ตำรวจผู้นอ้ ยกจ็ ะเปน็ ตำรวจผใู้ หญไ่ ด
้
151
Êำรวจกอง¾ลบอ่ ยæ เตรยี ม¾รอ้ มทกØ ข³ะ
ขปÔ ปป˜ญญานÊØ ร³
152
ÊมมตÔทัéงหลายเป็นอาหารของอวªÔ ªา
153
ถ้าร้ตู ัวว่าอย่ใู นทมี่ ืด จงÖ จะหาวÔธจี ดØ ไ¿
ขปÔ ปปญ˜ ญานØÊร³
154
ศรัทธาแนน่ หนาม่นั คงแล้ว ยอ่ มเลือกทำแตก่ รรมด
ี
155
คนเขลาคÔดวา่ มีบตØ ร มที รั¾ย จงÖ มคี วามเดือดรอ้ น
ขปÔ ปปญ˜ ญานØÊร³
156
Êถานท่แี ห่งน ีé เปน็ Êถานทอี่ บรมธรรมแกป่ ระªาªน
157
วดั «าน¿รานธัมมาราม
ขÔปปป˜ญญานÊØ ร³
158
159
ความÊขØ ในâลกนีอé ยู่กบั ความ¾อดี
¤ÇÒÁÊØ¢ã¹âÅ¡¹éÕÍ‹١Ѻ¤ÇÒÁ¾Í´Õ ¶ŒÒÃÙŒ¨Ñ¡¤ÇÒÁ¾Í´Õ ¼ÙŒ¹Ñ鹨ÐÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢
ã¹âÅ¡¹Õéä´Œ ᵋ¡çäÁ‹ÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ã´ã¹âÅ¡¹éÕ ÁÕ¤ÇÒÁ¨ÕÃѧ¶ÒÇõÅÍ´ä» à´ëÕÂÇ¡çÊØ¢
à´ëÕÂÇ¡ç·Ø¡¢ ÊÅѺ¡Ñ¹ä»äÁ‹¤§·èÕ à´ëÕÂÇ¡ç´Õ¡çªèÑÇÁèÑÇ¡Ñ¹ä» äÁ‹ÁÕÊèÔ§ã´ÊÁËÇѧ´Ñ§ã¨¤Ô´
àÍÒäÇŒ 㨨֧ÁÕ¤ÇÒÁ¼Ô´ËÇѧÍÂÙ‹µÅÍ´àÇÅÒ ¨ÐËÒ¤ÇÒÁ¾Í´Õã¹âÅ¡¹ÕéäÁ‹ä´ŒàÅÂ
à¾ÃÒФÇÒÁ¾Í´ÕäÁ‹ÁÕÍ‹Ùã¹âÅ¡¹éÕ áµ‹¤ÇÒÁ¾Í´ÕÁÕÍÂً੾ÒÐã¨à·‹Ò¹éѹ ¶ŒÒÌ٨ѡ
¤ÇÒÁ¾Í´ÕÀÒÂã¹ã¨¼ÙŒ¹Ñ鹾ͨÐÁÕ¤ÇÒÁÊآ䴌ºŒÒ§ ¡ÒÃÌ٨ѡ¤ÇÒÁ¾Í´Õ ¼ŒÙ¹Ñ鹨еŒÍ§
Ì٨ѡ¤ÇÒÁäÁ‹¾Í´ÕÇ‹Ò໚¹Í‹ҧäà ¾Í¨Ð䴌໚¹á¹Ç·Ò§·Õèᵡµ‹Ò§¡Ñ¹ã¹ÃÐËÇ‹Ò§
¤ÇÒÁ¾Í´ÕáÅÐäÁ‹¾Í´Õ àËÁ×͹¡ÑºÍÒËÒ÷èÕàÃÒµŒÍ§¡ÒÃÃʪҵԷÕè¾Í´Õ àÃÒµŒÍ§ÃŒÙ¨Ñ¡
ÍÒËÒÃÃÊ·ÕèäÁ‹¾Í´ÕàÍÒäÇŒ à¾è×ͨÐ䴌ÌÙÇ‹Ò¤ÇÒÁ¾Í´ÕáÅФÇÒÁäÁ‹¾Í´Õ໚¹Í‹ҧäÃ
àÃÒ¨ÐàÅ×͡䴌͋ҧ¶Ù¡µŒÍ§ ¹Õé©Ñ¹ã´ 㨷ÕèäÁ‹ÃŒÙ¨Ñ¡¤ÇÒÁ¾Í´Õ ‹ÍÁÁÕ¤ÇÒÁ·Ø¡¢ ¨Ð
ËÒ¤ÇÒÁÊØ¢äÁ‹à¨ÍµÅÍ´ä» ·Ñé§ã¹ªÒµÔ¹éÕáÅЪҵÔ˹ŒÒ ¶Ö§¨ÐÁÒà¡Ô´ã¹âÅ¡¹éÕÍÕ¡
Ì͡ѻ»Š¾¹Ñ ¡ÅÑ »ŠÍ¹Ñ¹µªÒµÔ ¡äç Áä‹ ´ÅŒ ÁÔé ÃʪҵԤÇÒÁ梯 ·Ò§ã¨¹Õàé ÅÂ
¢³Ð¹Õéã¨ÁÕ¤ÇÒÁÅ‹ØÁËŧÍÂÙ‹¡ÑºÍÒÃÁ³¢Í§âÅ¡æ 㨨֧µ¡Í‹Ùã¹·‹ÒÁ¡ÅÒ§
¢Í§¡ÔàÅʵѳËÒâ´ÂäÁ‹ÃŒÙµÑÇ ¤ÇÒÁà¤ÂªÔ¹µ‹Íà˵ءÒóàËÅ‹Ò¹éÕ¨Ö§¡ÅÒÂ໚¹¹ÔÊÑÂ
¤ÇÒÁࢌÒ㨨֧¡ÅÒÂ໚¹¸ÃÃÁ´Ò à¡Ô´¡ç໚¹¸ÃÃÁ´Ò á¡‹¡ç໚¹¸ÃÃÁ´Ò à¨çºä¢Œ¡ç
໚¹¸ÃÃÁ´Ò áÁŒáµ‹¤ÇÒÁµÒ¡ç¶×ÍÇ‹Ò໚¹¸ÃÃÁ´Ò ·Ø¡Í‹ҧ·èÕà¡Ô´¢éÖ¹¡ç¶×ÍÇ‹Ò໚¹
àÃÍè× §¸ÃÃÁ´Ò价ѧé ËÁ´ 㨨§Ö äÁË ŒÙäÁà‹ Ë繤ÇÒÁᵡµÒ‹ §ÍÐäÃ㹤ÇÒÁ໹š ÍÂÙ‹Í‹ҧ¹Õé
㨨§Ö ä´½Œ ˜§µÇÑ ¨ÁÍ‹١Ѻ¤ÓÇ‹Ò¸ÃÃÁ´ÒµÍ‹ ä»â´ÂäÁÁ‹ Õ¡Ó˹´ äÁ‹ÃÇÙŒ Ò‹ àÁÍ×è äËÃã‹ ¨¨Ðµ¹×è
µÇÑ ÃµŒÙ ÇÑ ã¹à˵¡Ø ÒÃ³Í Â‹Ò§¹Õé 㨷èàÕ »š¹µÐâÁ µÐÁÐ Á´× ÁÒáÅÐÁ×´ä» â´ÂäÁ‹Á¨Õ Ø´Á§‹Ø
ËÁÒ»ÅÒÂá´¹ËÒ·èÕ¨ºÊéÔ¹äÁ‹ä´Œ ¨Ö§àÃÕÂ¡Ç‹Ò ã¨Ëŧ仵ÒÁ¡ÃÐáÊâÅ¡ àÇÕ¹ǹ
ä»ÁÒÍÂã‹Ù ¹À¾·Ñé§ÊÒÁ ໚¹ä»µÒÁ¡®¸ÃÃÁ´Ò ·Õèã¨Â§Ñ ËŧÍÂÙ¹‹ Ñé¹àͧ
ขÔปปป˜ญญานÊØ ร³
160
¡ÒÃᡌ䢵ŒÍ§ãªŒ»˜ÞÞÒ¾Ô¨ÒÃ³Ò ãËŒÃÙŒàËç¹à»š¹ä»µÒÁ¤ÇÒÁ໚¹¨ÃÔ§ ¡Ñº
ÊÔ觷èÕ໚¹¸ÃÃÁ´ÒàËÅ‹Ò¹éѹãËŒªÑ´à¨¹ ÁÕ¤ÇÒÁÃÙŒàËç¹´ŒÇÂà˵ØáÅмŠãˌ໚¹ä»µÒÁ
͹Ԩ¨Ñ§ ·Ø¡¢Ñ§ ͹ѵµÒ ´ŒÇÂʵԻ˜ÞÞҢͧµÑÇàͧ ´ÓÃÔº‹ÍÂæ ¾Ô¨ÒóҺ‹ÍÂæ
¤ÇÒÁࢌÒ㨼Դ ¤ÇÒÁàËç¹¼Ô´¡ç¨Ð¤‹Í¨ҧÍÍ¡¨Ò¡ã¨ ¤ÇÒÁÊÇ‹Ò§¡Ó¨Ñ´¤ÇÒÁÁ×´
©¹Ñ 㴠ʵԻޘ ÞÒ¡¡ç ӨѴ¤ÇÒÁÁ´× ºÍ´¢Í§ã¨ä´©Œ ¹Ñ ¹¹éÑ ¨§½ƒ¡»˜ÞÞÒ¢é¹Ö ÁÒà¾è×Í໚¹
µÒãˌᡋ㨠à¾è×ͨÐä´Œà¡Ô´¤ÇÒÁÃÙŒàËç¹µÒÁ¤ÇÒÁ໚¹¨ÃÔ§¹éÕàÊÕÂ·Õ ¤ÇÒÁÃÙŒ¨ÃÔ§àËç¹
¨Ã§Ô µÒÁ¤ÇÒÁ໹š ¨ÃÔ§ ¨ÐµÍŒ §¡Ó¨´Ñ µÇÑ âÁËÐ ÍÇªÔ ªÒãËŒËÁ´ä»¨Ò¡ã¨àͧ ©Ð¹Ñ¹é
ʵԻ˜ÞÞҨ֧໹š µÇÑ á¡»Œ ˜ÞËÒä´Œ ·éѧ㹷ҧâÅ¡áÅзҧ¸ÃÃÁ ¢Í¨§½¡ƒ ʵ»Ô ˜ÞÞÒ
à¾èÍ× á¡»Œ Þ˜ ËҢͧ㨠µ§Ñé ᵺ‹ Ñ´¹éàÕ »š¹µŒ¹ä»´ÇŒ Âà·ÍÞÏ
161
“¶า้ ขา้ พเจา้ จะäด้µรัสรู้เปšนพระพØทธเจา้ ãนªาµนิ ี้
ขอãห¶้ าดทองคÓทวนกระแสนÓ้ ข้นÖ äป
¶้าจะäมä่ ด้µรสั รเู้ ปนš พระพทØ ธเจ้าãนªาµิน้ี
ขอãห้¶าดทองคÓäดä้ หลäปµามกระแสน้Ó”
ขปิ ปปญั ญานุสรณ์ 1ñ6ô2ø
จดุ ประกายแหง่ ปัญญา
คน้ พบแนวทางการตรัสร ู้
พระพุทธเจ้าทรงค้นพบแนวทางตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง ในขณะลอยถาดทองคำได้เสี่ยงทายมี
คำกล่าววา่
“¶้าข้าพเจา้ จะäด้µรัสรู้เปนš พระพทØ ธเจา้ ãนªาµนิ ้ี
ขอãห¶้ าดทองคÓทวนกระแสน้Óขน้Ö äป
¶า้ จะäมä่ ดµ้ รัสรู้เปšนพระพทØ ธเจา้ ãนªาµิน้ี
ขอãห้¶าดทองคÓäดä้ หลäปµามกระแสน้Ó”
เมอ่ื พระองคป์ ลอ่ ยมอื ถาดทองคำกไ็ ดท้ วนกระแสนำ้ ขน้ึ ไปทนั ที พระองคจ์ งึ มคี วามมั่นใจวา่ ในชาตนิ ี้
จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าอย่างแน่นอน จากนี้ไปจะเป็นจุดเร่ิมต้นในการปฏิบัติเสียใหม่ ๕ ปีกว่าท่ี
ผา่ นมา พระองคไ์ ม่เคยใช้ปญั ญาพิจารณาในสัจธรรมใด นีเ้ ปน็ การเริ่มต้นที่พระองคจ์ ะได้ใช้ปัญญาเป็น
คร้ังแรก การใช้ปัญญาในคร้ังน้ีมีอุบายท่ีจะเอาถาดทองคำนำมาคิด ท่านผู้อ่านทั้งหลายจงเข้าใจจุด
เริ่มต้นของการปฏิบัติด้วยการใช้ปัญญานำหน้าน้ีจึงเป็นสิ่งสำคัญเป็นอย่างย่ิง มีเหตุผลรองรับในความ
ถูกตอ้ งเอาไว้อยา่ งชัดเจน เพราะการปฏิบัติน้ีจะไมเ่ หมือนกนั กับดาบสทั้งสองท่ีสอนมาก่อนแต่อยา่ งใด
ในจดุ เรมิ่ ตน้ นพ้ี ระองคไ์ ดค้ น้ พบ
”หลกั สมั มาทฏิ ฐ
ิ ความเหน็ ทถ่ี กู ตอ้ งชอบธรรม
สมั มาสงั กปั โป
การดำริพิจารณาด้วยปญั ญาในเหตุผล”
อุบายการฝึกปัญญา
พระองค์ได้อุบายฝึกปัญญา จากการลอยถาดทองคำ นำมาคิดพิจารณา ทำให้จิตของพระองค์
ไดร้ ้เู หน็ ตามหลกั ไตรลกั ษณ
์ คือ
อนิจจัง
ทกุ ขัง
อนัตตา อยา่ งเปิดเผย หลกั เส่ยี งทายในชีวิตเปน็ ของ
คู่กับโลกมนุษยน์ ้ีมายาวนาน ตัวอยา่ ง การไปยกพระหรอื เสยี่ งทายดว้ ยวธิ ีใด ต้องอธิษฐานไว้สองอยา่ ง
เสมอ เชน่ ถ้าจะได้ขอใหย้ กพระข้ึน ถ้าจะไม่ได้ขอใหย้ กพระไม่ขึ้น นีฉ้ ันใดพระองคจ์ งึ เสีย่ งทายวา่ ถ้า
จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าให้ถาดทองคำทวนกระแสน้ำขึ้นไป ถ้าไม่ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าให้ถาด
ทองคำไหลไปตามกระแสน้ำ แต่ครั้งน้ีถาดทองคำทวนกระแสน้ำข้ึนไป จึงทำให้พระองค์มีความม่ันใจ
ในตนเอง ได้เอาถาดทองคำมาเป็นอุบายพิจารณาด้วยปญั ญา แล้วตคี วามหมายว่า “ถาดทองคำทวน
กระแสน้ำ”
ก็เอา
“ถาดทองคำมาเปรียบเทียบกับจิตของพระองค์เอง” ทรงดำริว่าพระองค์จะฝึก
ขิปปปัญญานุสรณ์ 164
สติปัญญามาอบรมจิต ไม่ปล่อยให้จิตเกิดความยินดี ในส่ิงที่ชอบใจไปตามกระแสโลก ตามปกติจิตมี
ความตอ้ งการในทางทีต่ ่ำในกามคณุ ทั้ง ๕ ใจมีความยนิ ดีในรปู ใจมีความยินดใี นเสยี ง ใจมคี วามยินดี
ในกล่ิน ใจมีความยินดใี นรส ใจมีความยนิ ดใี นสัมผสั ทีอ่ ่อนนมุ่ เร่ืองอย่างน้ีพระองค์ไดเ้ คยมคี วามยินดี
มาแลว้ จากนีไ้ ปพระองคจ์ ะใช้ปัญญาทวนกระแส ไมใ่ หใ้ จมีความยนิ ดใี นส่ิงเหล่าน้ี ใจก็จะไม่เกิดความ
