The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตัวกูของกู ท่านพุทธทาสภิกขุ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-07-10 00:18:35

ตัวกูของกู ท่านพุทธทาสภิกขุ

ตัวกูของกู ท่านพุทธทาสภิกขุ

Keywords: ตัวกูของกู ท่านพุทธทาสภิกขุ

สารบัญ

หนังสอื ตัวกขู องกู พทุ ธทาสภกิ ขุ ฉบับยอ

คาํ นํา ……………………………………………………………………………………………. 3

บทที่ ๑. ปรับความเขา ใจ ทีผ่ ิดๆ เก่ยี วกบั พุทธศาสนา ………………………………………… 6

บทท่ี ๒ พทุ ธศาสนามุงหมายอะไร ……………………………………………………………14
พทุ ธศาสนามไิ ดม งุ หมายนําคนไปสสู วรรค ทเ่ี ปน ดนิ แดนทจ่ี ะหาความสาํ ราญกนั ไดอยาง
เต็มเหวย่ี ง ซึ่งใชเ ปน เครอ่ื งลอ ใหค นทาํ ความดี แตก ็ทาํ ใหไ ปติดยดึ ในตณั หาอปุ าทาน ซ่ึง
เปน อปุ สรรคสาํ คัญที่ทาํ ใหค นเขาไมถ งึ จดุ หมายปลายทางของพทุ ธศาสนา

บทท่ี ๓ ปมเดยี วทคี่ วรแก ……………………………………………………………………….22
ความสับสนในการจบั หลักพระพทุ ธศาสนา นบั วา เปน อุปสรรคสําคญั ของการที่จะเขา ถงึ
ตวั แทของพทุ ธศาสนา จรงิ ๆแลว เรอ่ื งมีอยเู พยี งสน้ั ๆ วา เราไมตอ งศกึ ษาเรื่องอะไรเลย
นอกจาก เรอื่ ง "ตวั ตน-ของตน"

บทท่ี ๔ การเกดิ ขึน้ แหงอตั ตา …………………………………………………………………..30
มาจากจติ ทตี่ ง้ั ไวผ ิด ทําใหเกิดลัทธทิ ไ่ี มพ งึ ปรารถนาขึ้น ทาํ ใหเ กิดการอดอยาก การ
เบยี ดเบยี น และการสงคราม ฯลฯ

บทท่ี ๕ การดบั ลงแหงอัตตา ……………………………………………………………………40
ภาวะของจิตเดมิ แท ภาวะแหง ความวางจากความวนุ ภาวะแหงความความสมบูรณด ว ย
สติปญญา

บทท่ี ๖ วธิ ีลดอัตตา …………………………………………………………………………….46
หลกั เกณฑท ีร่ ดั กุม นาํ ไปสกู ารลด "ตัวตน" อยา งมปี ระสิทธิภาพ

แผนผังลําดับแหงปฏจิ จสมปุ บาท ……………………………………………………………..72

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 1 of 73

ขาพเจา เปนหนบ้ี ญุ คุณ
ทา นอาจารยพทุ ธทาส

ขา พเจา เกดิ มา เตม็ ไปดวยความวิตกกงั วลใจนานาประการ ถงึ แมจะศึกษา หนังสอื คัมภรี 
ศาสนา ทง้ั หลาย มากเทา ใดๆ ขา พเจา กย็ งั ลดความทกุ ขใ จ ลงไมไ ดเลย และซาํ้ ยงั ทาํ ให หมด
ความเลื่อมใส เพราะมองเหน็ ความงมงาย ไมฉลาด ในวงการของศาสนาตางๆ แตพ อขาพเจา
ไดพบ คําสอน ของทา นอาจารยพทุ ธทาส ขา พเจา ก็จบั หลกั ของพทุ ธศาสนา ไดทนั ที และรจู ัก
วธิ ีดาํ เนนิ ชีวติ จิตใจ ที่ผิดไปจากเดมิ ๆ คลา ยตายแลว เกดิ ใหม ขา พเจา จึงถือวา ชวี ติ ของ
ขาพเจา ในยคุ หลังน้ี เปน หนบี้ ญุ คุณ ของทา นอาจารยพ ทุ ธทาส อยางทไ่ี มม ีอะไร จะตอบแทน
ทา นได นอกจาก การชว ยประกาศสัจจธรรมตอไป เทา ท่สี ตปิ ญญา และความรู ของขา พเจา จะ
อํานวยให. ..

ปุน จงประเสรฐิ
ผยู อ -เรียบเรียง ธรรมบรรยาย เร่ือง "ตวั ก-ู ของก"ู

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 2 of 73

คาํ นํา

หนังสือ เร่อื ง "ตัวกขู องกู"

เม่ือขาพเจา ยงั รับราชการเปนเลขานกุ ารเอก ประจาํ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรงุ ไคโร
ขา พเจา ไดส่ังซื้อหนงั สอื พทุ ธศาสนาของจนี และญี่ปุน ลทั ธหิ ินยาน นิกายเซน็ ฉบบั ภาษาองั กฤษ
มาจากกรุงลอนดอน เปนจาํ นวน ๑๐ เลม และใชเวลาวา งงาน อานคําสอนของนกิ ายเซน็
ขาพเจา เล่ือมใส ในคําสอนของเขามาก เพราะ การสอน หลักพทุ ธศาสนา ของนกิ ายเซน็ ของจนี
และญีป่ นุ นน้ั เปน การสอนลัด ดงั ทเี่ ขาเรยี ก วธิ ีปฏิบัติ ของเขาวา "วิธลี ดั " หรือ เรียก นกิ ายของ
เขาวา "นิกายฉับพลัน" ทัง้ นก้ี ็เพราะวา พวกเขา ไมสนใจ พทุ ธประวตั ิ และเร่ืองราวเปนไปของ
พทุ ธศาสนา เขาไมส นใจในดา นภาษาของพทุ ธศาสนา ไมส นใจชอื่ ของธรรมะ ไมสนใจการ
ทาํ บุญ ใหท านแบบตางๆ เขาไมตอ งการมบี าป และไมต อ งการไดบ ญุ เพราะเขาถอื วาทง้ั บาป
และบญุ กย็ งั เปน อปุ สรรค ทจี่ ะทาํ คน มใิ หถ ึงพระนพิ พาน ยง่ิ เรอื่ งการหวงั เอาสวรรค เอาวิมาน
ดว ยแลว เขาถอื วา เปน ความปรารถนาของทารก เอาทเี ดยี ว เขาตดั พธิ รี ีตอง ของพทุ ธศาสนา
ออก ทง้ั หมด เหลอื เอาไวแต "หวั ใจ" ของพทุ ธศาสนา กลา วคือ เรอ่ื ง สุญญตา เรื่องเดยี วเทา นั้น
เขาจงึ พร่ําสอนแตเร่อื ง สญุ ญตา ปฏบิ ตั ิแตเร่ืองสญุ ญตา และหวงั ผลจากสุญญตา อยางเดยี ว
ทัง้ นี้ก็ตรงกับพุทธดาํ รัสทวี่ า "ใครไดฟ ง เร่ืองสญุ ญตา กถ็ อื วา ไดฟ ง เร่ืองทงั้ หมดของ พุทธศาสนา
ใครไดป ฏบิ ัติเรือ่ งสญุ ญตา กจ็ ัดวาไดป ฏบิ ัตธิ รรมทัง้ หมด ทง้ั สนิ้ ของพุทธศาสนา ใครไดร ับผล
จากสุญญตา กน็ ับไดวา ไดรับผลอนั สูงสุด ของพุทธศาสนา" กลา วคอื ความพนทุกข ไป
ตามลําดับๆ จนไมม คี วามทกุ ขใ จ เลยแมัแตนอย ซง่ึ เราเรยี กวา "นพิ พาน" เพราะ หมดกิเลส
หมดความเหน็ แกต วั อยางสิ้นเชงิ นน่ั เอง

ขา พเจา มใิ ชเ ปน คนพวก "ศรัทธาจริต" กลา วคอื ขา พเจา ไมยอมเช่อื ใคร เชื่ออะไรงา ยๆ
ขา พเจา มีมนั สมอง มคี วามรู ท้ังทางโลก และทางธรรม และไดประสพการณของชีวติ มา ๖๐ ป
แลว เคยพบคนดี คนชวั่ คนสจุ ริต คนทุจรติ คนพดู จรงิ และคนหลอกลวง มามากตอ มาก และ
เพราะมมี นั สมอง พอทจ่ี ะรวู า อะไรถูก อะไรผดิ นน่ั เอง ขา พเจา จงึ เหน็ วา คาํ สอนของนกิ ายเซน็
ถกู ตองทีส่ ุด และไมหลอกลวงใคร เพอ่ื หวงั ประโยชนอ ะไรเขา ตัว อยา งนกั บวชนกิ ายอน่ื ๆ ได
ปฏิบตั กิ ันอยู จนคนท่ีไมใ ชส ติปญ ญา ตองตกเปน เหยื่อ เพราะความโลภ อยากไดส วรรค เพราะ
ความหลง งมงาย ในสง่ิ ศักดสิ์ ทิ ธ์ิ หรอื ความกลัวผสี าง เทวดา จนตองเสียเงิน และเสียรคู น
หลอกลวง อยา งเต็มอกเตม็ ใจ

เว็บไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 3 of 73

ขาพเจา นกึ อยเู สมอวา ทาํ อยา งไรหนอ คาํ สอนของนกิ ายเซน็ จึงจะมาเผยแพรในประเทศ
ไทยบา ง ชาวพทุ ธไทย จะไดเขาถงึ ธรรม โดยไมตองไปเสียเวลา ปฏบิ ตั ิอะไร ตอ อะไร ท่ไี มเ ปน
สาระ ไมส มตามทพี่ ระพุทธเจา ทรงมงุ หมายจะใหแ ก พทุ ธศาสนิกชน พวกเราถกู สอน ใหต ดิ
ตณั หาอปุ าทาน ตดิ บุญ ติดตาํ รา อาจารย ติดประเพณี พิธรี ตี อง พระพทุ ธเจาสอนคน ใหหมด
ความอยาก ความยึด และความยงุ แตพ วกเรา ไดร ับคําสอน ใหอ ยาก ใหย ึด และใหย งุ ฉะนนั้
เรือ่ งมรรคผล นิพพาน จงึ หางไกลมอื ของพวกเรา ออกไปทกุ วนั ๆ เลยมคี นถือกนั วา เปนเรือ่ งพน
วสิ ัยของมนุษยใ นสมัยน้ี ไปเสยี แลว ใครนาํ เอาเรอ่ื งนพิ พาน มากลา วมาสอน ก็ถกู หาวา เปน คาํ
สอนทเ่ี หลวไหล พน สมัยทใ่ี ครๆ จะทาํ ได ใครนาํ เอาวธิ ปี ฏิบตั ทิ ถี่ ูกตอ ง มาอธิบาย กถ็ กู นกั
ศาสนาสมยั ใหม หาวา เปน การกลา ว นอกพระธรรมวนิ ยั หรอื ผิดไปจากตาํ หรับตํารา คําสอนที่
ถูกตอ ง เลยไมม ีใครสนใจ และฟงกนั ไมไ ด เพราะเหตทุ ไี่ มไ ดฟงกนั มาเสียนาน น่ีแหละ เปน
สถานการณในปจจบุ นั

ฉะนน้ั การจะนําเอาคําสอนของนกิ ายเซน็ ซึง่ ถงึ แมจะดที ีส่ ดุ สนั้ ทีส่ ดุ และหวงั ดตี อ
ประชาชนท่สี ดุ เขา มาเผยแพรใ นเมอื งไทย กเ็ หน็ จะไมม ีใครเล่อื มใส และกลบั จะมกี ารคดั คา น
กนั เปนการใหญ เพราะความยดึ มน่ั ถือมนั่ ในความเหน็ เดิมๆ ของตนวา ถกู ตอ ง ดกี วา ของ
ใครๆ น่นั เอง จึงมมี านะ ไมย อมฟง คาํ สอน ของนิกายอนื่

ทา นพทุ ธทาสภิกขุ เปนอรรถกถาจารย ทแ่ี ตกฉานในพระธรรมวนิ ยั ทง้ั ฝา ยหนิ ยาน และ
นกิ ายเซน็ ทา นไดแปล สตู รของทานเวยหลา ง และทา นฮวงโป ซ่ึงเปนพระอริยบคุ คล ของ
นกิ ายเซน็ ออกมาเปน ภาษาไทย และยงั ไดร วมความเหน็ ของฝา ยเถรวาท กบั นกิ ายเซน็ ใหเขา
กนั ได จนกลายเปน คําสอนทที่ นั สมัย และสมบูรณท ่สี ุด ซึ่งรวมอยูในหนงั สอื เลมนี้ ชนดิ ทใ่ี ครๆ
จะทาํ ไมได นบั วา เปนโชคดีของพวกเราอยางยิ่ง ทไี่ ดม ีหนงั สือเลมนี้ เกดิ ข้ึนในประเทศไทย ไม
ตองขายหนา นิกายเซน็ ของฝา ยจนี ญีป่ นุ อีกตอไป หากคําสอนนี้ จะมโี อกาสเผยแพรไป ถึง
ประเทศตา งๆ ในยโุ รป หรอื อเมรกิ า ก็ยงั เปน ทอ่ี นุ ใจไดวา จะไมทาํ ใหชาวตา งศาสนา เขายม้ิ
เยาะ ไดว า พทุ ธศาสนา เตม็ ไปดว ยอภนิ หิ าร ของขลงั ของศกั ดิส์ ิทธ์ิ ตดิ อยแู ตใ นเรื่อง ผีสาง
เทวดา หรอื พธิ ีรตี อง อนั ไมป ระกอบดว ย ปญญา และหลักวชิ าการ นอกจากเชื่อกันไป ทําตาม
กันไป ดงั ทม่ี กี ลา วอยูในคัมภีร

หนงั สอื เลมน้ี ไมตองอาศัย "คํานิยมชมชนื่ " จากผใู ด เพราะผูทอี่ า นดว ยความ พนิ จิ พิจารณา
และมปี ญญาพอสมควร ยอมจะนยิ มชมชน่ื ดวยตนเอง ซง่ึ ดกี วา คาํ ชมของผหู นง่ึ ผใู ด ทเี่ ขาเขยี น
ให เพือ่ ใหขายไดดี

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 4 of 73

องคการฟน ฟพู ทุ ธศาสนาฯ หวงั วา ทา นทง้ั หลาย ทไ่ี ดอานหนงั สอื เลม นแ้ี ลว คงจะไดด วงตา
เหน็ ธรรม หรืออยางนอยกพ็ อ จะมองเหน็ ไดว า เราควรจะปฏบิ ตั ิธรรม ดว ยวธิ ใี ดดี จงึ จะเขาถงึ
สัจธรรม โดยฉบั พลนั ไมตอ งไปเสยี เวลา ศกึ ษาคัมภรี  อนั ยุง ยาก ยืดยาว ซง่ึ อยา งมาก กท็ ําเรา
ใหเปนไดแตเ พียง คนอา นมาก จาํ ไดมาก พูดมาก แตย ังเต็มไปดว ยมจิ ฉาทฏิ ฐิ หรือ ตณั หา และ
อปุ าทาน เพราะ การยึดมน่ั ถอื ม่ัน ไมย อมปลอ ยวาง ในสงิ่ ใดๆ และยังเต็มไปดวยอัตตาตัวตน

ปนุ จงประเสรฐิ
องคการฟนฟูพุทธศาสนาฯ

เว็บไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 5 of 73

บทท่ี ๑. ปรบั ความเขา ใจ

พุทธศาสนกิ ชนไทย ทน่ี ับถือพุทธศาสนา ในลักษณะท่คี นอนื่ มองเหน็ วา เครง ครดั แตความ
จริง คนนัน้ ยงั เขา ไมถงึ ตัวแทแ หง พทุ ธศาสนาเลย กม็ อี ยเู ปน อนั มาก ทีเดยี ว แลว คนพวกนเี้ อง ที่
เปนคนหวั ด้ือ ถอื รนั้ หรือ อวดดี จนกระท่ัง ยกตนขม ผูอน่ื ท่เี ขารดู กี วา

การเกย่ี วขอ งกบั พทุ ธศาสนา โดยวธิ ปี ราํ ปรา หรอื ปฏบิ ตั ติ ามๆ กันมา อยางงมงาย นั้น แม
จะไดก ระทําสบื ๆ กันมา ตง้ั หลายชัว่ บรรพบรุ ุษ แตกห็ าสามารถทาํ ใหเ ขา ถงึ ตัวแทของพทุ ธ
ศาสนาไดไม มีแตจ ะกลายเปน ของหมกั หมม ทับถมกัน มากเขา จนเกดิ ความเห็นผดิ ใหมๆ
ข้นึ มา กลายเปน พทุ ธศาสนาเนือ้ งอก ไปหมด ทาํ ใหห า งจาก ตวั แทของพทุ ธศาสนา ออกไป
เรื่อยๆ จนกระทั่ง เกดิ การกลวั ตอการบรรลุ มรรคผลนพิ พาน ซง่ึ เราไดย ินกนั อยทู ว่ั ๆ ไป ใน
หมู พทุ ธบริษทั ชาวไทยสมยั นี้ ทห่ี ามไมใ หพ ดู กนั ถงึ เรอ่ื ง มรรคผล นพิ พาน ใครขนื พดู คนนนั้ จะ
ถูกหาวา อวดดี หรอื ถูกหาวา นาํ เอาเรอ่ื งท่เี หลือวสิ ยั มาพดู แลว กข็ อรอ ง ใหพ ดู กนั แตเ รือ่ งตํา่ ๆ
เต้ียๆ เชน ใหพ ูดแตเ รื่อง จรยิ ธรรมสากล ที่ศาสนาไหนๆ เขากม็ ีดวยกันทง้ั นนั้

น่ีแหละคือ สถานะอนั แทจ รงิ ของการศึกษา และปฏิบัติ พทุ ธศาสนาในประเทศไทย มีผล
ทาํ ให พุทธบริษัทชาวไทย กลายเปน ชาวตา งศาสนาของตนไป ฉะน้ัน เราควรตง้ั ตน ศกึ ษา และ
ปฏิบัติ หลักพระศาสนา ของเราเสียใหม อยามวั หลง สําคัญผิดวา เรารูพทุ ธศาสนาดีกวา ชาว
ตา งประเทศ เพราะนกึ วา เราไดอยูกับ พุทธศาสนา มานานแลว มีผเู ขยี น มีผแู ตง ตาํ รา เกย่ี วกบั
พทุ ธศาสนา มากพอแลว เราไปคน ควา เอาตวั พทุ ธศาสนา ผิดๆ หรือไปควาเอาแตเพยี งกระพี้
ของพทุ ธศาสนา ไปควาเอาพทุ ธศาสนาเนอ้ื งอก ใหมๆ มาอวดอาง ยนื ยันกนั วา น่เี ปน พทุ ธ
ศาสนาแท ฉะนั้น หนงั สอื พทุ ธศาสนา ทเ่ี ขยี นข้นึ มา จงึ มสี ิง่ ที่ ยงั มิใชต ัวแท ของพุทธศาสนา
รวมอยูดว ย ๔๐-๕๐% เพราะ รเู ทา ไมถ งึ การณ นาํ เอาพระพุทธศาสนา ไปปนกบั ลทั ธิอ่ืนๆ ซึ่งมี
อยใู นประเทศอินเดีย ซงึ่ บางอยาง ก็คลา ยคลึงกนั มาก จนถงึ กบั ผูทไี่ มแ ตกฉาน เพยี งพอ
อาจจะนาํ ไป สบั เปลีย่ น หรอื ใชแทนกนั ไดโ ดยไมรู เชน คาํ ตูต างๆ ของพวกบาทหลวง ทม่ี ีใจ
เกลียดพทุ ธศาสนา เมอ่ื บาทหลวงผนู น้ั เปน ผูม ชี ื่อเสียง และมีคนนบั ถือกวา งขวาง หนงั สอื เลม
นนั้ กก็ ลายเปน ทีเ่ ช่ือถือ ของผอู านไปตามๆ กนั

เราไดพ บหนังสอื ชนิดน้ี เปนคร้งั เปนคราว อยูตลอดมา นบั วาเปน ความเสยี หาย อยา งใหญ
หลวง แกพ ุทธศาสนา แลวเปน อนั ตราย อยา งยง่ิ แกผ อู าน ซงึ่ หลงเขา ใจผิด ในหลกั พทุ ธศาสนา
ท่ีตนสนใจ หรือ ตั้งใจจะศกึ ษา ดว ยเจตนาอันบรสิ ุทธิ์ เชน เรอ่ื งกรรม ที่วา ทาํ ด-ี ไดดี ทาํ ชวั่ -ไดช ั่ว
และ บุคคลผทู ํา เปน ผูไ ดร บั ผลแหงกรรม นน้ั น่เี ปน หลัก ทมี่ มี ากอ นพทุ ธกาล และมกี นั ทวั่ ไป ใน

เว็บไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 6 of 73

ทุกศาสนาใหญๆ ฉะนน้ั การทจี่ ะถือเอาวา หลักเรื่องกรรม เพยี งเทาน้ี เปน หลกั ของพุทธศาสนา
นน้ั จึงเปนเรอ่ื งทน่ี า หวั เราะ ทัง้ น้เี พราะ ความจรงิ มีอยูวา พทุ ธศาสนา แสดงเร่ืองกรรม มากไป
กวา นน้ั คือ แสดงอยา งสมบูรณท ีส่ ดุ วา ผลกรรม ตามหลกั ทก่ี ลา วนน้ั เปน มายา จงึ ถอื ไมได ยงั
มี กรรมท่ี ๓ อกี ประเภทหนงึ่ ทีส่ ามารถลบลาง อาํ นาจของกรรมดี กรรมชัว่ นนั้ เสียไดโดยสน้ิ เชงิ
แลวยังเปน ผูอยเู หนือกรรม โดยประการทง้ั ปวง การปฏิบตั ิ เพ่อื บรรลุ มรรคผลนิพพาน น่ันแหละ
คอื การทาํ กรรมท่ี ๓ ดังกลา ว ซงึ่ ศาสนาอน่ื ไมเ คยกลา วถึงเลย น่ีแหละ คอื กรรม ตามหลกั แหง
พทุ ธศาสนา ทถ่ี กู ตอง เพราะ พระพทุ ธศาสนา มีความมงุ หมาย ท่จี ะชว ยมนษุ ย ใหอยเู หนือ
ความทจ่ี ะตองเปนไปตามกรรม ฉะนนั้ มนั จงึ ไมใ ชลทั ธิ ทาํ ดไี ดด ี ทาํ ชว่ั -ไดช วั่ ทาํ บญุ ไปสวรรค
ทาํ บาปไปนรก

สําหรบั เรอ่ื ง การเวียนวา ยตายเกดิ ทางรา งกาย นน้ั กลา กลาวไดวา ไมใชห ลกั ของพทุ ธ
ศาสนา เพราะวา มันเปนเรอ่ื งคกู ันมากับหลักกรรม อยางตื้นๆ งา ยๆ กอ นพทุ ธศาสนา คนในยุค
โนน เชอื่ และสอนกนั อยแู ลววา สตั วห รือคน กต็ าม ตายแลวเกิดใหม เรือ่ ยไป แทบจะไมม ีที่
ส้นิ สุด คือมตี วั ตน หรือวิญญาณทถ่ี าวร ซ่ึงเวยี นวา ยตายเกิด เร่อื ยไปในวัฏฏสงสาร จะมีจุดจบ
ตา งๆ กนั ตามแตล ทั ธินนั้ ๆ จะบญั ญัตไิ วอ ยา งไร ฉะนน้ั การทีม่ ากลา ววา พทุ ธศาสนา มหี ลักใน
เรอื่ ง การเวยี นวา ยตายเกิดทางรา งกาย ทาํ นองนนี้ นั้ จงึ เปน สิง่ ท่ีนา หัวเราะเยาะ เชนเดียวกนั อกี
ท้งั น้กี เ็ พราะ การตรัสรขู องพระสมั มาสมั พทุ ธเจา นน้ั เปน การคนพบความจรงิ วา โดยทีแ่ ทแ ลว
คนหรือสตั ว ไมไดมอี ยูจรงิ หากแตค วามไมร ู และมคี วามยึดมน่ั เกิดอยใู นใจ จงึ ทาํ ให คนและ
สัตวน น้ั เกดิ ความสาํ คัญผดิ วา ตนมีอยูจรงิ แลว ก็ไปรวมเอาอาการ ท่เี รยี กวา "เกดิ " หรือ "ตาย"
เขามาเปน ของตนดว ย ขอนี้ ทาํ ใหเกิดความรูสึกอยางมนั่ ใจวา มคี น มีสตั ว มีการเกดิ การตาย
การประกาศศาสนา ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา นนั้ กค็ ือ การประกาศความจรงิ พรอ มทง้ั วธิ ี
ปฏิบัติ จนสามารถทาํ ให คนรูหรอื เขา ใจถงึ ความจริงวา ไมม ตี ัวเรา หรือ ของเรา ดงั นนั้ ปญ หา
เรื่องการเกิด การตาย และ การเวยี นวา ยไปในวัฏฏสงสารน้ัน กห็ มดไป

เมอื่ ขอเท็จจรงิ มอี ยูดงั นแ้ี ลว การทม่ี ายืนยนั วา พทุ ธศาสนา มีหลกั เรื่องการตายแลว เกิด
ใหม ในทาํ นองความเชอ่ื ของลัทธิขนั้ ทารกสอนเดนิ แหง ยุคศาสนาพราหมณโบราณ ยอ มเปน
การตู เปนความไมย ตุ ิธรรม ตอพทุ ธศาสนา นีแ่ หละ คอื ปมท่ีเขา ใจไดย ากท่สี ดุ ของพุทธศาสนา
จนถงึ กับ ทาํ ใหชาวไทย ชาวตางชาติ เขียนขอความ ซึง่ เปน การตูพุทธศาสนา ไดเ ปน เลมๆ โดย
ใหช ่อื วา หลกั พระพทุ ธศาสนา ซึง่ มีอยูอ ยา งมากมายในระยะ ๒๐-๓๐ ป มาน้ี และนกั เขียน
เหลา น้ัน ยกเอาบทท่ีชือ่ วา กรรม และการเกดิ ใหมน นั่ เอง ขึน้ มาเปน บทเอก หรอื เปน ใจความ
สําคัญท่ีสุดของพทุ ธศาสนา สว นเร่อื งความไมมตี วั ไมมตี น หรอื ไมม ีอะไรเปนของตน และวธิ ี
ปฏิบตั ิเพอ่ื เขาถึงความวา ง เชน นนั้ เปนเรื่องท่ีไมก ระจา งแกเขา เขามักจะเวน เสีย หรอื ถาจะ

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 7 of 73

กลา ว กก็ ลา วอยา งออมแอม คลุมเครือ ไมเ ปน ท่แี จม แจง ไดเ ลย จงึ ตอ งจดั บุคคล ผเู ขยี นตาํ รา
พทุ ธศาสนา เชน นี้ ไวใ นฐานะ เปน คนไมร จู กั พุทธศาสนา และ ทําลายสจั จธรรม ของพทุ ธ
ศาสนา

การเขาใจหลกั ของพทุ ธศาสนา อยา งผิดๆ ยอ มทาํ ให ไมเขาถงึ จุดมงุ หมายอนั แทจริง ของ
พุทธศาสนา อาการอนั นเ้ี อง ท่ีนาํ ผูปฏิบตั ิ ไปสคู วามงมงาย ทง้ั โดยทางปฏิบัติ และหลกั วิชา ทาํ
ใหเ กดิ การยึดม่นั ในแบบปฏบิ ตั ิ ตามความคดิ เหน็ ผิดของตน เลยเกิดการปฏบิ ตั แิ บบ "เถรสอ ง
บาตร" ข้ึนเปนอันมาก กลาวคอื เหน็ เขาทํากันมาอยา งไร ก็ทําตามๆ กนั ไป อยา งนา สมเพช เชน
ชาวตา งประเทศ ที่ไมเคยรูจักพทุ ธศาสนา พอเขามาเมอื งไทย กผ็ ลนุ ผลัน ทําวปิ ส สนา อยา งเอา
เปนเอาตาย อยูใ นสํานกั วิปส สนาบางแหง จบแลวกย็ ังมดื มวั อยูตามเดิม หรอื ไมก็ งมงาย ยดึ
มั่นถือมน่ั สาํ คญั ผดิ อยางใดอยา งหนง่ึ ขนึ้ มาอกี จากการทที่ าํ วิปสสนาแบบนั้นๆ แมใ นหมชู าว
ไทยเรา กย็ งั มอี าการดงั กลา วน้ี จนเกิดมกี ารยดึ มน่ั วา ถา จะใหสาํ เร็จ ขั้นหนึง่ ขั้นใด ในทางพทุ ธ
ศาสนา ก็ตองนั่งวิปส สนา เรอื่ งจงึ กลายเปน เพยี งพธิ ไี ปหมด การทาํ ไปตามแบบ โดยไมทราบถงึ
ความมงุ หมาย เปน เหตุใหเ กดิ แบบกรรมฐาน ขึน้ อยา งมากมาย ซง่ึ ทงั้ หมดนั้น ไมเ คยมีในครัง้
พทุ ธกาลเลย ทง้ั หมดนี้ รวมเรียกส้นั ๆวา "สีลัพพตปรามาส" กลา วคอื การบําเพญ็ ศลี และพรต
ทท่ี าํ ไป โดยไมทราบความมงุ หมาย หรอื มงุ หมายผดิ

ความงมงายน้ี มีไดต้งั แต การทาํ บญุ ใหท าน การรกั ษาศีล การถอื ธดุ งค และ การเจริญ
กรรมฐานภาวนา คนกย็ ึดมน่ั ถือมัน่ ในการทําบญุ ใหท าน แบบตา งๆ ตามท่นี กั บวช โฆษณา
อยางนน้ั อยา งนี้ วา เปน ตัวพุทธศาสนา ทส่ี ูงขึ้นหนอย กย็ ดึ มน่ั ถือศลี เครงครัด วา นเ้ี ปน ตวั แท
ของพทุ ธศาสนา และ การยดึ มั่นถือมนั่ อาจมมี าก จนกระทัง่ ดหู มน่ิ ผอู ่ืน ทไี่ มยดึ ถืออยางตน
หรอื กระทาํ อยา งตน สว นนกั ปฏบิ ตั ิ ทสี่ งู ขน้ึ ไปอกี กย็ ดึ มัน่ ถือมนั่ ในแบบของกรรมฐาน หรือวธิ ี
แหง โยคะ ที่แปลกๆ และทาํ ไดย าก วา เปน ตวั แทข องพทุ ธศาสนา ความสําคัญผิด ของบุคคล
ประเภทนี้ มีมากจนถงึ กบั ไปควา เอา วธิ ตี า งๆ ของโยคี นอกพทุ ธศาสนา ท่มี ีอยูกอนพทุ ธศาสนา
บาง ในยุคเดยี วกันบา ง และในยคุ หลงั พทุ ธกาลบา ง เขามาใสไ วใ นพทุ ธศาสนา จนเตม็ ไปหมด
สมตามพระพทุ ธภาษิตทีว่ า "ไมใ ชเพราะศลี หรอื เพราะการปฏิบตั อิ ันแปลกประหลาด และการ
ยึดม่ันถอื ม่ัน เหลา นัน้ ทค่ี นจะ บรสิ ุทธจิ์ ากทุกขท ัง้ หลาย ได แตท ่ีแท ตอ งเปนเพราะ มคี วาม
เขาใจถกู ตอ ง ในเรื่องของความทกุ ข เหตุใหเ กิดทุกข ในเรื่องความดับสนทิ แหง ทกุ ข และวิธีดับ
ความทุกขนน้ั "

