนาจบงั คับไมได จึงช่อื วา เปน
อนตั ตา ถาขันธ ๕ เปนอัตตาแลวกค็ งจะบังคบั ได เพราะ
ฉะน้ันเราจึงควรเอาความวา ขันธ ๕ ท่ีไมอยูในอำนาจ
จึงเปนอนตั ตา เพราะเหตุที่บังคับไมได ถา ขันธ ๕ เปน
อตั ตา ตัวตนกค็ งจะบังคบั ได.
ก. ถามวา ถา เชน น้นั เห็นอยา งไรเลาจึงเปน สกั กายทิฏฐิ?
ข. ตอบวา ตามความเห็นของขาพเจาวา ไมรูจักขันธ
๕ ตามความเปนจริง เห็นปญจขันธวาเปนตนและเท่ียง
สุข ปนตัวตนแกนสาร และเลยเห็นไปวาเปนสุภะความ
งามดวย ท่ีเรียกวาทิฏฐิวปิ ลาส นีแ่ หละเปนสักกายทิฏฐิ
เพราะฉะน้ันจึงเปนคูปรับกับ ยงฺกิญจิ สมุทยธมฺมํ สพฺ
พนฺตํ นิโรธธมมํ ซ่ึงเปนความเห็นถูก ความเห็นชอบจึง
ถายความเห็น ผดิ เหลา นนั้ ได.
ก. ถามวา ถาเชนน้นั ทานท่ลี ะสักกายทิฐิไดแ ลว อนิจฺจํ
ทุกขํ อนตฺตา จะเปนอธั ยาศยั ไดไ หม ?
ข. ตอบวา ถาฟงดูตามแบบทานเห็น ยงฺกิฺจิ สมุทย
ธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ ชัดเจน อนิจฺจํ คงเปนอัธยาศัย
สว นทุกขํ กบั อนตฺตา ถงึ จะเหน็ กไ็ มเ ปน อัธยาศยั เขา ใจวา
ถาเหน็ ปญ จขันธ เปนทุกขมากเขา กามราคะพยาบาทก็
คงนอย ถาเห็นปญจขันธเปนอนัตตามากเขา กามราคะ
๓๕
ปฏิปต ตปิ ุจฉาวิสัชนา
พยาบาทกค็ งหมด ถาเห็นวา สพเฺ พ ธมมฺ า อนตตฺ า ชัดเจน
เขา สงั โยชนเ บื้องบนก็คงหมด นี่เปนสวนความเขา ใจ แต
ตามแบบทา นก็ไมไ ดอ ธิบายไว.
ก. ถามวา ท่ีวาพระสกิทาคามี ทำกามราคะพยาบาท
ใหนอยนั้น ดูมัวไมชัดเจน เพราะไมทราบวานอยแค
ไหน ไมแตกหักเหมือนพระโสดาบัน พระอนาคามีแล
พระอรหนั ต?
ข. ตอบวา แตกหักหรือไมแตกหักก็ใครจะไปรูของทาน
เพราะวา เปน ของเฉพาะตัว.
ก. ถามวา ถาจะสันนิษฐานไปตามแนวพระปริยัติก็จะ
ชี้ตัวอยา งใหเขา ไดบางหรอื ไม?
ข. ตอบวา การสันนิษฐานนั้นเปนของไมแน ไมเหมือน
อยางไดร ูเ องเหน็ เอง.
ก. ถามวา แนห รือไมแ นก เ็ อาเถดิ ขาพเจา อยากฟง ?
ข. ตอบวา ถาเชนนั้น ขาพเจาวาทานที่ไดเปนโสดาบัน
เสร็จแลว มีอัธยาศัยใจคอซ่ึงตางกับปุถุชน ทานไดละ
กามราคะพยาบาทสว นหยาบถงึ กบั ลว งทจุ รติ ซง่ึ เปน ฝา ย
อบายได คงเหลอื แตอยางกลางอยางละเอียดอีก ๒ สว น
ภายหลงั ทานเจรญิ สมถวปิ สสนามากขึน้ กล็ ะ กามราคะ
ปฏิฆะสังโยชน อยางกลางไดอีกสวน ๑ ขาพเจาเห็นวา
นีแ่ หละเปน มรรคท่ี ๒ ตอมาทานประพฤติปฏิบตั ิละเอียด
๓๖
ปฏิปตตปิ จุ ฉาวิสัชนา
เขา กล็ ะกามราคะพยาบาททเี่ ปน อยา งละเอยี ดไดข าด ชอื่
วา พระอนาคาม.ี
ก. ถามวา กามราคะพยาบาทอยางหยาบถึงกับลวง
ทุจริต หมายทจุ ริตอยางไหน ?
ข. ตอบวา หมายเอาอกุศลกรรมบถ ๑๐ วาเปนทุจริต
อยางหยาบ.
ก. ถามวา ถา เชน นั้น พระ โสดาบัน ทาน ก็ ละ อกุศล
กรรมบถ ๑๐ ไดเ ปนสมุจเฉทหรอื ?
