บันดาลใหตนไดรับสง่ิ ท่ีตนตอ งการ ซึง่ ท่แี ทก ค็ อื กิเลสทเี่ ปน "ตัวตน-ของตน" นน่ั แหละ เปน ผู
ตองการ หาใชส ตปิ ญ ญาบรสิ ทุ ธ์ิเปน ผูตองการไม ฉะนั้น จึงเกิดมกี ารสอนใหท ําบุญใหทาน ดว ย
วิธีการแปลกๆ มงุ หมายแปลกๆ และเปน ภยั แกเ ศรษฐกจิ สังคม หรอื ศาสนาเองในท่สี ดุ
สําหรบั การรักษาศลี กม็ กี ารรกั ษาศีลดวยการคดิ วา จะทาํ ตนใหเ กดิ ความขลังความ
ศักดสิ์ ทิ ธิ์ หรือเปนการรับประกันอะไรบางอยางในกาลอนาคต แทนท่จี ะเปนการกาํ จดั กเิ ลสท่ี
เปนเหตใุ หตามใจตวั เอง คร้ันไปถึงขนั้ การทําสมาธิและวปิ สสนาก็ยง่ิ เขวออกนอกทางมากขึ้น
เพราะเปน เรอ่ื งอาํ นาจทางจติ และมชี อ งทางทีจ่ ะทําใหป ระหลาดมหศั จรรย โนมเอยี งไปตาม
ความตองการอันไมเปน ธรรมะ ดงั นน้ั จงึ เกดิ มกี ารกระทาํ ท่ีเรยี กวา วปิ ส สนาการคา วิปสสนา
อยากดงั ในลกั ษณะแปลกๆ อยา งมากมาย ซึง่ ลว นแตไมเ ปนไปเพอ่ื การกําจดั กิเลส แตเปนไป
เพือ่ อทิ ธปิ าฏหิ าริย หรือเปน เครื่องมือหาลาภสกั การะสรรเสรญิ ไปเสยี โดยอํานาจแหง "ตัวตน-
ของตน" เขามาครอบงําและลากจงู ไปนัน่ เอง เมอ่ื สง่ิ เหลา นน้ั ดําเนนิ ไปผิด ความมุง หมายของสง่ิ
ท่ีเรยี กวามรรคผลและนพิ พานของผนู นั้ กเ็ ลยผดิ ตามไปดวย จนกระทงั่ กลายเปน มจิ ฉาทฏิ ฐิ
อยางสมบูรณใ นที่สดุ นเ้ี รยี กวา สลี พั พตปรามาสท่ีเกย่ี วกับการปฏิบัติธรรม กลายเปน เนือ้ รา ย
เนอ้ื งอก ท่ีเพงิ่ งอกออกมาใหมๆ บนตัวพทุ ธศาสนาสําหรบั ทําลายพทุ ธศาสนาเอง ทง้ั นก้ี ม็ ีมลู มา
จากความยดึ มัน่ ถอื มนั่ ใน "ตวั ตน-ของตน" ดว ยกนั ทง้ั นนั้
อาการท่ีเขาใจสงิ่ ใดผิด แลวนําไปใชอ ยา งผดิ ความมงุ หมายทแี่ ทจ ริง ยอมเรียกไดว า เปน
สลี ัพพตปรามาสทง้ั นน้ั เชน วิชาความรทู างธรรม อนั ควรจะถกู นาํ ไปใชเ ปนเคร่ืองอํานวยสนั ติสุข
แกส ังคม แตกลับถูกนาํ ไปใชเ ปนเครือ่ งทํามาหากนิ จนทาํ ความเดือดรอ น หรอื ความทุกขใ หเกิด
แกสงั คม อยา งนกี้ ็เรียกวาเปน สีลพั พตปรามาสได เพราะอํานาจแหง ความรูสึกที่เปน "ตัวตน-
ของตน" ครอบงําจิตใจบุคคลเหลานน้ั จนมีความเห็นแกต วั จัด สิ่งทสี่ ะอาด หรือเปน
คุณประโยชนก ก็ ลบั กลายเปน ของสกปรก หรอื กลายเปน ทกุ ขเปนโทษแกสงั คม มนษุ ยท ั่วไปจงึ
ตอ งรับบาปอนั นี้ ฉะนั้น การลด "อตั ตา" ลงไปไดเ ทา ใด กย็ อ มทาํ ใหสลี ัพพตปรามาสของมนุษย
ไมว า แขนงไหนหมด ลดนอยลงไปเพยี งนนั้ แลว มนุษยก จ็ ะเลอื่ นจากภูมิของปุถชุ นข้ึนสภู ูมขิ อง
อารยชน คอื เปน พระอรยิ เจา ซง่ึ ลด "ตัวตน-ของตน" ไดในอนั ดบั ท่นี า พอใจอันดับหนง่ึ คือทา น
กําหนดไวว า ผทู ล่ี ะสักกายทฏิ ฐิ วิจิกิจฉา และสีลพั พตปรามาส เสยี ไดน น้ั เปน ผทู ่ีถึงกระแสแหง
พระนพิ พาน ซงึ่ เรยี กวา พระโสดาบัน นนั่ เอง
ถา "อตั ตา" ดับไปโดยสิน้ เชงิ บุคคลนน้ั ยอ มถึงความเปน พระอรหันต ดงั นนั้ ในกรณีแหงพระ
โสดาบนั น้ี ยอมหมายความวา ความดบั ไปแหง "อัตตา" เปนเพยี งบางสว น "โสตาปนนฺ " แยกศัพท
เปน "โสต" กับ "อาปนนฺ " โสต แปลวา กระแส อาปนนฺ แปลวา ทว่ั ถึง สงิ่ ทเ่ี รียกวา กระแสในท่ีน้ี
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 51 of 73
หมายถงึ ทางทีไ่ ปสนู พิ พาน ถาเรยี กอกี อยา งหนงึ่ กค็ อื อรยิ มรรคมีองคแ ปด ซ่งึ มีองคส าํ คญั อยูท่ี
ความรอู นั ถูกตองหรือสมั มาทฏิ ฐิ ทท่ี ําใหร จู ักส่ิงทง้ั หลายทง้ั ปวงตามทเ่ี ปนจรงิ วาไมม อี ะไรทค่ี วร
ยึดมนั่ ถอื ม่ันวา เปน "ตวั ตน" หรอื "ของตน" นน่ั เอง
พระโสดาบนั นนั้ เปน ผูครองเรือนกม็ ี เปนนักบวชกม็ ี แลวอะไรเลาทที่ าํ ใหค น ๒ พวกนี้
เขาถึงกระแสนิพพานโดยเสมอกัน คําตอบกค็ ือการละเสยี ไดซ่ึงสังโยชน ๓ ประการดงั กลาวว
แลวนน่ั เอง การละสังโยชนทงั้ ๓ ประการนนั้ เปน ส่งิ ซึ่งมีไดกอนท่จี ะละกามโดยสน้ิ เชงิ คือ
ฆราวาส ทง้ั ๆ ทีย่ งั เกี่ยวขอ งกับกามอยูกย็ งั สามารถละสงั โยชนท ง้ั ๓ นน้ั ได แตทง้ั นีต้ อ งไมเ ปน ผู
หมกมนุ หรือมวั เมาในกามอยางมาก
มนั เปน ท่แี นน อนวา พระโสดาบนั จะตองมโี ลภะโทสะโมหะ หรือราคะโกธะโมหะเบาบาง
กวาคนสามญั เปนธรรมดา แตมไิ ดหมายความวา เปน ผหู มดราคะโทสะโมหะโดยสน้ิ เชิง ฉะนน้ั
เปนอันถือไดวา การละราคะโทสะโมหะเพยี งบางสวนนน้ั เปนสง่ิ ทฆี่ ราวาสมีได เปน ได เพราะ
สงั โยชนทง้ั ๓ หมดสนิ้ ไป (สงั โยชน ทั้ง ๓ ประการนก้ี ็คือ ราคะโทสะโมหะในรปู ลกั ษณะหนง่ึ ๆ)
และสงั โยชนช นดิ ไหนก็ตาม ยอมเปนความรสู กึ ทเ่ี ปน "ตัวตน-ของตน" อยูด ว ยกนั ทงั้ น้นั เพยี งแต
เราไปกลา วกนั ไวใ นช่ืออกี อยางหนึ่ง ความรสู ึกท่เี ปน "อตั ตา" ทร่ี วบรดั เอาส่ิงใดส่ิงหน่ึงเขา มาหา
ตวั เพราะความอยากไดนนั้ คอื ราคะหรือโลภะ ความรูส กึ ท่เี ปน "อตั ตา" ทีผ่ ลักดนั สง่ิ ใดออกไป
เพราะความเกลยี ดนนั้ กค็ ือ โทสะ สว นความรูส กึ เปน "อัตตา" ทว่ี นเวยี นพวั พนั อยูร อบๆ สง่ิ ทตี่ วั
สงสยั ไมเขา ใจน้ัน ก็คือโมหะ อาการของราคะโทสะโมหะ จึงเปน อาการของ "อัตตา" อยดู วยกนั
ทง้ั นั้น เมอื่ พระโสดาบันไมอ ยูในฐานะทจ่ี ะละกิเลสไดโดยสิน้ เชงิ ซึง่ หมายถงึ การลถุ งึ นพิ พาน
โดยสมบรู ณ พระโสดาบนั จงึ ละไดแ ตเ พียง ในลกั ษณะของผูที่กาํ ลังเดินอยใู นหนทางอันถกู ตอ ง
และจะลถุ ึงนพิ พานโดยแนน อน และในระยะกาลอนั ใกลเทาน้นั เอง
สงั โยชนท ง้ั ๓ ประการนมี้ อี ยอู ยางหนาแนน ในปถุ ชุ น (ซง่ึ แปลวา "คนหนา") คนชนดิ นี้จึงไม
อาจจะเขาใจพระอรยิ เจา พระอริยเจา ก็ไมพ อใจความเปน อยขู องคนชนิดน้ี เพราะทา นมีความ
หนาลดนอยลงจนมองเหน็ สง่ิ ตางๆ ถูกตอ งตามทเ่ี ปน จรงิ แลว ก็ไปดาํ รงตนอยใู นสภาพท่ีกลา ว
ไดว า พน อนั ตราย พน จากการเสียหาย เชนไมตกอบายโดยแนนอน เสน ขีดแบง ปน กนั ระหวา งคน
๒ พวกน้กี ็คือ การละสังโยชน ๓ ประการ และเมอ่ื ละสังโยชน ๓ ประการนั้นไดแลว จึงเรียกวา
เดนิ อยูในทางหรอื ถึงแลว ซ่งึ กระแสของนพิ พาน และไดน ามใหมว า อรยิ ชน ซงึ่ ตามตวั พยญั ชนะ
แปลวา ผไู ปแลวจากขา ศึกคอื กิเลส (อร=ิ ขา ศึก + ยะ = ไป) พระโสดาบนั ยงั ไดน ามวา "จกั ขมุ า"
คอื ผมู ดี วงตาเปน ธรรม เมอื่ พระโสดาบนั ไดนามวา เปน ผมู ีตาเปน พวกแรกดงั นี้แลว พระอริยเจา
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 52 of 73
ในอันดับทสี่ งู ข้นึ ไปกต็ องเปน ผมู ีตาเหน็ ธรรมมากขน้ึ โดยแนนอน และสิ่งทท่ี ําใหต าบอดหรือมี
อาการเหมือนกบั ไมมีตาน้นั ก็คอื ส่งิ ที่เรยี กวา "ตวั เรา-ของเรา"
การลดไปแหง "อัตตา" นนั้ มตี ้งั แตข นั้ ต่าํ แลวคอ ยๆ สงู มากขนึ้ ไปตามลาํ ดับ แตด ับ "อตั ตา"
ไดม ากขึ้นเทาไรกย็ ่ิงหา งจากโลกียวสิ ัย กลายเปน โลกุตตรวสิ ัยมากย่ิงข้นึ เพยี งน้ัน และโลกุตต
รวสิ ยั อันดบั แรกกค็ ือความเปน พระโสดาบนั นน่ั เอง แมวาพระโสดาบันจะยังไมอยูเ หนือวิสัย
ชาวโลกโดยสน้ิ เชิง กย็ งั กลา วไดว าอยูเ หนอื ชาวโลก และจักอยูเหนอื วสิ ัยชาวโลกโดยสน้ิ เชงิ
อยางที่จะเปน อน่ื ไปไมไดในกาลอนาคต เราเรียกระดบั จติ ใจของพระอริยเจา ทง้ั หมด (นับตงั้ แต
พระโสดาบนั ขนึ้ ไปถงึ พระอรหันต) วาตงั้ อยูใ นโลกตุ ตรภูมิ หรือเปน โลกุตตรวิสยั มคี วามหมาย
สําคญั อยทู วี่ า จะไมตกตํ่าอยภู ายใตความยาํ่ ยขี องอารมณใ นโลก เพราะความรูเทา ทนั โลก จน
อารมณทัง้ ปวงไมทาํ ใหเกดิ "ตวั ตน-ของตน" หรือเกิดขน้ึ ไดนอยที่สุดในพระอริยเจาขนั้ ตน ๆ และ
รับรองวาไมเกดิ เตม็ ท่อี ยา งปถุ ชุ น
แมว าพระอรยิ เจาขัน้ ตน ๆ จะยงั คงมคี วามทุกขอ ยบู า ง เพราะการดับ "อัตตา" ยงั ไมห มดสิ้น
แตก ย็ ังเปน ความทกุ ขท แี่ ตกตางกบั ปถุ ชุ น คอื เปนความทกุ ขข องบคุ คลผูรเู ทา ทัน หรือมี
สตปิ ญ ญาเขา ใจแจม แจง ในเร่ืองของความทกุ ข เหตใุ หเ กดิ ทกุ ข ความดบั ไมเหลือแหง ทุกข และ
หนทางทจ่ี ะดบั ไมเ หลือแหง ความทกุ ข ซึ่งปถุ ชุ นไมประสปี ระสาตอสิง่ เหลา นีเ้ ลย จึงจมอยูใน
ความทกุ ขอยา งหลับหหู ลบั ตา สวนพระอริยเจาชนั้ สงู สดุ คือข้นั พระอรหันตนนั้ ยอมถงึ ทสี่ ดุ แหง
ทกุ ขโ ดยสนิ้ เชงิ เพราะความดบั ไปโดยส้นิ เชงิ แหง "อัตตา"
ยงั มสี งั โยชนเหลอื อีก ๗ ประการ ซ่งึ พระอริยเจาชนั้ สูงจะตอ งละ พระอริยเจา ขนั้ ตอ ไปจาก
