โอ้อนจิ จาวนั เวลาผา่ นมาถÖง
โอ้อนจิ จาวนั เวลาผ่านมาถงึ วันท่ีซ่ึงเหล่าผองศิษย์คดิ หวาดไหว
แม้เทวาท่ัวนภามาอาลยั หลวงพอ่ ทูลได้จากไปสู่นพิ พาน
ศิษย์ทั่วหน้ามาทราบขา่ วละสังขาร
ขนึ้ ๑๔ ค่ำ เดอื น ๑๒ นองนำ้ ตา สุดจะทานกลัน่ น้ำตาอรุ าอาดรู
หนออนิจจงั หลวงพอ่ สอนแตว่ นั วาน เสียงทา่ นโปรดเทศนามเิ สอ่ื มสูญ
เสียงเกือ้ กลู เรง่ สง่ ลกู สมู่ รรคา
เสยี งหลวงพอ่ ยังกึกก้องอยใู่ นโสต ยิ้มท่เี หนอื โลกกิเลสเขตมนสุ สา
เสียงทสี่ รา้ งปัญญาใหเ้ พมิ่ พนู ยมิ้ พ่อหนายม้ิ บริสทุ ธิอ์ บอุน่ ใจ
นมุ่ ลกึ ชัดฝกึ สอนศิษยท์ ุกสมัย
อีกรอยยิ้มยมิ้ ละไมใจดเี หลอื พ่อยงั ได้เป็นแบบอยา่ งทางท่คี วร
ยมิ้ ท่บี อกแตค่ วามรกั ความเมตตา แต่พอ่ สร้างทางวิถที ใี่ หส้ วน
พอ่ ให้ทวนยอ้ นข้นึ ไปใหเ้ หน็ ธรรม
อกี การเดนิ การเหนิ พระจรยิ วัตร พ่อเน้นใหใ้ ช้สัมมาอย่างสรา้ งสรรค์
ท้งั สขุ ุมมีสตอิ กี ฉบั ไว พอ่ ใหห้ ม่นั ฝกึ ความคิดปิดอบาย
ให้ตวั จิตเหน็ ไตรลักษณม์ หิ า่ งหาย
ถงึ แมพ้ อ่ จะไมอ่ ยูเ่ ป็นตวั อยา่ ง ใหจ้ ิตหนา่ ยตอ่ โลกาไมอ่ าวรณ์
เหล่ากระแสทางโลกียล์ ้วนแปรปรวน ศิษย์ท่วั แควน้ ยงั ระลึกถงึ คำสอน
ใชต้ ดั รอนกเิ ลสมารผลาญในตัว
พ่อไดม้ อบมรดกอนั ยง่ิ ใหญ่ พอ่ ชว่ ยปลูกรากฐานขจดั ทางสลวั
เปน็ ทฏิ ฐินำปญั ญาอย่างสำคัญ ไมเ่ มามวั พวั พนั ผันหลีกไกล
ขอท่านทราบคำสั่งสอนมไิ ปไหน
เห็นอะไรเปน็ ได้ใช้นำคิด ขอพอ่ ไดค้ ้มุ ครองลูกตลอดมรรคา...
ให้พจิ ารณาทกุ นาทมี เิ ว้นวาย
ถงึ แม้พ่อจะจากไปอยูไ่ กลแสน
ใช้ปัญญาเปน็ อาวธุ ยุทโธปกรณ์
พระคุณพ่อเหลือลำ้ นำทางลูก
พ่อให้ลกู รโู้ ลกาว่าน่ากลัว
ลกู ขอยกมือประนมกม้ ลงกราบ
ตดิ ตวั ลูกเพอ่ื ปฏิบัตติ ลอดไป
นŒองหลี กรุงเทพมหานคร
251
คำไว้อาลัย
ทห่ี ลงผดิ ในมจิ ฉา แตห่ นไหน
ขอแถลง แจงไว้ ในคำกลอน
ธรรมบรรเจดิ แจง้ จติ พสิ มยั
เกดิ ปญั ญา สอนจติ ใจ เหน็ ความจรงิ
ดงั่ มรรคแปด เรมิ่ ไว้ กอ่ นหลกั อน่ื
อนสุ รณ์ แดห่ ลวงพอ่ ทลู จากลกู ศษิ ย ์ จนจติ ตน่ื จากความหลง ลงอนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา
หลวงพอ่ ทลู สอนลกู ศษิ ย์ ไวอ้ ยา่ งไร จกั พบสขุ ดว้ ยสจั ธรรม ตามคำสอน
สมั มาทฐิ ิ นำหนา้ ปญั ญาเกดิ อวชิ ชา ยงั ไชชอน ซอ่ นความจรงิ
ดบั มจิ ฉา ทฐิ ิ ใหห้ มดไป หลวงพอ่ ทลู ทา่ นปลกุ ใหเ้ ราเหน็
เปลย่ี นความเหน็ จากมจิ ฉา สสู่ มั มา
ความเหน็ ชอบ สมั มาทฐิ ิ นหี้ ลกั ใหญ ่ เตอื นใหค้ ดิ เหน็ เกดิ ดบั กบั สงั ขาร
ใชไ้ ตรลกั ษณ์ นำความคดิ ทกุ วนั คนื เปน็ ธรรมทาน ลำ้ คา่ นา่ พจิ ารณา
หากคดิ ถกู คดิ เปน็ กพ็ น้ ทกุ ข ์ เรง่ ขจดั ความเหน็ ผดิ ใหห้ มดสนิ้
หากคดิ ผดิ กท็ ำผดิ จติ สนั่ คลอน พน้ วฏั ฏะ ทกุ ขโ์ ศกสนิ้ สนู่ พิ พาน
แตค่ ำสอน ไมแ่ ผว่ พาน หายไปไหน
อบุ ายธรรม นำปญั ญา พาพน้ ทกุ ข ์ ดงั่ แสงทอง สอ่ งจติ ใจ ตลอดกาล
ทา่ นทง้ั สอน ทา่ นทง้ั ยำ้ วา่ จำเปน็ ทวี San Francisco U.S.A.
ธรรมสดุ ทา้ ย หลวงพอ่ สอน แกล่ กู ศษิ ย ์
หลกี ไมพ่ น้ มว้ ยทกุ คน เมอื่ ถงึ การณ ์
อยา่ ประมาท กอ่ นดบั เรง่ ปฏบิ ตั ิ
ปญั ญาเกดิ ธรรมแจง้ จติ โบยบนิ
แมว้ นั น้ี หลวงพอ่ ละสงั ขาร
อยคู่ โู่ ลก เปน็ สจั ธรรม นำจติ ใจ
ขิปปปัญญานุสรณ์
252
เทิดทูนบชู า
พระพุทธศาสนาได้กล่าวไว้ว่า การได้เกิดมาเป็นมนุษย์นั้นเป็นการยาก และนับเป็นลาภอันประเสริฐ โดย
เฉพาะอยา่ งยง่ิ ไดม้ าพบพระพทุ ธศาสนา และพระสปุ ฏปิ นั โนผปู้ ฏบิ ตั ดิ ี ปฏบิ ตั ชิ อบ มงคลประการหนง่ึ ทนี่ บั วา่ มคี วาม
สำคญั ดงั พทุ ธภาษติ “ปชู า จะ ปชู ะนยี านงั เอตมั มงั คะละมตุ ตะมงั ” ซงึ่ แปลความวา่ การไดบ้ ชู าผคู้ วรบชู าทง้ั หลาย
นบั เปน็ มงคลอนั สงู สดุ ดงั ในชว่ งเวลาทผ่ี า่ นมา ศษิ ยานศุ ษิ ยไ์ ดร้ สู้ กึ ซาบซง้ึ ปตี ิ ทไี่ ดเ้ ปน็ ลกู ศษิ ยพ์ ระปญั ญาพศิ าลเถร
หรอื หลวงพอ่ ทลู ขปิ ปฺ ปญโฺ เพราะนบั เปน็ มงคลอยา่ งยง่ิ ในการไดบ้ ชู า ศรทั ธาแดป่ ชู นยี สงฆ์ ควรคา่ แกก่ ารเคารพ
สกั การะอยา่ งมน่ั คง
หลวงพ่อทูล ขิปฺปปญฺโ เป็นพระเถระผู้ใหญ่ ผู้รัตตัญญู เจริญด้วยชาติวุฒิ วัยวุฒิ และคุณวุฒิ ได้
บำเพ็ญประโยชน์เป็นคุณูปการไว้ในพระพุทธศาสนาเป็นอันมาก ทั้งในด้านการศึกษา การปกครอง การเผยแผ่
และสาธารณปู การ เป็นผดู้ ำรงไว้ท้งั ปริยัตสิ ทั ธรรม ปฏบิ ตั สิ ทั ธรรม และปฏิเวธธรรม
แม้บัดน้ี หลวงพ่อฯ ไดม้ รณภาพละสังขารไปแล้ว ยังความเศร้าสลดอาลยั มาสมู่ วลศษิ ย์ย่งิ นัก ราวกบั บตุ ร
ท่ีสูญเสียบิดามารดา ประชาราษฎร์ที่สูญเสียผู้นำ แต่นั่นเป็นเพียงหลวงพ่อได้จากไปเฉพาะสังขาร ร่างกาย
แต่ปฏิปทา สมั มาปฏิบตั ิ จรยิ าวตั ร และธมั โมวาททห่ี มดจดงดงาม อนั เปน็ มรดกล้ำค่า ยงั คงส่องสวา่ งอยูก่ ลางใจ
พร้อมด้วยบารมี อมตธรรม ท่ีแผ่ขจรขจายไปท่ัวทุกสารทิศ คลี่คลายความมืดมน อนธกาลแห่งความขาดเขลา
ยังความสงบและสันติสุข ประดุจอนุสาวรีย์แห่งความดีงาม ปรากฏประทับอยู่ในจิตใจของพุทธศาสนิกชน ผู้ใฝ่
ในธรรม ตราบชว่ั นริ ันดร์
หลวงพ่อฯ ได้เหน็ดเหนอ่ื ยตรากตรำ ทำงานเผยแผ่ อบรมลูกศษิ ยม์ าตลอดชีวติ เพราะหลวงพอ่ ไดเ้ ลง็ เหน็
ความสำคัญในการสั่งสอนหลักธรรมคำสอน ตามแนวทางของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซ่ึงขออาราธนาธรรม
ทท่ี า่ นไดเ้ คยสอนสั่ง พอเป็นสังเขป เล็กนอ้ ย เพื่อเปน็ เคร่ืองระลกึ ถึงองค์ทา่ น หลวงพอ่ พรำ่ สอนถงึ สปั ปุริสธรรม
๗ ประการ ซ่งึ นบั เป็นอบุ ายในการปฏบิ ตั ิ เสริมสติปัญญา ให้ฉลาดรอบรู้ ในหมวดธรรมต่างๆ อยา่ งถกู ต้อง และ
เป็นไปเพ่ือการครองตนให้เหมาะสม ท่ามกลางผู้อ่ืน เช่น กาลัญญุตา การเป็นผู้รู้จักกาลเวลา และปริสัญญุตา
การเป็นผรู้ ู้จักชุมชน ซงึ่ มเี อกลักษณ์ เป็นสัญชาตญาณเฉพาะกลมุ่ ดังวา่ ในสมยั หนึ่ง ขณะเดนิ จงกรมอย่นู น้ั ไดเ้ กดิ
อบุ ายธรรมชั้นสงู อทุ านออกมาอบรมใจท่านวา่
“นกั ปฏิบัตนิ ี้ ให้ถือธรรมเนียมคือ นกเจ่า (นกยางกรอกพนั ธุ์จีน)
บินผ่านฟา้ ขาวจ้า จึงเห็น”
หลวงพ่อสอนให้เห็นผู้มีความกตัญญูรู้คุณ และตอบแทน พ่อแม่ครูบาอาจารย์ ดังสมัยหน่ึงหลวงพ่อได้ร้
ู
ขึ้นว่า “ต่อแต่นี้ จะเหลอื เวลาทพี่ ระเดชพระคุณ หลวงปขู่ าว อนาลโย จะยงั สังขารอยใู่ นโลกน้ี อกี เพียง ๑ ป”ี
พอทราบขนึ้ ดงั นนั้ หลวงพอ่ ไดเ้ ดนิ ทางกลบั ไปยงั วดั ถำ้ กองเพล เพอื่ ปฏบิ ตั ริ บั ใชอ้ ปุ ฏั ฐากหลวงปู่ ซงึ่ ถอื เปน็ การแสดง
อาจริยวตั ร ตราบเทา่ หลวงปมู่ รณภาพ
253
หลวงพ่อนับเป็นปราชญ์ผู้รอบรู้ในหลักธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ปัญญาสัมมาทิฏฐิ ท่านสอนพวกเรา
เสมอๆ ในการใช้สติปญั ญาวจิ ัย วจิ ารณ์ ให้จติ ใจเกดิ ความแยบคายอยู่เสมอ ทา่ นสอนใหท้ ำตนประดุจพรมเช็ดเทา้
ถ่อมตน น้อมรับฟังคำสอนจากบุคคลรอบด้าน พร้อมด้วยฝึกฝนและลับสติปัญญา ขับเคล่ือนกงล้อพระธรรมจักร
ภายใน ให้หมุนทะลุทะลวง แก้ไขอุปสรรคปัญหา ความโง่เขลา ให้หมดส้ินไปจากใจ หลวงพ่อสอนว่า “สมบัติ
ท้ังหลาย ท่ีมีอยู่ในโลกนี้ ไม่มีอะไรเป็นของเราท่ีแน่นอน ทุกอย่างเป็นเพียงปัจจัยสำหรับอาศัย ในช่ัวขณะที่เรามี
ชีวติ อย่เู ท่านนั้ ”
คำสรรเสริญเทิดทูนบูชาในองค์ท่านนั้น คงมากมายเกินกว่าจะพรรณนาได้หมด ซ่ึงไม่เพียงแต่ศิษยานุศิษย์
เทา่ นั้น ที่ได้มตี ่อองคห์ ลวงพอ่ โอวาทธรรมในครั้งหน่งึ ทหี่ ลวงปขู่ าว อนาลโย ได้แสดงแก่หลวงพ่อเปน็ การสว่ นตัว
ดงั วา่ “น่ที ูล จากนีไ้ ปจงตงั้ ใจประกาศศาสนา อบรมพระเณร และญาตโิ ยม ใหเ้ ขาร้ใู นแนวทางปฏบิ ตั ินะ เพราะ
แนวทางปฏบิ ัตทิ ่ถี กู ต้องอย่างแทจ้ รงิ นน้ั หาผู้สอนได้ยาก”
ตลอดชีวิตสมณเพศของหลวงพ่อทูล ขิปฺปปญฺโ นับว่ามีความสำคัญ และทรงคุณค่ายิ่งท้ังประโยชน์ตน
และผู้อืน่ ดงั พุทธภาษติ ท่วี า่
โย โหติ พยฺ ตฺโต จ วิสารโท จ พหุสสฺ ุโต ธมฺมธโร จ โหติ
ธมฺมสฺส โหติ อนฺธมฺมจารี ส ตาทโิ ส วุจจฺ ติ สงฺฆโสภโณ
ผู้ใดเป็นคนฉลาด แกล้วกล้า เป็นพหูสูต เป็นผู้ทรงธรรม ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม บุคคลเช่นนั้น
ท่านเรยี กวา่ ผยู้ ังหมูใ่ ห้งดงาม
ขอน้อมคารวะดว้ ยความอาลยั ย่ิง
คณะศษิ ยานศุ ษิ ย์ โรงพยาบาลศิริราช
ขิปปปัญญานสุ รณ์
254
ครังé หน่Öงในชีวติ
จากใจศÉิ ยถ์ งÖ หลวงพ่อทลู
คร้ังหนึ่งในชีวิต จากใจศิษย์ถงึ หลวงพ่อทลู
หลวงพ่อ เปรียบเหมือนบิดาผู้เล้ียงดูบุตร ท่านมีความเมตตาต่อลูกศิษย์ทุกคนอย่างสม่ำเสมอ ท่าน
แนะนำส่ังสอนให้แง่คิดต่างๆ ท้ังในการดำเนินชีวิตทางโลกและทางธรรม ท่านสร้างทางให้เดินแล้วช้ีทาง
ให้ไป ท่านเป็นแสงสว่างที่ส่องทางให้คนที่มืดบอดหรือคนหลงทาง ได้พบความสว่างและเดินทางชีวิตได ้
ถกู ตอ้ ง ทา่ นอบรมสง่ั สอนด้วยคำพูด และกระทำใหด้ ูเป็นตัวอย่าง ท่านสอนใหย้ งั ประโยชน์ตนและประโยชน์
ท่าน ให้ถงึ พรอ้ มดว้ ยความไม่ประมาท เน้นการแก้ไขปัญหาของตนเอง
เม่ือบรรดาศษิ ยน์ ำไปพนิ ิจพิจารณาแล้วประพฤติปฏบิ ตั ติ ามคำสอน ย่อมได้รับความสงบสขุ สามารถ
เปลี่ยนความเห็นของตนเองที่ผิดเป็นถูก เปล่ียนแปลงพฤติกรรม สร้างความเป็นธรรมให้เกิดข้ึนกับตนเอง
และบุคคลอื่น ดงั น้นั คณะศิษย์ทงั้ หลาย จึงไดเ้ ขยี นคำไวอ้ าลยั เพอื่ ถา่ ยทอดความประทับใจ ความร้สู ึกดๆี ที่
มีต่อหลวงพ่ออย่างมากมายเหลือล้น จนไม่สามารถนำข้อความทุกอักษรของทุกท่านมาลงในหนังสือเล่มนี้ได้
หมด คณะผู้จัดทำจึงขออนุญาตคัดเลือกส่ิงดีๆ ท่ีได้รับจากหลวงพ่อมาเพียงบางส่วนเท่าน้ัน ภายใต้ช่ือ
“ครงั้ หนง่ึ ในชวี ิตจากใจศิษย์ถงึ หลวงพอ่ ทูล”
“ ...ทา่ นสอนการเดนิ และเดินให้ดู
ท่านคอยสอ่ งไฟนำทางและประคบั ประคองเมอ่ื ผา่ นท่ีมืด
ท่านกางรม่ ใหญ่ ใหส้ ติและปกป้องเมอ่ื ผจญลมและแดดร้อน
ทา่ นคอยตกแตง่ กิง่ ก้านใบ และเยียวยาเม่ือเจบ็ ป่วย
ท่านเปน็ กำลังใจ ให้รอยย้มิ เม่อื กำลังถดถอย
ท่านผลักลงนำ้ ให้ว่ายน้ำเองแล้ว คอยดเู พือ่ แนใ่ จว่าชว่ ยตวั เองได้…”
(ลูกศษิ ยช์ าวใต้คนหนึ่ง)
“...หลวงพ่อสอนไม่ให้ยึดวัตถุสมบัติใดๆ ในโลกนี้ เรามาตัวเปล่าอย่ายึดส่ิงใด และยังบอกว่า ชีวิตคนเรา
เหมอื นลกู มะขาม....”
(คุณยายทองใบ เนาวราช, อดุ รธาน)ี
“...หลวงพ่อสอนว่า ‘ในการทำงานหรือดำเนินชีวิตน้ันทางโลกและทางธรรมต้องให้ Balance กัน’ ได้นำ
ธรรมะของหลวงพอ่ ไปใช้ในการทำงานและอบรมสัง่ สอนลกู ศิษยใ์ ห้เขาใช้ ‘ปญั ญาอบรมใจ’ ตนเอง ไม่ฟงุ้ เฟ้อ
ไปตามกระแสสังคม ใช้ชีวิต ‘ทวนกระแส’ ไม่ตัดสินลงข้อสรุปในส่ิงที่เห็น เพราะสิ่งท่ีเห็นอาจไม่เป็น
อยา่ งท่คี ดิ ใหใ้ ชป้ ัญญาในการคิดพจิ ารณา...”
(ครูอมรพรรณ ศิลาอ่อน, อุดรธาน)ี
ขิปปปญั ญานุสรณ์
256
“...หลวงพ่อจะสอนให้รู้จัก ยอมให้เป็น และแพ้บ้างในบางเร่ือง ไม่ใช่จะเอาชนะไปเสียทุกเร่ือง...”
(อรทยั - เรวดี จงประกอบแกว้ , อดุ รธานี)
“...หลวงพ่อเมตตาสอนว่า ให้คิดบ่อยๆ คิดให้เป็นไปตามความจริง แล้วน้อมมาท่ีตัวเราให้ลงสู่ไตรลักษณ ์
ให้ทำบุญสร้างบารมีอยู่เสมอ ให้ความกตัญญูรู้คุณผู้มีพระคุณ สิ่งเดียวท่ีจะทดแทนพระคุณอันยิ่งใหญ
่
ของหลวงพ่อไดใ้ นขณะนกี้ ค็ ือการประพฤติ ปฏบิ ตั ิตามคำสอนของหลวงพอ่ ...” (อ. เรวดี ศิรกิ ลุ (ด)๋ี , อุดรธานี)
“...ได้ฟงั และอา่ นหนังสอื หลวงพ่อ มองเห็นแสงสวา่ งทจ่ี ะนำทางไปสู่จดุ หมายปลายทางได้ ไมเ่ พยี งแคร่ ูเ้ รื่อง
และเข้าใจความหมายเท่านัน้ ยงั ได้ฝึกตวั เอง ดูความบกพรอ่ งของตัวเอง แกไ้ ขสิง่ ที่บกพรอ่ งให้น้อยลง หรือ
ให้หมดไป ฝึกสติ หาอุบายธรรม พิจารณาในหลักความเป็นจริงอยู่บ่อยๆ ทำให้จิตใจสบาย วางได้….”
(อ.วรรณี ชาล,ี กรุงเทพฯ)
“...ทา่ นเมตตาสอนสงั่ ในต่างกรรมตา่ งวาระ คำพูดและคำตอบ คำถามตา่ งๆ มักเปน็ คำทีก่ ระชบั ส้นั ทีส่ ุด
แต่มีความหมายตรงจุด และตอบคำถามได้อย่างกระจ่างที่สุด การปฏิบัติธรรมเบื้องต้นนั้นคือ “การปรับ
ความเหน็ ให้ตรงกบั ความเปน็ จริงของสมมต”ิ การปฏิบัติตามนี้ จะทำใหส้ ามารถละวางสงิ่ ตา่ งๆ ไปไดเ้ รอื่ ยๆ
และนำไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างแน่นอน ทำให้สามารถดำรงชีวิตและปฏิบัติหน้าท่ีทั้งทางโลกและทาง
ธรรมไดอ้ ยา่ งพอเหมาะพอดี....” (ดร. กฤษดา, ยุ่ง)
“...ผมท่เี คยปวารณาตนเองเป็นโยมอุปฏั ฐากหลวงพอ่ ตลอดชีวติ จะขอตง้ั จิตสมาธอิ ธษิ ฐาน จะตัง้ ใจปฏบิ ตั ิ ฝึก
ปัญญา เพอื่ ไดบ้ รรลมุ รรคผลนพิ พาน ตามเจตนารมณ์ทหี่ ลวงพ่อได้ เมตตามาอบรมส่งั สอนมา…”
(ดร. ณรัฐ, เปด็ )
“...ท่านพร่ำสอนช้ีแนะแสงสว่างแนวทางและหลักการในการปฏิบัติตนเพ่ือประโยชน์สูงสุด ให้เราเข้าใจถึง
สภาวะของการตามกระแส การทวนกระแส และการตัดกระแส ด้วยการใช้ปัญญานำสมาธิ และแนะนำ
แมแ้ ต่เร่อื งราวเล็กๆ น้อยๆ เชน่ ในเรือ่ งของหนา้ ทแ่ี ละภาระ กริยาและอกรยิ า และการปฏเิ สธ...”
(นพ. ทรงยศ กิจสุขจิต, หมอแกว้ )
“...หลวงพ่อนำมาแสดง เน้นย้ำ เปิดให้เห็นแจ้งในมุมมองของการใช้ปัญญา มองทุกส่ิงทุกอย่างที่ผ่านมาใน
ชีวิตประจำวันให้เป็นอุบายธรรม โยงเข้าหาหลักธรรม หลักไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก่อให้เกิด
ปญั ญา ห่างจากทุกข์ ผอ่ นทุกข์ และผอ่ นกเิ ลสทค่ี อยมารบกวนใจในฐานะปถุ ชุ น และเมอ่ื พจิ ารณาสม่ำเสมอ
ยอ่ มทำให้ผู้ท่ีพร้อม สามารถทวนกระแสไปสปู่ ัญญาสูงสุด และหลุดพน้ ....”
(นพ. ไชยรัตน์ เพิม่ พิกลุ , กรุงเทพฯ)
257
“...ทา่ นหยดุ แลว้ พดู กบั ขา้ พเจา้ วา่ ‘ทหี่ ลงั คดิ เสยี กอ่ นคอ่ ยพดู หดั ปดิ วาจาเสยี บา้ ง’ แลว้ ทา่ นกเ็ ดนิ ไป ขา้ พเจา้ ให้
สัญญากับตัวเองไว้ว่า ต่อแต่น้ี จะไม่ทำร้ายใครด้วยวาจา และรำลึกถึงพระคุณท่านท่ีเมตตาสอนส่ัง…”
(จนั ทร์เพญ็ ภาสุขกมล, ตุ๊ก)
“…นมัสการกราบ ‘หลวงพ่อทลู ขปิ ฺปปญโฺ ’
น้อมนโม เมตตาสอน
สมั มาทิฏฐิ เปยี่ มปัญญา
ละตณั หา โมหะนธิ ิ
เจริญสติ เจรญิ ธรรม เจริญใจ…”
(ชมรมพุทธธรรม คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี)
“...ท่านเปน็ พระอรยิ เจา้ ท่มี จี ริยาวัตรท่งี ดงามยิง่ นกั สงิ่ ที่ทา่ นได้พรำ่ สอนท่สี ำคญั ยิ่ง คอื การมีสัมมาทฐิ ิ คิด
ให้ถูก คิดให้ตรง => ตรงทางที่มุ่งไปสู่พระนิพพาน ท่านสอนให้เราเป็นผ้าขี้ร้ิว ยอมแพ้เป็น เห็นและลด
อตั ตาตวั ตน และย้ำอยเู่ สมอว่าใหต้ ัดสมมติใหข้ าด ทา่ นยกตวั อย่างและสอนให้เราคดิ พนิ ิจพิจารณา เรอ่ื งราว
ตา่ งๆ นอ้ มจากภายนอกเข้าสู่ภายใน และจากในสู่นอก พิจารณาลงสู่ตนของของตน พระไตรลักษณ์ และ
ทา้ ยที่สุดไมต่ ้องการอีก (ปฏิเสธ) ทุกอย่าง ทีละเลก็ ทลี ะน้อย จนติดเปน็ นิสัย...”
