๕๑
ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา
อาศัยพืชที่ดซี ง่ึ นำมานดิ เดยี วปลูกไว ขอนฉี้ นั ใด จิตท่เี ปน
กุศลผองใสแลวตายในเวลาน้ัน จึงไปสูสุคติไดสมดวย
พระพทุ ธภาษิตทว่ี า
จตฺเต สงฺกิลิเฐทุคคฺ ติ ปาฏกิ งฺขา
เวลาจิตเศราหมองแลว ทุคตเิ ปน หวงั ได
จตฺเต อสงฺกิลิ เฐ สคุ ติปาฏกิ งฺขา
จติ ผอ งใสไมเศราหมองเวลาตาย สุคตเิ ปนหวังได.
ก. ถามวา อโยนโิ สมนสกิ าโร ความทำในใจไมแยบคาย
โยนิโสมนสิกาโร ความทำในใจแยบคาย ๒ อยางน้ัน
คือ ทำอยางไรจึงช่ือวาไมแยบคาบ ทำอยางไรจึงช่ือวา
แยบคาย?
ข. ตอบวา ความทำสภุ นมิ ติ ไวใ นใจ กามฉนั ทนวิ รณท ยี่ งั
ไมเกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดข้ึนแลวก็งอกงาม ความทำปฏิฆะ
นิมิตไวในใจ พยาบาทนิวรณที่ยังไมเกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิด
ข้นึ แลว กง็ อกงามอยา งน้ี ชอื่ วาทำในใจไมแ ยบคาย การ
ทำอสุภสัญญาไวในใจ กามฉันทนิวรณที่ยังไมเกิดก็ไม
เกิดข้ึน ท่ีเกิดขึ้นแลวก็เส่ือมหายไป การทำเมตตาไวใน
ใจ พยาบาทนิวรณท่ยี งั ไมเ กิดกไ็ มเกิดขึ้น ท่เี กิดข้นึ แลว ก็
เสอ่ื มหายไป เชน นเี้ ปน ตวั อยา ง หรอื ความทำในใจอยา งไร
กต็ าม อกศุ ลทย่ี งั ไมเ กดิ กเ็ กดิ ขน้ึ ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว กง็ อกงาม ก็
ช่ือวาทำในใจไมแยบคาย หรอื จะคิดนกึ อยา งไรกต็ าม
๕๒
ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวิสัชนา
กุศลท่ียังไมเกิดก็เกิดข้ึน ท่ีเกิดข้ึนแลวก็บริบูรณ
อยางน้ีช่ือวาทำในใจแยบคาย สมดวยสาวกภาษิตท่ี
พระสารบี ุตรแสดงไวในพระทสตุ ตรสตู ร หมวด ๒ วา โย
จ เหตุ โย จ ปจจฺ โย สตตฺ านํ สงกฺ ิเลสสาย ความไมทำ
ในใจโดยอุบายอนั แยบคาย เปน เหตุดวยเปนปจ จยั ดว ย
เพ่อื ความเศรา หมองแหงสัตวทง้ั หลาย ๑ โย จ เหตุ โย จ
ปจจฺ โย สตตฺ นํ วสิ ทุ ธฺ ยิ า ความทำในใจ โดยอบุ ายแยบคาย
เปนเหตุดวยเปนปจจัยดวย เพ่ือจะไดบริสุทธิ์แหงสัตวทั้ง
หลาย.
ก. ถามวา ท่ีวา อนุสัยกับสังโยชนเปนกิเลสวัฏ สวน
นวิ รณห รอื อุปกเิ ลส ๑๖ วา เปน กรรมวฏั เวลาทเี่ กิดขึ้นนน้ั
มีอาการตางกันอยางไร จึงจะทราบไดวา ประเภทน้ีเปน
นิวรณ หรืออปุ กิเลส ๑๖?
ข. ตอบวา เชนเวลาตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกไดดม
กล่ิน ลน้ิ ไดลิ้มรส กายถกู ตอ งโผฏฐัพพะ รธู ัมมารมณดว ย
ใจ ๖ อยางนี้ แบงเปน ๒ สว น สว นทด่ี นี ั้นเปนอิฏฐารมณ
เปน ทตี่ ง้ั แหง ความกำหนดั ยนิ ดี สว นอารมณ ๖ ทไ่ี มด เี ปน
อนฏิ ฐารมณ เปน ตงั้ แหง ความยนิ รา ยไมช อบโกรธเคอื ง ผู
ทยี่ งั ไมร คู วามจรงิ หรอื ไมม สี ตเิ วลาทตี่ าเหน็ รปู ทด่ี ี ยงั
ไมทันคิดวา กระไร ก็เกิดความยินดีกำหนัดพอใจขึ้น
แคนี้เปนสังโยชน ถาคิดตอมากออกไป ก็เปนกาม
๕๓
ปฏิปตติปุจฉาวสิ ชั นา
ฉันทนิวรณหรอื เรยี กวา กามวติ กกไ็ ด หรือเกิดความ
โลภอยากไดที่ผิดธรรมก็เปนอภิชฺฌาวิสมโลโภท่ีอยู
ในอุปกิเลส ๑๖ หรือในมโนกรรม อกุศลกรรมบถ
๑๐ ชนิดน้ี ประกอบดวยเจตนา เปนกรรมวัฏฝาย
บาป เวลาตาเห็นรปู ที่ไมดีไมท ันคดิ กวากระไร เกิดความ
ไมชอบ หรือเปน โทมนัสปฏิฆะขน้ึ ไมป ระกอบดวยเจตนา
แคนี้เปน ปฏิฆะสังโยชน คือกิเลสวัฏ ถาคิดตอออก
ไปถึงโกรธเคืองประทุษรายก็เปนพยาบาทนิวรณ หรือ
อปุ กเิ ลส หรอื อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ชนดิ นี้ กเ็ ปน กรรมวฏั
ฝา ยบาปเพราะประกอบดว ยเจตนานช้ี ใี้ หฟ ง เปน ตวั อยา ง
แมก เิ ลสอน่ื ๆ กพ็ งึ ตดั สนิ ใจอยา งนวี้ า กเิ ลสทไ่ี มต ง้ั ใจ
ใหเกิดก็เกิดขึ้นไดเอง เปนพวกอนุสัยหรือสังโยชน
เปนกเิ ลสวฏั ถา ประกอบดว ยเจตนา คือยดื ยาวออก
ไปก็เปน กรรมวฏั .
ก. ถามวา ถาเชนน้ันเราจะตัดสินกิเลสวัฏ จะตัด
อยางไร?
ข. ตอบวา ตอ งตดั ไดด ว ยอรยิ มรรค เพราะสงั โยชนก ็
ไมม เี จตนา อรยิ มรรคกไ็ มม เี จตนาเหมอื นกนั จงึ เปน
คปู รับสำหรบั ละกนั .
ก. ถามวา ถาการปฏิบัติของผูดำเนินยังออนอยู ไม
สามารถจะตดั ได สงั โยชนก ย็ งั เกดิ อยู แลว กเ็ ลยเปน กรรม
๕๔
ปฏิปต ติปุจฉาวสิ ัชนา
วัฏฝายบาปตอออกไป มิตองไดวิบากวัฏที่เปนสวนทุคติ
เสียหรอื ?
ข. ตอบวา เพราะอยา งนน้ั นะ ซิผทู ย่ี งั ไมถ งึ โสดาบนั จงึ ปด
อบายไมได.
ก. ถามวา ถา เชนนัน้ ใครจะไปสวรรคไดบ า งเลา ในชัน้ ผู
ปฏบิ ตั ทิ ีย่ งั ไมถ งึ โสดาบัน ?
ข. ตอบวา ไปไดเพราะอาศัยเปล่ียนกรรม สังโยชนยัง
อยูก็จริง ถาประพฤติทุจริตกาย วาจา ใจ เวลาตาย ใจ
เศราหมองก็ตองไปทุคติ ถามาตั้งใจเวนทุจริต อยูใน
สุจรติ ทางกาย วาจา ใจ แลเวลาตายกไ็ มเ ศราหมอง ก็มี
สติสัมปชัญญะ ก็ไปสุคติได เพราะเจตนาเปนตัวกรรม
กรรมมี ๒ อยาง กณหฺ ํ เปน กรรมดำ คอื ทุจริต กาย วาจา
ใจ สกกฺ ํ เปน กรรมขาว คอื สุจริต กาย วาจา ใจ ยอ มให
ผลตา งกัน.
ก. ถามวา ผูท่ียังมีชีวิตอยูไดประพฤติสุจริต กาย วาจา
ใจ เวลาตายใจเศรา หมอง มิตอ งไปทุคตเิ สยี หรอื หรอื ผู
ที่ประพฤตทิ ุจริต กาย วาจา ใจ แตเวลาตายใจเปน กุศล
มไิ ปสุคตไิ ด หรอื ?