ขอนห้ี มายความวา ผปู ฏิบตั จิ ะตองถอื เอา เรอื่ งของความทกุ ข มาเปน มลู ฐาน อันสาํ คัญ
ของปญ หาท่ีตนจะตอ งพจิ ารณา สะสาง หาใชเร่ิมตนขนึ้ มา ดวยความพอใจ ในสงิ่ แปลก

เว็บไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 8 of 73

ประหลาด หรอื เปนของตา งประเทศ หรอื เปน สงิ่ ที่เขา เลาลอื ระบือกนั วา เปน ของศกั ดิส์ ิทธิ์
และ ประเสริฐ นเี่ ปน ความงมงาย อยา งเดียวกนั ทที่ ําใหค นหนุมๆ เขามาบวชในพทุ ธศาสนา ซง่ึ
สวนมาก มาเพราะ ความยดึ มัน่ ถอื มนั่ ผิดๆ อยา งใดอยา งหนง่ึ โดยตนเองบา ง โดยบคุ คลอนื่
เชน บิดามารดา บาง หรอื โดยประเพณีบา ง มีนอ ยเหลอื เกนิ หรือ แทบจะกลาวไดวา ไมมีเลย ท่ี
เขามาบวช เพราะความเหน็ ภยั ในความทกุ ข อยา งถกู ตอง และแทจรงิ เหมอื นการบวช ของ
บคุ คลคร้ังในพุทธกาล เมือ่ มลู เหตุอนั แทจ ริง แตกตา งกันแลว กย็ อมเปนธรรมดาอยูเอง ทเ่ี ขาจะ
จบั ฉวยเอา ตวั แทของพทุ ธศาสนา ไวไมไ ดเ ลย

อกี เรอื่ งหนง่ึ ซงึ่ คอนขา งนา ขบขนั ไดแ ก ความยึดมน่ั ถือมน่ั ที่หา งไปไกลถงึ นอกเปลอื กของ
พุทธศาสนา ชาวยโุ รปบางคน ที่ไดร บั ยกยอ งวา เปน ศาสตราจารย ทางฝายพทุ ธศาสนาได
ยืนยนั วา เขาเปน พทุ ธบรษิ ทั ทแี่ ทจริง เพราะเขาเปน นกั เสพผัก หรือ งดเวน การกนิ เน้ือสตั ว เขา
เสยี ใจทภ่ี รรยาของเขา เปน พุทธบรษิ ัทไมไ ด เพราะไมส ามารถเปนนกั เสพผกั ได นัน่ เอง เรื่องนี้
นกึ ดกู น็ าสมเพช คงเปนทน่ี า หวั เราะเยาะ ของพวกอาซม้ิ ไหวเจา ตามโรงกนิ เจ เพราะอาซ้มิ
เหลา น้นั นอกจากไมรบั ประทานเนอื้ สตั วแลว ยงั เวน ผักที่มรี สจัด หรือกลน่ิ แรง อกี หลายชนิด
สวนพวกมงั สะวิรตั ิ ไมก นิ เนอ้ื สตั วก จ็ ริง แตกย็ งั กนิ ไข กนิ นม และกนิ ผักทกุ ชนิด นีเ่ ปน เพราะ
ความยดึ มน่ั ถอื มนั่ ในทางประเพณีแหง พธิ รี ตี อง นนั่ เอง แมใ นหมูชาวไทย ทีอ่ างตนวา เปน พุทธ
บรษิ ัท เปน ภิกษุ เปน พระเถระ เปน มหาบาเรียน เปน คนสอนศาสนาพทุ ธ แกป ระชาชน ไดดี
ขนึ้ มา ก็เพราะอาศยั พทุ ธศาสนา แลว ยงั กลายนื ยนั อยา งไมละอายแกใ จวา บา นของชาวพทุ ธ
ตอ งมศี าลพระภูมิ ไวท ําพธิ กี ราบไหวบชู า ถาไมท าํ อยา งนน้ั ก็เปน คนนอกพทุ ธศาสนา ขอ นี้ เปน
เครื่องแสดงอยแู ลว ในตัววา "โมษะบุรุษ" ประเภทน้ี ยงั เขา ใจผดิ หรือ บดิ ผันศาสนาของตน
เพยี งไร พทุ ธศาสนาของคนในยคุ น้ี จึงมีแตพิธี และวตั ถุ ทีน่ กึ วา ศักด์ิสิทธ์ิ เทา นน้ั เอง หลงกราบ
ไหว ผสี างเทวดา และสง่ิ ศกั ดิ์สทิ ธิ์ ในสากลโลก โดยคดิ วา นน่ั ก็เปน พทุ ธศาสนา แลวกส็ ่ังสอน
กัน ตอๆไป แมโ ดยพวกทปี่ ระชาชนเชอื่ วา รจู กั พุทธศาสนาดี เพราะมอี าชพี ในทางสอนพทุ ธ
ศาสนา

คนบางพวก มคี วามยึดมน่ั ถอื มั่นวา เขาจะเขาถึงพุทธศาสนาได ก็โดยทําตนใหเ ปน ผู
แตกฉานในคมั ภีร เทา นน้ั เพราะเวลาลว งมาแลว ตง้ั แต ๒,๕๐๐ กวา ป สิง่ ตางๆ เปลยี่ นแปลงไป
มาก จะตอ งศกึ ษาเอาจากคมั ภรี ทัง้ หมด เพอื่ ใหท ราบวา พทุ ธศาสนาเดิมแท แหง คร้งั กระโนน
เปน อยา งไร ฉะนนั้ การศกึ ษาพระไตรปฎ ก พระอภิธรรม และคมั ภรี อ่ืนๆ ก็อาจกลายเปน
อุปสรรค ไปไดเหมือนกนั จรงิ อยูการทจี่ ะพดู วา ไมต อ งศกึ ษาเสยี เลยนนั้ ยอ มไมถ กู ตอ งแน แต
การทจ่ี ะพดู วา ตอ งศึกษาพระคัมภีรเ สียใหห มด แลวจงึ จะรูจ กั พทุ ธศาสนา ย่งิ ไมถกู มากข้นึ ไป
อกี หรอื ไมถกู เอาเสยี เลย ทเี ดยี ว ถงึ ธรรมะท่แี ทจ ริง จะถา ยทอดกันไมไดท างเสียง หรือ ทาง

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 9 of 73

ตัวหนังสือ แตว า วิธีปฏิบัติ เพือ่ ใหธ รรมะปรากฏแกใ จนนั้ เราบอกกลาวกันได ทางเสยี ง หรือ
ทางหนังสือ แตถา จิตใจของเขา เหลาน้นั ไมรูจ กั ความทกุ ขแลว แมจ ะมกี ารถา ยทอดกนั ทาง
เสียง หรอื ทางหนงั สอื สักเทา ไร เขากห็ าอาจจะถอื เอาไดไม ย่ิงเมอ่ื ไปยึดมน่ั ทเ่ี สยี ง หรือ
ตัวหนังสือ เขา ดว ยแลว กจ็ ะย่งิ กลายเปน อปุ สรรค ตอ การท่จี ะเขา ใจพุทธศาสนา มากข้ึนไปอกี
คอื กลายเปนผูเมาตํารา มคี วามรทู วมหวั เอาตัวไมรอด ปรยิ ตั ิไดก ลายเปนงพู ษิ ดงั ทพี่ ระพทุ ธ
องค ไดต รัสไว ชาวตางประเทศ ท่ีมีมนั สมองดี ไดก ลายเปน นกั ปรยิ ัติ ประเภทน้ไี ป เสยี มากตอ
มาก ไมจาํ เปนจะตองกลา วถึง ชาวไทยที่เรยี น ปรยิ ตั ธิ รรม อภิธรรม เพอื่ ประโยชนท างโลกๆ หรือ
ทางวตั ถุ กนั จนเปน ของธรรมดา ไปเสียแลว ถงึ ขนาดเปนกบฏ ไมรคู ณุ พระพทุ ธเจา กม็ มี าก เชน
การกลาววา การไหวพ ระภูมิ ยงั ไมเ สยี การเปน พทุ ธบรษิ ทั เปนตน

เราไมจาํ เปน จะตองศึกษาเรอื่ งราว ทางปรยิ ัติ ทางอภธิ รรม อยางมากมาย เพราะเหตุวา
คมั ภรี เ หลา นนั้ เปนทร่ี วม แหง เร่อื งตา งๆ ทง้ั หมด หลายประเภท หลายแขนงดวยกนั ในบรรดา
เร่อื ง ตง้ั หลายพนั เร่ืองนนั้ มเี ร่ืองท่เี ราควรขวนขวายใหรู เพยี งเรอ่ื งเดยี ว คอื เรื่องความดบั ทกุ ข
โดยแทจริง หรอื อยา งมากทส่ี ดุ กค็ วรขยายออกเพยี ง ๒ เรือ่ ง คือ เรื่องความทุกขอ ันแทจริง
พรอมทง้ั ตนเหตขุ องมัน (อีกเรอ่ื งหนง่ึ กค็ ือ ความมขี น้ึ ไมไดแ หง ความทกุ ขน ้ัน พรอ มทงั้ วธิ ที าํ
เพ่ือใหเปน เชน นน้ั ไดจริง) ถา ผูใดสนใจเฉพาะ ๒ ประเด็นเทา น้แี ลว ชวั่ เวลาไมน าน เขาก็จะเปน
ผรู ูปริยตั ิ ไดท ั้งหมด คอื สามารถเขาถงึ หวั ใจของปริยตั ิ ในลกั ษณะท่ีเพยี งพอ สาํ หรบั จะนาํ ไป
ปฏบิ ตั ิ ใหถงึ ความหมดทกุ ขไ ด

เราตองไมลมื วา ในคร้งั พุทธกาลโนน การศึกษาปริยัติ ในลักษณะทก่ี ลาวนี้ เขาใชเ วลากนั
ไมก่นี าที หรอื ไมกี่วนั คือ ชั่วเวลาท่พี ระพทุ ธองค ทรงซักไซร สอบถาม แลวทรงชีแ้ จง ขอ ธรรมะ
ซ่ึงถูกตรงกับ ความตอ งการแหงจิตใจของเขา เขากส็ ามารถบรรลธุ รรมะ อนั เปน ตวั แทของพทุ ธ
ศาสนาได ในที่นงั่ นน้ั เอง หรือในที่เฉพาะพระพกั ตรของพระพทุ ธเจา น่นั เอง บางคนอาจแยง วา
นัน่ มนั เปน เรื่องทพ่ี ระพทุ ธเจา ทานทรงสอนเอง และเปน เร่ืองในยุคโนน จะนาํ มาใชในยุคนี้
อยา งไรได คําแยง ขอนี้ นับวา มีสว นถกู อยู แตก็มีสวนผดิ หรอื สวนทม่ี องขา มไปเสยี อยูมาก
เหมือนกนั คอื มองขามในสวนทว่ี า ธรรมะไมไดเ กีย่ วเนอื่ งอยูกบั เวลา และไมไดเ นอ่ื งอยทู ่บี ุคคล
ผูส อน ไปเสียท้ังหมด หมายความวา ถา ใครมีตน ทุนทเ่ี พียงพอ เขากส็ ามารถเขา ถงึ ธรรมะได
เพราะไดฟง คาํ พูด แมเพียงบางประโยค

สําหรบั ขอทว่ี า มีตน ทุนมาแลวอยา งเพยี งพอนนั้ หมายความวา เขามคี วามเจนจดั ในดาน
จิตใจมาแลวอยา งเพยี งพอ คอื เขาไดเขาใจชวี ติ นี้มามากแลว ถงึ ข้ันทม่ี องเหน็ ความนาเบ่อื
หนา ย ของการตกอยูใตอํานาจของกิเลส ตอ งทนทรมานอยู อยางซา้ํ ๆ ซากๆ รูส กึ อึดอดั เพราะ

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 10 of 73

ถูกบีบคัน้ และไรอ สิ รภาพ มองเหน็ ชดั อยวู า ตนยงั ปฏบิ ตั ิผิด ตอ ส่งิ ทัง้ ปวง อยอู ยา งใดอยางหนง่ึ
จงึ เอาชนะกิเลสไมได เขารสู ิ่งตา งๆ มามากแลว ยงั เหลอื อยเู พยี งจุดเดียว ท่เี ขายงั ควา ไมพบ ซึ่ง
ถา ควา พบเมื่อใด ความพนทกุ ขสิ้นเชงิ ก็จะมไี ดโ ดยงา ย และทนั ที เหมือนเราควา พบ สวิตซ
ไฟฟา ในทีม่ ดื ฉันใดก็ฉนั นน้ั

ตนทนุ ดงั ทกี่ ลา วน้ี ไมค อ ยจะมีแกบุคคลแหง ยุคที่มวั เมา สาละวนอยูแต ความ
เจรญิ กา วหนา ในทางวัตถุ คนเหลา นถี้ ูกเสนหของวัตถุ ยดึ ใจเอาไว และลากพาตวั เขาไป ไมมีที่
สิ้นสดุ จงึ ไมประสีประสา ตอ ความจริง ของธรรมชาติ โดยเฉพาะ ในดานจติ ใจ วา มนั มอี ยู
อยา งไร เพราะฉะนนั้ ถงึ แมว า เขาจะเปน คนเฉลยี วฉลาด และมีการศกึ ษาแหง ยุคปจ จุบนั มา
มากแลว สักเพียงใด กย็ งั ไมแนว า เขาเปน ผมู ตี นทนุ พอ ในการท่จี ะเขาถึงธรรมะตามแบบ หรือ
วธิ ี แหงยคุ พระพทุ ธเจา ได พระพทุ ธเจา ทแี่ ทจ ริง ยอ มปรากฏ หลงั จากทธ่ี รรมะปรากฏ แกผนู น้ั
แลวเสมอไป ฉะนน้ั ในกรณีเชน นี้ เราไมตอ งพดู ถงึ พระพุทธเจา กอนกไ็ ด ขอแตใหเ รา พจิ ารณา
อยา งแยบคายท่สี ดุ ในการมองดตู ัวเอง มองดชู วี ิต มองดสู ภาวะ อันแทจริงของชวี ติ ใหร อู ยู
ตามท่ีเปน จรงิ เรอ่ื ยๆไป กพ็ อแลว วนั หนึง่ เรากจ็ ะบรรลถุ ึงธรรมะ ดว ยเครือ่ งกระตนุ เพียงสกั วา
"ไดยินคาํ พดู บางประโยค ของหญงิ ทาสที่คยุ กนั เลนอยูตามบอนาํ้ สาธารณะ" ดงั ทพ่ี ระพทุ ธเจา
ทรงยนื ยนั ไว หรอื ยงิ่ กวา นนั้ กด็ ว ยการไดเ หน็ รูป หรือ ไดยนิ เสียง ของมดหรือแมลง นกหรอื
ตนไม ลมพดั ฯลฯ แลว บรรลุธรรมะถึงท่สี ดุ ได ตามวิธงี า ยๆ เฉพาะตน

ยังมคี วามเขา ใจผิด อีกอยา งหนึง่ ทท่ี าํ คนใหเ ขาใจพทุ ธศาสนาผดิ จนถึงกบั ไมสนใจพุทธ
ศาสนา หรือ สนใจอยา งเสียไมได ขอนี้คอื ความเขาใจทว่ี า พทุ ธศาสนามไี วสาํ หรับ คนท่ีเบื่อ
โลกแลว หรอื เหมาะแก บุคคลท่ลี ะจากสงั คม ไปอยูตามปา ตามเขา ไมเ อาอะไรอยางชาวโลกๆ
อีก ขอ นี้ มผี ลทําใหค นเกิดกลวั ข้นึ ๒ อยา ง คือ กลวั วา จะตองสลัดส่งิ สวยงาม เอรด็ อรอย
สนุกสนาน ในโลกโดยสนิ้ เชงิ อีกอยางหนง่ึ กค็ ือ กลวั ความลําบาก เนอื่ งจาก การทจ่ี ะตอ งไปอยู
ในปา อยางฤษนี น่ั เอง สว นคนที่ไมก ลวั นนั้ กก็ ลบั มีความยดึ ถือบางอยา ง มากขน้ึ ไปอกี คือ
ยดึ ถอื การอยปู า วา เปน สงิ่ จําเปน ที่สุด สาํ หรบั ผจู ะปฏบิ ัติธรรม จะมคี วามสาํ เร็จก็เพราะออกไป
ทาํ กนั ในปาเทา นน้ั การคิดเชน นี้ เปน อุปสรรคขัดขวาง ตอการปฏบิ ตั ิธรรมะ เพราะโดยปกติ คน
ยอ มตดิ อยใู น รสของกามคณุ ในบานในเรอื น หรือ การเปน อยอู ยา งโลกๆ พอไดย ินวา จะตอง
สละสงิ่ เหลา นไ้ี ป กร็ ูส กึ มีอาการ เหมอื นกบั จะพลดั ตกลงไปในเหวลกึ และมดื มดิ มที ั้งความ
เสยี ดาย และ ความกลวั อยูใ นใจ จงึ ไมส ามารถไดร บั ประโยชน จากพทุ ธศาสนา เพราะมคี วาม
ตอ ตา น อยใู นจติ ใจ หรือมคี วามรสู ึกหลีกเล่ยี งอยูแลว

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 11 of 73

เมื่อคนคดิ กนั วา จะเขาถึงตวั แทของพทุ ธศาสนา ไมไดถาไมไปอยใู นปา จงึ มแี ตเพยี งการ
สอน และการเรยี น เพอื่ ประโยชน แกอาชพี หรอื เพื่อผลทางวตั ถไุ ป จะสอน หรือ จะเรียนกนั สัก
เทา ไรๆ กไ็ มมที างทีจ่ ะเขา ถงึ ตัวแท ของพทุ ธศาสนาได พุทธศาสนาจงึ หมดโอกาส ทจี่ ะทาํ
ประโยชนแ ก บุคคลผูครองเรอื น ไดเต็ม ตามทพ่ี ทุ ธศาสนาอนั แทจ รงิ จะมใี ห บางคนถงึ กับเหมา
หรอื เดาเอาเองวา บคุ คลใด หรือ สาํ นกั ไหน มกี ารสง่ั สอนพทุ ธศาสนา อยางถกู ตองแลว ท่ีนน่ั ก็
จะมีแตก ารชกั ชวนคน ใหทง้ิ เหยา เรอื น บุตรภรรยา สามี ออกไปอยูป า เขาเองไมอยากจะ
เก่ียวขอ งกบั สาํ นักนนั้ ๆ แลว ยงั กดี กนั ลกู หลาน ไมใ หเ ขา ไปเกย่ี วขอ งดว ย เพราะเกรงวา จะถกู
ชักจูง หรือ เกล้ียกลอม ใหไ ปหลงใหลอยูในปา นนั่ เอง พทุ ธศาสนา ไมไ ดม ีหลักเชน นน้ั การทมี่ ี
คาํ กลา วถงึ ภกิ ษุอยูในปา การสรรเสรญิ ประโยชนของปา หรอื แนะใหไ ปทาํ กรรมฐานตามปา นั้น
มไิ ดห มายความวา จะตองไปทนทรมานอยูในปา อยางเดยี ว แตหมายเพียงวา ปาเปน แหลง วา ง
จากการรบกวน ปา ยอมอาํ นวยความสะดวก และสงเสริมการกระทําทางจติ ใจ ถา ใครสามารถ
หาสถานทอ่ี นื่ ซึ่งมิใชป า แตอํานวยประโยชน อยา งเดียวกนั ไดแลว กใ็ ชไ ด

แมภ ิกษใุ นพทุ ธศาสนา กย็ ังเก่ยี วขอ งอยกู บั ชาวบา น มใิ ชอยูปาชนดิ ไมพบใครเลย จนตลอด
ชวี ติ เพราะจะตอ งชว ยเหลือชาวบา น ใหอ ยใู นโลกได โดยไมต องเปนทกุ ข ถา จะพดู โดยสํานวน
อุปมา กก็ ลา วไดว า "ใหรูจ ักกนิ ปลา โดยไมถูกกา ง" พทุ ธศาสนามีประโยชนแ กโลกโดยตรง กค็ อื
ชวยใหช าวโลก ไมต อ งถกู กา งของโลกทม่ิ ตํา ภกิ ษุสงฆท ั้งหมด มีพระพทุ ธเจาเปน ประมขุ กเ็ ปน
ผทู ีเ่ กยี่ วขอ งอยูกบั โลกตลอดเวลา เพือ่ ชว ยเหลือชาวบา น หรือ ศึกษาโลกพรอ มกนั ไปในตวั
จนกระทั่ง รแู จง โลก ซง่ึ เรยี กกันวา "โลกวทิ ู" จนสามารถขจัดความทกุ ข ทางโลกๆ ออกไปได และ
ตองการให ทุกคนเปน อยา งนัน้ ไมใ ชใ หห นโี ลก หรอื พา ยแพแกโลก แตใ หมชี ีวิตอยูใ นโลก อยา ง
มชี ยั ชนะ อยตู ลอดเวลา

ฉะนนั้ การท่ีใครๆ จะมากลา ววา ถา จะปฏิบตั ิธรรมะแลว ตอ งทิง้ บา นเรอื น เปด หนเี ขา ปา ก็
เปน การกลา วตพู ุทธศาสนา ดว ยคาํ เท็จ อยางย่งิ เพราะสถานทใี่ ด ท่มี กี ารพจิ ารณาธรรมะได ท่ี
นัน้ กม็ กี ารศกึ ษา และปฏบิ ตั ิธรรมะได พทุ ธศาสนาไมไ ดสอน ใหค นกลวั หรือ หลบหลกี สงิ่ ตา งๆ
ในโลก และไมไ ดสอนให มวั เมาในสง่ิ เหลานั้น แตสอนใหร ูจัก วิธที จ่ี ะทาํ ตวั ใหม ีอํานาจ อยเู หนือ
สิ่งเหลา นน้ั ฉะนนั้ เปน อนั กลา วไดวา จะเปนใครกต็ าม ยอมสามารถใช พุทธศาสนาเปน
เครอ่ื งมอื ใหตนอยูใ นโลกได โดยไมถ ูกกา งของโลกทม่ิ แทง แตเปน ทนี่ า เสยี ดายวา ผสู นใจพทุ ธ
ศาสนาทงั้ หลาย ไมไดม องเหน็ กันในแงน ี้ แตกลับไปเห็น เปนศาสตร หรอื เปน ปรัชญา หรอื เปน
วชิ าความรู อยา งหนง่ึ ในบรรดาวิชาความรู ทม่ี ีอยูในโลก แลวก็ศกึ ษา เพื่อจะเอาพทุ ธศาสนา
มาทาํ มาหากนิ กนั เมอ่ื ผสู อนเอง ก็ไมร วู า พทุ ธศาสนาประสงคอ ะไร ผูถ กู สอน ก็จะยง่ิ มดื มวั ขน้ึ
ไปอีก ฉะนน้ั จงึ ใครข อปรบั ความเขา ใจผดิ กันเสยี กอ นที่จะศกึ ษาเรอ่ื งอ่นื ๆ ตอ ไป

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 12 of 73

หมนู กจอ ง มองเทา ใด ไมเหน็ ฟา
ถงึ ฝูงปลา ก็ไมเ หน็ นํา้ เยน็ ใส
ไสเ ดือนมอง ไมเ หน็ ดิน ทก่ี นิ ไป
หนอนกไ็ ม มองเหน็ คูต ทดี่ ดู กนิ

คนทวั่ ไป กไ็ ม มองเหน็ โลก
ตอ งทุกขโ ศก หงุดหงดิ อยนู จิ สนิ
สวนชาวพุทธ ประยุกตธรรม ตามระบิล
เห็นหมดสนิ้ ทกุ สิ่ง ตามจรงิ เอย

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 13 of 73

บทที่ ๒
พทุ ธศาสนามงุ หมายอะไร

ความมงุ หมายของพทุ ธศาสนานนั้ มกั จะถกู คนสว นมากเขา ใจไปเสียวา มุงหมายจะนาํ คน
ไปเมืองสวรรค จงึ ไดม ีการสอนกนั เปน อยางมาก วา สวรรคเ ปนแดนทคี่ นควรไปใหถงึ สวรรคเ ปน
แดนแหงความสุขทส่ี ดุ เลยมกี ารชกั ชวนกนั ใหปรารถนาสวรรค ปรารถนากามารมณ อนั วเิ ศษ
ในชาติหนา

คนทงั้ หลายทไี่ มร คู วามจริง กห็ ลงใหลสวรรค มุงกนั แตจ ะเอาสวรรค ซง่ึ เปน แดนท่ีตนจะได
เสพยก ามารมณ ตามปรารถนา เปน เมืองทต่ี นจะหาความสําราญ ไดอยางสดุ เหวยี่ ง แบบ
สวรรคนริ นั ดร ของศาสนาอน่ื ๆ ทีเ่ ขาใชส วรรค เปนเคร่ืองลอ ใหคนทาํ ความดี คนจึงไมส นใจ ท่ี
จะดับทุกข กันท่ีน่ี และเด๋ียวนี้ ตามความมงุ หมาย อันแทจ ริง ของพุทธศาสนา น่ีคือ อปุ สรรค อัน
สาํ คัญ และเปน ขอ แรกทส่ี ุด ทที่ าํ ให คนเขา ถึงจดุ มงุ หมายของพทุ ธศาสนาไมได เพราะไปมงุ เอา
ตัณหาอุปาทาน กนั เสยี หมด

ฉะนน้ั เราควรจะตองสั่งสอนกันเสยี ใหม และพุทธบรษิ ัท ควรจะเขาใจเสยี ใหถ กู ตอ งวา
สวรรคดงั ทกี่ ลา ววา เปนเมืองที่จะตอ งไปใหถ งึ นน้ั เปน การกลา วอยางบุคคลาธิษฐาน คือ การ
กลา ว สง่ิ ทเ่ี ปน นามธรรม ใหเปน รปู ธรรม หรือเปน วตั ถขุ น้ึ มา การกลา วเชน นนั้ เปนการกลาวใน
ลกั ษณะโฆษณาชวนเชือ่ ในเบือ้ งตน ทเี่ หมาะสาํ หรับ บคุ คลไมฉลาดท่วั ไป ท่ยี งั ไมม สี ติปญ ญา
มากพอ ท่จี ะเขาใจถงึ ความหมาย อนั แทจริงของพทุ ธศาสนาได แมคําวา "นพิ พาน" ซึ่งหมายถงึ
การดบั ความทุกข ก็ยังกลายเปนเมืองแกว หรอื นครแหงความไมต าย มีลักษณะอยา งเดียวกนั
กบั เทยี นไท หรือ สขุ าวดี ของพวกอาซมิ้ ตามโรงเจทว่ั ไป สขุ าวดี นน้ั ตามความหมายอันแทจ รงิ
กม็ ไิ ดหมายความดงั ทพี่ วกอาซมิ้ เขา ใจ เชน เดยี วกนั แตมีความหมายถงึ นพิ พาน คือ ความวา ง
จากกเิ ลส สวา งจากทุกข มไิ ดห มายถงึ บา นเมืองอนั สวยงาม ทางทศิ ตะวนั ตก ซงึ่ มีพระพุทธเจา
ช่ือ อมติ าภะ ประทับอยูเ ปน ประธาน ทีใ่ ครๆ ไปอยทู ี่นน่ั แลวกไ็ ดร บั ความพอใจทกุ อยา ง ตามท่ี
ตนหวงั เพราะวาแวดลอมไปดว ยสิง่ สวยงาม และรน่ื รมยทส่ี ดุ ทมี่ นษุ ย หรอื เทวดา จะมีได นี่
เปนการกลา วอยางบุคคลาธษิ ฐาน ทงั้ สน้ิ

สวนพวกนกิ ายเซ็น ไมย อมเช่ือวา อมิตาภะ เปน เชน นน้ั แตไดเ อาคําวา อมติ าภะ นน้ั มาเปน
ช่อื ของจติ เดมิ แท อยา งท่ที า นเวย หลา งเรยี ก หรือ เอามาเปน ช่ือของ ความวา ง อยางทท่ี า นฮวง
โปเรียก เมอื่ เปนดงั น้ี อมิตาภะ หรือ สุขาวดี ของพวกอาซิม้ ตามโรงเจ กก็ ลายเปน ของเดก็ เลน
หรือของนา หวั เราะเยาะ สําหรับคนฉลาดไป

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 14 of 73

ฉะนนั้ เมือ่ ถามวา พทุ ธศาสนา มคี วามมงุ หมายอยา งไร กค็ วรจะตอบวา มงุ หมายจะแกไข
ปญ หาชวี ิตประจาํ วนั ของคนทกุ คนในโลกนี้ เพ่อื ใหมีชวี ติ อยใู นโลกนี้ โดยไมมีความทุกขเลย พูด
อยา งตรงๆ สนั้ ๆ กว็ า ใหอ ยูในกองทุกข โดยไมต อ งเปนทุกข หรอื พดู โดยอุปมากว็ า อยูในโลก
โดยไมถกู กา งของโลก หรอื อยใู นโลก ทา มกลางเตาหลอมเหล็กอนั ใหญ ที่กาํ ลงั ลกุ โชนอยู แต
กลบั มีความรสู กึ เยอื กเย็นทสี่ ดุ ดงั นี้ ขอสรุปวา พทุ ธศาสนา มุงหมายทจ่ี ะขจดั ความทกุ ข ใหหมด
ไปจากคน ทน่ี ่ี และ เด๋ยี วน้ี หาใชม ุง หมาย จะพาคนไปสวรรค อันไมรกู นั วา อยทู ไ่ี หน มีจรงิ
หรอื ไม และจะถงึ ได หลังจากตายแลว หรอื ในชาตติ อ ๆไป จริงหรือไม เพราะไมมีใครพสิ ูจนไ ด
นอกจากการกลาวกนั มาอยา งปรําปรา แลว กย็ อมเชอ่ื กนั ไป โดยไมใ ชเ หตผุ ล จนเปน ความงม
งาย ไปอกี อยา งหนงึ่

บางคนอาจจะแยงวา คาํ สอนของพทุ ธศาสนา มอี ยูเปน ชั้นๆ ความมงุ หมายกค็ วรจะมเี ปน
ชั้นๆ เชน ใหม คี วามเจรญิ ในโลกน้ี แลวมีความเจรญิ ในโลกหนา แลว จงึ ถงึ ความเจรญิ อยา งเหนอื
โลก ดงั ทช่ี อบพดู กันวา มนษุ ยสมบตั ิ สวรรคสมบตั ิ และ นพิ พานสมบตั ิ ทเ่ี ปน เชน น้ี ก็เพราะวา
เขาเหลา นนั้ ไมทราบวา สมบตั ทิ ้งั ๓ น้นั เปน เพยี งระดบั ตา งๆ ทีต่ อ งลถุ งึ ใหไดในโลกนี้ และ
เดย๋ี วนี้ หรอื ในชาตนิ น้ี ่นั เอง ไมใ ชเ อาสวรรค ตอเมื่อตายแลว และเอานพิ พาน หลงั จากนน้ั ไปอกี
ไมร ูกสี่ ิบชาติ