ข. ตอบวา ตามความเห็นของขาพเจา เห็นวากายทุจริต
๓ คอื ปาณา อทนิ นา กาเมสมุ จิ ฉาจาร มโนทุจริต ๓ อภิ
ชฌฺ า พยาบาท มจิ ฉาทฏิ ฐนิ ล้ี ะขาดไดเ ปน สมุจเฉท สว น
วจีกรรมที่ ๔ คอื มุสาวาทก็ละไดข าด สวนวจกี รรมอีก ๓
ตัว คอื ปส ุณาวาจา ผรสุ วาจา สัมผัปปลาป ละไดแ ตส ว น
หยาบท่ีปุถุชนกลาวอยู แตสวนละเอียดยังละไมไดตอง
อาศัยสงั วรความระวงั ไว.
ก. ถามวา ทตี่ อ งสำรวมวจกี รรม ๓ เพราะเหตอุ ะไรทำไม
จงึ ไมขาดอยางมุสาวาท?
ข. ตอบวา เปน ดว ยกามราคะกบั ปฏฆิ ะสงั โยชนท ง้ั ๒ ยงั
ละไมไ ด.
ก. ถามวา วจกี รรม๓มาเกย่ี วอะไรกบั สงั โยชนท ง้ั ๓ ดว ย
เลา?
๓๗
ปฏิปต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา
ข. ตอบวา บางคาบบางสมัย เปนตนวามีเรื่องที่จำเปน
เกดิ ขนึ้ ในคนรกั ของทา นกบั คนอกี คนหนงึ่ ซง่ึ เขาทำความ
ไมด อี ยา งใดอยา งหนง่ึ จำเปน ทจ่ี ะตอ งพดู ครนั้ พดู ไปแลว
เปนเหตุใหเขาหางจากคนนั้นจึงตองระวัง สวนปสุณา
วาจา บางคราวความโกรธเกิดขน้ึ ท่สี ดุ จะพูดออกไปดว ย
กำลงั ใจทโี่ กรธวา พอ มหาจำเรญิ แมมหาจำเริญ ท่ีเรียก
วา ประชดทา น กส็ งเคราะหเ ขา ในผรสุ วาจา เพราะเหตนุ นั้
จงึ ตองสำรวม สวนสัมผัปปลาปนน้ั ตริ จั ฉานกถาตางๆ มี
มาก ถาสมัยท่ีเผลอสติมีคนมาพูด ก็อาจจะพลอยพูดไป
ดว ยได เพราะเหตุน้ันจงึ ตอ งสำรวม.
ก. ถามวา ออ พระโสดาบนั ยังมเี วลาเผลอสตอิ ยหู รอื ?
ข. ตอบวา ทำไมทานจะไมเ ผลอ สงั โยชนยังอยูอ กี ถึง ๗
ทา นไมใชพระอรหนั ตจะไดบริบูรณด วยสต.ิ
ก. ถามวา กามราคะ พยาบาท อยางกลางหมายความ
เอาแตไ หน เมอ่ื เกดิ ขนึ้ จะไดร?ู
ข. ตอบวา ความรกั แลความโกรธทป่ี รากฏขน้ึ มเี วลาสนั้
หายเร็ว ไมถึงกบั ลว งทจุ ริต นี่แหละเปนอยา งกลาง.
ก. ถามวา กก็ ามราคะ พยาบาท อยา งละเอยี ดนน้ั หมาย
เอาแคไ หน แลเรยี กวา พยาบาทดหู ยาบมาก เพราะเปน ชอื่
ของอกศุ ล?
ข. ตอบวา บางแหงทานก็เรียกวาปฏิฆะสังโยชน ก็มีแต
๓๘
ปฏิปตติปุจฉาวสิ ชั นา
ความเห็นของขาพเจาวา ไมควรเรียกพยาบาท ควรจะ
เรียกปฏฆิ ะสงั โยชนดูเหมาะดี
ก. ถามวา ก็ปฏิฆะกับกามราคะที่อยางละเอียดนั้นจะ
ไดแกอาการของจติ เชนใด ?
ข. ตอบวา ความกำหนัดที่อยางละเอียด พอปรากฏข้ึน
ไมทันคิดออกไปก็หายทันที สวนปฏิฆะนั้น เชน คนท่ีมี
สาเหตุโกรธกันมาแตกอน คร้ันนานมาความโกรธกันมา
แตกอน คร้นั นานมาความโกรธนั้นก็หายไปแลว และไม
ไดน กึ ถงึ เสยี เลย ครน้ั ไปในทปี่ ระชมุ แหง ใดแหง หนงึ่ ไปพบ
คนน้ันเขามีอาการสะดุดใจ ไมสนิทสนมหรือเกอเขิน ผิด
กบั คนธรรมดาซงึ่ ไมเ คยมสี าเหตกุ นั ขา พเจา เหน็ วา อาการ
เหลาน้ีเปนอยางละเอียด ควรจะเรียกปฏิฆะสังโยชนได
แตตามแบบทานก็ไมไดอธบิ ายไว
ก. ถามวา สังโยชนทั้ง ๒ น้ี เห็นจะเกิดจากคนโดยตรง
ไมใ ชเกิดจากส่งิ ของทรพั ยสมบัติอืน่ ๆ ?