(วรนชุ กจิ สุขจติ , อ้อย)
“...พระผ้ใู หแ้ สงสวา่ งทางปัญญา ที่ส่องสวา่ งให้เหน็ หนทางเดนิ สิน้ แลว้ พระผเู้ ปน็ ร่มโพธิ์ รม่ ไทร ที่ให้ความ
สงบความร่มเย็นภายใน แก่ผู้ได้พบเห็น และได้สัมผัสคำส่ังสอนของท่าน ท่านได้ให้ความเมตตาตอบข้อ
สงสัยช้ีแนะทั้งเหตุและผล ท่านบอกว่า ‘การปฏิบัติธรรมคือการแก้ปัญหา’ ท่านได้ทำให้ข้าพเจ้าเริ่มรู้จักกับ
การฝกึ และใช้ สติปัญญา…” (พันธเ์ ทพ นิยะโมสถ)
“...หลวงพ่อ ที่ทำให้เด็กโง่ๆ ได้ฉลาดขึ้น รู้จักมอง รู้จักคิดสองด้าน ถ้าเด็กคนน้ีไม่ได้พบ ไม่ได้ฟังธรรม
คำสอนจากหลวงพ่อวันนนั้ อาจจะถูกโลกดดู ไปไหนตอ่ ไหน แต่ขณะนี้ เด็กคนนไ้ี ด้เจรญิ รอยตามในสง่ิ ท่ีถกู ถึงจะ
เดินพลาดพลง้ั ในหลายๆ ครั้ง หลายๆ เร่อื ง แตก่ ็จะใหก้ ำลงั ใจตวั เองเสมอวา่ ‘ทุกสิง่ ทกุ อย่าง สามารถแกไ้ ข
ใหม่ได้ เปลี่ยนไปใหด้ ขี นึ้ ได้’...” (พัชญ์สิตา ธนสทิ ธร์ิ วกี ุล, เพชร)
“...ลูกรู้สึกเหมือนว่าจากที่เคยหลงทาง หาทางไปไม่เจอ ตอนนี้หลวงพ่อได้ยื่นแผนท่ีเส้นทางลัดมาให้ ที่จะ
เดินไปสู่เป้าหมายสูงสุดของเราแล้ว การได้อยู่ในเส้นทางนี้ทำให้ลูกมีความรู้สึกอบอุ่นใจและมั่นใจเสมอมา
ผลจากการปฏิบัติท่ีเห็นคือ จากที่เคยเป็นคนชอบคิดแค้น และมักทำ, พูดตามความอยากของตนแบบเดิมๆ
เม่ือลูกได้มาอยู่ในเส้นทางแห่งการใช้ปัญญาน้ี ทำให้ลูกได้เปลี่ยนความเห็น คำพูด และการกระทำของตน
จากทจี่ ะสรา้ งเวรสร้างกรรมโดยรเู้ ท่าไมถ่ งึ การณ์ กไ็ ด้ตัดตน้ เหตุของกรรมต่างๆ ที่จะต้องไปชดใชใ้ นอนาคต…”
(ณรัญรัตน ์ ไชยวสุ, รัตน)์
258
ขปิ ปปัญญานุสรณ์
“...หลวงพ่อทูลเปรียบเหมือนพ่อบังเกิดเกล้าของลูก แม้สูญเสียหลวงพ่อไป แต่ใจก็รู้ว่าหลวงพ่อยังอยู่ใกล้ๆ
ด้วยคำสอนของหลวงพ่อ คำวา่ ‘ปฏิเสธ’ …” (วราภรณ์ นาคสมภพ, นดิ )
“....ศษิ ย์ทุกคนภมู ใิ จ ดีใจ ท่ีไดเ้ ปน็ ลกู ศิษยข์ องหลวงพ่อทูล ท่ใี หค้ วามเมตตาเปี่ยมล้นต่อศษิ ยอ์ ยา่ งสม่ำเสมอ
และถ้วนหนา้ ทกุ ๆ คน หลวงพ่อหลบั ให้สบายเถดิ หลวงพ่อเหน็ดเหนื่อยมากแล้ว ทัง้ ชวี ติ ทำประโยชนเ์ ตม็ ท่ี
ให้ทุกๆ คน สังคมและแผ่นดิน ลูกศิษย์ทุกคนให้คำม่ันสัญญาจะปฏิบัติตามแนวคำสั่งสอนของหลวงพ่อ
เพ่ือมุ่งสู่จดุ หมายปลายทางเดียวกัน…” (คณะศิษยโ์ รงพยาบาลรามาธิบด)ี
“...หลวงพ่อไดพ้ ร่ำสอน ไดพ้ บการเปลี่ยนแปลงคร้งั ยิง่ ใหญข่ องชีวิต คอื การเปลย่ี นวิธีการมองโลกใหถ้ ูกตอ้ ง
ตามหลักความเป็นจริงของธรรมชาติ มองทุกส่ิงทุกอย่างในโลกน้ีเป็นสองด้าน ไม่ยึดม่ันแต่ด้านของตัวเอง
ทำให้เกิดเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน โดยยึดหลักอกเขาอกเรา ไม่เพ่งโทษผู้อื่น แต่หันกลับมามองตนเองและ
แกไ้ ขที่ใจของตน ยอมรบั การเปลย่ี นแปลงโดยไม่เป็นทกุ ข์ท่ีใจ ลดการยึดตดิ กับโลก การปฏบิ ตั ใิ นแนวสมั มาทฏิ ฐิ
ของหลวงพ่อทำให้ลูกได้พบเส้นทางชีวิตใหม่ และเกิดความม่ันใจว่าลูกได้ปฏิบัติธรรมถูกต้องตามแนวของ
พระพทุ ธองค์อย่างแทจ้ รงิ ...”
(ชมรมจรยิ ธรรม ศูนย์อนามัยท่ี ๑ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ )
“...หลวงพ่อพาเราสร้างบารมีในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ตามความสามารถและความถนัดของแต่ละคน
ท่านปลอ่ ยให้เราเรียนร้จู ากการสังเกต สงั เกตจากธรรมชาติ จากคน จากเหตุการณ์ จากท่านทำให้ดู รสู้ กึ
ม่ันใจถึงทางท่ีจะไปด้วยความไม่ประมาท ล้มลุกคลุกคลานบ้างก็ไม่เป็นไร เพราะถึงแม้จะเป็นวัวผอมโซ
ตัวสุดท้ายท่ีต่อคิวยาวเหยียดต่อประตูมรรคผลนิพพาน แต่ก็ได้ต่อคิวแล้ว แล้วใจก็ย้ิมทุกครั้งเม่ือนึกถึงคำ
ของหลวงพอ่ ท่ีพดู พร้อมกบั หวั เราะหึๆ ว่า ‘ตวั ใครตัวมนั ก็แลว้ กัน’...” (แปง้ ร่ำ J)
“...คำวา่ ‘กไ็ ด’้ เพยี งคำวา่ ‘กไ็ ด’้ จงึ ไดเ้ ขา้ ใจถงึ วธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ ถ่ี กู ตอ้ ง เพยี ง ‘เปลยี่ นความเหน็ ของใจ’ เท่าน้นั
ทุกข์ทั้งหมดท่ีแบกมาก็จะดับลงทันที... วิธีการปฏิบัติแนวหลวงพ่อทูลน้ีเป็นส่ิงท่ีควรเผยแผ่มากๆ เพราะ
ดับทุกข์ได้ง่าย จากน้ีไปเราจะตอบแทนบุญคุณของหลวงพ่อทูล ด้วยการต้ังใจปฏิบัติธรรมให้เต็มที่ที่สุดเท่าท่ี
เราจะทำได…้ ” (ศิรธันย์ วารีรตั น์ภากร)
“...หลวงพ่อสอนเสมอว่า ‘คิดเสียว่า เราเกิดมาเพื่อมาดูโลก’ หลวงปู่ขาวบอกท่านว่า ‘ทูลให้ทำตัวเป็น
ผา้ ขรี้ ้ิวนะ’ ให้เราทำหูใหเ้ ป็นกระโถน ใครจะบว้ นนำ้ ลายใส่ ใครจะท้งิ ของโสโครกเชน่ ไรลงกระโกน กระโถน
ก็เฉย ท่านสอนเพื่อใหเ้ ป็นสัมมาทฏิ ฐิเทา่ นนั้ ท่านกพ็ อใจแล้ว ต่อจากนัน้ กเ็ ดินไปตามทางกนั เอง เปรียบเหมอื น
การเดินทางด้วยเรือ ต้องตั้งเข็มทิศให้ตรงก่อน สำคัญต้องน้อมการพิจารณานั้นเข้ามาสู่ตัวจึงจะเป็นผล
การฝกึ คดิ ให้ลงไตรลกั ษณ์แล้วผิดไม่เป็น...” (โกสมุ และคณะ)
259
“...หลวงพ่อใช้องค์ท่านแสดงธรรมประกาศความจริงว่าไม่มีองค์หลวงพ่ออีกแล้ว... ไม่มีพระอาจารย์ผู้มี
ปัญญาลำ้ เลศิ ในการเผยแผ่ธรรมดา้ นปญั ญาเฉพาะตน ไมม่ ีพระผูเ้ สยี สละเวลาอุทศิ ตนเพ่อื พทุ ธศาสนา โดย
ไมค่ ำนึงถงึ ความเหนือ่ ยยาก ส่ิงทไ่ี ด้รับจากท่านแสดงความเมตตา ความออ่ นน้อม ถอ่ มตน จริยาวัตรท่าทาง
คำพดู ท่งี ดงาม อ่อนโยนและประหยดั เป็นแบบอยา่ งแก่ผู้พบเหน็ ตลอดจนการใหค้ วามช่วยเหลอื โปรดลกู ศษิ ย์
ในวาระตา่ งๆ…” (จรรยา วชั รพิบูลย,์ ปี)่
“...ลูกจำแววตาวันน้ันได้ไม่รู้ลืม สายตาท่ีบ่งบอกถึงความเมตตาอย่างท่ีสุดหาประมาณมิได้ ธรรมะและคำ
สอนของหลวงพ่อ แนบแน่นในจิตของลกู จะเพยี รฝกึ ปัญญาอบรมใจ อบุ ายธรรมต่างๆ ลว้ นเป็นส่ิงสอนใจ
ให้ลูกพิจารณาหาความเห็นผิดของตัวเอง เลิกแก้ไขผู้อื่นแต่หันกลับมาแก้ไขตัวเอง เลิกสร้างความทุกข์ใจให้
คนรอบข้าง หลวงพอ่ เปรียบดัง่ เทียนส่องธรรม เปน็ เทยี นส่องทางให้กับชีวติ ของลูก ‘ไม่สายเลย ไม่ชา้ เลย’
ชาตนิ ี้ลกู มีบุญยงิ่ ไม่เสยี ชาตเิ กดิ ท่มี โี อกาสพบหลวงพ่อพระปญั ญาพศิ าลเถร พระมหาเถระท่ีทำงานหนักเพอ่ื
เผยแผ่พทุ ธศาสนาอยา่ งเตม็ กำลงั ...” (ปริศนา รามสตู , แดง)
“พบธรรมะของหลวงพ่อครั้งแรก รู้สึกเป็นวิธีท่ีง่ายดีคือเอาธรรมชาติหรือสิ่งรอบตัวมาสอนตัวเราได ้
จึงพยายามศึกษาทำให้รู้ว่าตัวเองมีความเห็นผิดจากความเป็นจริงมากมาย เร่ิมสังเกตตัวเองเป็นมากขึ้น ไม่
เพิกเฉยกับความรู้สึกของตัวเอง เชน่ เวลารสู้ กึ อดึ อดั คบั ขอ้ งใจ ถูกใจ ไมถ่ ูกใจ ฯลฯ จะรีบตรวจสอบตัวเอง
วา่ มีความเหน็ ผิดในเร่ืองนน้ั ๆ อยา่ งไร แลว้ รีบสอนใจตวั เอง...เม่อื ใจเหน็ ถูกแล้ว ใจก็สบา๊ ยสบายจรงิ ๆ…”
(ผกาพันธ์ุ)
“...คำสอนของหลวงพ่อ ช่วยให้ข้าพเจ้ามองเห็นซ่ึงความหลงผิด ความเขลาของตนเอง ทำให้ข้าพเจ้าได้มี
โอกาสฝึกอบรมจิตใจของตนเองทุกวัน แม้ในขณะหน้าที่การงานรัดตัว และท่ีสำคัญ คำสอนของหลวงพ่อ
ทำให้ขา้ พเจา้ ยอมแพ้เป็น…” (ยุจิรา จิรภญิ โญ)
“...ก่อนที่จะมีบญุ ได้มาพบหลวงพ่อทลู ฝนั ไวว้ ่าชีวติ นีจ้ ะต้องทำงานเก็บเงนิ เพอ่ื ท่องเท่ียวรอบโลกให้ได ้ เกดิ
มาชาติน้ีก็คุ้มแล้วและคิดว่าชาติหน้าขอกลับมาเกิดอีก หลวงพ่อพูดว่า ในโลกมนุษย์น้ีหากมีการประดับ
ประดาให้สุดสวยงามงอนเหมือนราชรถก็ย่อมทำได้ คนเขลาเทา่ นน้ั ขอ้ งอยู่ คนฉลาดหาขอ้ งอยไู่ ม่ คำพูดท่ี
เปยี่ มดว้ ยความเมตตาของหลวงพอ่ ทำใหต้ น่ื จากความฝัน...” (สมจติ ร กล่อมจิตร)
“...หลวงพ่อท่านย้ิมให้ตลอดทาง ท่านเดินไปหาผู้เฒ่าท้ังหลายที่น่ังพนมมือท่วมหัวสาธุ หลวงพ่อเดินยิ้ม
ทักทายถามไถ่ว่ามาแตเ่ มือ่ ใด ร้อนไหม หิวไหม ทุกคนย้มิ ปลาบปล้มื คยุ สนทนากับหลวงพ่อด้วยความปล้ืม
ปีติ ภาพนั้นเปน็ ภาพแห่งความเมตตา กรณุ า อยา่ งหาทสี่ ุดมิได้ขององค์หลวงพอ่ ทม่ี ีตอ่ ประชาชนทว่ั ไป…”
(วิจิตรา วภิ ูษณวรรณ)
ขปิ ปปญั ญานสุ รณ์
260
“...หลวงพ่อเอาสงั ขารทา่ นเตือนสติพวกเราถงึ ความตายเป็นส่งิ ที่เป็นจรงิ เลยตอ้ งคอยบอกกบั ตวั เองว่า อย่า
โลภ อย่าหลงไปกับชีวิตท่ีกำลังดำเนินอยู่ซ่ึงเป็นมายา ให้ระวังกระแสของความหลง โดยเฉพาะความคิดท่ี
ทำให้เราทุกข์ได้ทุกขณะจิตท่ีเคยชินกับการคิดแบบเดิมๆ แบบโลก ถ้าคิดใหม่ต้องฝึกคิดให้เห็นการ
เปลี่ยนแปลง... ขอตัง้ จิตอธษิ ฐานทจ่ี ะประพฤตติ นในสมั มาทฏิ ฐิ...” (คณะศิษยแ์ ปดร้ิว)
“...หลวงพ่อได้เขียนไว้ว่า ‘ผู้ปฏิบัติต้องใช้ความพยายามฝึกสติปัญญาหาอุบายธรรมด้วยตนเอง คิดพิจารณา
ในหลักความเป็นจรงิ อยบู่ ่อยๆ สกั วนั หนง่ึ ก็จะตรงกับบารมีเกา่ ทีเ่ ราไดบ้ ำเพญ็ มาแลว้ ’ ฉันเพยี รฝกึ สติปัญญา
หาอุบายธรรมของตัวเองมาอย่างต่อเนื่อง จนเห็นธรรมชาติของทุกอย่างตามความเป็นจริง โดยตั้งอยู่บน
สมั มาทิฏฐิ และหลวงพอ่ ก็แสดงให้เราเห็นความเป็นไตรลักษณ์ เขา้ ไปถึงความรู้สึกอยา่ งเด่นชดั เม่ือหลวงพอ่
ได้ละสงั ขารไป ได้มอบหลกั ฐานสอนใจเปน็ ครัง้ สดุ ท้ายทท่ี ุกทา่ นต้องนอ้ มสู่ใจ...”
(ศริ อิ ร ไพหารวิจติ รนชุ )
“...คำสอนของหลวงพ่อหลายๆ เรื่อง โดยเฉพาะหลวงพ่อทำใหด้ ู เช่น การประหยัด การพึ่งตนเอง การมี
มารยาท การมีเมตตา การรจู้ ักปฏิเสธวา่ ไม่มีอะไรเปน็ เรา ไมม่ อี ะไรเปน็ ของของเรา เป็นของชั่วคราว ไมค่ วร
ยึดม่ันถือม่ัน หลวงพ่อใช้ร่างกายของตนเองสอนให้ดูเรื่อง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ถือว่าตนเองโชคดีมาก
ท่ีสุดคนหน่งึ ไดม้ โี อกาสดูแลหลวงพอ่ ตอนไม่สบาย...” (นพ. ประยทุ ธ หมืน่ หนา้ )
“...หลวงพ่อเป็นครูที่สอนธรรมได้อย่างยอดเยี่ยมมากในยุคนี้ เพราะคำสอนของท่านเม่ือเข้าใจแล้วสามารถ
ปฏิบัติได้ง่ายในชีวิตประจำวัน คำสอนของท่านบางครั้งส้ันๆ เพ่ือให้นำไปคิดเองต่อเป็นการสร้างปัญญา
เฉพาะตน...” (เกวลนิ วัฒนกลู , พนัสนิคม)
“...ผมภูมิใจสดุ ๆ ของชวี ิต เรยี กว่าจะหาภพชาติเช่นนอ้ี ีกคงยากยง่ิ ทา่ นสอนให้แก้ไขที่ตนเองไมเ่ พ่งโทษผู้อน่ื
ทุกอย่างท่ีเราวา่ ไม่ดใี ห้มาแก้ไขทต่ี วั เรา ซ่งึ ครอบครัวผมมคี วามสขุ กเ็ พราะธรรมที่หลวงพอ่ ส่ังสอน...”
(นายไชยา สุริยาพรพนั ธ์, หนอ่ ง, พนสั นิคม)
“...หลวงพ่อได้เมตตามาโปรด ได้มอบอริยทรัพย์ไว้ให้เป็นจำนวนมาก ได้อบรมช้ีแนะแนวทางการปฏิบัติ
เจรญิ ภาวนา ฝกึ ใชป้ ญั ญาอบรมจติ จนทำใหม้ ผี ู้สนใจใฝธ่ รรม หลายคนไดต้ งั้ ใจปฏบิ ัติธรรมอย่างจริงจงั จนได้
เกิดปัญญาเฉพาะตน สามารถเปลี่ยนความเห็นผิดแต่เดิมมาเป็นความเห็นที่ถูกต้อง (สัมมาทิฏฐิ) แก้ไข
ปัญหาความทุกข์ทางใจของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินชีวิตประจำวันอย่างมีความสุขต่อครอบครัว
และสังคมภายนอกแบบธรรมาธิปไตย ท่านเป็นปูชนียบุคคลอันทรงคุณค่าคู่ควรแก่การยกย่องสรรเสริญ
อย่างสูงสุด...” (นายประยทุ ธ์ รัตนตรัยดำรง, เฮยี ตรง, ประธานศูนยป์ ฏบิ ตั ิธรรม ขิปปฺ ปญฺโ พนสั นคิ ม)
261
“ดิฉนั เป็นแมช่ ีแกแ่ ก่ ทีเ่ หลยี วแลหาเรอื ใหม ่
บญุ พาพบฝัง่ ร่มโพธิ์ไทร ช่มุ ชื่นใจร่นื เรงิ ธรรม
หลวงพ่อทลู ให้เมตตา กรณุ ากลมุ่ ศิษยเ์ ลิศลำ้
ตอ่ บญุ ใหด้ วงตาเหน็ ธรรม เชดิ ชูค้ำศาสนท์ ุกชาตเิ อย”
(อบุ าสกิ า สงดั ฉ่ิงแก้ว คณะใต้แสงแมนวสิ ทุ ธ์ิ ค้มุ แมนสรวงพิทักษ์ธรรม, แพร)่ )
“...หลวงพ่อไดเ้ มตตามอบเมล็ดธัญพชื เป็นอบุ ายธรรมคำสอนของหลวงพ่อ : หวา่ นไวท้ ีใ่ จตน หลวงพ่อรากแกว้
แห่งชีวิตได้ดับลงแล้ว (โดยสมมติ) แต่รากแก้วแห่งธรรมท่ีหลวงพ่อได้บ่มเพาะไว้ กำลังเป็นรากอ่อนท ่ี
จะเติบโตดว้ ยแสงแหง่ ธรรมตามปณิธานของหลวงพ่อ ขอถวายบูชาพระคุณหลวงพ่อ ด้วยความเคารพอยา่ ง
สูงยงิ่ …” (คณุ ปรานอม เชื้อศกั ดาหงส,์ เชียงใหม)่
“...ถ้าไม่มีหลวงพ่อ เราก็เหมือนถูกลอยแพ ภาพหลวงพ่อในใจของลูก ท่านยังงดงามเสมอ ก็เสียดายที่รู้จัก
หลวงพ่อช้าไป หลวงพ่อมากระตุกต่อมความคิดให้กับลูกศิษย์ ธรรมะที่หลวงพ่อเคยให้กับลูก หลวงพ่อบอก
วา่ “อย่าเป็นไอตวั ใหญ(่ I) ให้เป็นไอตัวเลก็ นะ(i)…” (ลกู นทั , เชียงใหม)่
“...หลวงพ่อสอน คิดใหเ้ ปน็ ด้วยเห็นถกู
เพราะขึ้นตน้ ถกู เป็นสมั มา เหน็ ทางแก้
ปญั ญาเริม่ ตอ่ ศลี สมาธิ ตามมรรค แล
สมั ฤทธิ์แน่ แก้ถกู จดุ ปญั ญาวิมตุ ิตรง…”
(รกั ษ์พงศ์ ปจั จกั ขะภัติ K.P.Y. @ Chiangmai)
“...สจั ธรรม คำสัง่ สอน ของหลวงพอ่ ทท่ี ่านขอ นอนให้ดู เห็นชัดไหม
ปัญญานำ ฝกึ ใหเ้ ห็น ทเี่ ปน็ ไป เอาความจรงิ มาสอนใจ ให้จรงิ จงั
เทดิ ท่านอยู่ ในดวงจติ ไมเ่ ว้นวาย เราควรหมาย เชอ่ื ทา่ นอยู่ ข้างกายเรา
ยอมแพเ้ ปน็ เห็นคนอ่ืน ถกู ของเขา เตอื นใหเ้ รา เปน็ มติ รแท้ แก่ทกุ หน
ถึงอยูไ่ หน อยู่ได้ ไมอ่ ับจน ไมต่ อ้ งทน บ่นอยนู่ ัน่ ให้ท่านฟงั
ฝกึ เอาจริง มาแจกแจง แถลงไข เพ่ือให้ใจ เหน็ แจ้ง ไมแ่ กล้งขาน
สัมมาทฎิ ฐิ ไรผ้ ล แก่คนพาล เชน่ กระจกผ่าน ไมม่ คี า่ คนตาบอดเลย
ถ้ากรรมใด ลกู ไดท้ ำ ลว่ งเกินท่าน กายกรรม วจกี รรม มโนกรรมที่ทำไว…้ ”
(อโณทัย ปจั จกั ขะภัติ K.P.Y. @ Chiangmai)
262
ขิปปปัญญานสุ รณ
์
“...หลวงพอ่ ทลู เปน็ ผทู้ พี่ ลกิ ชวี ติ ของขา้ พเจา้ จากทอี่ ยใู่ นเงามดื ใหพ้ บกบั แสงสวา่ งมากขนึ้ ๆ สงิ่ มหศั จรรยท์ ไ่ี ดร้ บั
คอื การเปลยี่ นความเหน็ ทผ่ี ดิ ใหเ้ ปน็ ความเหน็ ทถ่ี กู ตอ้ งในทกุ ๆ เรอื่ ง ทกุ ๆ ขณะ จนทำใหค้ วามทกุ ขท์ เ่ี กดิ ขนึ้
หมดไปส้ินไปทีละเปลาะๆ ท่านเป่ียมไปด้วยความเมตตาพร้อมที่จะช่วยให้ทุกๆ คนดับทุกข์ได้อย่างถาวร
การสูญเสียหลวงพอ่ คร้งั น้ีนบั ว่าเป็นการสญู เสยี อันยงิ่ ใหญข่ องลกู ศษิ ยท์ ุกคน…” (สดุ า ปจั จกั ขะภตั ,ิ เชยี งใหม)่
“...หลวงพอ่ ทลู สอนวิธหี าอบุ ายมาสอนตวั เองจากธรรมชาติ และวิธีคิดทางธรรม ผมไม่คิดเลยว่าหลวงพอ่ จะ
จากเราไปเร็วอย่างนี้ ผมจะทำงานประสานงานโครงการของหลวงพ่อท่ีเชียงราย จนผมจะหมดลมหายใจ...”
(นายเสง็ นาทะสัน, บา้ นวงั นอ้ ย อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย)
“...เทิดทูนหลวงพ่อมาก เพราะธรรมะคำสั่งสอนนี้เอง ทำให้ลูกรู้สึกได้ว่าเส้นทางธรรมนี้ยังมีทางเดินสำหรับ
ลกู ซ่ึงเสน้ ทางนี้จะใกล้หรอื ไกลขน้ึ อยกู่ บั ตัวเราเอง ลกู ไดร้ ู้จกั ทจี่ ะสอนตนเองได้ เตอื นตนเองได ้ เพราะลกู
เห็นวา่ ความจรงิ แลว้ คนอ่นื ๆ หรือสง่ิ แวดลอ้ มรอบๆ ตวั เราไมใ่ ช่ตัวปญั หา แต่ใจเราเองตา่ งหากท่ีเป็นปัญหา
ใจเรานั่นแหละที่เป็นตัวสร้างให้เกิดปัญหา และการมีกัลยาณมิตรที่ดีเป็นมรดกที่มีค่าย่ิงจากหลวงพ่อ….”