พระโสดาบนั กลา วคอื พระสกิทาคามี นน้ั ยังไมอ าจจะดบั สังโยชน ๗ ประการท่เี หลือได
เพียงแตวา นอกจากจะละสงั โยชน ๓ ประการทเี่ คยละมาในชน้ั ของพระโสดาบันแลว กย็ งั
สามารถดบั "อตั ตา" ทีม่ ีอยใู นรปู ของโลภะโทสะโมหะอน่ื ๆ ใหเบาบางลงไดม ากไปกวาพระ
โสดาบันเทานน้ั
คําวา สกิทาคามี แปลวา ผมู าเพยี งครั้งเดียว (สกึ = ครงั้ เดยี ว + อาคามี = ผูมา) คาํ วา "มา
เพยี งคร้งั เดียว" นน้ั หมายความวา การยอ นมาหาสงิ่ ซงึ่ เปนท่ีตง้ั แหง ความอาลัยอาวรณเ พยี งอกี
คร้ังเดียว นห้ี มายถงึ ภาวะ(ภพ) หรือความเปนอยทู ีม่ กี าม หรือพดู โดยเจาะจงกค็ ือ กาม น่ันเอง
ที่คนอาลยั อยา งยงิ่ สว นพระโสดาบนั ยงั คงเกี่ยวขอ งกบั กามอยู ในลกั ษณะดว ยสตปิ ญญาของ
พระอริยเจา พระสกทิ าคามีไปไดไกลกวานน้ั คอื เหินหา งออกไปจากกามแลว แตยงั มอี าลัย
อาวรณเหลยี วกลับมาดูอีกครัง้ หนง่ึ เปน อยา งนอย กอ นทจ่ี ะเลื่อนชนั้ ขน้ึ ไป
เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 53 of 73
สว นพระโสดาบนั ทีเ่ ปนบรรพชติ นนั้ ตอ งเวนจากการเกยี่ วขอ งกบั กาม เพราะการบงั คบั ของ
วินยั แตเนอื้ แทแหง จติ ใจของทา น ก็ยงั พอใจในกามตามภมู ิตามชนั้ ของพระโสดาบนั หาไดสงู
หรือมากไปกวา พระโสดาบนั ท่ีเปนฆราวาสไม หากแตไ มเกยี่ วของกบั วตั ถุกาม กเ็ พราะวนิ ยั
บังคบั เทา นน้ั หาใชโดยเนอ้ื แทข องจติ ใจไม ฉะนัน้ จงึ กลาวไดว า จิตใจแหง พระโสดาบันยอมอยู
ในระดบั เดียวกัน ไมวา จะเปน ผูครองเรือนหรือบรรพชติ ในเม่ือกลา วโดยหลกั ใหญของการละ
สังโยชน หรือความหมายอนั แทจ ริงของคาํ วา โสดาบนั
โดยปกตนิ น้ั ความเปน โสดาบันไมไดบบี ใหบ คุ คลนนั้ ๆ ละจากบา นเรือนไปสคู วามเปน
บรรพชิต สว นความเปน พระสกิทาคามนี ้นั มีความผลกั ดันใหไ ปสคู วามเปน บรรพชติ มากขึ้นเปน
ธรรมดา ความหางไกลจาก "ตวั ตน-ของตน" ของพระสกทิ าคามี จงึ เบาบางกวา ของพระโสดาบนั
อยา งทีเ่ หน็ ไดช ัด
ความประเสรฐิ แหง บคุ คล ยอ มขึน้ อยูทคี่ วามดับไปแหง "อัตตา" ไดมากนอ ยเพยี งไร ดับ
"ตัวตน" ไดมากขึ้นเทา ไร ความเปน พระอรยิ บคุ คลก็มีมากข้นึ เทานน้ั พระอรยิ บคุ คลลาํ ดับถดั ไป
ก็คอื พระอนาคามี ซงึ่ จะตองละสงั โยชนอกี ๒ ประการ คอื กามราคะ และ ปฏิฆะ ซ่งึ หมายถึง
ความรูส กึ ท่เี ปน "ตวั ตน-ของตน" ทเ่ี กดิ อยูในรูปของความพอใจในกาม และความพลงุ ข้นึ มาเปน
ความขดั ใจ หรอื หงดุ หงดิ ใจไมถงึ กบั โกรธ อนั เปน สงิ่ ท่ลี ะไดย าก จนถงึ กบั พระอรยิ บคุ คล ๒
ประเภทขางตน ๆ ไมสามารถจะละได แตก ็มไิ ดห มายความวา ทานท้งั ๒ นน้ั เปน ผมู วั เมาหนาไป
ดวยกเิ ลส ๒ ชอื่ นี้ ดังที่ปถุ ชุ นธรรมดาเปนกนั อยู พระอนาคามีจงึ อยเู หนอื ความยนิ ดใี นกาม และ
ยงั โกรธไมเ ปนอกี ดวย ฉะนน้ั "อตั ตา" จงึ ไมพลงุ ขึน้ มาในรูปของความพอใจในกาม หรอื ความขัด
เคอื งแมแ ตป ระการใด
คําวา อนาคามี แปลวา ผูไมม า (อน=ไม + อาคาม=ี ผมู า) พระสกทิ าคามี ยงั มคี วามอาลยั
อาวรณย อ นหลังมาสกู ามอกี ครง้ั หนึ่ง สว นอนาคามนี ้นั ไมม ีความอาลยั อาวรณเ หลอื อยใู นกาม
ไมพ ะวงหวนกลับมาระลกึ ถงึ กามของนา รกั นาใคร จึงทาํ ใหไ ดชอ่ื วาผไู มก ลับมาอีก แมว าทานจะ
ละราคะและความโกรธไดโ ดยสนิ้ เชงิ แตโ มหะบางชนดิ ยังเหลืออยู ซึง่ เปน ชัน้ ทล่ี ะเอยี ดประณีต
อยางย่งิ อนั จะตอ งละ จึงกลา วไดว า แมว า "ตวั ตน"ในรูปของกามราคะและปฏฆิ ะจะไมมที าง
เกิดข้ึนอกี ตอไปแลว แตกย็ งั มี "ตัวตน"ประเภทท่ลี ะเอยี ดไปกวา นน้ั เหลอื อยสู าํ หรบั ใหละตอ ไป
มสี ิ่งท่คี วรพจิ ารณาขอหนง่ึ กค็ ือวา การทลี่ ะกามราคะเสียได หรอื เปน ผอู ยเู หนอื อํานาจของ
ส่ิงทน่ี า รักนาใครน้นั จะเปนบคุ คลทีป่ ระเสริฐไดอยางไรและเพียงไหน คนธรรมดาสามญั หรือ
ปุถุชนทัว่ ๆ ไป อาจจะเหน็ ไปวาไมประเสริฐอะไร และ ความประเสริฐนน้ั ควรจะเปน ความ
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 54 of 73
เพียบพรอมไปดวยกามตางหาก ถาใครยงั มคี วามเหน็ ดงั นี้ กย็ อ มไมมที างที่จะเขา ใจพทุ ธศาสนา
ไดว า เปน ส่ิงทคี่ วรศึกษา หรอื เปนทพ่ี ่ึงแกม นุษยได ตอ เมอื่ เขาผูนนั้ บรโิ ภคกาม พรอ มๆ กับการท่ี
ถูกกามนน้ั ขบกัดจนกระทัง่ มองเหน็ พิษของกามนน้ั ไดเนอื งๆ เขาจึงจะรูสึกขึน้ มาไดด ว ยตนเอง
วา กามนนั้ ประกอบไปดว ยทกุ ขและโทษ หากแตว า มนั เปน ไปอยา งซอ นเรนปด บงั ยากทจี่ ะเหน็
ไดง า ยๆ มนั แผดเผาอยตู ลอดเวลาในลกั ษณะของความเพลดิ เพลนิ เมอื่ เปน ดงั น้ี เขากเ็ ร่ิมสนใจ
ในธรรม เพื่อขจดั อาํ นาจของกาม ใหเ ปน ผอู ยูเหนอื กาม แลว บริโภคกามน้ันอยู โดยความหมาย
ทไ่ี มเปนกาม คือไมกอทกุ ขห รอื โทษแตประการใดเลย
กามนัน้ เปน เหมอื นกับเหยอื่ หรือสนิ จาง ทธี่ รรมชาติใชล อสัตวทั้งหลายใหสบื พนั ธุ ตาม
ความมงุ หมายของธรรมชาติ แตการสบื พนั ธุเปน งานหนกั หรอื งานเจ็บปวด ทนทุกขท รมาน จงึ
ตอ งมีสิง่ ใดส่งิ หนง่ึ มาปด บงั พรางตาเอาไว ไมใหสัตวเ หลา นนั้ มคี วามรสู ึกวาเปนการทนทกุ ข
ทรมาน บางครั้งแมจะมองเหน็ แตก ย็ งั กลา ทีจ่ ะรับเหยอ่ื หรอื สนิ จา งนนั้ มาเปน เครอื่ งชดเชย
กัน และเหยอ่ื หรอื สินจางอนั นีก้ ค็ ือ สงิ่ ท่เี รยี กวา "กาม" นน่ั เอง ฉะนนั้ ลองพจิ ารณาดเู ถดิ วา การ
ตอ งตกเปน ลกู จางชนดิ นกี้ ับการไมตกเปน ลกู จา งชนดิ นี้ อันไหนจะประเสรฐิ กวากนั และบุคคล
ชนิดไหนควรจะไดนามวา เปน อรยิ ะ ผปู ระเสริฐอยางแทจ รงิ และหลกั แหง ความเปน พระอรยิ เจา
ในพระพทุ ธศาสนานนั้ เปน ส่งิ ทโี่ งเงางมงายหรือหาไม
ปฏิฆะ (ความขดั ใจ) กม็ ีมลู อนั ลกึ ซงึ้ มาจากกาม ฉะน้ันถา ละกามราคะเสียได ก็ยอ มเปน
การตดั ตนตอของปฏฆิ ะไปในตัว สาํ หรับคนธรรมดาสามญั น้นั อะไรๆ กร็ วมอยทู ี่กาม ขดั ใจ
เพราะเจ็บไขไดปวย หรอื กลวั ตายก็มีมลู มาจากกาม เพราะเขาอยากมชี วี ติ อยูเพอื่ กาม ไมอ ยาก
เจบ็ ไขก ็เพ่ือกาม ถาตัดความรูสึกในเร่อื งกามได ปฏฆิ ะความขดั เคอื งในเรือ่ งความเจ็บไขและ
ความตาย กจ็ ะลดตามไปดว ย ดงั นน้ั พระอนาคามี จะมคี วามประเสรฐิ มากนอ ยเพยี งไร กเ็ ปน
สง่ิ ที่อาจจะรูไดจ ากคณุ คา แหง ความดบั ไปของ "อตั ตา" ที่อยูใ นรูปของกามราคะและปฏิฆะ
ดังกลา วน้ี
คร้นั มาถงึ พระอรหนั ต ก็จะตองละ "ตวั ตน" อนั อยูใ นรปู ของ รปู ราคะและอรูปราคะ กบั
ตอ งละ มานะ อทุ ธจั จะ และอวิชชา ซง่ึ เปน โมหะอยา งละเอยี ดดว ยกนั ทงั้ นน้ั และสาํ หรบั
อวิชชานัน้ ยงั แถมอยูในฐานะที่เปน ตน ตอหรือแมบ ท หรอื ประธานของบรรดากิเลสทั้งหลายทกุ ๆ
อยางดว ย พระโสดาบนั และพระสกทิ าคามี เริม่ ละกเิ ลสประเภทโมหะ พระอนาคามลี ะกิเลส
ประเภทราคะและโทสะ สวนพระอรหนั ตน ั้นละกเิ ลสประเภทราคะทเ่ี หลืออยู และประเภทโมหะ
ทเ่ี หลืออยูโดยสิ้นเชิง เม่อื มองดูใหตลอดแนวแหง การละกเิ ลสของพระอรยิ เจาทง้ั ๔ ประเภทแลว
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 55 of 73
เราจะพบวากเิ ลสประเภทโมหะจะตองถูกละกอน แลว จงึ จะมาถงึ กเิ ลสประเภทราคะโทสะ แลว
ถงึ กิเลสประเภทราคะและโมหะทีเ่ หลือ คอื เปนการเริ่มตนดวยปญญาหรือสัมมาทฏิ ฐิ
ฉะนน้ั การที่จะทําอะไรๆ โดยใชป ญ ญานาํ หนาน้ี จะตอ งถือวา เปน ลักษณะเฉพาะของพทุ ธ
บริษัท การท่คี นเราจะดาํ เนนิ กจิ การงานอะไรๆ ใหเ ปน เรอื่ งเปนราวนนั้ จะตองลงมอื ดว ยปญ ญา
ประเภททที่ ําใหร ูจักทิศทางอยา งกวา งๆ เสยี กอ น ใหร แู นวทางท่ตี นจะตอ งดําเนนิ อยา งประจกั ษ
ชดั เสียกอ นทจ่ี ะลงมอื ทําไป ส่ิงทีก่ ระทํานนั้ จึงจะสะดวกและประสบความสาํ เร็จไดใ นทสี่ ุด ขอ นี้
ทําใหมองเหน็ ไดตอ ไปวา เปน การเหมาะสมแลว ท่พี ทุ ธศาสนาน้ไี ดช ื่อวาเปน ศาสนาแหง ปญ ญา
เพราะเปน ศาสนาท่ปี ระกอบดวยเหตุผลตั้งแตต นจนปลาย
สังโยชนอ ีก ๕ ชื่อ ซึง่ พระอรหันตจ ะตองละนนั้ ไดแ ก รูปราคะ และอรปู ราคะ ราคะ ๒ อยา ง
น้ไี มไดเ กยี่ วกบั กาม เปนเพยี งความพอใจในรสของความสงบสุขท่ีเกิดมาจากการเพง รปู และ
การเพง่ิ สงิ่ ทไี่ มม รี ปู เปน ธรรมดาอยูเองทส่ี ขุ เวทนาอนั ประณตี กย็ อ มเปนทต่ี งั้ แหง ความยึดถอื ขนั้
ประณตี ดังนนั้ จึงเปน สง่ิ ทล่ี ะไดยาก ดงั คาํ กลา วในรูปของปคุ คลาธิษฐานทว่ี า อายขุ องพวก