ข. ตอบวา ก็ไปไดนะซี ไดเคยฟงหนังสือของสมเด็จ
พระวันรัต (ทับ) วัดโสมนัสบางหรือเปลา เวลาลงโบสถ
ทานเคยแสดงใหพระเณรฟง ภายหลังไดมาจัดพิมพ
๕๕
ปฏิปตติปจุ ฉาวิสัชนา
กันข้ึน รวมกับขออ่ืนๆ ทานเคยแสดงวา ภิกษุรักษาศีล
บริสุทธิ์ เวลาจะตายหวงในจีวร ตายไปเกิดเปนเล็น แล
ภิกษุอีกองคหน่ึง เวลาใกลจะตายนึกข้ึนไดวา ทำใบ
ตะไครน้ำขาดมองหาเพ่ือนภิกษุท่ีจะแสดงอาบัติ ก็ไมมี
ใคร ใจกังวลอยูอยางน้ันแหละ คร้ันตายไปเกิดเปน
พญานาค แลอุบาสกอีกคนหนึ่ง เจริญกายคตาสติมาถึง
๓๐ ป ก็ไมไดบรรลุคุณวิเศษอยางใด เกิดความสงสัยใน
พระธรรม ตายไปเกิดเปน จระเข ดว ยโทษวิจิกจิ ฉานิวรณ
สวนโตเทยยะพราหมณน้ันไมใชผูปฏิบัติ หวงทรัพย
ที่ฝงไว ตายไปเกิดเปนลูกสุนัขอยูในบานของตนเอง
ดวยโทษกามฉันทนิวรณเหมือนกัน แลนายพรานผูหนึ่ง
เคยฆาสัตวมากเวลาใกลจะตาย พระสารีบุตรไปสอน
ใหรับไตรสรณคมน จิตก็ต้ังอยูในกุศลยังไมทันจะใหศีล
นายพราน ก็ตายไปสูสุคติ ดวยจิตท่ีเปนกุศล ต้ังอยูใน
ไตรสรณคมน น่ีก็เปนตัวอยางของผูที่ตายใจเศราหมอง
หรือบริสุทธิ์ กรรมของผูที่กระทำในเมื่อเวลาใกลจะตาย
นั้น ช่ือวาอาสันนกรรม ตองใหผลกอนกรรมอื่นๆ ทาน
เปรียบวา เหมือนโคอยูใกลประตูคอก แมจะแกกำลัง
นอ ย กต็ องออกไดกอ น สว นโคอ่นื ถึงจะมีกำลงั ท่ีอยขู า ง
ใน ก็ตองออกทหี ลัง ขอ น้ีฉันใด กรรมท่ีบุคคลทำเมอื่ ใกล
จะตาย จึงตอ งใหผลกอ นฉันนน้ั .
๕๖
ปฏปิ ต ติปุจฉาวสิ ชั นา
ก. ถามวา สว นอนสุ ยั แลสงั โยชน เปน กเิ ลสวฏั นวิ รณห รอื
อุปกิเลส ๑๖ หรืออกศุ ลกรรมบถ ๑๐ วา เปน กรรมวฏั ฝาย
บาป สว นกรรมวัฏฝายบญุ จะไดแ กอ ะไร?
ข. ตอบวา กามาวจรกุศล รูปาวจรกุศล อรูปาวจรกุศล
เหลานี้ เปนกรรมวัฏฝายบุญสงใหวิบากวัฏ คือ มนุษย
สมบัติบาง สวรรคสมบัติบาง พรหมโลกบาง พอเหมาะ
แกกศุ ลกรรม ทที่ ำไว
ก. ถามวา ถาเชนน้ันกรรมทั้งหลาย ท่ีสัตวทำเปนบุญ
กต็ าม เปนบาปก็ตาม ยอมใหผลเหมอื นเงาทไี่ มพรากไป
จากตนฉะนัน้ หรือ?
ข. ตอบวา ถูกแลว สมดวยพระพุทธภาษิตที่ตรัสไวใน
อภณิ หปจ จเวกขณว า กมมฺ สสฺ โกมหฺ ิ เราเปนผมู กี รรมเปน
ของๆ ตน กมฺมทายาโท เปนผูรับผลของกรรม กมฺมโยนิ
เปนผูมีกรรมเปนกำเนิด กมฺมพนฺธุ เปนผูมีกรรมเปนเผา
พนั ธุ กมมฺ ปฏสิ รโณ เปนผูมีกรรมเปนทพี่ ่ึงอาศยั ยํ กมมํ
กรสิ สฺ ามิ เราจกั ทำกรรมอนั ใด กลยาณํ วา ปาปกํ วา ดี
หรือชั่ว ตสสํ า ทายาโท ภวิสฺสามิ เราจักเปนผูรับผลของ
กรรมนัน้ .
ก. ถามวา อนุสัยกับสังโยชน ใครจะละเอยี ดกวา กนั
ข. ตอบวา อนสุ ยั ละเอยี ดกวา สงั โยชน เพราะสงั โยชนน น้ั
เวลาที่จะเกิดข้ึน อาศัยอายตนะภายในภายนอกกระทบ
กันเขา แลวเกดิ วญิ ญาณ ๖ ช่อื วา ผัสสะ เมอื่ ผูท่ีไมม สี ติ
๕๗
ปฏิปตติปจุ ฉาวิสัชนา
หรือไมรูความจริง เชนหกู ับเสียงกระทบกันเขา เกดิ ความ
รูขึ้น เสียงท่ีดีก็ชอบ เกิดความยินดีพอใจ เสียงที่ไมดี ก็
ไมช อบไมถกู ใจ ท่โี ลกเรียกกนั วาพ้นื เสีย เชนนแี้ หละชอ่ื
วาสังโยชน จึงหยาบกวาอนุสยั เพราะอนสุ ัยน้ันยอมตาม
นอนในเวทนาทั้ง ๓ เชน สุขเวทนาเกิดข้ึน ผูที่ไมรูความ
จรงิ หรอื ไมม สี ติ ราคานสุ ยั จงึ ตามนอน ทกุ ขเวทนาเกดิ ขน้ึ
ปฏฆิ านสุ ยั ยอ มตามนอน อทกุ ขมสขุ เวทนาเกดิ ขน้ึ อวชิ ชา
นุสัยยอมตามนอน เพราะฉะนั้นจึงละเอียดกวาสังโยชน
แลมพี ระพุทธภาษิตตรสั ไวใ น มาลุงโกย วาท สตู รวา เด็ก
ออนทน่ี อนหงายอยูในผาออม เพยี งจะรจู กั วานต่ี าน่รี ูป ก็
ไมม ีในเดก็ นัน้ เพราะฉะนัน้ สังโยชนจ ึงไมมใี นเด็กทนี่ อน
อยใู นผาออ ม แตวา อนสุ ัยยอมตามนอนในเดก็ น้นั ได.
ก. ถามวา อนสุ ัยนัน้ มปี ระจำอยเู สมอหรือ หรอื มมี า
เปน ครั้งเปนคราว?
ข. ตอบวา มีมาเปนครั้งเปนคราว ถามีประจำอยูเสมอ
แลวก็คงจะละไมได เชนราคานุสัยก็เพิ่งมาตามนอนใน
สุขเวทนา หรือปฏิฆานุสัยก็เพิ่งมาตามนอนในทุขเวทนา
หรืออวิชชานุสัยก็เพิ่งมาตาม นอนในอทุกขมสุขเวทนา
ตามนอนไดแ ตผูทีไ่ มร คู วามจริงหรอื ไมมสี ติ ถาเปนผูท่รี ู
ความจริง หรือมีสติก็ไมตามนอนได เรื่องนี้ไดอธิบายไว
ในเวทนาขนั ธแ ลว .
๕๘
ปฏปิ ตตปิ จุ ฉาวิสัชนา
ก. ถามวา แตเดิมขาพเจาเขาใจวา อนุสัยตามนอน
อยใู นสนั ดานเสมอทกุ เมอื่ ไป เหมอื นอยา งขตี้ ะกอน
ท่ีนอนอยูกนโองน้ำ ถายังไมมีใครมาคน ก็ยังไมขุน
ขึ้น ถามใี ครมาคนก็ขุน ขึ้นได เวลาทไี่ ดรับอารมณท ่ี
ดี เกดิ ความกำหนดั ยนิ ดพี อใจขนึ้ หรอื ไดร บั อารมณ
ท่ีไมดี ก็เกิดปฏิฆะหรือความโกรธขึ้น เขาใจวาน่ี
แหละขุนขนึ้ มา ความเขา ใจเกา ของขาพเจา มผิ ดิ ไป
หรือ?