(กลั ยา ตงุ คะเสรีรกั ษ์, ตาล, เชยี งใหม)่
“...ในที่สุดหลวงพ่อก็ไม่รอ ลูกรีบน้อม ช้า รอ ประมาท หลวงพ่อลงทุนสอนด้วยชีวิตให้เห็นชัดๆ ตัวใคร
ตวั มนั วนั เวลาผา่ นไปมัวทำอะไรอยู่ ณ ศาลาธรรม หลวงพ่อนอนสงบนิ่ง แสดงธรรมครบองค์ ท้ังอนจิ จงั
ทกุ ขงั อนตั ตา กราบบูชาพระธรรมพระคุณหลวงพ่อดว้ ยเศียรเกล้า…”
(ทศั นยี ์ สุวานชิ วงศ์, สวนพนั ดาว เชยี งใหม)่
“...หลวงพ่อจะจากพวกเราไปแล้ว ท่านก็จากไปแค่สังขาร แต่คำสอนส่ังของท่านยังอยู่เป็นตัวแทนท่านให้
พวกเราได้อบอนุ่ เสมือนท่านยังอยกู่ ับเราเสมอ ไมไ่ ดจ้ ากไปไหน ท่านเมตตาฝากคำสอนในการปฏบิ ตั ธิ รรมไว้
หลากหลายรูปแบบ ซ่ึงเป็นคำสอนที่ตรงต่อนิพพาน ผู้ใดปฏิบัติจริงก็จะเห็นจริงตามความเป็นจริง ขอตั้ง
ปณิธานว่าจะเร่งความเพียรฝึกฝนตนเองให้มีสัมมาทิฐิ ตามคำสอนของหลวงพ่อเพื่อเป็นปฏิบัติบูชาพระคุณ
แดห่ ลวงพ่อสืบไป...” (คณะศษิ ยพ์ ษิ ณโุ ลก)
“...ลูกรู้สึกเศร้าใจเสียใจอย่างสุดซึ้งที่มีผู้ที่มีพระคุณอย่างใหญ่หลวง ผู้ให้ชีวิตใหม่แก่ลูกได้ด่วนจากไปเช่นน้ี
น้อมกราบหลวงพอ่ ด้วยหวั ใจ หลวงพ่อทำให้ได้พบธรรมะอันวเิ ศษ อนั เปน็ ทีพ่ ง่ึ ทบี่ ูชา เปน็ ท่ียดึ เหนี่ยวจติ ใจ
ลูกขอตั้งจิตอธิษฐานท่ีจะเดินตามรอยทางน้ีไปให้ไกลที่สุด เพ่ือเป็นการปฏิบัติบูชาพระคุณของหลวงพ่อ…
(จนิ ดา ปัญจเรือง, สวนพนั ดาว เชียงใหม่)
263
“...ธรรมะที่ได้คร้งั แรกเลยคือ รู้ว่าทกุ ๆ ชวี ิตในโลกใบน้มี คี า่ มากการทำรา้ ยชีวติ ผู้อนื่ ไม่วา่ จะเป็นสัตว์ตัวเลก็ ๆ
พวกเขาก็รักชีวิตของเขาเองเช่นเดียวกับเรา เป็นจุดเร่ิมท่ีทำให้ข้าพเจ้าเข้ามาในขบวนการปฏิบัติเพี่อให้ตน
ออกจากทุกข์ ทำให้ข้าพเจ้าเปล่ียนแปลงโดยสามารถสร้างความเป็นธรรมให้กับตนเองและผู้อ่ืนได้โดยการใช้
ปญั ญา และศรทั ธาในองค์หลวงพอ่ เป็นล้นพน้ สดุ จะบรรยาย ยงั จำได้ว่ายิ้มใหข้ ้าพเจ้า และพดู วา่ สู้ สู้ ส ู้
ลกู จะใช้ปญั ญาหาธรรมะของหลวงพอ่ ทอี่ ยูใ่ นโลกใบน้ี จนกวา่ จะไดไ้ ปกราบหลวงพ่ออกี ครั้งใหไ้ ด้….”
(พรรณระวี กมลเพ็ชร, หนอ่ ย, K.P.Y. ซานฟรานฯ)
“...มีโอกาสได้กราบและฟังธรรมจากหลวงพ่อ และก็เป็นคร้ังแรกในชีวิตเช่นกัน ท่ีทำให้ชีวิตเราเปลี่ยนจาก
หน้ามอื เปน็ หลงั มอื หลวงพ่อทูลเปิดของทค่ี ว่ำอยใู่ หม้ ันหงายขน้ึ เทา่ นัน้ เอง ทา่ นชใ้ี ห้เหน็ จริงในสง่ิ ทเ่ี ป็นอยู่จรงิ
ซึ่งแต่ก่อนน้ันเราจะเห็นหรือมองอยู่แค่เปลือกนอกของส่ิงแต่ละสิ่งเท่าน้ันเอง ไม่เคยมองเข้าไปถึงแก่นแท้
ของสง่ิ เหลา่ น้นั เลย...” (หน่อย, ประเทศนิวซแี ลนด์)
“ธรรมแค่เสี้ยวหน่งึ เรื่อง ไอตัวใหญ่ (I) กับ ไอตวั เล็ก (i) และยอมแพ้เปน็ เท่านั้นท่ีผมไดร้ บั มาจากหลวงพอ่
ทำให้จิตใจผมเย็นลง มองเห็นศัตรูเป็นมิตร เปล่ียนความเกลียดมาเป็นความรักความเมตตา สุดท้าย
เรานน้ั แหละจะได้รับความรกั ความเมตตากลับคืนมา…” (อุดม รตั นอัมพรโสภณ, พนัสนิคม ชลบุร)ี
“...คำสอนโดดเด่นของหลวงพ่อทูล ที่อยู่ในใจคือ ‘การพิจารณาท่ีสำคัญคือ ต้องทำใจได้ เพราะถึงแม้จะ
พิจารณาถกู ตอ้ งตามเปน็ จรงิ แต่ทำใจไมไ่ ดก้ ็ไมม่ ปี ระโยชน’์ หลวงพอ่ ทรงเป็นเหมอื นแสงประทีปสอ่ งทางธรรม
ใหไ้ มห่ ลงตดิ ยดึ อยกู่ บั ทางโลกอกี ตอ่ ไป…” (พจนา เปรมออ่ น (ตมุ๋ ) กลมุ่ K.P.Y. นวิ ยอรค์ )
“....ความเมตตาธรรมขององค์หลวงพ่อทูลที่มีต่อสัตว์โลกทั้งสมณะ และคฤหัสถ์ ตลอดถึงสรรพสัตว์ทั้งปวง
นั้นมากมายสุดประมาณได้ เมตตาช่วยเหลือท้ังร่างกายและจิตใจ กับทุกๆ ชีวิตที่ว่ิงเข้ามาเพื่อขอพ่ึงบารมี
ขององค์ท่าน ข้าพเจ้าต้ังใจแน่วแน่ว่าจะปฏิบัติบูชาองค์หลวงพ่อให้ถึงที่สุด สมกับความเมตตาท่ีองค์ท่านได้
บากบัน่ เอาชีวติ ไปแลกคุณธรรมมา....” (อรรถวรรณ รุ่นประพนั ธ์ หงอสวุ รรณ, นวิ ยอรค์ )
“....แนวทางปฏิบัติของหลวงพ่อ ไปปฏิบัติจริงๆ เร่ิมเข้าใจและเห็นผล เม่ือมีเรื่องราวต่างๆ เข้ามากระทบ
ดฉิ ันสามารถแก้ไขปัญหา ทงั้ ทางใจและทางโลก การเปน็ ฆราวาสที่มีครอบครัวและมกี ิจการของตวั เอง ทำให้
มีเวลาจำกัด แนวทางปฏิบัติของหลวงพ่อ เหมาะสมกับชีวิตฆราวาสที่ยุ่งรอบตัว เพราะเป็นปัญญาปัจจุบัน
ที่แก้ความเห็นของใจ ให้เข้าใจในเหตุและผล จนยอมรับความจริงตามความเป็นจริงได้ ซ่ึงไม่ต้องหลบไป
นั่งสมาธใิ หจ้ ติ สงบก่อนแล้วปัญญาเกิด…”
(เรืองรัตน์ ดสิ ยมณฑล, ประธานฝ่ายฆราวาส วัดซานฟรานธัมมาราม)
ขปิ ปปัญญานุสรณ
์
264
“...ข้าพเจ้าได้รอพระอริยสงฆ์มาเป็นเวลานานเหลือเกิน ในช่วงเวลาน้อยนิดที่ได้พบท่าน ได้ยินธรรมะจาก
ทา่ น ไดเ้ ห็นจริยวตั รท่าน มโี อกาสถวายปรนนิบัติเปน็ ระยะเวลาสัน้ ๆ ไดส้ ังเกต ไดซ้ มึ ซับกริยาแหง่ อรยิ วงศ์
ท่านได้ทำหน้าท่ีของพระอริยสาวกขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้สมบูรณ์ยิ่ง ยากที่จะหาผู้ใดเสมอเหมือน
ได้ในยุคน้ี หลวงพ่ออยู่ในใจเสมอ ท่านให้แผนที่ท่ีจะตามหาหลวงพ่อไว้แล้วดังตำราท่ีท่านเขียนมามากมาย
ใหเ้ ราได้เดนิ ตามหลวงพ่ออยใู่ นทุกความจรงิ ทใ่ี จขา้ พเจ้าไดค้ ้นพบหลวงพ่ออยู่ในสัจธรรมของโลก….”
(ณฐั วุฒิ ณ สงขลา, นิวยอร์ค, สหรัฐอเมริกา)
“....ความรกั ความเมตตา ทห่ี ลวงพอ่ ฯ ได้ใหแ้ ก่พวกเรา เสมือนพ่อสอนลกู ความเสยี สละที่หลวงพ่อไดอ้ ทุ ิศ
ชีวิตให้แด่บวรพระพุทธศาสนา เสมือนนักรบที่ได้รับชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ของโลกถึงพร้อมด้วยประโยชน์ตนและ
ประโยชนท์ ่านอยา่ งแท้จรงิ ข้าพเจ้ามีความซาบซึ้ง และสำนึกในพระคณุ ของหลวงพ่อฯ เปน็ อย่างสงู ย่ิง ทไี่ ด้
ใหค้ วามเมตตา อบรมฯ ส่ังสอนใหล้ ูกไดป้ ฏบิ ตั ติ น เป็นทีพ่ ึ่งของตนเองและผอู้ น่ื เพอ่ื พาตนให้พน้ จากกองทกุ ข์
ดงั เช่นท่ีหลวงพ่อไดแ้ สดงเป็นแบบอยา่ ง …” (วุฒิชัย หงอสวุ รรณ, วดั นิวยอรค์ ธมั มาราม)
“..เม่ือได้สัมผัสในธรรมะของหลวงพ่อทูลท่ีให้ไว้อย่างง่าย ในการนำมาวิเคราะห์และปฏิบัติตาม ได้พิจารณา
ในความหมายของ “ยอมแพ้ใหเ้ ปน็ ” และนำมาฝึกใช้ จนกระทง่ั ประสบกับกรณี หนักหนาสาหสั มากในความ
รู้สึก จึงได้ประจักษ์ว่า การยอมแพ้ให้เป็นช่วยให้ใจได้เข้มแข็งอย่างมากมาย เราก็สามารถอยู่อย่างผู้แพ้ได้
และให้อภัยกับผู้กระทำกับเราได้ โดยหยุดตัวเอง และปล่อยให้ทุกส่ิงเป็นไปตามวิบากกรรม และเชื่อมั่นใน
กรรมดเี สมอ...” (นายแพทยช์ ัยพร พรหมสิงห์, ชลบุรี)
“It is with great sadness to learn the passing of the Venerable Ajahn Thoon Khippapanyo
on November 11, 2008. Although I would like to think his passing is his final words of
wisdom. If we had gained a bit of wisdom from his final farewell, we would have honored
him in a way that he would have liked. Instead of sadness for the passing of our beloved
Ajahn Thoon, I would like to celebrate his life long devotion to the practicing and
teaching of the Buddha, which according to the Buddhist calendar, has started for over
2551 years. To celebrate Ajahn Thoon’s life is to practice his teaching.”
(Joy Aswalap, University of North Texas Denton, Texas, U.S.A.)
265
“...คำสอนของหลวงพ่อเป็นหลักปฏิบัติท่ีตรง ไม่ซับซ้อน สามารถทำได้ต่อเน่ืองทุกท่ีทุกเวลา โดยพยายาม
ศึกษาความจริงของตนเอง ศึกษาทุกข์ของตนเอง ค้นหาเหตุแห่งทุกข์นั้นท่ีมักมาจากการยึดถือส่ิงต่างๆ ว่า
เที่ยงบา้ ง เปน็ ตนบา้ ง เปน็ ของของตนบ้าง แล้วจงึ น้อมโอปนยโิ กหาความจริง เพอ่ื มา ลด-ถอย-ปล่อย-วาง
เหตุแหง่ ทุกข์น้นั ที่ใจตน เป็นการปฏิบตั ธิ รรมท่ีเน้นการเปล่ียนความเห็นผดิ เปน็ ถกู ตามหลักสัมมาทิฏฐิ และ
ตรวจสอบผลได้จากการสังเกตความคิดความเห็นท่เี ปล่ียนแปลงไปของตนเอง ในชวี ิตน้ี นบั เป็นบญุ ท่สี ุดทไ่ี ด้
โอกาสเกดิ มาเจอพระพุทธศาสนา และคำสอนของหลวงพอ่ …”
(พระณฐั ณฏฺ€ปญโฺ , วัดซานฟรานธมั มาราม, สหรฐั อเมรกิ า)
“...ประทับใจหลวงพ่อท่ีท่านสอนเหมือนพ่อแม่ท่ีรักลูกอย่างแท้จริง แม้คำพูดเหมือนดุว่ากล่าว แต่ใจท่าน
บริสุทธิ์สะอาดเต็มเป่ียมด้วยความปรารถนาดีอย่างแท้จริงชี้บอกขุมทรัพย์อันประเสริฐให้ดิฉัน แต่การปฏิบัติ
เราต้องปฏิบัติเอง แล้วจะซาบซึ้งใจจนบอกไม่ถูก ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานดีขึ้นกว่าแต่ก่อน สำนึกถึง
คุณค่าแหง่ ปญั ญาธรรมวา่ ดีแท้ๆ...” (ใหม่ จนิ ดาลกั ษณเลศิ )
“...ถ้าไม่ได้แนวทางของหลวงพ่อทูลมาปฏิบัติ ป่านน้ีฉันคงจะหลงสร้างทุกข์ โทษ ภัย ให้แก่ตัวฉัน และ
คนอนื่ อกี มากมาย ลกู ขอก้มกราบองค์หลวงพ่อทูล…” (แมช่ สี มจิตร ศิริคะเณรัตน)์
“...ได้รับฟังและเรียนรู้การเปล่ียนวิธีคิด ทำให้ได้แนวทางในการเรียนรู้ ‘แค่คลิก ชีวิตก็เปลี่ยน’ ที่ผ่านมา
ความเครียดจากความทุกข์ทางใจส่งผลต่อสุขภาพอย่างมาก หลักการสอนของหลวงพ่อเป็นการสอนแบบ
เรียบง่ายแตแ่ ฝงดว้ ยหลกั การของความจริง เป็นวธิ ีการสอนทดี่ ีเยีย่ ม สอนเรื่องยากให้เป็นเร่ืองงา่ ย สามารถ
นำไปต่อยอดวิธีการคิดได้หลากหลายจากธรรมชาติรอบๆ ตัว น้ันคือ การเปล่ียนวิธีการคิด ชีวิตก็เปลี่ยน
สามารถนำไปปรับใช้กับครอบครัว การทำงานร่วมกับคนในองค์กร เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข...”
(นางมณีรัตน์ ไพยารมณ,์ กำ่ ปงุ๊ )
“...คำพูดและกระทำของท่านจะเปิดเผยความเข้าใจใหม่ ในทุกจุดที่ชีวิตนิเคลื่อนไป หลวงปู่ได้แสดงให้นิดูว่า
การแก้ปัญหาที่ถูกต้องเริ่มด้วยการหาและทำลายเหตุที่แท้จริง แทนท่ีจะเพ่งโทษ คำสอนได้กลายมาเป็น
เคร่อื งมือท่ีสำคัญที่ไดใ้ ช้ในการแกไ้ ขปัญหาในชวี ิตประจำวัน หลวงปทู่ ูลเปน็ แสงสวา่ งที่สอ่ งถึงความจริงท่ีไม่ได้
ถูกปิดไว้ ช้ีแจงแนวทางในการปรับปรุงตัวเอง และเรียนรู้วิธียอมแพ้เป็น หลวงปู่ทำให้ธรรมะเป็นสิ่งท่ีง่าย
ช่วยให้นิเหน็ วา่ ถ้าเราเหน็ เราเองเปน็ เหตแุ หง่ ทุกข์ เราจะสามารถแกค้ วามเหน็ ผิด และสร้างความเหน็ ที่ถกู
จรงิ ตามความเปน็ จริง…
ขิปปปัญญานสุ รณ
์
266
ด่ังเศรษฐีผู้ไม่ยึดหลงในสมบัติซักนิดเดียว หลวงปู่อยากให้ทุกคนในโลกน้ี ได้รับสัมผัสผลจากวิธีการปฏิบัติ
ธรรมท่ีง่าย เพ่ือเราจะได้พ้นจากความหลงผิดและทุกข์ทางโลก หลวงปู่มีความเมตตาและอดทนต่อนิอย่าง
ไมม่ ีทส่ี น้ิ สดุ ซง่ึ นิไม่สามารถตอบแทนได้เลย นิเพยี งแตเ่ ปน็ ส่ือท่ีนำคำสอนของท่านมาให้โลกน้ไี ด้ทราบ เมือ่
ทา่ นได้นิพพาน โลกนี้คงมดื ลง แต่ว่าแสงของท่านจะสว่างอยู่ในธรรมะตลอดกาล ขอให้เรานำเทยี นของเรา
ทง้ั หลายไปตอ่ ไฟของหลวงปู่ เพ่อื ท่ีจะเผยแพร่มรดกทางธรรมของท่านออกสูช่ าวโลกต่อไป...”
(นชิ า เทียนเงนิ , ซานฟรานซสิ โก, สหรฐั อเมริกา)
“...หลวงพ่อกล่าวว่า “ดีแล้วท่ีชอบคิด ให้พิจารณาหาเหตุหาผล หาข้อเท็จจริงในส่ิงที่เราได้รู้ได้เห็นหรือได้
กระทบสัมผัส และใช้ความคิดหรือปัญญานั้นแหละพิจารณาในทางธรรม คือพิจารณาทุกอย่างให้เป็นธรรม
คิดแม้แต่กระทั่งว่าธรรมชาติซ่ึงเป็นตัวที่ทำให้เกิดผลกระทบหรือก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลงในสรรพสิ่ง
สรรพชีวิตทงั้ หลายกอ็ ยู่ภายใตก้ ฎไตรลกั ษณ์เชน่ เดยี วกัน หลวงพอ่ คงไปถงึ ‘จุดหมาย’ ของทา่ นอยา่ งแน่นอน
รู้สึกว่าขณะน้ีหลวงพ่ออยู่ไกลแสนไกล แต่ส่ิงท่ียังอยู่ใกล้ฉันตลอดเวลาคือคำสอนอันมีคุณค่าย่ิงของท่าน”
(ประพรี พ์ รรณ โพธิ์กระจา่ ง)
“…หลวงพอ่ ได้พดู ประโยคทส่ี ะกิดใจของตนเอง คือ ‘การเอาประโยชน์จากเหตุการณท์ กุ เหตุการณม์ าสอนใจ
ตนเอง’ หลวงพ่อได้เนน้ ฝกึ การแสดงออกกับคนอน่ื กค็ ือ การฝึกระวงั ในเหตุ สงั เกตในผล สว่ นผลจะออกมา
อยา่ งไร (ดหี รอื ไมด่ )ี ใจนอ้ มยอมรบั เพราะกนิ ยาบำรงุ หวั ใจไว้แล้วทุกวนั (คือ...กไ็ ด)้ เมอ่ื เหน็ ผอู้ นื่ เขาทำอะไร
ไม่ถูกต้องก็อย่าเพ่งโทษเขา ให้เอาแต่ประโยชน์เป็นกระจกมาสะท้อน และถามว่า ‘แล้วเราล่ะ‘ เคยทำ
พฤติกรรมไม่ถูกต้องแบบน้ันไหม แนวทางการปฏิบัติของหลวงพ่อ ได้ประสานสมดุลโลกและธรรมไว้อย่าง
กลมกลนื ...” (กลั นิถา สังข์แกว้ , สาว, โรงพยาบาลประจวบครี ีขันธ)์
“...หลวงพ่อเน้นว่า ‘ให้เรารู้จักฝึกเป็นคนช่างสังเกต แล้วน้อมเข้ามาหาตัวของเราให้ได้’ การสังเกตเป็น
ส่ิงสำคัญและเป็นการจุดประกายไฟในความคิด ให้เกิดการเปลี่ยนความเห็น ยอมรับและปรับปรุงตนเอง
ในทางทดี่ ีข้ึน รูจ้ ักเลอื กคดิ -ทำ-พดู ในสิง่ ท่ีเป็นประโยชน์ทีส่ ุดและมีการคดิ ไตรต่ รอง ใครค่ รวญอยเู่ สมอ...”
(สุรชยั จงทิวาวัฒน,์ พนสั นคิ ม)
“...จากวันท่ีเริ่มได้ฝึกคิดตามแนวทางปัญญาสัมมาทิฏฐิของหลวงพ่อทูล สามารถนำอุบายธรรมมาฝึกปัญญา
ได้ตลอดเวลาและทุกสถานที่ นับว่าตนเองเป็นผู้มีบุญที่ได้มีโอกาสรับใช้หลวงพ่อตอนท่ีท่านอาพาธ ได้
อุปัฏฐากพระอริยเจ้า นับเป็นบุญบารมีที่ยิ่งใหญ่ ย่ิงได้อยู่ใกล้ยิ่งทำให้เห็นธรรมได้ชัดเจนมากข้ึน หลวงพ่อ
สอนทกุ อิริยาบถ ขอใหเ้ ราหมนั่ สงั เกต....” (นอ้ งณ,ี ศษิ ย์วัด)
267
“...หลวงพอ่ สอนวา่ ให้เหน็ จริงตามความเปน็ จรงิ หลวงพ่อไดแ้ สดงธรรมบทสดุ ท้ายใหเ้ ราดไู ม่ใช่อนจิ จงั แต่ครบ
ท้งั ไตรลกั ษณ์ทีเดียว หลวงพ่อแสดงธรรมตลอดเวลา เพยี งแตเ่ รามองไม่ออก เวลาหลวงพ่อให้ถามเรากไ็ ม่รู้
จะถามอะไร เพราะเราโง่ ขนาดไม่ร้วู ่าเราไมเ่ ข้าใจอะไร เลยไมม่ อี ะไรจะถามทุกคร้ังกจ็ ะเงยี บกันหมด หลวงพอ่
บอกว่าเหมอื นสซี อให้ควายฟงั เรากย็ งั เปน็ ควายตามเดิม...หลวงพ่อตอบวา่ พิจารณาส่ิงท่เี ปน็ ปัญหากบั เรา...
ท่านอ่านออกว่าลูกศิษย์นี้ขี้โกงชอบทางลัด ชอบอาหารสำเร็จรูป หลวงพอ่ เคยบอกวา่ จะใหม้ ะละกอคนละลกู
ให้ไปทำอาหารเอง.... ตอนนี้หลวงพ่อไม่อยู่เราก็ต้องเดินเอง หลวงพ่อบอกชี้ทางไว้อย่างละเอียดแล้ว
ทกุ ซอกมมุ ....” (อ. อง่ึ อ่าง)
“...หลวงพ่อก็ชวนวา่ ‘ไปอยู่วัดเอาไหม? ไปจะแบง่ ข้าวใหค้ รึ่งบาตร’ รูส้ ึกปล้มื ใจมาก หลวงพอ่ เปรียบเหมือน
ร่มโพธ์ิ ร่มไทร เป็นท่ีพึ่งพาของลูกศิษย์ ท่านเป็นห่วงลูกศิษย์ที่เจ็บป่วยทุกคนเสมอ ท่านมีความเมตตากับ
ทุกๆ คน และท่านสอนว่า ‘อย่าไปยึดติดกบั สงิ่ หน่งึ สิ่งใด ให้ทำไปตามหนา้ ที่’ ขา้ พเจ้าตั้งใจปฏิบตั ิตามคำสัง่
สอนหลวงพอ่ ทกุ ประการ...” (กาหลง สกุลวฒั นะ, เดก็ วดั )
“....เมื่อได้มีโอกาสศึกษาธรรมะและลงมือปฏิบัติจริง จึงเห็นว่าการปฏิบัติไม่ได้มีอะไรมากไปกว่าการหาทาง
ปรับเปล่ียนตัวเอง เริ่มจากการคิดถูก โยงไปถึงพูดถูก และประพฤติตัวถูก หลวงปู่ท่านก็ให้กำลังใจว่า
‘นักปฏิบตั ธิ รรมกเ็ หมอื นนกั มวย ถา้ ยังหาจังหวะตอ่ ยเขาไม่ได้ก็ใหเ้ ตน้ ฟตุ เวริ ์คคอยหลบหลีกใหด้ ี ถา้ อ่อนซอ้ ม
ก็โดนเค้าน็อคเอาได้ แต่ก็ไม่เป็นไรไปซ้อมมาให้ดีคราวหน้าค่อยมาสู้กันใหม่’ ตัวอย่างและผลของการปฏิบัติ
ของท่านก็เป็นกำลังใจให้ฉันมั่นใจและไม่ท้อถอยไม่ว่าจะเจอโจทย์ชีวิตที่ยากแค่ไหน เพราะถ้าปัญญาถึงก็จะ
ผ่านเร่อื งน้นั ไปได้ ฉนั คิดว่าเกิดมาคร้ังนี้ ตอ้ งใหค้ ้มุ กับทเ่ี กิดมา ใหไ้ ดร้ ูไ้ ดเ้ หน็ ส่ิงตา่ งๆ ในโลก จนเบื่อโลกไปเอง...”