พรหมโลกนน้ั ยนื ยาวเปนกปั ปๆ ทเี ดยี ว ขอ นี้หมายความวา ความพอใจในรูปราคะและอรปู ราคะ
หรือความทไี่ ดเ ปนพรหมนั้น มีกําลงั เหนยี วแนน และลกึ ซง้ึ มาก ยากที่จะถอนออกไดงา ยๆ เม่ือ
เทียบสว นกนั กับความพอใจในกามราคะท่วั ๆ ไปของมนษุ ย กลา วใหส ั้นท่ีสดุ ก็วา สขุ เวทนาที่
เกดิ มาจากความสงบของจติ และอาํ นาจของสมาธนิ น้ั มีรสชาติย่ิงไปกวา สุขเวทนาที่เกดิ มาจาก
กาม อยางทจ่ี ะเปรยี บกนั ไมไ ดท เี ดียว
ทีน้ี ก็มาถงึ สังโยชนท ี่มชี ื่อวา มานะ คือความรสู ึกยึดถอื "ตวั ตน" โดยไปเปรยี บเทยี บกับ
ผอู ื่นวา ตัวดีกวา เขา ตัวเสมอกนั กบั เขา หรอื ตัวเลวกวาเขา แลวกม็ คี วามลงิ โลดหลงระเรงิ บาง
มีความเศราหรือหดหูบาง เหมอื นทกี่ ลา วไวอยางปุคคลาธิษฐานวา พวกพรหมไมเ กย่ี วของกบั
กามและโกรธไมเปน แตม ัวเมาหรือทะนงในภาวะของตัววา เปน ผูบ รสิ ทุ ธ์ิจากกามและความ
โกรธ ทํานองจะอวดผูอืน่ วา เปนผทู ส่ี งู กวาบรสิ ุทธกิ์ วามคี วามสงบสุขกวาคนทงั้ ปวง แลว กช็ อบ
มาทา ทายลองภมู พิ ระพทุ ธเจา ดว ยการตงั้ คําถามอยา งนนั้ อยา งน้ี ในทํานองทีเ่ ปน การแขง ดี หา
ใชทลู ถามเพราะความไมร ูจรงิ ๆ อยา งสามญั ชนทว่ั ๆ ไปไม นีแ่ หละคอื ตัวอยางของสงิ่ ทเี่ รยี กวา
มานะ
สังโยชนถดั ไปทีเ่ รยี กวา อทุ ธจั จะ อยา ไปปนกบั อทุ ธัจจะท่ีเปน ชอื่ ของนิวรณในบรรดา
นิวรณ ๕ ประการ ซง่ึ เปน ขาศึกของสมาธิ เพราะอทุ ธัจจะท่ีเปน สงั โยชนน ี้ ถงึ จะเปน กเิ ลสช่ือ
เดียวกนั และมคี วามหมายคลา ยกนั แตวา เปน ชนั้ ทป่ี ระณตี ละเอียด จนถงึ กับมาตั้งอยใู นฐานะ
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 56 of 73
เปนขาศึกของปญ ญา ฉะน้ันจึงไมไ ดห มายถงึ ความฟุงซา นดว ยอํานาจอารมณรบกวน หรอื
กเิ ลสกลมุ รุมอยางชนิดท่เี ปน นิวรณเลย แตวาเปน ความรสู กึ อยางหน่งึ ซง่ึ เม่อื เกิดขนึ้ แลว จะทํา
ใหจ ิตกระเพอ่ื มหวน่ั ไหวไปดวยอาํ นาจของความทง่ึ หรือความสงสยั ตอ สิ่งตา งๆ ทมี่ ากระทบ
เชน อยากรวู า มันเปน อะไร มนั จะเปนไปไดไ หม หรอื จะใชเปน ประโยชนอะไรแกต น แมท ส่ี ดุ แต
ความอยากรอู ยากเหน็ กน็ ับวา เปน อทุ ธจั จะในทนี่ ี้ ตอเมอ่ื หมดความรสู กึ วา มี "ตวั ตน" โดย
แทจ รงิ เทา นนั้ จติ จึงจะเฉยไดหรือไมกระเพ่ือมเลยตอเหตกุ ารณตางๆ
เมอื่ ละอทุ ธจั จะได กย็ อมหมายความวา มจี ิตใจอยเู หนอื ความหวนั่ ไหวตอส่ิงทัง้ ปวงโดย
ส้ินเชงิ พระอรยิ เจา ขั้นตน ๆ ยงั มตี วั ตนเหลอื อยูม ากพอทจี่ ะแสวงสง่ิ ซึง่ เปน ประโยชนแกต ัว และ
เกลียดกลวั อนั ตรายท่จี ะมมี าแกตัว พระอรหนั ตเ ทานนั้ ละความรสู ึกเหลานไ้ี ดโ ดยเดด็ ขาด
เพราะหมดความรูส ึกวา มตี วั ตนโดยเดด็ ขาด เมอ่ื ความรสู กึ วา มีตัวตนถูกละขาดไปแลว
ความรูส กึ วา "ของตน" กไ็ มม ีที่ตงั้ อาศยั จงึ พลอยถกู ละขาดไปดว ยในตวั ฉะน้นั สง่ิ ท่เี รียกวา
"อหงั การกบั มมงั การ" จงึ เปน สง่ิ ทีเ่ กดิ ดวยกันดับดว ยกันโดยอัตโนมัติ เมือ่ "ตัวตน-ของตน" ถกู ละ
ขาดแลว อาการแหงอทุ ธจั จะจงึ ไมอาจจะมีได
ทีนี้ กม็ าถงึ สงั โยชนข อสดุ ทา ย คอื อวชิ ชา ซึง่ จะตองละกอ นทจ่ี ะเปนพระอรหนั ต เพราะ
เปน กิเลสประเภทโมหะท่ีเหลอื อยรู ้งั ทา ยสุด เปน รากเงา หรอื ตน ตอของกเิ ลสอื่นๆ และของ
ความรสู ึกวา มี "ตวั ตน-ของตน" เมื่อละอวิชชาไดแลว ก็จะเกดิ วชิ ชาซง่ึ หมายถงึ การรจู กั ทุกสง่ิ ทุก
อยางท่คี วรจะรู คอื รูทกุ ขท ง้ั ปวง รมู ลู เหตุใหเ กิดทกุ ขทง้ั ปวง รคู วามดบั สนิทแหง ทกุ ขทัง้ ปวง และ
รูวิธีที่จะดับทกุ ขท ั้งปวง เปน ความรชู นดิ ที่แจงประจกั ษด ว ยใจของตนเอง เชน ไดเ ผชิญมาดวย
ตนเอง ไมใชรูเ พราะไดยนิ ไดฟง หรอื รูเพราะการคดิ คาํ นวณตามเหตผุ ล
นกั ปฏิบตั คิ วรจะสังเกตใหด ๆี วา ความรมู อี ยูตางกนั เปน ๓ ชนั้ คอื ๑. รูตามที่ไดย นิ ไดฟง
(เรียกวา รูอ ยา งปรยิ ัต)ิ ๒. รูอ ยา งเจนจดั ดว ยใจจากการปฏบิ ัติ ๓. ครน้ั ตอ มาเหน็ ผลเกิดขึ้นจาก
การทล่ี ะกิเลสไดส ําเร็จ จงึ รจู กั ความมีขึ้นแหง กเิ ลสและความสน้ิ ไปแหงกิเลสจากใจตนเองลว นๆ
(รูอ ยา งปฏเิ วธ) เปน ความรแู จงแทงตลอด วิชชาหรือการรอู รยิ สัจ มงุ หมายอยา งน้ี
สาํ หรบั คําวา อรหันตนนั้ เปน คาํ ท่ีมใี ชอยกู อ นพทุ ธกาลใชเ รียกบคุ คล ทีล่ ุถงึ ข้นั สูงสดุ แหง
การปฏิบัติตามลทั ธนิ น้ั ๆ ฉะนั้นใครๆ กเ็ รียกศาสดา หรือผูปฏิบตั ถิ ึงทส่ี ดุ ตามลัทธขิ องตนวา เปน
พระอรหนั ต กระทั่งถึงยุคพุทธกาลก็ไดใ ชค ําวา อรหนั ตใ นทกุ ๆ ลัทธิดวยกนั ทง้ั นน้ั พระราชา
ครองนครจะยอมรับวา หวั หนาทุกลทั ธเิ ปน พระอรหนั ต จะเพอื่ ประโยชนท างการเมอื งหรอื เพอื่
อะไรก็ตาม พระราชายอมปฏิบัติตอพระอรหันตเหลา น้นั อยา งเสมอกนั ทเี ดียว แมพวกท่บี าํ เพ็ญ
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 57 of 73
ทกุ รกิรยิ าถงึ ขนาดสูงสดุ ก็ไดน ามวา พระอรหันต พวกทีเ่ ปลือยกาย(ซึง่ มคี วามหมายวา ไมมีความ
ยดึ ถอื หรือไมมที รัพยส มบตั อิ ะไรเลย) ก็ไดนามวา พระอรหนั ต พวกทมี่ วี ตั รปฏิบตั แิ ปลกๆ อยาง
เขา ใจไมได ก็ไดน ามวาพระอรหนั ต ย่ิงในหมชู นท่ีดอ ยการศกึ ษาดว ยแลว ยง่ิ มพี ระอรหนั ตม าก
ชนิดและแปลกออกไปอยา งท่ีไมน า จะเปน ได อยางเชนในเมอื งไทย ก็ยังชอบยกยองคนขลงั ๆ
หรอื นักหลอกลวง วาเปน อาจารยในทางนน้ั ทางน้ี แมคนที่ไมมกี ารศกึ ษาขนาดบาๆ บอๆ กย็ งั
ถกู เรยี กวาเปน อาจารย คําวา อรหนั ต จงึ มคี วามหมายแตเพียงวา เปน ผปู ฏบิ ัตสิ าํ เรจ็ ชนั้ สูงสดุ
ของลัทธิของเขาเทา นนั้ สําหรับพทุ ธศาสนานัน้ ถอื เอาความทีก่ ิเลสหรอื สังโยชน (เครือ่ งผกู พนั ให
เกดิ กิเลส) ไดส้นิ ไปไมม คี วามยดึ ม่นั ถือมั่นในสง่ิ ใดโดยการเปนตวั ตนหรือของตน นัน่ แหละคอื ถงึ
ความเปน พระอรหนั ต
คุณสมบตั ิบางอยา งของพระอรหันต ยงั ใชเ ปนคําแทนช่ือเรยี ก พระอรหนั ต เชน คําวา ผจู บ
พรหมจรรย ผขู ามนาํ้ ได ผูเดนิ ทางไกลถึงทส่ี ดุ ผขู น้ึ บกไดแ ลว ผนู ง่ั ลงได ผไู มแลน ไปในวัฏฏ
สงสาร ผไู มเลยี้ งคนอนื่ ผูมีหาบหนักอนั ปลดลงไดแลว ดงั นี้เปน ตน ถา พยายามจบั ความหมาย
ของคาํ เหลา นใี้ หไ ดมากยงิ่ ขน้ึ เพยี งใด ก็จะเขา ใจพระอรหนั ตมากข้ึนเพยี งน้ัน เชน คาํ วา "ผนู งั่ ลง
ได" หมายความวา ผทู ี่ไมใ ชพระอรหันตย อ มมกี เิ ลสเปน เคร่อื งกระตนุ อยูเ สมอไปจนใจน่ังลง
ไมไ ด ที่เรียกพระอรหันตเ ปน "ผูหยุด" เชนกรณเี ร่ืองพระองคลุ มิ าล กม็ คี วามหมายอยา งเดียวกนั
หรอื เชน คําท่ใี ชเ รียกพระอรหันตว า ผูม ีขนอนั ตกลงราบสนทิ กค็ ือ ไมเกดิ ความขนลกุ ขนชนั
เพราะความกลวั น้ยี อ มหมายความวากิเลสทเี่ ปนเหตุใหก ลัวนนั้ ไมม เี หลืออยูแกพ ระอรหนั ตอีก
ตอ ไป บางทกี ็เรยี กตรงๆ วา ผไู มส ะดุง ผูไมหวาดเสียว ผไู มว่ิงหนี หรือรวมทงั้ ท่ไี มไดนาํ มากลา ว
อกี มากมาย และรวมลงไดในความหมายของคําๆ เดียว คอื ในความดับไปแหง "ตัวตน-ของตน"
หรอื พนจากอปุ าทานทง้ั หลาย หรอื ไมยดึ มั่นถอื มน่ั ดว ยอุปาทานนน่ั เอง เมอ่ื ความรสู ึกวา มตี ัวตน
หรือของตนดบั ไปเสียอยา งเดยี วเทา นน้ั ทกุ อยา งจะดับไปหมด จนถงึ กบั เกิดความหมายขนึ้ มา
ใหมวา เปน ความวา ง หรอื จติ วาง เพราะกเิ ลสท่ีเปน เหตใุ หย ดึ ถือเชน นนั้ มันไดส ูญส้นิ ไปเสียแลว
เมือ่ ไมม กี ารยดึ ถอื มีก็เหมอื นกับไมม ี ฉะนน้ั จงึ เรยี กวา "วาง" (หรือสญุ ญตา) ตามความหมาย
ในพระพทุ ธศาสนา ซงึ่ หมายถึงวา งจาก "ตวั ตน" วางจากทกุ ขว า งจากกิเลสทเ่ี ปน เหตใุ หเ กิดทกุ ข
และวางจากความยึดถือเอาอะไรๆ มาเปนตัวตนใหเ กดิ ทกุ ข จึงเปน นิพพานอนั เปน ทส่ี น้ิ สดุ ลง
แหงความทกุ ข
การละอวิชชาเสยี ได ทาํ ใหรวู า โดยแทจ รงิ แลว ไมมอี ะไรเปน ตวั ตน มแี ตธรรมชาติ ไมว า จะ
เปนฝายรปู ธรรมหรอื ฝายนามธรรม หรอื รวมกันท้ังสองฝา ย เมอื่ รแู จง ดงั นี้ ความยดึ ถอื ในสิ่งใด
สิง่ หนง่ึ ทเี่ คยถอื วาเปน "ตวั ตน-ของตน" ก็ไมอาจจะเกิดข้ึนได แมในขณะที่ตาเหน็ รูป หูไดยนิ
เสียง จมกู ไดก ลนิ่ ฯลฯ น้คี อื ความดบั ไปแหง "อัตตา" อนั ทาํ ใหย ดึ ตดิ ในสิ่งตา งๆ ซง่ึ เกดิ มาจาก
เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 58 of 73