ข. ตอบวา กผ็ ิดนะซี เพราะเอานามไปเปรียบกบั รูป คือ
โองก็เปนรูปท่ีไมมีวิญญาณ น้ำก็เปนรูปท่ีไมมีวิญญาณ
แลขี้ตะกอนกนโองก็เปนรูปไมมีวิญญาณเหมือนกัน จึง
ขังกันอยูได สวนจิตเจตสิกของเรา เกิดขึ้นแลวก็ดับ
ไปจะขังเอาอะไรไวได เพราะกิเลสเชนอนุสัย หรือ
สังโยชน ก็อาศัยจิตเจตสกิ เกดิ ขน้ึ ชั่วคราวหนึ่ง เมอ่ื
จิตเจตสิกในคราวนนั้ ดับไปแลว อนสุ ยั หรือสังโยชน
จะตกคางอยูก บั ใคร ลองนึกดูเม่อื เรายงั ไมเ กิดความรัก
ความรักน้ันอยูที่ไหน ก็มีขึ้นเม่ือเกิดความรักไมใชหรือ
หรือเมื่อความรักนั้นดับไปแลว ก็ไมมีความรักไมใชหรือ
และความโกรธเมอ่ื ยงั ไมเ กดิ ขนึ้ กไ็ มม เี หมอื นกนั มขี น้ึ เมอื่
เวลาท่โี กรธ เมอื่ ความโกรธดบั แลว ก็ไมม ีเหมือนกนั เรอื่ ง
น้ีเปนเรอื่ งที่ละเอียด เพราะไปตดิ สญั ญาทีจ่ ำไวนานแลว
วา อนุสยั นอนอยเู หมือนข้ตี ะกอนทีน่ อนอยูกนโอง.
๕๙
ปฏปิ ต ตปิ ุจฉาวสิ ชั นา
ก. ถามวา ก็อนุสัยกับสังโยชนไมมีแลว บางคราว
ทำไมจงึ มขี นึ้ อกี ไดเ ลา ขา พเจา ฉงนนกั แลว ยงั อาสวะ
อีกอยางหนง่ึ ท่ีวาดองสนั ดานนัน้ เปน อยา งไร?
ข. ตอบวา ถา พดู ถงึ อนสุ ยั หรอื อาสวะแลว เราควรเอา
ความวา ความเคยตวั เคยใจ ที่เรยี กวากิเลส กับวาสนา
ที่พระสัมมาสัมพุทธเจาละไดท้ัง ๒ อยางที่พระอรหันต
สาวกละไดแตกิเลสอยางเดียว วาสนาละไมได เราควร
จะเอาความวาอาสวะหรืออนุสัยกิเลสเหลานี้เปนความ
เคยใจ เชนไดรับอารมณที่ดี เคยเกิดความกำหนัดพอใจ
ไดรับอารมณที่ไมดี เคยไมชอบไมถูกใจ เชนนี้เปนตน
เหลา นแี้ หละควรรสู กึ วา เปน เหลา อนสุ ยั หรอื อาสวะ เพราะ
ความคุนเคยของใจ สวนวาสนานั้น คือความคุนเคยของ
กาย วาจา ที่ตดิ ตอ มาจากความเคยแหง อนุสัย เชน คน
ราคะจริตมีมรรยาทเรียบรอย หรือเปนคนโทสะจริตมี
มรรยาทไมเรียบรอย สวนราคะแลโทสะน้ันเปนลักษณะ
ของกเิ ลสกริ ยิ ามรรยาททเ่ี รยี บรอ ย แลไมเ รยี บรอ ย นนั่ เปน
ลกั ษณะของวาสนานก่ี ค็ วรจะรูไ ว.
ก. ถามวา ถาเชนนั้นเราจะละความคุนเคยของใจ
ในเวลาทไ่ี ดร บั อารมณท ดี่ หี รอื ทไี่ มด จี ะควรประพฤติ
ปฏิบัตอิ ยางไรด?ี
ข. ตอบวา วิธีปฏิบัติท่ีจะละความคุนเคยอยางเกา
คือ อนุสัยแลสังโยชน ก็ตองมาฝกหัดใหคุนเคยใน
๖๐
ปฏิปตตปิ จุ ฉาวสิ ัชนา
ศีลแลสมถวปิ สสนาข้ึนใหม จะไดถายถอนความคนุ
เคยเกา เชน เหลา อนสุ ยั หรอื สงั โยชนใ หห มดไปจาก
สนั ดาน.
ก. ถามวา สวนอนุสัยกับสังโยชน ขาพเจาเขาใจดีแลว
แตส ว นอาสวะนน้ั คือ กามาสวะ ภวาสวะ อวชิ ชาสวะ ๓
อยา งนน้ั เปน เครอื่ งดองสนั ดาน ถา ฟง ดตู ามชอื่ กไ็ มน า จะ
มีเวลาวาง ดเู หมือนดองอยูกบั จติ เสมอไป หรือไมไดดอง
อยเู สมอ แตส ว นตวั ขา พเจา เขา ใจไวแ ตเ ดมิ สำคญั วา ดอง
อยูเสมอ ขอนี้เปนอยางไร ขอทานจงอธิบายใหขาพเจา
เขา ใจ?
ข. ตอบวา ไมรูวาเอาอะไรมาซอกแซกถาม ไดตอบ
ไวพรอมกับอนุสัยแลสังโยชนแลว จะใหตอบอีกก็ตอง
อธิบายกันใหญ คำที่วาอาสวะเปนเคร่ืองดองน้ัน ก็ตอง
หมายความถงึ รปู อกี นนั่ แหละ เชน กบั เขาดองผกั กต็ อ งมี
ภาชนะ เชน ผักอยา งหนึง่ หรอื ชามอยางหน่ึง แล นำ้ อยาง
หนง่ึ รวมกนั ๓ อยา ง สำหรบั แชก ันหรอื ของทีเ่ ขาทำเปน
แชอ ่ิม กต็ อ งมขี วดโหลหรอื นำ้ เชื่อมสำหรบั แชของ เพราะ
สงิ่ เหลา นนั้ เปน รปู จงึ แชแ ลดองกนั ไดสว นอาสวะนนั้ อาศยั
นามธรรมเกดิ ขนึ้ นามธรรมกเ็ ปน สงิ่ ทไี่ มม ตี วั อาสวะกเ็ ปน
สิ่งที่ไมมีตัว จะแชแลดองกันอยูอยางไรได น่ันเปนพระ
อุปมาของพระสมั มาสัมพุทธเจา ทรงบญั ญตั ิขึ้นไวว า อา
๖๑
ปฏปิ ต ตปิ ุจฉาวสิ ชั นา
สวะเครอื่ งดองสันดาน คือกิเลสมปี ระเภท ๓ อยา ง เราก็
เลยเขาใจผิด ถือมั่นเปนอภินิเวส เห็นเปนแชแลดองเปน
ของจริงๆ จงั ๆ ไปได ความจริงกไ็ มมอี ะไร นามแลรปู เกิด
ข้ึนแลวก็ดับไป อะไรจะมาแชแลดองกันอยูได เพราะ
ฉะนั้นขอใหเปลี่ยนความเห็นเสียใหม ที่วาเปนนั่นเปนน่ี
เปนจริงเปนจังเสียใหได ใหหมดทุกสิ่งท่ีไดเขาใจไวแต
เกาๆ แลว ก็ต้ังใจศึกษาเสียใหม ใหตรงกับความจริงซ่ึง
เปนสัมมาปฏบิ ัต.ิ
ก. ถามวา จะทำความเหน็ อยา งไรจงึ จะตรงกบั ความ
จรงิ ?
ข. ตอบวา ทำความเห็นวาไมมีอะไร มีแตสมมติ
แลบัญญัติ ถาถอนสมมติแลบัญญัติออกเสียแลวก็
ไมม อี ะไร หาคำพดู ไมได เพราะฉะนนั้ พระพทุ ธเจาทรง
บัญญัติ ขนั ธ ๕ อายตนะ ๖ ธาตุ ๖ นามรูปเหลา น้ีก็เพื่อ
จะใหร เู รอ่ื งกนั เทา นนั้ สว นขนั ธแ ลอายตนะ ธาตุ นามรปู ผู
ปฏบิ ตั คิ วรกำหนดรวู า เปน ทกุ ข สว นอนสุ ยั หรอื สงั โยชน อา
สวะ โยคะ โอฆะ นิวรณ อุปกิเลสเหลาน้ีเปน สมทุ ยั อาศยั
ขนั ธห รอื ายตนะ หรอื นามรปู เกดิ ขน้ึ นน้ั เปน สมทุ ยั เปน สว น
หนง่ึ ทคี่ วรละ มรรคมอี งค ๘ ยน เขา กค็ อื ศลี สมาธิ ปญ ญา
เปน สว นที่ควรเจรญิ ความสิ้นไปแหงกเิ ลส คืออนสุ ัยหรือ
สังโยชน ชอ่ื วานิโรธ เปนสวนควรทำใหแจง เหลา นแี้ หละ
๖๒
ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวสิ ัชนา
เปนความจริง ความรูความเห็นใน ๔ อริยสัจน้ีแหละคือ
เหน็ ความจริงละ.