(สิรมิ ตี นิมมานเหมนิ ท)์
“พระปัญญา ส่งสร้าง บญุ ก-ุ ศลแฮ
พศิ าล ธรรมนำล ุ ศาสนห์ มัน่
เถร ใหญ่เมอื งอุดรแหง่ แดนธรรม
คือหลวงพ่อทลู น้นั จอ่ื ไวย้ นื นาน”
(อาจารยข์ นษิ ฐา สงห์ทองลา, โรงเรียนศรสี งครามวิทยา อำเภอวงั สะพุง จังหวัดเลย)
“...ธรรมคำสอนขององคห์ ลวงพอ่ ลกู ไดอ้ า่ นไดฟ้ งั มากม็ าก และองคห์ ลวงพอ่ เมตตาสอนโดยตรงกห็ ลายครง้ั เพ่ือ
แสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อองค์หลวงพ่อ ลูกจะนำมาปฏิบัติบูชาอย่างเคร่งครัด เพราะธรรมะทุกเร่ืองท่ี
องค์หลวงพ่อสอน นั่นคือ เส้นทางตรงท่ีมุ่งสู่แดนแห่งนิพพานทั้งส้ิน ด้วยกายชีวิตและจิตวิญญาณท่ีมี
พร้อมทง้ั การปฏบิ ตั ธิ รรมท้ังหมด ลกู ทง้ั สองขอน้อมถวายบูชาแดอ่ งคห์ ลวงพอ่ ทูล…”
(มานพ - สดุ ารัตน์ ดารา, สกลนคร)
268
ขปิ ปปัญญานสุ รณ์
“...He is my great teacher” (วังโม ดกิ ซี่ ประธาน มลู นธิ ปิ ระทปี แห่งพุทธธรรม นานาชาติ
(The Light of Buddha Dharmma Foundation International))
“...โอ้ยเด้น้อ! แสนเสียใจหลายเด้ พ่อหนีไปบ่ได้ส่ัง ท้ังผ่องอุกผ่องอ่ังปวงประชา ขาดพ่อแล้วสิหันหน้าเพ่ิง
ผู้ใด๋ พ่อทูลเอ๋ย คือจังนกขาดต้นไม้สิไปเพิ่งชายคาใด๋ คือจังปลาบ่มีหนองปองนทีบ่มีน้ำ ยามเจ็บไข้ประชา
ไทยสิไดเ้ พ่ิงชายคาใด๋ เดน้ ้อ! พวกลูกหลานขาดพ่อแล้วสหิ ันหน้าเพ่ิง ผใู้ ด๋ โอย๊ เด้นอ้ !....”
(แม่สมถวลิ แม่บญุ มา แมน่ วล, บา้ นหนองแวงแกม้ หอม, อุดรธานี)
“…คณะศิษย์การบินไทย จำนวน ๗ ท่าน ได้เดินทางไปพุทธคยา เพื่อเข้าร่วมงานสาธยายพระไตรปิกฎ
ของชาวพุทธนานาชาติ คร้ังท่ี ๔ ตามเจตนารมณ์ของหลวงพ่อทูล ที่มีความตั้งใจอย่างแน่วแน่ท่ีจะไปร่วม
งานนี้ และไดก้ ล่าวคำไว้อาลยั ณ ใตต้ ้นพระศรมี หาโพธ์ิ เป็นภาษาอังกฤษว่า
‘We do feel and believe that Luang por Thoon is here with us as well as his teacher.
May I recall one to you ‘One who has great wisdom Can retain the perfect state of mind’
จติ ตํ รกเฺ ขถ เมธาวี” ‘ผูม้ สี ตปิ ัญญาดีเทา่ น้นั จงึ สามารถรักษาจติ ได้’ กล่าวจบไฟฟา้ กด็ บั อยเู่ ป็นบรเิ วณนาน
ทำใหบ้ รรยากาศขณะนัน้ ช่างมคี วามสงบ เยือกเย็น คิดวา่ หลวงพอ่ ได้มาอยู่ ณ สถานทีแ่ หง่ น้ดี ้วย และคณะ
ไดเ้ ดินทางไปปฏบิ ตั ิ บูชาทอดผา้ ป่าบังสุกลุ ตามวัดต่างๆ เพื่อเป็นมหาบุญกศุ ล น้อมถวายแด่หลวงพอ่ ผเู้ ปน็ ท่ี
เคารพบูชาอยา่ งย่งิ ของพวกเรา...” (ศิษย์การบนิ ไทย)
“...หลวงพ่อได้ละสังขารจากเหล่าพุทธศาสนิกชนไปแล้ว ขอให้คุณงามความดีและบุญบารมีท่ีท่านได้สั่งสมไว้
มาตลอดชวี ิต จะส่งผลเป็นพลวปัจจยั นำดวงวิญญาณสถติ ณ แดนสขุ ารมณ์ คอยปกป้องพระพทุ ธศาสนา
ใหด้ ำรงคงอย่คู สู่ ังคมไทยและสงั คมโลก ชัว่ นิจนิรนั ดร์...” (ศษิ ยานศุ ษิ ย์ จังหวัดสุราษฎรธ์ าน)ี
“… ลูกได้เรียนรู้การปฏิบัติภาวนาจากหลวงพ่อเป็นอาจารย์องค์แรกของลูก สอนจนลูกรู้จักตัวเองและ
ใชต้ วั เองเปน็ หลวงพอ่ สอนใหร้ จู้ กั ใชค้ วามคดิ ใชป้ ญั ญาพจิ ารณาธรรม โดยลงมอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง ใชป้ ญั ญา
แกป้ ญั หา โดยบอกเปน็ เคลด็ วชิ ายอ่ ๆ ใหค้ น้ หาเอาเอง เปน็ ปจั จตั ตงั แกก้ เิ ลสไดถ้ กู จดุ ของทกุ คน เพราะหลวงพอ่
ชำนาญในการใชป้ ญั ญา จงึ สอนใชป้ ญั ญาใหล้ กู ๆ...” (คณะศษิ ยจ์ งั หวดั ภเู กต็ และครอบครวั หาญสมทุ ร)
269
“...ท่านอาจารย์ เปน็ ผูป้ ฏิบัตดิ ี ปฏิบตั ิชอบ ทำความดีสร้างประโยชนก์ ับพระศาสนา มาตลอดชีวิตของท่าน
ท่านยังพบเวทนาขนาดน้ี แต่คิดวา่ ทา่ นไดแ้ สดงธรรมท่เี ปน็ ของจริงเปน็ ครง้ั สดุ ท้าย นับเปน็ การเตอื นสตไิ มใ่ ห้
ประมาท ขณะร่างกายแขง็ แรงให้รบี ทำความดี รกั ษาศีล ปฏิบัติธรรมเจรญิ ภาวนาใหม้ าก
• คุณธรรมของท่านท่ีได้พบความเมตตา จะประมาณไม่ได้และกับศิษย์ทุกคน โดยไม่เลือก
ชนั้ วรรณะ ฐานะ
• อดทน เจ็บไข้มากขนาดไหน จะไม่บอกให้ศิษย์เป็นกังวล จนกว่าศิษย์จะสังเกตเห็น ถามท่าน
ทา่ นจะตอบสน้ั ๆ
• การสอนธรรม เข้าใจง่าย มีการอุปมาอุปไมยต่างๆ เช่น สอนเร่ืองปล่อยวางความทุกข ์
ท่านเปรียบเทียบว่า คนไปจับปลามีความสุขกับการจับปลา พอดำน้ำจับปลาได้แล้ว กำไว้แน่น
พอเห็นว่าเป็นงูพิษ ไม่ต้องบอกให้วางหรือปล่อย ก็รีบขว้างไปไกลตัวทันที เพราะเห็นโทษของ
งูพิษ คนท่ีพิจารณาเห็นโทษของทุกข์ ไมต่ อ้ งบอกใหป้ ลอ่ ยวาง ก็จะปลอ่ ยวางเอง
• ท่านรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า รู้อดีต อนาคต แต่ท่านไม่พูด เมื่อเหตุการณ์ต่างๆ เกิดข้ึนจริง
จึงทราบว่าทำไมท่านพดู อยา่ งนั้น
• ท่านเป็นท่ีเคารพรักของญาติโยม ทุกคนกล่าวถึงคุณธรรม ความเมตตาของท่าน ท่านไปเยี่ยม
ญาติโยมไมม่ คี ำว่า ‘อด’ คำวา่ ลำบากไม่มี สะดวกสบายทุกอย่าง
...จะไม่ลืมความเมตตาที่มีต่อลูกศิษย์ และตั้งใจจะตอบแทนพระคุณ โดยปฏิบัติตามคำส่ังสอน กระทำคุณงาม
ความดี ทำนบุ ำรุงพระศาสนาเท่าที่สตปิ ัญญาและความสามารถจะทำได.้ ...”
(สจุ ติ รา เนียมประดษิ ฐ์ และคณะศษิ ยน์ ครปฐม)
“มงคลฤกษ์เบิกหว้ งสรวงสวรรค์ ศิษยโ์ ศกศลั ย์พระสงฆ์สนิ้ สงั ขาร
หลวงพ่อทูลดบั สูญจติ วญิ ญาณ ละสังขารดบั ขนั ธ์สนิ้ กรรมเวร
คุณพระธรรม คำสอนแตก่ อ่ นหลงั เพราะมงุ่ หวงั ศษิ ย์พบสุขพ้นทกุ ขเ์ ขญ็
สถติ พระธรรมคงอยู่จิตร่มเยน็ พระด่ังเป็นพุทธองค์ทรงเมตตา
เพลาน้ดี วงชวี พี ระดับสูญ ศิอาดรู อาลยั ใจโหยหา
ส้นิ สังขารคำสอนอยพู่ ทุ ธบชู า ขอนำมาประจำใจสืบไปนาน
ศิษยช์ าวใตน้ อ้ มอาลยั รว่ มส่งจิต ขออทุ ศิ ผลบุญหนุนสืบสาน
สง่ หลวงพอ่ ดบั ขนั ธ์ส่นู พิ พาน สถิตสถานเคียงขา้ งพุทธองค”์
(แมช่ ีลี พร้อมคณะมโนราห์, ศิษย์ชาวปกั ษ์ใต้)
ขปิ ปปัญญานุสรณ์
270
ลกู ศิษยà์ ล่าวา่ ...
สอนใหใ้ สใ่ จขอ้ วัตรป¯ิบัติ
การอบรมสง่ั สอนพระเณรของหลวงพ่อน้ัน พระอาจารยแ์ ดง รตนิ ธฺ โร กล่าวว่า
“หลวงพอ่ ไม่ดุด้วยวาจา แต่ดุดว้ ยสายตาและกริ ยิ า หลวงพอ่ ดุ แลว้ ยังไม่ฟัง ยงั ดื้อดงึ ถงึ แมจ้ ะดอ้ื ในใจ
หลวงพ่อกจ็ ะมาบอกวา่ เฮาไลห่ นจี รงิ ๆ นะ เพ่อื ประโยชน์ในการÀาวนา ท่านใหท้ ำงาน เพราะอยู่เฉยแล้วฟุ‡งซ่าน
ทำงานแล้วจะได้ไม่ฟ‡ุงซ่าน แต่ถ้าทำแล้วยังฟุ‡งซ่านใจยังไม่ยอมท่านก็จะมาบอกมาดุอีก เร่ืองงานท่านจะพูดที่
ศาลา ส่วนเรือ่ งÀาวนาสว่ นตวั ถา้ คลื่นรบั ได้ทา่ นจะไปเทศนบ์ อกท่ีกุฏิ มาเคาะกุฏิ มาบอกท่กี ฏุ ิ วา่ ใหต้ ้ังใจÀาวนา
อย่ามวั แต่หานอน พอเราลกุ ขึ้นมาปฏิบัติ เดินไปดทู า่ นทกี่ ฏุ ิ เอ ทา่ นกน็ ั่งเขยี นหนังสอื อย่นู นี่ า แลว้ ทา่ นไปหาเรา
ที่กุฏิได้ยังไง ถึงแม้ท่านละสังขารไปแล้ว แต่ลูกศิษย์หลายคนก็ยังฝันเห็นท่านมาหาอยู่ แสดงนิมิตหมายว่า
ทา่ นไมไ่ ด้จากเราไป ธรรมะทท่ี ่านพร่ำสอนยังอยู่ ใหพ้ ากนั ปฏบิ ตั ิ”
หลวงพ่อให้ใส่ใจกับพระวินัยแม้สิกขาบทเล็กน้อย แม้แต่เรื่องการประเคนอาหารหลวงพ่อก็ย้ำบ่อยคร้ัง
เรื่อง “กัปปิยะ” ผกั ผลไม้ ท่านบอกใหไ้ ปศกึ ษาให้เขา้ ใจ ส่วนเรอื่ งส่งิ ของเครอื่ งใช้ต่างๆ หลวงพ่อก็สอนให้ใช้อย่าง
ประหยดั และทำเป็นตวั อย่างแกศ่ ษิ ยเ์ สมอ
ครบู าโซ่ (พระนกั บญุ สุริยปญฺโญ วดั ปา่ บ้านค้อ) เล่าว่า
“แมก้ ระท่งั กระดาษทิชชู่ในห้องน้ำ ถา้ ดึงเกินสองแผ่นท่านจะเตือนทนั ท”ี ครบู าโซ่เล่าตอ่ ไปว่า “มีคร้ังหนง่ึ
ขา้ พเจา้ ไปซ่อมกอ๊ กนำ้ กับหลวงปู่ เม่ือซอ่ มเสรจ็ แล้ว ก็ถอื ก๊อกน้ำท่เี สยี ลงมา ในขณะเดนิ ลงมากค็ ดิ ในใจว่ากอ๊ กน้ำ
นีจ้ ะเกบ็ ไว้ก็ไมม่ ปี ระโยชน์ จงึ ขว้างทิ้งเขา้ ป่าไปไมไ่ ดส้ นใจ เม่ือลงมาแลว้ หลวงพอ่ จึงถามหากอ๊ กนำ้ จงึ ไดก้ ราบเรียน
ท่านไปวา่ “ท้งิ ไปแลว้ ครบั ” หลวงพ่อก็เลยดุเอาเสียยกใหญ่ แถมกำชับอีกว่า “ไปหามาให้เจอ ไมง่ ้ันไม่ต้องฉนั ขา้ ว
กันวันน”ี้ เม่ือถึงเวลาฉันฯ ท่ีศาลา หลวงพ่อพูดประโยคหนึ่งข้นึ มาวา่ “ช่างใหญ่ขว้างก๊อกทิ้ง...” ให้ท้งั พระเณร
และญาติโยมครึ่งศาลาได้รับรู้กัน ท่านสอนให้รู้จักประหยัด และใช้ปัญญาพิจารณาว่าสิ่งไหนพอจะซ่อมได้ก็เอามา
ซ่อม ให้ใช้งานต่อไปได้ เม่ือหมดประโยชน์จริงๆ แล้วจะเก็บไว้ก็รกเปล่าๆ นั้นแหละจึงจะท้ิงได้ เร่ืองน้ำเรื่องไฟ
หลวงพอ่ จะสอนให้ประหยดั ตลอด แมก้ ระทง่ั ขันตกั น้ำในหอ้ งน้ำท่านยังใหห้ าขันใบใหญ่ๆ ไปไว้ เวลาตกั น้ำราดจะได้
ไม่เปลืองน้ำ เร่ืองไฟตามกุฏิ ศาลา ถ้าเปิดมากเกินความจำเป็น ท่านจะบอกทันทีว่าให้ประหยัด “มันหนักคนหา
ถ้าคนใชไ้ ม่ประหยดั ชว่ ยกนั ” ของเล็กๆ น้อยๆ แม้กระทงั่ ข้อตอ่ ทอ่ น้ำทใ่ี ช้แล้ว ท่านยงั ให้เกบ็ มาแกะใช้ใหม่ ไม่ต้อง
เสียเงนิ ซอื้ ”
ปกติหลวงพ่อท่านจะสำรวจตรวจตราบริเวณวัดอยู่เสมอ ท้ังในเวลากลางคืนและในเวลาเช้า ครั้งหน่ึงใน
เวลาเชา้ หลวงพอ่ เดินไปตรวจดคู วามเรยี บร้อยทีโ่ รงน้ำร้อน ไปเห็นถ้วยและแกว้ ทีไ่ ม่ไดล้ ้างวางอยู่ เมือ่ ถงึ เวลาฉัน
หลวงพอ่ จงึ เอ่ยข้นึ มาว่า “แม้แตห่ มามนั กนิ แล้วมนั ยังรูจ้ กั ทำสะอาด อันนคี้ นกินกนั แทๆ้ ทำไมไม่รูจ้ กั ลา้ ง Àาวนา
กันยงั ไง” คำเตอื นของหลวงพอ่ แม้เพยี งประโยคสน้ั ๆ กจ็ ริง แตถ่ ึงอกถึงใจพระเณรบางรูปเหลอื เกิน
แต่บางครั้งหลวงพ่อก็ไม่ได้สอนด้วยคำพูดเสมอไป อย่างเช่นมีคร้ังหน่ึง ท่ีข้างอาสนะของหลวงพ่อไม่ได้จัด
วางกระโถนเอาไว้ แล้วพระทุกรูปก็ไม่มีใครสังเกต กว่าจะรู้กันอีกทีก็เห็นหลวงพ่อเดินไปหยิบกระโถนด้วยตนเอง
ขปิ ปปัญญานสุ รณ์ 272
โดยไม่ได้พูดอะไรเลย กรณีนี้เป็นผลให้พระทุกรูปได้สติมากมาย เพราะระลึกเห็นหลวงพ่อเดินไปหยิบกระโถนแล้ว
จะช่วยกระตนุ้ สติได้เปน็ อย่างดี (หหึ )ึ
เร่ืองห้องน้ำท่านจะเตือนอยู่เสมอ เร่ือง เวฏจกุฎีวัตร ท่ีพระภิกษุพึงรักษาความสะอาดห้องน้ำห้องส้วม
เป็นวัตร ในบางครั้งท่านก็จะลงมือล้างห้องน้ำด้วยตัวเอง เร่ืองน้ีสามเณรเสกเคยเห็นกับตาตนเองเล่าว่า “วันหนึ่ง
เวลาประมาณสองทุม่ เศษ หลวงพ่อลงมาล้างหอ้ งนำ้ โดยไมไ่ ดบ้ อกใครเลย เหมอื นทา่ นจะสอนวา่ การทำความดี
ไมต่ อ้ งเลอื กกาลเวลา” ท่านพดู เสมอว่า “หอ้ งสว้ มน้เี ปน็ หน้าเปน็ ตาของวัด แขกไปใครมา เขากจ็ ะดูห้องนำ้ นแ้ี หละ
เขาไมด่ วู ่าพระเณรภาวนากนั ยังไง เขาจะสังเกตดู ห้องนำ้ ห้องสว้ ม กุฏิ ศาลา จะรไู้ ดท้ นั ทีไม่จำเปน็ ต้องถามเลย”
หลวงพ่อทลู กับวดั นวิ ยอรค์ ฯ
ตั้งแต่ระยะเร่ิมแรก ท่ีหลวงพ่อได้เผยแผ่ธรรม โดยการแสดงธรรมเทศนา หรือเขียนหนังสือธรรมปฏิบัติ
มากมาย ทำให้เกิดมีศิษยานุศิษย์ น้อมนำธรรมปฏิบัติของหลวงพ่อไปปฏิบัติจนเกิดผลขึ้นเป็นจำนวนมาก ทั้งใน
ประเทศและต่างประเทศ
วดั นิวยอร์คธัมมาราม ซึง่ เปน็ สาขาหน่งึ ท่ตี ้งั อย่ใู จกลางกรุงนวิ ยอร์ค ก่อตัง้ ขึ้นเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยคณะ
ศรทั ธาและพุทธบริษทั ทงั้ หลายร่วมกันสรา้ งถวายองคห์ ลวงพ่อ ทกุ ๆ ปหี ลวงพอ่ จะมีเมตตาไปให้กำลงั ใจเป็นประจำ
ความเมตตาห่วงใยที่มีต่อศิษยานุศิษย์ แม้ทำให้หลวงพ่อต้องเหน็ดเหนื่อยอย่างมากก็ตาม แต่หลวงพ่อไม่เคยแสดง
ให้เหน็ เลย แตก่ ลับแสดงความห่วงใยลูกศิษย์ เปน็ “พระผใู้ ห”้ แกศ่ ิษยานศุ ษิ ยต์ ลอดเวลา ทุกคร้ังท่เี ดินทางไปถงึ
ทางคณะลูกศิษย์ที่วัดนิวยอร์ค ก็อยากจะรีบไปนิมนต์ให้หลวงพ่อพักผ่อน เพราะเห็นว่าท่านเดินทางมาแต่ไกล
จึงกราบเรียนท่านว่า “หลวงพ่อนิมนต์พักผ่อนนะครับ (ค่ะ)” แต่องค์หลวงพ่อท่านยิ้มและมองลูกศิษย์ที่มากราบ
ท่านด้วยความเมตตา และพดู ดว้ ยสำเนียงอสี าน วา่ “เฮา้ นอนมาตลอดทาง บ่ เป็นหยัง”
พระอาจารย์เมธี ธีรปญฺโ เจ้าอาวาสวัดนิวยอร์คธมั มาราม กลา่ วถึงหลวงพ่อวา่
“ทกุ ครั้งท่ขี ้าพเจ้าไดม้ ีโอกาสคุยกบั ทา่ น ทา่ นจะถามเสมอว่า ท่ีวดั เป็นอย่างไร มโี ยมมาวัดเยอะหรอื เปลา่
พยายามรักษาศรัทธาญาติโยมไว้นะ ทำตัวให้เป็นท่ีเคารพศรัทธาของญาติโยมทั้งหลาย เร่ืองท่ีท่านสั่งเสมอว่า
ความเสอ่ื มเสียที่จะเกิดกับนกั บวชเรา คือ ๑. เร่อื งผหู้ ญิง ๒. เรอ่ื งเงนิ ทา่ นจะส่ังเปน็ ประจำและกำชบั อยา่ งมาก
อย่าให้เกิดเร่ืองแบบนี้เป็นอันขาด ถ้าเกิดเร่ืองแบบนี้เมื่อใด ความเสื่อมเสียจะเกิดขึ้น และไม่สามารถท่ีจะรักษา
ศรทั ธาญาตโิ ยมไวไ้ ด้ ทา่ นเปน็ หว่ ง ๒ เรอื่ งนเ้ี ปน็ อยา่ งมาก
หลักธรรมที่องค์หลวงพ่อสอนอยู่เป็นประจำและอยู่ในใจของข้าพเจ้าคือ “ให้ใช้ปัญญาพิจารณา ในเรื่อง
ต่างๆ ท้ังในทางบวกและในทางลบ และใหน้ อ้ มเขา้ มาหาตัวเอง มองดตู วั เองให้เหน็ ว่าเรานน้ั หลงตดิ อยใู่ นสง่ิ ไหน
ใจมีความผูกพันในสิ่งไหน ให้ใช้ปัญญาพิจารณาในจุดตรงนั้น ไม่ใช่ว่าจะทำแต่สมาธิอย่างเดียว แล้วท่านเน้น
ไปอกี วา่ สมาธไิ มท่ ำใหเ้ กดิ ปญั ญา ปญั ญาคอื การพจิ ารณา ทำใหจ้ ติ ทห่ี ลงตดิ และผกู พนั ในสงิ่ ตา่ งๆ นน้ั เกดิ ความ
เบอื่ หนา่ ย และรจู้ รงิ เหน็ จรงิ ตามหลกั ความเปน็ จรงิ ”
273
ทกุ ครง้ั ทห่ี ลวงพอ่ จะกลบั เมอื งไทย ทา่ นจะบอกวา่ “เดย๋ี วหลวงพอ่ มา แปบ......เดยี ว” (แปบ.....เดยี วของทา่ น
ในทน่ี ี้ คอื ๑ ป)ี ทกุ คนตา่ งตง้ั ตารอคอย การกลบั มาของหลวงพอ่ อยากจะเหน็ หลวงพอ่ นง่ั เคย้ี วหมาก และมองทอดสายตา
ไปรอบๆ มองลกู ศษิ ยด์ ว้ ยสายตาทเี่ ปย่ี มไปดว้ ยความเมตตา
แมว้ ันนีห้ ลวงพ่อจะละสังขารไปแลว้ กต็ ามคณะศิษยท์ ุกคนยังสำนกึ เสมอวา่ “หลวงพ่อคอื หัวใจของเราทุกคน
ส่ิงทหี่ ลวงพอ่ ฝากไว้ ส่ิงท่หี ลวงพอ่ สรา้ งไว้ เราทกุ คนจะทำตามเจตนารมณ์ขององค์ท่านตลอดไป ขอบชู าคุณพ่อ แม่
ครบู าอาจารย์ ดว้ ยเศยี รเกลา้ ....”
หลักปฏิบัติของหลวงพ่อท่ีมีต่อศิษยานุศิษย์น้ัน หลวงพ่อมีความเมตตาต่อศิษย์ทุกๆ คน เพียงแต่กิริยา
แตกต่างไปตามสถานการณ์ หากสังเกตกิริยาของหลวงพ่อเวลาอยู่กับพระเณร จะดูเคร่งขรึมน่าเกรงขามมาก แต่
พอมีญาติโยมเข้ามากราบท่าน หลวงพ่อจะเปล่ียนสีหน้ากิริยาทันที กลับเป็นใบหน้าที่ยิ้มแย้มแจ่มใสมีเมตตาทันที
ฉะน้ันพระเณรเมื่อเวลาเข้าใกล้หลวงพ่อจึงมักมีอาการประหม่าเกิดขึ้นเป็นหย่อมๆ ด้วยความเคารพอย่างสูง
พระอาจารย์ชยั วฒั น์ วัดนวิ ยอรค์ ธัมมาราม เล่าให้ฟงั วา่
“...เวลาท่ีเราเห็นท่านเดินมาแต่ไกล เรามักหาทางเดินหลบไปทางอื่น อาจเป็นเพราะกลัวว่าจะตอบปัญหา
ทีท่ ่านถามเราไมไ่ ด้ ถ้ามเี พื่อนพระอยู่กนั ใกล้ๆ ก็คอ่ ยยังช่วั หนอ่ ยนะ พออนุ่ ใจ แตถ่ ้าอยู่คนเดียวนะ โอย...ลมจะใส่
แทบจะมดุ แทรกแผน่ ดินหนเี ลยละ (อะไรจะขนาดน๊าน) ไม่ใชอ่ ะไรหรอก มันวงิ เวยี นเหมอื นกับหน้าจะมดื ดูแล้ว
รสู้ ึกเหมือนกลวั ท่าน แตจ่ ริงๆ แล้วไม่ได้กลวั เลย เราเกรงใจต่างหาก..(ฮ่ะๆๆ) มนั เปน็ ของมันเองอยา่ งนนั้ เกอื บทุกครั้ง
ท่ีเข้าไปใกล้ท่าน ถ้าท่านพูดธุระอย่างอ่ืนท่ัวๆ ไปหน้ามืดมันก็จะค่อยๆ คลายตัวลง แต่ถ้าท่านว่าดุให้เราเน่ียนะ
หน้ามืดมันจะค่อยๆ เพิ่มข้ึนเรื่อยๆ จนเราทนไม่ได้ต้องหาทางหลบมาทำใจสักพักจึงค่อยดีขึ้น น่ีเป็นอาการของเรา
เมอ่ื เจอท่าน คนอื่นรปู อน่ื ไม่ทราบวา่ จะเปน็ อย่างน้ีหรอื เปลา่
แต่ท่านก็เมตตาเรามากนะ จะขออะไรทำอะไรถ้ามีเหตุผลถูกต้องดีท่านก็ไม่ว่าอะไรและก็ย้ิมแย้มแจ่มใส
ทกุ ครงั้ ทที่ า่ นเหน็ เรา แตเ่ รากย็ งั อดเปน็ เหมอื นเดมิ ไมไ่ ดส้ กั ทแี ปลกจรงิ ๆ สว่ นเราเองกร็ กั ทา่ นมากเหมอื นยงิ่ กวา่ พอ่
ยง่ิ กวา่ อาจารย์ ความรกั เคารพทเ่ี รามใี หท้ า่ นนนั้ เอาหมน่ื แสนจกั รวาลมารวมกนั กค็ ดิ วา่ ยงั ไมไ่ ดน้ ะ ไมส่ ามารถอธบิ าย
ไดน้ ะ ใครปฏบิ ตั ธิ รรมไปแลว้ กจ็ ะรเู้ องวา่ ความรกั ตอ่ ทา่ นผสู้ อน ทใ่ี หค้ ณุ ตอ่ ตวั เราแบบทผ่ี อู้ นื่ จะใหเ้ รานม้ี ไิ ด้ เปน็ อยา่ งไร”
เรื่องอาจารย์เข่นลูกศิษย์น้ีมีอยู่บ่อยๆ โดยเฉพาะถ้าพระรูปไหนทำไม่ถูกต้อง หรือมีอะไรขุ่นมัวอยู่ในใจแล้ว
ละก็ มกั จะโดนดเุ อาอย่างหนกั ทุกที แบบวา่ “จำไปจนวันตาย” และก็จะไดค้ ติสอนใจไปตราบนานเท่านานเลยทเี ดยี ว
มตี ัวอยา่ งวา่ ...