ความอยากในอารมณนนั้ ๆ ความวา งจากความยึดมนั่ ดว ยอปุ าทานวา "ตวั เรา-ของเรา" เทา นน้ั
ท่เี ปนความวางตามความหมายแหง คาํ วา นพิ พาน ซึ่งถอื วา เปน ความวางอยา งยง่ิ เพราะดับ
"ตัวเรา-ของเรา" ไดโ ดยสน้ิ เชงิ สมตามคําวา "นพิ พาน" ทีแ่ ปลวา "ดับไมเ หลือ"
อนง่ึ ความดับไปแหง "ตวั ตน" น้ี เปน อริยสจั ขอ ท่ี ๓ คอื ทกุ ขนิโรธ กลา วคือ ความดบั ไม
เหลือแหง ทกุ ข อนั เปน สิ่งทีจ่ ะพงึ ปรารถนาแกคนทงั้ ปวงและในกรณที ง้ั ปวง ฉะนนั้ เม่อื สุญญตา
เปนส่ิงๆ เดียวกบั ความดับไมเหลือแหง "ตวั ตน" ดังน้แี ลว สญุ ญตาก็ตอ งเปน สงิ่ ทพี่ งึ ปรารถนาแก
คนทวั่ ไป และทุกกรณดี วย แตคนบางคนไมเขา ใจสงิ่ น้ี หรือเขา ใจผิดตอ สง่ิ น้ี จนกระท่ังเกิดความ
เกลียดความกลวั ตอ สุญญตา ท้งั ๆ ทีเ่ ขาเปน ผูนับถอื พทุ ธศาสนา หรอื ทง้ั ๆ ทีเ่ ปนบรรพชิต เพราะ
ไปหลงเขา ใจผดิ หรือดว ยความอวดรวู า สญุ ญตาจะทาํ ใหประเทศชาตไิ มพ ัฒนา หรอื เปน
อปุ สรรคขัดขวางการกาวหนา ของสังคม
คนทว่ั ไปพอไดยนิ คาํ วา "วา งจากตัวตน" หรือ "ความวาง" กม็ คี วามกลัววาจะพลดั ตกล่ิวๆ
ลงไปในทที่ ีไ่ รท ี่เกาะทจี่ ับทย่ี ดึ และไมมที ่สี นิ้ สุด หาไดเขาใจวา ส่ิงทเี่ รียกวา ตวั ตน นนั่ แหละวา ง
ไป และกไ็ มม อี ะไรที่จะพลดั ตกลิว่ ๆ ไปทางไหนแตประการใดไม นแ่ี สดงวาเขาไมเ ขา ใจ "ความ
วา ง" จึงไดค าดคะเนเอาเองตามความโงข องตน ถาเขาไดเ ขา ถงึ "ความวา ง" ตามลักษณะดงั ท่ี
กลา ว กจ็ ะเกดิ ความเหน็ อยา งแจม แจง วา "ตัวตน" ไดก ลายเปน ของวา งไปพรอมกนั กับ "ของตน"
แลว จะมอี ะไรอกี ทีจ่ ะพลัดตกล่ิวๆ ลงไปในความวา ง ดังนนั้ ภาวะแหง สุญญตาจงึ ไมใ ชภาวะท่นี า
กลัว ดังความเขา ใจของบคุ คลผปู ระกอบอยดู วยอวชิ ชาและอปุ าทาน แตจ ะกลายเปนภาวะที่ไม
เปน ที่ตง้ั แหง ความกลวั ความรกั ความโกรธ ความเกลยี ด ความวิตกกงั วล ฯลฯ เขาจะไมถกู
รบกวนดว ยส่ิงเหลา นเ้ี ลย
ความไมถกู กิเลสรบกวนแตป ระการใดเลยนน่ั แหละ คอื ความดบั ไมเ หลอื แหงทุกข ซึง่
สมมติเรยี กกนั อีกอยางหนึ่งวา ความเปน สขุ ท่ีสดุ (นพิ พฺ านํ ปรมํ สุขํ = นพิ พานเปน สขุ อยางยงิ่ )
ดงั นน้ั เมอ่ื นพิ พานเปน ส่ิงๆ เดยี วกนั กบั สญุ ญตาแลว ภาวะแหงสญุ ญตาก็เปนสขุ อยา งยง่ิ
เชน เดยี วกนั เพราะหลักกม็ อี ยอู ยางตายตวั วา วา งอยางยิง่ นน่ั แหละ คอื นพิ พาน (นพิ พฺ านํ ปรมํ
สุญฺ )ํ ฉะนนั้ คนทพ่ี ดู วา ตวั ตองการนพิ พานแตกลับกลวั "ความวาง" นนั้ จงึ เปนเพยี งคนท่อี ยใู น
ความละเมอเพอฝน ตอนพิ พาน ไมมีความเขาใจในสง่ิ เหลา น้ีแมแ ตประการใดเลย ถา เขาพดู ถงึ
เรือ่ งนกี้ นั อยูบา ง ก็เปน เพยี งธรรมเนียมของคนท่ีนอนคุยกนั ตามศาลาวดั เพ่ืออวดคนอ่นื วาตนก็
มคี วามรูในสงิ่ สงู สุดของพทุ ธศาสนาเทา นน้ั
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 59 of 73
สาํ หรบั คาํ วา นพิ พานนัน้ ยงั แบง ออกไดเ ปน ๒ ฝาย คอื ฝายทมี่ ีเช้อื เหลอื และฝายทไ่ี มม ี
เช้อื เหลอื ฝา ยท่ไี มมีเชือ้ เหลอื ก็คอื ฝายท่ีดบั "อัตตา" สนิ้ เชิง ฝา ยท่ีมเี ชอื้ เหลือนน้ั หมายถงึ การ
ดบั "อัตตา" ยงั ไมส้ินเชงิ (แตกเ็ รม่ิ มกี ารดบั "อัตตา" ลงไปบางแลว ) ไดแกการดับ "อตั ตา" ของ
พระอริยเจาชน้ั ตนๆ ที่ยงั ไมเ ปนพระอรหันต เชน พระโสดาบัน พระสกทิ าคามี พระอนาคามี ซง่ึ
ลวนแตลถุ งึ นพิ พานชนิดทยี่ งั มเี ชอ้ื เหลืออยตู ามสมควร ดังนน้ั จงึ มกี าร "เกดิ ใหม" คอื การเกิด
ความรสู ึกวา เปน "ตัวเรา-ของเรา" ขึ้นมาไดใหม โดยสมควรแกเช้อื ที่เหลอื อยมู ากนอ ยเพยี งไร แต
ก็เปน "ตวั ตน"ท่ีเบาบาง ไมเต็มอตั ราอยา งปถุ ชุ นซง่ึ มีกเิ ลสเต็มปร่ี และไมเ คยถกู ละไปแมแตส วน
ใดเลย นิพพานของพระอรยิ เจาข้ันตน ๆ เรยี กวา "สอุปาทิเสสนพิ พาน" แปลวา นพิ พานทม่ี ีเชือ้
เหลือ ดังนนั้ จงึ ยังมิใชน พิ พานท่ีเปน "ความวา งอยา งยงิ่ " ซง่ึ เรยี กวา อนปุ าทิเสสนิพพาน
คาํ บาลีวา "สุ ญฺ " นนั้ ทถี่ กู ควรแปลวา "วา ง" แตบางคนแปลกนั ผิดๆ วา "สูญเปลา " หรอื ไม
มีอะไรเลย นนั้ ใชไมไ ด ไมมีประโยชนอ ะไร เปน ความหมายท่ีไกลกนั อยา งยง่ิ หรอื ตรงกันขา ม
ทเี ดียว เพราะเรามที กุ ส่ิงทุกอยา งท่คี วรจะมไี ด และใชประโยชนไ ดทกุ อยา ง หากแตว าวา งจาก
ความยึดถอื วา เปน "ตวั เรา-ของเรา" เทา นนั้ เอง ดงั นนั้ การทีไ่ ปแปลคําๆ น้วี า สูญเปลา หรอื การ
ไมมีอะไรนนั้ จึงเปนการตพู ทุ ธศาสนา หรอื ถงึ กับทาํ ลายหลกั พทุ ธศาสนาอนั สูงสดุ ของตนเอง
โดยนาํ้ มอื ของผทู อ่ี างตนเองวา เปน พทุ ธบรษิ ัท
สํานวนท่พี ดู วา "ดบั เยน็ อยใู นโลกนี้" หรือ "นิพพานอยใู นโลกน"้ี มไิ ดห มายถงึ ความตาย
หรอื รอเอาผลหลังจากการตายแลว แตหมายความวา ยงั มชี วี ิตอยูใ นชาติน้ี โดยทําใหด ับเย็นลง
ไปดวยความไมยึดมั่นถือม่ัน พระพทุ ธองคเ คยตรสั วา เรอ่ื งเกย่ี วกับสญุ ญตานนั้ มคี วามหมาย
ลกึ ซึง้ เขา ใจยาก แตเปน สิง่ ทีเ่ ปน ประโยชนเ กือ้ กลู แกฆราวาสโดยตรง ทงั้ นกี้ เ็ พราะทรงมุงหมาย
จะใหทกุ คนเปน อยูด ว ยความดับเย็น หรอื ความดับไมมเี ชือ้ เหลือ เพราะถาไมไ ดอ าศยั หลกั สญุ ญ
ตาน้แี ลว ยอมไมมีใครสามารถหลกี เลย่ี งความทุกขไ ด ฉะนนั้ การที่คนใดคนหนง่ึ จะมีชีวิตอยูใน
โลกอยา งสงบเยน็ สมตามความหมายของคาํ วา มนุษย ไดน น้ั เขาจะตอ งศึกษา ตองเขาใจ และ
ตองปฏิบัตใิ นเร่อื งสุญญตา จงึ จะไมเ ปน ผเู หน็ ผดิ คดิ ผิด ทําผิดแตป ระการใดไดเลย แลวสังคมที่
ประกอบอยดู ว ยคนเชน นี้ กจ็ ะมแี ตความสงบสขุ ปกครองงา ย ไมมีปญ หายงุ ยากอนั ใดใหสะสาง
อยา งลาํ บากมากมายเหมอื นในปจ จุบันนี้
เม่อื ไมเ กิดมาเพ่อื ตวั เขาเองแลว ทุกอยา งกจ็ ะเปนไปเพ่อื สวนรวม กลายเปน วาเขาเกดิ มา
เพอ่ื ทาํ โลกน้ใี หง ดงามไปดว ยคณุ ธรรม แตเม่ือคนสว นใหญย งั ไมยอมรบั ความคิดเหน็ อนั นีแ้ ลว
เราซึ่งมชี วี ติ อยูใ นโลกน้กี ับเขาดวยคนหนงึ่ นนั้ จะทาํ อยา งไรดี คําตอบกค็ ือ พยายามทาํ ความดับ
ไปแหง "อตั ตา" ไปตามลาํ พงั ซ่ึงโลกก็จะพลอยไดประโยชน แลว ตนเองกจ็ ะไดอยา งเตม็ เปยม
เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 60 of 73
และกอนใครๆ ทงั้ หมด เม่อื สงั คมกาํ ลงั สกปรก (คอรปั ช่ัน) ก็ตองแกด ว ยความรูเ ร่ืองสญุ ญตา
(ความไมเห็นแกตัว) ซงึ่ เปน สิ่งตรงกนั ขามโดยตรง
วิธปี ฏบิ ัติเกยี่ วกับความดบั ไมเหลือแหง "อตั ตา" นั้น ไดแ กส่งิ ท่ีเรยี กวา "มรรค" (แปลวา
ทาง) หรือ "พรหมจรรย" ศาสนา และ ธรรมกไ็ ด ธรรมะนน่ั แหละเปน ตวั ทาง เหน็ ธรรมะก็คือเหน็
ทาง การเดนิ ไปตามทางคือการเดินไปตามธรรมะ และการลุถึงจุดหมายปลายทางกค็ ือความดบั
ไมเ หลอื แหง ทกุ ข หรือพระนพิ พาน (ซง่ึ ในท่นี ี้ เราเรยี กกนั วา ความดบั ไมเหลอื แหง "อตั ตา")
อรยิ มรรคมอี งค ๘ ประการ ทเ่ี ปนอริยสจั ขนาดยอ ม หรอื ขนาดธรรมดานน้ั พระพทุ ธเจาชี้
เอา "ความเกดิ " เปน ความทกุ ข เหตุใหเ กดิ ทุกข ก็คอื ความโลภโกรธหลงงมงาย ความดับไม
เหลือแหง ทกุ ข ทรงชไี้ ปยงั ความดับไมเ หลือแหง โลภโกรธหลงงมงาย วธิ ปี ฏิบัติเพื่อความดับทุกข
ก็คือ อริยมรรคมีองค ๘ สว นอริยสจั ขนาดใหญห รือทเ่ี รยี กไดว าเต็มภาคภูมินนั้ ไดต รสั ไวในรูป
ของ ปฏิจจสมปุ บาท แตเหตใุ หเกิดทกุ ขนน้ั ทรงระบุ ชาติ ภพ อปุ าทาน ตัณหา เวทนา ผสั สะ
อายตนะ นามรูป วญิ ญาณ สังขาร และอวชิ ชา เปน ที่สุด และจะดบั ทุกขไดก็ตองดับ ชาติ ภพ
อปุ าทาน ตณั หา เวทนา ผสั สะ อายตนะ นามรูป วิญญาณ สังขาร และ อวิชชา คือไดแ ก
อรยิ มรรคมอี งค ๘ อกี นน่ั เอง เพราะการเปน อยอู ยา งถกู ตองตามหลกั อริยมรรคมีองค ๘ นนั้
ยอมมผี ลทาํ ใหอวชิ ชาเกดิ ไมได หรอื ดับไปอยูตลอดเวลา
สาํ หรับมรรคมอี งค ๘ ซง่ึ มสี มั มาทิฏฐเิ ปนขอตน และมีสัมมาสมาธิเปน ขอ สดุ ทายนน้ั องคท ่ี
สาํ คัญท่ีสดุ อยทู ส่ี ัมมาทิฏฐิ กลาวคอื วิชชาซ่ึงตรงกนั ขามจากอวชิ ชา หมายความวา อยางนอ ยก็
ตองเรมิ่ ปฏบิ ัติธรรมดวยการดับอวชิ ชา แมบางสว นแลว สงิ่ ตา งๆ ทเี่ นอื่ งดวยอวชิ ชากจ็ ะดบั ไป
ตาม หรือกลาวอกี อยา งหนงึ่ ก็คอื วา เมื่อมวี ชิ ชาเกดิ ขึ้นมาแลว ความถกู ตองอยา งอนื่ ๆ กเ็ กดิ