ก. ถามวา สาธุ ขาพเจาเขาใจแจมแจงทีเดียว แตเม่ือ
อาสวะไมไดด องอยเู สมอ แลวทำไมทา นจึงกลาววาเวลา
ท่ีพระอรหันตสำเร็จขึ้นใหม ๆ โดยมากตามทีไ่ ดฟง มาใน
แบบทานรูวาจิตของทานพนแลวจากกามาสวะ ภวาสะ
อวชิ ชาสวะ ขา พเจาจงึ เขา ใจวา ผูทย่ี งั ไมพนก็ ตอง มี อา
สวะประจำอยูกับจติ เปนนติ ยไป ไมมีเวลาวา ง กวา จะพน
ไดก็ตอ งเปนพระอรหนั ต?
ข. ตอบวา ถาขืนทำความเหน็ อยอู ยา งน้ี ก็ไมม เี วลาพน
จริงดวย เม่ืออาสวะอยูประจำพ้ืนเพของจิตแลว ก็ใคร
จะละไดเ ลา พระอรหันตก็คงไมมีในโลกไดเหมอื นกัน นี่
ความจริงไมใชเชนนี้ จิตน้ันสวนหน่ึงเปนประเภท
ทุกขสัจ อาสวะสวนหนึ่งเปนประเภทสมุทัย อาศัย
จติ เกดิ ขน้ึ ชว่ั คราว เมอื่ จติ คราวนนั้ ดบั ไปแลว อาสวะ
ท่ีประกอบกับจิตในคราวน้ันก็ดับไปดวย สวนอา
สวะท่ีเกิดข้ึนไดบอยๆ นั้นเพราะอาศัยการเพง
โทษ ถาเราจักต้ังใจไมเพงโทษใครๆ อาสวะก็จะเกิดได
ดวยยากเหมือนกัน สมดวยพระพุทธภาษิต ที่ตรัสไววา
ปรวชฺชานุปสฺสสฺส เม่ือบุคคลตามมองดู ซ่ึงโทษของผู
อ่ืน นิจฺจํ อชฺฌาน สฺญิโน เปนบุคคลมีความหมายจะ
๖๓
ปฏิปตติปุจฉาวสิ ัชนา
ยกโทษเปนนิตย อาสวาตสสฺ วฑฺฒนฺติ อาสวะ ทัง้ หลาย
ยอมเจริญข้ึนแกบุคคลนั้น อาราโส อาสวกฺขยา บุคคล
น้ันเปนผูหางไกลจากธรรมที่สิ้นอาสวะ ถาฟงตามคาถา
พระพุทธภาษิตนี้ก็จะทำใหเราเห็นชัดไดวา อาสวะนั้นมี
มาในเวลาท่ีเพงโทษ เรายังไมเพงโทษอาสวะ ก็ยังไมมี
มาหรือเมื่อจิตท่ีประกอบดวยอาสวะคราวน้ันดับไปแลว
อาสวะก็ดับไปดวย ก็เปนอันไมมีเหมือนกัน การที่เห็น
วาอาสวะมอี ยูเสมอจงึ เปนความเห็นผิด.
ก. ถามวา อาสวะ ๓ นั้น กามาสวะเปน กิเลสประเภทรกั
อวิชชาสวะเปนกิเลสประเภทท่ีไมรู แตภวาสวะน้ันไมได
ความวาเปนกิเลสประเภทไหน เคยไดฟงตามแบบทาน
วาเปนภพๆ อยา งไรขาพเจา ไมเ ขา ใจ?
ข. ตอบวา ความไมรูความจริงเปนอวิชชาสวะ จึงได
เขาไปชอบไวในอารมณที่ดีมีกามเปนตน เปนกามสวะ
เม่ือไปชอบไวใ นทใี่ ด กเ็ ขาไปยดึ ถือตั้งอยใู นท่นี ้นั จึงเปน
ภวาสวะนี่แหละ เขาใจวา เปนภวาสวะ.
ก. ถามวา ภวะทา นหมายวา ภพ คอื กามภพ รปู ภพ อรปู
ภพ ไมใ ชหรือ ทำไมภพจงึ จะมาอยูใ นใจของเราไดเ ลา?
ข. ตอบวา ภพที่ในใจน่ีละซส่ี ำคญั นัก จึงไดต อ ใหไปเกดิ
ในภพขางนอก กล็ องสังเกตดู ตามแบบทเ่ี ราไดเคยฟงมา
วา พระอรหันตทั้งหลายไมมีกิเลสประเภทรัก และไมมี
อวิชชาภวะตัณหาเขาไปเปนอยูในท่ีใด แลไมมีอุปาทาน
๖๔
ปฏิปต ติปจุ ฉาวิสชั นา
ความชอบ ความยนิ ดียดึ ถอื ในส่ิงท้ังปวง ภพขางนอก คือ
กามภพ รปู ภพ อรปู ภพ ตลอดกระทง่ั ภพ คอื สทุ ธาวาสของ
ทา นน้ันจงึ ไมม.ี
ก. ถามวา อาสวะ ๓ ไมเห็นมีกิเลสประเภทโกรธ แต
ทำไมการเพง โทษนน้ั เปน กเิ ลสเกลยี ดชงั ขาดเมตตากรณุ า
เพราะอะไรจงึ ไดม าทำใหอ าสวะเกดิ ข้ึน?
ข. ตอบวา เพราะความเขาไปชอบไปเปนอยูในส่ิงใดที่
ถกู ใจของตน ครนั้ เขามาทำท่ไี มชอบไมถูกใจ จึงไดเ ขาไป
เพง โทษ เพราะสาเหตทุ เ่ี ขา ไปชอบไปถกู ใจเปน อยใู นสง่ิ ใด
ไว ซงึ่ เปน สายชนวนเดียวกนั อาสวะทั้งหลายจึงไดเจริญ
แกบุคคลนัน้ .
ก. ถามวา ความรูน้ันมีหลายอยาง เชนกับวิญญาณ ๖
คือ ความรูทาง หู ตา จมูก ลิ้น กาย ใจ หรือความรูใน
เรอื่ งโลภ โกรธ หลง รษิ ยา พยาบาท หรอื รไู ปในเรอ่ื งความ
อยากความตอ งการ หรอื คนทหี่ ยบิ เลก็ หยบิ นอ ย นดิ หนอ ย
กโ็ กรธเขากว็ า เขารทู ง้ั นนั้ สว นความรใู นรปู ฌานหรอื อรปู
ฌาน กเ็ ปน ความรชู นดิ หนงึ่ สว นปญ ญาทร่ี เู หน็ ไตรลกั ษณ
แลอรยิ สจั กเ็ ปน ความรเู หมอื นกนั สว นวชิ ชา ๓ หรอื วชิ ชา
๘ ก็เปนความรพู ิเศษอยางย่ิง เมอื่ เปน เชน น้ี ควรจะแบง
ความรูเหลานี้เปนประเภทไหนบาง ขอทานจงอธิบายให
ขาพเจาเขา ใจจะไดไมป นกนั
๖๕
ปฏิปตติปจุ ฉาวิสชั นา
ข. ตอบวา ควรแบง ความรทู าง ตา หู จมกู ลนิ้ กาย
ใจ วา เปน ประเภททกุ ขสจั เปน สว นทคี่ วรกำหนดรวู า
เปน ทกุ ข สว นความโลภ ความโกรธ ความหลง รษิ ยา
พยาบาท ความอยากความตองการเปนสมุทัย เปน
สวนควรละความรูในรูปฌานแลอรปู ฌาน แลความ
รูในไตรลักษณหรืออริยสจั เปนมรรค เปน สว นท่คี วร
เจรญิ วชิ ชา ๓ หรอื วิชชา ๘ น้นั เปน ริโรธ เปนสว น
ควรทำใหแ จง.
ก. ถามวา อะไร ๆ กเ็ อาเปน อรยิ สจั ๔ เกอื บจะไมม เี รือ่ ง
อ่ืนพดู กนั ?