ตามความหมายทถี่ ูกตองนน้ั มนษุ ยสมบตั ิ หมายถงึ การไดป ระโยชน อยา งมนษุ ยธ รรมดา
สามัญ จะลถุ งึ ได ดวยการเอาเหงอื่ ไคลเขา แลก จนเปนอยูอยางผาสกุ ชนดิ ทีค่ นธรรมดาสามญั
จะพงึ เปนอยูกนั ทวั่ ไป สวรรคส มบัติ นนั้ หมายถงึ ประโยชนท่คี นมีสตปิ ญ ญา มบี ญุ มอี าํ นาจ
วาสนา เปนพเิ ศษ จะพงึ ถอื เอาได โดยไมตอ งเอาเหง่ือไคลเขา แลก กย็ ังมชี ีวติ รงุ เรืองอยไู ด
ทามกลางทรพั ยสมบัติ เกยี รตยิ ศ ชอ่ื เสยี ง และ ความเตม็ เปย มทางกามคุณ สวน นพิ พานสมบตั ิ
น้นั หมายถงึ การไดค วามสงบเยน็ เพราะไมถ ูก ราคะ โทสะ โมหะ เบียดเบยี น จัดเปน ประโยชน
ชนิดท่ีคนสองพวกขา งตน ไมอ าจจะไดรบั เพราะเขาเหลา นนั้ ยงั จะตอ งเรารอน อยูดว ยพษิ ราย
ของราคะโทสะ โมหะ ไมอ ยา งใด กอ็ ยา งหนึ่ง เปนธรรมดา แตถึงกระนนั้ กค็ วรพจิ ารณาใหเหน็
วา สมบัตทิ งั้ ๓ นี้ เปน เพยี งประโยชนท ีอ่ ยใู นระดบั หรือ ชนั้ ตางๆ กนั ทีค่ นเรา ควรจะพยายาม
เขาถงึ ใหไ ดทัง้ หมด ทนี่ ่ี และเด๋ียวน้ี คอื ในเวลาปจ จบุ นั ทนั ตาเห็น นจี้ ึงจะไดช่อื วา ไดรบั สงิ่ ซ่งึ
พทุ ธศาสนาไดม ีไวสาํ หรับมอบใหแ ก คนทกุ คน โดยเฉพาะอยา งยงิ่ กค็ อื คนที่ไมไรป ญ ญา
เสยี เลย

ทีนี้ ก็มาถงึ ปญ หา ท่ีจะตอ งพิจารณากนั อยา งรอบคอบทสี่ ุดวา ในบรรดาประโยชน ทง้ั ๓
คือ มนุษยสมบัติ, สวรรคส มบัติ และนพิ พานสมบตั ิ นนั้ ประโยชนอนั ไหนเปน ประโยชน ท่ีมงุ

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 15 of 73

หมายอยา งแทจ ริง ของพทุ ธศาสนา ประโยชนอนั ไหน เปน เหมือน ปลาทีม่ กี าง ประโยชนอนั ไหน
เปน เหมอื นปลาไมม ีกา ง และอะไรเปน เครือ่ งทจี่ ะชว ยใหส ามารถกินปลามกี า งได โดยไมต องถูก
กางเลยอกี ดว ย ในขอ นี้ แมค นท่ีมีสติปญ ญาอยูบา งแลว กย็ อ มจะมองเหน็ ไดดวยตนเองวา
มนุษยสมบัติ และสวรรคสมบตั นิ นั้ เปน เหมือนปลาท่ีมกี า ง อยางมองเหน็ บา ง หรอื อยางซอ น
เรน อยา งหยาบ หรอื อยา งละเอยี ด โดยสมควรแก ชนั้ เชิงของมนั ทงั้ นนั้ คนตองหัวเราะ และ
รอ งไห สลบั กนั ไป อยา งไมร จู ักส้นิ สดุ ก็เพราะ มนุษยสมบัติ และสวรรคส มบัติ ตอ งทนทกุ ข
อยางซา้ํ ซาก ก็เพราะ สมบตั ิทง้ั สองนี้ ตองเปนทกุ ขโ ดยตรง หรอื โดยประจกั ษช ดั ในเม่อื
แสวงหามนั มา และตองเปน ทกุ ข โดยออม หรอื โดยเรน ลับ ในเมอ่ื ไดส มตามประสงค หรือ เม่อื
กาํ ลังบริโภคมนั อยู หรอื เมอื่ เก็บรกั ษามนั ไวกต็ าม ตลอดเวลาทเี่ ขายงั ไมไดรบั สมบัตอิ ันที่ ๓ อยู
เพียงใด เขาจะตอ งทนทกุ ข อยูอยางซํ้าๆ ซากๆ อยูใ นทา มกลาง ของสง่ิ ทีเ่ ขาหลงสาํ คญั ผดิ วา
เปนความสขุ ตอ เมอื่ ไดส มบตั ิอนั ท่ี ๓ เขา มา เมอ่ื นน้ั แหละ เขาจะสามารถปลดเปลอ้ื ง พษิ สง
หรอื ความบีบคั้น ของสมบตั ทิ ัง้ ๒ ประเภทขางตน ออกไปได มชี วี ติ อยูอ ยางอสิ ระ เหนอื การบบี
คน้ั ของสมบตั ทิ ั้ง ๒ น้นั อกี ตอไป นีแ่ หละ จงพิจารณาดดู วยตนเองเถดิ วา การไดมาซึ่งสมบตั ิ
ชนดิ ไหน จงึ จะนบั วา เปน การไดท่ดี ี การไดสมบตั ชิ นดิ ไหน จะทาํ ใหเ ราพบความมงุ หมาย อนั
แทจริงของพทุ ธศาสนา

ความเขา ใจผดิ ทเ่ี ปน อุปสรรคแกก ารจะเขา ใจพุทธศาสนา มอี ยอู ีกอยา งหนงึ่ คอื คนมกั
เขา ใจกันวา หลักพระพทุ ธศาสนา อนั วา ดวย สญุ ญตา หรือ อนตั ตา นั้น ไมม ีความมุงหมาย
หรือ ไมอ าจนาํ มาใชก ับคนธรรมดาสามญั ทว่ั ไป ใชไดแ ตผ ปู ฏิบตั ธิ รรม ในชนั้ สูงทอ่ี ยตู ามถา้ํ
ตามปา หรอื เปนนกั บวชท่มี งุ หมาย จะบรรลมุ รรคผลนพิ พาน โดยเร็วเทา นน้ั แลวก็เกดิ บญั ญัติ
กนั เองข้ึนใหมว า จะตอ งมหี ลักพทุ ธศาสนาอกี ระดบั หนง่ึ ซ่ึงเหมาะสําหรบั คนทัว่ ไป ทเ่ี ปน
ฆราวาสอยูตามบานเรอื น และคนพวกนีเ้ องท่ยี ดึ ม่นั ในคําวา มนษุ ยสมบตั ิ สวรรคส มบตั ิ แลวจดั
ตวั เองหรือสอนคนอนื่ ๆ ใหม งุ หมายเพยี งมนุษยสมบตั ิ และสวรรคส มบัตเิ ทานนั้ สวนนิพพาน
สมบตั ิ เขาจัดไวเ ปนสง่ิ สุดวสิ ยั ของคนทั่วไป เขาจงึ ไมเ กย่ี วขอ ง แมดว ยการกลา วถงึ คนพวกนี้
แหละ จงึ หา งไกลตอ การไดย นิ ไดฟ ง หลกั พระพทุ ธศาสนาอนั แทจ รงิ กลา วคือ เรื่องสญุ ญตา
และ อนัตตา คงสาละวนกนั อยแู ตเรอ่ื งทาํ บุญ ใหท าน ชนิดทจี่ ะทาํ ใหตนเปน ผูม โี ชคดีในชาติน้ี
แลวไปเกดิ สวยเกิดรวยในชาตหิ นา และไดครอบครองสวรรค หรอื วมิ านในทีส่ ุด วนเวยี นพูดกนั
ในเร่อื งน้ี ไมว า ในหมคู นปญญาออ น หรือ นักปราชญ เร่อื งนพิ พานสมบตั ิ จึงเปน เรือ่ งทน่ี ากลัว
ไป เพราะรสู กึ คลา ยกับวา การบรรลุนพิ พานนน้ั เหมอื นกบั การถกู จับโยนลงไปในเหว อันเวง้ิ
วาง ไมม ที ่สี ้ินสุด แตจ ะปด ทง้ิ เสยี ทีเดียวกไ็ มได เพราะเขาวาเปน สง่ิ สูงสดุ ในพระพุทธศาสนา จงึ
ไดแ ตเพยี งหา มปรามกนั ไมใ หพดู ถงึ แมใ นหมบู ุคคลช้นั เถระ หรอื สมภารเจา วดั พวกชาวบา น

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 16 of 73

ทั่วไป จงึ หา งไกลจากการไดย นิ ไดฟง เรือ่ งซ่ึงเปน ตวั แทของพทุ ธศาสนา หรือ หลกั พทุ ธศาสนา
อันแทจ ริง ทพี่ ระพุทธองคท รงมุง หมายเอาไว หรือมไี ว เพอื่ ประโยชนแกค นทกุ คน และทุกชนั้
สถานการณด า นศาสนาของประเทศไทย กําลงั เปน อยูอยา งน้ี แลวจะเรยี กวา เปนการบวชเพอ่ื
สบื พระศาสนาไดอ ยา งไรกนั เลา

เรือ่ งสญุ ญตาน้ี เปน เรือ่ งของฆราวาส จะตอ งสนใจ ทราบไดจากบาลตี อนหนึง่ แหง สังยตุ ต
นกิ ายและทอ่ี น่ื ๆ ทต่ี รงกัน ขอ ความในบาลีนนั้ มใี จความท่พี อจะสรุปสั้นๆ ไดว า พวกชาวบาน ที่
มีอันจะกนิ กลมุ หนงึ่ ไดเ ขาไปเผา พระผมู พี ระภาคเจา แลว กราบทลู ใหท รงทราบ ตามสภาพท่ี
เปน จริงวา พวกเขาเปน ผูครองบานเรือน อดั แอดว ยบตุ รภรรยา ลูบไลก ระแจะจนั ทนหอม
ประกอบการงานอยอู ยา งสามัญชนทว่ั ไป ขอใหพ ระองคท รงแสดงขอธรรมะทท่ี รงเหน็ วา เปน
ประโยชนเ ก้อื กลู แกเขา ผอู ยใู นสภาพเชน นั้น พระพทุ ธองค จึงสอนเรอื่ งสญุ ญตา ซ่งึ เปนตัวแท
ของพุทธศาสนา แกคนเหลา นน้ั โดยทรงเหน็ วา เปน ประโยชนเ กอ้ื กลู แกช นเหลา นน้ั โดยตรง
และทรงยนื ยนั ใหเขาถือเปน หลกั ไวประจาํ ใจวา เร่ืองสญุ ญตานัน้ เปน เรอื่ งซงึ่ พระพทุ ธเจา สอน
สวนเรื่องอนั สวยสดงดงามตา งๆ นอกไปจากนนั้ เปน เร่ืองของคนชนั้ หลังสอน พวกชาวบา น
เหลา นั้นไดท ลู แยง ขึน้ วา เร่อื งสุญญตายงั สงู เกนิ ไป ขอใหท รงแสดงเร่ืองท่ีต่าํ ลงมา พระองคจ ึงได
แสดงเรอ่ื งการเตรยี มตัว เพ่ือความเปน ผูบ รรลถุ งึ กระแสแหงนิพพาน ซงึ่ ไดแ ก ขอ ปฏบิ ัตเิ พ่ือ
บรรลถุ งึ ความเปนพระโสดาบัน มใี จความโดยสรุปคือ มศี รทั ธาในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ
อยา งไมง อนแงน คลอนแคลน กับมีศลี ชนดิ ทพ่ี ระอรยิ เจา ชอบใจ คอื เปนศีลชนิดที่ผนู น้ั เอง กต็ ิ
เตียนตนเองไมไ ด และการไมมีความเชอื่ หรือปฏบิ ัติอยางงมงาย ในเรอ่ื งตางๆ พวกชาวบา น
เหลา นนั้ กแ็ สดงความพอใจ และกราบทลู วา ตนไดย ึดมนั่ อยใู นหลักปฏบิ ัตเิ หลา นนั้ อยแู ลว

เร่อื งน้ี เปน เรือ่ งทจ่ี ะตอ งพจิ ารณากันอยา งละเอยี ด เพ่ือความเขา ใจถึงความมงุ หมาย อัน
แทจ รงิ ของหลกั พระพทุ ธศาสนา พระองค ทรงแสดงเรอ่ื งสุญญตา แกบ คุ คลผคู รองเรือน เพราะ
เปนประโยชน เกื้อกลู แกเขาตามท่เี ขาขอรอ งตรงๆ พระพุทธองคป ระสงคจ ะใหพ วกฆราวาส รับ
เอาเรอ่ื งสญุ ญตา ไปใชใหเปน ประโยชน เพราะมนั ไมม เี รอ่ื งอื่น ที่ดกี วา นจ้ี ริงๆ สว นเรอื่ งที่
ลดหลั่นลงไป จากเรื่องสญุ ญตาน้ัน ก็ไดแ ก ขอปฏบิ ัติท่ที าํ ใหเ ปน พระโสดาบันนน่ั เอง เร่ืองนีก้ ็
เปนเรื่องเตรียมตัวสาํ หรบั การบรรลนุ พิ พานโดยตรง จึงนบั วา เปนเร่อื งเขา ถงึ สุญญตาโดย
ทางออมนนั่ เอง หาใชเ ปน เรอ่ื งทาํ บญุ ใหท าน ดวยการมวั เมาในมนุษยสมบตั ิ และสวรรคส มบตั ิ
อยา งไมมที ่สี น้ิ สดุ แตกไ็ มว ายทพี่ วกนักอธิบายธรรมะในช้ันหลงั ๆ จะดงึ เอาเรอื่ งเหลา น้ี มา
เก่ียวของกับสวรรคสมบัตจิ นได และทาํ ไปในลกั ษณะทเ่ี ปนการหลอก โฆษณาชวนเชอ่ื ยง่ิ ขนึ้ ทุก
ที จงึ ทาํ ใหเรือ่ งทเ่ี ปน บนั ไดขั้นตนของนพิ พาน หรือของสญุ ญตา ตองสลวั หรอื ลบั เลอื นไปอีก
จนพวกเราสมยั นี้ ไมม ีโอกาสทจี่ ะฟงเร่อื งสญุ ญตา หรือนําเอาเรอื่ งสญุ ญตา อันเปน ตวั แทข อง

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 17 of 73

พระพทุ ธศาสนา มาใชในการบําบดั ทกุ ขป ระจาํ วนั อนั เปน ความประสงคท่ีแทจ รงิ ของ
พระพทุ ธเจา พวกเราจึงตอ งเหนิ หางจากหัวใจของพทุ ธศาสนา ออกไปมากขนึ้ ทกุ วนั ๆ เพราะนัก
สอนนกั อธบิ ายสมัยนี้เอง

การทพี่ ระพทุ ธองค ทรงแสดงเรอ่ื งสญุ ญตา แกฆ ราวาส ก็ตอ งมคี วามหมายวา ปญ หา
ยงุ ยากตางๆ ของฆราวาส ตองแกด วยหลักสุญญตา ความเปน ไปในชวี ติ ประจําวนั ของฆราวาส
จะตอ งถกู ควบคมุ อยดู วยความเขา ใจถูกตอง ในเรือ่ งอันเกย่ี วกับจิตวา ง เขาจะทําอะไรไมผ ดิ ไม
เปนทกุ ขขึน้ มา กเ็ พราะมีความรู ในเรื่องสญุ ญตา มาคอยกํากบั จติ ใจ ถา ผิดไปจากนแ้ี ลว
ฆราวาสก็คือ พวกทจี่ ะตอ งหวั เราะ และรอ งไห สลับกนั ไป ไมมีทส่ี น้ิ สดุ และ เพอื่ ที่จะใหฆราวาส
ไมต องเปน เชน นน้ั พระองคจ งึ ไดส อนเรอ่ื งสุญญตา แกฆราวาสในฐานที่ "เปนสง่ิ ทเี่ ปน ประโยชน
เก้ือกลู แกฆราวาส" ดงั ทกี่ ลา วแลว หลักพุทธศาสนาอนั สงู สดุ นนั้ มเี รอื่ งเดยี ว คือ เร่ืองสุญญตา
หรอื จิตวา ง ใชไ ดแ มแตพ วกฆราวาสทว่ั ไป และมุงหมายทจ่ี ะดบั ทกุ ขข องฆราวาสโดยตรง เพอ่ื
ฆราวาสผอู ยทู า มกลางความทุกขน ้ี จะไดก ลายเปน บุคคลท่ีความทกุ ขแปดเปอนไมไ ด ถาเปน
นพิ พาน กเ็ ปน ที่ความทกุ ขแ ปดเปอนไมไ ดนัน่ เอง ถาแปดเปอนไมไดเ ลย จนเปน การเดด็ ขาด
และถาวร ก็เรยี กวา เปน ผบู รรลุพระนิพพาน เปน พระอรหนั ต, เปนแตเพียงการแปดเปอ นที่
นอยลงมา กเ็ ปนการบรรลพุ ระนพิ พาน ในขน้ั ทเ่ี ปนพระอริยบคุ คล รองๆ ลงมา

"โสตาปตตยิ งั คะ" กค็ อื ศรัทธาแนน แฟน ในพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ และความมอี ริยกนั
ตศีล รวมทง้ั ๔ อยางน้ี เปนการเตรียมตวั เพอื่ ลสุ ญุ ญตาหรอื นพิ พาน ศรัทธา (ความเชือ่ ) จะยงั
ไมแนน แฟน แทจ รงิ จนกวา จะไดม องเหน็ วา พระพุทธเจา เปนผูตรัสรูเร่อื งสุญญตา คอื เรื่อง
สูงสุดท่ีดับทกุ ขไดจ รงิ และพระธรรมนัน้ ก็เปนเรือ่ งอะไรอน่ื นอกไปจากเรอ่ื งทง้ั หมดของสญุ ญ
ตา ทด่ี ับทกุ ขไดจริง กลา วคอื คาํ สอนและการปฏบิ ตั ิ รวมทั้ง ผลทม่ี ีมาจากความไมย ดึ มน่ั ในสงิ่
ท้ังปวง สวนพระสงฆนนั้ กค็ อื ผูทปี่ ฏบิ ัติ และไดร บั ผลการปฏิบตั เิ ชนนน้ั เม่ือมองเหน็ อยูอยา งน้ี
ศรัทธาจงึ จะแนน แฟนมนั่ คง ไมง อนแงน คลอนแคลน กลาวคือ จะไมเ ลอ่ื มใสในศาสดาอน่ื ๆ ใน
ขอ ส่งั สอนใดๆ และพวกนักบวชใดๆ ท่ไี มก ลา วสอนหรอื ปฏิบตั เิ รอื่ งสุญญตา หรือ นพิ พาน

สว น "อรยิ กนั ตศลี " นนั้ ก็เหมอื นกนั ศลี ทจ่ี ะบริสุทธห์ิ มดจด ถึงกับถกู จดั เปน "อริยกนั ตะ" คอื
เปนทพี่ อใจของพระอรยิ เจา ได กต็ อ เมื่อศลี นน้ั มีมูลมาจากการเห็น สญุ ญตา เทา นน้ั แมไ มโดย
สน้ิ เชิง ก็ตองโดยบางสว น คอื อยา งนอย จะตองมคี วามเหน็ วา สง่ิ ทง้ั ปวงไมค วรยดึ มนั่ หรอื ยึด
ม่นั ไมไดจ ริงๆ เทา นนั้ เขาจึงจะเปนผไู มมเี จตนา ที่จะทาํ อยา งใดอยา งหนง่ึ ลงไป ท่ีเปน การผิด
ศลี ไมว า จะเปน ศีลเทา ใดขอ ไหนก็ตาม อนง่ึ สขุ เวทนา และส่งิ อันเปนทตี่ ้งั ของสุขเวทนา นานา
ชนิดในโลกนน่ั เอง ท่เี ปนทต่ี งั้ ของความยดึ มน่ั ถอื มนั่ และทําใหค นเราลว งศีล ท้งั ๆทร่ี อู ยู หรือ

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 18 of 73

ทั้งๆท่ีพยายามจะไมใ หลว ง มันก็ลว งจนได ย่งิ ไปบบี บงั คบั หนกั เขา มันกย็ ิ่งมปี ฏิกิริยามากขน้ึ
แตถ าหากมที างระบายความกดดันอันน้อี อก เสียได ดวยความรู เรอ่ื งสุญญตาอยูเสมอๆ แลว
การรักษาศีลใหบ ริสทุ ธ์ิ ก็จะมไี ดโ ดยงายขึ้น ไมม กี ารฝน หรอื ตอสูอะไรมากมาย ศลี กจ็ ะบรสิ ทุ ธิ์
ถงึ ขนาดเปนทพ่ี อใจ ของพระอรยิ เจาได

ทงั้ หมดน้ี เราจะเหน็ ไดว า โสตาปตติยงั คะ ทงั้ ๔ องคน ้ี แมจะเปน สงิ่ ทีพ่ ระพทุ ธเจา ตรสั เพ่อื
เล่ียงคําแยง ของพวกฆราวาสเหลานน้ั ในเร่อื งความยากเก่ยี วกับสญุ ญตา ก็ยงั ไมพน วงของเร่อื ง
สุญญตา อยนู นั่ เอง ถาจะกลา วอยา งโวหารธรรมดา ก็กลา วไดวา เปน การซอนกล บังคบั ใหรบั
เอาเร่อื งสุญญตา อยา งหลีกเล่ียงไมพน หรอื ในลักษณะทคี่ วามรเู รือ่ งสญุ ญตานนั้ จักตองงอก
งามเบกิ บานออกไปไดใ นอนาคต ในตวั มนั เองโดยแนน อน ถา เขาจะมศี รทั ธาจรงิ มศี ลี จริง ดังท่ี
กลาวมานี้ มันกต็ อ งเปน ศรทั ธา หรอื ศลี ทม่ี ีมลู มาจากสญุ ญตา ไมใชจากความกระหายตอ
สวรรค เชน อยากเปน เทวดา มวี มิ านทอง มีนางฟา ๕๐๐ เปน บรวิ าร หรืออะไรๆ ทีเ่ ขาลอๆ ให
คนหลงกนั อยทู ั่วไป แมจ ะเปน ศรัทธา หรอื ศลี อยางรนุ แรงเพียงใด ก็หาเปน สง่ิ ที่แนน แฟน มัน่ คง
หรอื เปน ทพ่ี อใจของพระอรยิ เจา ไม เพราะฉะนนั้ เมื่อจะมศี รทั ธาและมีศลี อยา งมนั่ คงได มนั ก็
ตองเปน ศรัทธา และศีล ทม่ี มี ลู มาจากสิ่งอ่ืนนนั้ จะตอ งลมลกุ คลกุ คลาน อยเู สมอไป ครัง้ ถกู
หลอกถกู ลอ หนกั เขา เจา ตัวกจ็ ะเบือ่ หนา ย ตอ ศรทั ธา และศลี เชนนน้ั ขน้ึ มาเอง จักเรมิ่ ใช
ปญญาของตน จนมาพบศรทั ธาและศีลทม่ี รี าก คือ สุญญตาเขา วนั หนึง่ จนได ฉะนน้ั ถา จะกลา ว
อยา งสาํ นวนชาวบา น เราก็อาจจะกลา วไดว า พระพุทธองคไดท รงวางกับดกั ลว งหนา ไวดีแลว
จนกระท่ังวา ทาํ อยา งไรเสีย พวกชาวบา นเหลา น้ัน ก็ไมห ลดุ รอดไปจากวงของเรอ่ื งสญุ ญตาได
ทง้ั ๆท่ีเขากาํ ลงั ปฏเิ สธ ไมย อมรับเร่อื งสุญญตาอยูอ ยางแข็งขนั ก็ตาม

สรปุ ความวา ในหมคู นทมี่ ีปญ ญาแลว โดยธรรมชาตทิ ีแ่ ทจ ริงนนั้ เขายอ มตอ งการธรรมะ
หรอื หลกั แหง พุทธศาสนาอนั เดยี วกนั คือ การระงบั ดับทกุ ข เพอื่ ใหเกดิ ความสุขดวยกนั ทุกคน
เพียงแตล ดหลนั่ กนั ตามสติปญ ญาเทา นน้ั เอง กลา วคอื เร่ืองสุญญตา ในระดบั หนง่ึ ทเ่ี หมาะสม
แกบ ุคคลเหลา หนง่ึ ๆ แตข อ เสียดายอยา งยิ่งก็คอื คนเหลานนั้ ไมเคยถกู สอน ใหต อ งการสิ่งทจี่ ะ
มาดับทกุ ขต ามฐานะของตนๆ ใหเ หมาะสมกนั กับความทกุ ขของตนๆ แตเ ขาไดถ กู สอนใ หแ ลน
เตลิดออกไป นอกลนู อกทาง คอื ไปตองการความสุข ชนดิ ใดชนดิ หนงึ่ ตามทเี่ ขาจะชอบนึกฝน
เอาเอง เม่อื เปน เชน น้ี กต็ องไปติดบว ง ของการเมาสวรรค เมาบญุ ทนี่ กั สอนศาสนาบางคน เขา
โฆษณากนั อยู ทุกคาํ่ เชา ฉะนัน้ ส่งิ ที่ชาวบา นตองการ จึงไมใ ชความดบั ทุกข หรือ ธรรมะท่ี
อาจจะดับทกุ ข ตามทพี่ ทุ ธศาสนาจะมใี ห แตม นั ไดก ลายเปน วา เขาตอ งการความสขุ ตามทเี่ ขา
คาดฝน เอาเอง สรา งวมิ านในอากาศ ฝน หวานๆ ตามความพอใจของเขาเอง ไปเสยี แลว

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 19 of 73

ขอ นี้เอง เปน ขอ ทท่ี าํ ใหท ายกทายกิ า หรอื พทุ ธบริษัทท้ังหลาย เกดิ มคี วามมงุ หมายที่จะได
อะไรๆ เกินไปจากท่พี ทุ ธศาสนาจะใหได ผิดไปจากความมุงหมายเดมิ แทข องพระพุทธศาสนา
เพราะจบั หลักกนั ไมไ ด วา พระพทุ ธศาสนา มงุ หมายจะอาํ นวยประโยชนอ ันแทจ รงิ อะไรใหแ ก
มนุษย และหลักธรรมท่จี ะเปนเคร่อื งมือเชนวา นนั้ คอื อะไร ฉะนนั้ ขอเนน อยางสรุปสนั้ ๆ วา
พระพทุ ธศาสนา มงุ หมายจะใหคนทัง้ หลาย อยูไดทา มกลางของทุกข โดยไมต องเปน
ทกุ ข เพราะอาศยั ความรู และการปฏบิ ัติ ในเรอ่ื งสุญญตา หรือ ความวา งจากตวั ตน นนั่ เอง หา
ใชเพือ่ ความมัวเมาในสวรรคว ิมาน อยา งทม่ี ีการโฆษณา ชวนเช่อื อยตู ามวดั วาอารามตางๆ
ทัว่ ไปไม และขอใหพ วกเราเขา มารูจกั กนั เสยี ใหม นบั ตงั้ แตบ ดั นเี้ ปนตน ไป เพื่อมใิ หเ สียเวลา
(โปรดอา นหนงั สือ "วธิ ีระงบั ดับทกุ ข" ของทา นพทุ ธทาส)

ปญ หาตอไปกค็ อื วา ทาํ ไมพวกเราในสมัยน้ี จึงไดร บั ประโยชนจากพุทธศาสนา นอยเกินไป
ในเมือ่ เทยี บกบั ประโยชนท งั้ หมดทพ่ี ทุ ธศาสนาไดมีให ไมมสี ันตภิ าพอนั พอควรในหมูมนุษย ซง่ึ
ถอื กนั วา เปน สัตวสงู เหนือสัตวทง้ั ปวง จนถงึ กับกลา วไดวา สนั ตภิ าพมีในหมูสตั วเ ดยี รฉาน
ท่ัวไป มากกวา ท่ีมอี ยใู น หมมู นุษย เพือ่ จะตอบปญหานี้ เราควรจะทาํ ความเขา ใจเสียกอ นวา
คนทเ่ี ขา มาเกยี่ วขอ งกับศาสนานั้น มอี ยสู องประเภทใหญๆ คอื เขา มาเกยี่ วขอ งเพียงสกั วา ทาํ
ตามบรรพบุรษุ หรือตามประเพณี อยา งหนง่ึ กับอกี อยางหนงึ่ นน้ั เปน เพราะมีความตอ งการใน
ใจ อยางใดอยา งหนง่ึ จากศาสนา

สาํ หรับอยา งแรก คือ การถือศาสนา สกั วาทําตามบรรพบรุ ุษ หรอื ตามประเพณีนน้ั ไมม ผี ล
เปนชน้ิ เปน อนั สาํ หรบั ตัวบุคคลนั้นเอง สวนการถอื ศาสนาเพราะมีความมงุ หมายอยางใดอยา ง
หนง่ึ นนั้ ก็ยงั แบง ออกเปน อกี ๒ ประเภท คอื ประเภทท่มี ีเจตนาอนั บริสทุ ธิ์ คอื เขา มาเก่ียวขอ ง
กับศาสนา เพอ่ื อยากพน กเิ ลส พน ความทกุ ขใ จทง้ั ปวง คนพวกนี้ เปน พวกทน่ี า จะไดรบั การ
สนับสนนุ ชว ยเหลอื เทา ท่ีจะชว ยเขาได สวนอกี ประเภทหนง่ึ นนั้ ไมม เี จตนาอยา งนน้ั เขามา ก็
เพราะหวงั จะเอาอะไรโงๆ จากพระศาสนา เชน เอาเครือ่ งลางของขลงั ของศักดิ์สทิ ธ์ิ อยากใหมี
โชค อยากร่ํารวย ใหไ ดช ยั ชนะ หรือคลาดแคลว จากศตั รู จากภูตผปี ศาจ และโรคภยั ไขเ จ็บ แลว
กเ็ ทย่ี วหาวตั ถศุ ักด์ิสิทธิ์มาแขวนไวท ีค่ อ จนคอแทบจะทนไมไ หว โดยไมมีความรเู ลยวา นน่ั คือ
อะไร มีมลู มาจากอะไร และเพือ่ อะไร ส่ิงทต่ี นคิดวา เปน ของขลัง และศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ นน้ั กลับ
กลายเปน ขา ศกึ แกตนเอง ปด บงั ปญ ญาของตัว