ครั้งหน่ึงครูบาเสกได้ขับรถไปส่งหลวงพ่อที่กุฏิ ปกติหน้ากุฏิหลวงพ่อจะมีโต๊ะตัวหน่ึงตั้งอยู่ ครูบาเสกไม่ทัน
ระมัดระวังขับรถไปชนโต๊ะตัวน้ันเข้าอย่างแรง พอหลวงพ่อลงจากรถกอล์ฟได้ ก็ให้โอวาทเป็นกรณีพิเศษ เรื่องนี้
เจา้ ของเรอ่ื ง (ครูบาเสกสรรค์ สลี สวํ โร วัดป่าบา้ นค้อ) เลา่ วา่ ...
“เป็นครั้งแรกท่ีผมโดนท่านดุตอนน้ันผมหน้าซีดทำอะไรไม่ถูกเลย หลวงพ่อสั่งว่า “ไม่ต้องมาใกล้รถกอล์ฟ
อีกโดยเด็ดขาด!” แลว้ ท่านกบ็ อกว่า “ถา้ ขับอยขู่ ้างนอกแล้วไปชนเขาอย่างนีม้ ันจะเสียหายขนาดไหน ขบั ไมร่ ะวงั
อยา่ งน้ขี องมนั จะเสียหายมาก ขบั ไม่มีสติ ไม่มีปัญญา ไมม่ คี วามระมดั ระวัง อยา่ งน้จี ะทำให้เสียของ”
วันน้ันเป็นวันลงอุโบสถผมก็นำเร่ืองราวท้ังหมดไปเล่าถวายท่านพระอาจารย์แดง ท่านพระอาจารย์แดง
หวั เราะแลว้ บอกว่า “หลวงพ่อท่านบอกทา่ นสอนกใ็ หเ้ ราจำไวใ้ ห้ดี”
ขปิ ปปญั ญานุสรณ์
274
พอตกตอนเย็นหลวงพอ่ ท่านก็จะมาเทศนท์ ศ่ี าลา ทา่ นพระอาจารย์แดงบอกให้ผมไปรบั หลวงพอ่ อีก ผมกจ็ งึ
ตอ้ งไปอย่างขดั ไมไ่ ด้ ไปนัง่ รอทา่ นอยทู่ หี่ นา้ กุฏิ เหน็ หลวงพ่อกน็ ัง่ เฉยอยู่ ผมเองก็ไม่กล้าเรียกเพราะผมยงั ส่ันไม่หาย
จนถงึ เวลาผมก็ไม่รจู้ ะทำยงั ไงก็เลยตดั สินใจ (ตายเปน็ ตาย) บอกกบั หลวงพ่อไปว่า “หลวงพ่อครบั ผม ถึงเวลาทำวตั ร
แล้วครับผม” พอผมพูดจบหลวงพ่อก็ลุกขึ้นแล้วเดินไปท่ีรถกอล์ฟ แล้วขับลงจากท่ีกุฏิรับรองมาจอดอยู่ตรงทางท
่ี
จะขับลงจากกุฏิแล้วหลวงพ่อก็ไม่ขับ ท่านก็นั่งอยู่บนรถกอล์ฟเฉยๆ ผมจึงน่ังรอให้องค์ท่านขับไป...แต่หลวงพ่อก็ไม่
ยอมขบั ไปเสยี ที
ผมจึงนกึ ถึงคำสัง่ พระอาจารยแ์ ดงว่าให้ผมขึ้นไปขบั รถกอลฟ์ พาหลวงพ่อมาที่ศาลา ผมกเ็ ลยตดั สนิ ใจตายเป็น
ตาย บอกกับหลวงพอ่ ว่า “ขอโอกาสครับผม ผมขอโอกาสขับรถให้หลวงพอ่ ครบั ผม”
พดู จบหลวงพอ่ กห็ นั หนา้ มามองผม แลว้ ทา่ นกพ็ ดู วา่ “มา” ผมกข็ น้ึ ไปนง่ั ตรงคนขบั ทงั้ ทตี่ อนนน้ั ยงั สน่ั ไมห่ าย
แลว้ ทา่ นกพ็ ูดว่า “ขับรถตอ้ งตงั้ ใจขับ ขับใหด้ ีๆ และให้มคี วามระมัดระวงั ใหม้ าก” ผมกต็ อบไปว่า ครบั ผม แล้ว
ผมก็ขับพาท่านมายังศาลา ในขณะนั้นน้ำเสียงและสีหน้าของหลวงพ่อต่างกับตอนแรกอย่างส้ินเชิง ความสั่นกลัว
ในตอนนน้ั แทบไม่มเี ลย ผมคิดว่าทีห่ ลวงพอ่ ดุเราเพราะทา่ นปรารถนาใหเ้ ราได้ดี”
โงต่ ลอด ๒๔ ชว่ั โมง
วนั หนงึ่ ขา้ พเจา้ (เดก็ เกบ็ มาเลยี้ ง!!) ประทบั ใจทห่ี ลวงพอ่ มคี วามเมตตา ครง้ั หนงึ่ เปน็ โรครดิ สดี วง มเี ลอื ดออก
หลวงพ่อไปเจอตอนที่ทำงานกับท่าน ท่านจงึ หายามาชว่ ยรักษาอยู่ ๓ เดอื น อาการไมด่ ีขึ้น หลวงพ่อจงึ ใหพ้ าไปหา
หมอเพ่ือผ่าตัด รู้สึกประทับใจว่าเราไม่ได้เป็นพระที่บวชกับท่าน ไม่ได้เป็นพระในสังกัดวัดน้ี มาอาศัยท่านอยู่ แต่
ทา่ นก็เมตตาสง่ั สอนและตกั เตอื น และท่ปี ระทับใจอยา่ งสุดๆ หลวงพ่อชมว่า “โงต่ ลอด ๒๔ ชั่วโมง ไมม่ ีใครโง่ได้
อย่างน้ี” ทกุ วันน้ีเสยี ใจวา่ ต่อไปนี้จะไมม่ ใี ครมาคอยดุคอยว่าอีกแล้ว คำท่ชี อบสุดๆ ของหลวงพอ่ คอื เบ่อื ๆ พรอ้ ม
แสดงสีหนา้ พร้อมว่าเบอื่ จรงิ ๆ (ลูกศิษย์....)
สุดแทแ้ ต่วาสนา (พระสุพิน ปญฺ าธโร)
สมยั เปน็ นาค ได้มาอย่วู ดั ปา่ บ้านค้อหลายเดอื น เพ่อื มาวดั ใจตวั เองวา่ เราจะอยู่ทีน่ ไี่ ดม้ ั้ย เพราะการเขา้ มา
บวช ไม่ได้มาบวชเล่นบวชหัว ตั้งใจมาบวชเพื่อพ้นทุกข์ จึงต้องเลือกวัดบวช เลือกครูอาจารย์ เช้าวันหนึ่งขณะ
เชด็ เทา้ ถวายหลวงพ่ออยู่ ท่านถามวา่ “เอาจริงบ่” ทา่ นถามเป็นภาษาอีสาน ตอนนนั้ ไมท่ นั ต้ังตัววา่ ทา่ นจะถาม เลยตอบ
แบบพรศักดิ์ ส่องแสงวา่ “สดุ แทแ้ ตว่ าสนาครบั ” พอพดู จบแค่น้นั แหละ ท่านกเ็ ทศน์กณั ฑใ์ หญ่ให้ฟงั
“เอะอะกฝ็ ากไว้ใหก้ ับวาสนา ถ้าคนมันจริงมันกจ็ ริง ถ้าคนไม่จรงิ ยงั ไงกไ็ ม่จริง”
วันน้ันเราเลยได้แง่คิดว่า คนเราส่วนมากมักฝากชีวิตไว้กับโชคชะตาวาสนา ซึ่งเป็นเร่ืองยากท่ีจะหย่ังรู้
เลยมกั ปลอ่ ยชวี ติ ไปตามยถากรรม แลว้ แต่มันจะเปน็ ไป เหมือนเรอื ไร้หางเสือ ไม่มเี ขม็ ทิศ ชวี ิตไร้ทิศทาง ไม่มคี วาม
275
กระตอื รอื ร้น ไมม่ คี วามม่งุ มั่น เลยไมล่ ขิ ติ ชีวติ ตัวเอง ไมเ่ ลอื กทางเดินให้กบั ตวั เอง ช่างนา่ สงสาร สรุปวันนัน้ ท่าน
สอนให้เป็นคนจรงิ ทำอะไรให้ทำจริงๆ บวชพระก็บวชให้จรงิ ๆ ปฏบิ ัตกิ ใ็ หท้ ำจริงๆ แลว้ เราจะไดข้ องจริง
วันนั้นเลยได้แง่คิดจากท่านมากมาย จากคำสั่งสอนของท่าน แม้วันนี้ท่านจากไป ท่านก็ไปแต่ธาตุขันธ์
คำส่ังสอนของทา่ นก็ยังอยู่ ท่านสมกับเป็นอาจารย์ท่ีคอยให้ความรู้ ให้ความปกป้อง ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ใหก้ ำลังใจ
ที่บวชอยู่ได้ทุกวันน้ี เพราะมีหลวงพ่อทูลเป็นอาจารย์ และจะคอยสานต่อในส่ิงที่ท่านได้สร้างได้ทำไว้ เพ่ือสืบทอด
เจตนารมณ์หลวงพ่อต่อไป เทดิ ทูลบูชาไว้ตลอดกาล
ตรวจงานทางจติ
ในการทำงานน้ัน เร่ืองหน่งึ ท่หี ลวงปูจ่ ะเนน้ ย้ำทีส่ ดุ คือเร่อื งความประหยดั อย่างเชน่ เรอื่ งตะปงู อๆ ท่ถี อน
ออกมาหากช่างคนไหนเหวี่ยงทิ้ง เป็นได้โดนหลวงปู่ดุเอาทุกรายไป จนช่างท่ีวัดป่าบ้านค้อทุกคนไม่มีใครกล้าท้ิง
เศษตะปูอกี เลย หลวงปู่ใหเ้ อาตะปทู ีถ่ อนออกมาไปแช่น้ำมัน แล้วเอาคอ้ นมาตดี ัดให้ตรง เพ่ือเอากลับไปใชไ้ ด้อกี ครงั้
ในสมยั แรกๆ มเี หตุการณห์ นึ่งทชี่ ่างไมท่ ำตามคำส่ังของหลวงปู่ ซึ่งเป็นเร่ืองเลา่ จากปากของชา่ งตู้ทีซ่ึงถือเป็นคนสนทิ
รับใช้งานของหลวงปู่มาตลอดจนวาระสุดท้าย ตู้ทีบอกว่าช่างทุกคนทราบกิตติคุณของหลวงปู่ดีว่าหลวงปู่สามารถ
ตรวจงานทางจติ ได้
เรอื่ งนเ้ี กดิ ขึ้นประมาณปี พ.ศ. ๒๕๓๒ วนั นั้นมงี านเทรอ่ งนำ้ กันมด (รอบกฏุ )ิ ในวนั นัน้ หลวงปมู่ ีกิจนิมนต์
ออกไปฉันเช้าทที่ ่าบอ่ หลวงปู่จงึ ส่ังงานให้เทปนู หินกอ่ นท่ีจะเทปนู ทราย เพ่อื เปน็ การประหยดั ปูน เพราะบริเวณพน้ื
ต่ำมากหากเทปูนหินรองพื้นก็จะช่วยประหยัดได้มาก แต่ปรากฏว่าพอหลวงปู่ลับหลังออกจากวัดไป ช่างทุกคนกลับ
สนองงานด้วยการเทแตป่ นู ทรายเพียงอยา่ งเดียวแล้วก็ขัดมันเลย จนกระทงั่ เหลอื อยู่ประมาณ ๗๐ เซนตเิ มตร ก็จะ
เสร็จ พอดกี ับทีห่ ลวงปู่กลับจากกิจนมิ นต์ ขณะน้นั ทุกคนเชอ่ื แนว่ ่า ยังไงๆ หลวงปูก่ ไ็ มร่ ู้ แตค่ วามจรงิ ตรงกันขา้ ม
ราวกับว่าหลวงปนู่ ่งั เฝา้ อย่หู นา้ งานเลยทเี ดยี ว เพราะเมอ่ื หลวงปเู่ ดนิ ลงจากรถมายงั ไมถ่ งึ สิบกา้ วกต็ วาดชา่ งขนึ้ ทนั ท
ี
“หือ...หอื ... เฮาบอกให้เทปูนหินก่อนเทปนู ทราย คือบอ่ เทให้เฮา ..หือ” แลว้ หลวงปู่ก็ออกคำสงั่ ยอดฮติ ท่ี
บรรดาชา่ งทกุ คนต่างขยาดกนั เปน็ ท่สี ดุ
“ฮ่ือ (รื้อๆ)” หลวงปู่ส่ังทันที เป็นอันว่าวันน้ัน ช่างตู้ทีและคณะมีพ่อใหญ่ตุ้ย และช่างชวน และคณะ
ต้องไดร้ ื้องานทง้ั หมดท่ฉี าบไว้แล้ว เพื่อเทปูนหนิ รองพน้ื ใหมท่ ันที โดยการควบคุมของหลวงป่เู อง ต้ทู สี ารภาพเลยวา่
“เฉพาะผมนี่ หลาบ (กลัว) ตงั้ แตค่ ราวนัน้ เลยครับ”
แต่เป็นเรื่องธรรมดาของคนชอบลองของ เพราะยังมีตัวอย่างอีกคร้ังหน่ึง ตอนขุดลอกบ่ออัดคันกน้ั นำ้ ดา้ น
ขา้ งเจดยี ์ ครงั้ นน้ั หลวงปสู่ งั่ โชเฟอรใ์ หข้ ดุ ดนิ เดมิ ของคนั กน้ั นำ้ ออกกอ่ น โชเฟอรก์ ข็ ดุ ออกตามคำสงั่ เหมอื นกนั แตก่ ข็ ดุ
ออกไมห่ มดเหลอื เปน็ บางสว่ น โดยกลบเกลอื่ นงานเอาไว้ เพราะเหน็ วา่ ขณะนนั้ หลวงปไู่ มไ่ ดค้ มุ งานและแลว้ เมอ่ื คนั กน้ั
นำ้ เสรจ็ แลว้ หลวงปกู่ ถ็ ามโชเฟอรว์ า่ “ขดุ ใหเ้ ฮาหมดแลว้ บอ่ ”
ขิปปปญั ญานสุ รณ์
276
“ขุดหมดแล้วครับ” โชเฟอร์ตอบ หลวงปู่จึงบอกว่า “ขุดหม่องนี่ให้เฮาเบิ่งดู๊” พร้อมกับชี้ลงไปตรงจุดท
ี่
ไม่ได้ขุดดินเดิมออก โชเฟอร์ก็จำเป็นต้องขุดออกตามคำสั่ง แล้วความผิดก็เปิดเผยออกมา เล่นเอาโชเฟอร์ตัวสั่น
แถมงงเป็นไก่ตาแตก เพราะไม่คดิ วา่ หลวงปู่จะลว่ งรไู้ ด้ หลวงปบู่ อกยำ้ อีกว่า
“อยา่ ต๋วั (หลอก) เฮานา้ เฮาฮู้เหมิดนัน่ หละ”
เรือ่ งตรวจงานทางจิตน้ี บรรดาช่างในวัดป่าบา้ นค้อทกุ คนทราบดี และภายหลงั มา ก็ไมม่ ีใครกลา้ ลกั ไก่ หรือทำ
นอกเหนือคำส่งั หลวงปอู่ กี เลย... “หลาบตัง้ แตค่ ราวนนั้ เลยครับ” ตูท้ กี ลา่ ว...
ความรู้อันย่ิง หรือท่ีเรียกว่า อภิญญา ผู้ปฏิบัติท่ีได้ถึงอภิญญาน้ันสามารถล่วงรู้อนาคตได้ เรียกว่า
อนาคตงั สญาณ คือญาณหยัง่ รเู้ หตุการณ์ในอนาคต ตู้ทเี ลา่ วา่ ตอ่ มาหลังจากทำรอ่ งนำ้ เสรจ็ หลงั หนง่ึ กำลังเรมิ่ ทำ
หลังท่ีสอง หลวงปู่มาปรารภกับช่างทีว่า “นี่หละ งานสุดท้ายของบักชวน” ช่างทีในขณะนั้นคิดว่าหลวงปู่จะไล
่
ช่างชวนออก ต่อมาช่างทีจึงได้รู้ความหมายในคำพูดของหลวงปู่ เพราะหลังจากน้ันยังไม่ถึง ๗ วัน ช่างชวน
กเ็ สยี ชวี ิตแบบกะทนั หนั ซงึ่ ตรงกบั คำพูดหลวงปทู่ ุกประการ
สอนให้ยอมเปน็
นักปฏิบัติสมาธิที่ได้ฌาน หรืออภิญญา ย่อมเกิดความรู้ความเห็นที่ยิ่งไปกว่าสามัญชนจะรู้ได้ มีความ
สามารถแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ต่างๆ ได้ แต่ในแนวทางพระพุทธศาสนา ถือว่าส่ิงเหล่าน้ีเป็นเพียงทางผ่านเท่าน้ัน
ท่านมใิ ห้ไปหลงติด ในทางวนิ ัยบญั ญัติ พระพทุ ธองคก์ ท็ รงปรบั โทษอาบัตไิ ว้ว่า “ภกิ ษใุ ดอวดอตุ รมิ นุสธรรม ท่ีไม่มี
ในตน ต้องอาบัติปาราชิก” (คือขาดจากความเป็นภิกษุ) หากภิกษุใดแม้อวดอตุ รมิ นสุ ธรรมทม่ี ใี นตน กม็ โี ทษปรบั
อาบตั ปิ าจติ ตยี ์ หลวงพอ่ ไมเ่ คยอวดตนวา่ มคี ณุ วเิ ศษแตอ่ ยา่ งใด แต่บรรดาศิษย์วัดป่าบ้านค้อจะทราบดี ว่าหลวงพ่อ
สามารถรู้ใจผ้อู ืน่ ได้ ซ่ึงเป็นอภิญญาอนั หนง่ึ เรยี กวา่ “เจโตปรยิ ญาณ”
ผใู้ หญ่ดำ ผู้เคยมปี ระสบการณท์ ราบดี เพราะว่า...?
วนั หนึ่งผ้ใู หญ่ดำมาจงั หนั ตอนเชา้ ตามปกติ หลวงพ่อถามว่า
“ผใู้ หญด่ ำ ในหม่บู ้านมีคนวา่ งงานมัย้ ”
“หลวงพ่อถามทำไมครับ” ผูใ้ หญ่ดำ ถามตอบ
หลวงพอ่ : “อยากจะจ้างเขามาทำงานช่วย”
ผู้ใหญ่ : “จะจา้ งเขาวนั ละเทา่ ไร ?”
หลวงพอ่ : “วันละ ๕๐ บาท”
ผ้ใู หญ่เลยตอบวา่ “ทหี่ มูบ่ า้ นคนไม่คอ่ ยมี มแี ตผ่ ู้เฒ่าท่ีเลี้ยงลูกเลีย้ งหลานอยบู่ ้าน พ่อแม่เขาไปทำงานทป่ี า่ ยาง
ข้างตลาดโคกระบือ เขาไปรบั จ้างได้วันละ ๒๐๐ - ๓๐๐ บาท ตอ่ คน หลวงพอ่ จา้ งเขา ๕๐ บาท เขาไม่มาหรอก”
หลวงพ่อก็ชี้แจงอีกว่าจะเอาเฉพาะคนที่ว่างงาน ผู้ใหญ่ก็ยังบอกว่าไม่มีๆ หลวงพ่อก็ถามซ้ำอีก ผู้ใหญ่ก็ยังยืนยัน
เหมอื นเดมิ ว่าไม่มี ผลสดุ ท้ายหลวงพ่อเลยสรุปให้ว่า
277
“เอาคนทีจ่ ะไปเล่นไฮโลน่นั หละ !”
หลวงพ่อพดู พลางอมย้ิม ชำเลอื งมาทางผใู้ หญ่
ผู้ใหญ่เลยยกมือสาธุแล้วตอบว่า “ถ้างั้นเด๋ียวผมกลับบ้าน แล้วจะไปชวนเมียมาทำให้หลวงพ่อเองหรอก”
ผใู้ หญบ่ อกวา่ เรอื่ งนไี้ มเ่ คยบอกใคร แมแ้ ตค่ นในหมบู่ า้ นกไ็ มม่ ใี ครร.ู้ ..วา่ สองวนั ทแ่ี ลว้ ผใู้ หญไ่ ปเลน่ ไฮโลทบี่ า้ นเดอ่ื วนั นี้
หลงั จงั หนั เสรจ็ ผใู้ หญก่ จ็ ะไปอกี แตจ่ ากนนั้ มาผใู้ หญด่ ำกบั ภรรยาเลยตอ้ งมาชว่ ยงานหลวงพอ่ ถงึ ๙ วนั จนเสรจ็ งาน
น่เี ป็นวิธีหนง่ึ ท่ีหลวงพ่อทำใหล้ ูกศษิ ย์ ยอมเปน็ และยอมโดยสวสั ดภิ าพ...
พระธาตุเสดจ็
เร่ืองท่ีหลวงพ่อรู้เห็นนั้น ท่านรู้จริง และเห็นจริง แม้แต่เร่ืองพระบรมสารีริกธาตุ หลังจากได้อัญเชิญ
พระบรมสารรี กิ ธาตุ ๓ องค์แรกผ่านมาหลายปีแล้ว แตย่ งั ไม่มใี ครทราบเร่ืองพระธาตุเสด็จมาอยูว่ ัดปา่ บา้ นคอ้ วันหนึง่
พระปุ๊ก (ปัจจุบันสึกแล้ว) ซึ่งขึ้นไปบนยอดเจดีย์ได้เห็นพระธาตุเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก จึงมาเล่าให้ผู้ใหญ่ดำฟัง
พอผูใ้ หญ่ดำได้ฟงั ก็สะดดุ ใจ เพราะนึกถึงคำปรารภของหลวงพอ่ ท่ีเคยพูดกับตนไวน้ านแลว้ ว่า
“ถ้ามผี คู้ นมาสกั การบูชาวดั เรามากๆ พระบรมสารีริกธาตุ จะเสด็จมาอยวู่ ัดเราอีกเปน็ จำนวนมาก”
ซ่ึงแสดงว่าหลวงพ่อรู้ล่วงหน้ามาก่อนแล้ว ว่าจะเกิดเหตุการณ์อย่างน้ี ด้วยความสงสัยผู้ใหญ่จึงเข้าไปถาม
หลวงพอ่
“พระบรมสารรี กิ ธาตุเสดจ็ มาอยวู่ ดั เราจรงิ หรอื หลวงพอ่ ?”
“มาเยอะ” หลวงพ่อตอบแลว้ กเ็ ลา่ ใหฟ้ งั ต่อว่า
“ผู้ใหญ่เคยเห็นดาวหยาด (ตก) ม้ัย พระบรมก็มาเหมือนกับดาวหยาดน่ันหละ มีแสงสว่างพุ่งมาอย่าง
นน้ั ละ พอมาถงึ พระมหาธาตุเจดยี ก์ เ็ วียนขวา ๓ รอบ แลว้ ก็เสดจ็ เข้าที่พัก วดั เราจะมแี สงสว่างทง้ั วดั ดเู นอื้ หนงั เรา
นจ่ี ะเหลอื งอรา่ มไปหมด แตบ่ คุ คลอน่ื จะเหน็ เหมอื นหลวงพอ่ หรอื เปลา่ กไ็ มท่ ราบนะ แต่หลวงพอ่ เห็น แต่ละองค์จะ
เสดจ็ มาในเวลาข้ึน ๑๕ ค่ำทุกคร้ัง”
“หลวงพ่อเห็นทุกองค์มย้ั ?”
“เหน็ ทุกองค์” หลวงพอ่ ตอบ
แม้สรรี ะขององค์สมเดจ็ พระสัมมาสมั พุทธเจา้ จกั เส่อื มสลายไปแลว้ แตส่ ิ่งหน่ึงทีย่ ังหลงเหลืออยเู่ ปน็ รปู ธรรม
นั่นก็คือพระบรมสารีริกธาตุ ให้สาธุชนได้มาร่วมกันสักการบูชา เพื่อเป็นมงคลแก่ชีวิตของตน ในแต่ละปีสาธุชน
จำนวนมากได้หลั่งไหลกันมาสักการบชู าพระบรมสารีรกิ ธาตทุ ีว่ ัดปา่ บา้ นค้อ ไดบ้ ำเพ็ญกศุ ล และฟงั ธรรม
แต่ต่อจากน้ีไป แม้ว่าหลวงพ่อจะจากพวกเราไปแล้ว แต่ส่ิงที่หลวงพ่อได้มอบเอาไว้เป็นศาสนวัตถุอันทรง
คณุ คา่ น่นั กค็ ือ “พระมหาธาตเุ จดีย์เฉลมิ พระบารมพี ระนวมนิ ทร”์
จะเป็นศูนย์รวมใจของสาธุชนตลอดไป สมกับท่ีหลวงพ่อได้ทุ่มเทแรงกายแรงใจเพ่ือให้เกิดประโยชน์แก
่
พุทธศาสนิกชน ใหช้ นร่นุ หลังไดม้ าสักการบูชาสืบไป ตลอดกาลนาน...