ข. ตอบวา เพราะไมร อู รยิ สจั ทงั้ ๔ แลไมท ำหนา ทกี่ ำหนด
ทกุ ข ละสมทุ ยั แลทำนโิ รธใหแ จง และเจรญิ มรรค จงึ ไดร อ น
ใจกันไปท้ังโลก ทานผูทำกิจถูกตามหนาท่ีของอริยสัจท้ัง
๔ ทา นจงึ ไมมีความรอนใจ ทพ่ี วกเราตองกราบไหวท ุกวนั
ขา พเจา จึงชอบพดู ถงึ อริยสจั .
ก. ถามวา ตามท่ีขาพเจาไดฟงมาวา สอุปาทิเสสนิพ
พานนั้น ไดแกพระอรหันตท่ียังมีชีวิตอยู อนุปาทิเสสนิพ
พานนั้นไดแก พระอรหันตท่ีนิพพานแลว ถาเชนน้ันทาน
คงหมายความถึงเศษนามรูป เน้ือแลกระดูกที่เหลืออยู
นเ่ี อง?
ข. ตอบวา ไมใช ถาเศษเน้ือกระดูกที่หมดแลววาเปน
๖๖
ปฏปิ ตติปจุ ฉาวิสชั นา
อนุปาทิเสสนิพพาน เชนน้ันใครๆ ตายก็คงเปนอนุปาทิ
เสสนิพพานไดเหมือนกัน เพราะเน้ือแลกระดูกชีวิตจิตใจ
กต็ องหมดไปเหมือนกัน.
ก. ถามวา ถาเชนน้ันนิพพานทั้ง ๒ อยางนี้จะเอาอยาง
ไหนเลา?
ข. ตอบวา เร่ืองนี้มีพระพุทธภาษิตตรัสสอุปาทิเสสสูตร
แกพระสารีบุตร ในอังคุตตรนิกายนวกนิบาตหนา ๓๑
ความสังเขปวา วันหนึ่งเปนเวลาเชา พระสารีบุตรไป
เท่ียวบิณฑบาต มีพวกปริพพาชกพูดกันวา ผูท่ีไดบรรลุ
สอปุ าทเิ สส ตายแลว ไมพ น นรก กำเนดิ ดริ จั ฉาน เปรตวสิ ยั
อบายทุคติวินิบาต คร้ันพระสารีบุตรกลับจากบิณฑบาต
แลว จึงไปเฝาพระผูมีพระภาคกราบทูลตามเนื้อความที่
พวกปรพิ พาชกเขาพดู กนั อยา งนน้ั พระผมู พี ระภาคตรสั วา
สอุปาทิเสสบุคคล ๙ จำพวก คือพระอนาคามี ๕ จำพวก
พระสกิทาคามี จำพวกหนง่ึ พระโสดาบนั ๓ จำพวก ตาย
แลวพนจากนรก กำเนิดดิรัจฉาน เปรตวิสัย อบายทุคติ
วิบาตธรรม ปริยายนี้ยังไมแจมแจง แกภิกษุ ภิกษุณี
อุบาสก อุบาสิกาเลย เพราะไดฟงธรรมปริยายนี้แลวจะ
ประมาท แลธรรมปริยายน้ี เราแสดงดวยความประสงค
จะตอบปญหาที่ถาม ในสอุปาทิเสสสูตรนี้ ไมไดตรัสถึง
อนุปาทิเสส แตก็พอสันนิษฐานวา อนุปาทิเสสคงเปน
สว นของพระอรหนั ต.
๖๗
ปฏิปตตปิ จุ ฉาวิสชั นา
ก. ถามวา ถา เชน ทา นกห็ มายความถงึ สงั โยชนคอื กเิ ลสท่ี
ยงั มเี ศษเหลอื อยวู า เปน สอปุ าทเิ สสนพิ พาน สว นสงั โยชน
ท่ีหมดแลวไมมีสวนเหลืออยู คือพระอรหัตผล วาเปน
อนุปาทเิ สสนิพพาน?
ข. ตอบวา ถกู แลว .
ก. ถามวา ถา เราพดู อยา งน้ี คงไมม ใี ครเหน็ ดว ย คงวา เรา
เขาใจผิดไมตรงกับเขา เพราะเปนแบบสั่งสอนกันอยูโดย
มากวา สอุปาทเิ สสนิพพานของพระอรหันตท่ียงั มชี วี ิตอยู
อนุปาทิเสสนิพพานของพระอรหันตที่นพิ พานแลว ?
ข. ตอบวา ขา พเจา เหน็ วา จะเปน อรรถกถาทขี่ บพระพทุ ธ
ภาษิตไมแ ตกแลว ก็เลยถือตามกันมาจงึ มที างคดั คา นได
ไมคมคายชัดเจน เหมือนท่ีทรงแสดงแกพระสารีบุตร ซึ่ง
จะไมม ีทางคดั คา นได หมายกเิ ลสนิพพานโดยตรง.
ก. ถามวา สอุปาทเิ สสสูตรนี้ ทำไมจงึ ไดตรัสหลายอยาง
นกั มที งั้ นรก กำเนดิ ดริ จั ฉาน เปรต วสิ ยั อบายทคุ ตวิ นิ บิ าต
สว นในพระสตู รอนื่ ๆ ถา ตรสั ถงึ อบายกไ็ มต อ งกลา วถงึ นรก
กำเนดิ ดริ ัจฉาน เปรตวิสยั อบายทุคติวิบาต?
ข. ตอบวา เห็นจะเปนดวยพระสารีบุตรมากราบทูลถาม
หลายอยา ง ตามถอ ยคำของพวกปรพิ พาชกทไี่ ดย นิ มา จงึ
ตรสั ตอบไปหลายอยา ง เพือ่ ใหต รงกับคำถาม.
ก. ถามวา ขา งทายพระสูตรน้ี ทำไมจึงมพี ระพทุ ธภาษิต
๖๘
ปฏปิ ต ตปิ จุ ฉาวิสชั นา
ตรัสวา ธรรมปริยายน้ี ยังไมแจมแจงแกภิกษุ ภิกษุณี
อุบาสก อุบาสิกาเลย เพราะไดฟงธรรมปริยายนี้แลวจะ
ประมาท แล ธรรมปรยิ ายน้เี ราแสดงดว ยความประสงค
จะตอบปญ หาท่ถี าม?
ข. ตอบวา ตามความเขาใจของขา พเจา เห็นจะเปน ดวย
พระพุทธประสงค คงมุงถึงพระเสขบคุ คล ถาไดฟ ง ธรรม
ปรยิ ายนแี้ ลว จะไดค วามอนุ ใจ ทไ่ี มต อ งไปทคุ ติ แลความ
เพียร เพอ่ื พระอรหนั ตจ ะยอยไปทา นจึงไดต รัสอยา งน้ี.
ก. ถามวา เห็นจะเปนเชนนี้เอง ทานจึงตรัสวาถาไดฟง
ธรรมปริยายนี้แลว จะประมาท?
ข. ตอบวา ตามแบบทไี่ ดฟ ง มาโดยมากพระพทุ ธประสงค
ทรงเรง พระสาวก ผยู งั ไมพ น อาสวะ ใหร บี ทำความเพยี รให
ถึงท่สี ุด คอื พระอรหนั ต.