ข. ตอบวา ถูกแลว เชนวิสาขะอุบาสกเปนพระอนาคามี
ไดยินวาหลีกจากนางธัมมทินนา ไมไดหลีกจากสิ่งของ
ทรพั ยส มบตั สิ ว นอนื่ ๆสว นความโกรธหรอื ปฏฆิ ะทเ่ี กดิ ขน้ึ ก็
เปน เรอื่ งของคนทงั้ นน้ั ถงึ แมจ ะเปน เรอ่ื งสงิ่ ของ กเ็ กยี่ วขอ ง
กบั คน ตกลงโกรธคนนนั่ เอง
ก. ถามวา สว นสงั โยชนเ บอื้ งตำ่ นนั้ กไ็ ดร บั ความอธบิ าย
๓๙
ปฏิปต ติปุจฉาวิสชั นา
มามากแลว แตส ว นสงั โยชนเ บอ้ื งบน ๕ ตามแบบทอ่ี ธบิ าย
ไวว า รูปราคะ คือ ยินดใี นรูปฌาน อรปู ราคะยนิ ดใี นอรูป
ฌาน ถาเชนนน้ั คนทไี่ มไ ดบ รรลฌุ านสมาบัติ ๘ สังโยชน
ทั้ง ๒ ก็ไมมีโอกาสจะเกิดได เมื่อเปนเชนนี้สังโยชน ๒
ไมมีหรือ ?
ข. ตอบวา มี ไมเ กดิ ในฌาน ก็ไปเกิดในเร่อื งอน่ื
ก. ถามวา เกิดในเรื่องไหนบาง ขอทานจงอธิบายให
ขา พเจาเขาใจ ?
ข. ตอบวา ความยินดีในรูปขันธ หรือความยินดีใน รูป
เสียง กล่ิน รส โผฏฐพั พะ น้นั ชอ่ื วารูป ราคะ ความยนิ ดใี น
เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ หรอื ยนิ ดใี นสมถวปิ ส สนา
หรือยนิ ดใี นสว นมรรคผล ทไ่ี ดบ รรลเุ สขคณุ แลว เหลา นก้ี ็
เปน อรปู ราคะได
ก. ถามวา กค็ วามยนิ ดใี นกาม ๕ พระอนาคามลี ะไดแ ลว
ไมใชห รอื ทำไมจึงมาเก่ียวกับสังโยชน เบอ้ื งบนอกี เลา ?
ข. ตอบวา กามมี ๒ ช้นั ไมใชช น้ั เดียวทพ่ี ระอนาคามลี ะ
น้ัน เปนสวนความกำหนัดในเมถุน ซ่ึงเปนคูกับพยาบาท
สว นความยนิ ดใี นรปู เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐพั พะทไ่ี มไ ดเ กย่ี ว
กบั เมถนุ จงึ เปนสงั โยชนเ บือ้ งบน คอื รปู ราคะ สว นความ
ยินดีในนามขันธทั้ง ๔ หรอื สมถวิปส สนาหรือมรรคผลชน้ั
ตน ๆ เหลานี้ ชื่อวา อรปู ราคะ ซ่ึงตรงกับความยินดใี น
๔๐
ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวสิ ชั นา
ธัมมารมณ เพราะฉะน้ันพระอรหันตทั้งหลายเบ่ือหนาย
ในรปู ขันธ หรอื รปู เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐัพพะ เปน ภายนอก
จึงไดสิ้นไปแหงรูปราคะสังโยชน และทานเบ่ือในเวทนา
สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ และสมถหรือวปิ ส สนาท่อี าศยั
ขันธเกิดขึ้นเมื่อทานส้ินความยินดีในนามขันธแลว แม
ธรรมทง้ั หลายอาศยั ขนั ธเ กดิ ขน้ึ ทา นกไ็ มย นิ ดี ไดช อื่ วา ละ
ความยนิ ดยี นิ รา ยในนามรปู หมดแลว ทา นจงึ เปน ผพู น แลว
จากความยินดี ยนิ รา ยในอารมณ ๖ จึงถงึ พรอมดว ยคุณ
คือฉะลงั คุเบกขา.
ก. ถามวา แปลกมากยังไมเคยไดยินใครอธิบายอยางนี้
สวนมานะสงั โยชนนั้น มอี าการอยางไร?