เห็นผิด ความเข้าใจผิดไปตามกระแสโลกเหมือนที่เคยเป็นมา เรียกว่า พระองค์มีปัญญาปฏิเสธไม่ให
้
ใจเกิดความยินดียินร้ายโดยประการทั้งปวง และปฏิเสธว่า ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ที่เก่ียวกับ
กามคุณในทางโลก พระองค์ก็มีปัญญาฝึกใจไม่ให้ใจมีความผูกพันในสิ่งเหล่านี้ได้ ฝึกใจปฏิเสธว่าสิ่ง
เหล่านเ้ี ป็นสิ่งท่ีผูกใจ กอ่ ให้เกดิ ความหลงใหล ยึดติดผูกพันอยู่ในโลกนที้ ัง้ นัน้
วิธีการฝกึ ปัญญา
ในอีกมุมหน่ึงพระองค์ได้คิดเปรียบเทียบว่า ถ้าถาดทองคำได้ไหลไปตามกระแสน้ำ ถาดทองคำ
จะไปตกอยใู่ นที่ไหน โอปนยิโก น้อมเอา “ถาดทองคำ” เปรยี บกบั “ใจพระองค์” ดูว่า ถา้ ถาดทองคำ
ไหลไปตามกระแสน้ำจะไหลไปเร่ือยๆ น้ำไหลไปทางไหนถาดทองคำก็ไหลไปตามน้ัน ในท่ีสุดก็ไหลลงสู่
มหาสมุทรอันกว้างใหญ่ ไหลวนไปเวียนมาในมหาสมุทรไม่มีท่ีจบสิ้นได้ นี้ฉันใด ถ้าใจมีกิเลสตัณหาฝัง
อยู่ ใจก็จะเที่ยวเกิดตายในมหาสมมติโลกนี้ไม่มีท่ีจบสิ้นเช่นกัน เม่ือเวลาน้ำลดถาดทองคำก็จะตกค้าง
อยู่ในหาดทรายหรือเกาะแห่งน้ันช่ัวคราว เมื่อถึงเวลาน้ำข้ึนถาดทองคำก็จะไหลไปตามกระแสน้ำต่อไป
ไม่มีทางสิ้นสุดลงได้ น้ีฉันใดพระองค์ใช้ปัญญาคิดเปรียบเทียบกับใจว่า ความรักความต้องการของใจ
ไม่มีท่ีส้ินสดุ ความอยากของใจกไ็ มม่ ีขอบเขตไม่มปี ระมาณ ดังคำว่า
นตถฺ ิ ตณหฺ า สมานที แม่นำ้ เสมอด้วยตณั หาไม่มี
มหาสมทุ รไมม่ ีความอิ่มดว้ ยนำ้ ฉนั ใด
ใจก็ไม่มคี วามอิ่มในความอยาก ก็ฉนั น้นั
พระองค์ได้พิจารณาว่า การที่ถาดทองคำได้ไปตกค้างตามหาดทรายในเวลาน้ำลด หรือตกค้าง
อย่ใู นเกาะต่างๆ พระองค์กใ็ ช้ปญั ญาคิดเปรียบเทียบกบั ใจวา่ ใจไดไ้ ปตกค้างเกิดเปน็ มนษุ ย์ เป็นคนชาติ
ตระกลู ต่างๆ เป็นกษตั รยิ บ์ า้ ง เปน็ พราหมณบ์ า้ ง เปน็ แพศยบ์ า้ ง เปน็ ศทู รบา้ ง เปน็ จณั ฑาลบา้ ง เกิดใน
ภพน้อยภพใหญ่ในกามภพ รูปภพ อรูปภพ และภพของหมู่สัตว์ดิรัจฉานท่ัวไป พระองค์ใช้ปัญญา
พิจารณาอยู่อย่างนี้ พระองค์ได้เกิดมีญาณทัสสนะขึ้น ปัญญาหยั่งรู้และมีความเข้าใจในเหตุที่ทำให้
165
มนุษย์ได้เกิดมาอย่างชัดเจน ในสมัยที่พระองค์ยังเป็นฆราวาสได้ทอดพระเนตรเห็นคนแก่ คนเจ็บป่วย
คนตาย ก็เพราะมีเหตคุ ือการเกดิ อะไรเปน็ เหตใุ หค้ นได้เกดิ ในชว่ งนั้นพระองค์ยังไมร่ ู้ พง่ึ จะร้ใู นเหตทุ ่ี
ทำให้มนุษย์ไดเ้ กดิ มา จากอุบายการใชป้ ัญญาพิจารณาในถาดทองคำนีเ้ อง นัน้ คือ ตัณหาความอยากท่ี
พาให้มาเกดิ เปน็ ภพเป็นชาติ หมนุ เวียนอยใู่ นภพทั้งสาม มีกามตัณหา ภวตณั หา วิภวตณั หา
วธิ กี ารฝกึ ปญั ญาทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงคน้ พบ คอื การนอ้ ม (โอปนยโิ ก) หรอื เทยี บเคยี งสง่ิ ภายนอก
เข้าสูภ่ ายในคือตวั เอง และนอ้ มตวั เองออกไปเทยี บกับสงิ่ ภายนอกใหร้ เู้ หน็ เป็นสภาพเดียวกนั
ปญั ญาของพระองค์ไดเ้ กดิ ข้ึน
ญาณทัสสนะ ได้เกิดข้ึนภายในใจของพระองค์แล้ว ความรู้แจ้งเห็นจริงในสัจธรรมได้ขยายเป็น
วงกว้างออกไปไม่มีประมาณ ส่ิงหนึ่งส่ิงใดมีเหตุเป็นแดนเกิด สิ่งน้ันจะตั้งอยู่ได้ชั่วขณะ แล้วก็ดับไป
ตามเหตุน้ันๆ ไม่มีสิ่งใดต้ังอยู่ด้วยความม่ันคงถาวรได้ ไม่ว่าสิ่งนั้นจะมีจิตวิญญาณครองหรือไม่มี
จิตวิญญาณครองก็ตาม ทุกอย่างจะต้องตกอยู่ในความเปลี่ยนแปลงด้วยกันทั้งน้ัน แต่มนุษย์ไม่ยอมรับ
ในการเปลยี่ นแปลงน้ีจึงได้เกิดความทกุ ข์ ไมอ่ ยากใหส้ ิง่ น้ันได้พลดั พรากจากตัวเราไป มีส่ิงใดก็อยากให้
ส่ิงน้ันมีอยู่กับตัวเราตลอดไป จึงได้เกิดความยึดมั่นถือมั่นว่าส่ิงนั้นเป็นของเราจริงๆ เม่ือสิ่งนั้นมีการ
เปล่ียนแปลงจึงได้เกิดความทุกข์ เรียกว่าใจเป็นทุกข์ในสิ่งที่เรามี ถ้าใจยึดว่ามีในสิ่งใด ใจก็จะเกิด
ความทุกข์ในของส่ิงนั้น นี้เรียกว่า ตัณหาความอยากได้เกาะติดยึดม่ันในส่ิงที่ไม่ถาวร แต่อยากให
้
ส่ิงน้ันมีความถาวรตามท่ีเราต้องการ แม้เงนิ ทองกองสมบัติในโลกนี้เป็นวัตถุธาตุมีประจำโลกมาแต่กาล
ไหนๆ เป็นเพียงสิ่งอาศัยเพื่อใช้ดำรงชีวิตอยู่ได้เป็นวันๆ ไปเท่าน้ัน อีกไม่ก่ีวันเดือนปีก็จะม
ี
การเปลย่ี นแปลงไป ผู้ไม่มีปัญญาไมเ่ ขา้ ใจในสิง่ เหล่านี้จึงได้เกดิ ความทุกขใ์ จในวัตถุธาตุของโลกนี้ เมื่อใจ
ยังมียินดี ผกู พัน ยดึ มน่ั ถือมนั่ หว่ งหาอาทรในวตั ถุสมบัตขิ องโลกและในกามคุณท้ังหา้ อยู่ ใจก็จะมายดึ ถือ
เกาะติดเกดิ เปน็ ภพชาตอิ ยใู่ นโลกนี้ตอ่ ไปไมม่ ีทส่ี ้นิ สุดลงได้
พระองค์ใช้ปญั ญาพิจารณาตามความเปน็ จริงอยู่อยา่ งน้ี ใจจึงได้เกิดเป็น สัมมาทิฏฐิ มคี วามรู้
เห็นถกู ต้องชอบธรรม พระองค์จึงได้ประกาศรบั รองวา่ วธิ ีการปฏิบตั ิที่เปน็ แนวทางทถ่ี กู ตอ้ ง นี้เราได้
คน้ พบแลว้ ดว้ ยปญั ญาของพระองคเ์ อง ไมม่ ใี ครเปน็ ครอู าจารยใ์ หแ้ กเ่ รา ไมไ่ ดค้ น้ พบจากตำราแตอ่ ยา่ งใด
เพราะความเป็นจริงที่มีอยู่ในโลกนี้เป็นตำราให้ศึกษาดูอยู่แล้ว แต่ขาดปัญญาที่จะนำมาพิจารณา
เท่าน้ันเอง อุบายที่เป็นสัจธรรมความเป็นจริงมีอยู่ในโลกนี้มากมาย พระองค์ได้ตรัสว่า “เอาปลาย
ขิปปปญั ญานุสรณ์
166
เข็มท่ิมลงไปทีจ่ ดุ ไหนในโลกน้ี จะมีสจั ธรรมในจุดนั้นๆ “ถา้ ไม่มปี ัญญาจะนั่งทับ นอนทบั เหยยี บไปมา
กจ็ ะไมร่ ูเ้ ห็นในสจั ธรรมแตอ่ ยา่ งใด” ดงั คำวา่
นตฺถิ ปญฺา สมาอาภา
แสงสว่างอืน่ เสมอดว้ ยปญั ญาไมม่ ี
ปัญญาในทนี่ ้ี หมายถงึ ทสั สนะญาณ ทม่ี ีความแตกต่างกันกับ ญาณทัสสนะ
ทัสสนะญาณ หมายถึง เห็นก่อนรู้
ญาณทสั สนะ หมายถงึ รกู้ อ่ นเหน็
ท้ัง ๒ ญาณนี้ ต้องทำงานร่วมกนั หรอื รเู้ หน็ ไปพรอ้ มๆ กนั จึงจะเกดิ เป็นผล เช่น รูแ้ ลว้ ตอ้ งเหน็
ถา้ เพยี งรู้อยา่ งเดียวไมเ่ ห็นก็ไม่กลา้ ตดั สินใจวา่ ผดิ หรอื ถูกอาจจะเกิดความเขา้ ใจผดิ ไปได้ ถา้ เหน็ แลว้ ไมร่ ู้
ก็ไม่ทราบวา่ น้ีเป็นอะไร ก็ไม่สามารถตัดสนิ ใจในความผิดความถูกได้เช่นกัน ฉะน้ันญาณทสั สนะ หรอื
ทัสสนะญาณ ตอ้ งตีความหมายใหเ้ ข้าใจในเหตแุ ละผล เชน่ รู้สจั ธรรมไปตามตำรากพ็ ดู ไปตามตำราท
ี่
รู้มาเท่าน้ัน สัจธรรมของจริงก็จะไม่เห็น หรือเห็นในสัจธรรมความจริงแต่ไม่รู้ว่าส่ิงนี้เป็นสัจธรรมก็
เปลา่ ประโยชน์ กจ็ ะเกิดความลงั เลสงสยั ไม่แนน่ อนในการตัดสนิ ใจ
เหมือนกับบุคคลท่ีไปหาปลาที่จะเอามาทำเป็นอาหาร เม่ือเอามือคว้าลงไปในน้ำ มือได้กำคองู
เอาไว้แน่น ในความรู้สึกว่าเป็นปลา มีความดีใจว่าจะได้ปลาไปทำอาหารให้อิ่มทอง น้ีเพราะรู้อย่าง