อุบายแหงวปิ สสนา
อันเปนเครอ่ื งถา ยถอนกิเลส
(พระอาจารยมน่ั ภูริทตั ตเถร)
ธรรมชาติของดีทั้งหลาย ยอมเกิดมาแตของไมดี
อุปมาดงั ดอกปทุมชาติอันสวย ๆ งาม ๆ ก็เกดิ ขึน้ มาจาก
โคลนตม อนั เปน ของสกปรกปฏกิ ลู นา เกลยี ด แตว า ดอกบวั
นน้ั เม่อื ขึ้นพนโคลนตมแลว ยอ มเปน ส่งิ ท่ีสะอาด เปนท่ี
ทัดทรงของพระราชา-อุปราช-อำมาตย และเสนาบดี
เปน ตน และดอกบัวนั้น กม็ ิกลับคืนไปยงั โคลนตมอีกเลย
ขอน้ีเปรียบเหมือนพระโยคาวจรเจา ผูประพฤติพากเพียร
๗๑
อุบายแหง วปิ ส สนา
ประโยคพยายาม ยอ มพจิ ารณาซงึ่ สง่ิ สกปรกนา เกลยี ด จติ
จงึ พนส่ิงสกปรกนา เกลยี ดได สิ่งสกปรกนาเกลยี ดนั้นกค็ ือ
ตัวเรานี้เอง รางกายน้ีเปนท่ีประชุมแหงของโสโครก คือ
อจุ จาระ ปส สาวะ (มูตร คถู ท้งั ปวง) สง่ิ ท่ีออกจาก ผม
ขน เลบ็ ฟน หนัง เปน ตน ก็เรียกวาขีท้ ัง้ หมด เชน ข้ีหัว
ขี้เล็บ ข้ีฟน ข้ีไคล เปนตน เม่ือส่ิงเหลาน้ีรวงหลนลงสู
อาหาร มแี กง กบั เปน ตน ก็รังเกียจ ตอ งเททงิ้ กินไมไ ด
และรางกายนี้ตองชำระอยูเสมอ จึงพอเปนของดูได ถา
หากไมชำระขดั สกี ็จะมีกลิ่นเหมน็ สาบ เขา ใกลใ ครกไ็ มได
ของทัง้ ปวงมีผาแพร เครือ่ งใชตาง ๆ เม่ืออยนู อกกายของ
เราก็เปนของสะอาดนาดู แตเมื่อมาถึงกายนี้แลว ก็เปน
ของสกปรกไป เมื่อปลอ ยไวน าน ๆ เขา ไมซักฟอก กจ็ ะเขา
ใกลใครไมไดเลย เพราะเหม็นสาบ ดังนี้ จึงไดความวา
รางกายของเราน้ีเปนเรือนมูตรเรือนคูถ เปนอสุภะของไม
งาม ปฏกิ ลู นา เกลยี ด เมอ่ื ยงั มชี วี ติ อยู กเ็ ปน ถงึ ปานนี้ เมอ่ื
ชีวิตหาไมแลว ยิ่งจะสกปรกหาอะไรเปรียบเทียบมิไดเลย
เพราะฉะนั้น พระโยคาวจรเจาท้ังหลาย จึงพิจารณา
รางกายอันน้ใี หชำนิชำนาญดวยโยนิโสมนสิการ ตั้งแตต น
มาทเี ดยี ว คอื ขณะเมอื่ ยงั เหน็ ไมท นั ชดั เจน กพ็ จิ ารณาสว น
ใดสวนหน่ึงแหงกาย อันเปนที่สบายแกจริต จนกระท่ัง
๗๒
พระอาจารยม ั่น ภูรทิ ตั ตเถร
ปรากฏเปนอุคคหนิมิต คือปรากฏสวนแหงรางกายสวนใด
สว นหน่งึ แลวกก็ ำหนดสวนนน้ั ใหมาก เจรญิ ใหมาก ทำให
มาก การเจรญิ ทำใหม ากน้ัน พงึ ทราบอยางน้ี อันชาวนา
เขาทำนา เขาก็ทำทีแ่ ผนดนิ ไถทแี่ ผน ดิน ดำลงไปในดนิ
ปต อ ไปเขากท็ ำทด่ี นิ อกี เชน เคย เขาไมไ ดท ำในอากาศกลาง
หาว คงทำแตท ด่ี ินอยา งเดียว ขาวเขากไ็ ดเ ตม็ ยงุ เต็มฉาง
เอง เมื่อทำใหมากในท่ีดินน้นั แลว ไมต องเรยี กวา ขา วเอย
ขา ว จงมาเตม็ ยงุ เนอ ขา วกจ็ ะหลง่ั ไหลมาเอง และจะหา ม
วา ขา วเอย ขา ว จงอยามาเต็มยงุ เต็มฉางเราเนอ ถาทำนา
ในที่ดินนั่นเองจนสำเร็จแลว ขาวก็จะมาเต็มยุงเต็มฉาง
ฉนั ใดก็ดี พระโยคาวจรเจากฉ็ นั นัน้ คงพจิ ารณากายในท่ี
เคยพิจารณาอันถูกนิสัย หรือท่ีปรากฏมาใหเห็นครั้งแรก
อยา ละทิ้งเลยเปน อันขาด การทำใหมากน้ันมิใชห มายแต
การเดินจงกรมเทาน้ัน ใหมสี ติหรอื พจิ ารณาในท่ที ุกสถาน
ในกาลทกุ เม่อื ยืน เดิน น่ัง นอน กนิ ด่มื ทำ คดิ พดู
ก็ใหมีสติรอบคอบในกายอยูเสมอ จึงจะช่ือวาทำใหมาก
เมอ่ื พจิ ารณาในรา งกายนนั้ จนชดั เจนแลว ใหพ จิ ารณาแบง
สวน แยกสวนออกเปน สว นๆ ตามโยนิโสมนสิการ ตลอด
จนกระจายออกเปน ธาตุดนิ ธาตุน้ำ ธาตไุ ฟ ธาตุลม และ
พจิ ารณาใหเ หน็ ไปตามนนั้ จรงิ ๆ อบุ ายตอนนต้ี ามแตต นจะ
๗๓
อุบายแหงวิปสสนา
ใครครวญออกอุบายตามท่ีถูกจริตนิสัยของตน แตอยา
ละทิง้ หลกั เดิมทต่ี นไดร คู ร้งั แรกนั่นเทยี ว พระโยคาวจรเจา
เมื่อพิจารณาในท่ีนี้พึงเจริญใหมาก ทำใหมาก อยา
พิจารณาคร้งั เดียว แลว ปลอ ยทิ้งตงั้ ครึ่งเดอื น ตง้ั เดอื น ให
พิจารณากาวเขาไป ถอยออกมา เปนอนุโลมปฏิโลม
คอื เขา ไปสงบในจติ แลว ถอยออกมาพจิ ารณากาย อยา
พจิ ารณากายอยา งเดียว หรอื สงบที่จิตแตอยางเดียว พระ
โยคาวจรเจาพิจารณาอยางน้ีชำนาญแลว หรือชำนาญ
อยางยิ่งแลว คราวนี้แลเปนสว นท่จี ะเปนเองคือ จิตยอ ม
จะรวมใหญ เมื่อรวมพรึบลงยอ มปรากฏวาทกุ ส่งิ รวม
ลงเปน อนั เดยี วกนั คอื หมดทง้ั โลก ยอ มเปน ธาตทุ ง้ั สน้ิ
นิมิตจะปรากฏข้ึนพรอมกันวา โลกนี้ราบเหมือนหนา
กลอง เพราะมสี ภาพเปน อันเดียวกัน ไมวาปาไม ภูเขา
มนษุ ย สตั ว แมท ่ีสุดตวั ของเราก็ตองลงราบเปนที่สุดอยา ง
เดยี วกนั พรอ มกบั “ญาณสมั ปยตุ คอื รขู นึ้ มาพรอ มกนั ”
ในทนี่ ี้ ตดั ความสนเทห ใ นใจไดเ ลย จงึ ชอื่ วา “ยถาภตู ญาณ
ทัสสนวิปสสนา คือทั้งเห็นทั้งรู ตามความเปนจริง”
ขน้ั นเี้ ปน เบอ้ื งตน ในอนั ทจ่ี ะดำเนนิ ตอ ไปไมใ ชท สี่ ดุ อนั พระ
โยคาวจรเจา จะพงึ เจรญิ ใหม าก ทำใหมาก จงึ จะเปนไป
เพ่อื ความรยู ่ิงอกี จนรอบจนชำนาญ เหน็ แจง ชดั วา สงั ขาร
๗๔