บางพวกกเ็ ขา มาบวชเพ่อื หาความรใู นทางศาสนา เพื่อจะไดวิชาความรูนัน้ เปนเครอ่ื งมอื ยงั
ชพี หาประโยชนท างวตั ถเุ พอ่ื ตัวเอง เปน การเพิ่มกิเลสขน้ึ อีกอยา งเดยี วกัน ในท่สี ุด กไ็ มอาจ
เขาถงึ แกน ของศาสนาได เพราะไมม เี จตนจ ํานงคจะเขา ใหถ งึ ไมม ีใจรกั ทจ่ี ะเขาใหถ ึง หรือเหน็

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 20 of 73

วา สจั ธรรมไมก อ ประโยชนเปนเงนิ เปน ทองทนั ตาเห็น ฉะนน้ั การทช่ี าวบา นลงทนุ เพอ่ื บาํ รุง
กจิ การพระศาสนา อนั ไมน อ ยกวา รอยลา น พนั ลา นบาท จึงไมไดรบั ผล ตามความมงุ หมายของ
ศาสนา ไมค ุม คาเงนิ ท่ใี ชลงทนุ ไป เพราะเขาไมต อ งการคําสอนท่ีแท ของพระพทุ ธเจา มคี วาม
ตอ งการ แตส ่ิงทไี่ มตรงจุดหมายของพระองค

จริงอยู ความกลวั ยอมเปน มูลเหตอุ นั แทจ รงิ ของการเกดิ ขน้ึ มา และการตง้ั อยูไ ด ของ
ศาสนาทงั้ ปวง พวกทกี่ ลวั อาํ นาจอนั ล้ีลับ ของผสี างเทวดา รวมทง้ั พระเปน เจา กต็ องการศาสนา
ไว เพยี งเพ่อื จะไดเ ปนท่โี ปรดปราน ของผสี างเทวดา และพระผูเปน เจา ทัง้ ๆ ท่ีสง่ิ ทงั้ หมดเหลา น้ี
ก็เปน เพยี งอวชิ ชาความโง อยา งหนง่ึ เทานน้ั พวกทก่ี ลวั ยากจน กลวั โชคราย กห็ นั เขา มาหา
ศาสนา เพือ่ เปน เครื่องมือ ชว ยขจัดความกลวั เหลา นน้ั สว นความกลวั ของพทุ ธบริษทั ที่แทจ ริง
นัน้ คอื กลัวความทุกข หรือ กลวั กิเลส ของตวั เอง โดยเหน็ วา เปน ภัยทใ่ี หญห ลวง ยง่ิ กวา ภยั ใดๆ
หมด พอเกดิ มา ก็ไดประสบภยั อันน้ีแลว และประสบอยตู อไป จนตลอดชีวติ จงึ ตอ งการ
เครื่องมอื กาํ จดั มันเสยี เพราะเหตนุ ้ีเอง พทุ ธบรษิ ัทที่แท ท่ีหวังจะไดรับผลจากพระพทุ ธศาสนา
โดยตรง จงึ ตอ งรีบสะสางปญ หาขอ นี้ โดยมคี วามตอ งการใหถูกตรง ตามจุดมุงหมายของพทุ ธ
ศาสนา แลว จะประสบส่ิงทเ่ี ราตองการ กลา วคอื สนั ตภิ าพอนั ถาวร ของเอกชน และสงั คม โดย
ไมต อ งสงสยั เลย และนบั วาไดร บั สงิ่ สงู สุด ทพี่ ทุ ธศาสนาเจตนาจะให กลาทา ใหพ ิสจู นไดวา ไมม ี
อะไรท่ีสูงยง่ิ ไปกวา นี้ ในการท่จี ะสรางสนั ติภาพ ใหแ กตนเอง และทกุ ๆ คนในโลก

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 21 of 73

บทท่ี ๓
ปมเดียวที่ควรแก

มีความคิดเขา ใจผิดในหมูคนทไ่ี มรจู กั พทุ ธศาสนาจริง วา หลกั ของพระพทุ ธศาสนา เปนไป
ในทางท่จี ะทําใหค นสน้ิ หวงั หรือ เห็นโลกไปในแงร ายเสยี หมด ทาํ ใหค นฟง แลวเศรา สรอ ยไมเบิก
บาน เพราะพทุ ธศาสนาพูดถงึ เรื่องสญุ ญตา (ความวา ง) อนัตตา(ความไมม ตี ัวตน) หรือ บอกวา
สิ่งทงั้ ปวงเปน ทกุ ข ไมม ีอะไรเปน สาระแกน สาร ท่คี นควรจะเขาไปยดึ มน่ั ถอื มนั่ แมแ ตเรอื่ งสวรรค
ก็ไมม คี วามดีที่เราจะลมุ หลง ไมค วรใฝฝ น ไมควรหวงั เพราะเปน เรอื่ งของตณั หา และอุปาทาน
ไมดีไมว เิ ศษ อยางท่คี นสว นมากหลงเขา ใจผดิ กันอยู

ชาวตา งประเทศทเี่ ผอิญมาไดย ินไดฟง ดังนี้ หรอื ไดศ ึกษาแตเพียงบางตอน ก็เกิดมีความเหน็
ไปวา พุทธศาสนาเพง เลง็ ในแงราย และยิ่งไปกวา นน้ั ยงั แถมจัดใหเปน พวกทป่ี ฏิเสธส่ิงทงั้ ปวง
ซึง่ ในทส่ี ดุ กค็ งไมไดร บั อะไรเลย เพราะไมไ ดย ึดถือเอาอะไรเลย เมอื่ ใครมีความรสู กึ ดงั นี้
ความเหน็ ของเขาก็จะเดนิ ไปผดิ ทาง เปน มจิ ฉาทิฏฐิ อยา งใดอยา งหนึง่ ไปทนั ที สาํ หรบั ชาวไทย
ที่ไมไดศ กึ ษาพุทธศาสนาจนถงึ แกน ก็คดิ อยา งนน้ั เหมือนกนั และถาบคุ คลพวกนีม้ อี าชีพ หรือ
ทาํ งานเกยี่ วกบั การเผยแพรพ ทุ ธศาสนาดว ยแลว เขากจ็ ะทําใหค นอนื่ พลอยเห็นผดิ ตามไป เกดิ
ผลรายแกพทุ ธศาสนา และประชาชนผฟู ง เปนอยา งยงิ่ เพราะประชาชนเขาใจวา เขาเปน ผูมี
ความรู จนไดรบั เชญิ ใหม าบรรยายหลกั พระพุทธศาสนา และตอบปญ หาแกป ระชาชน ปรากฏ
อยูบอยๆ วา ผูสอนพทุ ธศาสนาบางคน ไดบิดผันคําสอนของพระพทุ ธเจาเพอื่ เอาใจประชาชน
หรือดว ยอคตเิ พราะรกั เพราะเกลียด เพราะกลัว และดวยความหลงงมงายของตนเอง

สวนอกี ทางหนึง่ น้ัน กไ็ ดแก พวกพทุ ธบรษิ ทั ทไี่ มชอบการเรียน หรือไมอ าจจะเรียนได ซง่ึ มี
อยูจ าํ นวนมากทส่ี ดุ คนพวกนนั้ มแี ตศรัทธา และความเขม แข็งในการทําบุญใหทาน เชอ่ื มน่ั ใน
บุญกุศล วา มผี ลเปน ความสขุ ความเจริญ ทั้งในโลกนแี้ ละโลกหนา โดยไมต องการคาํ อธบิ าย
อยางใดอกี พวกทเี่ ปน เชนน้ี ยอมมองพทุ ธศาสนาในลกั ษณะท่ตี รงกันขา ม คือมองในดานดี
อยา งเดยี ว คิดวาจะไดน นั่ ไดน ่ี จะเปน นนั่ เปน นี่ แลวกไ็ มฟ ง เสยี งใครๆ หากใครจะกรุณาช้แี จง
เร่ืองถูกตอง เขากไ็ มย อมรับฟง และยังจะโกรธ หรอื เหน็ วา ผชู ้ีแจงนน้ั เปน มิจฉาทิฏฐไิ ปดว ยกไ็ ด
อนั ตรายก็จะตกแกผนู น้ั เอง เพราะเขาไมร จู กั พระพทุ ธศาสนาทแ่ี ทจ รงิ

ฉะนน้ั พุทธศาสนาจงึ ไมใ ชพวกทมี่ องในแงร าย หรือพวกท่ีมองในแงดี แตเ ปน พวกทอี่ ยตู รง
กลาง เพราะมองเหน็ ส่ิงทกุ สิ่งประกอบอยูดวยคณุ และโทษ แตจกั เปน ผูม จี ิตวา งหรอื เฉยอยไู ด
ในทุกสง่ิ การท่ีมองอะไรๆ เปนแงด ี หรอื แงร ายไปโดยสว นเดียวน้ัน เปน ความคดิ ผดิ เปนการมอง

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 22 of 73

อยา งเดก็ อมมอื คอื เห็นอะไรเทา ท่ตี วั เหน็ แลวก็วา มนั เปน อยา งนนั้ ไปหมด ฉะนนั้ พงึ เขา ใจวา
พทุ ธศาสนามองสิง่ ทั้งปวงตามทมี่ นั เปน จรงิ ท้ังดานนอกและดา นใน แลว ก็เกย่ี วของกบั สง่ิ
เหลาน้นั เทาทค่ี วร และในลกั ษณะทจ่ี ะไมเ ปนทกุ ขแกตนแตป ระการใดเลย ไมม ีอาการทีเ่ รยี กวา
ตดิ ในความดี หรอื อีดอัดขัดใจเพราะความชว่ั พุทธศาสนาไมปฏเิ สธวา ไมมอี ะไร แตย อมรบั วา
ทุกๆ อยา งมนั มี เพยี งแตว า ทุกๆ อยา งนนั้ เปน สงิ่ ท่ไี มค วรเขาไปยึดมนั่ ถอื มน่ั วา เปน ตวั เรา หรอื
เปนของเรา

ทกี่ ลาววา ไมม อี ะไรเปน ตัวเรา หรอื ของเรานน้ั มไิ ดหมายความวา เราไมม อี ะไร หรือ ไมรบั
อะไร ไมใชส อยบรโิ ภคสงิ่ ใด เราคงมีอะไร หรือบริโภคใชส อยสิง่ ใดๆ ไปตามทส่ี มควรจะมีจะเปน
แตภายในใจนน้ั ไมมกี ารยึดถอื วา ส่ิงเหลา นนั้ เปน ตัวตนของมันหรอื ของใครเทาน้นั ทัง้ นก้ี เ็ พ่อื จะ
ใหไ ดร ับความเย็นใจ เบากายเบาใจอยูตลอดเวลานน่ั เอง เรยี กวา เรารบั มันไว เพอื่ มาเปน บา ว
เปน ทาสเรา เพอ่ื อาํ นวยความสะดวกสบาย เทา ท่ีจาํ เปน ไมยอมรบั รูอะไร มากไปกวา น้ัน ความ
มีจึงมีคาเทา กบั ไมมี หรอื ความไมมีจงึ มคี า เทากบั มี แตความสาํ คญั สว นใหญน น้ั เราจะมีจติ ใจที่
ไมห วนั่ ไหว ไมท ุกขร อ น หรอื ลิงโลดไป เพราะการไดการเสยี จิตใจชนดิ นี้ ไมตอ งการทจ่ี ะรับ และ
ไมตองการทจี่ ะปฏิเสธ จงึ สงบเปน ปกตอิ ยไู ด พุทธศาสนาสอนใหเ รามจี ิตใจอยา งน้ี คือใหม ี
จิตใจเปน อิสระอยเู หนอื วสิ ยั ชาวโลก ไมหวนั่ ไหวไปตามสถานการณท ุกอยา งในโลก จงึ อยเู หนือ
ความทุกขท กุ อยา ง ท้ังในการคดิ การพูด การทาํ เพราะมจี ติ ใจเปนอสิ ระจากกิเลสนน่ั เอง จรงิ อยู
พทุ ธศาสนาปฏิเสธวา ไมมีอะไรทค่ี วรสนใจ หรือควรได แตก็ยอมรบั วา สิ่งทค่ี วรสนใจหรอื ควรได
น้ัน มีอยโู ดยแนน อน สงิ่ นน้ั กค็ อื ภาวะแหง ไมม ที กุ ขเลย เปนภาวะทเี่ กดิ จากความไมย ดึ มน่ั ถือ
มัน่ ตอสง่ิ ใดๆ ทัง้ หมดทง้ั สนิ้ วา เปนตวั เราหรอื ของเรา ไมยึดมน่ั แมก ระท่ังชวี ติ เกียรตยิ ศ ชอื่ เสียง
หรอื อะไรๆ ท้ังสนิ้ ท่ีคนท่ัวไปเขายึดถือกนั คือจิตใจเปน อสิ ระเหนอื สงิ่ ทง้ั ปวง เราเรียกวา สง่ิ นี้
อยา งสนั้ ๆ วา ความหลุดพน เมือ่ ถามวา หลุดพนจากอะไร ก็ตองตอบวา จากทุกสง่ิ ท่คี รอบงาํ จติ
หรอื ทาํ จิตไมใ หเปน อสิ ระ

ความสบั สนในการจับหลักพระพทุ ธศาสนา นบั วาเปน อปุ สรรคอันสาํ คัญ ของการท่ีจะ
เขา ถงึ ตวั แทของพทุ ธศาสนา เพราะตา งคนตา งถอื เรอ่ื งนน้ั เรอื่ งน้ี หมวดนน้ั หมวดนี้ วาเปนหลกั
ของพระพทุ ธศาสนา แตแ ลวกไ็ มพ น ท่ีจะควา นาํ้ เหลวอยูน น่ั เอง คอื ไมส ามารถจะปฏบิ ัตธิ รรมะ
ใหป ระสบผลสําเรจ็ ได ความไมส ําเร็จยงั เนื่องมาจาก ความยึดมั่นถอื มัน่ ดัง้ เดมิ ของคนนนั้ ๆ เมอ่ื
เขามคี วามเชอื่ อยางไรมากอ น เขากช็ อบแตทจ่ี ะดพู ระพทุ ธศาสนาในเหลย่ี ม หรอื แงท เ่ี ขา กันได
กับความรหู รอื ความเชื่อ ทม่ี อี ยเู ปนทนุ เดมิ ของเขา แลว ยงั ทาํ ใหคนอนื่ จับหลกั ผดิ ไปดว ย เพราะ
เขาเปนมหาเปรียญ เปน บณั ฑติ ในทางเผยแพรพ ทุ ธศาสนา และตางก็แยง กนั บอกผฟู งวา น่ันน่ี
เปน หลกั พระพุทธศาสนา

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 23 of 73

แมบางคนจะถามเขาวา การกราบไหวออนวอนพระภูมนิ ั้น มเิ ปน การเสยี ความเปน พทุ ธ
บรษิ ทั หรือ นกั ปราชญชนดิ นกี้ ็ตอบวา ไมเสียความเปนพทุ ธบรษิ ทั เลย เพราะไมไดนับถือพระภมู ิ
มากกวา พระรตั นตรัย นี่เปน ตัวอยางของการพดู สับปรบั แมค นท่เี ปน นกั ศกึ ษาชาวตา งประเทศ
ชน้ั เยย่ี มยอด ก็ยงั เวยี นหัว แลว นบั ประสาอะไรกับที่ทายกทายกิ า อยา งคณุ ยา คุณยาย จะไม
เวยี นหวั ฉะนน้ั เปน การถกู ตอ งอยา งย่ิง ทจ่ี ะกลา ววา แมก ระทงั่ ทกุ วนั นี้ พวกเราชาวพทุ ธ กย็ งั
จับหลกั ไมไ ดว า หลักของพุทธศาสนาท่แี ทจ ริงเปนอยางไร สวนพวกทไ่ี มเ ปน ขบถตอ
พระพทุ ธเจา ก็อางเอาหมวดอริยสัจ หมวดมรรคมีองคแ ปด หมวดไตรสิกขา หมวดไตรลักษณ
หมวดปฏจิ จสมุปบาท หรือเชนหลกั ๓ ประการ เร่ืองไมใหท าํ ช่ัว ใหท าํ แตความดีทุกอยา ง และ
ใหท าํ จติ ของตนใหบ ริสทุ ธห์ิ มดจดนน้ั วา เปน หลกั ของพทุ ธศาสนา เหน็ กนั ไปคนละแงค นละมมุ
เลยกลายเปน หมขู องหลักทป่ี กไวม ากๆ ดสู ลอนไปหมด จนกระทง่ั พวกทายกทายกิ า ไมร ูวา จะ
ศึกษาเร่อื งอะไรดี

ความสับสนอกี ทางหนงึ่ กค็ อื การที่ธรรมะบางหมวดมีถอ ยคาํ ทเ่ี ขา ใจไมไ ด เพราะเหตวุ า
เขาไดแปลความหมายของคํานน้ั ๆ ผดิ ไปจากความหมายทแ่ี ทจริง หรอื พทุ ธประสงคเ ดมิ
ขอ ความจงึ คา นกนั และเมือ่ ฉงนมากขน้ึ เทา ไร ก็ยง่ิ มีผเู ขยี นคาํ อธบิ ายเพิม่ เติมมากขน้ึ เทา นนั้ ยิง่
เขียนเพ่ิมเติมมากข้ึนเทา ใด ก็ยงิ่ ผิดไกลออกไปทกุ ที แตเ นื่องจากคาํ อธิบายใหมๆ นนั้ ใชส าํ นวน
โวหารเปนนกั ปราชญม ากขนึ้ คนทไี่ ดฟง ไดเ หน็ กย็ ิง่ ยึดถอื คาํ อธบิ ายเหลาน้ีกนั อยางเต็มท่ี โดยมี
ความหลงผิดไปวา ย่ิงเขา ใจไดย ากนน่ั แหละ ยง่ิ เปน หลกั สําคญั ของพทุ ธศาสนา อาการดงั ท่ี
กลาวน้ีไดเกดิ ขนึ้ แกเรอื่ งเชน ปฏจิ จสมปุ บาท จนกระทง่ั เกดิ คาํ อธบิ ายเปน เลม สมุดขนาดใหญ
ไดร ับเกียรติอยา งย่งิ และนยิ มศกึ ษากนั แพรห ลายอยา งยิ่ง แตในทีส่ ุดก็หาสาระอนั ใดไมได ใช
เปนหลกั ปฏบิ ตั ใิ หสาํ เรจ็ ประโยชนตรงตามพระพทุ ธประสงคเดมิ ที่ไดตรัสเรื่องปฏิจจสมปุ บาทนี้
กไ็ มได ถึงแมค าํ อธิบายที่เรยี กกนั วา อภิธรรม ก็ตกอยูในลักษณะเพอ พก เชน เดยี วกนั จนกระท่ัง
เหลอื ความสามารถทจี่ ะเขาใจไดอ ยา งทวั่ ถงื หรือจะนาํ มาใชป ฏบิ ตั ใิ หส าํ เรจ็ ประโยชนได

เน่อื งจากไดพ จิ ารณาเหน็ อปุ สรรคตางๆ นานา ซ่งึ เปน เครอ่ื งกีดขวาง ไมใ หเ ราไดรบั
ประโยชนจ ากพทุ ธศาสนา เพราะเหตุเพยี งอยา งเดียวคอื การทีจ่ บั ปมยงั ไมได คอื ไมไดห ลักท่ี
ชดั เจน แจม แจง จนสะดวกท่ีจะเขาใจ และปฏิบัติ ใหต รงกนั กบั ความนกึ คดิ ของคนธรรมดา
สามญั จึงมคี วามคดิ เกิดขนึ้ วา เราควรจะชาํ ระสะสางปญ หาขอนกี้ ันเสียที เพ่ือใหไดหลกั ทใ่ี ชไ ด
เปนวงกวา งทวั่ ๆ ไป แกม นษุ ยท กุ คน สาํ หรบั จะไดถอื เอาไปเปน หลักเพอ่ื ปฏบิ ัตติ ามทางของเขา
เอง เพราะธรรมะเปนสัจธรรม เปนของกลาง เปน ของธรรมชาติ ไมใ ชเปน เร่อื งศลี ธรรม ทค่ี น
บญั ญัติเอาได ตามสมควรแกส ถานการณทแี่ วดลอมอยู แตการที่จะทําอยางนี้ ก็จาํ เปนทีจ่ ะตอ ง
ระมดั ระวงั ในการท่จี ะรกั ษาหลักเดิมๆ ไวอ ยางสมบูรณ ใหล งรอยกนั ไดก ับหลกั พุทธศาสนา

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 24 of 73

ทั่วไปทง้ั หมด จนเปน ทยี่ อมรบั สําหรับ พวกพทุ ธบริษทั ผคู งแกเรยี นทง้ั หลายไดด วย และใหเขาใจ
งา ยๆ แมใ นหมูพทุ ธบริษัททไ่ี รการศกึ ษา เชน พวกทายกทายกิ า หรอื คณุ ยาคุณยายดวย

เมอื่ เปนดงั นี้ กย็ อ มจาํ เปน ทีจ่ ะตอ ง มีการแปลงการใชถ อ ยคาํ ใหเ ปน คาํ ธรรมดาสามัญ ที่
อาจจะเขาใจไดท ันทีสําหรบั คนทวั่ ไป แตเ น้อื ความนน้ั เปนเชน เดยี วกนั กับท่มี อี ยใู นพระคัมภรี 
และทส่ี ําคัญกค็ อื ใหสามารถใชป ฏิบัตไิ ดทันที โดยไมต องศกึ ษาอะไรใหยงุ ยาก แมค นทีม่ ี
การศกึ ษานอ ย หรือ คนชราคนเจบ็ รอ แรจวนจะตายอยแู ลว ก็ยงั มีโอกาสทจ่ี ะเขาใจธรรมะได
ทนั เวลา เพราะฉะนน้ั ถาหากวา คําอธิบายตอ ไปนีจ้ ะแปลกจากทเ่ี คยไดยินไดฟ ง ไปบา ง กอ็ ยา
ประหลาดใจ จนถงึ กบั ไมยอมอา นเอาเสยี เลย หรอื อานอยางไมส นใจเพราะเขาใจวา เปน การ
กลา วเอาตามอัตโนมตั ติ ามชอบใจมากเกนิ ไป ขอใหท ราบความต้งั ใจของผกู ลาว วา เปน
ความจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งกลา วในลักษณะเชน นี้ เพอื่ แกป ญ หาเฉพาะหนา ของพุทธบรษิ ทั นนั่ เอง

วิธที ่ีไดปรบั ปรงุ ใหม และใครจะขอเสนอ กม็ อี ยเู พยี งสนั้ ๆ วา เราไมต อ งศกึ ษาเรอื่ งอะไรเลย
นอกจากเรอื่ ง "อตั ตา" "ตวั ตน" และ "ของตน" ยงั ไมตองคาํ นงึ ถงึ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ
หรอื คํานงึ ถงึ ขอ ธรรมะช่ือนนั้ ชือ่ นี้ แตป ระการใดเลย รวมท้งั ไมต องคาํ นึงถึง ประวัตคิ วามเปน มา
ของพระพทุ ธศาสนาดว ย ฉะนนั้ เราจะแอบพระคมั ภีรท งั้ หมดไปไวเสยี ทางหนง่ึ กอ น เพราะ
ความยงุ ยากมากมายของพระคมั ภีรเ หลา นน้ั จะทําใหออ นเพลยี ลงไปเปลาๆ เราจะมงุ ศึกษา
คนควา พนิ จิ พจิ ารณา ตรงไปยงั ส่ิงที่เรยี กวา "อตั ตา" อยา งเดยี วเทา นนั้ ในแงใ นมุมทเ่ี กยี่ วกับ
ความทุกข และความดบั ทกุ ขส น้ิ เชิง เพราะพระพทุ ธองคไ ดตรัสวา "แตกอ นกด็ ี เดยี๋ วนี้ก็ดี ฉัน
บัญญัติกฏเกณฑเฉพาะเรือ่ งอันเก่ยี วกบั ความทกุ ข และความดับไมเหลือแหง ทกุ ข"

ฉะนน้ั เราจะพจิ ารณากนั วา "ตวั เรา-ของเรา" นี้มนั ทาํ ใหเ กดิ ทกุ ขข ึ้นมาอยา งไร แลวเราจะ
จดั การกบั มนั อยางไร เร่มิ ต้ังแตช้ันทจ่ี ะทาํ ลายตวั เราชนิดอันชว่ั รา ย ใหเหลอื อยแู ตต วั เราชนิดท่ี
ดีๆ แลว คอ ยๆ บนั เทายึดถือในตวั เราชน้ั ดีใหน อ ยลงๆ จนกระทงั่ ถงึ ขนั้ สดุ ทาย คอื ไมม คี วามรูส ึก
ของ "ตัวเรา-ของเรา" ชนดิ ใดๆ เหลอื อยใู นใจเลย เร่อื งมันก็จบกนั เพยี งเทาน้ี และเปนการจบเรื่อง
หมดทง้ั พระไตรปฎก หรือทง้ั หมดในพระพทุ ธศาสนา แลวผนู นั้ ก็จะประสบสันตสิ ขุ อันถาวร ไมว า
จะอยูในสภาพเชน ไร เพราะสงิ่ ทเี่ รยี กวา "ตวั เรา-ของเรา" นม้ี นั เปน เหตุของความทกุ ขท กุ อยา ง
สิ่งที่เรยี กวา "ตัวเรา" และ "ของเรา" นี้ กม็ ีชือ่ โดยภาษาบาลวี า "อหงั การ" และ "มมงั การ" ถา เปน
คําทางจติ วทิ ยา จะเรยี กวา "อตั ตา" และ "อตั ตนยี า" กไ็ ด ทงั้ หมดน้ี กห็ มายถงึ จติ ทกี่ าํ ลังกลดั
กลุมอยูด ว ยความรสู ึกท่ีเห็นแกต ัวจัด กําลงั ดนิ้ รนทกุ อยา งเพ่ือจะทาํ ตามใจตน โดยไมคํานงึ ถงึ
ศลี ธรรม หรอื ความรสู ึกผิดชอบช่วั ดใี ดๆ

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 25 of 73

อุปาทาน คอื การยึดมัน่ ถือมนั่ ทางจติ ใจ เชน ยดึ มนั่ ในเบญจขันธ คอื รางกายและจิตใจ
รวมกันวาเปน "ตัวตน" และยดึ ม่นั ถอื มั่นในส่งิ ทีถ่ กู ใจ อันมาเกยี่ วของดว ยวา เปน "ของตน" หรือท่ี
ละเอยี ดลงไปกวา นน้ั กย็ ดึ ถอื จิตสว นหนง่ึ วา เปน "ตวั เรา" แลวยดึ ถอื เอารปู รางกาย ความรูสึก
ความจาํ และความนกึ คิด สอ่ี ยา งน้วี า เปน "ของเรา" พทุ ธภาษติ มีอยวู า "เมอ่ื กลา วโดยสรุปแลว
เบญจขันธท ีป่ ระกอบอยดู วยอปุ าทาน นั่นแหละเปนตวั ทุกข" ฉะน้ัน คนท่ีมอี ปุ าทานยดึ มั่นวา
"ตัวเรา" วา "ของเรา" จึงมีเบญจขันธทีเ่ ปน ทกุ ข คอื แสดงอาการที่ทนไดย ากแกบคุ คลนน้ั และ
แสดงอาการทน่ี าเกลยี ด นา เออื มระอา แกบ คุ คลท่ไี ดพ บเหน็ ทวั่ ไป สวนเบญจขันธท ไ่ี มม ี
อุปาทานครอบงาํ นั้น หาเปน ทกุ ขไม ฉะนนั้ คําวา บริสทุ ธ์ิ หรือ หลุดพน จงึ หมายถึง การหลดุ พน
จากอุปาทานวา "ตวั เรา" วา "ของเรา" น้ีโดยตรง ดังมพี ระพทธภาษติ วา "คนทงั้ หลายยอ มหลดุ
พนเพราะไมย ดึ ม่ันถือมน่ั ดวยอปุ าทาน" ถา ยังมีอุปาทานกย็ งั ไมพ น จากความทกุ ข ส่งิ ท่ีเรยี กวา
"ตัวเรา-ของเรา" นน่ั แหละเปน บว งทกุ ข ทคี่ ลอ งหรือรอยรดั ผกู พนั เราทง้ั หลายอยู ถา เราตัดบวงนี้
ใหข าดไมไ ด อยเู พยี งใด เรากจ็ ะตอ งเปน ทกุ ขอยูเ ร่ือยไป

ความหลดุ พน (วิมุติ) เปน วตั ถุประสงคมุงหมาย ของการปฏิบตั ธิ รรมในพระพทุ ธศาสนา ดงั
พระพทุ ธภาษติ ตรสั เปนใจความวา "พรหมจรรยน ้ี มิไดม ลี าภสกั การะ สรรเสรญิ เปน อานสิ งส
มไิ ดมกี ามสขุ ในสวรรคเ ปนอานิสงส มิไดม ีการเขาถงึ ความเปน อนั เดยี วกับพรหมในพรหมโลก
เปนอานสิ งส แตว า มวี มิ ุติเปน อานิสงส ดงั น้"ี วมิ ุติ ในท่นี ก้ี ห็ มายถงึ ความหลุดพน จากอาํ นาจ
ของลาภสกั การะ สรรเสริญของกามสุขในสวรรค ของความอยากเปน พรหม แตค วามรสู กึ วา มี
"ตัวตน-ของตน" นน่ั แหละ เปนตัวการทห่ี วังลาภสกั การะสรรเสริญ ทง้ั กามสขุ ในสวรรค หรือ
ความเปน พรหม เพราะมนั เปน ความรสู กึ ทอี่ ยากได อยากเปน อยากเอา ถา มกี ารไดการเปน
ดวยอปุ าทานน้ี เพียงใดแลว ความทุกขย อมเกดิ อยูเ สมอไป ตอ เมื่อเอาอุปาทานน้ีออกไปเสีย
แลว การไดการเปนทงั้ หลาย จึงจะไมเปน ทกุ ข

ใจความสาํ คญั อยูต รงท่ี มกี ารได การเอา การเปน ดวยอุปาทาน อีกอยา งหนึง่ นั้น เปนการ
ไดการเอาการเปน ดว ยสตปิ ญ ญาไมมอี ปุ าทาน และคําวา สติปญญาในทน่ี ้ี หมายถงึ สตปิ ญ ญา
ท่ีแทจรงิ ไมใชสติปญญาชนดิ อปุ าทานครอบงําไวแลว เชนสตปิ ญ ญาของปุถชุ นทง้ั หลายใน
เวลาน้ี ทนี่ ับถอื กนั วา มกี ารศกึ ษาทางโลกกา วหนา เจริญทส่ี ดุ สว นจิตใจของเขากลับจมดงิ่ อยู
ภายใตอาํ นาจของอปุ าทาน ชนิดท่เี รยี กวา "ตัวเรา-ของเรา" สตปิ ญญาของเขา จงึ ไมบ ริสุทธ์ิ
สะอาดหมดจด ดังนนั้ จงึ ไมใ ชป ญ ญา ตามความหมายของพุทธศาสนา เขาไมม ีชวี ติ อยูดว ยการ
ควบคุมของสตปิ ญ ญา แตมีชวี ติ อยูภายใตก ารควบคุมของอปุ าทานวา "ตวั เรา-ของเรา" นเ้ี สมอ
ไป