เดียวการตัดสินใจย่อมผิดได้และมีความเข้าใจว่าเป็นปลาอยู่นั่นเอง เมื่อกำข้ึนมาพ้นจากน้ำแล้วจึงได้
เห็นว่าสิ่งท่ีกำอยู่น้ันเป็นงู ในความรู้ว่าเป็นปลาจะหมดไป เพราะได้เห็นของจริงว่าส่ิงน้ีเป็นงู วิธี
ป้องกันจะไม่ให้งูกัดเป็นวิธีไม่ยากเลย น้ีฉันใด การรู้ก่อนเห็นหรือการเห็นก่อนรู้ในสัจธรรมก็ฉันน้ัน
ดังทพี่ ระพทุ ธเจ้าตรสั ไว้วา่
เอส ธมฺโม สนนตฺ โน
สัจธรรมนัน้ เป็นของเกา่ มีมาตัง้ แตก่ าลไหนๆ
โลกมนุษย์ได้เกิดข้ึนมาแต่เม่ือไร สัจธรรมก็มีมาเป็นคู่อยู่กับโลกน้ีแต่เมื่อน้ัน คำว่า หลงโลก
ก็เพราะไม่มีปญั ญารเู้ หน็ ในสัจธรรมความเปน็ จรงิ ของสง่ิ ทมี่ ีอย่ใู นโลกน้ันเอง พระพุทธองคเ์ ป็นผูค้ น้ พบ
สัจธรรมความจริงก่อนใครๆ ในโลกน้ี พระองค์ก็ได้ใช้ปัญญาพิจารณาความเป็นจริงในสัจธรรมน้ี
จึงทำให้ใจของพระองค์ได้ละถอนปล่อยวาง ในสิ่งที่มีความเห็นผิด ความเข้าใจผิด ความหลงผิด
ให้สูญสิ้นไปจากใจ ก่อนท่ีพระองค์จะถึงจุดน้ีต้องใช้เวลานานหลายเดือน ในช่วงน้ีพระองค์มีเวลาทำ
167
ความเพียรอยู่ในที่แห่งนี้อย่างต่อเน่ือง พระองค์ได้ลอยถาดทองคำแล้วเอาถาดทองคำมาเป็นอุบายใน
การใชป้ ัญญา ดงั ท่ไี ดอ้ ธิบายมาแล้ว ถ้าเริม่ ต้นถกู กบั หลกั สัมมาทฏิ ฐิ ความเหน็ ทีถ่ กู ตอ้ งชอบธรรมไดแ้ ลว้
การใช้อบุ ายธรรมในการพิจารณาความเปน็ จริงอย่างอืน่ จงึ เป็นของง่าย
เครอื่ งมือฝึกปญั ญา : สติ สมาธิ ปัญญา
หากมีคำถามว่า ในช่วงนั้นพระองค์ทำสมาธิหรือไม่ ก็ตอบว่าพระองค์มีสมาธิอยู่ในใจอยู่แล้ว
แตเ่ ป็นสมาธติ ัง้ ใจม่นั สว่ นสมาธคิ วามสงบ พระองคไ์ ด้ทำมาแลว้ ในครั้งอยู่กบั ดาบสท้ังสอง การปฏิบตั ิ
ในครั้งนั้นไม่เจริญก้าวหนา้ แตอ่ ยา่ งใด ในขณะนพี้ ระองค์มาใชส้ มาธคิ วามต้งั ใจมน่ั เปน็ พลงั หนุนปัญญา
การทำสมาธิตั้งใจม่ันหนุนปัญญานี้ไม่ต้องนึกคำบริกรรมอะไร ความต้ังใจมั่นมีอยู่แล้วเพียงใช้ปัญญา
ประกอบเท่าน้ันเอง ความต้ังใจมั่นอยู่เรียกว่าสมาธิตั้งใจม่ัน การใช้ความคิดพิจารณาในหลักสัจธรรม
ตามความเป็นจริงเรียกว่า ปัญญา สติ ความระลึกรู้อยู่ว่า ขณะนี้พระองค์กำลังใช้ปัญญาพิจารณา
ในเร่ืองอะไร ฉะน้ัน สติ สมาธิ ปัญญา ท้ังสามนี้ทำงานร่วมกันเป็นทีม จะขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง
การปฏบิ ัตกิ ็จะไม่สมบรู ณ
์
ขณะน้ีพระองค์มีสติ สมาธิ ปัญญา พร้อมแล้ว การปฏิบัติธรรมของพระองค์จึงได้ก้าวหน้า
อย่างรวดเร็ว มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ อุบายวิธีการปฏิบัติของพระองค์จึงตรงต่อความบริสุทธิ์
ท่ีจะเข้าสู่วิมุตินิพพาน วิปัสสนาญาณได้เกิดขึ้นแก่พระองค์แล้วอย่างสมบูรณ์ จึงเป็นโลกวิทูรู้แจ้งโลก
ทง้ั หมด ดังพระบาลีว่า
นตฺถิ โลเก รโหนาม ความลับไมม่ ใี นโลกทั้งสาม
กามโลก รูปโลก อรูปโลก ไม่มีส่วนใดในสามภพมาปิดบังในวิปัสสนาญาณของพระองค์
แมแ้ ต่นอ้ ย และมีญาณอน่ื ๆ เกิดขนึ้ กับพระองค์ คือ อภิญญาญาณ
ขิปปปญั ญานสุ รณ์
168
สมั มาทิฏฐิ เปน็ จุดเรม่ิ ตน้ ของการปฏบิ ัต
ิ
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าองค์เดียวจะทำไม่สำเร็จ เพราะไม่มีพยานบุคคลมา
เป็นหลักฐาน พระพุทธองค์ทรงปรารภถึงดาบสท้ังสองก็ปรากฏญาณรู้ว่า ดาบสท้ังสองได้มรณภาพไป
แล้วก่อนตรัสรู้ ๗ วัน พระพุทธเจ้าจึงดำริว่า เสียดายจริงหนอ ถ้าดาบสทั้งสองได้ฟังธรรมจากเรา
ดาบสทั้งสองจะได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ในชาตินี้ ท่ีผ่านมาดาบสท้ังสองได้บำเพ็ญบารมีพร้อมที่
จะได้เป็นพระอรหันต์อยู่แล้ว แต่ดาบสท้ังสองภาวนาปฏิบัติผิดวิธี ไปติดทำสติและสมาธิความสงบ
หลงอยู่ในรูปฌาน อรูปฌาน เมื่อตายไปก็ได้ไปเกิดในภพของอรูปพรหม มีอายุยาวนานทีเดียว เมื่อ
ศาสนาพระศรีอริยเมตไตรย์ได้อุบัติเกิดข้ึนในโลก อาจารย์ท้ังสองที่เป็นพรหมยังไม่ได้ลงมาเกิดในเมือง
มนุษย์ ถึงจะมีบารมีพร้อมท่ีจะได้เป็นพระอรหันต์ในชาติน้ีอยู่ก็ตาม ถ้าภาวนาผิดทางบารมีก็ปิดตัวลง
ชว่ ยอะไรไมไ่ ดเ้ ลย หรือในยุคนหี้ ากมีผูไ้ ด้บำเพญ็ กศุ ลมาแลว้ พร้อมท่จี ะไดบ้ รรลธุ รรมเปน็ พระอรยิ เจา้ ได้
ถา้ ภาวนาผิดแนวทางของพระพุทธเจา้ กจ็ ะหมดโอกาสเหมอื นกบั ดาบสท้งั สองน้ันเอง เพราะแนวทาง
การปฏิบัติท่ีจะเข้าสู่มรรคผลนิพพานได้มีวิธีจำกัด และก็มีวิธีเดียวท่ีเรียกว่า สัมมาทิฏฐิ ความเห็นที
่
ถูกต้องชอบธรรมเท่านั้น ถ้าตั้งหลักสัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบไม่ได้ในชาตินี้ ก็จะหมดโอกาสใน
มรรคผลนิพพานทันที เพราะในยุคน้ีมีผู้สอนวิธีการปฏิบัติที่ความแตกต่างกัน แต่ละครูอาจารย์ก็มี
ความมั่นใจในตัวเองว่า วิธีปฏิบัติของตัวเองมีความถูกต้อง ในยุคน้ีจะไม่มีใครๆ ช่วยกันได้ เป็นใน
ลกั ษณะตวั ใครตัวมนั ถงึ จะไมไ่ ด้มรรคผลในชาตนิ ้ี วธิ ีปฏบิ ตั ิทีท่ ำกันอยกู่ จ็ ะเปน็ บารมีของท่านต่อไป
พระพทุ ธเจา้ ไดไ้ ปแสดงธรรมโปรดปญั จวคั คยี ์ ทปี่ า่ อสิ ปิ ตนมฤคทายวนั เมืองพาราณสี ด้วยหมวด
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ในจุดน้ีมีความสำคัญเป็นอย่างย่ิง ท่ีพระพุทธเจ้าได้ประกาศพระพุทธศาสนา
เปน็ ครง้ั แรก จะว่าตง้ั รากฐานพระพุทธศาสนาให้เกิดข้นึ ในโลกก็ว่าได้ มพี ระรัตนตรยั ทส่ี มบรู ณ์เกิดขน้ึ
ในโลก คอื พุทธรตั นะ ธรรมรตั นะ สังฆรัตนะ ทพ่ี วกเราไดก้ ราบไหว้กนั ในปัจจุบนั น้ี พระพทุ ธองค์
ได้ยกเอาสัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ สัมมาสังกัปโป ใช้ปัญญาดำริพิจารณาให้ถูกกับหลักความจริง
น้ีเป็นหมวดของปัญญา ท่ีพระพุทธองค์ได้ยกขึ้นมาแสดงในจุดเริ่มต้น เฉพาะหลักสัมมาทิฏฐิ
ความเหน็ ชอบ จงึ เปน็ หมวดธรรมทสี่ ำคญั ใหแ้ กห่ มวดธรรมทง้ั หลาย ดงั คำวา่
หตถฺ ปิ าทํ เตสํ อคฺคมกฺขายติ
สมฺมาทฏิ ฺ€ิ เตสํ ธมฺมานํ อคคฺ มกขฺ ายติ
รอยเท้าสตั ว์ทงั้ หลายยอ่ มรวมอยู่ในรอยเท้าชา้ ง ฉันใด
ธรรมทง้ั หลายย่อมรวมอย่ใู นสัมมาทฏิ ฐิ ก็ฉนั นั้น
169
สัมมาทฏิ ฐ ิ ความเหน็ ชอบ เปน็ จดุ เร่ิมต้นในการปฏบิ ตั ิธรรม ความเห็นชอบเปน็
แม่ทัพธรรมนำหนา้ ให้แก่ธรรมทัง้ หลาย
สมั มาสังกัปโป การใชป้ ญั ญาพจิ ารณาใหถ้ กู ตอ้ งตามความเปน็ จรงิ
สมั มาวาจา การพดู ในเรื่องใดใหม้ คี วามชอบธรรม
สมั มากัมมันโต การงานท่ีทำให้เป็นไปตามความถกู ต้อง