พระอาจารยมั่น ภรู ิทัตตเถร
ความปรงุ แตงอนั เปนความสมมตวิ า โนนเปนของเรา นั่น
เปน ของเรา เปน ความไมเทย่ี ง อาศัยอุปาทานความยึดถอื
จงึ เปน ทกุ ข กแ็ ลธาตทุ ง้ั หลายตา งหาก หากมคี วามเปน อยู
อยา งนีต้ ้ังแตไหนแตไรมา เกดิ -แก-เจ็บ-ตาย เกดิ ขน้ึ เสื่อม
ไปอยอู ยา งนี้ อาศยั อาการของจติ คอื ขนั ธ ๔ ไดแ ก เวทนา
สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณไปปรงุ แตง สำคัญม่ันหมายทุก
ภพทุกชาติ นับเปนอเนกชาติเหลือประมาณ มาจนถึง
ปจ จุบันชาติ จงึ ทำใหจิตหลงอยูต ามสมมติไมใชสมมติมา
ตดิ เอาเรา เพราะธรรมชาตทิ งั้ หลายทง้ั หมดในโลกนจี้ ะเปน
ของมวี ญิ ญาณหรอื ไมก ต็ าม เมอ่ื วา ตามความจรงิ แลว เขา
หากมหี ากเปน เกดิ ขน้ึ เสอื่ มไป มอี ยอู ยา งนนั้ ทเี ดยี วโดยไม
ตอ งสงสัยเลย จึงรูข้ึนวา ปุพเฺ พสุ อนนสุ ฺ สุเตสุ ธมเฺ มสุ
ธรรมดาเหลานหี้ ากมมี าแตกอน ถึงวา จะไมไดฟง จากใคร
กม็ ีอยอู ยางน้ันทีเดียว ฉะนนั้ ในความขอ นี้ พระพทุ ธองค
เจาจึงทรงปฏิญญาณพระองควา เราไมไดฟงมาแตใคร
มิไดเรียนมาแตใคร เพราะของเหลาน้ีมีอยูมีมาแตกอน
พระองค ดงั นไี้ ดความวา ธรรมดาธาตทุ ้ังหลายยอมเปน
ยอ มมอี ยูอยา งนัน้ อาศยั อาการของจติ เขาไปยึดถือเอาสิ่ง
ท้ังปวงเหลานั้นมาหลายภพหลายชาติ จึงเปนเหตุใหเปน
ไปตามสมมตนิ นั่ เปนเหตใุ หอนุสัยครอบงำจิตจนหลงเชือ่
๗๕
อบุ ายแหงวปิ ส สนา
ไปตาม จึงเปนเหตุใหกอภพกอชาติ ดวยอาการของจิต
เขาไปยึด ฉะนน้ั พระโยคาวจรเจาจงึ มาพิจารณาโดยแยบ
คายลงไปตามสภาพวา สพเฺ พ สงขฺ ารา อนจิ จฺ า สพฺเพ
สงฺขารา ทุกฺขา สังขารความเขาไปปรุงแตง คืออาการ
ของจติ นน่ั แลไมเ ทย่ี ง สตั วโ ลกเขาหากมอี ยเู ปน อยอู ยา งนนั้
ใหพ จิ ารณาอรยิ สจั ธรรมทงั้ ๔ เปน เครอื่ งแกอ าการของจติ
ใหเหน็ แนแ ทโ ดยปจ จักขสทิ ธวิ า ตัวอาการของจติ นเ้ี องมนั
ไมเ ทยี่ ง เปน ทกุ ข จงึ หลงตามสงั ขาร เมอ่ื เหน็ จรงิ ลงไปแลว
ก็เปนเครื่องแกอาการของจิต จึงปรากฏข้ึนวา สงฺขารา
สสสฺ ตา นตถฺ ิ สงั ขารทงั้ หลายท่เี ทยี่ งแทไมม ี สงั ขารเปน
อาการของจติ ตา งหาก เปรียบเหมอื นพยับแดด สว นสตั ว
เขาก็อยูประจำโลกแตไหนแตไรมา เมื่อรูโดยเง่ือน ๒
ประการ คือรูวาสัตวก็มีอยูอยางนั้น สังขารก็เปนอาการ
ของจติ เขา ไปสมมตเิ ขาเทา นน้ั ฐตี ภิ ตู ํ จติ ดง้ั เดมิ ไมม อี าการ
เปนผหู ลดุ พน ธรรมดาหรือธรรมท้งั หลายไมใชตน จะใช
ตนอยา งไร ของเขาหากเกดิ มีอยา งนั้น ทานจึงวา สพเฺ พ
ธมมฺ า อนตฺตา ธรรมทั้งหลายไมใชต น ใหพ ระโยคาวจร
เจาพิจารณาใหเห็นแจงประจักษตามน้ี จนทำใหรวม
พรึบลงไปใหเห็นจริงแจงชัดตามนั่น โดยปจจักขสิทธิ
พรอมกับญาณสัมปยุตปรากฏข้ึนมาพรอมกัน จึงช่ือวา
๗๖
ปฏิปตติปจุ ฉาวิสัชนา
วุฏฐานคามินีวิปส สนา ทำในทีน่ จ้ี นชำนาญเห็นจรงิ แจง
ประจกั ษพ รอ มกบั การรวมใหญ และญาณสมั ปยตุ รวมทวน
กระแสแกอ นสุ ยั สมมตเิ ปน วมิ ตุ ติ หรอื รวมลงฐตี จิ ติ อนั เปน
อยมู อี ยอู ยา งนนั่ จนแจง ประจกั ษใ นทน่ี น้ั ดว ยญาณสมั ปยตุ
วา ขีณา ชาติ ญาณํ โหติ ดังน้ี ในทีน่ ี้ไมใ ชสมมติ ไมใช
ของแตงเอาเดาเอา ไมใ ชข องอันบคุ คลพึงปรารถนาเอาได
เปน ของทเี่ กดิ เอง เปน เอง รเู องโดยสว นเดยี วเทา นน้ั เพราะ
ดว ยการปฏบิ ตั อิ นั เขม แขง็ ไมท อ ถอย พจิ ารณาโดยแยบคาย
ดว ยตนเอง จึงจะเปน ข้นึ มาเอง ทานเปรยี บเหมอื นตน ไม
ตางๆ มีตน ขาว เปนตน เมื่อบำรงุ รักษาตน มนั ใหดีแลว
ผลคือรวงขาวไมใชสิ่งอันบุคคลพึงปรารถนาเอาเลย เปน
ข้นึ มาเอง ถาแลบคุ คลมาปรารถนาเอาแตร วงขา ว แตหา
ไดรักษาตนขาวไม เปนผูเกียจคราน จะปรารถนาจนวัน
ตายรวงขา วกไ็ มม ขี นึ้ มาใหฉ นั ใด วมิ ตุ ตธิ รรม กฉ็ นั นน้ั แล
มิใชสิ่งอันบุคคลพึงปรารถนาเอาได คนผูปรารถนาวิมุตติ
ธรรม แตป ฏิบตั ไิ มถูก หรอื ไมปฏบิ ตั ิ มัวเกยี จครา นจนวัน
ตาย จะประสบวมิ ุตติธรรมไมไดเ ลย ดว ยประการฉะน้ี
รายนามผูรวมศรัทธาพิมพหนงั สอื ปฏปิ ตติปุจฉาวสิ ัชนา ๗๗
ลำดับ ชอื่ สกุล จำนวนเงนิ
๑ คุณวภิ าดา ไตรรตั นว รากรณ รานสะกิดใจหัวหนิ ๕,๘๐๐
๒ คุณสิรินาถ นาถวงษ ๔,๔๐๐
๓ คณุ สภุ าพ ทพิ ยทศั น ๔,๐๐๐
๔ คุณระพีพรรณ อบุ ลครุฑ ๔,๐๐๐
๕ คุณศุภนิจ-คณุ ทศั นยี วงั วิวรรธนแ ละคุณศรัณยา สรุ ิยจนั ทร ๔,๐๐๐
๖ คุณดาราวรรณ อัศวแสงพิทักษ ๒,๖๗๐
๗ คณุ อรทัย ไทยผลิตเจริญ ๑,๘๘๐
๘ คณุ อำพล ลิ้มทองคำ ๑,๘๐๐
๙ คุณประวัติ ๑,๖๐๐
๑๐ ดร.ภคั ศิลาวภิ าพร ๑,๕๐๐
๑๑ คุณสาคร ขาวขำ ๑,๕๐๐
๑๒ คณุ วาสนา บำรุงสขุ ๑,๓๓๕
๑๓ คณุ ธญั ภล กั ษณ วงศาโรจน ๑,๓๐๐
๑๔ คุณอภชิ าติ สมุทราพทุ ธา ๑,๒๘๐