ข. ตอบวา มานะสงั โยชนน นั้ มอี าการใหว ดั เชน กบั นกึ ถงึ
ตวั ของตวั กร็ สู กึ วา เปน เรา สว นคนอน่ื กเ็ หน็ วา เปน เขา แล
เห็นวาเราเสมอกับเขา หรือเราสูงกวาเขาหรือเราต่ำกวา
เขา อาการท่ีวัดชนดิ น้ีแหละเปนมานะสังโยชน ซ่ึงเปนคู
ปรบั กับอนัตตาหรือ สพเฺ พ ธมฺมา อนตฺตา.
ก. ถามวา ก็อุทธัจจสังโยชนนั้นมีลักษณะอยางไร เชน
พระอนาคามลี ะสงั โยชนเ บอื้ งตำ่ ไดห มดแลว สว นอทุ ธจั จ
สงั โยชนจ ะฟงุ ไปทางไหน?
ข. ตอบวา ตามแบบทานอธิบายไววา ฟุงไปในธรรม
เพราะทา นยังไมเ สรจ็ กจิ จงึ ไดฝ กใฝอยูใ นธรรม.
๔๑
ปฏิปต ตปิ จุ ฉาวสิ ชั นา
ก. ถามวา อวิชชาสังโยชนนน้ั ไมร ูอ ะไร?
ข. ตอบวา ตามแบบทา นอธบิ ายไวว า ไมร ขู นั ธท เี่ ปน อดตี
๑ อนาคต ๑ ปจ จบุ นั ๑ อรยิ สจั ๔ ปฏจิ จสมปุ บาท ๑ ความ
ไมร ูใ นที่ ๘ อยางนีแ้ หละชอ่ื วา อวิชชา.
ก. ถามวา พระเสขบคุ คลทา นกร็ อู รยิ สจั ๔ ดว ยกนั ทงั้ นน้ั
ทำไมอวชิ ชาสังโยชนจ งึ ยงั อย?ู
ข. ตอบวา อวิชชามีหลายช้ัน เพราะฉะน้ันวิชชาก็หลาย
ชั้น สวนพระเสขบุคคล มรรคแลผลช้ันใดที่ทานไดบรรลุ
แลว ทานกร็ เู ปน วชิ ชาขึ้น ชนั้ ใดยงั ไมร ู ก็ยังเปน อวิชชาอยู
เพราะฉะนัน้ จงึ หมดในข้ันทส่ี ุด คือ พระอรหนั ต.
ก. ถามวา พระเสขบุคคลทานเห็นอริยสัจ แตละตัณหา
ไมได มไิ มไดทำกิจในอริยสัจหรอื ?
ข. ตอบวา ทา นกท็ ำทุกชั้นนั้นแหละ แตกท็ ำตามกำลัง.
ก. ถามวา ทวี่ า ทำตามช้ันนัน้ ทำอยางไร?
ข. ตอบวา เชนพระโสดาบันไดเห็นปญจขันธ เกิดขึ้น
ดับไป ก็ชอื่ วาไดก ำหนดรทู กุ ข และไดละสังโยชน ๓ หรือ
ทุจริตสวนหยาบๆ ก็เปนอันละสมุทัย ความที่สังโยชน ๓
ส้ินไปเปนสวนนิโรธตามชั้นของทาน สวนมรรคทานก็ได
เจรญิ มีกำลังพอละสังโยชน ๓ ได แลทานปด อบายได ชือ่
วาทำภพคอื ทคุ ติใหหมดไป ทีต่ ามแบบเรยี กวา ขีณนิรโย
มีนรกสิ้นแลว สวนพระสกิทาคามี ก็ไดกำหนดทุกขคือ
๔๒
ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา
ปญจขันธแลวแลละกาม ราคะ พยาบาทอยางกลางได
ช่ือวาละสมุทัย ขอท่ีกามราคะพยาบาทอยางกลางหมด
ไป จึงเปนนิโรธของทาน สวนมรรคน้ันก็เจริญ มาได
เพียงละกามราคะพยาบาท อยางกลางน่ีแหละจึงไดทำ
ภพชาตใิ หนอยลง สว นพระอนาคามีทกุ ขไดกำหนดแลว
ละกามราคะพยาบาทสว นละเอยี ดหมดไดช อ่ื วา ละสมทุ ยั
กามราคะพยาบาทอยางละเอียดท่ีหมดไปจึงเปนนิโรธ
ของทาน สวนมรรคนั้นก็ไดเจริญมาเพียงละสังโยชน ๕
ไดหมด แลไดส น้ิ ภพคอื กามธาต.ุ
ก. ถามวา ศีล สมาธิ ปญ ญา ที่เปน โลกีย กบั โลกตุ ตรน้นั
ตา งกนั อยา งไร?
ข. ตอบวา ศีล สมาธิ ปญญา ของผูปฏิบัติอยูในภูมิ
กามาพจร รปู าพจร อรูปาพจร น่ีแหละเปน โลกีย ทเ่ี รยี ก
วา วัฏฏคามกี ุศล เปน กุศลท่ีวนอยูในโลก สวน ศีล สมาธิ
ปญ ญา ของทา นผปู ฏบิ ัตติ ัง้ แตโสดาบันแลว ไป เรยี กวา
วิวัฏฏคามีกุศล เปนเคร่ืองขามขึ้นจากโลก นี่แหละเปน
โลกุตตร.