ตามขึน้ มาไดโดยงา ย จนรวมกนั ครบเปน ๘ องค กลายเปน มรรคหรอื เปน วชิ ชาทีเ่ ตม็ ทข่ี ้ึนมา
ตามลําดับ กลายเปน ปฏจิ จสมปุ บาทฝา ยดับอยูในนนั้ อยา งมองไมเหน็ ตวั และเปน อยา ง
อัตโนมัตดิ วย
ปฏิจจสมปุ บาทก็คอื การบอกใหท ราบวา อะไรเกิดขน้ึ เพราะอะไรๆ และอะไรดับลงไปเพราะ
การดับแหงอะไร สวนวธิ ขี องการปฏิบัตนิ ัน้ ตองไมใ หป ฏิจจสมุปบาทฝายเกดิ เกดิ ข้ึนมาได หรอื
ใหป ฏิจจสมปุ บาทฝา ยดับเปน ไปไดน ั่นเอง เชน เมือ่ เวลาท่ีอารมณกระทบ รปู เสียง กลนิ่ รส
สมั ผสั ทางกาย และสัมผสั ทางใจ ก็จงทาํ ใหอารมณเ หลา นนั้ ไมปรุงเปน ความรสู กึ สขุ ทุกขข น้ึ มา
ได หรือถา ปรงุ เปนสขุ ทกุ ขขึ้นมาไดเสยี แลว ก็ตอ งไมใหป รงุ เปนความอยากขน้ึ มาได คือใหมัน
หยุดเสยี เพียงแคค วามรสู ึกทเี่ ปนสขุ ทกุ ขน นั่ เอง เม่ือความอยากเกิดขนึ้ ไมไ ด การยดึ ความเปน
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 61 of 73
น่ันเปน นี่ และการเกิดความรสู กึ วา เปน "ตวั ตน" ก็เกิดข้ึนไมได แตก ารทจี่ ะทาํ ใหเ วทนาไมปรงุ
ตัณหานน้ั ก็ตอ งอาศยั วชิ ชาหรอื สมั มาทฏิ ฐิ ท่ีทาํ ใหเ ห็นแจงชดั วา เวทนาทง้ั หลายไมเ ที่ยงเปน
ทุกขเ ปน อนัตตา หรอื เปน เพยี งมายาหลอกลวงลว นๆ สัมมาทิฏฐิซง่ึ เปน หวั ใจของอรยิ มรรคมี
องค ๘ จงึ เปน หวั ใจของปฏจิ จสมุปบาทดว ย
ดังนน้ั การปฏิบตั ิท่ีมีหลกั แตเ พยี งวา ไมให "ตัวตน-ของตน" เกิดขึน้ เทา นน้ั กเ็ ปนการปฏบิ ัติ
ในปฏิจจสมปุ บาทฝา ยดบั ตลอดสาย และเปน อริยมรรคมอี งค ๘ อยางครบถว นรวมอยูใ นนนั้
เสรจ็ เพราะอาํ นาจของสมั มาทิฏฐทิ ่ีทาํ ใหความรูสกึ วา เปน "ตวั ตน-ของตน" เกิดข้ึนไมไ ดน่ันเอง
ในขณะนน้ั สัมมาสงั กปั โป สมั มาวาจา สมั มากมั มันโต สมั มาอาชีโว สมั มาวายาโม สมั มาสติ
และสมั มาสมาธิ จงึ เปน ไปเองอยา งสมบูรณและอยางอตั โนมตั ิ และการปฏบิ ัติเพียงเทาทจ่ี ะไม
เกิดความรสู ึกวา "ตวั ตน-ของตน" ขึ้นมาไดนแี้ หละ คือการปฏบิ ตั ิท้งั ส้นิ ในพระพทุ ธศาสนา ซงึ่ จะ
ถอื เปน ศีลสมาธิปญญา เปน อริยมรรคมอี งค ๘ เปนปฏจิ จสมปุ บาทหรือเปนอะไรๆ ก็ตาม ได
อยา งครบถว น และย่ิงไปกวานนั้ อกี กค็ ือในความดบั ไปแหง "ตวั ตน-ของตน" นน้ั เอง ยอ มมคี วาม
เปน พระพทุ ธพระธรรมพระสงฆ หรือมรรคผลนพิ พาน ซง่ึ เปนผลของการปฏิบตั ริ วมอยูในนั้นแลว
อยา งครบถว น
การปฏิบตั เิ พอื่ ความดบั ไปแหง "อัตตา" ในขณะที่เผชิญกบั อารมณ มรี ปู กระทบตาเปน ตน
นั้น โดยใจความสําคัญก็อาศยั หลกั พทุ ธภาษิตทีต่ รัสแกพ ระพาหยิ ะวา "ดกู อนพาหยิ ะ! เมือ่ ใด
เธอเหน็ รูปแลว กข็ อใหเ ปนเพยี งสกั แตวาไดเ ห็น ลมิ้ รสแลว ก็สักแตว าไดล ิ้ม ไดรบั สัมผัสทางผิว
กายแลว ก็สกั แตว า สมั ผสั ดงั น้แี ลว เม่ือนนั้ เม่ือใด "เธอ" ไมมี เมอ่ื นนั้ "เธอ" กไ็ มป รากฏอยูในโลก
น้ี ไมปรากฏอยใู นโลกอนื่ และไมป รากฏในระหวา งแหง โลกทงั้ สอง นน่ั แหละคือที่สน้ิ สุดแหง ทกุ ข
ละ" ดงั น้ี (อ.ุ ขุ. ๒๕/๘๓/๔๙)
จากพระพทุ ธภาษิตนี้ เราจะเหน็ ไดวาในขณะท่มี ีการกระทบกนั กับอารมณน น้ั มวี ธิ ีปฏิบตั ทิ ี่
จะทาํ ไมใ หเกดิ ความรูสึกวา มี "ตวั ตน" ทน่ี น่ั กเ็ ปน ทส่ี ดุ แหงทุกข (คอื นพิ พาน) ใจความสาํ คัญของ
การปฏิบัตนิ น้ั มอี ยูตรงขอที่ไมท าํ ใหอ ารมณน น้ั ๆ มอี ทิ ธพิ ลขึ้นมาในการท่ีจะครอบงาํ จติ ใจของ
ตน ใหก ารเหน็ เปนแตส กั วาเห็น เปน ตน ไมใ หก ารเหน็ นน้ั ปรงุ จิตจนเกดิ ความรูสกึ รักหรือชงั เปน
สุขเวทนา หรอื ทุกขเวทนาขนึ้ มานนั่ เอง เรยี กสน้ั ๆ วาไมใ หป รงุ เปน เวทนาขึ้นมา ใหเปนสักแตวา
การเหน็ เฉยๆ แลวกห็ ยดุ ไป กลายเปน รูปเปนสติปญ ญาเกดิ ขน้ึ มาแทน คือวาจะจดั การกับสงิ่ น้ี
อยางไร กจ็ ัดการไปดวยสตปิ ญ ญา ไมม ีความรสู กึ ทเี่ ปนกเิ ลสตณั หาหรืออปุ าทานวามี "ตวั ตน"
หรอื ถา ไมค วรจัดการแตป ระการใดเลยก็เลกิ กัน
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 62 of 73
การปฏบิ ตั ิอยา งทีเ่ รียกวา "เห็นสกั แตวาเหน็ " นนั้ คือเม่อื ไดเห็นสง่ิ ใดและรูวา มนั เปน อะไร
แลว กใ็ หม ีความรสู ึกหรือความเขาใจทถี่ กู ตอ งวา มนั เปน สกั แตว า รูปหรอื ภพ เชน เหน็ ดอก
กหุ ลาบสวยงาม หรือเหน็ มนษุ ยเ พศตรงขา มทนี่ ารกั หรือของนาเกลียดเชน อุจจาระปส สาวะ ให
นึกวา มนั เปน เพยี งสกั วา รปู หรือภาพทไี่ ดเหน็ ไมปลอ ยใหจิตไปถือเอา "ความหมาย" ของมนั วาดี
เลวอยางนนั้ อยางน้ี ชนิดทีก่ อ ใหเ กิดความอยากหรือความเกลยี ดหรือความยึดมั่นถอื ม่นั อยา งน้ี
อยางนนั้ ข้นึ มา (คําอธิบายละเอยี ดมีอยูในหนังสอื วธิ ีระงบั ดับทุกข) แลว กเ็ ลกิ กนั จะกระทาํ
อยางนี้ไดดว ยการฝก ใหเ หน็ วา สขุ เวทนาทกุ ขเวทนาน้นั เปน มายาหลอกลวงอยูเปน ประจํา (แต
สําหรับทกุ ขเวทนานน้ั เปนผลอีกอนั หนงึ่ ซงึ่ เกดิ ขึ้น เนือ่ งจากความยึดม่นั ถือมน่ั ในสขุ เวทนาท่ี
ไมไ ดอ ยา งใจนกึ ถาความยดึ มัน่ ถือมน่ั ในสุขเวทนาไมมแี ลว ทางที่จะเกดิ ทกุ ขเวทนาก็ยอ มไมม)ี
เมอ่ื สุขเวทนาหมดความหมายไปแลว ก็ไมย วั่ ใหเกดิ ความยึดถอื อารมณ ในเมื่อไดส ัมผสั สิง่
ทชี่ อบใจ อนั เปนทต่ี งั้ แหง กิเลสตัณหา น่ันแหละคือการเห็นท่สี ักแตว า เหน็ สวนการไดย นิ ทีส่ กั แต
วาไดย นิ การไดก ลิ่นทส่ี กั แตวาไดด ม ฯลฯ ก็มหี ลกั เกณฑอ ยางเดยี วกนั ซ่งึ มีใจความสาํ คญั อยู
ตรงทีเ่ ขาไมตกเปนทาสของสขุ เวทนา นเี้ รยี กวา ไมม ี "ตัวตน" อยใู นโลกนหี้ รือในโลกไหน
กลายเปน ความวางจาก "ตัวตน" เปน นพิ พาน เพราะไมก อ เปน ปฏิจจสมปุ บาทฝา ยเกดิ ขน้ึ มาได
นนั่ เอง
เมอื่ สัมผสั (การกระทบ) เปน เพยี งสักแตก ารกระทบเฉยๆ แลว อายตนะ (คือตาและรูปท่ี
เปน ทต่ี ง้ั แหง กระทบนนั้ ) มนั จะไมมีคาหรอื ไมมคี วามหมายอะไร นั่นแหละคือความดบั ไปของ
อายตนะ เมือ่ อายตนะมีลักษณะเปน หมนั ไปเชนน้ีแลว นามรูปอนั เปน ทต่ี ง้ั ของอายตนะนน้ั กเ็ ปน
หมันไปดว ย เมอื่ นามรูปเปน หมนั วิญญาณธาตุทปี่ รุงแตง นามรปู ในกรณีนน้ั ก็เปน หมนั เมือ่
วิญญาณธาตเุ ปน หมัน สงั ขารที่ปรงุ แตงใหเ กิดวิญญาณธาตนุ น้ั กพ็ ลอยเปน หมนั เม่ือสังขารเปน
หมนั อวิชชาซงึ่ ปรุงแตง สงั ขารในกรณนี นั้ กเ็ ปน หมนั คือมีคาเทา กับไมม หี รือดบั อยู ทงั้ หมดน้กี ็
เพราะอาศัยเหตนุ ิดเดยี วทม่ี ีอยูตรงกลางของปฏิจจสมปุ บาท กลา วคอื ผสั สะทจ่ี ะตอ งทาํ ใหเปน
หมนั ไปเสยี เมอื่ ผัสสะเปนหมนั จงึ ไมเกิดเวทนา ปฏิจจสมปุ บาททง้ั สายก็เปน หมนั นเ้ี รียกวา
ปฏจิ จสมปุ บาทฝา ยดบั ทุกข
ฉะนนั้ ขอใหม องเหน็ จดุ สาํ คญั เรน ลับที่สุดตรงขอ ท่ีวา ในขณะแหง การสมั ผสั นน้ั มนั จะมี
อวชิ ชาเขา มาเก่ยี วขอ งดว ยหรือไม ถา ผสั สะใดมอี วิชชาเขา มาเกย่ี วขอ งดว ย ผัสสะนนั้ ก็จะเปน
ทตี่ ัง้ แหง ปฏิจจสมปุ บาทฝา ยเกดิ ทกุ ขจนตลอดสายทเี ดยี ว ในทางตรงกันขามถา ผสั สะใดถกู
ควบคมุ ไวด ีจนอวิชชาเขามาเกีย่ วขอ งไมไดผสั สะนน้ั กเ็ ปนท่ตี ง้ั แหง ปฏจิ จสมปุ บาทฝายดบั ทกุ ข
จนตลอดสายอยางเดยี วกัน ฉะนนั้ ผสั สะของคนพาลคนโงคนหลง กค็ อื ผสั สะทมี่ อี วชิ ชาเขา มา
เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 63 of 73
เกีย่ วของดวย ผสั สะของพระอรยิ เจา หรือของคนมีปญญา ก็เปนผัสสะทไี่ มม อี วชิ ชาเขา มา
เกี่ยวขอ งดว ย มันจงึ เปน เพียงสกั วา ผัสสะ (คือการกระทบ) ไมม ี "ตวั ตน" หรอื "ของตน" เกิด
ขึน้ มาได จงึ เปน การดับแหง ทกุ ขอ ยูตลอดไป ถา ผิดไปจากน้แี ลว ก็เปน ปฏิจจสมปุ บาททีพ่ ูดเพอ
ไปตามตัวหนงั สือ หรอื ตามคารมปากท่แี ยง กนั อธิบาย ซง่ึ ใชป ระโยชนแ กการปฏบิ ตั ิเพอื่ ดบั ทุกข
สักนิดก็ไมได
การปฏบิ ัตธิ รรมทกุ อยาง กเ็ พื่อดบั ตัณหาดวยกนั ทงั้ นนั้ แตการดบั ตณั หาน้ันมีอยู ๒ อยาง
คือ ดบั จริง กบั ดับไมจริง สําหรับการดับท่ไี มจ รงิ นนั้ เชน ทมี่ นั ดับไปเองตามธรรมดา คือวา เมือ่
ตัณหาไดเ สพยเ หย่อื นนั้ ๆ ไปแลวมันกด็ ับไปเอง เพอื่ ไปหาเหยื่ออนั ใหม หรืออารมณอนั ใหม ที่สงู
ข้นึ มาหนอ ยกค็ อื ดับเพราะความประจวบเหมาะบงั เอิญ เชน ไดอารมณแ หง ความสลดสังเวช เชน
เหน็ ซากศพหรอื ส่ิงปฏิกูล มันจึงดับไปเพราะความประจวบเหมาะเชน น้นั ท่ีสงู ข้ึนมาอีกก็คอื การ