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 26 of 73

บรรยากาศของโลกสมยั นี้ จงึ มแี ตความเหน็ แกตวั จัดกลมุ อยูทว่ั ไปหมด และเขม ขนย่งิ ขึ้น
ทุกทีๆ นน่ั แหละคือ พิษสงของสิ่งท่เี รยี กวา "ตวั เรา-ของเรา" เปน อนั ตรายอยา งใหญห ลวง ที่
ชาวโลกกาํ ลงั ประสบอยู ถงึ กับทาํ ใหน อนตาหลับไมได ทั้งๆ ทีอ่ วดอา งอยวู า อะไรๆ กเ็ จรญิ
การศกึ ษาก็เจรญิ ประดิษฐกรรม และอตุ สาหกรรม ก็เจรญิ แตค วามทุกขท ที่ รมานดา นจติ ใจของ
คน กลับถูกสลดั ใหพนออกไปไมได กเ็ พราะอาํ นาจของสิ่งน้ี สงิ่ เดยี วเทา น้ัน คอื ความเหน็ แกต วั
จดั ฉะนนั้ แมวา คนสมยั นจ้ี ะไดทาํ ตนใหม ปี ระสทิ ธภิ าพในการงาน มากขึ้นเทาใด ประสทิ ธภิ าพ
เหลา นั้นๆ ก็มแี ตจ ะพาใหคนไหลไปสสู งั สารวัฎฎ คอื ความทกุ ขซ า้ํ ๆ ซากๆ ไมส นิ้ สุด ไมมสี วนที่
จะไหลไปใกลน ิพพาน หรือความพนทุกข กลาวคอื สนั ติภาพอนั แทจ รงิ และถาวรไดเลย มีแตจ ะ
ยิง่ หา งออกไปๆ จากสนั ติภาพท่ีแทจ รงิ

ฉะนน้ั เราจะเหน็ ไดวา ความสามารถของชาวโลกเราสมยั นี้ มแี ตจ ะกลายเปน ความสามารถ
ทผ่ี ิดทาง ไปเสียทง้ั นนั้ แลวเราจะปรารถนามนั ไปทาํ ไมกนั จงเอาสง่ิ ทเี่ รยี กวา "ตวั เรา-ของเรา" น้ี
ออกไปเสียกอ น โลกน้จี งึ จะมีความสามารถ หรือ การกระทําทพี่ งึ ปรารถนา นแี่ หละคอื
ความสาํ คญั ใหญย ่ิง ทคี่ วรศึกษาเรือ่ ง "ตวั เรา-ของเรา" และขอรอ งใหถ ือวา เปนหวั ขอเพียงหวั ขอ
เดียว สําหรับการศกึ ษาพทุ ธศาสนาของคนทกุ คน ในฐานะทเี่ รียกไดวา เปน บทเรียนสากล เปน
การเรียนลดั โดยไมตอ งจาํ กดั วา เปน พุทธศาสนา หรือเปน ศาสนาไหนหมด เพราะมนษุ ย
ท้ังหมดยอมมปี ญ หาอยา งเดยี วกนั มหี ัวอกเดียวกนั ไมวาเขาจะเปนชนชาติอะไร อยทู ีม่ มุ โลก
ไหน หรอื ถือศาสนาอะไร โลกทงั้ หมด กําลังเดอื ดรอน เพราะ "ตวั เรา" ตวั เดียวเทา น้เี อง รวม
ความวา สงั คมเดือดรอ น และเอกชนก็หาความสขุ แทจรงิ ไมได แมว าจะสมบรู ณด ว ยทรพั ย
สมบัติ อํานาจวาสนา หรอื สติปญ ญากต็ าม กเ็ พราะสง่ิ ทเี่ รียกวา "อัตตา" หรอื ความเห็นแกตวั
จัด นน่ั เอง

เราจะตอ งมีความเขา ใจใหถกู ตอ งเสียกอนวา ไมใ ชเปน เพราะพระเจาลงโทษเรา หากแตว า
มนั เปน ความเดอื ดรอนของเราเอง ทเี่ กดิ มาจากพิษสงของการถอื วา มี "ตัวตน-ของตน" เม่ือ
มนษุ ยเ ดือดรอ นหนกั เขา ๆ กค็ ดิ คนวธิ ที จ่ี ะกําจดั ความเดอื ดรอนเหลา น้ัน มนษุ ยจ งึ ไดคนพบหลกั
ตา งๆ นานาวา เราควรปฏบิ ัตติ อ กันอยางน้ี ตอ ตัวเราเองอยา งน้ี แลวสมมติสง่ิ ที่ตงั้ แหง ความเชอ่ื
วาเปน "พระเปนเจา " เพื่อจะทาํ ใหค นเช่ือ หรือยดึ มนั่ อยา งแนน แฟน ทีเดียว แทจ ริงนน้ั การท่ี
ความรูหรอื ความเขา ใจอนั ถกู ตอง ปรากฏออกมานั่นแหละคือ การที่พระเปน เจา อันแทจริงได
ปรากฏข้นึ แลว ดงั นนั้ ทุกคนก็ควรจะเห็นไดด ว ยตนเองวา เราตางหาก ทส่ี รางพระเจา ขน้ึ มา

พระพทุ ธศาสนา ตองการขจดั ทุกขภยั อนั เกดิ จาก "ตวั ตน-ของตน" เหลา นี้ จึงไดมีหลกั
ปฏบิ ัตเิ ปนข้ันๆ ไป นับแตต น จนปลาย โดยไมเ ก่ียวกับสงิ่ ภายนอก เชน ผีสางเทวดา พระผเู ปน

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 27 of 73

เจา สงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธทิ์ ัง้ หลายอนื่ ใดเลย แตไ มอ ยากขัดคอใครตรงๆ ในเรือ่ งพระเปน เจา เรอื่ งนรก
หรือเรอ่ื งสวรรค จงึ ปลอยเร่ืองเหลา น้ีไป ตามความเชื่อและความประสงคของคนทอี่ ยากจะเช่อื
ถา หากจะนาํ เรือ่ งเหลา นนั้ เขา มาเก่ียวขอ งบาง กจ็ ะนาํ มาเพยี งเปน เครอื่ งชวย บุคคลท่ีมปี ญ ญา
ออ น หรือบคุ คลที่เคยมีความเช่ืออยางนนั้ มากอน จะไดอ าศัยเปน กําลงั ใจสําหรบั จะละความชว่ั
และทําความดเี ทา น้ัน เพราะเขายงั ไมสามารถกาํ จัด "ตวั ตน-ของตน" โดยสิ้นเชงิ ได จงึ ไมถอื วา
เรือ่ งเหลา นน้ั เปน ตวั แทของพุทธศาสนา ทง้ั นี้เพราะเหตผุ ลงายๆ ทว่ี า แมเ ขาจะเวน ความชว่ั ทกุ
อยาง กระทําความดที กุ อยา ง กระทง่ั ไปเกิดในสวรรค มคี วามสุขแบบเทวดาแลว เขากย็ งั ไมพน
จากการบบี คั้น ของสงิ่ ทเ่ี รยี กวา "ตัวตน-ของตน" จักตอ งหวั เราะบาง รอ งไหบ า ง อยูในสวรรค
เชน เดียวกนั เพราะฉะนน้ั เขาจึงตองมหี ลกั เกณฑอ นั อน่ื ซง่ึ สงู ไปกวา นน้ั กลา วคือ หลกั ปฏิบัติ ที่
สามารถกาํ จดั อํานาจของสิง่ ท่ีเรยี กวา "อัตตา" เสยี ไดโดยสนิ้ เชงิ ทง้ั เปน หลกั การทส่ี ามารถใชไ ด
ทั่วไป ไมว า ในหมมู นษุ ยห รือหมเู ทวดา แตโดยเฉพาะอยางยง่ิ นน้ั เราตองการกนั ที่นแ่ี ละเด๋ียวนี้
เพราะฉะนน้ั ขอใหค นทีใ่ หมต อพุทธศาสนา จงเขา มาสนใจพทุ ธศาสนา โดยจับแตปมอันน้ี
เพอื่ ใหเขา ถึงพทุ ธศาสนาตวั แทเ สยี กอน และตวั เองจะไดไ มไ ขวเขว หรอื สอนใครผดิ ๆ ตอไป
อยา งนาสงสาร

เราตองไมลืมวา มนั มีส่งิ ๆหนึ่ง ซึ่งทําใหส ังคมไมเ ปน สุข และทําใหเ อกชนไมไ ดรับความสงบ
เย็น และถา ไมก าํ จดั ส่ิงนีใ้ หออกไปเสยี แลว มนษุ ยเรากแ็ ทบจะกลา วไดวา เกิดมาเพ่อื ความทน
ทุกขท งั้ นนั้ หรือกลาวอกี อยางหนงึ่ กค็ ือ ไมไดร ับส่ิงที่มนษุ ยควรจะไดรบั เพราะฉะนน้ั เราควร
แขงขันกันในการคนควาใหพบวา เราจะตอ งทาํ อยา งไร มนษุ ยจ งึ จะไดร บั สง่ิ ที่ดที ี่สดุ ซงึ่ มนษุ ย
ควรจะไดรับ และจกั ตอ งเปน สิ่งทว่ั ไปแกม นุษยโ ดยตรง โดยนาํ้ มือของมนษุ ย ไมต อ งไปหวังใน
ความกรุณาของพระผเู ปน เจา หรอื พระศาสดาตา งๆ เพราะถา ย่งิ ไปหวงั พระผูเปน เจา หรอื
ศาสดาตางๆแลว กม็ ีแตจะถกู ดึงใหไ กลออกไปจากตัวแทข องสิ่งทจ่ี ะกาํ จดั ทกุ ข ย่ิงข้นึ ไปอกี

ฉะนนั้ จงึ ตอ งยืนยนั ในขอทวี่ า เอาพระเปน เจา เอาพระศาสดาตา งๆ หรือแมกระทงั่ พระพทุ ธ
พระธรรมพระสงฆ ไปเก็บไวเ สยี ทอี่ น่ื กอน แลว มาสนใจสง่ิ ท่ีเรียกวา "ตวั ตน-ของตน" ใหจ รงิ จงั
เด็ดขาดลงไป คร้ันทาํ สาํ เร็จไดผ ลแลว พระเปน เจา หรือพระศาสดาตางๆ หรือแมกระท่ัง พระ
พทุ ธ พระธรรม พระสงฆ กจ็ ะพรูกนั มาหาเราเอง หรือมีเตม็ เปย มอยแู ลว ในการกระทาํ เสร็จไป
แลว นน้ั เอง เพราะ ความบรสิ ุทธ์ิ สะอาด หมดจด จาก"ตัวเรา-ของเรา" นนั้ ตางหาก คือองคพ ระ
พุทธ พระธรรม พระสงฆ ทแี่ ทจริง หรอื เปน พระเจา ทแ่ี ทจ รงิ เปนทพี่ ึง่ ไดจรงิ ๆ ถา ผิดไปจากน้ัน
แลว ก็เปน เพยี งเปลือกนอกของพระเจา หรือของพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ ซงึ่ อาจเปนท่ตี ้งั
แหงความยดึ มั่นถอื มนั่ จนกระทง่ั เกิด "ตวั ตน-ของตน" ขึ้นมาอกี แบบใหมๆ แปลกๆ เม่อื เปน
ดังน้ี แทนทมี่ นุษยจ ะจดั การกับ "ตวั ตน" หรอื "ของตน" เรอ่ื งก็กลบั กลายเปน วา มนษุ ยถูก

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 28 of 73

"ตวั ตน" และ "ของตน" หลอกลวงหนกั ยงิ่ ขน้ึ ไปอีก จนหาสนั ติภาพไมไ ด ท้งั ในวงของหมูน กั บวช
ตามวดั วาอารามตา งๆ ตลอดจนชาวบาน นแี่ หละ คอื ขอท่เี ราจะตองเหน็ กนั ใหถกู ตอง เพราะ
ศัตรูทีจ่ ะตองกาํ จัดรว มกนั มเี พียงสง่ิ เดยี ว คอื ส่ิงท่เี รยี กในทน่ี ี้วา "ตัวตน-ของตน" น่นั เอง ซงึ่ เม่ือ
กาํ จดั เสียไดแลว กจ็ ะประสบสง่ิ ท่เี รียกวา "นพิ พาน" คือความสนิ้ สดุ แหง ความทุกขใ จทั้งปวง

เพือ่ ความสะดวกในการศกึ ษา เราอาจจะแบง "ตัวตน" ออกไดเปนช้ันๆ คือ ตวั ตนที่ชวั่
ตัวตนทด่ี ี ตัวตนทเ่ี บาบางลงๆ และตวั ตนทว่ี างจากความรสู ึกวา มี "ตัวตน" รวมเปน ๔ ชน้ั
ดว ยกนั การปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับตัวตนกม็ ีเปน ๓ ชั้นคือ (๑) กาํ จดั ตัวตนทชี่ ัว่ ใหสน้ิ สญู สนิ้ ไป (๒)
สรา งตัวตนทด่ี ขี ้นึ มา และ (๓) ทําตวั ตนน้นั ใหเบาบางลงจนกระทั่งไมม เี หลอื สมตามหลกั ๓ ขอ
ท่ีเรียกวา หวั ใจพทุ ธศาสนา กลา วคือ ละชว่ั ทําดี และทําใจใหข าวบริสทุ ธ์ิ พทุ ธศาสนาจึงเปน
ศาสนาของมนุษยท กุ คน การเขาใจวา พทุ ธศาสนาเปน ของพุทธเจา ซงึ่ ช่ือสิทธตั ถะโคตมะน้ัน
เปน ความเขา ใจผดิ อยางยง่ิ พระพทุ ธองค ทรงปฏเิ สธความเปน เจาของธรรมะ หรอื ความเปน
เจา ของพุทธศาสนาโดยสนิ้ เชงิ และทรงยนื ยนั วา ธรรมะเปน สงิ่ ทมี่ อี ยกู อ นสิ่งทงั้ ปวง พระองค
ทรงคนพบ ในฐานะทีเ่ ปน มนษุ ยคนหน่งึ ซง่ึ ตอ งการคน ใหพ บสง่ิ ที่จาํ เปน แกม นุษย และทรงคน
เฉพาะแตในแงท จี่ ะเปน ความดับทุกขโดยสนิ้ เชงิ แลว กท็ รงเคารพธรรมะนน้ั พรอ มท้ังชกั ชวนให
คนทกุ คน ใหเ คารพธรรมะและ เขา ใหถึงธรรมะ ทง้ั ประกาศไวดวยวา "ส่ิงท่ีควรเขา ใหถงึ และ
เคารพนนั้ หาใชพระองคไม แตเปน ธรรมะ อยา มาเคารพทีเ่ นอ้ื ที่ตวั ของพระองค"

ทงั้ หมดนเี้ ปนเหมือนกับการประกาศวา ธรรมะนน้ั เปน ของมนษุ ย เพอ่ื มนุษย โดยมนษุ ย
และพุทธศาสนาท่แี ทจ ริงนน้ั ตอ งหมายถงึ ธรรมะบรสิ ทุ ธ์ิ หรือ ธรรมะลวนๆ ท่ีกลา วนตี้ องไมเปน
ของผูใ ด หรือของศาสดาองคใด ซง่ึ มีแตจ ะกลายเปนเรือ่ ง "ตวั ตน-ของตน" ข้นึ มาอกี แมจ ะมชี ื่อ
วา พทุ ธศาสนา กใ็ หม ีความหมายแตเ พียงวา เปนคาํ สอนของผูร ถู ึงทสี่ ดุ แลว จะเปน ใครก็ได
และส่งิ ที่รูแลวนาํ มาสอนนน้ั กค็ ือ ธรรมะ ฉะนนั้ ใหม องเหน็ วา พทุ ธศาสนากบั ธรรมะ เปน สง่ิ ๆ
เดยี วกนั อยาใหธรรมะกลายเปน ของนิกายนัน้ นกิ ายน้ี เพราะเมือ่ นิกายนนั้ สอน นกิ ายนจี้ ะไม
ยอมฟง ไมย อมอาน จงึ จะสามารถใชเปน เครื่องมอื กาํ จดั "ตวั ตน-ของตน" อันเปน ศตั รรู วมกนั ท่ี
รายกาจของมนษุ ยได

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 29 of 73

บทที่ ๔
การเกดิ ขึน้ แหง อัตตา

การเกิดข้ึนแหง "อัตตา" นน้ั มาจากจิตท่ตี ง้ั ไวผิด พระพทุ ธองคไ ดทรงตรัสวา จิตท่ตี งั้ ไวผ ิด
ยอ มนาํ มาซงึ่ อันตรายซง่ึ รายยง่ิ กวา อันตรายทศี่ ตั รูใจอํามหติ จะพงึ กระทําให จิตทีต่ ง้ั ไวถ ูกจะ
นาํ มาซง่ึ ประโยชนมากกวา คนทห่ี วงั ดีท่ีสดุ มีบิดามารดา เปน ตน จะทาํ ใหได

ทง้ั น้เี ปน การชใ้ี หเหน็ โทษของการทีต่ ้ังจติ ไวผิด แตส ่งิ ทมี่ นุษยใ นโลกกําลังกลัวกนั นน้ั หาใช
จติ ท่ีตัง้ ไวผ ดิ ไม เพราะเขายงั ไมร ูจกั สง่ิ ๆ น้ี และไมเ คยคดิ ถงึ สง่ิ ๆ นี้ จึงไปสนใจกลัวสง่ิ ซึง่ ไมน า
กลวั เทาสง่ิ ๆ น้ี เชน กลวั ลทั ธกิ ารเมอื งฝา ยตรงกนั ขามบา ง กลวั สงคราม หรือ การอดอยาก กลัว
ผสี าง กลัวเทวดา กลวั สิง่ ศกั ด์ิสิทธ์ิ ฯลฯ กลัวกนั จนถงึ กบั หมดความสขุ หรือกลายเปน ความทกุ ข
ทั้งกลางวนั และกลางคืน

ทุกขภยั ทงั้ หมดของโลกมาจากจิตที่ตงั้ ไวผ ดิ นเ่ี อง คือ จติ ทต่ี ้ังไวผิด กท็ าํ ใหเ กิดลทั ธทิ ไ่ี มพึง
ปรารถนาขนึ้ ทาํ ใหเ กดิ การอดอยาก การเบียดเบยี น และการสงคราม ฯลฯ เมือ่ สงิ่ เหลานน้ั
เกิดขน้ึ แลว ชาวโลกกห็ าไดส นใจไม วา มนั เกดิ ขึ้นจากอะไรกันแน จึงจดั การแกไ ขไปอยา งผิดๆ
กระทาํ ไปดว ยความกลวั เพราะไมมีธรรมะ ซ่งึ สามารถขจัดความกลวั ออกไปเปน อยา งดี (แม
ลําพงั ความกลวั ลว นๆ ทา นกถ็ ือวา เปน จติ ที่ตงั้ ไวผิดเหมอื นกนั ) เพราะฉะนนั้ เราจะเหน็ ไดวา มี
จติ ทตี่ ัง้ ไวผ ิดอยเู ปนตอนๆ ตอ เนื่องกนั ไปหลายระดบั เมอ่ื ไมมีการต้ังจติ ไวในลกั ษณะที่ถกู ตอง
เลย สิ่งท่เี รียกวา "อตั ตา" หรอื ความเหน็ แกต วั จดั ความเห็นวามตี วั มตี น จงึ เต็มไปหมด แม
กระนน้ั กไ็ มมใี ครเอาใจใส ไมสนใจวา มนั เกิดขน้ึ ไดอยางไร จนทําใหโ ลกนต้ี กอยใู นสภาพ ที่อยู
ใตก ะลาครอบของอวิชชา คอื ความมดื มนอลเวง เตม็ ไปดว ยปญ หายงุ ยาก ซึ่งสรปุ แลว กค็ อื
ความทุกข แลว กแ็ กไ ขความทกุ ขกนั ไปเรื่อยๆ ดวยอาการท่ีรูส กึ วา ตื่นเตนสนกุ ดี คือไดลองฝมอื
ใชความรใู หมๆ แปลกๆ แมจ ะแกไขความทุกขของโลกไมไ ด ก็ยังเพลดิ เพลนิ อยูดว ยความรู หรือ
ความสามารถใหมๆ เหลานน้ั เปน เสมือนเครอ่ื งหลอกใหอ นุ ใจไปทีกอน อยางไมม ที ส่ี ิ้นสดุ
อาการเชน น้ีเอง ท่ีเปน เครอ่ื งปด บงั ไมใ หไ ปสนใจถงึ ตนเหตุอันแทจรงิ ของวิกฤตการณทง้ั หลาย
โดยเฉพาะอยา งยง่ิ กค็ ือ ไมส นใจในเรอื่ งจติ ทต่ี ง้ั ไวผ ดิ กลาวคอื "อัตตา" กระแสแหงการมี
"ตวั ตน-ของตน" จึงไหลไปเรอื่ ย ฉะนั้น ทาํ ใหเ ราเห็นไดวา กาํ เนิดของอตั ตา หรือ "ตวั เรา-ของเรา"
ก็คอื อวชิ ชา

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 30 of 73

นา ประหลาดอยูอยางหน่ึง กค็ ือ ใครๆ กพ็ ยายามจะแสดงตนวา เปนผรู ูจ กั อวิชชา และให
ความหมายของอวชิ ชากนั ไปเองตามชอบใจ ดูประหน่งึ วา เขาเปน ผเู ขาใจ หรอื รูจ ักอวิชชา อยาง
แจม แจง แตแลวกเ็ ปน ทนี่ า ขบขนั ท่ีความรูนนั้ ใชป ระโยชนอ ะไรไมไ ดแมแตนิดเดียว และยังแถม
เขา กนั ไมไ ดกบั ความหมายของอวิชชาทพ่ี ระพุทธองคท รงแสดงไว อวิชชาไมไ ดห มายถงึ ความ
ไมรูอ ะไรเลยแตเพยี งอยา งเดียว กลบั จะหมายถงึ รูอ ะไรมากมายไมมที ส่ี น้ิ สุดดวยซาํ้ ไป แตเ ปน
ความผิดทงั้ นน้ั คอื เห็นกลบั ตรงกันขา มไปหมด เชน เหน็ มูลเหตขุ องความทกุ ข เปน มลู เหตขุ อง
ความสุขไป อยา งท่ีเรยี กวา เหน็ กงจกั รเปน ดอกบวั เขาไมเหน็ อยางถกู ตองตามทเี่ ปน จรงิ วา
ความทกุ ขนนั้ มนั อะไรกันแน อะไรเปนมลู เหตุทีแ่ ทจ ริงของความทุกข สภาพท่ปี ราศความทุกข
จริงๆ นน้ั เปน อยางไร และวธิ ปี ฏบิ ตั ิอยา งไรคนเราจึงจะเขา ถึงสภาพทไ่ี มมีความทกุ ข

เราอาจจะกลา วไดว า ความรชู นิดใดๆ มากมายเทา ใดกต็ าม ถา ปราศจากความรูท ถ่ี กู ตอง
ในสง่ิ ท้งั ๔ ดังท่กี ลาวมานีแ้ ลว ตอ งถือวาเปน อวชิ ชา ทัง้ นนั้ คือเปน ความรทู ใ่ี ชไ มไ ดเลยในการ
ทจ่ี ะกาํ จดั ความทกุ ข ฉะนน้ั ถา จะมีคําแปลทถ่ี ูกตองรดั กมุ ของคําวา อวชิ ชาแลว จะตองแปลวา
ธรรมชาตทิ ี่ปราศจากความรชู นดิ ท่ีจะดบั ทกุ ขได หรือกลา ววา สภาวะท่ปี ราศจากความรทู ีด่ บั
ทุกขได น่นั แหละคือ อวิชชา ดังทพ่ี ระพทุ ธองคต รสั ไวโ ดยเฉพาะคอื ตรสั เอาความไมรู
อริยสจั จทั้ง๔ วา เปน อวชิ ชา หมายความวา แมเขาจะมคี วามรูมากมายเทา ไรอยา งไรกต็ าม แต
ถา ไมรูอ ริยสจั จท ้ัง๔ แลว กถ็ กู จัดวาเปน อวชิ ชา ฉะนน้ั จึงทาํ ใหเรามองเห็นไดชดั เจนอกี วา โลก
เรากําลงั อยูใตก ะลาครอบของอวิชชา หรอื ความรทู ี่ไมใ ชว ิชชาของพระพทุ ธเจา จงึ ไมสามารถ
จะชวยชาวโลกได ในที่สดุ กเ็ ขาทาํ นองที่เรยี กวา "ความรูท วมหวั เอาตัวไมรอด" กลา วคอื ความรู
ชนดิ นนั้ จะกลายเปน เครื่องทําใหโ ลกวินาศอยภู ายใตค วามรนู ้ันเอง

ตามหลกั ธรรมะในพทุ ธศาสนา พงึ ทราบไวเ สยี กอนวา บรรดาเร่ืองราวตา งๆ ทจี่ ะเกดิ ข้นึ แก
จติ น้ัน ตอ งมีสง่ิ ท่เี รียกวา อารมณเ ปนท่ีตงั้ อาศยั หรอื ทีเ่ รยี กวา เปน เหตเุ ปนปจจัยสาํ คัญ
"อารมณ" แปลวา สงิ่ อันเปน ทยี่ ึดดวยความยนิ ดี แตค วามหมายอนั แทจริงน้ัน เปน ท่ยี ึดหนว งเพ่ือ
ยนิ ดกี ็ได หรือไมพอใจก็ได แลวแตว า จิตนั้นไดรับการอบรมมาอยา งไร คือมอี วชิ ชานน่ั เอง เมอ่ื
ตาหจู มกู ลนิ้ กาย กระทบ รปู เสยี งกลนิ่ รสวตั ถุ กเ็ กดิ ความรสู ึก แตค วามรูสึกของแตล ะคนยอ มไม
เหมือนกนั และอาจรูสกึ ตรงกนั ขา มกไ็ ด แมจ ะเปน ไปในทางใจก็ตาม แตก ็ยงั เปน ที่ตง้ั แหง การ
เกดิ ข้นึ มาของ "ตวั ตน-ของตน" ดว ยกันทง้ั นัน้ เวน เสยี แตว า จิตนนั้ เปน จิตทีห่ มดอวิชชาโดย
สิ้นเชงิ ฉะนัน้ อวิชชาจงึ เปน มลู เหตุใหเ กิด "ตวั ตน-ของตน" ขน้ึ มาเพราะอาศยั สิ่งที่เรยี กวา
อารมณเ ปนเหตุปจ จยั ถา เปน อารมณรายก็เกดิ "ตวั ตน" อยา งรา ย ถาเปน อารมณดีกเ็ กดิ
"ตวั ตน" อยา งดี

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 31 of 73

เม่ือมคี วามรสู ึกเปน ตัวตนเปน ของตนเกดิ ข้นึ มาอยางเตม็ ในรปู น้แี ลว กน็ ับไดว า การเกิด
หรือชาติใหมไดปรากฏขึน้ มาแลว และหลงั จากนน้ั ความทกุ ขจกั ตอ งตามมาโดยสมควรแกก รณี
คอื มากบางนอ ยบา ง สว นในกรณขี องผทู หี่ มดอวิชชาเชน พระอรหนั ตน ้นั ทา นไมม คี วามรูสึกวา
พอใจหรือไมพอใจ กลา วคือ ไมค ดิ ปรงุ ใหเ ปน อารมณดี หรือเปนอารมณร า ยขน้ึ มาได ความรสู กึ
วา "ตัวเรา-ของเรา" จงึ ไมม ชี อ งทางทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ทัง้ นเ้ี ปนเพราะไมม อี วชิ ชาเขา มาบนั ดาล มแี ต
วชิ ชาทีแ่ ทจรงิ อยูประจํา การกระทบของอายตนะทางตาหูจมูกลน้ิ กายใจ กเ็ ปน แตสักวาการ
กระทบ พอรูวาอะไรเปนอะไรแลว กส็ นิ้ สดุ ลง ไมค ดิ ปรุงเปน ความรูสกึ หรือเปนความอยากขนึ้
ตอไป ความรสู กึ วา "ตวั ตน-ของตน" จึงไมเ กิดข้นึ เพราะกระแสแหง การเกดิ ถูกตดั ตอนเสยี แลว
ต้ังแตใ นขั้นของการกระทบ ท้งั หมดนเี้ ปน เคร่อื งพิสจู นว า เพราะอวชิ ชามีอยู อารมณจ งึ เกิดมี
ความหมายขน้ึ มา จติ ท่ปี ระกอบอยดู วยอวิชชา ยอ มคดิ ปรงุ เปน ความรูส ึกทเ่ี ปน "ตวั เรา-ของเรา"
เน่ืองมาจากอารมณนนั้ ๆ

อารมณท ปี่ ระทับใจแรงและนาน เราเรียกเปน อารมณใหญ อารมณท ม่ี คี วามประทับใจนดิ
หนอ ย เรียกอารมณเ ลก็ สว นท่ีอยูในระหวา งน้ันเรยี กวา อารมณธ รรมดา กรรมตางๆ ที่กระทาํ ลง
ไปสุดแตกาํ ลงั ของอารมณท ใี่ หญห รือเลก็ อารมณท ีเ่ ปน เหตใุ หท ํากรรมขนาดใหญ ยอ มมีกาํ ลงั
มากพอทจ่ี ะทาํ ใหรางกายสนั่ หรอื ใจสั่น หมายความวา มกี ารประทบั ใจมาก จึงมเี จตนามาก มี
ผลเกิดขนึ้ คอื ทาํ ใหเ กดิ "ตวั เรา-ของเรา" ชนิดท่ใี หญห ลวง ทําใหเ กดิ ความระส่าํ ระสายเปนทุกข
อยางยงิ่ ถาอารมณนอยกเ็ ปน "ตวั เรา-ของเรา" อยางนอ ย และมีความทุกขน อ ย ฉะนนั้ จงึ เปน
ตัวตนอยา งมนุษยธ รรมดากไ็ ด ฉะนน้ั ใครจะเปนตวั ตนอยา งสัตวนรก หรือสตั วเ ดียรฉานกไ็ ด
หรือเปนตัวตนอยา งเทวดา หรอื พรหมก็ได

ในกรณีที่เปน ตวั ตนอยา งมนษุ ยน นั้ กอ็ าจจะผดิ แปลกแตกตา งกนั ไปอีก ทงั้ นี้แลว แต
ความรูสกึ วาตวั เองเปน อะไรในขณะนน้ั เชน เปน บิดามารดา เปนลกู หลาน เปนภรรยาสามี เปน
คนรวย เปนคนจน เปน นายเปน บาว เปนคนสวยคนไมส วย เปน คนแพคนชนะ กระทั่งรสู ึกวา ตวั
เปน คนโง หรือคนฉลาด เปนคนมบี ญุ มีบาป คนดคี นชว่ั คนมสี ุขหรือคนมีทกุ ข ดังนเี้ ปน ตน น้คี อื
"ตัวตน" ทถ่ี กู ปรงุ ขึ้นมาดว ยอวิชชาในรปู ตา งๆ กนั ลว นแตจะตองเปนทกุ ข เพราะความยดึ ถอื วา
เปนอยา งนัน้ ๆ ดว ยกนั ทั้งนั้น เพราะจะตอ งมคี วามเหน็ แกต วั ตามความเขาใจวาตวั เปน อยา งไร