ก. ถามวา ทา นทบี่ รรลฌุ านถงึ อรปู สมาบตั แิ ลว กย็ งั เปน
โลกียอยู ถา เชนน้ันเราจะปฏบิ ตั ใิ หเ ปน โลกตุ ตร ก็เหน็ จะ
เหลือวิสัย?
ข. ตอบวา ไมเหลือวิสัย พระพุทธเจาทานจึงทรงแสดง
ธรรมสัง่ สอน ถาเหลือวิสยั พระองคกค็ งไมทรงแสดง.
๔๓
ปฏปิ ตตปิ ุจฉาวสิ ชั นา
ก. ถามวา ถาเราไมไดบรรลุฌานช้ันสูงๆ จะเจริญ
ปญ ญา เพ่อื ใหถึงซง่ึ มรรคแลผลจะไดไ หม?
ข. ตอบวา ได เพราะวิธีท่ีเจริญปญญาก็ตองอาศัย
สมาธิ จรงิ อยู แตไมต องถงึ กับฌาน อาศยั สงบจิตที่
พน นวิ รณ ก็พอเปนบาทของวิปส สนาได.
ก. ถามวา ความสงัดจากกาม จากอกุศลของผูที่บรรลุ
ฌานโลกีย กับความสงัดจากกาม จากอกุศลของพระ
อนาคามีตางกนั อยางไร?
ข. ตอบวา ตางกันมาก ตรงกนั ขา มทีเดยี ว.
ก. ถามวา ทำไมจึงไดต างกันถงึ กับตรงกนั ขา มทเี ดยี ว?
ข. ตอบวา ฌานที่เปนโลกีย ตองอาศัยความเพียร มีสติ
คอยระวังละอกุศล แลความเจริญกุศลใหเกิดข้ึน มีฌาน
เปนตน และยังตองทำกิจที่คอยรักษาฌานน้ันไวไมให
เสื่อม ถึงแมจะเปนอรูปฌานที่วาไมเส่ือมในชาติน้ี ชาติ
หนาตอๆ ไป กอ็ าจจะเสอ่ื มได เพราะเปนกุปปธรรม.
ก. ถามวา ถาเชนนัน้ สว นความสงดั จากกามจากอกุศล
ของพระอนาคามี ทา นไมมเี วลาเสื่อมหรอื ?
ข. ตอบวา พระอนาคามี ทานละกามราคะสังโยชนกับ
ปฏิฆะสังโยชนไดขาด เพราะฉะน้ันความสงัดจากกาม
จากอกุศลของทานเปนอัธยาศยั ทเี่ ปน เองอยเู สมอ โดย
ไมตองอาศัยความเพียรเหมือนอยางฌานท่ีเปนโลกีย
๔๔
ปฏปิ ตติปุจฉาวสิ ชั นา
สวนวิจกิ จิ ฉาสังโยชนน ้ัน หมดมาตงั้ แตเปนโสดาบนั แลว
เพราะฉะน้ันอุทธัจจนิวรณท่ีฟุงไปหากามและพยาบาท
กไ็ มม ี ถึงถนี ะมิทธนวิ รณก ไ็ มม ี เพราะเหตุนัน้ ความสงดั
จากกามจากอกุศลของทานจึงไมเสื่อม เพราะเปนเอง
ไมใชท ำเอาเหมือนอยา งฌานโลกีย.
ก. ถามวา ถา เชน นนั้ ผทู ไ่ี ดบ รรลพุ ระอนาคามี ความสงดั
จากกามจากอกศุ ล ที่เปน เองมิไมมหี รอื ?
ข. ตอบวา ถานึกถึงพระสกิทาคามี ที่วาทำสังโยชนทั้ง
สองใหน อ ยเบาบาง นา จะมคี วามสงดั จากกามจากอกศุ ล
ที่เปนเองอยูบางแตก ็คงจะออ น.
ก. ถามวา ท่ีวาพระอนาคามีทานเปนสมาธิบริปูริการีบริ
บูรณดวยสมาธิ เห็นจะเปน อยา งน้เี อง?
ข. ตอบวา ไมใชเปนสมาธิ เพราะวาสมาธิน้ันเปนมรรค
ตอ งอาศยั เจตนาเปน สว นภาเวตพั พธรรม สว นภาเวตพั พ
ธรรมสวนของพระอนาคามีทานเปนเอง ไมมีเจตนาเปน
สัจฉิกาตัพพธรรม เพราะฉะน้ันจึงไดตางกันกับฌานท่ี
เปน โลกีย.
ก. ถามวา นิวรณแลสงั โยชนน นั้ ขา พเจาทำไมจงึ ไมร ูจกั
อาการ คงรูจักแตช อ่ื ของนวิ รณแ ลสังโยชน?