พิจารณาไปตามความรูสึกผดิ ชอบชัว่ ดหี รอื ตามอํานาจของเหตผุ ล กท็ าํ ใหตัณหาดบั ไปได
เหมือนกนั แตห าไดเ ปนการดับทแ่ี ทจรงิ ไม เปน เพยี งการดบั ชั่วคราวและแกปญหาเฉพาะหนาไป
ทีกอ นเทา นน้ั เอง น่ีแหละคอื เหตุทว่ี า ทาํ ไมเมอื่ ศึกษาเรื่องอริยสจั กนั มาต้งั นมนาน หรอื ทํา
วิปสสนากนั มานาน จนถงึ เปน ชัน้ อาจารยแลว กย็ งั ไมดบั ตัณหาลงได ทัง้ น้ีกเ็ พราะวา เปน การดับ
อยางชวั่ คราว การดบั ตณั หาที่แทจ ริงนน้ั เรยี กโดยบาลีวา "อเสสวิราคนโิ รธ" แปลวา ดบั ไมม ีสว น
เหลือดวยอาํ นาจของวริ าคะ (คอื การจางคลายของตณั หา) ซึ่งเกิดสืบตอ มาจากนพิ พทิ า (ความ
เบ่ือหนา ย) เพราะเหน็ แจงตามทเ่ี ปน จรงิ วา สิ่งทงั้ หลายทงั้ ปวงไมเทย่ี ง เปนทกุ ข เปน อนัตตา ไม
ควรยึดมั่นถอื มัน่ วา เปน "ตวั ตน" หรือ "ของตน" การดบั ตณั หาดวยอุบายและดวยอาการอยา ง
หลงั น้เี ทา นน้ั จึงเปน การดับทีแ่ ทจ ริง นอกไปจากนน้ั ก็เปนการดบั เพยี งชวั่ คราว หรอื เปน การเลน
ตลก เชนที่คนบางคนบริกรรม หรอื ภาวนาวาดับตัณหาๆ หรือบางคนกต็ ง้ั ใจเอาเองวา จะดับ
ตัณหา โดยแกลงทาํ เปนเฉยตอ สง่ิ ทงั้ ปวงดว ยการบงั คบั ขม ขี่ แตแ ลวกไ็ ปไมรอด เพราะมกี ําลงั
ไมพ อทจ่ี ะดบั ตัณหา อนั มีกาํ ลังมากมายน้ันได ทยี่ ง่ิ ไปกวา นนั้ อีก ก็คือพวกคดโกงหลอกลวง
ผูอน่ื ดว ยมายาตา งๆ วาตนเปน ผดู บั ตณั หาแลว หลอกลวงตนเองโดยตรงกม็ ี คือการคดิ เอาดอื้ ๆ
วา เราไมย ินดยี ินราย ไมม ผี ูหญิงผูชาย ดงั นเ้ี ปนตน แตแ ลวกย็ งั มีการกระทําชนิดท่ีเปน ไปตาม
อํานาจของตณั หาเตม็ ไปหมด เปนการหลอกลวงตวั เองพรอมกับหลอกลวงคนอนื่ ไปในตวั ซงึ่
ลว นแตเ ปน การดับตณั หาที่คดโกง ท่ีโงเ ขลา ทไ่ี มแทถาวรทงั้ นัน้ ดงั น้ันจงึ เหลอื อยแู ตเพียง
ประการเดยี วเทาน้นั คอื การดับชนดิ ท่เี รยี กวา "อเสสวิราคนิโรธ" อันมมี ลู มาจากความเหน็ แจง
วา สง่ิ ทงั้ หลายทงั้ ปวงไมควรยึดมัน่ ถอื มนั่ อยา งแทจ รงิ เทา นน้ั
สําหรับความรหู รือความเหน็ แจงวา สง่ิ ท้งั ปวงไมควรยึดมน่ั ถือมน่ั นกี้ ็เหมอื นกนั ตอ งพึง
เขา ใจวา มันมอี ยู ๓ ระดบั คือรตู ามทีไ่ ดยนิ ไดฟง (นเ้ี รยี กวาความร)ู รเู พราะไปคิดคน ตามอาํ นาจ
เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 64 of 73
ของเหตุผล (นเี้ รยี กวา ความเขา ใจ) สว นความรูที่เกดิ มา หลงั จากไดผ านสิง่ เหลา นน้ั ๆ ไปแลว
ดว ยการปฏบิ ัติอยา งครบถว น จนมคี วามรซู บึ ซาบในทกุ สง่ิ ทกุ อยา งทกุ ข้นั ทกุ ตอน กระท่งั ถึงผลที่
เกดิ ขึ้นมาจากการปฏิบัตนิ น้ั ๆ (นเี้ รียกวา ความรแู จง แทงตลอด) จงึ จะทําใหเกิดนิพพทิ า (ความ
เบือ่ หนา ย) และสง เสรมิ ใหเ กดิ วริ าคะ (การจางคลายของกิเลส) ทสี่ ามารถเปล่ยี นความรสู กึ
ภายในจติ ใจไดเอง
ทีน้ี กม็ าถงึ ประโยคทวี่ า "สงิ่ ทัง้ หลายทงั้ ปวงไมควรยึดมน่ั ถือมน่ั " (สพเฺ พ ธมฺมา นาลํ อภนิ ิ
เวสาย) คํากลา วประโยคน้ี ควรจะถอื วา เปน หวั ใจของพทุ ธศาสนา เพราะมีเรื่องราวกลา วอยใู น
บาลีวา เมอ่ื มผี มู าทูลขอใหพ ระพทุ ธองคท รงประมวลคาํ สอนท้ังสน้ิ ใหเหลือเพียงประโยคสนั้ ๆ
เพยี งประโยคเดยี ว พระองคก ็ตรสั ประโยคนี้ และทรงยนื ยันวา นีแ่ หละคอื ใจความของคาํ สอน
ทัง้ หมด ถา ไดป ฏบิ ตั ใิ นขอ น้ี กค็ ือไดป ฏบิ ตั ิทัง้ หมดของพระองค ทรงยนื ยันวา ถา ไดฟง คาํ น้ี กค็ อื
ไดฟงทงั้ หมด ถา ไดรบั ผลจากการปฏบิ ัตขิ อ นี้ ก็คือไดรบั ผลจากการปฏบิ ตั ทิ งั้ หมด ฉะนน้ั เราจะ
มองเหน็ ไดท นั ทวี า การศกึ ษาธรรมะทง้ั หมด กค็ ือเรียนเพอ่ื ไมใ หยึดม่ันในสง่ิ ใดๆ นอกนนั้ ก็เปน
การเรยี นที่เฟอ
เม่ือมาถงึ การปฏบิ ตั ธิ รรม กต็ องปฏบิ ัติเพอื่ ละความยดึ มั่นถอื มน่ั ในสงิ่ ทง้ั ปวง นอกนน้ั เปน
การปฏิบตั เิ ฟอ เพราะการงมงายหรอื ความคดโกงอยา งใดอยางหนง่ึ เสมอ เชน จะรกั ษาศีลก็
จะตอ งใหมผี ลเปนไปเพ่อื บรรเทาความยึดม่นั ถอื มนั่ "ท่ีกาํ ลงั มอี ยูอยา งมากมายนนั้ เสยี (การฆา
เขา การลักขโมยของเขา การประพฤติผิดในกาม ฯลฯ นลี้ ว นมมี ลู มาจากยดึ มน่ั ถือมน่ั ทง้ั สนิ้ ) ถา
เจริญสมาธิ กต็ องเปนไปเพอื่ หยดุ ความยดึ มัน่ ถอื มน่ั ถา ผดิ ไปจากนีก้ ไ็ มเ ปน สมาธิ ทต่ี รงตาม
จดุ หมายของพุทธศาสนา ถา เปนการเจรญิ ปญ ญา หรอื วปิ ส สนา กต็ องเปนการขดุ รากเงา ของ
ความยึดมน่ั ถอื ม่ันขนึ้ มาทําลายเสีย ไมใ หก ลับงอกงามข้นึ มาอกี ตอ ไป จงึ จะเปน ปญ ญาท่ี
ถูกตองตามหลกั ของพทุ ธศาสนา ผดิ ไปจากนก้ี เ็ ปน ปญ ญาหลอกลวงหรอื ปญญางมงาย
สวนผลของการปฏบิ ตั ิธรรมท่เี รยี กวา มรรคผลนิพพาน นั่นก็คือตัวสภาพทอ่ี ยเู หนือความ
ยึดมน่ั ถอื ม่นั หรอื เปน ผลทม่ี าจากการทําลายความยดึ มั่นไดโ ดยสน้ิ เชงิ แลว (หรอื วา เหลอื อยู
เพียงบางสว นในกรณีของพระอรยิ บุคคลชั้นตน ๆ) ดังนนั้ ถาถกู ถามวา จะดับตณั หาหรืออปุ าทาน
ดวยอะไร ก็ตอบอยางไมผ ดิ วา จะดับมนั ดว ยความไมย ดึ มนั่ ถอื มนั่ เมอ่ื เหน็ เรื่องนเ้ี ปน เร่ือง
สาํ คัญ ปานนแ้ี ลว เรากค็ วรจะไดศกึ ษากนั โดยละเอยี ดวา เราจะนํามนั มาใชด บั ตณั หาได
อยางไร และเมอ่ื ไร
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 65 of 73
๑. ในขณะทไ่ี มมีอารมณใดๆ รบกวนใจ เรากศ็ ึกษาพนิ ิจพจิ ารณาใหร ูวา ส่งิ ทงั้ ปวงนนั้ คือ
อะไร และทําไมส่งิ ทง้ั ปวงจงึ ไมควรยึดมั่นถือมัน่ ใหเ หน็ ชดั แจมแจง ย่งิ ขน้ึ ไปตามลําดบั จนถงึ ขัน้
ทีเ่ กดิ ความรสู กึ สลดสังเวช ตอความทส่ี ง่ิ ท้งั ปวงเปน มายา ไมน ายดึ มน่ั ถอื มนั่ จรงิ ๆ และเกดิ
ความสงั เวชในความโงห ลงของตัวเอง ที่เขาไปยดึ มัน่ ถอื มน่ั ในสง่ิ เหลา นน้ั ใหท าํ อยา งนอ้ี ยเู ปน
ประจาํ จนมีทงั้ ความรู ความเขา ใจ และความรูแจง แทงตลอด ในความจริงขอ นีอ้ ยเู สมอ มคี วาม
จางคลายของโลภะ โทสะ โมหะ เพราะอาํ นาจความสลดสงั เวชนน้ั ๆ กระทาํ อยา งนเี้ รอื่ ยๆ ไป
จนเคยชนิ เปน นิสยั ถึงขนาดทีว่ า มคี วามวางเฉย ตอ สิ่งทง้ั หลายทั้งปวงไดเ อง
วิธีที่ ๒ ไดแ กวธิ ที ่จี ะตอ งปฏิบตั เิ มื่อไดร บั อารมณท างตาหูจมกู ลน้ิ กายใจ โดยการดึงเอา
ความรูทีไ่ ดจ ากวธิ ปี ฏบิ ัตทิ ่ี ๑ นน้ั มาใชใ นขณะที่กระทบอารมณใหท นั ทว งที ดว ยอาํ นาจของ
สติสมั ปชัญญะ จนเกดิ ความเหน็ แจง วา สิง่ ทง้ั หลายทัง้ ปวงนี้ ไมเทย่ี งเปน ทกุ ขเ ปน อนัตตา ไม
ควรยึดมั่นถือมน่ั จริงๆ แลว กจ็ ะเกดิ ความสลดสังเวชขน้ึ มาตอการที่ตนจะยดึ มน่ั ถือม่ันใน
อารมณนน้ั ๆ และเกดิ นพิ พทิ าความเบอ่ื หนา ย และความจางคลายของกิเลสตามสมควรแกกรณี
สาํ หรบั ผูมีปญญาโดยกาํ เนดิ แตปญ ญานน้ั ยงั ไมถึงขนาด ถาจะรอใหถ งึ ขนาดกย็ งั จะตอ ง
ใชเวลาอกี นาน ดังนนั้ ควรผนวกวธิ ที าํ กรรมฐาน คอื การฝก จติ ใหเ หมาะสมแกป ญญา โดยมีการ
ฝกเพ่อื ใหจ ิตตัง้ ม่นั มอี ารมณเ ดยี วท่ีบริสทุ ธิ์ และพรอ มทีจ่ ะใชพ ลงั ทางจติ นน้ั ไดอ ยางวอ งไวถงึ
ที่สดุ
สว นการเจรญิ ปญ ญานน้ั หมายถงึ การทาํ ใหร ูอยางแจม แจงแทงตลอด ในความจริงของ
สงั ขารทงั้ ปวง ถึงขนาดทที่ ําไมใ หเกดิ ความรูสึกวาเปน "ตวั เรา-ของเรา" ขึ้นมาไดโดยเด็ดขาด จน
เกิดความสลดสงั เวช เกิดความเบ่อื หนา ยตอ การยึดมนั่ ถอื มนั่ สงิ่ ทง้ั หลายวา เปน "ตัวตน-ของตน"
มีความจางคลายออกของกเิ ลสดวยอาํ นาจแหง ความรแู ละความเบ่อื หนายนน้ั ๆ ถึงขนั้ ที่ไม
อาจจะหลงกลบั มายดึ มนั่ ถือม่ันไดอ ีกตอไป จนหมดกเิ ลสโดยสิ้นเชงิ เพราะอาํ นาจของความรทู ี่
เพมิ่ มากข้นึ ทกุ ที แกก ลา และเฉียบขาดยง่ิ ขนึ้ ทุกที การทาํ ใหร ูนน้ั เรียกวาการเจริญปญ ญา ดังนั้น
เราจะเหน็ ไดวา ตวั การทป่ี ฏบิ ตั ทิ เี่ ปนประธานหรือเปนหลกั นนั้ มอี ยู ๓ อยา ง คือ ศีลสมาธิ
ปญญา สว นขอ ปฏิบัติทม่ี ชี ่อื เรยี กเปน อยางอื่นอีกมากมายนนั้ กร็ วมลงไดในขอ ปฏิบัติ ๓ ชอื่ น้ี
ทง้ั นนั้
สว นการฝกจติ ใหเปนสมาธนิ น้ั ไมมีอะไรดไี ปกวา ลมหายใจเขาออก เพราะถา เราตองการท่ี
จะใหม ีความรคู วามเขาใจและความเหน็ แจมแจงแทงตลอด วา สงิ่ ทง้ั หลายทง้ั ปวงไมค วรยึดมนั่
ถือมัน่ โดยความเปน ตวั ตนหรือของตน ใหม าประทบั ใจอยตู ลอดเวลาอยางแนน แฟน เฉยี บขาด