๑๕ คณุ พณั ณชิตา นคิ เปรมจตุรัตน ๑,๑๖๐
๑๖ คณุ สวา ง จิตตมนั่ ๑,๐๐๐
๑๗ คุณสุวรรณา จิราวรรณสถติ และครอบครวั ๑,๐๐๐
๑๘ คณุ ธนภทั ร ธมั มาพงศ ๑,๐๐๐
๑๙ คุณกนกพร มณรี ตั นพร ๑,๐๐๐
๒๐ คณุ จิราพร ติตยางกรู
๒๑ คุณกัลยกร พาณชิ ยร งั สี ๙๘๐
๒๒ คุณสมใจ ฉินธนะปทุมพร ๘๑๐
๒๓ คุณพลู วิไล จันทรธาดา ๗๐๐
๒๔ ผไู มประสงคอ อกนาม ๗๐๐
๒๕ คณุ จุรยี พรวฒั นากูร ๖๗๐
๒๖ พ.ต.อ.บญุ เสริม ศรชี มภู ๖๕๐
๒๗ คลนิ กิ วรรณาทันตแพทย ๖๓๐
๒๘ คณุ ศริ ิพรรณ อทุ าศิริ ๖๐๐
๒๙ คณุ ยุพา พงศะบุตร ๖๐๐
๓๐ คุณจุม ๕๘๐
๓๑ คณุ จรี พนั ธุ พิมพพ นั ธดี ๕๑๐
๓๒ คุณผาสพร ธปู พลี ๕๐๐
๓๓ คุณนิรมล ตันติพนู ธรรม ๕๐๐
๓๔ คุณปวีณา เทศชูกล่นิ ๕๐๐
๓๕ ด.ช.ณฐั กมล รกั ษอารกี ลุ ๕๐๐
๕๐๐
๗๘ รายนามผูรว มศรทั ธาพมิ พห นงั สอื ปฏปิ ตตปิ ุจฉาวิสชั นา
ลำดับ ชอื่ สกลุ จำนวนเงิน
๓๖ คุณสมควร ฮาวกองแกว ๕๐๐
๓๗ คณุ สพุ ัฒน ตรงตอ กจิ ๔๗๐
๓๘ คณุ รัตนา วงศดีประเสริฐ ๔๗๐
๓๙ คณุ ภารดี แสนรงั ค ๔๔๐
๔๐ พระรักเดช ตกิ ขปญ โญ ๔๓๐
๔๑ ผูไมประสงคอ อกนาม ๔๒๐
๔๒ คณุ สกุ ัญญา จรูญยง่ิ ยง ๔๐๐
๔๓ คณุ ธรี ุตม รักษบ ำรงุ ๔๐๐
๔๔ คณุ เอกลกั ษณ ๔๐๐
๔๕ คุณกาญจนา จันทรคง ๔๐๐
๔๖ คณุ ศมน พรหมคณุ ๔๐๐
๔๗ คุณศริ อิ ร ไพรหารวจิ ติ รนุช ๓๘๔
๔๘ คณุ ภัคจิรา ๓๘๐
๔๙ คณุ จำนง แจงอกั ษร ๓๘๐
๕๐ คุณเกตนสิรี วัชรสิริโรจน ๓๖๐
๕๑ คุณยุพดี มาลีพันธ ๓๕๐
๕๒ คุณอภพิ ร ตตยิ างกรู ๓๕๐
๕๓ คณุ โกศล บวั จา ๓๑๐
๕๔ คณุ พรทพิ ย ไชยณรงค ๓๐๐
๕๕ คณุ พรทิพย ไชยณรงคและครอบครวั ๓๐๐
๕๖ คุณกญั จนณ ฏั ฐ เทอญชชู พี ๓๐๐
๕๗ คุณทวิ าพร หลวงบำรุง ๓๐๐
๕๘ คุณปราณี ชวนปกรณ ๒๙๐
๕๙ คุณอจั ฉราพันธุ วงคแปลง ๒๘๐
๖๐ พลตรีหญิงฤดี กมลมาศ ๒๘๐
๖๑ คุณหรรษา ตรีมงั คลายน ๒๕๐
๖๒ คุณวาทินี สธุ นรกั ษ ๒๕๐
๖๓ คุณผาด-คณุ ชิต ภูบงั บอน ๒๕๐
๖๔ คุณอุกฤษฎ-คุณเขษมศกั ด์ิ อายตวงษ ๒๕๐
๖๕ คุณวสุทนย จงศรีรตั นพร ๒๔๐
๖๖ ด.ต.ฐิติวัชร เกษศรีรตั น ๒๔๐
๖๗ คณุ นภา สทุ ธาวงศ ๒๒๐
รายนามผูรว มศรทั ธาพมิ พหนังสอื ปฏปิ ต ติปุจฉาวิสัชนา ๗๙
ลำดับ ชอ่ื สกุล จำนวนเงิน
๖๘ คุณสกาวลกั ษณ พวงเพช็ ร ๒๒๐
๖๙ คุณจริ าภา กอฝน ๒๑๐
๗๐ คณุ ธัญชลี วไิ ลวรรณ ๒๐๐
๗๑ คณุ ทวศี กั ดิ์ ตันตฉิ นั ทการรญุ และครอบครวั ๒๐๐
๗๒ คณุ ยายทวี คลอ งชาง ๒๐๐
๗๓ คณุ ธรณัส แจง คำ ๒๐๐
๗๔ คณุ พรทพิ ย ไชยณรงคแ ละครอบครวั ๒๐๐
๗๕ คณุ พรรณนภิ า โรจนฐติ กิ ุล ๒๐๐
๗๖ ด.ช.พีรกานต พรายประเสรฐิ ๒๐๐
๗๗ คณุ พยอม มณีพฤกษแ ละครอบครวั ๒๐๐
๗๘ คุณภทร เที่ยงทอง ๑๘๐
๗๙ คณุ ธนาภรณ เตชะสิรไิ พศาล ๑๖๐
๘๐ คุณภีษช สีไธสง ๑๖๐
๘๑ คุณโยธนิ เปรมปราณรี ชั ต ๑๕๐
๘๒ คุณวชิ าญ รตั นมงคลกิจ ๑๕๐
๘๓ คณุ วนารี สมใจดี ๑๕๐
๘๔ คุณชำนาญ วอ งพิบลู ย ๑๔๐
๘๕ คุณกมล พิพัฒนจรัสสกุล ๑๐๐
๘๖ คณุ ปราณี ชวนปกรณ ๑๐๐
๘๗ คณุ แมเสียม แซเตยี ว ๑๐๐
๘๘ คณุ ธนทั วรงคพรกลุ ๑๐๐
๘๙ คุณวารณี องั ศโุ กมทุ กุล ๑๐๐
๙๐ คุณระเบียบ มนั่ กระจา ง ๑๐๐
๙๑ คณุ ดลยา ธัญญศริ ิ ๑๐๐
๙๒ คณุ ศรวี รรณ สุขแสนไกรศร ๑๐๐
๙๓ คณุ พยอม มณีพฤกษ ๑๐๐
๙๔ คณุ ผกาวดี แสนสุข ๑๐๐
๙๕ คณุ ศริ พิ รรณี นักรอ ง ๑๐๐
๙๕ คณุ นพพร รพ.สมุทรปราการ ๑๐๐
๙๗ คณุ เกรียงไกร คณุ มงคลวฒุ ิ ๑๐๐
๙๘ คณุ เบญญาภา ศริ ิศาถาวร ๑๐๐
๙๙ คุณปรชี า ๑๐๐
๘๐ รายนามผูรว มศรัทธาพิมพหนังสือ ปฏิปต ติปจุ ฉาวสิ ัชนา
ลำดับ ชื่อ สกลุ จำนวนเงิน
๑๐๐ ผไู มป ระสงคอ อกนาม ๑๐๐
๑๐๑ พ.ต.อ.บุญเสรมิ ศรชี มภู ๑๐๐
๑๐๒ คุณฤดีพร มัวร ๑๐๐
๑๐๓ คุณนรนิ ทรพันธ เชียงชู ๑๐๐
๑๐๔ คณุ กัญญณัช มุงสวัสด์ิและครอบครัว ๑๐๐
๑๐๕ คณุ พรทิพย หทัยพันธลกั ษณ ๑๐๐
๑๐๖ คุณศริ พิ รรณี นักรอง ๑๐๐
๑๐๗ คณุ ลลิ ลี่ ภทั รโชคชวย ๑๐๐
๑๐๘ คณุ คำพล-ด.ญ.พรไพลนิ หนองยางและคณุ เสาวนยี กองดนิ ๑๐๐
๑๐๙ พ.ต.ท.หญงิ ปราณตี เพง็ ระนยั ๑๐๐
๑๑๐ คุณนิลเนตร ถงุ ศาศรี ๑๐๐
๑๑๑ คณุ วมิ ล พัวรกั ษา ๑๐๐
๑๑๒ พ.ต.ท.วรวฒุ ิ ปานขาว ๑๐๐
๑๑๓ คุณกฤษฎ แกวชม
๑๑๔ คณุ ปองทพิ จปุ ะมะตัง ๘๕
๑๑๕ คุณพนิ ิจ มะลิ ๘๐
๑๑๖ คณุ เกรยี งไกร ๘๐
๑๑๗ คุณรฐั นันท วงศจ ำปา ๖๐
๑๑๘ คุณสรชา แสนสรุ ิวงศ ๖๐
๑๑๙ คณุ วนั ชนะ สยั เกตุ ๕๐
๑๒๐ คณุ ภทั รพร รว มบุญมี ๕๐
๑๒๑ คุณศิรดา สยั เกตุ ๕๐
๑๒๒ คุณจตุรงค ภูด อก ๔๐
๑๒๓ คณุ ปราณี ชวนปกรณ ๔๐
๑๒๔ คณุ ปณ ณธร บำรักษา ๔๐
๑๒๕ คุณวสมุ นย จงศรีรัตนพร ๔๐
๑๒๖ คณุ สกาวลกั ษณ พวงเพ็ชร ๔๐
๑๒๗ คุณสภุ าพร เลศิ ประธานพร ๓๐
๑๒๘ คณุ วรษิ พร กลึงวิจิตร ๒๐
๑๒๙ คุณเพ่มิ พงษ-ด.ช.เอกสหัส ธนพพิ ัฒนสจั จา ๒๐
๒๐
รวมศรทั ธาทัง้ ส้ิน ๖๙,๘๗๔