ข. ตอบวา ตามแบบในมหาสตปิ ฏ ฐาน พระพทุ ธเจา สอน
สาวกใหรูจักนิวรณแลสังโยชน พระสาวกของทานต้ังใจ
๔๕
ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวสิ ัชนา
กำหนดสังเกตก็ละนิวรณแลสังโยชนไดหมด จนเปนพระ
อรหันต โดยมาก สวนทานท่ีอินทรียออน ยังไมเปนพระ
อรหนั ต กเ็ ปน พระเสขบคุ คล สว นเราไมต งั้ ใจไมส งั เกตเปน
แตจ ำวา นวิ รณห รอื สงั โยชนแ ลว กต็ ง้ั กองพดู แลคดิ ไปจงึ ไม
พบตวั จรงิ ของนวิ รณแ ลสงั โยชนเมอ่ื อาการของนวิ รณแ ละ
สังโยชนอยา งไรกไ็ มรูจกั แลว จะละอยา งไรได.
ก. ถามวา ถาเชนนั้นผูปฏิบัติทุกวันนี้ ที่รูจักลักษณะ
อาการของนวิ รณแ ลสังโยชนจะมีบา งไหม ?
ข. ตอบวา มีถมไปชนิดท่ีเปนสาวกตั้งใจรับคำสอนแล
ประพฤตปิ ฏบิ ัตจิ ริง ๆ.
ก. ถามวา นวิ รณ๕เวลาทเี่ กดิ ขนึ้ ในใจมลี กั ษณะอยา งไร
จงึ จะทราบไดว า อยา งนี้ คอื กามฉนั ท อยา งนค้ี อื พยาบาท
หรือถีนะมิทธะ อทุ ธจั จะกกุ กุจจะวจิ กิ จิ ฉา และมชี ื่อเสียง
เหมือนกับสังโยชน จะตางกันกับสังโยชนหรือวาเหมือน
กัน ขอทานจงอธิบายลักษณะของนิวรณแลสังโยชนให
ขา พเจาเขาใจ จะไดส งั เกตถกู ?
ข. ตอบวา กามฉนั ทนวิ รณ คือความพอใจในกาม สว น
กามนน้ั แยกเปน สอง คอื กเิ ลสกามหนงึ่ วตั ถกุ ามอยา งหนง่ึ
เชน ความกำหนัดในเมถนุ เปนตน ชื่อวา กิเลสกาม ความ
กำหนัดในทรพั ยส มบตั เิ งินทองทบี่ านนาสวน และเคร่ือง
ใชส อยหรอื บุตรภรรยาพวกพอง และสัตวของเลยี้ งทเี่ รียก
๔๖
ปฏปิ ต ติปจุ ฉาวิสชั นา
วา วญิ ญาณกทรพั ย อวญิ ญาณกทรพั ยเ หลา น้ี ชอ่ื วา วตั ถุ
กามความคิดกำหนดั พอใจในสว นทงั้ หลายเหลาน้ี ชอื่ วา
กามฉนั ทนวิ รณ สว นพยาบาทนวิ รณคอื ความโกรธเคือง
หรือคิดแชงสัตวใหพินาศ ช่ือวาพยาบาทนิวรณ ความ
งวงเหงาหาวนอน ช่ือวา ถีนะมิทธนิวรณ ความฟุงซาน
รำคาญใจ ช่ือวา อุธัจจกุกกุจจนิวรณ ความสงสัย ใน
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ แลสงสัยในกรรมทส่ี ัตวทำ
เปนบาป หรอื สงสยั ในผลของกรรมเหลาน้ี เปนตน ชื่อวา
วิจิกิจฉา รวม ๕ อยางนี้ ชื่อวานิวรณ เปนเครื่องก้ันกาง
หนทางดี.
ก. ถามวา กามฉันทนิวรณ อธิบายเก่ียวไปตลอดกระ
ท่ังวิญญาณกทรัพย อวิญญาณกทรัพย วาเปนวัตถุกาม
ถา เชนน้นั ผทู ี่ยังอยูค รองเรือน ซึง่ ตองเกย่ี วขอ งกบั ทรพั ย
สมบตั ิอัฐฬส เงนิ ทองพวกพอ ง ญาตมิ ติ ร ก็จำเปนจะตอ ง
นกึ ถงึ สงิ่ เหลา นนั้ เพราะเกย่ี วเนอ่ื งกบั ตนกม็ เิ ปน กามฉนั ท
นิวรณไ ปหมดหรือ?