สัมมาอาชโี ว การเล้ียงชีวิตใหเ้ ป็นไปในทางทช่ี อบ
สัมมาวายาโม ความเพยี รพยายามทำและพดู แมแ้ ต่การคดิ ในเรื่องใด
กใ็ ห้มีความเพียรชอบในส่ิงนน้ั
สัมมาสติ ความระลกึ ชอบ
สัมมาสมาธ ิ ตั้งใจใหม้ คี วามชอบธรรมเอาไว้
ในมรรคท้งั ๗ หมวดนก้ี ็รวมอยูใ่ นสัมมาทฏิ ฐิ ความเหน็ ชอบนีท้ ัง้ หมด เปรียบเหมือนกับแมไ่ ก่
ที่มลี กู ไก่ ๗ ตวั แมไ่ กไ่ ปทางไหน ลกู ไก่กต็ ้องไปตามแม่ น้ีฉันใด หมวดธรรมท้ัง ๗ หมวดกม็ ารวมอยู่
ในสมั มาทิฏฐิ ก็ฉันนนั้ สมั มาทิฏฐิจงึ เป็นรากแกว้ ใหแ้ กห่ มวดธรรมทั้งหลาย ถา้ ผ้ปู ฏบิ ตั มิ ีความเหน็ เป็น
สัมมาทิฏฐิได้แล้ว ผู้น้ันเหมือนได้ก้าวเข้าสู่เส้นทางของอริยมรรคได้ เมื่อปฏิบัติตามแนวทางอริยมรรค
อยา่ งต่อเนือ่ ง มโี อกาสทจ่ี ะเข้าถึงกระแสธรรมในชาตนิ ี้
ในมรรค ๘ เป็นข้อบัญญัติที่พระพุทธเจ้าได้เรียบเรียงไว้แล้วเป็นอย่างดี เป็นแนวทางปฏิบัติที่
เชื่อมโยงตอ่ กันและเป็นวิธปี ฏบิ ตั ิทงี่ ่ายไม่ขดั กันเริ่มตน้ จาก
สมั มาทิฏฐิ ความเห็นชอบ สมั มาสงั กปั โป การดำรชิ อบ สองขอ้ แรกเป็นหมวดของปญั ญา
สัมมาวาจา เจรจาชอบ สัมมากัมมันตะ ทำการงานชอบ สัมมาอาชีวะ การเล้ียงชีวิตชอบ
สามขอ้ ในท่ามกลางเปน็ หมวดของศลี
สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ สัมมาสติ ความระลึกชอบ สัมมาสมาธิ ความต้ังใจม่ันชอบ
สามข้อหลังเป็นหมวดของสมาธิ
ถ้าเรยี งลำดบั ของมรรค ๘ ต้องวางตำแหนง่ ของหมวดธรรมให้เปน็ ไปตามหลักเดมิ จะออกมาใน
รูปแบบ ปัญญา ศีล สมาธิ ด้วยเหตุผลควรออกมาเป็นอย่างน้ีถ้าเรียบเรียงไตรสิกขาให้เป็นไปตาม
มรรค ๘ ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ไดว้ างเอาไวจ้ ะงา่ ยตอ่ การปฏบิ ตั ิ เพราะทกุ อยา่ งจะตอ้ งเรม่ิ ตน้ จากความเหน็ ชอบ
ทง้ั นนั้ แต่ในยุคปัจจุบันมาย่อมรรค ๘ เปน็ ไตรสิกขา ทไี่ ด้ศกึ ษาและรกู้ นั อยู่คือ ศีล สมาธิ ปัญญา
ถา้ เอามาเพอ่ื การศกึ ษาก็ไมม่ ปี ัญหาอะไร ถา้ นำมาปฏบิ ัติจะขัดกันกบั มรรค ๘ อยา่ งเห็นได้ชัดทเี ดียว
ขปิ ปปญั ญานุสรณ์
170
พยานบคุ คลในคร้ังพุทธกาลพิจารณาอบุ ายดว้ ยปัญญา
จะยกบุคลาธิษฐานขึ้นมาเป็นองค์ประกอบให้เห็นภาพได้ชัดเจน พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ใน
พระสตู รเป็นตัวอย่างมีจำนวนมากทีเดียว ถา้ นำมาเขียนใหท้ ่านได้รู้กจ็ ะเป็นหนงั สือเลม่ ใหญ่ จะอธบิ าย
ในบางเรอ่ื งพอจะมองเห็นภาพเปน็ ตวั อยา่ งเทา่ นนั้
เมื่อสมัยครั้งศาสนาพระพุทธเจ้ากัสสโปมีกุมารีคนหน่ึง นางได้บำเพ็ญปัญญาบารมีเป็นนิสัย
นางได้ใช้ปัญญาพิจารณาความตายอยู่เป็นนิจ พิจารณาความตายท่ีจะมีแก่ตัวเอง พิจารณาความตาย
ท่ีจะมีแก่คนอ่ืนสัตว์อื่น พิจารณาความตายท่ีคนอ่ืนสัตว์อื่นได้ตายไปแล้ว คนและสัตว์ที่มีชีวิตอยู่ก็
จะตายในวนั ขา้ งหนา้ นางพจิ ารณาอยอู่ ย่างนเี้ ป็นนิสัยในอริ ยิ าบถทงั้ สี่ จะยนื เดินนัง่ นอน หรือทำงาน
อยูก่ ็มสี ตปิ ญั ญาพจิ ารณาความตายอยูเ่ สมอ ทกุ คนเมื่อเกดิ แล้วจะอยไู่ ด้เพียงชว่ั ขณะแล้วตายจากกันไป
ทรัพย์สินเงินทองสมบัติทั้งหลายท่ีมีอยู่ เมื่อความตายมาถึงตัวแล้วสมบัติท่ีมีอยู่ก็ช่วยไม่ได้ เม่ือตาย
แล้วจะเอาสมบัติเหล่านั้นติดตามตัวไปไม่ได้เลย สมบัติท้ังหลายก็จะตกทอดแก่ลูกหลานต่อไป เมื่อลูก
หลานตายไปก็จะสืบทอดต่อๆ กันไป ไม่มีใครๆ ถือกรรมสิทธิ์ในวัตถุธาตุของโลกนี้ได้ เพราะสมบัติ
เหล่านี้เป็นสิ่งอาศัยขณะที่มีชีวิตอยู่เท่านั้น นางใช้ปัญญาสอนใจตัวเองอยู่เสมอทุกคืนวัน ใจได้เกิด
ความสลดสังเวชที่เกิดตายซ้ำซากจำเจ ไม่คุ้มค่าต่อความทุกข์ท่ีได้รับแต่ละวัน ยิ่งใช้ปัญญาพิจารณา
ความตายมากเท่าไร ย่ิงรู้เห็นรูปร่างไม่มีสาระมากข้ึน ใจจึงไม่ยึดติดผูกพันในส่ิงใดๆ เม่ือนางตายไป
ก็ได้ไปเสวยสขุ ในเทวโลก เมือ่ บญุ กุศลหมดลงจงึ ไดม้ าเกดิ เป็นมนษุ ย์ในชาติใหม่
ในชาติน้ีนางได้มาเกิดในตระกูลทอหูก ในยุคที่พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันยังมีชีวิตอยู่ ในวันหนึ่ง
พระพุทธเจ้าลงสู่ธรรมสภาเพื่อแสดงธรรม เมื่อพระองค์ขึ้นประทับบนธรรมาสน์แล้ว ตามปกติ
พระองคจ์ ะแสดงธรรมตอ่ ไป ในครั้งนนั้ พระองค์กลับนิง่ เฉย เพราะนางกุมารีกรอหลอดด้ายยงั ไม่เสรจ็
เม่ือนางกรอหลอดด้ายเสร็จก็จะถือตะกร้าหลอดด้ายเดินผ่านมา เมื่อนางได้มองเห็นมหาชนน่ังเงียบอยู่
กไ็ ด้น่ังลงสังเกตดูเหตกุ ารณ์ว่า มหาชนน่ังเงียบอยดู่ ้วยเหตุอันใดมีเรอื่ งอะไรเกดิ ข้ึน ไม่มีเจตนาที่จะไป
ฟังธรรมแต่อย่างใดแต่ก็ได้ฟังธรรมโดยบังเอิญ เม่ือนางกุมารีน่ังลงเท่านั้น พระพุทธองค์ก็เร่ิมแสดง
ธรรมทันที หัวข้อท่ีเป็นอุบายธรรมที่พระองค์ยกขึ้นมาแสดง เป็นเรื่องความสิ้นสุดของชีวิตไม่มีส่ิงใด
อยู่คงทีต่ ลอดไปได้ ทเี่ รยี กวา่ เกดิ ข้นึ มาแลว้ จะตั้งอย่ไู ดเ้ พยี งชวั่ ขณะ จากนน้ั ก็ตายไป พระพุทธเจ้า
อุปมาเหมือนกบั หลอดดา้ ย เมือ่ นำไปทอหูก เส้นดา้ ยในหลอดก็หมดไป น้ีฉนั ใด ชวี ติ ของคนและสตั ว์ท่ี
เกดิ มาจะอยูไ่ ดช้ ่ัวขณะ ในทีส่ ดุ ก็หมดสภาพสลายตายไปไมม่ สี ิง่ ใดตง้ั อยู่ได้ กฉ็ ันน้นั
171
เม่ือมาเข้าใจความเป็นจริงอย่างน้ี จึงเรียกว่า “ปัญญาได้เกิดข้ึนแล้ว” นิสัยเคยได้ใช้ปัญญา
พิจารณาความตายมาในชาติอดีต เกิดสะกิดใจให้ได้ติดต่อกันกับปัญญาใหม่ เช่ือมโยงต่อกันกับปัญญา
เก่าท่ีเคยบำเพ็ญมา นางก็เกิดดวงตาเห็นธรรมตามความเป็นจริงว่า ทุกส่ิงท่ีเกิดข้ึนมาจะต้องมี
ความตายเป็นท่ีส้ินสุดต้ังอยู่ไม่ได้ เมื่อมีปัญญารู้เห็นตามความจริงอย่างนี้นางก็ได้บรรลุธรรมเป็น
พระอริยเจ้าขั้นพระโสดาบันในขณะนั้นเอง
พยานบุคคลอีกท่านหน่ึง พระจุฬปันถกรับผ้าขาวที่พระพุทธเจ้าได้มอบให้แล้ว ก่อนมอบผ้าให้
พระองคท์ รงตรสั ไวว้ า่ “ดูก่อนจฬุ ปนั ถก เธอจงเอาผ้าขาวผนื นไี้ ปขึงเอาไวท้ นี่ ่นั แลว้ กล็ า้ งมือใหส้ ะอาด
แล้วก็มาจับผ้าขาวผืนนี้ ลูบไปลูบมา เมื่อผ้าสกปรกโสโครกเม่ือไหร่ ก็เอาผ้าผืนน้ันแหละไปซักใน
รมิ สระนั่น แลว้ เอามาตากมาขงึ ใหมแ่ ล้วกจ็ ับผา้ อีก” ตรสั เสรจ็ แลว้ พระองค์ทา่ นก็เสดจ็ ไป
พระจุฬปันถกได้ปฏิบัติตาม ท่านเอาผ้ามาขึง ล้างมือให้สะอาดแล้วก็มาจับผ้าผืนน้ัน มีคำนึก
ในใจว่า รโชหรณํ รชํหรติ ไปๆ มาๆ ในที่สุดผ้าสีขาวน้ันก็สกปรกก่ำดำขึ้นมา ก็นึกในใจว่า..เอ๊..