278
ขิปปปัญญานุสรณ์
แทงใจดำลกู ศิษยถ์ ูก....จุดจรงิ ๆๆ
ลกู ศษิ ยเ์ กา่ ๆๆ แกๆ่ ๆ (พอ่ พร บษุ ผาสงั ข)์ ทคี่ นุ้ เคยกบั หลวงพอ่ ตงั้ แตเ่ รมิ่ สรา้ งวดั หนองสองหอ้ ง เลา่ ใหฟ้ งั
ว่า หลวงพ่อท่านเป็นผู้มีปัญญาจริง ปัญหาแหลมคม ยอดของปัญญา รู้หมด ท่านหยั่งรู้จิตใจคน พุ่งไปตรงไหน
แทงใจลูกศิษย์ได้ถูกจุดจริง ทำให้ลูกศิษย์ท้ังรัก ท้ังปลื้มหลวงพ่อไปตามๆ กัน ท่านสอนตรง สอนลัดเข้าถึงจุด
ไมอ่ ้อมค้อม
แมค่ รวั ใหญ่ (แม่บวั แม่นาง แมท่ องล้วน แม่ออ่ น แม่ละไม) เลา่ วา่ หลวงพอ่ เปน็ คนจรงิ พดู จริง ทำจรงิ
เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ และไม่ลืมลูกศิษย์ จำแม่น ท่านสอนแม้กระทั่งวิธีทำอาหาร การดูแลความสะอาด ท่านสอน
หมดทุกแนว!! เหมือนพอ่ สอนลูกก็ไมป่ าน
หลวงพ่อปากหวานซะดว้ ย ถา้ อยากฉันตำสม้ บอกว่า ต้องหนองสองห้องเท่านน้ั ?????
แมบ่ อกวา่ “ทำตายเลยเรา” แม่ๆ รักทา่ นม๊ากมาก งานสรงนำ้ ฯ เหน่อื ยหนักแค่ไหนกส็ ูๆ้ ๆ ตายเปน็ ตาย
สู้เพ่อื หลวงพอ่ ทนได้ เจา้ คะ่ !!!! ถงึ แกก่ เ็ ลิกไมไ่ ด้
แมน่ างเลา่ ใหฟ้ ังวา่ นอ้ งสาวพระอาจารย์หลอดฝันเห็นหลวงพอ่ ท่านแต่งตวั สวยไปหา แลว้ บอกวา่ “เฮา
จะไปแล้วเด้อ ถึงเวลาแล๊ว” แม่นางก็ร้องในฝันว่า หลวงพ่อไปบ่ได้ แล้วลูกจะอยู่ยังไง ท่านก็บอกว่า “อยู่ได้
เดือน ๓ ให้ไปเฮด็ คือเก่าเด้อ”
คร้ังหน่ึงท่านประทับใจหลวงพ่อมาก วันน้ันท่านจะพาไปทอดกฐินท่ีวัดป่าลัน ให้คณะศิษย์หนองสองห้อง
ไปด้วย ตอนจะขึน้ รถ รถเต็มท่ไี ปได้ จึงไม่ได้ข้ึนรถ หลวงพ่อหันมาเหน็ แลว้ ถามว่า ทำไมไมข่ นึ้ รถ พวกเราบอกวา่
“ขน้ึ ไมไ่ ดเ้ จา้ คะ่ ” ทา่ นจงึ พดู วา่ ถา้ หนองสองหอ้ งไมไ่ ดไ้ ป หลวงพอ่ กบ็ ไ่ ป ประโยคแค่นลี้ ูกศิษยก์ เ็ ปน็ ปลมื้ ไปตามๆ กนั
เสนห่ ์เฉพาะตน ...ของเอกบุรุษ
ทา่ นเปน็ ผสู้ อนใหม้ ปี ญั ญาจรงิ ๆ หลวงพอ่ เคยเลา่ ใหฟ้ งั วา่ มโี ยมนมิ นตไ์ ปฉนั ทบี่ า้ น พอไปถงึ เหน็ เขาเอาฟกู ปู
ไวใ้ หน้ ง่ั ทา่ นเหน็ แลว้ ทา่ นกพ็ จิ ารณาวา่ ถา้ นงั่ กเ็ ปน็ อาบตั ิ ถา้ ไมน่ งั่ แลว้ ใหเ้ ขาเอาออกกเ็ ปน็ อาบตั ิ และทำใหเ้ ขา
เสยี ศรทั ธา”
กลิง้ มะพรา้ วเลน่ ...แลว้ โยนท้ิง
วันหนึ่งหลวงพ่อท่านถามโยมว่า “กล่อมลูกเป็นไหม ถ้ากล่อมลูกเป็นก็สอนตนเองเป็น” โยมท่ีน่ังฟังอยู่
แอบเถียงในใจว่า “กล่อมเปน็ ซิ แตท่ ำไมตอ้ งสอนตนเองดว้ ย” แมแ่ กว้ วัดปา่ บ้านค้อ เล่าให้ฟังว่า หลวงพอ่ ท่าน
เมตตามากสอนให้ทุกอย่าง แต่เรามันโง่ โง่มาก ตรงที่หลวงพ่อท่านโยนมะพร้าวมาให้เรา “เราก็เอามะพร้าวมา
โยนเล่นแล้วโยนทิ้ง ไม่ค่อยรู้เลยว่าข้างในมะพร้าวมีอะไร กินได้หรือไม่ เราไม่มีปัญญาท่ีจะปอกมะพร้าว ปอก
ไมเ่ ป็น ไม่ร้วู ธิ กี ารปอก แตเ่ รากลับภมู ิใจเวลาไปฟังเทศน์ จะบอกวา่ หลวงพอ่ ทา่ นเทศนด์ ี แต่มันดขี องท่าน แตเ่ รา
ไม่มีอะไรดีเลย เพราะไม่เคยนำมาคิดพิจารณาด้วยปัญญาของตนเองเลย มีแต่ไปชื่นชมปัญญาของหลวงพ่อว่า
ทา่ นมีปัญญาเปน็ เลศิ
279
ชือ่ ธรรมะ กับ ตวั ธรรมะ
มีตัวอยา่ งลกู ศิษย์ท่านหนึง่ กำลงั ฟงั เทศน์หลวงพ่ออยู่ มีญาตธิ รรม ๒ คน พดู คุยกนั อยู่ดา้ นหลงั โยมทา่ นน้ี
รูส้ กึ หงุดหงิด รำคาญเสยี งคุยกนั เกดิ ความไมพ่ อใจ
ในขณะน้ันเอง นึกถึงหลวงพ่อพูดว่า “ตัวธรรมะ” โยมท่านนั้นเกิดความเข้าใจว่าตัวธรรมะคืออะไร เขา
รจู้ ักแล้ว เขา้ ใจแลว้ ว่า ตวั ธรรมะก็คอื ความจริงทเ่ี ขากำลังรสู้ กึ อยู่เป็นอารมณค์ วามไม่พอใจทีไ่ ดย้ ินเสยี งคนคุยกัน
ในขณะหลวงพ่อเทศน์ ตอนน้เี ขาไม่ฟังหลวงพอ่ เทศน์ เพราะเขากำลังฟงั เทศนต์ นเองจากเหตุการณ์จรงิ
เขาเรมิ่ ถามตนเองวา่ เราหงดุ หงดิ รำคาญ ทำไม เพราะอะไร แลว้ กเ็ รม่ิ ถามตนเองวา่ “แลว้ เราหละ” เคยทำ
แบบนไี้ หม ทไ่ี หน กบั ใครใหน้ กึ ดู และเรามคี วามเหน็ ผดิ กบั เรอ่ื งนอ้ี ยา่ งไร เขาคน้ หาคำตอบจนพบวา่ ทเี่ ขาทกุ ขเ์ รอ่ื ง
เสยี งคนคยุ กนั ในขณะพระเทศน์ เพราะเขาไปตงั้ ความเหน็ ไวว้ า่ “เมอื่ หลวงพอ่ เทศนท์ กุ คนตอ้ งฟงั และไมค่ ยุ กนั ” เขา
อยากใหม้ นั เทย่ี ง แตม่ นั บงั คบั ไดห้ รอื ไม่ มนั เปน็ ไปไมไ่ ด้ ความเหน็ นเ้ี ปน็ ความเหน็ ผดิ ไปจากความจรงิ เขาจงึ เปลยี่ น
ความเหน็ ถกู วา่ “เมอ่ื หลวงพอ่ เทศนจ์ ะมคี นฟงั กไ็ ด้ ไมฟ่ งั กไ็ ด้ คยุ กนั กไ็ ด้ ไมค่ ยุ กนั กไ็ ด”้ พอเขาคดิ ไดค้ วามทกุ ขข์ อง
เขาหายไป เกดิ ความสบายใจ ไมเ่ พง่ โทษและไมต่ ำหนคิ นทงั้ สองอกี เลย เกดิ ความเขา้ ใจคนอน่ื เพราะเขา้ ใจตนเอง
นอ้ มอกเขาอกเรา เกดิ ความเหน็ ใจ เขา้ ใจเขาทเี่ ขาทำไปเพราะไมร่ วู้ า่ การกระทำนนั้ ทำใหค้ นอน่ื เดอื ดรอ้ นและเปน็ ทกุ ข ์
อารมณข์ ัน
มีนักเรียนชายผู้หน่ึงท่ีเข้าค่ายพุทธธรรม รายงานผลการเข้าอบรม เรียนว่า ได้อบรมคร้ังน้ี กระผมจะทิ้ง
ความไม่ดีท้ังหลายไว้ท่ีวัดให้หมด หลวงพ่อบอกว่า ลูกหลานที่ว่าจะทิ้งของไม่ดีไม่งามไว้ให้หมดหน่ะ หลวงพ่อ
อนุโมทนานะ แต่ไปทง้ิ ไวน้ อกวัดนะ เพราะถา้ ท้ิงในวัด แม่ชี แม่ขาวเกบ็ เอาไว้จะเดือดร้อน
วทิ ยากรค่ายพุทธธรรม อบรมเดก็ เมอ่ื เดก็ ๆ ทำดี ทำถกู จะพูดให้กำลงั ใจวา่ very good ซำ้ ๆ ทุกๆ รุ่น
วันหน่งึ หลวงพ่อบอกวา่ สอนเด็กแลว้ พดู very good...very good ระวังเด็กไปเหยยี บเทา้ ฝร่ังเขา้ แล้วบอกว่า
เวร่ี กู๊ด นะ พร้อมกบั ทำเสียงลากยาวแบบเดยี วกบั วิทยากร
ประหยดั
วนั หน่งึ ศษิ ยผ์ ู้หนึง่ คลานเขา้ ไปหยบิ กระโถนจะลา้ ง ท่านถามวา่ ทำอะไร ศษิ ย์ตอบว่า เอากระโถนไปล้าง
เจา้ ค่ะ ท่านก็บอก ไมต่ อ้ ง ศิษย์กถ็ ามว่า ทำไมละเจ้าคะ ท่านบอกว่า ประหยัดนำ้ ใหเ้ ต็มกอ่ นแลว้ ค่อยล้าง
มศี ิษยน์ ง่ั เลอื กพรกิ สกุ ๆ เน่าๆ แยกใสถ่ งั ตงั้ ใจจะทิง้ ท่านเดินผา่ นมาเห็นถามวา่ ทำอะไร ตอบไปวา่ เลอื กทิง้
เจา้ คะ่ มนั เปน็ อะไร เน่าเจ้าคะ่ แลว้ มนั พอใชไ้ ดไ้ หม พอใช้ได้เจา้ ค่ะ เออดี เอาไปล้าง ผงึ่ แดด ทำพริกแห้งซะ
ขปิ ปปญั ญานสุ รณ์
280
โอวาท ๓ ครงั้ สุดท้าย กับ ถา่ น ๓ กระสอบ
ดวงตะวันกำลังจะตกดิน นกท่ีออกหากิน บินกลับรัง ความมืดกำลังคืบคลานเข้ามากลืนกินสรรพสิ่ง
เหมือนกับสัจธรรมแหง่ องค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ทีท่ รงตรสั สอนวา่ “สิ่งหนึง่ สิ่งใดมกี ารเกิดขึน้ สง่ิ นั้นย่อมมี
ความดับไปเปน็ ธรรมดา”
อาสนะท่ีศาลา ซ่ึงหลวงพ่อมาน่ังอยู่เป็นประจำ บัดนี้มันได้กลายเป็นเพียงอนุสรณ์ให้รำลึกถึงหลวงพ่อ
เท่านั้น เวลาท่ีหลวงพ่อลงมาฉันท่ีศาลาก็มักจะมีโอวาทหรือพูดคุยกับพระภิกษุสามเณร แม่ชี อุบาสก อุบาสิกา
เก่ยี วกับเรอ่ื งการงานต่างๆ ในวัดป่าบ้านคอ้ เสมอ ด้วยความสนใจเปน็ พิเศษของข้าพเจา้ (ครูบาโชติ วดั ป่าบ้านคอ้ )
จดจำได้ดวี า่ ในพรรษา ๒๕๕๑ นี้ มโี อวาท ๓ ครงั้ สดุ ท้าย ทหี่ ลวงพ่อพูดกบั ศิษยานศุ ิษยท์ ุกคน เหมอื นกับเป็นการ
สง่ั เสียหรือบอกอะไรบางอยา่ ง?
ครั้งแรก วันหน่ึงหลังจากทุกคนข้ึนศาลาเรยี บรอ้ ยแลว้ หลวงพอ่ จับไมคข์ นึ้ มาก็พูดถงึ เรื่องการตัดหนอ่ ไมก้ บั
แม่ชีแมข่ าว ซงึ่ มหี นา้ ทีร่ บั ผดิ ชอบเรื่องโรงครัววา่ “การตดั หนอ่ ไมน้ น้ั ต้องตดั ให้ถูกวิธจี งึ จะได้กินนานๆ เพราะถา้
ตดั ไมถ่ ูกวิธี หนอ่ ไมก้ ็จะไมแ่ ทงหน่อออกมาให้ได้กินอกี ” น้ำเสียงของหลวงพ่อดดุ นั มาก เหมือนกบั พ่อกำลังดลุ ูก
ท่ไี ม่ประสีประสา แตพ่ วกเรา ไม่ว่าพระภกิ ษุหรอื แมช่ แี ม่ขาวจะรบั รูแ้ ละซาบซ้ึงดเี สมอ ถงึ ความเมตตาความหว่ งใย
ของหลวงพอ่ ที่มีต่อเราทุกคน
ข้าพเจ้าตั้งใจฟังอย่างดีในวันน้ันจำได้ดีว่า เฉพาะเรื่องหน่อไม้เรื่องเดียวหลวงพ่อพูดเกือบคร่ึงชั่วโมง จน
สุดท้ายหลวงพอ่ จึงบอกวา่ “เอาหละ่ พอแล้วเดีย๋ วแมช่ จี ะเปน็ ไขไ้ ปซะกอ่ น” เล่นเอาแม่ชีบางคนหัวเราะเกือบไมอ่ อก
ได้แต่ย้ิมแหง้ ๆ ด้วยความซาบซึ้งใจไปตามๆ กัน
ครง้ั ท่ีสอง เมือ่ หลวงพ่อขึ้นมานั่งบนอาสนะเรียบร้อยแลว้ ก็เริม่ ปรารภเร่อื งปา่ หมากซัก ซ่งึ เป็นโครงการท่ี
หลวงพ่อดำริข้ึนว่าให้ปลูกป่าหมากซักในบริเวณสวนร้อยไร่ของวัดป่าบ้านค้อ หมากซักเป็นต้นไม้อเนกประสงค์และ
ทำประโยชน์ไดม้ ากมายสารพดั อยา่ ง ระหวา่ งทห่ี ลวงพอ่ พูดอยูน่ ้นั มีประโยคหนึง่ ซึง่ สะกิดใจมาก คอื หลวงพอ่ บอก
ว่า “ป่าหมากซักน้ีจะเป็นรายได้หล่อเลี้ยงวัดอันหนึ่ง หากต่อไปเฮาบ่อยู่แล้วให้รักษาไว้ให้ดี เพราะหากเฮาบ่อยู่
รายได้เข้าวัดก็จะน้อยลง” ประโยคนี้เป็นเหมือนเป็นคำเตือนของหลวงพ่อว่าเวลาของท่านใกล้หมดลงแล้ว...แต่
หลวงพ่อยังหว่ งใยลกู ๆ ทกุ คน วา่ จะเปน็ อยกู่ ันอย่างไร
คร้งั ทส่ี าม โอวาทที่หลวงพ่อกลา่ วเปน็ ครัง้ สุดท้ายในศาลาวัดป่าบ้านค้อ ตรงกบั วนั ท่ี ๑๖ กนั ยายน ๒๕๕๑
หลวงพอ่ ปรารภถงึ อาการป่วยต้ังแต่วนั ที่ ๙ กนั ยายน ซ่ึงเป็นวันท่กี ลบั มาจากโรงพยาบาลทก่ี รุงเทพฯ ว่าร้สู กึ หูอ้อื
ไมค่ อ่ ยไดย้ ินเสยี ง ไปหาหมอทอี่ ดุ รฯ อาการกย็ ังไม่ดขี ้ึนเลย และประโยคหนึง่ ทข่ี ้าพเจ้าจำไดช้ ัดเจน คอื หลวงพ่อ
บอกว่า “มที างเดียวท่ีมนั จะหาย คอื ถ่าน ๓ กระสอบเทา่ นน้ั แหละ” ปรากฏวา่ ลูกศิษย์บางคนเอาไปตเี ลขถูกอกี
เพราะงวดน้ันออก ๖๓ ครับ (คำว่า “กลบั วันที่ ๙” เขาบอกว่า ๙ กลบั เปน็ ๖ หรือไม่กห็ กู ต็ เี ปน็ ๖ ส่วนถา่ น ๓
กระสอบ ก็ตรงตวั เลยครับพีน่ อ้ ง กเ็ บิกบานกันไปตามอตั ภาพ)
แต่จะมใี ครคิดบ้างวา่ ถา่ น ๓ กระสอบท่ีจะรกั ษาคนให้หายจากโรค แก่ เจ็บ ตายนี้ ก็มีอยทู่ างเดียว คือ
ปัญญา ศีล สมาธิ ตามองค์มรรค หรือพิจารณาไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา น่ันเองท่ีรักษาได้หายขาด
281
หลุดพ้นจากเวียนว่ายตายเกิด หรือหากจะหมายถึงถ่าน ๓ กระสอบที่เผาร่างคนบนเมรุครั้งสุดท้าย ก็แล้วแต่ผู้มี
ปญั ญาจะคดิ หาอุบายธรรมมาสอนใจ หลงั จากน้ันมาหลวงพ่อกไ็ มไ่ ดพ้ ดู อะไรทศ่ี าลาอกี เลย เพราะตอ้ งรักษาตวั อยูท่ ่ี
กุฏิเท่าน้ัน จนกระท่ังถึงวันละสังขารไปจากพวกเรา พร้อมกับฝากปริศนาธรรมคร้ังสุดท้ายว่า ถ่าน ๓ กระสอบ
เทา่ นัน้ แหละ ข้าพเจา้ เชอื่ แน่ว่า ตลอดหลายสิบปีทหี่ ลวงพ่อก่อต้ังวัดป่าบา้ นค้อมา ท่านไดบ้ อกและพร่ำสอนลกู ศิษย์
ทุกคนหมดทกุ อย่างแลว้
แมห้ ลวงพอ่ จะละสังขารไปแล้ว แตส่ ิ่งทยี่ ังเหลืออยู่คือคำสอนทีห่ ลวงพอ่ ฝากไว้ให้พวกเราได้ประพฤตปิ ฏิบัติ
ความเมตตาห่วงใยของหลวงพ่อท่ีมีต่อพวกเราทุกคนยังติดตาตรึงใจ ให้พวกเราทุกคนได้สำนึกในพระคุณของหลวงพ่อ
ตลอดไปมิรลู้ ืม จากน้ไี ปพวกเราจะตั้งใจปฏิบัติตามคำสอนของหลวงพอ่ หากหลวงพ่อรบั รูด้ ้วยญาณวิถใี ดๆ กค็ งได้
เห็นพวกเราทุกคนสามคั คีกัน และปฏบิ ตั ติ นตามคำสอนของหลวงพ่อทกุ ประการ...
อาลัยหลวงพอ่
อนั สัมมา ทิฏฐ ิ ท่ีพอ่ สอน
เป็นคำวอน ฝากไว้ ให้ปฏบิ ัต
ิ
มปี ญั ญา รกั ษาตน สว่างชัด
สุขสวัสด์ิ พพิ ัฒนผ์ ล ดลพระธรรม
พอ่ ปญั ญา - พิศาล - เถรลาจาก
หลวงพอ่ ฝาก พระธรรม ล้ำค่าหลาย
ใหล้ ูกหลาน จดจำ ไวส้ อนใจ
เมอ่ื พอ่ ไกล จากลกู ช่ัวนริ ันดร์
พระสุขี สุขโิ ต เจ้าอาวาสวัดฮอ่ งกงธัมมาราม
ขปิ ปปญั ญานุสรณ
์
282
พยานบคุ คล
พยานบุคคล
หลวงพ่อทูล ท่านได้นำหลักสัมมาทิฏฐิ เป็นจุดเร่ิมต้นของการเดินทางตามเส้นทางไปถึงท่ีสุดแห่งกองทุกข์
ได้แลว้ มาช้แี นะใหผ้ ู้สนใจเดนิ ตามไดง้ า่ ย ชดั เจน เครอ่ื งมือในการเดนิ ทาง คอื สติ สมาธิ ปญั ญา ของแตล่ ะคนที่
จะนำมาฝึกใช้ในเรื่อง ความคิดไม่เป็นเห็นไม่ถูกของตัวเรา รวมทั้งส่ิงท่ีเราเข้าไปเกี่ยวข้อง ซ่ึงส่งผลให้ไม่สบายใจ
ในแตล่ ะเหตกุ ารณ์ วธิ ีทจ่ี ะฝกึ รบั ผิดชอบตวั เองโดยใชป้ ัญญาค้นหาเหตุ มี ๒ วธิ ี (๑) ฝึกคดิ ตามเหตผุ ลหรอื ตาม
พระธรรมคำสอน (๒) ฝกึ สังเกตส่ิงใกล้ตัวเปน็ อบุ ายธรรม นำความจริงสู่ใจ เป็นปัญญาเฉพาะตน
แนวทางปฏิบัติท่ีถูกต้องตรงตามหลักคำสอนของพระพุทธองค์จะปรากฏจาก การมีพยานบุคคลให้พิสูจน
์
ไดจ้ ริง เชน่ กนั ผู้ทไี่ ดน้ ำหลักของหลวงพอ่ ไปปฏบิ ัติได้ผลจรงิ ทง้ั ธรรมสว่ นตวั คือ เปลีย่ นความเหน็ ผิดเปน็ ความเห็น
ถูกได้ ปลดทุกข์ในเร่ืองนั้นๆ ได้อย่างแท้จริง และธรรมต่อส่วนรวม เกิดการเปล่ียนแปลงด้านพฤติกรรมให้ดีข้ึน
ด้วยเหตุและผล ยอมแพ้เป็น ลดการทะเลาะ มีความเข้าใจ อกเขาอกเรามากขึ้น ท่านจะได้อ่านตัวอย่างพยาน
บุคคลท่ีหาอุบายมาฝกึ ปญั ญาเพ่ือสอนใจและคลายทกุ ขใ์ ห้กบั ตนเองและคนอ่นื ได้
ตวั อย่างพยานบคุ คล
(๑) รถไฟ...สาย...ชีวติ
(๒) จานท่ียงั ไม่ได้ลา้ ง
(๓) My Grand Father’s Legacy
(๔) New Language
(๕) ยอมแพ้...เป็น + ไมย่ อมแพ้...ตายแนๆ่
(๖) หมากฮอส
(๗) ไม้จม้ิ ฟนั
ขิปปปญั ญานุสรณ
์
284
รถไฟ...สาย...ชีวิต
ฉนั เป็นเดก็ เอาแต่ใจ ไดร้ บั ความทุกข์ที่เกิดขึน้ อยา่ งตอ่ เนื่องจากความคิดของฉนั เอง จนทำให้ฉันไม่มคี วามสขุ
อย่างมาก กัลยาณมิตรคนแรกของฉัน (คุณแม่) ได้หยิบย่ืนหนังสือเล่มหน่ึงมาให้อ่าน มีช่ือว่า “กุญแจใจ” โดย
สิริมตี นิมมานเหมินท์ เขียนหลักอุบายธรรมตามที่หลวงปู่ทูล ขิปฺปปญฺโ วัดป่าบ้านค้อ จังหวัดอุดรธานี
ไดใ้ ห้แนวทางไว้
เม่ือฉันอ่านจบ ก็เร่ิมลองฝึกคิดอุบายธรรม จากส่ิงท่ีเห็นรอบๆ ตัว แล้วน้อมเข้ามาใส่ใจของตนเองอยู่
เรื่อยๆ จากจุดเล็กๆ จุดน้ันเอง ได้เปล่ียนความคิดและชีวิตท้ังชีวิตของฉัน จากที่เคยหลงผิดคิดว่าจะสามารถ
เปล่ยี นทกุ อยา่ งใหไ้ ดด้ ั่งใจ กย็ อมรับสภาวะทีเ่ ป็นจรงิ ของสง่ิ ตา่ งๆ ได้ดีข้ึน ชวี ิตท่เี คยไมม่ คี วามสุข กก็ ลบั มรี อยยมิ้
และปล่อยวางเงื่อนไขในหัวใจทีม่ ตี อ่ สง่ิ รอบตัวได้มากข้ึนเชน่ กนั
อบุ ายธรรมจากการนง่ั รถไฟฟา้ เกดิ ขนึ้ หลงั จากทฉ่ี นั ตอ้ งพลดั พรากจากคนรกั ฉนั เสยี ใจ ทกุ ขใ์ จมาก ฉนั คอย
เปดิ เทปบนั ทกึ ภาพความทกุ ขน์ นั้ ใหต้ วั เองฟงั ซำ้ ๆ เรอื่ ยๆ นานวนั เขา้ กเ็ หมอื นยงิ่ กรดี บาดแผลลงไปใหล้ กึ กวา่ เดมิ ...