กอ นแตจะเกดิ ความยึดถือข้นึ มานน้ั จะตองเกดิ ส่งิ ท่ีเรยี กวา "ตณั หา" ขึ้นกอ น ตณั หาแปลวา
ความอยาก เมือ่ มคี วามอยาก ชนิดหนงึ่ ชนิดใดในสง่ิ ใดกต็ าม สงิ่ ทเี่ ราเรยี กกนั วา ความยึดถือ
หรอื อุปาทาน กเ็ กิดข้นึ เพราะในความรสู ึกอยากน้ันเอง จะตอ งมคี วามรูสึกเปน ตัวผอู ยาก
รวมอยดู ว ยเสมอไป อารมณถ ูกใจกเ็ กิดความอยากขน้ึ ชนดิ หนึ่ง อารมณท ่ไี มถ กู ใจกเ็ กดิ ความ

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 32 of 73

อยากขน้ึ อกี ชนดิ หน่ึง เปนความอยากดว ยกันท้ังนั้น ความรูสกึ ที่เปน ผอู ยากน่นั แหละคอื "ตวั ตน"
ในทนี่ ี้ ความรสู ึกทงั้ สองชนดิ นเ้ี รียกวา ความยดึ ถือ หรอื อปุ าทาน คือยดึ ถือวา เปน "ตวั เรา" และ
ยึดถอื วา เปน "ของเรา"

ผศู กึ ษาจะสงั เกตเหน็ ไดเลาๆ แลว วา ตณั หาและอปุ าทานนี้มีมลู มาจากอวิชชา กลา วคือ
เพราะไมร ูจงึ ไดไ ปอยากไปยดึ ถือ มีความโลภก็เพราะไมร ูวา ไมควรโลภ มีความโกรธก็เพราะไมรู
วาไมค วรโกรธ มีความหลงกเ็ พราะไมรูวา ไมค วรหลง น้ีแสดงวา โลภโกรธหลงมมี ลู เหตมุ าจาก
อวิชชา เพราะฉะนน้ั ความรสู ึกทง้ั หลายทีเ่ ปนของผดิ ก็ลวนแตมาจากอวิชชาทั้งนน้ั

ตัณหา(ความอยาก) แบง ออกไดเ ปน ๓ ประการ คอื อยากไปตามความใครในของอนั นา รกั
นา ใคร นเี้ รียกวา กามตัณหา ความอยากชนิดทท่ี าํ ใหอ ยากเปน นัน่ เปน น่ี หรอื แมอยากจะมีชวี ติ
อยู นเ้ี รียกวา ภวตัณหา ความอยากประเภทสุดทายนนั้ ตรงกนั ขามจากภวตณั หา กลาวคือ
อยากไมใหเปน อยางนนั้ อยากไมใหเ ปน อยา งนี้ แมก ระทง่ั อยากไมม ชี วี ิตอยนู ้ี เรียกวา
วิภวตณั หา

การทาํ ความเขา ใจอยางชดั แจง ในความหมายของตัณหาทง้ั ๓ น้ี เปน สงิ่ ที่สาํ คัญทสี่ ดุ ถา
ปนกนั จนฝน เฝอ แลวก็ยากที่จะเขาถึงธรรมะได ฉะนนั้ จาํ เปน จะตองรจู ักแยกแยะใหเ ปน
ประเภทๆ ไป ความรสู กึ ของ "ตวั ตน" กม็ อี ยูตามประเภทของตัณหา คอื เปน ๓ ประเภท
เหมอื นกนั "ตวั ตน" ในประเภทกาม กท็ ะนงเกยี่ วกบั เร่อื งกาม "ตัวตน" ในประเภทรปู พรหม ก็
ทะนงตัววาสงู หรอื ประเสริฐกวาพวกทพ่ี ัวพนั ในกาม "ตัวตน" ประเภทอรปู พรหมกท็ ะนงตวั วา
ความบรสิ ุทธขิ์ องตนนน้ั สงู กวาความบริสทุ ธิ์ของพวกรปู พรหม ดงั นัน้ มนั จงึ เปน มานะหรือทิฎฐิ
ไปดวยกันทงั้ นน้ั และยงั มีความทุกขอ ยนู น่ั เอง

เมอ่ื กลาวโดยทางปรมตั ถแลว ภาวะทง้ั หมดน้ีมไี ดในมนษุ ยเ ราครบทกุ ชนิดของตณั หาและ
ของ "ตวั ตน" เชน ในบางคราว จติ ของคนเราผละไปจากกามของรกั ของใคร ไปยึดถอื ทีเ่ กยี รตไิ ม
เกีย่ วกับกาม นกี้ ค็ ือ อาการทถี่ กู ภวตัณหาครอบงํา หรอื กลาวอยางสมมตกิ ว็ า กาํ ลงั เปน "ตัวตน"
ชนดิ รปู พรหม ทนี ้บี างคราวจติ เล่ือนไปสูงกวา น้ัน คอื ไมเห็นแกก ามไมเ ห็นแกเ กยี รติ แตไปพวั พนั
กบั นามธรรมอนั ละเอยี ด เชน ความรูจริงความดีจริง มีจติ ใจสูงข้ึนไปอีกช้นั หนงึ่ ไปมี "ตัวตนอยทู ่ี
สิง่ ท่ไี มม รี ูปอนั บรสิ ทุ ธิ์แบบอรปู พรหม จะเขาใจเรอื่ งนีไ้ ดงายๆ ดว ยการเทียบเคียงดูจนเหน็ วา
พวกทหี่ ลงใหลในนกเขา ตน บอน หรอื ตน ไมดดั เปนตน ยอ มมใี จสะอาดกวา พวกกําลงั หลงใหล
กามคุณ คอื เรอื่ งทางเพศตรงขาม สวนพวกท่ีสนใจพจิ ารณารูปธรรม หรอื นามธรรมบางอยา ง
เขาผูน นั้ ยอ มมีใจสะอาดข้นึ ไปกวาพวกเลน นก เลน บอน หรอื ไมดดั ฯลฯ ฉะนนั้ การแบงเปนชั้นๆ

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 33 of 73

คอื ช้ันกามาวจร รูปาวจร และ อรปู าวจร จึงมีไดเปน ไดในหมคู นเราทีย่ งั เปนๆ อยนู ี้แหละ
ตามแตท ีอ่ วชิ ชาจะดึงไปในรปู ไหน แตทง้ั หมดนน้ั ยงั เปน เพยี งตัณหาทมี่ มี ูลมาจากอวิชชา และ
จะตองมีความทุกขใ นรูปทตี่ างกนั

เม่ือเรารจู ักส่งิ ท่ีเรียกวา ตัณหา แลว เราจะไดพจิ ารณากันถงึ การทีต่ ณั หาเกิดขึ้นไดใ น
อารมณนนั้ ๆ จนกระทัง่ เกิดอปุ าทานหรอื "อตั ตา" ตอ ไป ตวั อยา งเชน เม่อื เราเหน็ ดอกไมท่ี
งดงามดอกหน่งึ ความรูสกึ อาจจะเกิดขนึ้ ในทางที่เปน ตณั หาก็ได ไมเ ปนตณั หาเลยก็ได เชน ถา
เรารสู กึ สวยงามติดอกติดใจหลงใหลในสี และในกลิ่น การเหน็ เชน น้ี ก็กลายเปน ตัณหาไป แตถ า
การเหน็ น้นั กอใหเกิดความรูสึกไปในการศึกษาเกย่ี วกบั ธรรมชาตวิ ทิ ยาลวนๆ หรือเกดิ ความรสู กึ
วา ดอกไมน ้ีเปน มลู เหตุของความเหน็ดเหนื่อยความหมดเปลอื ง และความลมุ หลงของมนษุ ย
หรือมนั เปน อนิจจังทุกขงั อนตั ตา ท่ซี อ นไวภายใตความงามและความหอม อยา งน้ีเรยี กวา ยังไม
ถกู กามตณั หาครอบงาํ และการเหน็ ก็ไมไ ดเ ปนทต่ี ง้ั ของตณั หา เพราะไมม ีอวชิ ชาเขา มา
เก่ยี วของดวย แตก ลบั มวี ชิ ชาเขา มาแทน ตัณหาก็ไมเกดิ จงึ ไมเปน ทกุ ข เพราะตวั ตนไมเ กดิ น่ีคอื
หลักเกณฑ อนั เกย่ี วกบั ความหมายของอารมณท่มี ากระทบ ผูทีม่ สี ตสิ มั ปชญั ญะดีและมาก
เพียงไร ก็ยงั บงั คับควบคมุ อารมณข องตนไวไ ดโดยมใิ หเกิดเปนตณั หา ผใู ดไมต กอยูใ ตอ ํานาจ
ของอวิชชาแลว อารมณก ็เปน สักวา อารมณ สัมผสั หรือความรูสึกทเ่ี กดิ มาจากอารมณน้นั ๆ ก็
เปนแตส ักวา การสัมผัส และความรูสึกไมก อ ใหเ กิดตัณหา หรือความยดึ มัน่ ในอะไรๆ
หมายความวา ไมท ําความทกุ ขใ หเกิดขนึ้ แตเปนความวางจากทุกขอยตู ามเดมิ และสตปิ ญญา
ยังงอกงามไปในทางที่จะทําลายความทกุ ขใ นกาลขางหนา ยงิ่ ขึน้

ตณั หาประเภทท่ี ๑ ทอี่ าศัยอารมณอนั เปน ไปในทางกาม และยิ่งเมอื่ มีความหมายเกี่ยวดว ย
เพศตรงกนั ขามดว ยแลว กย็ อมจะเปนตณั หาท่ีแรงและสมบรู ณ ฉะนนั้ ตณั หาทเี่ กดิ ขนึ้ ใน
ลกั ษณะเชน นี้ ยอมถกู จดั ไวเปน ตณั หาของสตั วท ว่ั ไป ในภูมกิ ามาวจร คือ สัตวน รก สัตว
เดรัจฉาน เปรต มนุษย และเทวดา

ตัณหาประเภทที่ ๒ แปลกเปนพิเศษออกไป คือไมตอ งอาศยั สง่ิ ทเี่ รยี กวา กาม และยังรูส ึก
รังเกียจตอ สง่ิ ที่เรยี กวา กาม เสยี ดว ย ขอนหี้ มายความวา คนเราบางพวก หรอื บางขณะ มีจติ ใจ
ทไ่ี มแยแสตอกาม ในกรณขี องคนธรรมดาสามัญ กเ็ ชน ความอยากในเกียรติยศ หรือ ความดี
ความงาม อะไรอยา งใดอยางหน่งึ ตามทตี่ นยดึ ถอื หรอื ทรี่ สู ึกวานาปรารถนา บางคราวเรารูส ึก
อยากจะอยเู ฉยๆ โดยไมม ใี ครมากวน บางคราวอยากจะเดนิ ทางไกล หรือไปพกั ผอ นในทเ่ี งยี บ ท่ี
ชายทะเล ไปนัง่ นิ่งๆ คนเดยี ว แลวก็พอใจในรสชาตทิ ่ีเกดิ ข้นึ เพราะการทําอยางนน้ั เม่อื เปน สง่ิ ที่
ถกู ใจก็มคี วามอยาก ตณั หาชนดิ นจี้ งึ ไมควรถูกจดั ไวเ ปน พวกกาม ดังทก่ี ลาวในประเภทท่ี ๑ แต

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 34 of 73

เปน ตัณหาอกี ประเภทหน่ึงทร่ี งั เกียจกาม และที่ยง่ิ ขึน้ ไปกวา น้ันกค็ ือ ความลุม หลงของผูทพี่ อใจ
ในสขุ อันเกิดจากฌาณ (การนงั่ เพง จนจติ แนว แน) อยางบทกลอนท่ีเราไดยนิ กันในหนงั สอื
แบบเรยี นสมยั กอนวา "เขา ฌานนานนบั เดอื น ไมเขยือ้ นเคลื่อนกายา จาํ ศีลกนิ วาตา เปน ผาสกุ
ทกุ คนื วนั " นมี่ คี วามหมายอนั แสดงวา เปน ความตองการ หรือความมงุ มาดอยางแรงกลา อยา ง
หนง่ึ อนั เปน ทตี่ ง้ั แหงความลมุ หลงเหมือนกัน รวมความวา นักสมาธหิ รือพวกบาํ เพญ็ ตบะแบบ
โยคี ถา เขาทําไปเพราะความหวงั ความสขุ จากความสงบลว นๆ ไมเ กยี่ วกบั กามเลย กเ็ รยี กวา
ตัณหาท่ีไมเ กย่ี วดวยกาม แตถ ามคี วามเชอ่ื และมีความมุง หมายวา การบําเพ็ญตบะนนั้ จะ
นํามาซง่ึ ผลเปน ความสุขจากเพศตรงขามในชาตนิ ้ี หรอื หลงั จากตายแลว เชนการไปเกดิ ใน
สวรรคทสี่ มบูรณไปดว ยกามคุณ เปนตน ความอยากของเขาก็ตองจัดเปน กามตัณหา ไป
ตามเดิม ขอนี้อาจจะเปรียบเทยี บไดกบั บางคนที่ยดึ มนั่ ในเกยี รติหรอื ความดจี รงิ แตถามี
ความหวงั อยวู า เกียรตหิ รือความดนี ั้นจะเปน ทางมาซง่ึ วตั ถปุ จ จยั อนั เปน ที่ตงั้ ของกามารมณ
หรอื ความสุขอนั เกดิ จากเพศตรงขามในเวลาตอไปแลว ตัณหาของเขาก็กลายเปน กามตัณหา
ไปตามเดิม

คาํ ทีเ่ ราไดย นิ กันทัว่ ๆ ไปวา มนุษยโลก พรหมโลก หรือ บางทเี รยี กวา กามโลก รปู โลก อรูป
โลกน้ี กห็ มายถึง ภาวะทางจติ ใจของเรานเี่ อง กามโลก คอื ภาวะของสตั วท จ่ี ิตใจตดิ ในกาม รูป
โลก คือภาวะของบุคคลท่ีมจี ติ ใจมองขามกาม แตยังไปติดอยูท่ีความพอใจของสงิ่ ทเ่ี ปน รปู ธรรม
ลวนๆ ทต่ี นนาํ มาเปน อารมณสําหรบั การเพงจติ หรอื การบาํ เพ็ญฌาน และอรปู โลกกห็ มายถงึ
ภาวะทางจติ ทใ่ี จสูงไปกวา นนั้ อกี เพราะมตี ัณหาละเอยี ดประณตี ยิ่งข้ึน เปนภาวะของหมูชนท่มี ี
ความหลุม หลงในสงิ่ ทีไ่ มม รี ปู หรือเปน นามธรรมลวนๆ ซง่ึ ตนนํามาใชเ ปน อารมณสาํ หรับการ
เพงจติ หรอื เพง ฌานของตน เมือ่ ทาํ สาํ เร็จก็นํามาซงึ่ ความพอใจลมุ หลงทส่ี ขุ มุ ยิ่งข้นึ ไป

ตัณหามไี ดใ นภพ(ภาวะ) ทงั้ ๓ ซงึ่ พอจะจดั คูกนั ไดวา กามตัณหายอ มเปน ไปในกามภพ
ภวตณั หายอมเปน ไปในรูปภพ นแี่ หละคอื ความปรารถนาของมนษุ ย ผทู ี่พยายามคิด ดวยหวงั วา
จะพบสงิ่ ทด่ี ที สี่ ุดทมี่ นษุ ยค วรจะได แมจะมาถงึ ทีส่ ุดเชน น้ีแลว กย็ งั หาไดดบั ทกุ ขโ ดยส้ินเชงิ ไม
เพราะความทเี่ ขาไมส ามารถนาํ "ตวั ตน-ของตน" ออกไปเสียไดน่ันเอง เขาจึงตกอยใู นขอบวงของ
ตณั หาเรอ่ื ยไป หรือจะพยายามเทาไรกอ็ อกไปพนจากขอบวงของตัณหาไมไ ด นับวา เปน เร่อื งท่ี
ตองศึกษาใหเ ขาใจแจม แจง จริงๆ จงึ จะเปน การปฏิบตั ิธรรมทางลดั

สาํ หรับตัณหานั้น ไมว า ชนิดไหนหมด มันจะตอ งมมี ูลฐานอยทู อ่ี ารมณท ้งั ๖ คือ รูปเสยี ง
กล่นิ รสสัมผสั ทางกายและสมั ผัสทางใจนน่ั เอง อารมณท ้งั ๖ นมี้ ไิ ดหมายถงึ แตอ ารมณเ ฉพาะ
หนา เพราะวา แมอารมณในอดีตท่ีลวงไปแลว ก็ยงั เปน อารมณของตณั หาไดอ ยูดี ดว ยการ

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 35 of 73

เกีย่ วเนอื่ งกบั อารมณใ นปจ จุบันบาง ดวยการยอนระลกึ นึกถอยหลงั ไปถงึ บา ง ซงึ่ เราเรยี กกนั วา
ความหวงใยอาลยั อาวรณ ทน่ี ี้ สาํ หรบั อารมณใ นอนาคตท่จี ะพึงไดข า งหนา นน้ั ก็เปน อารมณ
ของตัณหาอยา งยงิ่ ดวยเหมอื นกนั ขอนก้ี ค็ อื สงิ่ ท่เี รียกวา "ความหวัง" และดจู ะเปนปญ หายงุ ยาก
กวา อยา งอ่ืนดว ยซํา้ ไป เพราะวา เราอาจจะหวงั กนั ไดมากๆ อยา งไมม ที สี่ น้ิ สุด และมนั เปน เครื่อง
หลอ เล้ียงกําลงั ใจ จนกระทัง่ พากันถือวา ชวี ิตน้ีอยูไดด วยความหวังอารมณในอนาคต น้นั แหละ
เปน ปญ หายงุ ยากทสี่ ดุ สาํ หรบั มนุษยเรา คือมนั เปนไปไดก วางขวางทสี่ ดุ ปญหายุงยากของโลก
ในปจ จบุ ันนี้ ซง่ึ จะเปน วกิ ฤตกิ ารณขนาดใหญเล็กชนดิ ไหนก็ตาม หรอื ถึงกับจะวนิ าศกนั ทเี ดยี ว
ทงั้ โลกก็ตาม ลว นแตม ีมูลมาจากอารมณใ นอนาคตของตณั หาทง้ั นน้ั รวมความวา อารมณท ้งั ที่
เปน อนาคตและปจ จุบนั กล็ ว นแตเ ปนตณั หาไปดวยกนั ทั้งนน้ั

จากทก่ี ลา วมาแลว ผูศึกษาจะตองสังเกตใหเ หน็ วา ในตณั หาทั้ง ๓ ประการ คอื กามตณั หา
ภวตัณหา และ วิภวตัณหา น้ัน ตณั หาประการแรกมกี ามเปน อารมณ และตัณหา ๒ ประการขาง
หลงั น้ัน หาไดม ีกามเปน อารมณไม เราจงึ อาจจะแยกตณั หาออกเปน ๒ ประเภท คือ ตณั หาที่
เน่อื งดว ยกาม และไมไ ดเ นือ่ งดว ยกาม ทาํ ใหกลาวไดว า ศัตรหู รืออนั ตรายของมนษุ ยเ รา สาํ หรับ
ในทางฝา ยจติ แลว ก็มีอยู ๒ อยา งนี้ และนยิ มเรยี กกนั สน้ั ๆ วา "กาม" และ "ภพ" ซ่งึ เปน คาํ
บญั ญตั ิข้นึ เฉพาะทพ่ี วกโยคี หรอื มนุ ี ใชพ ูดกนั วา "สิง่ ท่นี า เกลยี ดนา กลวั กค็ อื กาม หรือ ภพ" เขา
จึงออกแสวงหาหนทางรอดพน ดวยการทาํ ความเพยี รอยา งยง่ิ สวนคนในปจ จบุ นั นี้ แทบจะไม
รจู กั สิง่ ทง้ั ๒ นว้ี าเปน อะไร และไมส นใจทจ่ี ะรูจกั มแี ตบ ากบน่ั พยายามเพื่อจะใหไดก ามและภพ
ตามความตอ งการ และไมมองเหน็ วา เปน ส่ิงทีเ่ ปน อนั ตราย อยา งทเ่ี รียกวา "เหน็ งูเปน ปลา" แลว
ก็เกบ็ เอามากอดรัดยึดถอื ไวด วยอปุ าทาน คอื ความรสู ึกเปน "ตวั เรา-ของเรา" ทง้ั น้ี โดยไมร วู าตน
กาํ ลงั หลงรกั สง่ิ ท่ีเปน อนั ตราย เพราะเราควรจะอยูโ ดยไมต อ งมคี วามหลงรกั ในสิง่ ใดเลย คอื อยู
ดว ยจติ ทบ่ี ริสทุ ธิ์ ไมม คี วามรสู กึ วา เปน "ตวั เราหรอื เปน ของเรา" ในสง่ิ ใด และสามารถปฏิบัติตอ
ส่ิงตางๆ ไปไดดวยจิตทีบ่ ริสทุ ธิ์

สําหรับส่งิ ท่เี ราเรียกวา กามและภพนนั้ เมอื่ เรารูจักมนั ดแี ลว เราจะเหน็ ไดเองวา กามเปน
ทตี่ งั้ แหง ความยดึ ถือวา "ของเรา" สว นภพนน้ั เปน ทตี่ ั้งแหง ความยึดถอื วา "ตวั เรา" แตเ ราตอ งไม
ลืมหลกั ทมี่ ีอยวู า ถา มีความรสู ึกวา "ของเรา"เมื่อใด ก็ตองมคี วามรูสกึ วา เปน "ตวั เรา" ซอ นลกึ อยู
ในนน้ั ดว ย มนษุ ยต กเปน เหยอ่ื เปนทาสของความหลอกลวง ของส่งิ ที่เรียกา "ตวั เรา-ของเรา" นน้ั
โดยไมม ีความรสู ึกตวั แมแตนอ ย น่แี หละ คือขอ ที่ถือกนั เปนหลกั ในหมูผรู ูวา ซาตานหรือพญา
มารนน้ั จะตอ งมาหรอื มอี ยใุ นลกั ษณะท่ีไมม ีใครรูจ กั ตวั เสมอไป หรืออกี อยา งหนึ่งกค็ ือ รผู ิด เหน็
เปนไมใชพ ญามารหรอื ศัตรู แตเ ห็นเปน "ตวั เรา" เสียเอง พญามารจึงทาํ อนั ตรายเราไดต ามชอบ
ใจ เปน ความเสยี หายเหลอื ที่จะพรรณนาได แตพอเกดิ รูจักเขา เทา นัน้ พญามารก็จะหายหนา ไป

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 36 of 73

ทนั ที หรอื ท่ชี อบพดู เปน สาํ นวนปคุ คลาธิษฐานวา "พญามารจะขาดใจตาย หรอื ปกหวั หกั คอ
ตวั เองตายลงทันท"ี นแ่ี หละคอื อวชิ ชาทคี่ ดิ วาเปน "ตวั เรา" ถาวางจาก "ตัวเรา" ก็คอื จติ ทบ่ี รสิ ุทธ์ิ
แตช าวโลกไมม ีประสีประสาตอส่งิ ท่เี รียกวา พญามาร นเี้ ลย จงึ มี "ตัวเรา" ท่ที าํ ความเผาลน
ใหแ กตวั เองดว ยความสนุกสนาน หรอื ดว ยความสมคั รใจอยา งเปน กจิ ประจาํ วนั คือซา้ํ ซากไมม ี
ที่สิน้ สุด จนกระทั่ง หนักเขา ๆ ตัวเองกต็ อบไมไ ดวา นจี่ ะทาํ ไปทําไมกนั ทงั้ หมดนเ้ี ปน โทษของ
การทีไ่ มร จู ักสงิ่ ท่ีเรียกวา กามและภพ หรอื "ตวั เรา-ของเรา" อยางเดยี วเทา น้ัน

การท่ีมนษุ ยเ ปน ทกุ ขก นั อยใู นโลกกระทงั่ ถงึ วนั น้ี กม็ มี ูลมาจากกามและภพ เปน มาไมรูกี่
แสนกลี่ านปแ ลว ความเปลยี่ นแปลงไมไ ดม แี กส่งิ ท่เี รียกวา กามและภพ แตม ีอยทู ่ีวตั ถุหรอื ส่ิงท่ี
เปน อารมณภ ายนอก โลกแหง ปจจบุ ันนี้เปนโลกของวัตถุนยิ มยิ่งขนึ้ ทกุ ที เปน โลกของกามขน้ึ ทกุ
ที แมจ ะทาํ ใหล ะเอยี ดประณตี สขุ ุมเพียงไร กห็ าไดปลอดภยั จากโทษของกามไม มแี ตจ ะ
กลายเปน โทษของกามอยางประณตี ละเอียดสขุ มุ ยง่ิ ข้นึ เชนเดยี วกนั ทง้ั น้ีเปน เพราะความไม
ประสีประสาตอความรเู รื่องกามและภพ ความตกเปน ทาสของกาม หรือวัตถุ มแี ตขยายตัวกวาง
ออกไป สามารถลกุ ลาํ้ เขา ไปไดแ มในเขตวดั วาอารามของพทุ ธศาสนา ซง่ึ ถอื วา เปน ปอมคายที่
มั่นคงท่จี ะใชต อตา นกามหรอื วัตถุนิยม แตป อ มคายกพ็ งั ทลายไป ดงั จะสังเกตไดว า นักบวชสมัย
น้ีตกเปน ทาสของกามของวตั ถุเพยี งใด ลมุ หลงแตกามหรือติดในวัตถกุ ันไปแลว แคไหน ไมผ ิด
แผกไปจากชาวบานเลย นเ้ี รยี กวา การขยายตัวของวัตถนุ ยิ ม ซึ่งเคยเรยี กกนั ครงั้ กระโนนวากาม
เมือ่ เปนดงั นแ้ี ลว ใครจะเปน ท่พี งึ่ ใหแกใ คร ในการท่จี ะทาํ ตนใหป ลอดภยั จากอนั ตรายของวตั ถุ
นิยม หรอื ส่งิ ทเ่ี รยี กวา กาม

เม่ือใครตกอยูในอิทธพิ ลของกามแลว ยอมตอ งตกอยูในอํานาจของภพโดยไมม ที างทจ่ี ะ
หลีกเลี่ยงได เพราะมนั เปน ของเน่ืองกนั อยา งสนทิ เม่อื มกี ามแลว กป็ ระกาศตนเปนเจาของของ
กามนน้ั ซงึ่ มคี วามหมายเปน ภพ ครนั้ มีผแู ขง ขนั หรอื แยงชงิ "ตวั เรา" ที่เปน ภพ ก็มีกาํ ลังแกก ลา
หรือเขมขนยง่ิ ข้ึนไปอีก "ตวั เรา" กเ็ ปลี่ยนจากกามหรอื ราคะ มาเปนโทสะ และเปน โทสะยิ่งขน้ึ
จนถงึ ขนาดท่ีเรยี กวา ลมื ตวั คือมนื เมาใน "ตวั ตน" จัดเกนิ ไป จงึ ทาํ อะไรตามอาํ นาจของโทสะ ซงึ่
เรียกกนั วา จะตอ ง "รักเกยี รติยิง่ กวา ชวี ติ " ความไมย อมกนั และกนั ยิ่งมีมากขน้ึ ในหมูมนุษยทม่ี นึ
เมาในตวั ตน โดยไมต อ งคาํ นงึ ถึงความถูกผดิ เพราะไปมวั หลงคํานงึ แตเรอื่ งเสยี หนา ไมเ สยี หนา
ซงึ่ เปนเรือ่ งของภพอยา งเดยี วเทา นน้ั อนั นแี้ หละเปนมลู เหตทุ ที่ าํ ใหค นเราเหมือนสัตวท ีก่ ัดกนั จน
ตาย โดยไมคาํ นงึ ถงึ วา จะไดอ ะไรมา เพราะอาํ นาจของ "ตวั ตน"ไดค รอบงําหรอื ปด บงั ดงั กลา ว
แลว แมจ ะเอาสง่ิ ที่เปน กามมายวั่ มากลอ มมาขอู ยา งไร กห็ าไดเ ปน ทส่ี นใจในขณะน้ี ลาํ พงั กาม
อยา งเดยี วคนเราก็ฆา กนั ได พอเปลีย่ นไปเปนรูปของภพ ก็ฆา กนั ไดงา ยข้นึ ไปอีก น้คี ืออาการท่ี
กามและภพกาํ ลงั ครอบงาํ จติ ใจคนเราอยู ฉะนน้ั หนาทีข่ องพวกเรากค็ อื การสะกัดกนั้ กระแสแหง

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 37 of 73

กาม ไมใหค รอบงําจติ ใจชน้ั หนง่ึ กอน ถา เม่อื มันครอบงาํ จติ แลว ก็สะกัดกน้ั ไมใหเปน ภพ ซึ่งเปน
เหตุใหคนทาํ อะไรลงไปตามชอบใจตวั เอง โดยไมค าํ นงึ ถงึ อารยธรรม วฒั นธรรม หรอื แมแต
ศาสนา น้ีคอื อนั ตรายของเรอ่ื งกามและภพที่เน่อื งมาจากกาม

ถงึ แมว า มนุษยเ กอื บทกุ คน มกั จะตกอยูใตอํานาจของกาม หรือภพอันเนือ่ งจากกาม แตก็มี
บคุ คลบางจาํ พวกมองเหน็ โทษของกามโดยประจกั ษ ไมว าจะเปน โดยการไดผา นกามมาแลว
อยางโชกโชน หรือ ดว ยการศึกษาอบรมจติ ใจ เพ่อื ใหม องเหน็ อยา งนน้ั ก็ตาม ยอมมองเหน็ กาม
วา เปน สงิ่ นารงั เกยี จเพราะเปน ท่ีตง้ั แหง ความทุกข จึงจดั กามไวเปน สง่ิ ทไ่ี มพ งึ ปรารถนา หรอื
แมแ ตบญุ กุศลซ่งึ คนบูชากนั นกั นนั้ ก็พลอยถูกรงั เกียจไปดวยฐานะทเ่ี ปนปจ จัยของกาม ทั้ง
อยา งท่เี ปน ของมนษุ ยและเปน ของสวรรค จึงทําใหเ ขาชะเงอมองหาสง่ิ อืน่ ซงึ่ เปน กศุ ลอันแทจ ริง
ทอี่ าจจะตัดความเยื่อใยในกามใหขาดออกไปได ในทีส่ ดุ เขาก็คนพบภาวะทางจติ ใจอยา งใหมท ่ี
ไมเกยี่ วกบั กามเลย ซึ่งแทจรงิ กเ็ ปน สงิ่ ที่มตี ามธรรมชาตอิ ยแู ลว แตมนษุ ยธรรมดาสามัญ ได
มองขา มมนั ไปเสีย เชน บางขณะจิตของคนเราผละไปจากกาม ไปพอใจอยใู นความวา งจากกาม
เปน ครัง้ เปน คราว แตเ ขาก็ไมสนใจ และไมถ อื วา เปน การพกั ผอ นเสยี ดว ยซา้ํ ไป เวนแตจะเปน
บคุ คลพิเศษซง่ึ เหน็ กามเปน สงิ่ ทน่ี าขยะแขยง ถา ใครเผอญิ มาเปน ดงั น้ี เรากต็ อ งยอมรับวา เขา
เปนบุคคลทผี่ ดิ ไปจากพวกคนธรรมดา นน่ั แหละคอื มูลเหตุ แหง การเกดิ ขน้ึ ของพวกพรหม และ
ภมู ิท้งั ๒ นี้เอง คือ ภูมหิ รือภพทีไ่ มเน่ืองดว ยกาม แมจะยงั มคี วามรสู กึ วา เปน "ตัวเรา-ของเรา"
เหลอื อยเู ตม็ ท่ี แตก ็ถือวา เปน เสน เขตแดน ปก ปน กนั ระหวา งโลกุตตรภมู ิ ซึ่งเปนทีม่ งุ หมายของ
พทุ ธศาสนา กบั โลกียภมู ิ ซึง่ ไมเ ปนทมี่ งุ หมายของพุทธศาสนาแตประการใด