ผ้าสกปรกได้อย่างไร มือเราก็ล้างสะอาดมาแล้วทำไมผ้าจึงดำก่ำขึ้นมาอย่างน้ี สกปรกข้ึนมาอย่างน้ี
ก็เลยเอาผ้าผืนนั้นไปซัก ซักไปซักมาถูไปถูมา เอ๊..ผ้ามันสกปรกอย่างน้ีๆ ท่านก็โอปนยิโก น้อมเอา
ผ้าผืนน้นั มาเปน็ อุบายสอนใจตวั เอง วา่ ผา้ ผนื นีส้ กปรกเพราะอะไร เพราะถูกไอมือเรา เหง่ือในมอื เรา
ในตัวเราทั้งหมดน้ีมันก็สกปรกทั้งนั้น เมื่อมาจับถูกผ้ามันก็สกปรกข้ึนมาดังน้ีฉันใด...ใจก็ฉันน้ัน ใจเรา
สกปรกโสโครกเพราะอะไร เพราะมนั ถูกกเิ ลสตัณหาน้อยใหญ่ รุมล้อมใจเขา้ มาหาเราแต่ละวันๆ มรี ูป
เสียง กล่นิ รส โผฏฐพั พะมีความยินดใี นกามคุณท้ัง ๕ เหลา่ น้ี ก็เหน็ ว่าใจสกปรก กม็ าสอนใจตัวเอง
พระจุฬปันถกเอาผ้าผืนขาวๆ ไปจับแล้วสกปรกไปซักท่ีน้ำ แล้วก็เอาผ้าขาวนั้นมาเป็นอุบาย
ฝึกปญั ญา มาคิดพจิ ารณา ทนี ้ีการคิดพิจารณานั้น ความตัง้ ใจคิด การตัง้ ใจ เรยี กวา่ สมาธิ การคิด
เรยี กวา่ ปัญญา หรอื ขณะที่ทา่ นจบั ผา้ ขาวนกึ คำบรกิ รรมเป็นสมาธิ เรยี กวา่ สตสิ มาธิ แต่เปน็ สมาธิ
ความตัง้ ใจมน่ั ยงั ไม่ถึงขน้ั สมาธิความสงบแตอ่ ยา่ งใด ท่านซักผ้ากเ็ ป็นสมาธติ งั้ ใจม่ัน การทำสมาธติ งั้ ใจ
มัน่ อยา่ งนี้แล จงึ เป็นว่าสมาธปิ ระกอบกนั ปัญญาคูเ่ คยี งกัน เขาเรียกว่า สมาธอิ ยทู่ ไี่ หนปัญญาอยู่ทนี่ ่นั
ปญั ญาอยูท่ ไ่ี หนสมาธอิ ยู่ทนี่ ัน่ ของคูเ่ คียงกัน นี้เอง..ในท่ีสดุ พระจุฬปนั ถก จงึ ไดบ้ รรลเุ ป็นพระอรหนั ต์
ขณะกำลังซกั ผ้าอย่นู น่ั เอง น่เี พราะท่านมปี ัญญาคิด โอปนยิโก เอาผา้ ขาวผนื น้ันเองมาพิจารณา อัน
อุบายของปัญญามีมากมายมหาศาล ถ้าเราศึกษาประวัติพระอริยเจ้าในครั้งพุทธกาลแล้ว ในยุคนั้น
สมยั น้ันผู้มีนสิ ยั ปัญญาวมิ ุตมิ ากทส่ี ุดถึง ๗๐ เปอรเ์ ซนต์ ผมู้ ีนสิ ยั เจโตวิมุตมิ ี ๓๐ เปอร์เซนต์ ทำไมจึง
ต่างกัน เพราะพวกปัญญาวิมุติน้ี ท่านเหล่าน้ีทำสมาธิความสงบไม่เก่ง ทำได้แค่สมาธิตั้งใจม่ันเท่านั้น
แต่พวกเจโตวิมตุ ิ เกง่ ในการทำสมาธิความสงบ แตป่ ัญญาไมเ่ กง่ หรอื คดิ ไมเ่ ปน็ น่ันเอง
(เรยี บเรยี งและคดั เลือกเนอื้ หามาจากหนงั สอื ธรรมะ ของหลวงพ่อทลู ขิปปฺ ปโฺ หลายเลม่ ดว้ ยกัน)
ขปิ ปปัญญานุสรณ
์
172
แผนทีเ่ สน้ ทางลัด....ตรง มรรค ผล นิพพาน
หลวงพ่อทูลได้วางแนวทางการปฏิบัติภาวนา ตามแนวทางการตรัสรู้และการเผยแผ่ธรรมะ
ดว้ ยหลกั สัมมาทิฏฐิ ความเหน็ ท่ถี ูกต้องชอบธรรม เหมอื นครัง้ พทุ ธกาล โดยใช้อุบายการพิจารณาดว้ ย
ปญั ญา ดังคำทีพ่ ระพทุ ธองคต์ รสั ไวว้ า่
ปญฺาย ปริสุฌฺชติ
จติ จะมคี วามบรสิ ุทธ์ิไดเ้ พราะปญั ญา
อบุ ายการสรา้ งปญั ญาใหเ้ กิดข้ึน
การสรา้ งปญั ญาใหเ้ กดิ ขน้ึ ในครงั้ แรกน้ัน ตอ้ งฝกึ หดั จิตใหเ้ ปน็ ผ้ชู า่ งนกึ ชา่ งคดิ ตอ้ งฝึกจิตใหเ้ ปน็
นกั สงั เกตใหม้ เี หตมุ ผี ลใหเ้ ปน็ ไปตามความเปน็ จรงิ ฝกึ วจิ ยั ฝกึ วเิ คราะห์ ฝกึ คำนวณ ประมวลเหตกุ ารณ์
ต่างๆ มาพิจารณาให้ลงสู่ไตรลักษณ์ตามหลักความเป็นจริง การฝึกปัญญาน้ันฝึกได้ทุกกาล ฝึกได
้
ทุกสถานที่ จะยืนเดินนั่งนอนก็ฝึกไดท้ ัง้ นน้ั เชน่ ขณะเดินจงกรมหรอื หลงั ออกจากการทำสมาธมิ าแลว้
การฝกึ ปญั ญาแยกออกเปน็ ๒ ทาง ทางหนง่ึ คือฝกึ ปัญญาไปทางโลก นน้ั เป็นวธิ ฝี กึ ปัญญาเพ่ือ
สร้างสรรค์โลก เรียกว่าปัญญาโลกีย์ ปัญญาโลกีย์น้ีเป็นปัญญาประจำโลก ปัญญาประเภทนี้ไม่จำกัด
เฉพาะพทุ ธศาสนาอยา่ งเดียว แม้ศาสนาอ่ืนเขากม็ ีปญั ญาเหมอื นกนั แม้คนท่ไี มน่ บั ถือศาสนาอะไรเลย
เขากม็ ปี ญั ญาประเภทนไี้ ด
้
ฉะนน้ั การสรา้ งโลกทกุ รปู แบบกต็ อ้ งใชป้ ญั ญาโลกยี น์ เ้ี ปน็ หลกั แมก้ ารศกึ ษาเลา่ เรยี นหรอื การเขยี น
แปลนแผนผังในการก่อสร้างต่างๆ ก็ต้องคิดค้นด้วยปัญญา หาข้อมูลมาเป็นหลักวิชาการ โลกมีความ
เจรญิ ดว้ ยวทิ ยาศาสตรต์ า่ งๆ กต็ อ้ งใชป้ ญั ญาทง้ั นนั้ เมอื่ มปี ญั ญาสรา้ งโลกใหเ้ จรญิ ได้ ในทส่ี ดุ กใ็ ชป้ ญั ญา
คิดสร้างอาวุธนานาชนิดเพ่ือครองอำนาจ ต่างคนต่างอยากมีอำนาจ ในที่สุดความเจริญของโลกก็จะ
เสอ่ื มลงเพราะปญั ญาโลกยี น์ น้ั เอง
ส่วนการฝึกปัญญาทางที่สองน้ัน เป็นปัญญาโลกีย์ประเภทเดียวกัน แต่นำมาใช้ในทางธรรม
เพ่ือให้เป็นประโยชน์ในทางธรรม ให้พร้อมด้วยเหตุด้วยผลเพราะในโลกนี้มีสัจธรรมแฝงอยู่ทุกแห่งหน
ถึงคนจะไม่สนใจในธรรมก็ตาม แต่ธรรมก็มีอยู่ประจำโลกมาแต่กาลไหนๆ ฉะนั้นโลกกับธรรมยัง
กลมกลืนกันอยู่ ผู้ไม่เข้าใจก็ถือว่าเป็นโลกตลอดไป ถ้าหากผู้มีสติปัญญาก็สามารถน้อมโลกมาเป็น
ธรรมได้ ดงั คำวา่ “โลกอยู่ทไ่ี หน ธรรมกอ็ ยู่ท่ีนนั้ ”
173
ฉะนั้น การพิจารณาโลกให้เป็นธรรมนี้ ขึ้นอยู่กับสติปัญญา และจิตน้อมโลกทั้งหมดลงส่
ู
ไตรลักษณ์ เพราะโลกอยู่ท่ีไหน สัจธรรมก็มีอยู่ท่ีนั้น ในโลกน้ีจะเป็นสิ่งที่มีวิญญาณครอง หรือไม่มี
วญิ ญาณครองกต็ าม ยอ่ มมีสัจธรรมคอื ความจริงแฝงอยู่ตลอดเวลา คอื มีสภาพความเป็นทุกข์ มสี ภาพ
ความไมเ่ ทยี่ ง มสี ภาพทสี่ ญู สลายไมเ่ ปน็ สตั วแ์ ละบคุ คลใดๆ ทงั้ สนิ้ จงึ เรยี กวา่ สังขารโลก สังขารธรรม
การฝึกปัญญาในช่วงแรกน้ัน ก็ต้องอาศัยสัญญาและสมมติมาเป็นหลัก เพ่ือเป็นสนามฝึกให้
ปัญญาเกิดความเคยชิน และชำนาญในการค้นคิดให้ถูกกับความเป็นจริง เรียกว่าจริงสมมติฉันนั้น
ถึงจติ ยงั ไมย่ อมรบั ความจริงตามปัญญาก็ตาม การพิจารณาก็ต้องค้นคดิ กันไปอยา่ งตอ่ เนือ่ ง เหมือนเดก็
ท่เี รยี นหนังสือในขัน้ ตน้ เด็กยงั ไมเ่ ข้าใจในหลักการ และยังไม่เขา้ ใจในการสอนของครู แต่ครูกต็ ้องสอน
อธบิ ายวชิ าตา่ งๆ ให้เด็กฟงั อยา่ งซ้ำๆ ซากๆ หลายคร้งั หลายหน จนเด็กเกิดความเคยชนิ ความร้แู ละ
วิชานน้ั ๆ ครสู อนไปอยา่ งไร ความเขา้ ใจของเดก็ กจ็ ะค่อยซาบซงึ้ เขา้ ไปในหวั ใจเดก็ ไดน้ ี้ฉนั นัน้
ปัญญาสอนจติ ใหม้ คี วามร้รู อบ
เพื่อให้จิตได้รู้ในสรรพสังขารท่ีเกิดข้ึน ต้ังอยู่ และดับไป การพิจารณาด้วยปัญญาน้ัน ต้องม
ี
การเขา้ การออกตามเหตุการณ์ เชน่ ไปเหน็ เรอ่ื งภายนอก เห็นคนแก่ เห็นคนเจ็บ เห็นคนตาย ก็นอ้ ม
เข้ามาภายในคอื ตวั เอง ว่าเรากต็ ้องเป็นอย่างนน้ั หรือน้อมตวั เองออกไปเทยี บกบั สงิ่ ภายนอก ใหร้ ู้เหน็