วันหนึ่งฉันมีโอกาสน่ังรถไฟฟ้าใต้ดิน ได้เฝ้ามองผู้คนท่ีเดินเข้ามาในรถไฟฟ้าขบวนเดียวกับฉันอย่างใช
้
ความคิด เสยี งประกาศดงั ข้ึนเปน็ ระยะๆ เมื่อถึงสถานแี ตล่ ะแหง่ “สถานพี ระรามเก้า โปรดใชค้ วามระมดั ระวังในการ
ก้าวออกจากรถ” เม่ือประตูเปิด บางคนก็ก้าวออกไป จากน้ันก็มีผู้คนอีกหลายคนเข้ามาแทนที่ “สถานีต่อไป
ลาดพรา้ ว” ฉนั ฟงั เสยี งประกาศและรตู้ ัวว่าจะตอ้ งลงสถานีน้ี เพราะถงึ บา้ นของฉนั แล้ว ฉนั ก้าวออกจากรถไป
ฉันนึกสงสัยวา่ ผู้คนทีร่ ่วมเดนิ ทางมากบั ฉนั ในรถไฟฟา้ ขบวนน้นั จะไปลงที่สถานีใดกันบ้าง และถา้ ถึงสถานี
สดุ ท้าย คงไม่เหลือผคู้ นใดๆ น่งั อยบู่ นรถแลว้ ทุกคนต้องลงจากรถไฟฟา้ เพ่อื ไปส่ทู ีท่ ีเ่ ป็นจุดหมายของแต่ละคน
ฉันถามตวั เองวา่ มีใครบ้างท่รี ว่ มขน้ึ รถไฟขบวนเดยี วกับเรา และมใี ครบ้างท่เี ขาจากเราไปก่อนหรือวา่ ยงั อยู่
บนรถไฟคันเดียวกับเรา... นอ้ ยคนนักทีจ่ ะคิดถงึ สง่ิ ที่จะตอ้ งจากเราไป หลายครงั้ เราจงึ ยงั ประมาทกบั ชวี ติ เราอยาก
จะให้สิ่งนั้นสิ่งน้ีเป็นไปตามท่ีใจเราปรารถนา โดยไม่เข้าใจว่าธรรมชาติของทุกสิ่งมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ไมม่ อี ะไรที่จะอยูค่ งที่ คงสภาพเชน่ เดมิ ได้ในโลกใบนี้ ลองใช้ปญั ญาคิดไตร่ตรองดู ว่ามสี งิ่ ใดบ้างในโลกน้ที ี่ควรคา่ แก่
การยึดถือ ยึดติดว่าต้องเป็นเช่นน้ันเช่นนี้เสมอไป... ตัวอย่างของการน่ังรถไฟฟ้าจึงเป็นอุบายธรรมสอนใจฉันได้ด
ี
โดยไม่มีข้อสงสัยเลยแม้แต่นิดเดียว การน่ังรถไฟเปรียบเสมือนการอาศัยร่างกายน้ีของเราเพื่อไปให้ถึงจุดมุ่งหมายท่ี
ตอ้ งการ เราน่งั รถไฟมาเรยี นรู้ มาเที่ยว มาศึกษา ผู้คนท่เี ราพบเจอในชวี ิตน้ี ไมว่ า่ จะเป็นพ่อ แม่ ญาติ พน่ี อ้ ง
สามี ภรรยา หรือลูกหลานของเรา ก็เปรียบเสมือนเพียงผู้โดยสารร่วมทางไปกับเราเท่าน้ัน ควรหรือไม่ท่ีเราจะไป
ยอื้ ยุดฉดุ ดึงพวกเขาใหอ้ ยู่กบั เราตลอดไป...
คนทกุ คนลว้ นมที ที่ ต่ี นจะตอ้ งไปตอ่ ทงั้ สนิ้ แมไ้ มร่ วู้ า่ เมอื่ ใดทเ่ี ราจะตอ้ งจากกนั ไป แตส่ ดุ ทา้ ยแลว้ ไมม่ ใี ครทจ่ี ะ
หนีจากความตายไปได้ ดังนั้น เราจึงไม่ควรปล่อยให้การมาใชช้ ีวิตเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ เราควรฝกึ เรยี นรู้ท่ีจะ
อบรมจติ ใจใหเ้ หน็ ตามความเปน็ จรงิ จากสง่ิ ตา่ งๆ ทเี่ ราพบเจอในแตล่ ะวนั และนอ้ มเขา้ มาสใู่ จของตวั เราเอง เพยี ง
เทา่ นี้ เรากไ็ ดใ้ ชป้ ญั ญาเพอื่ มาอบรมจติ ใจใหเ้ หน็ ตามหลกั สจั ธรรม ไมเ่ สยี ทที ไี่ ดเ้ กดิ มาพบพระพทุ ธศาสนาในชาตนิ ้ี
องั ศอุ ร ณ หนองคาย (น้ำหวาน)
อายุ ๒๒ ปี จงั หวัดหนองคาย
285
จานทยี่ ังไมไ่ ด้ลา้ ง
ก่อนมาปฏบิ ตั ิธรรมตามแนวหลวงพอ่ ทูล ชวี ิตครอบครวั เหมือน
บ้านแตก สามีชอบเที่ยวร้านอาหาร ด่ืมเหล้า กลับบ้านดึกเป็นประจำ
เมากลับมากม็ ีปากเสียงกนั ไม่ได้หลับไดน้ อน ส่วนตัวขา้ พเจ้าก็ประชด
ชวี ติ คดิ วา่ เธอกินไดฉ้ ันกก็ ินได้ เธอเที่ยวได้ ฉันก็เที่ยวได้ ไม่มีการยอม
ใหก้ นั สว่ นข้าพเจ้ามลี ูกสาว ๒ คน ลูกสาวก็กนิ เหลา้ และเทย่ี วเหมือนกัน
ว่าใครไม่ได้ต่างคนต่างกินต่างเที่ยว เมามาก็ทะเลาะกัน ลูกเถียงแม่
ลูกสู้แม่ ครอบครัวหาความสุขแทบไม่ได้เลย ต่างคนต่างเฉยไม่พูดกัน
บ้านเหมือนนรก ข้าพเจ้าแทบไม่อยากอยู่บ้าน อยากจะหนีออกไปเช่าบ้าน
อยตู่ า่ งหาก แตก่ ็ทำไมไ่ ด้ ชีวติ นีห้ าความสุขไมไ่ ดเ้ ลย มีแต่ความทกุ ข์เหลือเกนิ ถงึ ขนาดตอ้ งหาหมอจิตเวช
วันหน่ึงหลังจากมาปฏิบัติธรรมกับแม่ชีต้อย ท่านได้สอนให้หาอุบายธรรมและหัดน้อม ข้าพเจ้าก็จะซักผ้า
เปดิ นำ้ ใสถ่ ังเครอ่ื งซักผ้า ระหว่างนนั้ เหลอื บไปเห็นกะละมงั ใบใหญแ่ ช่จานจนล้นออกมานอกกะละมงั ก็เดินไปปิดนำ้
ที่ถังซักผ้าเพื่อที่จะล้างจานก่อน พอนั่งลงก็หยิบจานออกจากกะละมังทีละใบ (ขณะนั้นไม่มีเสียงอะไรเลยมันเงียบ)
จับจานออกทีละใบ ใบบนก็จับง่ายเพราะมันอยู่เหนือน้ำ แต่พอจับลึกลงไปเร่ือยๆ กล่ินเหม็นของอาหารบูดเน่า
เหม็นมาก ข้าพเจา้ มองเหน็ เศษอาหารเนา่ มองเหน็ ลูกนำ้ อย่ใู นกะละมงั มอื ก็หยบิ จาน ใจก็นกึ ถงึ คำทแี่ มต่ อ้ ยสอน
ให้หาอุบายธรรมโดยการน้อม สมองกับใจก็คิดและจู่ๆ ความคิดก็แวบเข้ามาในใจว่า กะละมังใบน้ีเปรียบเหมือน
เปน็ บา้ นเรา จานทุกใบ เหมือนตัวเรา สามีเรา และลกู ๆ ของเรา พอคดิ ถึงตรงน้ีใชเ่ ลย พวกเราสะสมความเหม็น
ความเนา่ สะสมความไม่ดี มนั บดู มันเหม็น มันเน่ากนั หมดท้งั บ้าน พวกเราเปน็ กนั ถงึ ขนาดน้ีเลยหรอื น่ี...??
เปรียบเสมือนจิตใจของพวกเราหมักหมมแต่เร่ืองไม่ดี แข่งกันทำแต่ความช่ัว ไม่มีใครสักคนที่จะลุกขึ้นมา
ชำระจติ ใจกนั เลย มัวแต่ด่ากนั ทะเลาะกนั วา่ กันไปมาอยู่อยา่ งนี้ตลอด
ตอนนนั้ คิดว่าจานเหมือนใจ ถ้าเราไมเ่ อามาล้าง มันกไ็ ม่สะอาด ตวั เราไม่ใชจ่ ะดีกวา่ คนอื่น ย่งิ แย่กวา่ คนอนื่ อีก
ตวั เราเนา่ ยงั ไมพ่ อ ยงั พาครอบครวั เนา่ ไปดว้ ย ระหว่างท่ีคดิ นั้นใจมันเบาสบายอยา่ งบอกไมถ่ ูก
ทุกวันนี้ข้าพเจ้าพูดดีกับสามีและลูก เขาบอกว่าแม่เปล่ียนไป ทุกคนในบ้านเปล่ียนแปลงไปในทางท่ีดี เป็น
เพราะตวั ขา้ พเจา้ เขา้ ใจสามีและลูกมากขึ้น ทกุ คนในบ้านเกรงใจข้าพเจา้ เด๋ียวน้ีครอบครวั ขา้ พเจ้าไม่เคยทะเลาะกัน
อกี ต่อไปเลย และมคี วามสุขดมี าก
สรุป ทีม่ าปฏิบตั ิธรรมไดเ้ อามาใชใ้ นชวี ติ ประจำวันคอื เราต้องแกไ้ ขท่ีตัวเราเอง
พรพมิ ล บุญเรอื ง (แอด๊ )
ศูนย์วจิ ยั ขา้ วพิษณโุ ลก
ขปิ ปปัญญานสุ รณ
์
286
My Grand Father’s Legacy
Venerable Acariya Thoon Khippapanyo was a wise grandpa who knew me better than I
knew myself. The deep meanings inherent in each of his symbolic words or actions dynamically
unveiled new significance at each turn in my life. The first time I realized this was in Chicago
of 1999, when I was sixteen years of age. I had finished bowing to pay my respects and to
bid farewell to Acariya Thoon, as he casually inquired whether I liked to go to Thailand. I curtly
replied, “no, it’s too hot,” to which he asked, “where does hot or cold exist?” I admitted that
“hot or cold lies within the mind.” Acariya Thoon then posed a question: if a snake is chucked
at me, would I first look for the person who threw it, or find a way to capture the snake? I
said, seize the snake. Through these analogies, Acariya Thoon showed me how to deal with my
teenage crises by first understanding the truth: that my perception of liking or disliking anything
was not externally generated, but spawned from within my own mind. He proceeded to show
me that the solution was focusing on pinpointing and destroying the true cause of the matter
instead of assigning blame. These lessons would continue to be priceless weapons used to
strike down any suffering that arose in my life.
Most people only have one mother, but thanks to Acariya Thoon, I have three. He told
me to ask a highly revered nun to be my mother in dhamma after bestowing me with my first
dhamma lesson. She was the ultimate model nun: gentle, diplomatic, wise, and kind. By
presenting myself as her daughter in dhamma, I was made to clearly see everything that I
wasn’t, but could strive to become if I just put my mind to it. Years later, when Acariya Thoon
gave me away to my third mother, he first told me about her unique singing talent and her
skilled worldly accomplishments. That evening, we proceeded with the ritual that tied me to my
elegant new mother and beautiful new sister. Acariya Thoon’s perplexing actions forced me to
line up my mothers and my priorities. I realized the decision I had to make: would I choose
worldly perfection or would I get back on track and strive for ultimate emancipation? I was
pushed to consider the consequences and came to realize that even the ultimate achievements
in the world entailed suffering. I was re-motivated to pursue my dhamma practice with full
steam ahead.
I also learned a great deal from Acariya Thoon when he appeared in one of my dreams.
I sat in a chair and Acariya Thoon pushed me with his arm. I was not ready and fell off of the
chair. He pushed me again and I resisted the pressure so strongly that I fell off the chair
again. The third time, he pushed and pulled on my shoulder and I gradually learned to lean
back and forth without being unseated. I woke up and realized that Acariya Thoon was
287
showing me how to react to situations around me. I did not have to be swayed by what
others did or said, nor did I have to resist with all my might. If I learned how to adapt to
stimuli around me and go with the flow, I could simultaneously remain firmly planted in my
foundational principles.
Acariya Thoon is the shining beacon that illuminated the unhidden truths of the world
and showed me the path to self-betterment. Because of Acariya Thoon, my family now has
conversations filled with laughter, I can listen to others without dying to interrupt, and I have
learned how to back down when it is appropriate. Acariya Thoon uncomplicated dhamma and
provided me with a precious shortcut for eliminating suffering. I don’t have to waste time
pointing fingers and comforting myself by attributing my anxieties to external stimuli; It’s me. It
always has been, and always will be. I am the sole cause for my frustration and happiness.
Acariya Thoon has helped me see that once I realize that I have caused my suffering, I can
proceed to correct my false assumptions, and develop paradigms aligned with the truth.
Like a truly selfless billionaire, Acariya Thoon wanted everyone in the world to benefit
from his simple methods of dhamma practice, so that we could all be free of misunderstanding
and worldly afflictions. I will never be able to repay his infinite compassion and patience, but I
can only strive to be a vehicle that delivers Venerable Acariya Thoon’s message to the world.
The world is a little darker with Venerable Acariya Thoon’s passing, but his light is one that will
burn eternally in dhamma. Let us put our candles to his flame and spread his legacy of
dhamma.
Neecha Thian-Ngern,
San Francisco, CA, U.S.A.
ขิปปปญั ญานสุ รณ์
288
New Language
It was in May 1999, in Arkansas, U.S.A., where I first met Phra Ajarn Luang Por Thoon
Khippapanyo. When I picked up one of his books and started reading, I had no comprehension
of what I had read. It was like reading a foreign language book. Even though I was born in
Bangkok into a Buddhist family, Luang Por Thoon’s Buddhist Dhamma written in his books was
puzzlingly new to me.
Unlike what I had read from most Dhamma books and had practiced at a few Dhamma
centers in Thailand, Luang Por’s way of teaching and practicing were what the Buddhist
majority would have called “unconventional.”
This writing is not to debate but to celebrate my own personal journey of a Buddhist
path. I feel I still have a long way to go. But learning a new language is also about;
1. Practicing: keep memorizing, learning, and understanding vocabularies – one new
vocabulary a day. Everything around us can be taken as a new vocabulary to the language of
“anicca-dukkha-anatta”.
2. Imitating: those around us – our friends, colleagues, family members, and people we
don’t know - they are our teachers. Be thankful that they are the mirrors for us to see
ourselves.
3. Living: in the community that speak the same new language. It is one effective way
of improving our speaking skills.
4. Reading: everything written in the new language. This is to speed up the
comprehension of the language.
5. Having Faith: believe and trust in the new language and the teacher - Phra Ajarn
Luang Por Thoon Khippapanyo.
Again, this is a personal journey. One has to find one own way of traveling vehicles and
paths. One can count on the conventional “it’s the journey, not the destination.” However, the
destination is still personal and to each his or her own.
This writing is my gratitude to our One Teacher – Phra Ajarn Luang Por Thoon Khippapanyo
May he be our Teacher at all times .....
Joy Aswalap
University of North Texas Denton, Texas, U.S.A.
289
ยอมแพ.้ ..เป็น + ไม่ยอมแพ.้ ..ตายแนๆ่
หน่งึ ในคำสอนของหลวงพ่อทูล คอื ใหย้ อมแพ้เปน็ คำถามหน่ึงก็ผุดข้นึ มาในใจว่า แล้วถ้าเราเป็นฝา่ ยถูกละ
กเ็ ทา่ กบั เราตอ้ งยอมใหแ้ กฝ่ า่ ยทผ่ี ดิ ดว้ ยหรอื ? จงึ ตอบตวั เองวา่ “ยอมไมไ่ ดห้ รอก” ยง่ิ ยอมเดยี๋ วฝา่ ยทผ่ี ดิ กย็ ง่ิ ไดใ้ จใหญ
่
เมือ่ คดิ ทบทวนไปมาก็ยิ่งเห็นวา่ การทีไ่ ปยอมคนอนื่ ทัง้ ๆ ทเ่ี ราถกู นั้น เรามแี ตเ่ สียกับเสีย ไม่เหน็ จะไดอ้ ะไร
เลย จึงเอาคำถามน้ีไปถามครูบาอาจารย์ คำตอบท่ีได้ก็คือการยอมแพ้เป็นนั้นไม่มีอะไรเสียหรอก มีแต่ได้ คำตอบ
น้ันวนเวียนอยู่แต่ในหัว.....ไม่เข้าใจ ......???? จนมาวันหน่ึงขณะที่ฉันขับรถอยู่บนถนน มีรถที่แล่นอยู่เลนขวา
ซ่ึงกำลังจะข้ึนทางพิเศษโทลเวย์เกิดเปล่ียนใจกะทันหัน จึงหักซ้ายอย่างเร็วและแรง เข้ามายังเลนที่รถฉันอยู่
ฉนั ตอ้ งเหยยี บเบรกจนตวั โกง่ ยอมใหร้ ถคันนัน้ ผา่ นไป ขณะนน้ั ฉนั กถ็ ามตัวเองวา่ ฉนั ยอมเบรกใหร้ ถคันนั้นผ่านไป
ทำไม? ทั้งๆ ที่ฉันเป็นฝ่ายถูก ฉันก็ตอบตัวเองได้ทันทีว่า ยอมเพื่อตัวเองไงละ ถ้าไม่ยอมมีหวังตายอยู่ข้างทาง
อ้าว...แล้วท่ีเคยบอกกับตัวเองว่า ถ้าเราเป็นฝ่ายถูกจะไม่ยอมแพ้ไงละ!.... ยอมจำนนต่อหลักฐานชิ้นใหญ่ท่ีเพิ่งได้รับ
“ยอมแพ้....เปน็ ไมย่ อมแพ้....ตาย” บัดนีค้ ำสอนท่วี ่า “ใหย้ อมแพ้เปน็ ” เคล่อื นจากหวั ....ไหลลงมาสู่ใจ
ฉันเจอทาง รม่ เยน็ เป็นที่สุด พระฯ ทรงขดุ ถากถาง เปน็ ทางไว
้
ฉนั มุ่งมัน่ หมน่ั เดนิ จำเริญใจ รักเพ่อื นไซร้ จึงเชญิ เดินรว่ มทาง
ไมย่ อื้ ยดุ ฉดุ กระชาก ลากเพือ่ นหรอก เพียงมาบอก ทางไป ไสวสวา่ ง
แสนสะอาด สดุ สงบ พบสายกลาง เดินรว่ มทาง หรอื ไม่ เชิญไตรต่ รอง
กมลกานต์ ชาญศิลป์ (ก้อย)
หมากฮอส
ผมไดอ้ อกเดนิ ตามหาอบุ ายธรรมจากห้องประชมุ อยา่ งไม่รบี ร้อน ซ่ึงพอเดนิ ออกมาสักพัก ผมก็เห็นเพือ่ นผม
คนหน่ึงนั่งอยู่บนโต๊ะหมากฮอส ผมจึงเข้าไปน่ังด้วย ขณะที่ผมนั่งมองอะไรๆ ไปสักพักหนึ่ง เพ่ือหาอุบายธรรม
เพ่ือนอกี คนหนึง่ ก็ได้ชวนผมเลน่ หมากฮอส โดยใชย้ างกบั ลูกไม้มาเลน่ ผมก็เลน่ ดว้ ย (เพราะกำลงั เบ่ือๆ) ขณะทผี่ ม
เล่นกม็ เี พ่ือนหลายๆ คนมาชว่ ยชี้ทางเดนิ หมากให้ผม ผมกไ็ มไ่ ดว้ า่ อะไร (เพราะว่าไม่ได้) ในขณะนน้ั ผมก็ไดค้ ิดถงึ
อุบายธรรมว่า การเดินหมากนน้ั ก็เหมือนกับชวี ิตคนเรา อาจมกี ารเดนิ ผิดบา้ ง หลงกลอกี ฝา่ ยบา้ ง แตเ่ มอื่ เราทำผดิ
พลาดจนไดร้ บั ความพ่ายแพ้ เรากส็ ามารถที่จะนำความผดิ พลาดมาแก้ไขและพัฒนาตนเองได้เสมอมา ผูท้ ีม่ าชว่ ยชี้
ทางเดนิ หมากกเ็ หมอื นกับบุคคลที่จะเขา้ มามีบทบาทในชีวติ เรา เขาอาจจะนำเราไปในทางที่ผดิ หรือไมก่ ็เปน็ ทางที่ดี
แต่สิ่งท่ีสำคัญท่ีสุดคือ การตัดสินใจและคิดวิเคราะห์กับทางท่ีเขาช้ีให้เราเดินให้ดีก่อนท่ีเราจะก้าวเดินไปในทางน้ัน
เพราะเม่ือเราเลือกท่ีจะเดินในทางนั้นแล้ว เราจะไม่สามารถเดินย้อนกลับออกมา ณ จุดๆ เดิมได้อีกเลย เพราะ
ฉะนั้นการทเี่ ราจะทำอะไรลงไปก็ควรจะคดิ พนิ ิจไตรต่ รองใหด้ ี กอ่ นท่ที กุ อย่างจะสายเกนิ ไป
เดก็ นกั เรยี นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓
โรงเรยี นวดั เทพศิรนิ ทร์ กรงุ เทพมหานคร
ขิปปปัญญานสุ รณ์
290
ไม้จิม้ ฟัน
ขณะทอ่ี ยกู่ บั หลวงพอ่ ทสี่ นามบนิ คนอนื่ ๆ เขาเดนิ ไปสง่ กนั ท่ี
ประตู พอปลอดคนแลว้ กแ็ อบเรยี นถามหลวงพอ่ วา่
ตวั กระผมเอง ยงั ไม่ไดเ้ รอื่ งเลยครบั ในการพิจารณาทรัพย์
สมบัติของของตน เลยดูเหมือนเข้าใจท่ีมาที่เป็นท่ีไปของมันดี และ
ส่วนประกอบของมันกธ็ าตุ ๔ แตใ่ นใจยงั ไหวอยู่
หลวงพอ่ กล่าวตอบว่า
“อา้ ว! เร่อื งง่ายๆ แค่นยี้ งั ทำไมไ่ ด้แลว้ จะไปทำอะไร.”
กล่าวจบ หลวงพ่อก็ลกุ ขนึ้ เดินไปท่ีทางออกเพอ่ื ขน้ึ รถเมล์ใหญ่
ของสนามบินไปที่เคร่ืองบินท่ีจอดอยู่ไกล เราก็ลุกขึ้นเดินกลับ
ออกมา มากบั สองแมล่ กู ท่มี ศี รัทธาขบั รถ อุปฏั ฐาก รบั สง่ หลวงพ่อไปวดั เคลเลอ่ ร์ เพราะถ้าน่งั รออย่ทู ี่สนามบิน ก็
ต้องรออกี ๓ ช่วั โมงกวา่ เขาอยเู่ มืองพเลโน ขอความกรณุ าให้เขาไปส่งที่บา้ นดัลลสั เพราะเราไมไ่ ดม้ ีรถ เมือ่ เดิน
มาถึงทีจ่ อดรถ จะขอไปน่ังเบาะหลังเพราะไม่ตอ้ งการรดั เขม็ ขดั แตเ่ จ้าของรถบอกให้ไปนั่งเบาะหน้า พูดแล้วเขาก็
กา้ วไปนัง่ ในเบาะหลงั ทันที ทำใหเ้ ราไม่ควรไปนงั่ หลังคดู่ ้วยกับเขา จึงตอ้ งนั่งเบาะหนา้ รถออกพน้ สนามบินสักครแู่ ล้ว
หลายไมล์บนไฮเวย์ ๖๓๕ เจ้าของรถเบาะหลงั ก็พดู ขึ้นวา่
“หลวงพ่อลมื ไมจ้ ม้ิ ฟนั ไว้นี”่
“ตรงไหน?”
“ตรงข้างขวา ขา้ งหน้าทที่ ่านนั่ง เสียบไว้ตรงกระจกหน้าแดช็ นน่ั ไงค่ะ”
เรากเ็ คยมไี ม้จม้ิ ฟนั หลวงพอ่ ท่ีใชแ้ ล้วอันหนง่ึ ซอ่ นเก็บไว้ เปน็ ท่ีระลกึ ศกั ด์ิสิทธข์ิ องหลวงพ่อ เพราะทา่ นไมท่ ำ
พระเคร่อื ง เหรยี ญ เครือ่ งรางของขลังอื่นๆ มีแค่ไม้จมิ้ ฟนั อตุ ส่าห์วางไว้บนถ้วยทส่ี วยงาม และไว้บนหิง้ พระแล้ว
ก็ยังมอี นั เป็นไป คือมีผหู้ ยิบเอาไปใหค้ นอื่นเสยี แล้ว...
เอา้ ! เรากข็ น้ึ มานงั่ นานพอสมควรแลว้ นงั่ เบาะหนา้ กม็ องไปขา้ งหนา้ รถ แตไ่ มย่ กั เหน็ จนกระทง่ั ถกู บอกใหด้ ู
พอเหน็ แล้ว ใจมันอยากขน้ึ มาปุ๊บ...ในใจทันที เลยวา่ เราอยากไดไ้ ม้จม้ิ ฟันของหลวงพ่อทลู ฯ มานานแลว้ อยากได้
อันใหมไ่ ปแทนอนั เก่าบนหงิ้ พระ ไมใ่ ช่เรื่องสำคญั ดว่ นจีอ๋ ะไร และกไ็ มเ่ คยปริปากบอกใครเกบ็ ไวใ้ นใจเงยี บๆ มนั เป็น
เรือ่ งผา่ นมาต้ัง ๑๐ ปแี ล้ว นกึ วา่ ลืมไปแลว้ แตม่ นั ยังฝงั ใจในความปรารถนาลกึ ๆ อยู่ ก็ตงั้ แตไ่ ม้จิม้ ฟันอนั เกา่ ของเรา
หายไป เท่านนั้ แหละ ใจมันพรวดพราด นกึ อยากได้ขนึ้ มาทันที
เอ ! จะใชว้ ิธีไหนหนอทจ่ี ะเอามาเปน็ ของเรา
พอดีเจา้ ของรถพูดต่อวา่
จะกลับไป เอาคืนใหห้ ลวงพ่อดีไหม?