ข. ตอบวา ถา นกึ ตามธรรมดาโดยจำเปน ของผทู ยี่ งั ครอง
เรือนอยู โดยไมไดกำหนัดยินดีก็เปนอัญญสมนา คือ
เปนกลางๆ ไมใชบุญไมใชบาป ถาคิดถึงวัตถุกามเหลา
นั้น เกิด ความยินดีพอใจรักใครเปนหวงยึดถือหมกมุน
พัวพันอยูในวัตถุกามเหลานั้น จึงจะเปนกามฉันทนิวรณ
๔๗
ปฏปิ ตตปิ ุจฉาวสิ ชั นา
สมดวยพระพุทธภาษิตที่ตรัสไววา น เต กามา ยานิ จิตฺ
รานิ โลเก อารมณท่ีวิจิตรงดงามเหลาใดในโลก อารมณ
เหลานนั้ มิไดเ ปนกาม สงกฺ ปปฺ ราโค ปุริสสฺส กาโม ความ
กำหนัดอันเกิดจากความดำรินี้ นี้แหละเปนกามของคน
ติฐฺ นฺติ จิตฺรานิ ตเถว โลเก อารมณท ่วี จิ ติ รงดงามในโลก
ก็ต้ังอยูอยางนัน้ เอง อเถตฺถธีรา วินยนฺติ ฉนทฺ ํ เม่อื ความ
จรงิ เปนอยา งนี้ นกั ปราชญทั้งหลายจึงทำลายเสียได ซ่งึ
ความพอใจในกามนน้ั นก่ี ท็ ำใหเ หน็ ชดั เจนไดว า ถา ฟง ตาม
คาถาพระพทุ ธภาษติ นี้ ถา คดิ นกึ ถงึ วตั ถกุ ามตามธรรมดา
กไ็ มเ ปน กามฉันทนิวรณ ถาคดิ นกึ อะไรๆ ก็เอาเปนนิวรณ
เสียหมด กค็ งจะหลีกไมพ นนรก เพราะนวิ รณเปนอกศุ ล.
ก. ถามวา พยาบาทนิวรณน้ัน หมายความโกรธเคือง
ประทุษรายในคน ถาความกำหนัดในคนก็เปนกิเลสกาม
ถกู ไหม?
ข. ตอบวา ถกู แลว .
ก. ถามวา ความงวงเหงาหาวนอน เปนถีนะมิทธนิวรณ
ถาเชนนั้นเวลาที่เราหาวนอนมิเปนนิวรณทุกคราวไป
หรือ?
ข. ตอบวา หาวนอนตามธรรมดา เปน อาการของรา งกาย
ท่ีจะตองพักผอน ไมเปนถีนะมิทธ นิวรณกามฉันทหรือ
พยาบาทที่เกิดข้ึนแลวก็ออนกำลังลงไป หรือดับไปใน
๔๘
ปฏิปต ติปจุ ฉาวสิ ชั นา
สมยั นนั้ มอี าการมวั ซวั แลงว งเหงา ไมส ามารถจะระลกึ ถงึ
กศุ ลได จึงเปนถนี ะมิทธนวิ รณ ถาหาวนอนตามธรรมดา
เรายังดำรงสติสัมปชัญญะอยูไดจนกวาจะหลับไป จึง
ไมใ ชนิวรณ เพราะถีนะมทิ ธนิวรณเ ปน อกศุ ล ถา จะเอา
หาวนอนตามธรรมดาเปน ถนี มทิ ธแลว เรากค็ งจะพน จาก
ถีนะมิทธนวิ รณไ มได เพราะตอ งมีหาวนอนทุกวันดวยกนั
ทกุ คน.
ก. ถามวา ความฟุงซานรำคาญใจ ที่วาเปนอุทธัจจ
กุกกุจจนิวรณน้ัน หมายฟุงไปในที่ใดบาง?
ข. ตอบวา ฟงุ ไปในกามฉนั ทบาง พยาบาทบาง แตใ น
บาปธรรม ๑๔ ทานแยกเปน สองอยา ง อุทธัจจะความ
ฟงุ ซา น กุกกจุ จ ความรำคาญใจ แตในนิวรณ ๕ ทานรวม
ไวเปน อยา งเดียวกนั .
ก. ถามวา นิวรณ ๕ เปนจิตหรือเจตสกิ ?
ข. ตอบวา เปนเจตสิกธรรมฝายอกุศลประกอบกับจิตท่ี
เปนอกศุ ล.
ก. ถามวา ประกอบอยา งไร?