เป็นสภาพเดียวกันว่า เราก็มีความแก่ ความเจ็บ ความตาย คนอ่ืนเป็นอย่างไร เราก็เป็นอย่างนั้น
คนอื่นมีความทุกข์ เราก็มีความทุกข์ คนอื่นไม่เท่ียง เราก็ไม่เท่ียง ร่างกายคนอ่ืนเป็นอนัตตาไม่ใช
่
ตัวตน ร่างกายเราก็เป็นอนัตตา ความสูญไปจากตัวตนเช่นกัน ไปเห็นซากศพคนตายไปในลักษณะใด
ก็น้อมเขา้ มาดูรา่ งกายตวั เองให้เห็นเปน็ ซากศพเหมอื นกัน
ปัญญาดี จะมากหรือนอ้ ยก็ดี ข้อสำคัญคอื ความเฉียบแหลมเปน็ หลกั (วิจกขฺ ณตา) นกั ภาวนา
จะสำนึกและสร้างความเฉียบแหลมให้เกิดขึ้นที่ใจให้ได้ จะเป็นเหตุให้รู้เท่าอารมณ์ของอายตนะได้
ทกุ ขณะ ถา้ ขาดความเฉยี บแหลมแลว้ ใจอาจจะเผลอตัวไดง้ ่าย อารมณข์ องใจท่มี อี ย่กู ็ไมร่ วู้ ิธีการแก้ไข
จึงปล่อยให้กิเลส ตัณหาฉุดลากไปตามอารมณ์ที่ชอบ สมมติเอาอารมณ์ของอดีตที่ผ่านมาพาให้เกิด
อารมณ์ของอนาคตมาบดขย้ีหัวใจตัวเอง ในปัจจุบันใจจะหันเหเซซวนไปตามอารมณ์ต่างๆ ไม่มีทาง
สนิ้ สุดลงได้
ขปิ ปปญั ญานุสรณ์
174
การฝึกปัญญา อยา่ เอาตามตำราและอย่าทงิ้ ตำรา
ฉะนัน้ ขอใหน้ ักปฏิบัตทิ ั้งหลายผมู้ ีความมุง่ หมายอยากใหป้ ญั ญาน้ีเกิดข้นึ ผ้นู ั้นกต็ อ้ งมีความขยนั
ฝึกสติปัญญาและฝึกสติสมาธิให้มาก ในช่วงไหนมีเวลาฝึกสติสมาธิก็ฝึก ช่วงไหนมีเวลาฝึกสติปัญญา
กต็ อ้ งฝึก การฝึกปญั ญาไมจ่ ำเป็นตอ้ งทำสมาธกิ ่อนทกุ ครั้งไป
ตามปกติปัญญาเรามอี ยู่แลว้ ให้พจิ ารณาหาอบุ ายฝกึ ปญั ญาไดเ้ ลย เรอ่ื งการละถอนปลอ่ ยวางกเิ ลส
ตัณหาในช่วงนี้ อย่าพ่ึงไปสนใจ เพราะขณะน้ี เรามีหน้าที่ฝึกสติปัญญาให้เกิดความชำนาญเท่าน้ัน
เปรียบเหมือนกับผู้ที่ฝึกการร้องเพลง ก่อนท่ีจะได้เข้าอัดแผ่นเสียง หรือจับไมค์ร้องบนเวทีได้ เขาต้อง
ฝึกการขบั ร้องเพลงนั้นๆ นบั รอบไมไ่ ด้ จนเกิดความชำนาญและมน่ั ใจในตนเอง จงึ จะสามารถขนึ้ สเู่ วที
แสดงต่อหนา้ สาธารณชนได้ น้ฉี ันใด การฝกึ ปัญญากว่าจะเกิดความชำนาญไดน้ ั้น ตอ้ งมคี วามหมนั่ ขยันใน
การคิดพิจารณาอยเู่ สมอ
ส่วนมากผู้ปฏิบัตจิ ะเขา้ ใจว่าปญั ญาจะตอ้ งเกิดจากสมาธิ ทีจ่ ริงหาใชไ่ ม่เพราะอบุ ายการทำสมาธิ
ก็เพ่ือนำไปเสริมปัญญาที่มีอยู่เท่านั้น ผู้ปฏิบัติจะปิดก้ันปัญญาของตนเองโดยไม่รู้ตัว ถ้าฝึกในสมาธ
ิ
มากไปจนลืมใช้ปัญญา หรือถ้าฝึกสมาธิให้มีความสงบลึกมากจนจิตดิ่งลงสู่อุเบกขา ปัญญาก็จะหมด
สภาพทนั ทเี พราะไมม่ คี วามยนิ ดี ไมม่ คี วามยนิ รา้ ยในสง่ิ ใดทง้ั สน้ิ เมอ่ื สมาธจิ ะเสอ่ื ม ความสขุ ทางใจจะ
หมดไปก็จะกลับมาทำสมาธิอีก จนไม่มีเวลาใช้ปัญญาพิจารณาในสัจธรรมใดๆ หรืออีกกรณีหนึ่ง
ผูป้ ฏบิ ตั ิศึกษาธรรมะในหมวดตา่ งๆ รมู้ ากเกนิ ไป แทนท่ีจะศกึ ษาธรรมะมาเปน็ อุบายประกอบในการใช
้
จินตามยปัญญา เพือ่ เป็นอุบายฝกึ ปัญญาตัวเอง กฝ็ กึ ไมไ่ ด้ หรอื ฟังเทศนจ์ ากครูอาจารย์ เพอ่ื พิจารณา
ใหเ้ กิดปัญญาขึน้ ในตน ก็ทำไมไ่ ด้ เปน็ เพราะอะไร เหตุผลกค็ อื นกั ปฏิบัตทิ า่ นน้ันรใู้ นธรรมะหมวดนัน้ ๆ
แลว้ นี่เอง ธรรมะหมวดน้ันกร็ ู้ ธรรมะหมวดนี้กร็ ู้ เมือ่ รู้แลว้ อยา่ งน้จี ะพิจารณาในสัจธรรมอะไรไดเ้ ล่า
ถ้ามีคำถามว่าการใช้ปัญญาพิจารณาในธรรมะท่ีได้ศึกษามาแล้ว จะเรียกว่าใช้ปัญญาพิจารณา
ในหมวดธรรมนั้นถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง แต่เป็นปัญญาในภาคปริยัติ ถึงจะใช้ปัญญาพิจารณาใน
หมวดธรรมทีเ่ รยี นมาได้อย่างละเอียดสกั ปานใดกต็ าม ก็ยังเปน็ ปญั ญาในภาคปริยตั อิ ยูน่ น่ั เอง จะเอาปญั ญา
ในระดับนี้ไปหักล้างกิเลสตัณหาให้หมดไปจากใจยังไม่ได้ เพราะปัญญาท่ีพิจารณาอยู่น้ัน เป็นปัญญา
เลียนแบบจากตำราท่ีอธิบายไว้แล้ว หรือใช้ปัญญาพิจารณาจากปัญญาของผู้อ่ืน ยังไม่เป็นปัญญา
ของตัวเอง ปญั ญาทเี่ ลยี นแบบจากผูอ้ ่นื นั้น จะไม่ทำให้เกิดความแยบคาย และหายสงสัยไดเ้ ลย กเิ ลส
ตัณหา ความโลภ ความโกรธ ความหลง ราคะความยินดีในรูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะก็ยัง
ฝงั แนน่ อยู่ทใ่ี จตามเดิม
175
ยกตัวอยา่ งในครัง้ พทุ ธกาล พระโปฐลิ ะทีม่ ีความรดู้ ี มีปญั ญารอบร้ใู นปริยัติดีมาก เป็นธรรมกถกึ
นักเทศนเ์ อกในยุคนน้ั จะหาผ้เู ทียบเทา่ ได้ยาก ความรทู้ ่ีไดศ้ ึกษามา ปญั ญาในทางปริยตั ิกพ็ รอ้ ม แตก่ น็ ำ
มาทำลายกิเลสตัณหาให้หมดไปจากใจไมไ่ ด้ ฉะนน้ั ปญั ญาท่ีจะนำมาทำลายกเิ ลส ตัณหา อวิชชาได้ ตอ้ ง
ให้เป็นปัญญาเฉพาะตัวเอง ไม่จำเป็นจะต้องให้ถูกตามตำราทั้งหมด เหมือนกับกระทู้ธรรมที่เฉลย
ไว้ในตำรา ภาษิตตั้งไว้แล้วอย่างนี้ เฉลยไปอย่างน้ี มีภาษิตเช่ือมอย่างนี้ นั่นเพียงเป็นตัวอย่าง
ทางปญั ญาของผทู้ แ่ี ตง่ กระทเู้ อาไว้ สว่ นปญั ญาเรากแ็ ตง่ ไปตามโวหารปฏภิ าณของเรา สำนวนทแี่ ตง่ เราถนดั
อย่างไร ก็อธิบายไปตามนั้น สำนวนโวหารในการอธิบายให้เป็นเร่ืองเดียวกันกับภาษิตที่ตั้งไว้แล้ว
ภาษิตที่นำมาเชอ่ื มก็แตกต่างกนั ไป เพราะสำนวนทเ่ี ราอธบิ ายไป ไมเ่ หมอื นในตำรา
การฝกึ ปัญญา อย่าเอาตามตำราและอย่าท้ิงตำรา ถา้ ผใู้ ดตีความหมายนไี้ ดแ้ ละปฏบิ ัตไิ ดต้ ามนี้
ผูน้ ั้นมีแววพอจะสร้างปญั ญาใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั ตวั เองได้ หรอื ผู้ใดมเี อกลกั ษณ์ในการทำ การพูด และคดิ เปน็
ของตัวเอง ผู้นั้นจะพึ่งตัวเองได้และเป็นนิสัยแห่งความฉลาด มีจุดยืนเป็นของตัวเอง ถึงจะไปดูแบบ
อย่างจากที่อื่นมาแล้วก็ตาม ในเมื่อนำมาปฏิบัติอาจมีความคิดปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ น้ีก็เข้าข่ายของผู้มี
ความฉลาดทางปัญญา ถ้าเป็นเร่ืองทางโลกก็มีความฉลาดในทางโลก ถ้าผู้ปฏิบัติในทางธรรมก็เป็นผู้มี
ความฉลาดในทางธรรม
ฉะน้ันผู้ปฏิบัติธรรมจงฝึกความฉลาดให้เกิดขึ้นท่ีใจให้ได้ อย่าไปเลียนแบบจากผู้อ่ืนมากเกินไป
เดี๋ยวจะได้ความโง่ฝังใจโดยไม่รู้ตัว จุดนี้เองที่ทำให้ผู้เขียนและผู้อ่านตกค้างอยู่ในกระแสโลกนี
้
มายาวนานจนถงึ ปจั จุบนั เพราะความโงข่ องสติปญั ญา ไมม่ คี วามฉลาดอยู่ในตวั บา้ งเลย จงึ ไดถ้ ูกกิเลส
หลอกใหม้ าเกิด แก่ เจ็บ ตายจนถงึ ปจั จบุ ัน น่ีพวกเราจะปล่อยใหก้ เิ ลสหลอกให้เกิดใหต้ ายกันไปถึงไหน
ทำไมไม่สร้างสติปัญญาความฉลาดรอบรู้มาเป็นคู่ของใจเอาไว้บ้าง เพื่อจะได้ตัดช่องทางของวัฏฏะให้