เราดใี จ เหน็ ทางได้แล้ว รบี อาสาทันทีวา่
ผม...จะเอาไปคนื ให้หลวงพ่อเอง
แตใ่ นใจรอู้ ยู่ว่า หลวงพ่อทา่ นไมไ่ ดล้ มื หรอก เพราะเมื่อ ๑๐ ปกี ่อน หลวงพ่อก็ทิง้ ไว้อยา่ งนี้
291
ท้ิงไว้ให้เรา ให้เจ้าของบ้าน หรือท่ีอื่นๆ เช่น Arkansas หลวงพ่อก็ทิ้งไม้จ้ิมฟันไว้ให้เจ้าของบ้าน ทิ้งให
้
แก่ผู้บริการรับใช้หลวงพ่อ เจ้าของรถคันนี้และลูกสาวมารับหลวงพ่อไปส่งท่ีวัด และรอจนกลับมาส่งหลวงพ่อ
ท่ีสนามบินเปน็ เวลาเกอื บ ๔ ชั่วโมง ท่านทง้ิ ไวใ้ ห้เปน็ ท่รี ะลกึ ต่างหาก
แต่เราก็อยากได้เปน็ ของเราน่ี จงึ ต้องรบี พูดเอาไว้ก่อน เพราะอยากไดม้ านานแล้ว (๑๐ ป)ี ทา่ นเจ้าของรถ
ก็กล่าวอนญุ าตทันที ให้เราเกบ็ ไว้ไปถวายคืนหลวงพอ่
จา้ งใหก้ ไ็ มย่ อมคืนหลวงพ่อดอก จะเอาเสียเอง ถึงคืนทา่ น ท่านก็อาจจะว่าเอา
โอ้ ! ดีใจมากที่ได้ไม้จิ้มฟันหลวงพ่อใหม่ ปรารถนามานานเพ่ิงจะได้เด๋ียวน้ีเอง อย่างไม่คาดฝัน จึงเอ้ือม
มอื ขวาไปหยบิ ไมจ้ มิ้ ฟนั ทใ่ี ตก้ ระจกหนา้ แดช็ เสยี บตงั้ ตรงอยู่ จะเอามาใสก่ ระเปา๋ เสอื้ (เสอ้ื ยดื สขี าว ศลี ๘ ตวั น้ี มแี ค่
กระเปา๋ เดยี ว) ดา้ นซา้ ยหนา้ ตรงหวั ใจพอดี ปลายหนงึ่ มนั แหลม ตอ้ งเอาปลายทๆู่ ใส่ จะไดไ้ มท่ ะลลุ งมากน้ กระเปา๋
พอเสยี บลงไปสุดเท่านัน้ มันหวิว...ในใจ ไมม่ ี ไม่เคยเป็นแบบนี้มากอ่ น
ไม่ไดค้ ดิ อะไร ถึงคดิ กค็ ดิ ไมท่ นั ใจ มนั เข้าใจวาบไปในจิต... ทันทีเลยวา่
อ๋อ อออ..... ! น่ีไงละ่ คอื สมบัตโิ ลก
ไมจ้ ม้ิ ฟันอันน้ี ไม่ใช่ของเรา เป็นเหมือนของทัง้ หลายแหล่ที่มีอยใู่ นโลก
ลกู ศษิ ย์หลวงพ่อไดต้ ัดไมแ้ ละหลาวถวายทา่ น
หลวงพ่อใช้แลว้ สำเร็จประโยชน์แล้ว กต็ อ้ งทิ้ง
แตท่ ้งิ อยา่ งผู้มีปัญญา ใช้ใหเ้ ป็นประโยชนต์ อ่ .... ไม่ไดท้ ิง้ ขยะ
แตม่ อบตอ่ ใหผ้ ู้บริการรบั ใช้ทา่ น เช่นอนั น้ี ให้ไวก้ บั เจา้ ของรถคนั นี้ ใหเ้ ป็นทีร่ ะลึก
แตเ่ ราก็เก๋ไก๋ เอามาเปน็ สมบัตขิ องเราซะ
มีความพอใจท่ไี ด้เกบ็ ไวใ้ นความครอบครอง แม้แต่ ... แคช่ ัว่ คราวก็ยังดี
จงึ ดใี จพอใจเอามากๆ... พอใจ กเ็ พราะใจพอ สมกบั ความอยากทตี่ ดิ คา้ งในใจเรามานาน มนั ถกู จม้ิ เดยี๋ วนเี้ อง
มันจิ้มความอยากของเรา ลูกโป่งความอยากแตกแล้ว เห็นแล้ว เข้าใจแล้ว ในส่ิงที่พยายามคิด แต่ไม่เคยม
ี
ความรู้สกึ เห็นเขา้ มาในใจเองโดยไม่ต้องตงั้ ใจคดิ
อ๋อ ! สิ่งตา่ งๆ สมบัติต่างๆ ท่ีเรามีอยทู่ ้ังหมด ก็เพราะเร่ืองจม้ิ ๆ กันน่เี อง
เคยพจิ ารณาส่งิ ของ ทรัพยส์ มบตั ทิ ีบ่ า้ น ว่าไมใ่ ชข่ องเรา เปน็ ของโลกๆ
แตจ่ ิตมันไม่เคยยอมรับความคิดเต็มทีแ่ บบนเี้ ลย
ขณะนงั่ รถอยู่ ก็คดิ วา่ ตอนเราไปซอ้ื รถ รถคนั ท่ซี ้ือ เห็นมนั แลว้ มนั จิม้ ท่ีหัวใจเรา ทำใหเ้ ราอยากได้ เราก็
จิ้มกลับไปโดยซ้ือมันมาเป็นของเรา เราอยากจะไปไหน มันก็จ้ิมความอยากไปของเราโดยพาเราไปทุกหนทุกแห่ง
รถวงิ่ ผา่ นแผ่นป้ายโฆษณาใหญ่ ข้าง Highway เขามีรูปภาพ มีคำพดู คำเขียน สำหรับเอาไว้จิม้ ตา จ้มิ ใจผดู้ ู ผู้มอง
ให้คนสนใจอยากไปดู ไปลองตามท่ีเขาบอกไว้ เวลาเราไปทำงาน เราก็เอาเครื่องมือหูฟังเสียงหัวใจ ไปจิ้มหน้าอก
ตรงหัวใจเขา หมอจิม้ ตามตัว จิม้ คลำกดท้อง จิม้ ในปาก ไม้กดลน้ิ ดูคอ จิ้มตามหดู ูเยื่อในหู ตามจมูก ดอู าการแพ้
อากาศ ดูจุดทีเ่ ลือดกำเดาออก เอามอื ไปเคาะๆ จมิ้ กระดกู บางครั้งกจ็ ิ้มดว้ ยเข็มฉีดยาจริงๆ เจ็บก็เจ็บ ทนกนั ได้
ทุกคนกอ็ ดทนจ้มิ กันเอา เปน็ เรื่องจิ้มๆ กนั ท้ังวนั ทกุ ๆ วนั ไป ไมจ่ ้มิ ดว้ ยกาย กจ็ ม้ิ ดว้ ยใจ ไมพ่ น้ เร่ืองจม้ิ ๆ น้ีเลย
คนไปทำงาน คนแตง่ งานก็หนไี มพ่ ้นเร่ืองจม้ิ ๆ อีก
กอ่ นออกจากบ้าน อาจจะต้องจม้ิ ต้องเจิมกนั ท่ีหนา้ ใหด้ สู ะอาดและสวย
ขปิ ปปญั ญานสุ รณ์
292
พอเจอคกู่ รรม จ้มิ ใจแต่แรกเหน็ จม้ิ ความอยากน่นั แหละ จนได้มคี รอบครวั
จมิ้ มาไดท้ รัพย์สมบตั คิ นละมากมาย สง่ิ ท้ังหลายทีม่ นุษย์สรา้ งข้นึ ใช้ ประดษิ ฐ์ขน้ึ ขาย
กเ็ พอื่ จมิ้ ใจ จ้มิ ความอยากด้วยกันท้งั หมด
แต่ละชีวิตจม้ิ ไม่รู้เทา่ ไหร่ จิ้มกันท้งั ประเทศ ทั่วท้ังโลกก็มแี ต่จิ้มกนั ไป จม้ิ กันมา ฯลฯ
แต่หลวงพ่อท่านท้ิงแล้วไม้จ้ิมฟัน ทิ้งแล้วกลับได้ประโยชน์เพราะกลายเป็นท่ีระลึกสำหรับผู้อุปัฏฐากท่าน
ถวายบริการแก่ท่าน ทา่ นเปน็ พระป่า ไมม่ ีของขวญั สง่ิ ของอื่น ไม่มเี งนิ ทองตอบแทน นอกจากธรรมะและไม้จิ้มฟัน
ไอ้เราก็เผอิญไปติด ไปต้อง ตรงไม้จิ้มฟันมากกว่าธรรมะอันมีค่ามากกว่าของท่าน (ก็เพราะไปตั้งความอยากไว้
ตอนมนั หายไปเมอื่ ๑๐ ปมี าแลว้ ดซู ิ สงิ่ เลก็ นอ้ ย จบิ จอ๊ ย กระจอ้ ยรอ่ ย ยงั หอ้ ยยงั คา้ งเตง่ิ ตดิ อยใู่ นใจไดน้ านถงึ ขนาดน ้ี
ความอยากอะไร แมเ้ ล็กนอ้ ยแคน่ ้ี ก็เปน็ สงิ่ ทน่ี า่ กลัว น่ากลวั ในภยั มใี หผ้ ลได.้ ..เหลอื เกิน)
สง่ิ อ่นื ๆ นอกจากไม้จ้ิมฟนั ท่านกท็ ง้ิ แลว้ และเรายังอยากไดอ้ ยู่ ในทางรปู
คอื บา้ น ไรส่ วน ทรัพย์สมบตั ิ อาชพี ครอบครวั กริ ิยา มรรยาท เครอ่ื งแตง่ ตัว ฯลฯ
เราหาให้มนั มีครบถว้ นแบบฆราวาส
ทางนามธรรม ท่านท้ิงแลว้ ซึง่ โลกธรรมแปด แตเ่ ราท้งิ แค่โลกธรรม ๔ ยังเกบ็ ไว้ ๔
ส่ิงท่ไี ม่ดี ไม่ชอบใจ ก็ไมเ่ อา เอาแตส่ ีโ่ ลกธรรม ๘ ในส่วนดีไว้
ทา่ นทำเป็นตัวอยา่ งใหพ้ วกเราทำตามใหม้ ากเท่าที่จะมคี วามสามารถและปัญญา
เอาละ ไม้จ้ิมฟันอันนี้ ขอบคุณมากๆ ท่ีทำให้เรารู้จักเจ้าไม้จิ้มฟันเห็นจริงตามความเป็นความจริง เข้าใจ
แลว้ เรารู้จกั เจา้ แล้วว่า เจ้าเปน็ ตวั แทนของธาตุ ๔ ภายนอกทั้งหมดโลก จะขอเก็บไวก้ ่อน จะบันทกึ วนั เดือนปไี วบ้ น
ไม้จิ้มฟัน ซ่ึงตรงกับวันเพ็ญวิสาขบูชา เดือน ๖ ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ พอดี และจะมอบให้เจ้าของไม้จ้ิมฟันตัวจริง
ในโอกาสอนั สมควร ครบพร้อมทง้ั เร่อื งราว
หลวงพอ่ ฉลาดและมีความสามารถลน้ เหลอื ในการสอนเรา ตรงทีท่ า่ นไมไ่ ด้มอบไมจ้ ้มิ ฟนั ใหเ้ ราโดยตรงด้วย
มือของท่าน เพราะถ้าท่านหยิบยื่นให้เราเช่นนั้น เราก็แค่จะเอาไปเป็นท่ีระลึกเหมือนเดิม คือเก็บไว้บนห้ิงพระ
เท่าน้นั ไม่มาจิม้ ใจเราให้จติ ซาบซ้งึ รจู้ ักทรพั ย์สมบัติ ธาตุ ๔ ภายนอก ใหเ้ ห็นจริงตามความเป็นจรงิ
ทง้ั หมดน้ี เราไม่เคยบอกว่า ธาตุ ๔ ภายนอก วตั ถทุ รัพย์สมบัตทิ งั้ หลายไม่ใชข่ องเรา
ในทางรูปธรรม ในทางสมมติบัญญัติ เรายังเป็นเจ้าของและยังเป็นของเราอยู่ จนกระท่ังหมดลมหายใจ
หรือตามกฎหมายบ้านเมอื ง
ไมไ่ ด้บอกว่าวัตถุสมบตั ิเปน็ ส่งิ ท่ไี มม่ ตี ัวตน วตั ถุสมบัติเปน็ อนตั ตา
ยังมี อัตตา ตัวตนอยูเ่ หมอื นเดิม เปลี่ยนไปแคค่ วามเหน็ ทใ่ี จ เท่าน้ัน
คือทรัพย์สมบัติของของเราก็มีความสำคัญของมัน มีค่าทางโลกมากตามราคาตลาดซ้ือขายน่ันแหละ แต่มี
ความเหน็ ใหม่เกิดข้นึ ใหม่ ใหค้ า่ ราคามันใหม่ อยูเ่ พียงในใจไมอ่ อกใหค้ นอื่นรวู้ ่า ทรัพย์สมบตั ทิ ้งั หลายในโลกนี้ มันมคี ่า
เท่ากับไมจ้ ิ้มฟันพระอนั นัน้ เท่านนั้ เอง
293
จากใจของคณะผจู้ ดั ทำ
หนังสือ ขิปปปัญญานุสรณ์ เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ถึงพระเดชพระคุณพระปัญญาพิศาลเถร
(หลวงพ่อทูล ขิปฺปปญฺโ) ผู้เป็นท่ีเคารพรักและศรัทธาย่ิงของสาธุชนทั้งหลาย บัดน้ีหลวงพ่อได้ละสังขาร
จากพวกเราไปแล้วตามหลักไตรลักษณ์ เป็นไปตามพระพุทธพจน์ที่ว่า “สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง” และเพ่ือประกาศ
ถึงปฏิปทาคุณงามความดีท่ีหลวงพ่อได้ปฏิบัติมาตลอดชีวิตของท่าน ให้อนุชนรุ่นหลังได้รับทราบ และยึดถือเป็น
แนวทางปฏิบัติตนเพ่ือให้เกิดความสุขความเจริญในชีวิตต่อไป และเพื่อเห็นพ้นจากทุกข์และการเวียนว่ายตายเกิด
ในวฏั สงสารทไ่ี ม่มีที่สิ้นสุด บรรลถุ ึงมรรค ผล และนิพพาน
หนังสอื อนุสรณ์เล่มนไี้ ด้รวบรวมเรอื่ งราวปฏิปทาของหลวงพ่อ แบ่งเนอ้ื หา ดงั นี้
อัตโนประวัติย่อ ได้คัดลอกและตัดตอนมาจากหนังสืออัตโนประวัติ หลวงพ่อได้เขียนอัตโนประวัต
ิ
๒ เล่ม เลม่ แรกในปี ๒๕๔๒ และเลม่ ที่ ๒ ในปี ๒๕๔๗ มคี วามละเอียดและสมบูรณ์มากขนึ้ พรอ้ มภาพประกอบ
การเขียนประวัติของท่าน จะเน้นเร่ืองอุบายการปฏิบัติภาวนา ท่านหวังว่า อุบายใดพอจะนำมาใช้เป็นประโยชน์
ก็ใหพ้ ิจารณาด้วยตนเอง ท่านเขยี นประวตั ไิ วเ้ พยี งแคพ่ รรษาที่ ๘ เท่านนั้ สว่ นประวัติชว่ งพรรษาที่ ๙ ถึงปัจจบุ นั
ไดส้ อบถามขอ้ มลู จากบคุ คลท่เี คยมีความเก่ยี วข้องใกลช้ ิดกับหลวงพ่อในชว่ งต่างๆ ด้วยเวลาอนั จำกดั จงึ ไมส่ ามารถ
ได้ขอ้ มูลครบถว้ น แต่ก็มากพอทจ่ี ะปะตดิ ปะต่อจนเปน็ เร่ืองราวได้
ประวตั วิ ดั เป็นการประมวลความเปน็ มา การก่อสร้างวัด การพฒั นาด้านต่างๆ
ผลงาน เปน็ การประมวลผลงานทกุ ด้านทั้งดา้ นศาสนวัถตุ ศาสนธรรม และศาสนบุคคล งานเผยแผ
่
ธรรมะทั้งในและต่างประเทศ หลวงพ่อได้สร้างสรรค์ผลงานไว้กับโลกท้ังสามตามเจตนาและบารมีธรรมที่ได้สะสม
มาเปน็ บารมที ย่ี ง่ิ ใหญ่ ยากจะหาใครเทยี บได้ ท่านได้ฝากไว้เปน็ อนสุ รณ์ใหพ้ ุทธบริษัทท้งั หลายได้ใช้เป็นเคร่อื งยดึ เหน่ยี ว
จติ ใจและปฏิบัตติ ามพระธรรมคำสอน
มรดกธรรม เป็นธรรมะท่ีเขียนด้วยลายมือหลวงพ่อเอง ได้มาจากสมุดบันทึกธรรมะส่วนตัวของ
หลวงพอ่ และจากลูกศษิ ยท์ ี่หลวงพอ่ เคยเขียนธรรมะให้ไวพ้ จิ ารณา บางสว่ นเป็นส่วนบุคคล แตเ่ น้อื หาในจดหมาย
น่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น เป็นเคร่ืองแสดงให้เห็นว่าหลวงพ่อท่านเอาใจใส่และเป็นกำลังใจในการปฏิบัติธรรมของ
ลกู ศิษยอ์ ย่างใกล้ชิด และคัดเลือกบางสว่ นใน
ธรรมเทศนา เรื่อง จุดประกายแห่งปัญญา เป็นการคัดลอกบางตอนมาจากหนังสือจุดประกายแห่ง
ปัญญา หรือช่ือเดิมว่า พุทธประวัติ ซ่ึงเป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของหลวงพ่อ โดยเฉพาะประเด็นท่ีหลวงพ่อเน้นคือ
แนวทางการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า จุดเริ่มต้นการปฏิบัติและแนวทางการเผยแผ่ธรรมะในครั้งพุทธกาล ท่านได้
แจกแจงหมวดหมู่ ลำดับเร่ืองราวอย่างชัดเจน มีเหตุมีผล และหลักฐานพยานบุคคลท่ียืนยันได้ นอกจากนี้ยังได้
รวบรวมคำสอนของท่านจากหนังสือธรรมะของท่านที่แต่งไว้อีกหลายเล่ม โดยคัดเลือกเฉพาะประเด็นคำสอนท
ี่
โดดเดน่ ของท่าน คือ อุบายการสรา้ งปัญญา การใชป้ ัญญาอบรมใจ คณุ ลักษณะของนักปฏิบตั ิทดี่ ี หากท่านใดสนใจ
จะศึกษาอย่างละเอียด ขอให้ศึกษาจากหนังสือธรรมะของหลวงพ่อที่มีจำนวนกว่า ๒๐ เล่ม ซึ่งจะมีเน้ือหาท่ี
ขิปปปัญญานุสรณ
์
294
หลากหลาย ยากง่ายแตกตา่ งกัน เพราะท่านจะสอนธรรมะทงั้ ทางโลกยี ธรรมและโลกตุ ตรธรรม แลว้ แตค่ วามตอ้ งการ
ของผูป้ ฏบิ ัตแิ ตล่ ะท่าน
หลวงพ่อสอนว่า เป็นการรวบรวมคำสอน คติธรรม หรือคำเทศนาต่างๆ ที่สั้น กระชับ รวมท้ัง
ปริศนาธรรม คติธรรม ซ่ึงมีมากมายเพื่อให้ลูกศิษย์ได้นำฝึกคิดพิจารณาให้เกิดมีปัญญาเฉพาะตน พิจารณาด้วย
เหตุผลตามความเปน็ จริง
ฉากสุดท้าย...ของพระมหาบุรุษที่มีความสง่างามและเด็ดเดี่ยว เป็นการประมวลอาการเจ็บป่วย
อย่างละเอียดชัดเจน และสอดแทรกคำสอนของหลวงพ่อทุกขณะ ท่านใช้ร่างกายเป็นก้อนธรรม เป็นเทศน์กัณฑ์
สดุ ท้าย ให้ลูกศิษยไ์ ด้พิจารณากนั อย่างเขม้ ข้น และเปน็ บททดสอบคณุ ธรรมของลกู ศิษยด์ ้วยวา่ ที่ท่านสอนมาทงั้ หมด
นั้น ประพฤติปฏิบัติกันได้แน่แค่ไหน และเป็นคำตอบกับหลายคนที่ยังเกิดความสับสน คิดไม่ถึงว่าทำไมหลวงพ่อ
จงึ มาละสังขารเรว็ ขนาดนี้
คำไว้อาลัย มีหลากหลายความรู้สึกของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ที่มีความเคารพนับถือในองค
์
หลวงพอ่ แสดงคำไวอ้ าลยั และมทุ ติ าแดพ่ ระเดชพระคณุ หลวงพอ่ ผทู้ ท่ี รงคณุ ประโยชนต์ อ่ พระพทุ ธศาสนา ตอ่ สงั คม
ประเทศชาติ
คร้ังหน่ึงในชีวิต จากใจศิษย์ถึงหลวงพ่อทูล เป็นการรวบรวมคำไว้อาลัยจากลูกศิษย์ท่ีส่งคำไว้
อาลัยกันมากกว่า ๘๐ คน จนไม่สามารถนำมาลงในหนังสือเล่มนี้ได้หมด ดังคำปรารภข้างต้นกล่าวไว้ว่า ถ้านำ
กระดาษทุกแผ่นในโลกนีร้ วมกนั ก็ยังไมพ่ อทจี่ ะเขยี นอธิบายไดห้ มด และยังมอี ีกหลายความร้สู ึกท่ยี ากจะอธบิ ายออก
มาเป็นลายลักษณอ์ กั ษร จึงได้พิจารณาคดั สิ่งดีๆ ที่ไดร้ ับและความประทบั ใจในองค์หลวงพอ่ นำลงเพยี งเศษเส้ยี วหนง่ึ
เทา่ นน้ั ส่วนคำไว้อาลัยของทกุ ท่านจะพิจารณาดำเนินการตอ่ ไป
ลูกศิษย์เล่าว่า... เป็นการรวบรวมความรู้สึกประทับใจต่อองค์หลวงพ่อ ท่ีจะสะท้อนให้เห็นถึง
ปฏิปทาของหลวงพอ่ ในด้านต่างๆ ทั้งได้อรรถรส และได้อารมณข์ ันไปพรอ้ มกัน
พยานบุคคล หลวงพ่อจะมีกำลังใจอย่างมาก เม่ือมีผู้ปฏิบัติธรรมไม่ว่าจะเด็กเยาวชนหรือประชาชน
ท่วั ไปมาเลา่ อบุ ายธรรมท่ีได้จากการฝกึ คิด ทา่ นจะนงั่ ฟงั อย่างตั้งใจ แล้วจะชืน่ ชมอนโุ มทนาสาธุ ท่สี ามารถหาอุบาย
มาปัญญาอบรมใจตนเองได้ หรือบางท่านสามารถแก้ปัญหาตนเองได้ ได้คัดเลือกตัวอย่างพยานบุคคล ท่ีสามารถ
นำหลกั คำสอนของหลวงพอ่ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน หรือหาอบุ ายธรรมมาสอนใจและคลายทกุ ขใ์ ห้กบั ตนเองได้
การจัดทำหนังสือเล่มนี้ขออนุโมทนากับผู้มีส่วนเก่ียวข้องทั้งหมด คณะศิษย์ทุกท่านที่ส่งคำไว้อาลัย และ
กราบขอขมาทุกท่านที่ไม่สามารถนำความรู้สึกของท่านลงในหนังสือเล่มนี้ เนื่องจากแต่ละท่านเขียนความรู้สึกมา
มากมาย ถา้ นำคำไวอ้ าลยั ของทกุ ทา่ นลงในเลม่ น้ี จะเปน็ หนังสอื เลม่ ทใี่ หญ่เกินไป แต่ได้คดั เลือกส่งิ ดีๆ ทที่ ่านไดร้ ับ
จากหลวงพ่อมาเพียงบางสว่ น ภายใต้หัวข้อ “ครง้ั หน่งึ ในชวี ิต จากใจศิษยถ์ ึงหลวงพอ่ ทลู ” จากความรสู้ กึ มากมาย
ของศิษยานุศิษย์ เป็นเหมือนกระจกแต่ละช้ินที่ปะติดปะต่อเรื่องราว และปฏิปทาของหลวงพ่อให้มีความชัดเจน
มากขึ้น ทำให้เราเขา้ ใจความเปน็ หลวงพอ่ ทูลไดอ้ ยา่ งวเิ ศษ
295
ขออนุโมทนากับทุกท่านที่มีส่วนรวมในการจัดทำหนังสือเล่มนี้ และขออนุโมทนาบุญกับคณะเจ้าภาพท่ีร่วม
จัดทำหนังสือเล่มนี้ให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอให้หนังสือเล่มน้ีเป็นหนังสือแห่งประวัติศาสตร์ของหลวงพ่อที่จะเป็น
สมบัติใหก้ ับอนุชนรุ่นหลังได้ศกึ ษาประวตั ิของพระอริยเจา้
ถ้าหากมีข้อผิดพลาดบกพร่องประการใด คณะผู้จัดทำหนังสือของน้อมรับทุกประการ และกราบขอขมาต่อ
ทา่ นท้งั หลายไว้ ณ โอกาสนี้ ขอกราบอโหสกิ รรมหากมีข้อผิดพลาดทท่ี ำให้หลวงพ่อต้องเส่ือมเสยี ประการใด ลูกไม่มี
เจตนา แต่อาจด้วยปัญญาอันน้อยของศิษย์ที่ไม่สามารถพิจารณาอะไรได้ถ้วนถี่ ขอหลวงพ่อโปรดเมตตาด้วยเทอญ
และกราบขอบพระคุณพ่อแม่ครูอาจารย์ที่เมตตาให้คณะทำงานและคณะศิษย์ได้มีโอกาสสะสมบุญบารมีในครั้งนี้
ขออทุ ิศบญุ กศุ ลเป็นอาจารยิ บชู าถวายแด่พระเดชพระคุณหลวงพอ่ ทูล ขปิ ปฺ ปญโฺ ผูเ้ ป็นดวงประทปี แห่งปญั ญา
ขออานุภาพแห่งพระศรีรัตนตรัย บารมีธรรมของหลวงพ่อ และบุญบารมีท่ีทุกท่านได้บำเพ็ญมาดีแล้ว
จงเป็นพลวปัจจัยให้ทุกท่านที่ความเจริญทางสติปัญญา พิจารณาสัจธรรมใด ขอให้รู้แจ้งเห็นจริงในสัจธรรมนั้น
หากท่านมีบารมีได้บำเพ็ญมาแล้วในอดีตชาติ พร้อมแล้วท่ีจะได้บรรลุธรรมเป็นพระอริยเจ้าในชาตินี้ ขอท่านจง
สมปรารถนาดว้ ยเทอญ
ขิปปปัญญานสุ รณ
์
296