ข. ตอบวา เชนกามฉันทนิวรณก็เกิดในจิต ท่ีเปนพวก
โลภะมูล พยาบาทกุกกุจจนิวรณ ก็เกิดในจิตท่ีเปนโทสะ
มูล ถีนะมิทธ อทุ ธัจจะ วิจิกิจฉา ก็เกิดในจิตท่ีเปนโมหะ
มูล พระพุทธเจาทรงเปรียบนิวรณทั้ง ๕ มาในสามัญ
๔๙
ปฏปิ ต ติปุจฉาวิสัชนา
ญผลสูตร ทีฆนิกายสีลักขันธวรรคหนา ๙๓ วา กาม
ฉันทนิวรณ เหมือนคนเปนหน้ี, พยาบาทนิวรณเหมือน
คนไขหนัก, ถีนมิทธนิวรณ เหมือนคนติดในเรือนจำ,
อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ เหมือนคนที่เปนทาส, วิจิกิจฉา
นวิ รณเ หมอื นคนเดนิ ทางกนั ดารมภี ยั นา หวาดเสยี ว เพราะ
ฉะนั้น คนท่ีเขาพน หน้ี หรือหายเจ็บหนัก หรือออกจาก
เรอื นจำ หรอื พน จากทาส หรอื ไดเ ดนิ ทางถึงทป่ี ระสงคพ น
ภยั เกษมสำราญ เขายอ มถงึ ความยนิ ดฉี นั ใด ผทู พี่ น นวิ รณ
ท้ัง ๕ ก็ยอมถึงความยินดีฉันน้ัน แลในสังคารวสูตร ใน
ปจจกนิบาตอังคุตตรนิกาย หนา ๒๕๗ พระพุทธเจาทรง
เปรยี บนิวรณด ว ยนำ้ ๕ อยา ง วา บคุ คลจะสองดูเงาหนา
กไ็ มเ หน็ ฉนั ใด นวิ รณท งั้ ๕ เมอื่ เกดิ ขน้ึ กไ็ มเ หน็ ธรรมความ
ดคี วามชอบฉนั นนั้ กามฉนั ทนวิ รณ เหมอื นนำ้ ทรี่ ะคนดว ย
สีตางๆ สคี รัง่ สชี มพู เปน ตน พยาบาทนวิ รณ เหมือนน้ำ
รอ นทเี่ ดอื ดพลา น ถนี ะมทิ ธนวิ รณ เหมอื นนำ้ ทม่ี จี อกแหน
ปดเสียหมด อทุ ธจั จกกุ กุจจนิวรณ เหมอื นนำ้ ทีค่ ลนื่ เปน
ระลอก วิจิกจิ ฉานิวรณ เหมือนน้ำท่ขี ุนขนเปนโคลนตม
เพราะฉะนน้ั นำ้ ๕ อยา งนี้ บคุ คลไมอ าจสอ งดเู งาหนา ของ
ตนได ฉนั ใด นวิ รณท ง้ั ๕ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ครอบงำใจของบคุ คลไม
ใหเหน็ ธรรมความดคี วามชอบไดก ็ฉันนน้ั .
ก. ถามวา ทำไมคนเราเวลาไขห นกั ใกลจ ะตาย กท็ ำบาป
๕๐
ปฏิปตติปุจฉาวสิ ชั นา
กรรมความชั่วอะไรไมไดแลวจะกลาว วจีทุจริตปากก็
พูดไมได จะลวงทำกายทุจริต มือแลเทาก็ไหวไมไดแลว
ยังเหลือแตความคิดนึกทางใจนิดเดียวเทาน้ัน ทำไมใจ
ประกอบดว ยนวิ รณ จงึ ไปทคุ ตไิ ดดไู มน า จะเปน บาปกรรม
โตใหญอ ะไรเลย ขอ นนี้ า อศั จรรยน กั ขอทา นจงอธบิ ายให
ขาพเจาเขาใจ?
ข. ตอบวา กเิ ลสเปน เหตใุ หก อ กรรมๆเปน เหตใุ หก อ วบิ าก
ที่เรียกวาไตรวัฏน้ัน เชน อนุสัย หรือ สังโยชน ท่ีเกิดข้ึน
ในเวลานั้นชื่อวากิเลสวัฏ ผูที่ไมเคยประพฤติปฏิบัติก็ทำ
ในใจไมแยบคาย ท่ีเรียกวา อโยนิโส คิดตอออกไป เปน
นิวรณ ๕ หรืออปุ กิเลส ๑๖ จึงเปน กรรมวัฏฝา ยบาป ถา
ดับจิตไปในสมัยน้ัน จึงไดวบิ ากวฏั ที่เปน สว นทุคติ เพราะ
กรรมวัฏฝายบาปสงให อุปมาเหมือนคนปลูกตนไม ไป
นำพืชพันธุของไมท่ีเบื่อเมามาปลูกไว ตนแลใบท่ีเกิดข้ึน
น้นั กเ็ ปนของเบื่อเมา แมผ ลแลดอกทอี่ อกมา กเ็ ปนของ
เบื่อเมา ตามพืชพันธุเดิม ซ่ึงนำมาปลูกไวนิดเดียว แตก็
กลายเปนตนใหญไปไดเหมือนกัน ขอนี้ฉันใด จิตท่ีเศรา
หมองเวลาตาย ก็ไปทุคติไดฉันนั้น และเหมือนพืชพันธุ
แหงผลไมท ด่ี ี มีกลิน่ หอมมรี สหวาน บคุ คลไปนำพืชพนั ธ
มานดิ เดียว ปลูกไวแมต นแลใบก็เปนไมท ี่ดที ้งั ผลแลดอก
ทอ่ี อกมา กใ็ ชแ ลรบั ประทานไดต ามความประสงค เพราะ