ส้ันเข้า จะได้ไม่มัวเมาจมอยู่ในหลุมมูตรหลุมคูถน้ีอีกต่อไป ฝึกใจให้สมกับคำว่ามนุษย์ใจสูง ก็ให
้
มันสูงกว่าสัตว์ดิรัจฉาน ถ้ายังปล่อยให้กิเลสตัณหาพาม่ัวสุมอยู่กับส่ิงสกปรกโสโครกในโลกน้ีอยู่ ก็ไม่
เกินกันกับสัตว์ดิรัจฉานน้ีเลย แมลงผึ้งแสวงหาเกสร แมลงวันแสวงหาของเน่า นักปราชญ์แสวงหา
ความดนี ้ี ใจเราเปน็ แมลงวันหรือเปน็ แมลงผ้งึ กันแน่
ขปิ ปปัญญานุสรณ
์
176
จดุ เริ่มตน้ ของการปฏิบัติคอื รจู้ ักความผิดของตนเอง
ในจดุ เรม่ิ ตน้ พระพทุ ธเจา้ ตอ้ งการใหค้ นรจู้ กั ความผดิ ของตวั เอง เมอ่ื รจู้ กั ความผดิ ของตวั เองแลว้
จงึ เปลยี่ นจากความเหน็ ผดิ มาเปน็ ความเหน็ ถกู ได้ ทเ่ี รยี กวา่ สมั มาทฏิ ฐิ มคี วามเหน็ ทถี่ กู ตอ้ งชอบธรรม
เม่ือมีความเห็นชอบเกิดขึ้นในใจอย่างนี้ จึงเรียกว่าปัญญาได้เกิดขึ้นแล้วกับท่านผู้น้ัน เห็นผิดเป็นผิด
เห็นถูกเป็นถูก การทำผิดการทำถูก การพูดผิดการพูดถูก การคิดผิดการคิดถูก จะรู้ได้ทันที ส่ิงท่ีผิด
ไมม่ ใี ครๆ ต้องการ จงึ ต้องละ ส่งิ ท่ถี กู ต้องชอบธรรมนักปราชญส์ รรเสรญิ
ถ้ามีความเข้าใจรู้เห็นในลักษณะนี้เรียกว่า สัมมาทิฏฐิ มีความเห็นท่ีถูกต้องชอบธรรม เรียกว่า
ปญั ญาไดเ้ กดิ ขนึ้ แลว้ ในขนั้ เรมิ่ ตน้ แลว้ จะมปี ญั ญารเู้ หน็ ในสจั ธรรมหมวดอน่ื ๆ ขยายเปน็ วงกวา้ งออกไป
ความรเู้ หน็ ภายในใจกจ็ ะมคี วามชดั เจนมากขน้ึ เรยี กวา่ โยนโิ สมนสกิ าร จะเกดิ ความแยบคายหายสงสยั
ในสิง่ ทเ่ี คยหลงผิดเขา้ ใจผิดไปได้โดยประการทงั้ ปวง
การภาวนาปฏิบัตเิ ป็นการแกป้ ัญหาของใจ
การภาวนาปฏิบัตเิ ป็นอบุ ายวิธแี ก้ปญั หาของใจโดยเฉพาะ ผู้ปฏิบตั ิต้องตัง้ หลักให้ถกู กบั ทิศทางใน
จุดเร่ิมต้นให้ถูกในหลักสัมมาทิฏฐิ ฝึกใจให้มีความเห็นที่ถูกต้องชอบธรรมเอาไว้ เม่ือปฏิบัติไปจะไม่เกิด
ปญั หาในภายหลัง ใหร้ ู้จกั อนโุ ลมปฏิโลมผอ่ นหนักผอ่ นเบาไปในตวั
ภาวนามอี ยู่ ๒ อบุ าย คอื
๑. ภาวนาในวิธหี า้ มความคดิ เป็นวิธีนึกคำบริกรรมอย่างใดอย่างหนึง่ หรอื ใชส้ ติระลกึ รอู้ ารมณ์
ภายในใจก็ได้ เรยี กว่า เปน็ อุบายวิธหี า้ มความคดิ
๒. ภาวนาใชค้ วามคดิ ตรกึ ตรองตามหลกั สจั ธรรม เชน่ เหน็ คนแกเ่ จบ็ ตาย ใหโ้ อปนยโิ ก นอ้ มเอา
เรอ่ื งของการแก่เจ็บตายของคนอนื่ เข้ามาหาตนเอง
การปฏบิ ตั มิ ี ๒ วิธ
ี
๑. ปฏบิ ัติในขั้นกามาวจร (โลกียมรรค)
เปน็ วธิ ีปฏบิ ตั เิ พอ่ื เสรมิ สร้างบารมี ทเ่ี รียกว่า การบำเพญ็ กศุ ล ไมห่ วงั มรรคผลนิพพานในชาตนิ ้ี
แต่อย่างใด ทำไปเพื่อใหเ้ กิดความสขุ ภายในใจเทา่ น้นั เชน่ การทำบุญให้ทาน การรักษาศลี การเจริญ
เมตตาภาวนา การทำสมาธิ การทำสมาธิทุกคนก็พอจะเข้าใจเพราะทำกันอยู่แล้ว ทำเพ่ือความสุข
177
สบายในใจไปช่ัวคราวเท่าน้ัน ถึงจะทำสมาธิให้จิตมีความสงบลึกลงไปเป็นฌาน รูปฌาน อรูปฌาน
อยู่ก็ตาม ก็จะไดไ้ ปเกดิ ในภพของรปู พรหม อรปู พรหม เทา่ น้นั เมอื่ อำนาจฌานเสอื่ มลองก็จะไดม้ าเกิด
ในโลกนตี้ อ่ ไป เว้นพระพรหมในพระอนาคามเี ท่าน้นั นอกนั้น จะต้องลงมาเกดิ ภายในภพทัง้ สามตอ่ ไป
หลักสัปปรุ ิสธรรม ๗ ในธรรมหมวดน้ีจะอธบิ ายอยใู่ นขอบขา่ ยโลกียธรรม เพ่ือไม่ใหเ้ กิดปัญหา
แก่ตวั เอง และไม่ใหเ้ กิดเปน็ ปญั หากบั คนอ่ืน เรยี กว่าเป็นผ้ทู ำประโยชนต์ นและประโยชนท์ ่าน เพอ่ื ให้
ตัวเองและคนอื่น ได้รับความสุขความเจริญไปด้วยกัน เป็นอุบายในการปฏิบัติได้เป็นอย่างดี เสริม
สติปัญญาให้ฉลาดรอบรู้ในหมวดธรรมต่างๆ ได้ดี ตีความหมายในหมวดธรรมนั้นๆ ให้ถูกต้อง รอบรู้
ความหมายในหมวดธรรมน้ันไดช้ ัดเจน แล้วฝกึ กาย วาจา ใจ ให้เป็นไปในหมวดธรรมนน้ั ๆ กลมกลืน
กนั ไป มิใช่ว่าธรรมทรี่ เู้ ป็นอยา่ งหนึง่ ความประพฤตทิ าง กาย วาจา ใจ เป็นไปอีกอยา่ งหนึ่ง ถ้าเป็น
ในลักษณะน้ีไม่นับว่าผู้น้ันปฏิบัติธรรมแต่อย่างใด เพราะการศึกษารู้ธรรมในตำรา ใครๆ ก็ศึกษารู้ได้
ถ้าไม่ฝึกกาย วาจา ใจ ให้เป็นไปในหมวดธรรม ความร้ทู ีไ่ ด้ศกึ ษามาก็ไม่มีประโยชนอ์ ะไร เหมือนกับ
มดแดงท่ีเกาะอยู่กบั ผลมะม่วงสุกท่ีมโี อชารส กจ็ ะไมร่ บั รูร้ สของมะมว่ งนน้ั เลย การรูธ้ รรมในตำรา ถ้า
ไม่นำมาปฏิบัติ ฝึกตัวเองให้เป็นไปในธรรม ก็จะเป็นผู้ถือใบลานเปล่าตลอดไป เราจะปฏิบัติเพื่อกำจัด
ความช่ัวร้ายที่ไม่ดีงามออกจากกาย วาจา ใจ ของตัวเราเอง และฝึกใจให้เป็นไปในสัมมาปฏิบัติท่ีถูกต้อง
ในธรรมเท่านั้น สัปปรุ ิสธรรม ๗ มีดังน้ี (๑) ธัมมัญญุตา ฝึกตัวใหเ้ ป็นผู้รู้จักเหตุ (๒) อัตถัญญตุ า
ฝึกตัวให้เป็นผู้รู้จักผล (๓) อัตตัญญุตา ฝึกตัวให้เป็นผู้รู้จักตน (๔) มัตตัญญุตา ฝึกตัวให้เป็นผู้รู้จัก
ประมาณ (๕) กาลัญญุตา ฝึกตัวให้เป็นผู้รู้จักกาลเวลา (๖) ปริสัญญุตา ฝึกตัวให้เป็นผู้รู้จักชุมชน
(๗) ปคุ คลญั ญตุ า ฝึกตวั ให้เป็นผรู้ จู้ ักบคุ คล
๒. ปฏบิ ตั ใิ นข้ันโยคาวจร (โลกุตรมรรค)
เป็นอุบายการปฏิบัติเพื่อจะพ้นไปจากภพทั้งสามในชาติน้ีให้ได้ จะไปได้หรือไม่ได้เป็นอีก
เรื่องหน่ึง แต่ความต้ังใจจะให้พ้นไปได้ในชาตินี้จริงๆ การปฏิบัติในขั้นโยคาวจรใช้สติปัญญาเป็นหลักท่ี
ยืนตัว การทำสมาธิก็เพื่อเป็นอุบายเสริมให้แก่สติปัญญาเท่าน้ัน การทำสมาธิก็ไม่มีอะไรเป็นพิเศษ
ข้อสำคัญ อยา่ ใหม้ คี วามอยากในสง่ิ ใดๆ อยา่ หวงั ผลวา่ ใหเ้ ปน็ อยา่ งนนั้ ใหร้ อู้ ยา่ งนี้ สมาธเิ ปน็ เพยี งอบุ าย
เสรมิ ใหแ้ กป่ ญั ญา ไดพ้ จิ ารณาในสจั ธรรมนนั้ ๆ ใหเ้ กดิ ความรเู้ หน็ ชดั เจนมากขน้ึ ใหเ้ นน้ การพจิ ารณาดว้ ย
ปญั ญา โดยพจิ ารณาใหเ้ ปน็ ไปตามไตรลกั ษณ์ คอื อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา ทเ่ี ปน็ หลกั ความจรงิ
ผูร้ เู้ หน็ ทุกข์ โทษ ภัย และรู้เหน็ ในการเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภพทั้งสามวา่ เป็นหนามยอกจติ
ให้เป็นพิษอยู่ตลอดเวลา เมื่อปัญญาญาณหย่ังรู้ว่า การเกิดตายอยู่ในโลกน้ีเป็นของที่ยาวนาน ที่เกิด
ขิปปปัญญานสุ รณ
์
178
ตายผ่านมาแล้ว ก็นับภพนับชาติไม่ได้ ท่ีจะเกิดตายไปในชาติอนาคต ก็เหลือที่จะคำนวณได้ เพราะ
การเกดิ ตายในวัฏฏะน้ไี มม่ ที ่สี ้ินสุด เพราะสมมตโิ ลกนไี้ มม่ ขี อบเขตจำกดั การเกิดมาก็อาศัยสมมตโิ ลกน้ี