ดงั นน้ั ทุกคนจะตอ งมองใหเหน็ อยางชดั วา หลกั พทุ ธศาสนานนั้ เปน ไปเพื่อโลกุตตรภมู ิ หา
ใชเ พือ่ กามาวจรภมู ,ิ รปู าวจรภมู ิ และ อรูปาวจรภมิ แตประการใดไม ถา จะมพี ูดถงึ เร่ืองหลงั
เหลาน้ีบาง กข็ อใหเขา ใจไวเ ถิดวา พดู เพ่อื เปน เครอื่ งช้ใี หเ หน็ วา น่ีแหละคือ ตัวอปุ สรรคของการ
ปฏิบัติเพื่อดบั ทกุ ข และเปน สง่ิ ทเี่ ราตองกา วใหพ น ไปทงั้ กามและภพ จนกระทง่ั ไมเปน ภพใน
ลักษณะไหนหมด นน่ั แหละคอื ขอ ยนื ยันทว่ี า โลกุตตรภูมิหรอื นพิ พานนน้ั จะเปน ภพชนิดไหนไป
ไมไดเลย เพราะเปน ส่ิงทีป่ ราศจาก "ตวั ตน-ของตน" โดยแทจรงิ เราตองกา วข้นึ มาถงึ ข้ันนจ้ี ริงๆ
เทา นนั้ จึงจะพบกับตวั แทของพทุ ธศาสนา ไมห ลงเอาโลกยี ภมู ิมาเปน พทุ ธศาสนา แลว ยงั มา
ยนื ยนั ทมุ เถยี งกนั คอเปน เอน็ หรอื สอนใหผ อู นื่ ใหเขา ใจผดิ ซง่ึ นบั วา เปน การทําบาปอยา งย่ิง

สรปุ ความสั้นๆ วาถงึ เปน พรหมแลว แมจะปราศจากกามโดยสิ้นเชงิ กย็ งั ไมห ลุดพน จาก
อปุ าทานทยี่ ดึ ถอื วา "ตัวตน-ของตน" และยงั ถกู จดั วา เปน โลกียภูมิ เปนวัฏฏสงสารเพราะเขายงั มี
"ตวั ตน-ของตน" อยา งเตม็ ท่ี ยังเปน ปถุ ชุ นไมใ ชอริยบุคคลอยูน นั่ เอง หวงั วา การกลา วยืนยันสจั

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 38 of 73

ธรรมเชน น้ี ผูท ี่ยกตวั เองวา เปน ปราชญในการสอนพทุ ธศาสนาทง้ั หลาย จะไมเ หมาเอาวาเปน
การพดู โดยอตั โนมตั ิ พูดนอกตําหรับตํารา หรือผดิ ไปจากหลกั อภิธรรมท่ีตนเคยศกึ ษาเลาเรียน
มา เพราะถา จะปฏบิ ัติพุทธศาสนากนั เพอ่ื ใหเขาถงึ ตัวแทข องพทุ ธศาสนาโดยเรว็ แลว เรา
จําเปนตองขามสิง่ ทงั้ หลายทจ่ี ะทําใหเ ราเสยี เวลา เชน การเรียนพทุ ธประวัติ ประวตั ิศาสตรข อง
พุทธศาสนา คมั ภรี ตา งๆ ชาดกตา งๆ ตลอดจนอภิธรรม ซง่ึ อาจทาํ ใหผ ศู ึกษาหรือผูสอนเกดิ มี
"ตัวตน" และ "ของตน" ใหญข นึ้ ไปอกี

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 39 of 73

บทที่ ๕
การดับลงแหง อัตตา

ดังทก่ี ลา วมาแลวในบทกอนวา การเกดิ ขน้ึ แหง "อัตตา" กค็ ือการตง้ั จติ ไวผดิ เพราะฉะนนั้
การตั้งจิตไวใหถูกจงึ เปน รากฐานแหง การดบั "อตั ตา" ตลอดเวลาทม่ี ีการต้งั จิตไวถกู ความดบั
ของ "ตวั เรา" กม็ ีอยูเ พยี งนนั้ ไมวา การกระทาํ นัน้ ๆ จักเปน ไปโดยบังเอญิ หรือวา เปนไปเพราะการ
กระทาํ อยา งใดอยา งหนงึ่ เชน ใชอํานาจของสมาธปิ ด กน้ั โอกาสแหง การเกดิ ข้นึ ของ "ตวั ตน หรือ
วา เปน เพราะอาํ นาจของปญ ญาซึง่ ตัดราก "ตัวเรา-ของเรา" เสยี โดยสน้ิ เชงิ กต็ าม ลวนแตกลาวได
วา ในขณะนน้ั มีภาวะแหงความดับของ "ตัวเรา-ของเรา" ดวยกนั ทงั้ นนั้ ตา งกนั แตวา อยา งที่ ๑
เปน ไปอยา งผวิ เผนิ อยางท่ี ๒ เปนไปตลอดเวลาท่มี ีการบงั คบั อยา งท่ี ๓ เปนการดบั สนิทเพราะ
ทาํ ลายรากเงา ของมนั เสยี โดยสิน้ เชงิ และความดับทเ่ี ราประสงคใ นที่นี้ กห็ มายถงึ อยา งท่ี ๓
โดยเฉพาะ แตถ ึงอยา งน้ัน กค็ วรทําความเขาใจในอยา งที่ ๑ และที่ ๒ ดว ยเหมอื นกนั เพ่อื
ปอ งกนั ความสําคัญผิด หรอื ความสับสนนนั่ เอง

การไมป รากฏของ "อตั ตา" อยา งที่ ๑ ซ่ึงมีขน้ึ ไดดว ยการประจวบเหมาะนน้ั หมายถงึ
ขณะน้ัน เผอญิ มีส่ิงบางส่งิ (ซึ่งจะเปน การไดเ ห็นหรือไดฟ ง หรือไดอ า นอยูก็ตาม หรอื ไดร ับ
อารมณซึง่ เปน ความเงยี บสงดั ไมชวนใหเกดิ ความคดิ นกึ อะไรกต็ าม) ทาํ ใหเ กิดความรสู ึก ทเ่ี ปน
การดับ "ตวั เรา-ของเรา" อยไู ดเ ปนเวลาระยะหนง่ึ นานตลอดเวลาทคี่ วามรสู กึ เชน นน้ั มอี ยู
ลกั ษณะเชน นเี้ ปนไปได ในคนธรรมดาสามญั ท่ัวๆ ไป แมด วยความไมต ้งั ใจ และอาจเปน ไดม าก
สาํ หรบั ผทู ี่อยูในทท่ี เ่ี หมาะสม มสี ิ่งแวดลอมหรอื มีการสมาคมกบั บุคคลท่เี หมาะสม หรอื แมแ ต
ดินฟา อากาศทีเ่ หมาะสม ซง่ึ พอจะเรยี กไดสน้ั ๆ วา เปนความสบายทางจิตนนั่ เอง อาการอยา งน้ี
พอจะเรียกไดวา "ตทังควิมุตติ" คือการพนไปจากอาํ นาจของ "ตัวเรา-ของเรา" ดวยความบงั เอิญ
ประจวบเหมาะ นิสัยของคนบางคน ธรรมชาตสิ รา งมาใหเ ปน ผมู จี ติ วา งจาก "ตวั ตน" ไดง ายๆ
กลา วคือ ความรสู ึกวา "ตัวเรา-ของเรา" เกดิ ขึน้ ไดโดยยาก กน็ บั รวมอยใู นขอน้ี

สําหรบั ความดับแหง "อัตตา" อยางท่ี ๒ ซง่ึ เปน ดว ยการกระทาํ ทางจติ (ซ่งึ ไมใชท างปญ ญา
นน้ั ) หมายถงึ ขณะน้นั มกี ารทาํ จิต ใหติดอยูก บั อารมณข องสมาธอิ ยางใดอยา งหนง่ึ จติ กําลงั อยู
ในสภาพที่เปรยี บเหมอื นกับววั ทถ่ี ูกผกู ตดิ อยกู บั แอก กลา วคอื อารมณข องสมาธิไมมโี อกาสทีจ่ ะ
หนไี ปหาอารมณอ ืน่ ตามทมี่ นั ชอบ ความรสู กึ เปน "ตวั เรา-ของเรา" จงึ ไมอาจจะเกดิ ขนึ้ ใน
ขณะนนั้ ความวา งจาก "ตวั ตน" ในลกั ษณะเชนน้ี ไมใชเปน ไปโดยบงั เอิญ แตเปน ไปโดยอาศยั
การกระทาํ ท่เี อาจรงิ เอาจงั โดยวิธีเหนย่ี วรง้ั จิตไวใ นอารมณท บี่ ริสุทธจิ์ นไมเกิด "ตัวตน" แมจ ะมี

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 40 of 73

บาง กเ็ ปนไปแตในทางท่ดี ี คือเปน "ตวั เรา-ของเรา" ฝา ยดี ยงั ไมม ีอนั ตรายมาก ยงั มีทางท่จี ะ
ทําลายใหห ายไปดวยการทําสมาธทิ ่ีถกู ตอ งได

ตัวอยา งเชน ในการทําอานาปานสติภาวนา เมือ่ ทําจติ ใหเปน สมาธิได กเ็ กิดสุขเวทนา
ขึ้นมาจากสมาธิ ถามีสตสิ ัมปชญั ญะเพยี งพอ คือมกี ารกระทําทถ่ี กู วิธอี ยตู ลอดเวลานนั้ จติ ก็ไม
อาจจะเกดิ ความรูสกึ วา มี "ตวั ตน" มแี ตการทจี่ ะพจิ ารณาตอ ไป วาแมความสุขทีเ่ กดิ จากสมาธิก็
เปน มายา คอื ไมเทีย่ ง เปน ทกุ ข และเปน อนตั ตา "อตั ตา" กย็ งั ไมอาจจะเกดิ ขึ้นได สว นในกรณที ่ี
เผลอสติ หรือทาํ ผิดวธิ นี นั้ กจ็ ะพอใจอยา งหลงใหลในสุขเวทนานนั้ หรือถึงกบั เกิดความรสู กึ
ทะนงวา ตนประสบผลสําเรจ็ ในคณุ วิเศษแลว "ตัวเรา-ของเรา" ก็ยอมจะเกดิ ขน้ึ มาอกี อยา งนจี้ ะ
ไปโทษสมาธไิ มถูก เพราะวา ในขณะนน้ั ไมเปนสมาธิทถ่ี ูกตอ งเสยี แลว

วิกขัมภนวมิ ุตติ กค็ ือการพน ไปจากอํานาจของ "อัตตา" ดว ยการอาศยั สง่ิ ใดส่ิงหนง่ึ มาปด
กั้นทางเกิดแหง "อตั ตา" ไวอ ยางหนาแนน และอยางเฉลยี วฉลาด การพยายามทาํ อะไรบางอยา ง
เพ่อื กลบอารมณราย เชน การสวดมนตเพือ่ กลบอารมณรายทเ่ี ปน "ตัวเรา-ของเรา" ถา ทาํ สําเรจ็
ก็นับรวมเขา ในขอนี้ นเี้ ปน ตวั อยางสาํ หรบั การกระทาํ เลก็ นอ ย ซงึ่ คนธรรมดาสามญั กท็ ําได แมท ี่
สุดแตเร่ืองท่สี อนใหน บั ๑ ถงึ ๑๐ กอนทีจ่ ะโกรธใคร แลวก็นบั เรอ่ื ยไปจนความโกรธเกิดขึ้นไมได
แมอ บุ ายอยา งนก้ี ็นบั รวมไวใ นขอ นี้ ทง้ั นี้มหี ลกั สนั้ ๆ วา ตอ งใชความพยายามอยา งยงิ่ ไมใชมัน
เปน ไปโดยบงั เอญิ จงึ แตกตา งจากอยางที่ ๑ และเราเรยี กมนั วาเปน การดบั ตัวตนดว ยอํานาจ
การกระทําทางจิต เชน การทาํ สมาธิ ยังไมใ ชก ารกระทาํ ทางปญญา

สาํ หรบั ความดับ "ตวั ตน" อยา งท่ี ๓ คอื ดว ยการอาศัยปญ ญานนั้ หมายถงึ อบุ ายทีแ่ ยบ
คายไปกวา นนั้ มาก และไมใชเปน การกระทําที่บีบบังคับโดยตรง แตเปน การกระทาํ ทเี่ รยี กวา
เปนการถอนรากเงาขึน้ มาทาํ ลายเสียโดยสิน้ เชิง ตวั อยางเชน ในการทาํ ลายหญาคา ถา เอามดี
เอาพรา มาฟาดฟนอยา งผวิ เผนิ หญาคากห็ ายหนาไปพกั หน่ึงแลวกง็ อกข้ึนมาอกี หรอื ถา เอา
อะไรมาทบั มาปดไว หญาคาก็หายหนา ไปเหมือนกัน แตเมื่อเอาของทับออกเสียแลว หญาคาก็
กลบั ปรากฏอกี แตกน็ านกวา วิธที ี่ ๑ ทนี ถี้ า ขดุ รากหญา คาข้ึนเผาเสยี ใหหมด หญาคากห็ มดไป
เปนการถาวร เราทราบแลว วา "อวิชชา" เปน รากเงาของ "อตั ตา" ฉะนน้ั การทาํ ลายอวชิ ชา กเ็ ปน
การทาํ ลาย "อตั ตา" และเพราะเราใชว ิชชาหรือปญญามาทาํ ลายอวิชชา เราไมใชกาํ ลงั จติ ลว นๆ
อยางวธิ ที ี่ ๒ เราจงึ เรียกการกระทาํ อยางนวี้ า เปนไปดวยอาํ นาจของปญ ญา และเราเรียกการดบั
ของ "ตัวตน" ในลักษณะนว้ี า "สมุจเฉทวมิ ตุ ติ" เปน การดบั "ตัวตน" ดว ยการถอนรากเงา ข้นึ โดย
สน้ิ เชงิ

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 41 of 73

แมค นเราจะไดพบกบั ความดับไปแหง "อตั ตา" โดยบังเอญิ อยางวิธที ่ี ๑ นัน้ อยูบอยๆ ก็
ตาม แตก็หามใี ครเห็นวา เปน เรือ่ งสําคญั ที่ควรจะสนใจ คือเขาสนใจกนั แตเ ร่ืองทกี่ าํ ลงั อยาก
กําลงั ตอ งการ ไมสนใจเร่อื งของความวางจากความอยากความตอ งการ หรือ แมแตรสชาติของ
จิตทวี่ า งจากความตอ งการ เขาจงึ ไมม ีโอกาสรจู กั ภาวะของจติ ทวี่ า งจาก "ตวั ตน" ซง่ึ ทแ่ี ทกม็ ีอยู
บอ ยๆ เม่อื ไมสนใจเพราะไมร ูจักแลวมนั ก็มีคา เทา กบั ไมม ี เหมอื นกบั ไกที่เดนิ ไปบนกองเพชร
พลอย มันก็ไมรสู ึกวา มอี ะไรทมี่ ีคา นา สนใจ แตถาเห็นขา วสารสกั เมด็ หนง่ึ ตกอยูบนดนิ มนั จะ
เห็นคา ข้นึ มาทนั ที อาการอยา งน้ีมอี ยูแ มใ นอุบาสกอุบาสกิ า ตลอดถงึ ทเี่ ปนบรรพชิต ตลอดจน
แมเถระ ฉะนน้ั การปฏบิ ัตเิ กย่ี วกบั การดับของ "อตั ตา" จงึ กอ รปู ขึ้นไมได มีแตจ ะเปนไปในทางที่
จะเกิด "อัตตา" เสียตะพึดจงึ ไมไ ดร ับแมแตความดับของ "อัตตา" ชนิดทเ่ี ปนดว ยการบงั เอญิ ถา
คนยงั เปนเหมอื นไกอ ยูเพียงใด เพชรพลอยอยา งมากมายในพระพทุ ธศาสนากจ็ ักยงั เปนหมนั อยู
เพียงนน้ั เพชรพลอยในทน่ี ้เี ราหมายถงึ พระพทุ ธ พระธรรม พระอรยิ สงฆ การดบั ไปแหง "ตวั ตน"
เปน ยอดของพระธรรม คอื เปนธรรมชัน้ สงู สดุ หรอื เปนบรมธรรมทีเดียว เพราะเปน ไปเพ่อื การไม
เบียดเบียนตนเอง และไมเบยี ดเบยี นผูอ น่ื ถึงที่สดุ จรงิ ๆ ฉะนน้ั เพ่ือการปฏบิ ัติธรรมทางลัด เรา
จะตองหนั มาสนใจ เลือกเอาเพชรพลอยชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ กลา วคอื การดับไปแหง "ตัวตน-ของ
ตน" ชนิดใดชนิดหนึง่ ที่เหมาะแกต ัวเรา นาํ เอาเขา สกู ารประดับประดาของเราเปน ประเดิม
เริม่ แรกกันเสยี กอน สําหรับจะไดท าํ ใหก าวหนาไปตามลําดับ จนถึงทสี่ ุด

ความดบั ไปแหง "อตั ตา" นน้ั ไมไดห มายถงึ ความดบั ไปของรา งกายหรอื ของชีวติ มิได
หมายถงึ การดบั ไปแหง ความรูสกึ เชน หมดความรูสกึ น่ิงเงยี บไปเพราะอาํ นาจของฌาน แต
หมายถงึ การดบั ของความรสู กึ ทีร่ วู ามี "ตวั เรา-ของเรา" ซง่ึ เราเรยี กกนั สน้ั ๆ เพอ่ื ความสะดวก วา
"ความดับไปแหงอัตตา" และคําวา "ความดบั " ในทนี่ ี้ หมายถึงการปอ งกนั ไมใ หเกดิ ขนึ้ รวมทง้ั
การดบั ตัวตนทีป่ รากฏอยูแลวดว ย ฉะนนั้ โดยใจความทแ่ี ทจ ริงกค็ ือ ภาวะแหงความท่ีจติ
ปราศจากความรสู ึกวาเปน "ตัวเรา-ของเรา" นนั่ เอง

อน่ึง ยงั มีความหมายที่ยิ่งไปกวา นน้ั อีก คอื ไมไดห มายความวา จติ วา งเปลาไมมอี ะไรเลย
หรือจิตเองก็ดบั ไปดวย ตอ งทราบไวว า เมอื่ ใด "ตัวตน" ดบั ลงไป ความวางอยา งหนง่ึ ก็ปรากฏข้นึ
แทน เปนความวา งจาก "อัตตา" แตท วา ประกอบอยดู ว ยสตปิ ญ ญาอยางยงิ่ ในตวั ความวา งนั้น
เมอ่ื "อตั ตา" ยงั เดอื ดพลานอยู จติ มีแตความวนุ เมอ่ื "ตัวตน" มอี ยู จิตกม็ ดื มน เพราะความเดอื ด
พลานของความรสู ึกวามี "ตวั ตน" ครน้ั "ตวั ตน" ดับไป จิตกห็ มดความมดื และมีความสวาง
เกดิ ขน้ึ แทน เม่อื "ตวั ตน" มอี ยู จติ มีแตค วามโงดว ยอาํ นาจของอวิชชา ซ่ึงเปน เหตใุ หเ กดิ "ตัวตน"
เม่ือ "ตวั ตน" ดบั ไปจิตก็พนความโง กลายเปนธรรมชาตทิ ีป่ ระกอบไปดว ยความรูสึกอยางเตม็ ที่
ไดในตัวมนั เอง คือมนั รสู งิ่ ทเ่ี ปนความวา ง ความไมม ที ุกข ความรสู กึ วา มี "ตวั เรา-ของเรา" นน้ั

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 42 of 73

ไมใชธรรมะแตเ ปน อธรรม ตอ เมอ่ื วางจากความรสู กึ วา มี "ตัวเรา-ของเรา" เมอ่ื นน้ั จึงจะเปน
ธรรมะ

อกี อยางหนง่ึ จะถอื วา เมือ่ จติ ประกอบอยดู วยความรสู กึ วามี "ตัวเรา-ของเรา" จิตยอม
สูญเสียความบรสิ ุทธิ์ คือไมเปน จติ เดมิ แทท ี่บรสิ ทุ ธิ์สะอาด แตก ลายเปนเพยี งของมายา เปน
เพยี งความคดิ ปรุงแตง ไปตามเรื่องตามราวของอารมณท เี่ ขามาแวดลอม ใหเ กดิ ความรูสกึ วามี
"ตวั เรา-ของเรา" ตอ เมือ่ ใดจติ วา งจากความคิดปรุงแตง หรอื วางจาก "ตัวเรา-ของเรา" จติ จึงคนื สู
สภาพเดิม คือ เปน จติ ทส่ี ะอาดอยูตามธรรมชาติ

สรุปความวา เมอื่ ความรูสึกวา เปน "ตัวเรา-ของเรา" ดบั ไป จะตอ งมีสงิ่ อื่นปรากฏขนึ้ มา
แทนสงิ่ นนั้ นนั่ ก็คอื ภาวะของจิตเดิมแท เปน ภาวะแหง ความวา งจากความวนุ ดว ยอํานาจการนกึ
คดิ เกดิ ภาวะแหง ความสวา งและความเปน ธรรมะ และทส่ี าํ คญั อยา งย่ิงนัน้ ก็คอื จะเกิดภาวะ
แหง ความสมบรู ณด ว ยสตปิ ญญา ฉะนั้นความดบั ไปแหง "อัตตา" จึงไมใ ชส งิ่ ทนี่ า กลวั ไมใ ชส ิง่ ที่
ไรค ุณคา ไมใ ชส งิ่ ท่จี ะทาํ ใหค นเราเส่อื มสมรรถภาพ แตก ลบั ทาํ ใหเราสมบูรณไปดวยสติปญญา
ไมมที างทจี่ ะทาํ อะไรผดิ พลาด และมีแตค วามสงบสุขทางใจ

ผทู ไ่ี ดฟง เรอื่ งน้ีแลว ยงั ไมเ ขา ใจ หรอื เขา ใจหรือครึง่ ๆ กลางๆ อาจเกิดความเขา ใจผดิ อยาง
แรง อาจเห็นวา ความดบั แหง "ตวั ตน-ของตน" น้เี ปน โทษไปกไ็ ด คอื เขาเขา ใจผดิ ไปวา ถา ดบั
ความรูส กึ วามี "ตัวตน-ของตน" เสยี แลว คนเรากจ็ ะไมท าํ อะไร จะไมยอมพัฒนาประเทศชาติ จะ
ไมย อมทาํ ประโยชนใหแ กสงั คม เพราะวา ไมมีอะไรทเ่ี ปน เครอ่ื งกระตนุ ใหท ํา มแี ตค วามรูส กึ ท่ี
อยากจะอยเู ฉยๆ เปน กอนดนิ กอ นหนิ ไป ความหลงผดิ เชน น้เี กิดข้ึน จากการทเี่ ขาไมเขาใจอยาง
ถกู ตอ ง ในเรือ่ งของความดับของ "ตวั ตน-ของตน" และอีกอยา งหนึ่งนนั้ เขามคี วามเคยชนิ เปน
อยางยิง่ กับความรูสึกวา เปน "ตวั ตน-ของตน" เม่ือเขามคี วามรสู ึกเปน "ตัวตน-ของตน" ข้นึ มา เขา
กร็ สู ึกเปน สขุ หรือเปน ความเอร็ดอรอยในทางจิตใจ จนกระทง่ั มคี วามติดใจหลงใหลเอาทีเดยี ว
และยิ่งเปน อยา งนม้ี ากข้ึนตามอายทุ ่ีลว งไปๆ เขาจึงเปนเกลอกับ "ตัวตน-ของตน" อยางท่ีจะขาด
เสียไมไ ด และกลายเปน ปุถชุ นคนหนาไปดวยกเิ ลส คือในลกั ษณะที่ "เห็นงเู ปน ปลา" ไปเสีย
ตะพดึ จงึ อยูในฐานะลาํ บากอยา งยงิ่ ท่ีจะทําความเขา ใจในเรอ่ื งความดับไปของ "ตวั ตน-ของ
ตน"

ขอนี้กส็ มตามความหมายของคําวา ปถุ ุชน ซ่ึงแปลวา "คนหนา" คอื หนาไปดว ยสงิ่ หมุ หอ
ดวงตา หรอื จติ ใจ หรือปญญา จนกระท่งั ปญญาไมอาจสอ งแสงได แตว า "ตวั ตน-ของตน" นนั่
แหละเปนผสู อ งแสงแทน เรอ่ื งมันจงึ ทาํ ใหเ หน็ ผิดไปหมด คนโงๆพวกน้ี ไมพ อใจทจี่ ะดับ "ตวั ตน-

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 43 of 73

ของตน" โดยไปเขา ใจวาจะเปนการขาดทนุ อยา งยอยยบั ไมมอี ะไรเหลอื ฉะนน้ั การแนะนาํ ส่ัง
สอนธรรมะในขัน้ ทจ่ี ะถอนอปุ าทานเชนนี้ จึงทาํ ไมไดในหมูชนซ่ึงเปน ปุถชุ นมากเกนิ ไป จะทําไดก ็
เพียงแตแนะนาํ สง่ั สอนใหเ ลอื กยดึ ถอื "ตวั ตน-ของตน" ชนิดทีไ่ มสเู ปน อนั ตรายมากมายนกั ไป
พลางกอ น แมจ ะตอ งรองไหบ าง กย็ ังมเี วลาทึ่จะไดห วั เราะสลับกันไป แตท ่จี ะใหไมต อ งหวั เราะ
และรองไหเลยนนั้ ยังเปน ไปไมไ ด (อา นหนังสือ "อะไรถกู อะไรผิด" ซึ่งอธิบายเรือ่ งนอี้ ยา ง
ละเอยี ด)

ทนี ้ี กม็ าถงึ บุคคลอีกประเภทหนง่ึ ซง่ึ เรยี กวา ปถุ ุชนชนั้ ดี หรอื กลั ยาณปุถชุ น หมายถงึ
บคุ คลทม่ี ีเครอ่ื งหมุ หอ ตาไมห นาจนเกนิ ไป มผี งในดวงตาไมม าก เขาจึงสามารถลา งผงออกจาก
นัยนต าของเขาไดหมด และผงทก่ี ลาวน้กี ค็ อื ความรสู กึ วาเปน "ตัวตน-ของตน" อกี นน่ั เอง พวกที่
มีผงในดวงตาเพียงเล็กนอยนี้ หมายถงึ คนบางคนทีไ่ ดรับการศึกษาทางธรรมทถ่ี ูกตอ งมาแตแรก
รวมทง้ั เปนผมู อี ปุ นสิ ัยดี ไมห วั ด้ือร้นั อวดฉลาด เขามีสตปิ ญญาตามธรรมชาตชิ นดิ ทีอ่ าจรสู ิ่ง
ทง้ั หลายทง้ั ปวงตามท่ีเปน จริง เปน ผูเตรียมพรอมทจ่ี ะมคี วามรูย งิ่ เหน็ จริงอยเู สมอ พอไดร ับ
คาํ แนะนําชี้แจงเรอ่ื งโทษของ "ตวั ตน-ของตน" เขากจ็ ับฉวยเอาไดท นั ที รวมความวา เขาจะเขาใจ
อยางเดด็ ขาดลงไปวา การดบั เสียไดซ ึ่ง "ตัวตน-ของตน" นั้น จะทาํ ใหค นเราทําอะไรไดมากขึน้
ทําไดด ียงิ่ ขนึ้ ทาํ อะไรไมผ ิดพลาด เพราะไมม ีความเหน็ แกตวั และในที่สุด สงั คมจะประสบสนั ติ
สุขที่แทจ รงิ การพฒั นาประเทศชาติก็จะไดผล และจะไมม คี อรัปชั่นมากมายอยางทเ่ี ปน อยใู น
ขณะนี้

สถิตขิ องโลกในทกุ วนั นป้ี รากฏวา ในบางประเทศมคี ดกี ารขม ขืนสตรที กุ ๆ ๓๔ นาที มีการ
ตดั ชอ งยองเบาขโมยเลก็ ขโมยนอ ยทุกๆ ๓๙ นาที มีการทําอนั ตรายกนั ถงึ ตายทุกๆ ๕๐ นาที
ตัวอยา งเพยี งเทานีก้ แ็ สดงใหเ ห็นแลว วา สง่ิ ทน่ี า ขยะแขยง หรอื เสนยี ดจญั ไรในโลกนนั้ มีอยไู ม
นอ ยเลย และเปน ท่แี นน อนวา จะทวมี ากข้ึนเรว็ ขึน้ ยง่ิ กวา การทวขี องพลโลก เมื่อเทียบสว นกนั
น่แี สดงใหเหน็ วา การตกอยูใตอํานาจ "ตวั เรา-ของเรา" ของมนษุ ยน ั้น ไดทวขี ้นึ ฉะนั้น หากวา มี
การดบั "ตัวเรา-ของเรา" ลงไปไดเ พยี งใด สงิ่ ทไ่ี มพ ึงปรารถนาเหลานนั้ กจ็ ะลดลงตามสวน ถา
มนษุ ยเรายงั ไมส ามารถจบั ตนตอของความชวั่ เหลา นีไ้ ด กจ็ ะไมส ามารถขจดั มนั ได ทง้ั นกี้ เ็ พราะ
มองขามเรอ่ื งความดบั แหง "ตัวเรา-ของเรา" โลกจงึ ตอ งประสบชะตากรรมอยา งน้ี และจะลุกลาม
จากวกิ ฤติการณสว นบุคคลไปเปนวกิ ฤตการณของโลก จากวกิ ฤติการณชั่วคราวไปเปน
วกิ ฤตกิ ารณถ าวร จนถงึ ขนาดเหลือวิสยั ทมี่ นษุ ยผ ูยงั งมอยูในลกั ษณะเห็นผดิ เปน ชอบเชนน้ี จะ
แกไ ขมันได