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 66 of 73
พอทจ่ี ะดบั หรอื จะทาํ ลายกิเลสตัณหาอปุ าทาน หรอื แมอ ยางนอ ยที่สุด ก็ปองกนั มนั ไมใ หเ กดิ
ข้ึนมาไดแลว เราจะตอ งหัดกาํ หนดสง่ิ ท่ีเราจะตองการกําหนดใหไ ดอยทู กุ ลมหายใจเขา-ออก แต
ตองเลือกเอาสงิ่ ทงี่ า ยๆ มาทําใหส ําเร็จกอ น สิ่งทีเ่ หมาะสมในระยะแรกที่สุดนี้ก็คือ ตวั ลมหายใจ
ของเราเอง เพราะมนั เนอื่ งอยใู นกายของเราและมนั กห็ ายใจเปน จงั หวะอยแู ลว ในระยะแรกน้ี
เพียงมงุ อยา งเดยี ววา จะกาํ หนดมนั ใหไดท กุ ครั้งที่มนั หายใจเขาหายใจออก ไมใ หสตผิ ละหนี
ออกไปจากลมหายใจนนั้ ไดน านตามท่ีเราตองการ นเี้ รยี กวา เราประสบความสาํ เรจ็ ในขน้ั ทจี่ ะ
ฝก จติ ของเรา ใหกาํ หนดอยทู ่ีอะไรตามทเ่ี ราตองการใหก ําหนด (รายละเอยี ดเก่ยี วกบั เรื่องน้ี พึง
ศึกษาจากบทที่ ๑๐ เรอ่ื งการฝกจติ ในหนงั สือ "วธิ ีระงบั ดบั ทุกข")
การฝก จติ ในลกั ษณะเชน นน้ั เมื่อทาํ ไดถ กู วธิ ีแลว จติ ใจก็จะสงบลงเปน ความสงบท่ีเปน สขุ
ท่ไี มเ คยรูร สมาแตกอ นชนิดทีใ่ ครไปล้มิ รสเขา กจ็ ะพอใจหลงใหลดว ยกนั ทงั้ นน้ั จนกลา วไดว า ไม
มีสขุ เวทนาชนดิ ไหนจะเสมอเหมอื น แมท ส่ี ดุ แตสขุ เวทนาทีเ่ กิดมาจากกามารมณ ดังนนั้ ก็เกดิ มี
หลกั ขน้ึ มาวาถา สามารถเอาชนะสุขเวทนาชนดิ ทสี่ ูงสุดไดจ รงิ ๆ สุขเวทนาทีต่ ํา่ ๆ เตยี้ ๆ รองๆ ลง
มา ก็จะหมดปญ หาไปเอง แตถงึ กระนนั้ กต็ องพจิ ารณาสุขเวทนาชน้ั ยอดเย่ยี มนีใ้ หเหน็ เปน
อนิจจงั ทุกขงั อนัตตา เหน็ เปนสกั วามายา ไมควรแกการยดึ ถือโดยประการท้งั ปวง
คร้นั เสรจ็ การปฏิบัติในขนั้ ควบคุมจติ แลว กเ็ ลอื่ นข้นึ ไปฝก กาํ หนดสัจจธรรมหรือความจรงิ ที่
ควรรอู ยูท กุ ครงั้ ทหี่ ายใจเขา-ออก เชน การเพงใหเ หน็ ความไมเท่ยี งของสิง่ ทง้ั ปวงอยูมขี น้ึ ไดเ พราะ
ธรรมะอะไร หรอื ดทู ีธ่ รรมะอันเปน เครื่องมอื ทําความจางคลายแกกเิ ลส ตามทปี่ รากฏชัดแกต น
มาแลวอยา งไร แลวพจิ ารณาดูความดับไปแหง กเิ ลส และความทกุ ข (ซงึ่ เราเรยี กกนั วา ความดบั
ไปแหง "ตวั ตน-ของตน") วา เปนสิ่งทม่ี ไี ดดว ยธรรมะอะไร และโดยวธิ ีใด ในสภาวะหรอื
ปรากฏการณเชน ไร และในทสี่ ุดกพ็ ิจารณาถงึ อาการท่ีจิตปลอ ยวางสิง่ ทงั้ ปวงวา มภี าวะเชน ไร
เปนไปไดเพราะอาํ นาจแหง ธรรมอะไร ทงั้ หมดน้ี ลว นแตพ ิจารณาใหเ หน็ ชดั อยูตลอดเวลาท่ี
หายใจเขา -ออก
นี้เราจะมองเหน็ ไดวา การฝกใหมีสติสัมปชญั ญะหรือความรแู จงนนั้ ยอมเปนศีล เปน สมาธิ
เปนปญ ญาไปในตวั ตลอดถงึ เปนสัทธา เปน พละ เปน ความเพยี ร ฯลฯ รวมอยูในการฝก สตเิ พียง
สนั้ ๆ เทานน้ั เอง
ทนี ้ี กม็ าถงึ สงิ่ ท่เี ปนอารมณส ําหรบั ใชในการฝก มอี ยู ๔ อยางคือ ลมหายใจ (กาย) เวทนา
จติ และ ธรรม (ลมหายใจนนั้ เรยี กโดยบาลึวา "กาย" เพราะวา เปนสว นสําคญั ของกายเน่ืองอยู
กับกาย (คนสว นมากมกั แปลผดิ วา เปน รา งกาย) ดงั นนั้ จงึ เรียก การฝก กาํ หนดลมหายใจ วา กา
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 67 of 73
ยานปุ สสนาสตปิ ฏฐาน การกาํ หนดเวทนา กระทง่ั ถงึ การฝกควบคุมไมใ หเ วทนานัน้ ปรงุ แตงจติ
ท้ังหมดนนั้ เรยี กวา เวทนานปุ สสนาสติปฏฐาน การกําหนดจิตและการฝกจติ โดยวิธดี งั กลา วแลว
เรียกวา จิตตานุปส สนาสตปิ ฏ ฐาน การกาํ หนดสัจธรรมหรอื กฏเกณฑต า งๆ เหลา นน้ั เรียกวา ธัม
มานปุ ส สนาสตปิ ฏ ฐาน การกาํ หนดหรือพจิ ารณาทกุ ข้ันทกุ ตอน ท้ังหมดนล้ี ว นแตเปนการ
กาํ หนดในขณะทม่ี กี ารหายใจเขา-ออก อยตู ลอดเวลาติดตอ กนั ไมมีระยะวา งเวน และเพราะ
เหตุท่เี ปน การกาํ หนดอยทู ุกลมหายใจเขา-ออกน่นั เอง การปฏบิ ัติทั้ง ๔ ประการนีจ้ ึงไดน ามวา
อานาปานสติ
สาํ หรับชาวบา นทไ่ี มม เี วลาวา งพอจะมาทาํ กรรมฐานแลว จะทาํ อยา งไร ? ขอน้ีถากลา ว
อยางสนั้ ๆ และตรงๆ กค็ ือวาตองอาศัยวิธปี ฏบิ ตั ิลัดดังบรรยายมาแลว ทง้ั หมด อนั จะนาํ ไปสผู ล
อยางเดยี วกัน คือการควบคมุ "ตวั เรา-ของเรา" เรอ่ื ยไปจนกวา จะดบั มนั ไดโ ดยเดด็ ขาดในทสี่ ุด
โดยการถอื หลกั วา จะไมย ึดมนั่ ถอื มนั่ ในสงิ่ ใดๆ ท้ังสนิ้ หรอื วา ไมมีอะไรทนี่ า เขา ไปเอา หรือเขาไป
เปน ดวยความยึดมัน่ ถือม่ัน ขอนีห้ มายความวา แมเ ราจะมีอะไร หรอื เปน อะไรอยู ก็ใหม หี รอื เปน
แตสกั วา ตามโลกสมมตหิ รือตามกฏหมาย อยา ไปมหี รอื ไปเอาหรอื ไปเปนเขา ดวยชีวติ จิตใจ หรอื
ดว ยความยึดม่นั ถอื มน่ั คอยควบคุมตวั เองใหม คี วามระลกึ หรือมสี ตสิ มั ปชญั ญะเชน น้อี ยูเสมอ น้ี
เรยี กวา การเปนอยทู ีถ่ ูกตอ งอยูทกุ ลมหายใจเขา -ออก
การเปน อยูอ ยา งถกู ตอ งอยทู กุ ลมหายใจเขา -ออกชนดิ น้ี มนั เปน การตัดอาหารของกิเลส
ทาํ ใหกเิ ลสไมไ ดรบั อาหารเลยทงั้ ท่ีเราก็ไมมคี วามยุงยากลาํ บากแตป ระการใด ดจุ "เลย้ี งแมว
เทานน้ั หนกู ็หมดไปเอง" โดยท่ีเราไมตองยงุ ยากอะไรกบั หนู จงึ ถอื วา เปนวธิ ลี ัดและแนน อนที่สุด
ในการทีจ่ ะกาํ จดั ส่งิ ที่ไมพ งึ ปรารถนา แลวคนแกท ีไ่ มร ูหนังสือกป็ ฏิบตั ิได เพราะเปน ตวั การ
ปฏบิ ัตทิ แ่ี ทจรงิ มผี ลประเสริฐกวาการปฏบิ ตั ิของพวกมหาบาเรยี ญ ทคี่ วามรทู ว มหัวแตเ อาตัวไม
รอด ซึง่ มอี ยทู ว่ั ๆ ไปมากมาย
ขอทบทวนความจําวา เราจะบรสิ ทุ ธหิ์ ลดุ พนทกุ ขไ ด กด็ ว ยปญ ญา สง่ิ ทง้ั ปวงไมค วรเขาไป
เอา หรือเขา ไปเปน ดวยความยึดม่ัน เพราะไมยดึ ม่นั ถือม่ัน จึงไมทาํ ใหเ กดิ "อัตตา" ถาผิดไป
จากน้นั กเ็ ปนพทุ ธศาสนาปลอม ดงั ท่มี ีผอู ธิบายไปดวยอคตหิ วงั ประโยชนเ ขา ตัวอยา งใดอยาง
หนง่ึ ดงั น้ี เราจงึ มหี นา ทที่ ีจ่ ะคนใหพ บวา การปฏิบตั ิธรรมแนวไหน ท่จี ะเปนการไมย ดึ มน่ั ถือมนั่
ตง้ั แตต น จนถงึ ที่สดุ จริงๆ แลว ก็งา ยดายสาํ หรบั คนท่ีมกี ารศกึ ษานอยดวย
ทัง้ ๆ ท่ีส่ิงทงั้ ปวงไมมอี ะไรทน่ี า เอานา เปน เพราะมนั เปน มายาหลอกลวง และพรอมทจ่ี ะ
กลายเปน ยาพิษอยูเสมอแตบางครง้ั ความจําเปน ตามธรรมชาติ หรอื ทางสงั คม หรอื ทางรางกาย
เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 68 of 73
ไดบ ังคับใหเรามี หรือเปน หรือได เชน ตอ งครอบครองอะไรๆ ตา งๆ อยางไมม ที างจะหลีกเลย่ี ง
ได ดังนนั้ เราจะตอ งดใู หด ีๆ วา จะไปเอาไปเปน อยา งไร จึงจะไมเกดิ ทกุ ข ผลสุดทา ย ก็พบวา
จะตอ งเขา ไปเก่ียวของกับมนั ในลกั ษณะทเี่ ปนของไมน า เอานา เปน นนั่ เอง คือเขา ไปเก่ยี วของ
ดว ยสติปญญาเหมือนอยา งวา ถาจะเปน จะเขาไปเกยี่ วขอ งกบั สัตวร ายเชนเสอื ก็ตอ งไป
เกย่ี วของกบั เสอื ดว ยสตปิ ญ ญาใหม ากที่สดุ บกพรองหรอื เผลอไมไ ด จึงจะทาํ มนั ใหอ ยใู น
อํานาจของเราได อารมณต างๆ นนั้ มอี นั ตรายยง่ิ กวา เสือ แตก ็ไมมใี ครมองเหน็ เชน นนั้ ท้ังนี้
เพราะอารมณเ หลานน้ั กาํ ลงั ทําอนั ตรายคนอยทู กุ ลมหายใจเขา -ออกทวั่ ทกุ คน ไมย กเวน ใครใน
บรรดาทีเ่ ปน ปถุ ชุ น และทาํ อนั ตรายถงึ ขนาดทาํ ใหเ สียผเู สยี คน หรอื เสยี เกียรติแหง ความเปน
มนุษย จงึ นา กลวั กวา เสอื ดงั นนั้ เราจึงตอ งมีชวี ิตอยูในทา มกลางของอารมณทไ่ี มน า เอานา เปนน้ี
ดวยนโยบายหรืออุบายอนั แยบคาย หรือดวยศิลปะอนั สงู สดุ คอื การคิดไวว า จะไมเอาอะไรและ
ไมเ ปน อะไรเลย แมสังคมหรอื โดยกฏหมายจะถอื วา คนน้นั ไดส งิ่ น้นั มสี ่ิงน้ี หรอื เปน อยา งนน้ั เรา
กใ็ หเ ปน ไปแตสักวา โดยโลกสมมติ หรอื ตามกฏหมาย สว นภายในจิตใจสวนลกึ ๆจรงิ ๆ ทค่ี นอน่ื รู
ไมไดน น้ั มันยงั สงบเฉยอยู คอื เทากบั ไมไดเ อา ไมไ ดเ ปน ไมไ ดม ี ไมไ ดยึดครองสิ่งใด เลยไดผลดี
ทงั้ สองดาน คอื ทางภายนอกหรอื ทางโลก ก็มกี นิ มีใชม กี ารเปนอยทู ส่ี บาย ทาํ อะไรกบั ใครก็ได มี
ภาระหนา ท่ีอยา งสงู อยา งไรก็ได สว นทางภายในคอื จติ ใจกย็ งั คงวา งจากตวั ตน หรือเปนปกติอยู
ตามเดิม ไมมคี วามรอ นใจ ไมม ีความหนัก ไมข นึ้ ไมลง ไมหวน่ั ไหวเปลยี่ นแปลงไปตามส่ิงตา งๆ
ภายนอกเพราะผดิ คาดผดิ หวงั หรือไดส มหวงั การเปน อยูชนดิ นี้ถา จะกลาวโดยอุปมาก็ตอง
กลา ววา ขางนอกเปน วัฏฏสงสาร แตข า งในเปนนิพพาน แทท ่จี รงิ นน้ั กเ็ ปนนิพพานไปหมด คอื
วา งจากทุกขแ ละเหตุใหเ กิดทกุ ขโดยประการทงั้ ปวง น่ีแหละคอื ศลิ ปะแหง การมีชีวิตทเี่ ปนไป
ตามหลกั แหง พทุ ธศาสนา