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 44 of 73

การขม ขืนสตรี การตัดชอ งยอ งเบา หรอื การปลน สดมภ การลกั การขโมย การฆากันโดย
บันดาลโทสะ หรอื โดยเจตนา และ การกระทําอยา งอื่นๆ ซึง่ เรียกวา อาชญากรรมนนั้ มีตน ตอท่ี
ลกึ ซึ้ง อยูทกี่ ารพลุงออกมาของ "อตั ตา" กลา วคอื ความรสู กึ ทีเ่ ปน "ตัวเรา-ของเรา" ถา พลงุ ขึ้น
มาถงึ ขีดสุดแลว มนั ทาํ ใหไมกลัวอะไร ฉะนนั้ อํานาจการบงั คบั หรอื อํานาจกฏหมาย ยอ ม
ควบคมุ สงิ่ เหลา น้ีไวไมไ ด เพราะในขณะนน้ั เขาไมก ลวั แมแตความตาย หรอื โทษภัยใดๆ ทัง้ สน้ิ

ทนี ี้ ถา เราหนั มาใชวิธที ไ่ี มเปน การบังคับ เชน วธิ ศี ึกษาอบรมกันท่ัวไป ใหเ ขา ใจถกู ในเรอ่ื ง
ความดับแหง "อตั ตา" กข็ อยนื ยนั วา เม่อื ดบั "อตั ตา" ไดมากเทาไร คนกจ็ ะไมมคี วามเห็นแกต วั จัด
เพราะมีสตปิ ญ ญา หรือเหตุผลไดมากขน้ึ ตามหลกั พทุ ธศาสนา ยอมจะกลา วไดว า ศีลธรรมกด็ ี
สจั ธรรมทส่ี ูงขน้ึ ไปกด็ ี หรอื โลกุตตรธรรมขอใดกด็ ี ลว นแตม คี วามมงุ หมายท่ีจะเขน ฆาสงิ่ ที่
เรียกวา "อตั ตา" ใหดับไป ใหเ หลอื แตสตปิ ญ ญาควบคมุ ชีวิตน้ี ใหดาํ เนนิ ไปถงึ จดุ หมายทแี่ ทจรงิ
ท่มี นษุ ยค วรจะได สว นจรยิ ธรรมทมี่ ชี อ่ื ไพเราะตางๆ นานา เชน ความซอ่ื สตั ย ความเห็นแกผ ูอื่น
ความรกั ใครเ มตตากรุณา การสารภาพความผดิ ฯลฯ โดยมากกเ็ ปนเพียงสกั วา ช่อื ตามปายหรอื
ตามฉลากท่ปี ด ไวต ามที่ตางๆ หรอื สมาคมตา งๆ ไมสามารถจะปราบอธรรมได เพราะวา "อัตตา"
ของมนุษยในโลกทกุ วนั น้ไี ดห นาแนน ยงิ่ ขน้ึ และรุนแรงถึงกบั เดือดพลา นน่ันเอง ฉะนน้ั ถาเราหวงั
ทจ่ี ะมีจรยิ ธรรมมาเปน ทพี่ งึ่ ของชาวโลกแลว จะตองสนใจในเร่อื งความดบั ไปแหง "อตั ตา" ให
มากเปน พเิ ศษ สมตามท่หี ลกั แหง พุทธศาสนายนื ยนั วา มันเปน เพยี งสง่ิ เดียว ซง่ึ เปนตนเหตุแหง
ความทกุ ขทงั้ ปวง

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 45 of 73

บทท่ี ๖
วิธีลดอตั ตา

เพ่ือความเขา ใจถึงวิธีลด "อตั ตา" ไดอยา งงา ยๆ โดยอาศยั หลกั เกณฑท ร่ี ัดกุม จึงจะได
พิจารณากนั ถงึ ส่งิ ที่เรียกวา "สังโยชน" ๑๐ ประการ แลวผปู ฏิบตั ิธรรมกจ็ ะทราบไดเองวา พุทธ
ศาสนามีความมงุ หมายท่ีจะลด "ตวั ตน" อยา งมีประสทิ ธิภาพเพยี งไร

สังโยชนประการที่ ๑ มชี อื่ โดยภาษาบาลีวา "สกั กายทิฏฐิ" หมายถงึ ความยดึ ถอื วา กายกบั
ใจนี้เปนของตน เมอื่ มีความรูสกึ คดิ เชน นน้ั แลว เขากห็ วงแหน อยากใหม นั ดใี หม นั เทย่ี งแทถ าวร
เพอื่ ประโยชนแ ก "ตวั เขา" โดยธรรมชาตทิ แ่ี ทน นั้ มนั ไมม อี ะไรท่ีจะเปน ของเขาไดเ ลย แตค วาม
หลงผิด ทําใหเขาเขาใจวา มนั มีอะไรๆ เปน ของเขาจนได โดยเหตนุ ี้ สงิ่ ทเ่ี ปนเพยี งธาตุดนิ นํา้ ลม
ไฟ อากาศธาตุ วญิ ญาณธาตุ ที่รวมกลมุ กนั อยู กถ็ กู ยดึ ถอื เปนกายและใจ "ของเขา" มนั จงึ มี
ลักษณะเปน ความเหน็ แกตวั แลว กท็ าํ อะไรๆ ไปในลกั ษณะทเี่ ปน ความทกุ ขย ากลาํ บากแก
ตัวเองและแกผ ูอ ่นื ปญ ญาอยา งโลกๆ ก็สงเสริม "ตวั ตน-ของตน" ใหห นักยงิ่ ขนึ้ ตอเมอ่ื ไดร ับ
การศึกษาอบรมทถี่ กู ทาง หรอื ปฏิบัตทิ ถ่ี ูกตอ งตามหลกั แหงพุทธศาสนา เขาจงึ จะไมอ าจมี
"ตวั ตน-ของตน" ชนิดทีจ่ ะไปฆา ไปลกั หรอื เบยี ดเบยี นผอู นื่ และจะเร่ิมนกึ ถงึ การท่กี ายทุกกาย
หรอื ธาตทุ กุ กลมุ เปน เพือ่ เกดิ แกเ จ็บตายอยา งเดยี วกนั จึงลดความหมายมน่ั ปน มือทจ่ี ะเอา
ประโยชน จากผูอนื่ มาเปน ของตนเองลว นๆ ดังแตกอน

ความลดไปแหง สกั กายทฏิ ฐนิ ี้ ทําใหเกิดความสงบเยน็ ความสงบเยน็ ทาํ ใหเ กดิ
สติสัมปชัญญะ สติสัมปชญั ญะกท็ าํ ความปลอดภยั ใหแกต นเองและผอู ืน่ ถา เพยี งแตค นเรา
สามารถ ละสงั โยชนขอที่ ๑ นีไ้ ดเ ทานนั้ โลกน้กี ็จะเปลี่ยนแปลงไป อยา งหนา มอื เปน หลังมอื
อยางนอ ยทส่ี ดุ การเบยี ดเบยี นกนั จะหายไปจากโลก มีแตก ารเอื้อเฟอ เผ่อื แผก นั อยา งแทจ ริง เขา
มาแทน

ตอ ไปก็คือ ความลดไปแหง "ตวั ตน" ในรปู ของสงั โยชนประการท่ี ๒ ทเ่ี รยี กวา "วจิ กิ ิจฉา" ซง่ึ
หมายถงึ ความลงั เล เนื่องจากความสงสยั หรอื ความกลวั ถา ไมพ ิจารณาใหดี ก็จะไมเ หน็ วามนั
เก่ยี วกับเรือ่ ง "ตวั ตน" หรือ "ของตน" ยงิ่ กวา นน้ั ยงั มองขา มไปเสยี วา ความลงั เลน้ี ไมม ี
ความสาํ คัญอะไรในเร่อื งความทกุ ขแ ละความดบั ทุกข แตแททจ่ี ริงนน้ั วิจกิ จิ ฉา ก็มคี วามสาํ คญั
เชน เดียวกนั อกี ถา เปนการปฏิบตั ใิ นขัน้ สมาธิ วจิ ิกจิ ฉานก้ี ็เปน นวิ รณป ดก้ัน หรือรบกวนจติ ไมใ ห
เปนสมาธิ ถา เปน การปฏิบตั ิในขน้ั ปญ ญา วิจกิ จิ ฉากเ็ ปน เครอ่ื งรบกวน ความเช่ือและปญญา
ไมใหอยูใ นรอ งในรอยได คนเราจึงไมส ามารถเอาชนะความทกุ ขได และตวั ความลังเลนั้นเอง ก็

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 46 of 73

เปน เครื่องรบกวนความสุข หรือเปนความทกขช นิดหนงึ่ อยูในตัวมนั เอง ไมว า จะเปนเร่ืองทาง
ศาสนาหรือเรอื่ งตามธรรมดาของชาวโลก

การตอ สกู นั ระหวา งความรสู กึ ฝายตา่ํ กับฝา ยสงู นนั่ เอง เรียกวา วิจิกจิ ฉา ซ่งึ อาจขยาย
ความออกไปเปนความไมแ นใจ ความไมก ลาหาญ ความไมไวใ จ หรอื ไมเช่ือถอื ตวั เอง ฯลฯ
วจิ ิกจิ ฉาชนิดที่เปน อยา งชาวโลกๆ ทสี่ ดุ กเ็ ชน ไมแนใ จวา จะประกอบอาชพี อะไร จะทําอะไร จะ
แสวงหาชอ่ื เสยี งอะไรดี ฯลฯ และทสี่ งู ขึ้นมาก็คอื ความไมแ นใจในการทจี่ ะยดึ เอาความดี หรือ
ความยุตธิ รรม วาเปนหลักทแี่ ทจรงิ ไดห รือไม ความกลวั จะเสียประโยชนสวนตวั กลวั จะ
เสียเปรยี บเขา จะพา ยแพเ ขา เปนเหตุใหไมแ นใจในการที่จะถอื เอาความดีความจริงเปนหลกั
เปน ความกระอักกระอว นใจ ในทางหนาทหี่ รือทางศลี ธรรม

เราพอจะมองเหน็ วา ความระส่ําระสายทกุ ขย ากลาํ บาก หรอื วกิ ฤตกิ ารณตา งๆ ในโลก
ยอมเกดิ มาจากความไมแนใจของชาวโลกน่นั เอง โดยเฉพาะอยางยง่ิ กข็ องชนชน้ั ผนู าํ กลุมตางๆ
ทีไ่ มแ นใ จในการทจี่ ะยึดม่ันในความดี หรือความจริง จนกระทง่ั ยอมเสยี สจั จ เชน พอเกิด
สงคราม หวาดกลวั ขนึ้ มากห็ ันไปหาพระเปน เจา หรอื ศาสนา แตพอเหตุการณน น้ั ผา นไปก็หนั
หนา กลบั ไปหาประโยชนใหแ ก "ตวั ตน-ของตน" ไมมฝี า ยไหนแนใ จในการที่จะยดึ ถือความดี
ความจรงิ เปน หลกั ทงั้ ที่ตัวเองก็รอู ยวู า อะไรเปนอะไร โลกจึงตกอยใู นหวงแหง ความเทจ็ ความ
โลเล หลอกลวงตัวเอง เพราะไมสามารถบงั คับความเช่ือ หรอื สตปิ ญ ญาของตนใหแนว แนอยูใน
รองในรอยได โลกจึงมีอาการเหมือนกับวิจกิ จิ ฉา เควงควา งไปตามความลงั เลของคนในโลก ทง้ั
ในกรณีทเี่ ปน ไปทางโลกๆ และทางศาสนา

สําหรับวิจกิ จิ ฉาในทางฝายพุทธศาสนานนั้ เมอ่ื กลาวไปตามหลกั ทถี่ อื ๆ กนั อยู กไ็ ดแ ก
ความลงั เลใน พระพทุ ธ พระธรรม พระอริยสงฆ ลังเลในการตรัสรจู รงิ ของพระพทุ ธเจา ความ
สงสยั ในพระพทุ ธเจา ก็คือ ลงั เลในการท่ีจะเชอ่ื หรอื ปฏิบัติตามคําแนะนาํ ของทา น เพราะมนั ขดั
ตอความรูสึกของตนทม่ี อี ยูก อ น ขดั ตอ ประโยชนท ี่ตนหวงั จะไดร ับ การลงั เลในพระธรรมกเ็ ปน
อยา งเดยี วกนั เลยทาํ ใหค นถอื ศาสนากันเพยี งแตป าก หรอื เลน ตลกกบั พระเปน เจาของตน จน
อาการเชน น้มี อี ยูท่ัวไป สาํ หรบั ความลังเลในพระอริยสงฆน ัน้ หมายถงึ วา เหน็ ทานเปน ผพู น ทกุ ข
ไดอ ยางนน้ั ๆ แลว ตนกย็ งั ลงั เลทีจ่ ะเดนิ ตาม โดยทีไ่ มเชอ่ื วาทานเหลา น้ันพนทกุ ขไดจ ริงบา ง หรือ
การพน ทกุ ขข องทา นเหลา นนั้ จะนาํ มาใชไ ดแ กตนบา ง เมอ่ื ยงั ลงั เลในตวั ผสู อน ในสงิ่ ทนี่ าํ มาสอน
และในหมูคนที่เคยปฏิบตั ติ ามคําสอนจนประสบความสําเร็จมาแลว คนโงเ หลา นี้ แมจะศกึ ษา
ไปสกั เทา ไรๆ กม็ แี ตจะยงิ่ กลายเปน คนลงั เลมากขนึ้ จนกลายเปน โรคประสาทหรอื โรคจิตข้นึ มาก็
ได

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 47 of 73

เทาทกี่ ลา วมาทัง้ หมดนย้ี อมจะเหน็ ไดวา การทคี่ นเราเกดิ ความคดิ ลังเลแมใ นพระศาสดา
ของตน ในหลกั ธรรมะหรอื หลักปรชั ญา กก็ ลาวไดวา "อตั ตา" อีกนั่นเองทเ่ี ปน มูลเหตอุ ันแทจรงิ
แหงความลงั เล ถา เราดบั ความลังเลหรอื ควบคมุ มนั ได กย็ อ มหมายความวา เราดับ หรือควบคุม
"อัตตา" ได เพราะอาการแหง ความลังเลกค็ อื ลักษณะอยา งหนง่ึ ของ "อตั ตา" หรอื ความเห็นแกตวั
นั่นแหละ เปนเหตใุ หเกิดความลงั เล ไมวาทง้ั ในทางโลกและทางธรรม

สลี ัพพตปรามาส สงั โยชนข อ ท่ี ๓ เปน ชื่อของความงมงายเขา ใจผิดตอ ศีลและพรต ซ่ึงเปน
เคร่ืองปฏิบตั สิ ําหรบั ลดความทุกข กลา วคอื ความเขา ใจผิด ใชผ ดิ กระทาํ ผิด ตอ สิง่ ซง่ึ ถอื กนั วา
เปน เครอ่ื งปฏบิ ตั ิเพือ่ ความดบั ทุกข อนั ไดแ ก ศาสนาหรือธรรมะนั่นเอง แบง ไดเ ปน ๒ ประเภท
คือเขา ใจผิด หรือปฏบิ ัตผิ ดิ ในส่ิงทผ่ี ดิ มาแตเดมิ กับ เขา ใจผดิ ตอ สิง่ ทถี่ กู ตองดอี ยูแลว แตปฏบิ ัติ
ไปอยางงมงายหรอื ผดิ ๆ นก่ี ม็ ีมูลมาจากการมี "ตวั ตน-ของตน" ทีม่ คี วามประมาทสะเพรา หรือ
ทะนง แทนท่ีจะมสี ติปญ ญาอยางสขุ ุมรอบคอบ กลับจบั ฉวยเอาขอปฏบิ ัติเหลาน้นั ผดิ ไปจาก
ความหมายทแี่ ทจ ริง เปน ความโง ความดอ้ื ของ "ตัวตน-ของตน" นน่ั เอง มีอยเู ปนปกตแิ กป ุถุชน
คนเขลาทว่ั ไปในการท่จี ะจบั ฉวยเอา อยางปุบปบ ในสิง่ ทแี่ ปลกประหลาด หรอื อัศจรรย ซงึ่ ตัว
คิดนึกไดเ อง หรือมผี นู าํ มาสอนให ตลอดจนมคี วามรเู ทา ไมถงึ การณ ในส่งิ ท่ีตนคิดขน้ึ หรอื กาํ ลัง
กระทาํ อยู แลว กม็ คี วามเชอื่ ม่ันในสง่ิ นนั้ จนกลายเปน ความงมงาย คิดวา สงิ่ เหลา นนั้ จะเปน ท่พี งึ่
แกต นได แตแลวก็หาเปน ไปไดไ ม คงเปนสกั วา พธิ รี ตี อง เปนสกั วา เครอ่ื งปลอบใจตวั เอง หรอื
หลอกตัวเองใหห ายกลวั เพราะมันไมม ีเหตผุ ล หรอื ไมตรงตามหลกั วชิ า แตตัวก็ไมรูวา ตวั โง

สาํ หรับสลี ัพพตปรามาสชนดิ ทีผ่ ดิ มาแตเดิม แลว เอามายึดมนั่ ถือมนั่ เพือ่ ปฏิบตั ินั้น
สว นมากเปน เรอื่ งของการกระทาํ ปรมั ปราสบื ๆ กนั มาแตโ บราณ กระทงั่ ยคุ หนิ ทีม่ ีคนบางพวกยัง
ยึดม่ันถอื มั่นอยู เพราะมนั เขา รปู กนั ไดก ับภูมิปญ ญาของเขา แมต กมาในสมัยน้ี ก็ยงั ประพฤตกิ นั
อยอู ยางเครง ครดั ดว ยความโงเขลาเบาปญ ญา และความไมร ู สวนอกี แขนงหนง่ึ นน้ั คอื การ
ประพฤติบา บน่ิ นอกคอก นอกรตี ตางๆ ซงึ่ พวกมจิ ฉาทฏิ ฐิ หรอื มิจฉาชพี ท่ฉี ลาดบญั ญัติขึ้นเปน
เครือ่ งตบตาหาเงนิ จากคนอนื่ หรอื ดวยความหลงสาํ คญั ผดิ คิดวาเปนของดีจริงก็มี ซึ่งลว นแต
อุตรวิ ติ ถารดว ยกนั ทงั้ นนั้ นเ้ี รยี กวา เปน สงิ่ ทีผ่ ิดมาแตเดมิ แลวถูกนาํ มายดึ มน่ั ถอื มน่ั เปน หลกั
ปฏบิ ัติตามๆ กันไปดว ยความหลงงมงายเขาใจผดิ

สว นสลี พั พตปรามาสในเรือ่ งสิ่งทถี่ กู ตองอยแู ลว แตค นจับฉวยเอาผิดเองนน้ั ไดแ กห ลัก
ธรรมะ ตลอดถงึ ระเบยี บวธิ ปี ฏบิ ตั ติ างๆ ซงึ่ ไดบญั ญตั ไิ วอยางถกู ตองในศาสนาตางๆ เปนหลัก
วิชาตามเหตผุ ล ซงึ่ เมอ่ื ปฏบิ ตั ิตามนน้ั แลว ก็สามารถดับทุกขไ ดจริง แตก ย็ ังมกี ารจบั ฉวยเอาผิด
เรียกวา เปนการลบู คลําทําใหส ิง่ ซ่งึ บริสทุ ธิ์สะอาดนน้ั กลายเปนของสกปรกไปดวยอาํ นาจของ

เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 48 of 73

ความงมงาย สีลพั พตปรามาสชนิดนีม้ ีไดแ มใ นหมนู ักศกึ ษาทเี่ รียกวา มกี ารศกึ ษาอยา งดที ่ีสุด
ตามทน่ี ิยมกันในหมมู นษุ ย แตไ มไ ดม ีการศกึ ษาขอธรรมะหรอื ศาสนาน้นั ๆ อยางถกู ตองและ
สมบูรณ เพราะมันเปน คนละเร่อื งกนั ดังตวั อยางทเ่ี ราเหน็ ๆ กันอยทู ่วั ไป ในหมผู ูไดร ับปรญิ ญา
ตรี โท เอก ในฝา ยวชิ าการทางโลก ที่ยงั เขาใจวา พระพทุ ธเจา อาจจะบันดาลอยา งน้นั อยา งน้ี
ตามทีต่ วั ตอ งการได ในเมอื่ มีการบูชาออ นวอน หรือประกอบพธิ ที างศาสนาทงี่ มงายมาก ถงึ กับ
บนบานขอใหเ กดิ บุตรแกผ ูไ มม ีบตุ รกย็ งั มี บางคนคดิ วา การรดนาํ้ มนตล างซวย หรอื ใหราํ่ รวย
หรืออะไรในทาํ นองนน้ั กเ็ ปน พุทธศาสนาดว ย เสร็จการศกึ ษากลบั มาจากเมืองนอก กร็ บี ไปหา
พระรดนํา้ มนตท นั ที น่เี ปน การพสิ จู นวา การศึกษาท่ไี ปเรยี นมาอยางมากมายน้นั กย็ งั ไมท าํ ให
เขาหายงมงาย แลว กม็ าเกณฑใหศาสนามหี นา ทที่ าํ อะไรๆ ตามท่ีตัวตองการ โดยไดย นิ แตเพียง
วา ธรรมะหรือศาสนานี้ เปน เครอื่ งชวยดบั ทุกข และมีความศักด์สิ ทิ ธิ์ ทกุ ประการ

ถงึ แมใ นศาสนาอน่ื กเ็ ปน อยางเดยี วกนั เชน จดั พระผูเปน เจา ไวในฐานะเปน ผูมหี นา ที่
ปลอบใจเม่อื จนแตม ทไ่ี ปโบสถห รอื ปฏบิ ตั ติ ามระเบียบพธิ ตี างๆ ก็เพยี งแตท ําเผ่ือๆ ไว เพราะจะ
ไดเ ปนท่ถี กู ใจพระเปนเจา ไว หรือเปน การสะสมบุญกุศลไว มอี าการที่กระทําเหมอื นกบั คน
ละเมอๆ โดยทีไ่ มเ ขาใจอยา งถกู ตองวา พระเจาทีแ่ ทจ รงิ นน้ั คอื อะไร หรอื บญุ กุศลทแ่ี ทจรงิ นนั้ คือ
อะไร และไมรูเลยสกั นิดเดยี ววา พระเปน เจา หรอื บญุ กุศลทีแ่ ทจรงิ นน้ั คือการชําระจิตใจให
สะอาดดว ยการกระทําท่ถี กู ตองกนั ทนี่ ่ี และเดย๋ี วนี้ ดวยการบ่นั ทอนหรือทําลาย "ตัวตน-ของตน"
น่นั เอง ไปมัวหวงั แตพ ระเปน เจาที่อยทู ่ีไหนกไ็ มรู ใหคอยชวยคุมครองตนอยางคมุ ครองเดก็ ๆ
และเมอ่ื ทุกขร อ นจนแตม ขน้ึ มา กโ็ วยวายใหส ิง่ ที่ไมร ูวาอะไรอยทู ่ไี หนนนั่ แหละมาชว ยตน ไม
สามารถใชส มั มาทิฏฐิของตน ปลดปลอ ยหรอื ขจดั ปด เปา ความทกุ ขร อนในใจของตน ใหออกไป
จากตนได ทัง้ ๆ ท่ขี อ ปฏิบตั ทิ างธรรมะหรอื ทางศาสนาทุกขอ ทกุ อยาง กล็ ว นแตเ ปน ไปเพอ่ื ชาํ ระ
กายวาจาใจใหส ะอาด ใหเกดิ มีภาวะใหมข ึน้ มาเปนความไมม ที กุ ขห รือมที กขนอยลงไปกวา เดมิ

สาํ หรบั ในฝา ยพทุ ธศาสนาโดยเฉพาะนนั้ สีลัพพตปรามาสไดง อกงามมากขนึ้ ในหมพู ทุ ธ
บรษิ ทั ท้งั ในทางปริยตั ิและในทางปฏบิ ตั ิ ในทางปริยัตนิ นั้ ไดมกี ารจบั พลดั จบั ผลไู ปเอาส่งิ ซงึ่
ไมใชพุทธศาสนา เขา มาตูเปน พทุ ธศาสนาอยเู รื่อยๆ ทาํ สง่ิ ทีไ่ มใ ชพ ทุ ธพจนใหเปน เหมอื นพทุ ธ
พจน นิยมศกึ ษาทฤษฎที ่ีลกึ ซึง้ กวางขวางไมรูจบเพือ่ ความเปนนักปราชญ ยง่ิ กวา ท่จี ะศกึ ษา
เฉพาะเร่ืองของการดบั ทุกข แทนทจ่ี ะพดู จะสอนจะอภิปรายกนั ถงึ เร่ืองดับทกุ ขโ ดยตรง เชน เรือ่ ง
อริยสจั จ เปน ตน ก็กลายเปน ไปนําเอาเร่ือง "อพั ยากตวตั ถ"ุ ท่ีพระพทุ ธองคท รงหา มไมใ หนาํ เอา
มาพดู กนั ใหเสยี เวลา และพระองคเ องก็ไมทรงสอนเรื่องเหลาน้ี เชน เรือ่ งคนตายแลว เกดิ หรอื ไม
ศึกษาวพิ ากษว ิจารณค นควา กนั อยา งเปน วรรคเปนเวร โดยนําเอาลัทธสิ ัสสตทฏิ ฐิของพวก
พราหมณมาอธบิ าย โดยที่เขา ใจวา เร่อื งนเ้ี ปน ตวั แทของพทุ ธศาสนา แมแ ตค ําอธิบายเรือ่ งกรรม

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 49 of 73

เรื่องอนตั ตา และเรื่องนพิ พาน ก็ดาํ เนนิ ไปอยา งผดิ ๆ เพราะจบั ฉวยผิด ถึงขนาดที่ไปควาเอาเรือ่ ง
กรรม เร่อื งอนตั ตา เรอ่ื งนิพพานของศาสนาอน่ื มาถือวา เปน กรรมเปน อนัตตาและนิพพานใน
พทุ ธศาสนา จนกระทั่งเกิดการทะเลาะววิ าทกนั เพราะเหตุนี้

แมใ นสวนท่ีเกยี่ วกบั พระไตรปฎกเอง กม็ คี วามยึดม่ันถอื มนั่ อยา งผดิ ๆ อยูหลายประการ
เชน ยดึ มนั่ ถอื ม่นั วา ทกุ ตวั อกั ษรที่เรียกวา พระไตรปฎ ก ไดออกมาจากพระโอษฐข องพระพทุ ธเจา
ทั้งน้ัน จะไปแตะตองดว ยการวพิ ากษว จิ ารณไื มไ ด บางพวกก็บชู าพระไตรปฎ กอยางวตั ถุ
ศักดิ์สทิ ธ์ิ บางพวกก็คดิ วาเพยี งแตซ อื้ หรือสรางพระไตรปฎ กขึน้ เทา นนั้ ก็พน ทกุ ขไดแ ลว บางคน
เปน ไปมากถงึ กับเอาพระไตรปฎกบางเลม มาใชเปน เครื่องมือเส่ียงทาย เสยี บไมเขา ไปในระหวา ง
ใบลานหรอื หนาหนงั สือนนั้ แลว เปด ดวู ามนั จะถูกเร่อื งดีหรือราย โดยถือเอาขอ ความใน
หนา กระดาษทีต่ นเอาไมเสยี บเขาไปนน่ั เองเปน หลกั และมีความเชือ่ มั่นอยา งแทจ รงิ วา เปนการ
ทาํ นายทถี่ กู ตอ ง นับวา เปนสลี พั พตปรามาส หรอื ความงมงายทีย่ งั ไมเ คยมมี ากอ น และไดเ กิดมี
ข้ึนเกยี่ วกบั พระคัมภรี  เขาไมท ราบวา พระพทุ ธเจา ไดต รสั ไวอ ยา งไรเก่ยี วกับเรอ่ื งนี้ ดงั ทตี่ รัสไวใน
กาลามสูตร หรือตรสั ไวในเรือ่ งมหาปเทศ สาํ หรบั วนิ ิจฉยั ขอ ความแทจ รงิ วา สงิ่ ทเี่ รยี กวา
พระไตรปฎ กมีความเปน มาอยา งไร น้เี ปน ตวั อยางแหง สลี พั พตปรามาสในสว นปรยิ ัติ ซงึ่ มอี ยู
อยา งมากมายจนเหลือท่จี ะนํามากลา วใหห มดสิ้นได

สําหรับสลี ัพพตปรามาสในสว นการปฏบิ ตั นิ น้ั ย่งิ มีทางเกดิ ขนึ้ ไดมากมาย เพราะคน
สวนมากเชือ่ งา ย และเตม็ ไปดว ยความกลวั ไมม ีสติปญ ญา หรอื ความรเู พียงพอทจี่ ะควบคมุ
ความเชอื่ และความกลัว จงึ ทาํ อะไรอยา งงมงาย หรอื ผลีผลามไปตามอาํ นาจของความเช่ือ และ
ความกลวั เหลา นน้ั ในลกั ษณะงา ยๆ และสะดวกๆ หรือถงึ กบั ใชค นอนื่ ทาํ แทนใหก ย็ ังมี เชน บาป
ของตวั เองกใ็ หคนอน่ื ชวยลา งให หรือเชอ่ื วา ความตายเปน ส่ิงทผ่ี ดั เพย้ี นกนั ไวกอ นได อายุเปน ส่ิง
ที่ตอกนั ไดดวยการทาํ พธิ ี และถือวา อะไรๆ ท่ีตัวกลวั หรอื เปน ทกุ ขอ ยนู ัน้ ยอ มแกไ ดห มดดวยพธิ ี
ตางๆ ในทางศาสนา นเี้ ปน ตัวอยา งความงมงายชนั้ ตาํ่ ทส่ี ดุ ซง่ึ มอี ยมู ากมายเหลือท่ีจะนํามา
กลาว

สวนทส่ี งู ขนึ้ มาจากนน้ั ก็หมายถงึ ความเขา ใจผดิ เกี่ยวกบั ความหมายของการทาํ บญุ ให
ทาน การบวช การบาํ เพ็ญศลี สมาธิ ปญญา ตลอดถงึ ปฏบิ ัติธรรมปลีกยอยอนื่ ๆ มคี วามเขาใจ
ผดิ ถึงกบั ทาํ ใหเ กดิ ผลตรงกนั ขามไปเสียทกุ อยา งทกุ ประการ ขอวตั รป ฏบิ ตั ติ า งๆ ทง้ั หมดนน้ั โดย
ที่แทแ ลว ยอ มเปนไปเพ่ือขูดเกลากิเลส เชน โลภโกรธหลงงมงาย ขจดั ความยดึ มัน่ ถอื มั่นวา เปน
"ตัวตน-ของตน" ฯลฯ แตก็กลบั ประพฤตปิ ฏบิ ตั ไิ ปในทางทสี่ งเสรมิ ความรูส กึ เปน "ตัวตน-ของตน"
ใหเ หนียวแนน ประณีตลึกซึ้งย่ิงข้ึน จนกลายเปนเรื่องของความศกั ดิส์ ทิ ธิ์ความขลงั ทจี่ ะดล

เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 50 of 73


Click to View FlipBook Version