ทีก่ ลา ววา ใชไ ดแ มแกคณุ ยา คุณยายทไ่ี มร หู นงั สอื นนั้ ขอนหี้ มายความวา ผเู ฒาเหลา น้นั ไม
ตองศกึ ษาอะไร นอกจากหดั มองดูท่คี วามไมนาเอานา เปน ของส่ิงตา งๆ เชน เปนคนดกี ม็ คี วาม
ทุกขไ ปตามแบบของคนดี เปนคนชวั่ ก็มีความทกุ ขไ ปตามแบบของคนช่ัว ดงั นน้ั การไมเ ปน อะไร
น่แี หละจงึ จะไมม ที กุ ข อกี ทหี นง่ึ กว็ า ถา เปน คนมีบุญกต็ องเปนทกุ ขไปตามประสาของคนมีบญุ
ซึ่งแตกตา งไปจากความทกุ ขของคนมีบาป แตเปน ทกุ ขเ หมอื นๆ กนั ก็ตรงทวี่ า มันยังเปน การ
แบกของหนกั ทางใจเอาไวด ว ยกนั ทง้ั น้ัน ผดิ กนั แตว า ของหนักของคนชัว่ นน้ั กาํ ลังลกุ เปนไฟ แต
ของหนกั ของคนดีนัน้ ถึงจะหอมหวนเยอื กเยน็ อะไรกต็ าม แตม นั กห็ นักอยา งเรน ลบั อีกทหี นง่ึ ซงึ่
สงู ขนึ้ ไปกว็ า เกิดมาเปน ผูมคี วามสขุ กย็ งั ตองทกุ ขไ ปตามประสาของคนมคี วามสุข เพราะ
ความสุขนน้ั มนั กย็ งั เปน ส่งิ ทตี่ อ ง "แบก" และความสขุ นน้ั ตั้งรากฐานอยูบ นความ
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 69 of 73
เปลย่ี นแปลง บนอารมณท ง้ั หลายท่เี ปน มายาทส่ี ดุ สูไมเ ปน อะไรเสียเลยไมได นแี่ หละจึงวา ไมม ี
อะไรท่นี า เอานาเปน
ทีนี้ เมือ่ ตองดไู ปถึงสง่ิ ท้งั ปวง ก็จะมองเหน็ ไดวา สง่ิ ทงั้ หลายมคี วามหมายอยเู พยี ง ๒ อยา ง
คอื เปน คณุ อยา งหนงึ่ และเปน โทษอยา งหนง่ึ และทกุ อยา งจะตองมที ัง้ คณุ และโทษ ไมม อี ะไรท่ี
จะมีไดแ ตค ณุ อยา งเดยี ว หรอื โทษอยา งเดยี ว แตเ ปน เพราะปถุ ชุ นมองมนั ไมอ อกเทา น้นั จงึ ได
หลงไปวา อยา งนน้ั เปน คณุ อยา งนีเ้ ปน โทษ แตก ็ลว นแตเปน มายายึดถอื เขา ไมได เพราะยึดถอื
แลว จะเปน ทุกข สูไมเอาอะไรเสียเลยดีกวา คือมีจิตวา งจากความยดึ มนั่ ถือมนั่ ตอ สงิ่ ทง้ั สองนน้ั
แลว กค็ วบคมุ สิ่งทงั้ สองนัน้ ใหอ ยูในใตอํานาจเทา ทจ่ี าํ เปน จะตองเก่ยี วของกับมัน นแี่ หละคือ
ความหมายของคําวา "ไมเ อาอะไร" ซง่ึ คกู บั คาํ วา "ไมเปน อะไร"
ถาจะใหงา ยยงิ่ ขนึ้ ไปอีกสําหรบั ผูเฒา ผแู ก ก็ตงั้ ปญ หาไปในทาํ นองวา มันนา สนุกไหมใน
การท่จี ะเปนคน? เปน ผหู ญงิ นาสนุกไหม? เปนผชู ายนา สนกุ ไหม? เปน ผวั นา สนกุ ไหม? เปนเมยี
นาสนกุ ไหม? เปน แมเขานาสนุกไหม? แลวผเู ฒา เหลา นน้ั จะสนั่ ศรี ษะกนั ไปทกุ คนทเี ดียว เพราะ
ไดม คี วามชํานชิ ํานาญในสง่ิ เหลา น้ันมาอยา งโชกโชนซมึ ซาบเตม็ ทีแ่ ลว ไมเหมอื นกับเด็กๆ หรอื
คนหนมุ คนสาวทยี่ งั ไมประสปี ระสาตอความเปนเชน น้ัน แตอ าจจะมีคนหนมุ สาวบางคนท่ถี า
ไดรบั คาํ อธบิ ายแลว กเ็ ขาใจไดเหมือนกนั นนั่ แหละคอื ลกั ษณะของผทู จ่ี ะเปน พระอรหนั ตต ้งั แต
อายุ ๑๕ ป ดังที่ถอื กนั วา มีอยู ๒-๓ คนในประวตั ิศาสตรแหงพทุ ธศาสนา ถาผเู ฒา เหลา นั้น ปลง
ตกและทําได กจ็ ะมีความสขุ สดชืน่ กลบั กลายเปน ความหนุมความสาวขึ้นมาอกี ชนดิ หนงึ่ ทไ่ี ม
กลับแกเฒา แมว ารางกายจะเนา เขา โลงไปนแี่ หละ คือศิลปะแหง ชวี ติ ตามหลกั หวั ใจของพทุ ธ
ศาสนา จึงทาํ ใหเ ราเหน็ ไดวา พทุ ธศาสนาคอื ยอดของศลิ ปะของการดาํ เนนิ ชวี ติ ชนดิ ทผี่ เู ฒา ไมรู
หนงั สอื งกๆ เงน่ิ ๆ กเ็ ขา ถึงไดใ นเมอื่ ดําเนนิ ตนไปอยางถูกทางดงั ทกี่ ลาวแลว
ถา ไมเ ปน อยางนน้ั คือมีชวี ติ อยมู าจนกระท่งั ถงึ ขณะท่ีจะตาย โอกาสก็มีอยใู นวินาทีสุดทา ย
ท่ีจิตจะดับ คอื ถือเอาอบุ ายชนิดทีเ่ รียกวา "ตกกระไดพลอยกระโจน" กลา วคือ เม่อื รางกายจะ
แตกดบั โดยแนน อนแลว กพ็ ลอยกระโจนตามไปดวยความแนใจวา ไมม ีอะไรเหลืออยูทไ่ี หนทน่ี า
เอานา เปน ความรใู นเรอ่ื งไมม อี ะไรทีน่ า เอานา เปน ที่ไดศ กึ ษาและปฏิบตั ิมาบางนน้ั อาจจะมา
ชวยไดทนั ทว งที นีแ้ หละเรยี กวาการดับขันธไดด วยสตสิ ัมปชญั ญะอยา งยง่ิ และอาจลถุ งึ นพิ พาน
ไดดว ยอุบายท่เี รยี กวา "ตกกระไดพลอยกระโจน" แมวา จะตายโดยอุบตั เิ หตุ และเวลาจะ
เหลืออยูสักวินาทหี นง่ึ หรอื คร่งึ วินาทกี ต็ าม กอ นแตจะหมดความรูสกึ ตัว กใ็ หผูเฒา เหลานน้ั
ระลึกถึงความรใู นเรือ่ งความดบั ไมเ หลือขนึ้ มา และถาสามารถนอ มจติ ใจไปสคู วามดบั ไมเ หลอื
ได แลว ปลอ ยใหนามรปู ดบั ไป กเ็ ปน การบรรลนุ ิพพานได เพราะไมไ ดนกึ ถึงอะไร ไมไ ดนกึ ถงึ ผู
เวบ็ ไซตพทุ ธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 70 of 73
ชวยเหลอื หรอื ทรัพยส มบัติ ลูกหลานหรอื ส่งิ ตา งๆ ในขณะน้ันนกึ ถงึ แตเ พยี งอยา งเดียว คือ ความ
ดับไมเ หลอื เทา นนั้
น้เี รยี กวา ปฏิบตั ิธรรมอยางลัดส้ันท่สี ดุ งายท่สี ดุ และใชไดแ กท ุกคน เทา ทบี่ รรยายมา
ท้ังหมดนี้ เปน การชใ้ี หเหน็ ลกั ษณะตา งๆ ของสงิ่ ทเี่ รียกวา "ตัวตน-ของตน" ใหเ หน็ มลู เหตแุ หง
การเกดิ ขึ้นของมัน ใหเ หน็ สงิ่ ตรงกนั ขา ม (คอื ความวา งจากความม"ี ตัวตน-ของตน") และใหเ หน็
วธิ ปี ฏิบตั ิเพ่อื เขา ถึงความวา งจาก "อตั ตา" ในฐานะที่เปน ปญ หาสาํ คญั สําหรบั มนุษยชาติทงั้ มวล
เพราะวา ความทกุ ขของคนท้งั หลายไมว า จะอยใู นภูมิไหนสูงตาํ่ อยา งไร ก็ลว นแตมีความทกุ ข
เน่อื งมาจากสงิ่ ทเ่ี รียกวา "ตวั ตน-ของตน" น้ีทง้ั นนั้ "อตั ตา" นน่ั แหละเปน ตัวทกุ ข ดังที่
พระพทุ ธเจา ตรัสวา "โดยสรปุ อยา งสน้ั ท่สี ดุ แลว เบญจขนั ธท ปี่ ระกอบอยดู วยอุปาทานนน่ั แหละ
เปนตัวทกุ ข" อวชิ ชาก็เปน มูลเหตใุ หเ กดิ อัตตา การดบั อวชิ ชาเสยี ได คอื การดบั ทกุ ขสนิ้ เชิง การมี
ชีวิตอยูอยา งถกู ตอ งทกุ ลมหายใจเขา-ออก ทง้ั ในขณะปกติท่ไี มมอี ารมณร บกวน และทง้ั ใน
ขณะทเ่ี ผชญิ หนา กนั กบั อารมณน น่ั แหละ คือการปฏิบัติชอบ หรอื ตัวพรหมจรรยใ นพทุ ธศาสนาท่ี
จะดับอวชิ ชาอนั เปน บอ เกิดแหงอัตตาเสียได อันจะทาํ ใหมนษุ ยชาติประสบสนั ตสิ ุขอนั ถาวรทง้ั
ภายนอกและภายใน รวมทง้ั สว นสังคมและสว นเอกชนตลอดเวลาทม่ี นุษยเ ราไมเ ขา ถึงความจริง
ขอ น้ี โลกนีจ้ ะยงั คงมวี กิ ฤตกิ ารณถ าวร ระส่ําระสายวนุ วายไมม ีหยดุ อยา งท่ีไมมใี ครจะชว ยได
เพราะเปน การกระทาํ ท่ฝี น หลกั ความจริงของธรรมะ หรอื ของธรรมชาตกิ ลา วอยางปคุ คลาธษิ
ฐาน กว็ าฝน พระประสงคข องพระเปน เจา นัน่ เอง ฉะนนั้ จึงอยาไดป ระมาท ในเร่อื งอตั ตา จงได
พิจารณาดกู นั ใหม ใหมสี มั มาทฏิ ฐิ หรอื ความเขาใจอยา งถูกตองทัง้ ทางกายทางวาจาทางใจ
แลวก็จะไดประสบสิง่ ทีด่ ีที่สดุ หรือประเสริฐทส่ี ุดท่มี นษุ ยเ ราควรจะไดรับ โดยไมตองสงสัยเลย
พุทธศาสนามคี วามมงุ หมายเพียงเทา น้ี ใจความสาํ คญั ของคําสอนของพทุ ธศาสนาจึงมีอยู
เพยี งเทา นี้ ผูห วงั ทจ่ี ะเขา ถึงตวั พทุ ธศาสนาอยางแทจรงิ โดยรวดเร็ว หรอื หวงั จะไดรบั ประโยชน
จากพทุ ธศาสนาอยา งเตม็ ที่ จงพยายามศึกษา และพจิ ารณาดว ยการกระทาํ ทส่ี ุขมุ และ
รอบคอบเถิด จะไดรบั ประโยชนค รบถว นจากพุทธศาสนา ไมเ สียทีที่เขา มาเกยี่ วขอ งกบั พทุ ธ
ศาสนาโดยไมต องสงสยั เลย
เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 71 of 73
ลําดบั แหง ปฏจิ จสมุปบาทฝายเกดิ ทุกข
อวิชชา เปน เหตใุ หเ กดิ สงั ขาร (การปรงุ แตง )
สังขาร เปน เหตใุ หเ กิด วญิ ญาณ (การรบั ร)ู
วิญญาณ เปนเหตใุ หเ กิด นามรปู (รางกายจติ ใจ)
นามรปู เปนเหตใุ หเกดิ อายตนะ (เคร่อื งทาํ ใหเ กิดผัสสะ)
อายตนะ เปน เหตุใหเ กดิ ผสั สะ (การกระทบ)
ผัสสะ เปนเหตุใหเกิด เวทนา (ความรูส ึก)
เวทนา เปน เหตุใหเกดิ ตัณหา (ความอยาก)
ตณั หา เปนเหตใุ หเกิด อปุ าทาน (ความยึด)
อุปาทาน เปน เหตุใหเ กิด ภพ (ภาวะทางจิต)
ภพ เปน เหตุใหเ กดิ ชาติ (การเกดิ "ตัวตน")
ชาติ เปนเหตุใหเ กิด ความทุกขตางๆ
เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 72 of 73
ลําดับแหง ปฏจิ จสมปุ บาทฝายดับทกุ ข
ความทกุ ข จะดับไปไดเ พราะดับ ชาติ
ชาติ จะดบั ไปไดเ พราะดบั ภพ
ภพ จะดับไปไดเ พราะดบั อุปาทาน
อุปาทาน จะดับไปไดเ พราะดบั ตัณหา
ตณั หา จะดบั ไปไดเพราะดบั เวทนา
เวทนา จะดบั ไปไดเพราะดับ ผสั สะ
ผัสสะ จะดับไปไดเ พราะดบั อายตนะ
อายตนะ จะดบั ไปไดเพราะดบั นามรูป
นามรูป จะดบั ไปไดเพราะดับ วญิ ญาณ
วญิ ญาณ จะดับไปไดเพราะดับ สังขาร
สงั ขาร จะดบั ไปไดเ พราะดบั อวชิ ชา
เวบ็ ไซตพุทธทาส.คอม www.buddhadasa.com หนา 73 of 73