เป็นท่ีอยู่อาศัย ถึงจะเป็นไปด้วยความทุกข์ ก็ต้องอดทนต่อสู้อยู่กันไป จนกว่าชีวิตจะหาไม่ ถึงจะมา
เกิดใหม่ก็มาหลงใหลในสมมติโลกน้ีเหมือนเดิม จึงไม่มีสาระใดๆ ในการเกิดตายอยู่ในโลกน้ี ที่จะมา
อาศัยความสุขในกามคณุ กห็ มุนไปในทางทีเ่ ป็นทุกขอ์ ยู่ตลอดเวลา จะหาความสุขในสมมตโิ ลกนไี้ มพ่ บ
เพราะทุกอย่างจะไม่สมกับความต้องการกับความอยากของเราเลย ย่อมมีความบกพร่องใน
ความอยากอยู่เสมอ มิใช่ว่าปรารถนาสิ่งใดในโลกน้ีจะสมหวังทุกประการเพราะโลกนี้เป็นโลกที่ผิดหวัง
จะเอาดงั ใจเราทุกอยา่ งไม่ได
้
ผู้ภาวนาจะได้รบั ผลจากการปฏิบัตเิ ร็ว จงึ มเี หตุผลใหญ่ๆ อยู่ ๓ ประการ คอื
๑. วาสนาบารมีเก่าเคยทำมาแล้วในอดีต ที่เรียกว่า ปุพเพกตปุญญตา คือ ผู้ท่ีได้บำเพ็ญ
บุญกศุ ลมาแล้วในปางก่อน
๒. ได้อบุ ายธรรมในการปฏิบตั ิตรงกบั นสิ ยั วาสนาบารมขี องตวั เอง
๓. มคี วามตง้ั ใจที่แน่วแน่จรงิ จังในการปฏบิ ัตธิ รรม
นิมติ เป็นเคร่อื งมือใหเ้ กดิ ปัญญา
นิมิตนั้นเป็นตัวสมมติ เป็นอุบายธรรม เพื่อน้อมนำเข้ามาหาตัวเอง แล้วใช้ปัญญาพิจารณาว่า
เราจะต้องเป็นอย่างนี้ๆ คนอื่นสัตว์อ่ืนก็เป็นอย่างน้ีเหมือนกันกับเรา ท้ังเราทั้งเขาก็ให้พิจารณาลงส
ู่
ไตรลักษณ์ทั้งหมด ถึงนิมิตจะไม่มีสาระอะไรก็ตาม ถ้าน้อมนำมาเป็นอุบายของปัญญาแล้ว จะทำให้
ปญั ญาไดข้ ยายตัวออกไปไดเ้ ป็นอยา่ งดี นเ้ี ปน็ อุบายสำหรบั ผู้มนี ิมิตเกดิ ขน้ึ แต่ละคนมนี ิสยั ไม่เหมือนกัน
นมิ ิตกม็ ีการเกิดขึ้นแตกต่างกนั ไป ถงึ จะมีนิมติ แตกตา่ งกนั ก็ตาม ทีส่ ำคัญขอใหน้ ำนมิ ิตน้ันมาเปน็ อบุ าย
เปน็ ฐานฝึกปญั ญาพิจารณาไปตามเหตุการณ์ ตคี วามลงส่ไู ตรลักษณ์ทุกครั้งไป
๑. สุบนิ นิมติ (ความฝนั ) เป็นนมิ ติ ท่เี กิดจากการนอนหลับแลว้ ฝัน
๒. อคุ คหนมิ ิต เปน็ นมิ ิตที่เกิดข้ึนจากการนงั่ สมาธิ
๓. ผัสสะนิมิต เป็นนิมิตที่เกิดข้ึนขณะตื่นอยู่ เกิดจากการสัมผัสของอายตนะ ๕ ได้แก่
ตาสมั ผสั รปู หูไดฟ้ ังเสียง จมกู ได้ดดู กล่ิน ล้ินได้รับรส กายได้สัมผสั
๔. ปฏภิ าคนมิ ติ เปน็ การนำนมิ ติ ตา่ งๆ มาจำแนกแจกแจง ตรติ รอง วเิ คราะห์ วนิ จิ ฉยั วจิ ยั วจิ ารณ์
179
นกั ปฏิบัตศิ ึกษาจริตนสิ ยั ตนเอง
เราต้องปฏิบัติใหเ้ ป็นไปตามนสิ ยั ของตัวเอง ไม่ต้องฝักใฝ่มงุ่ หมายเพ่อื จะให้จิตมคี วามสงบอกี ถงึ
จะทำอย่างไรก็เป็นสมาธิความสงบไม่ได้ ทำให้เสียกาลเวลาเหนื่อยเปล่า ไม่ได้ประโยชน์อะไร เพราะ
นิสัยของผู้มีปัญญาวิมุติจะทำได้เพียงสมาธิความตั้งใจม่ันเท่าน้ัน เมื่อสมาธิตั้งใจม่ันกับปัญญาได้ทำงาน
ร่วมกันแล้ว จะเกิดพลังท่ีโดดเด่นเข้มแข็ง ได้รู้ได้เห็นอะไรไม่เสียเปล่า จะนำเอาเรื่องนั้นๆ มาเป็น
อุบายพิจารณาให้เป็นธรรมะในสิ่งนั้นให้ได้ สิ่งใดมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ให้น้อมเข้ามาเปรียบ
เทยี บกับความเปลยี่ นแปลงของตัวเองทุกคร้ังไป สิ่งใดท่ีมองเหน็ ว่าหมดสภาพไปไม่มีในสมมุติเดมิ กใ็ ช้
ปัญญาพจิ ารณาในส่งิ นนั้ ลงสู่อนตั ตา โอปนยโิ ก น้อมเข้ามาหาตวั เองอย่เู สมอ พจิ ารณาว่า ร่างกายเรา
ทุกส่วน ก็จะแตกสลายสิ้นสภาพไปเหมือนส่ิงเหล่าน้ันอย่างแน่นอน ไม่มีส่ิงใดยืนยงคงอยู่ตลอดไปใน
โลกน้ีได
้
นกั ปฏิบัตติ อ้ งฝกึ ตวั เป็นหมอ
ผู้ปฏิบัติต้องใช้ความพยายามฝึกสติปัญญาหาอุบายธรรมด้วยตนเอง คิดพิจารณาในหลัก
ความเป็นจรงิ อยู่บอ่ ยๆ อีกสกั วันหนึง่ ก็จะตรงกับบารมีเกา่ ท่ีเราไดบ้ ำเพ็ญมาแลว้ การปฏบิ ตั ิกจ็ ะไดร้ ับ
ผลเกิดข้ึนในขณะน้ัน ผู้ปฏิบัติต้องฝึกตัวเป็นหมอ สำรวจตรวจเช็คตัวเองอยู่เสมอ ใช้สติปัญญา
ตรวจตราดูความบกพร่องของตัวเอง การทำทางกาย การพูดทางวาจา การนึกคิด และความเห็น
ของใจ มคี วามผิดพลาดทีต่ รงไหน ใช้สติปัญญาแกไ้ ขใหท้ ันต่อเหตุการณ์ ถา้ ปล่อยไวน้ านจะเกดิ ปญั หา
ใหแ้ กใ่ จได้ เช็คดกู ายวาจาใจบ่อยๆ มีปัญหาอะไร รีบชำระให้หมดไปทนั ที ถา้ ปล่อยไวน้ านจะเกิดเป็น
ปัญหาสะสมทบั ถมมากขึ้น จงึ ยากในการแกไ้ ขใหห้ มดไปจากใจได
้
กาย วาจา ใจ เป็นกอ้ นธรรมอยูแ่ ล้ว แม้ตำราทเ่ี ราศึกษาอยู่ก็เปน็ เรือ่ งของตัวเรานี้ทัง้ น้ัน เชน่
ความโลภ ความโกรธ ความหลง เรื่องกิเลสราคะตัณหาทั้งหมดนี้อยู่ในตัวเราน้ีท้ังหมด นี้คือธรรมะ
ตัวจริงที่เขียนไว้ในตำราทั้งหมดเป็นเพียงชื่อของธรรมเท่าน้ัน ถ้าไม่รู้ความผิดความชั่วร้ายของตัวเอง
ว่าเป็นอย่างไร ความรู้ในหมวดธรรมที่เรียนมาก็จะมาแก้ปัญหาของตัวเองไม่ได้เลย หรือจะมานึก
คำบริกรรมว่าพุทโธๆ เพื่อกำจัดให้กิเลสตัณหาน้อยใหญ่ได้หมดไปจากใจก็เป็นไปไม่ได้ วิธีการนึก
คำบริกรรมทำสมาธิให้จิตมีความสงบน้ี เป็นเพียงอุบายวิธีหลบปัญหาไปได้ช่ัวคราวเท่าน้ัน เหมือนหิน
ขปิ ปปัญญานุสรณ
์
180
ทับหญา้ เอาไวห้ ญ้าไม่เกดิ เมื่อเอาหนิ ออกไปหญ้ากจ็ ะเกิดขึ้นในทนี่ น้ั ๆ กเิ ลสตัณหาน้อยใหญเ่ หมอื นไมม่ ี
ในใจ ในเมอ่ื จติ ไดถ้ อนออกจากสมาธคิ วามสงบแลว้ กเิ ลสตณั หานอ้ ยใหญเ่ กดิ ขน้ึ ทใ่ี จตามเดมิ กฉ็ นั นนั้
นกั ปฏบิ ัติตอ้ งมีปัญญาเลอื กเฟ้นธรรม
เม่ือเช่ือถือบุคคลและเช่ือถือครูอาจารย์ได้แล้วธรรมะท่ีเราได้ยินจากท่าน อ่านหนังสือของท่าน
แล้วก็นำมาเลือกเฟ้นอีก มีธรรมะหมวดไหนบ้างพอท่ีเราจะนำมาปฏิบัติได้ให้ถูกกับนิสัยของเราและ
ความสามารถของเรา ธรรมะหมวดไหนควรเอามาเร่ิมต้นก่อน ธรรมะหมวดไหนควรนำมาปฏิบัติใน
ภายหลัง ตอ้ งมสี ติปัญญาเลือกเฟน้ ธรรมะให้เข้าใจ แลว้ นำมาปฏบิ ัตใิ หถ้ กู กับความหมาย
การศึกษาธรรมจงึ มคี วามสำคัญเปน็ อย่างมาก เม่ือร้แู ละเข้าใจในธรรมได้ดแี ล้ว จำเป็นท่ีสดุ คือ
เราต้องมาศึกษาตัวเองว่าเรามีปัญหาอะไรที่จะต้องแก้ไข จะเอาหมวดธรรมอะไรมาแก้ไขให้ปัญหาใน
ตัวเราให้หมดไปได้ เหมือนกับหมอรักษาคนป่วย หมอต้องรู้จักยาท่ีดี และรู้จักโรคของคนป่วยว่าจะ
รกั ษาด้วยยาตวั ไหน โรคจึงจะหายไปได้ ตอ้ งเอายาประเภทน้นั มารกั ษาใหต้ อ่ เนอื่ งกันโรคนนั้ จะหายไป
นฉ้ี นั ใดผปู้ ฏิบัตติ ้องเลอื กหมวดธรรมน้นั ๆ มาปฏิบตั ิใหถ้ ูกกับปญั หาภายในใจของตัวเองก็ฉันนนั้ ปัญหา
ต่างๆ ที่มคี วามเร้ือรงั มาก็จะคล่ีคลายหายไปจากใจได้อยา่ งแนน่ อน
นักปฏิบัติต้องซื่อสตั ย์แกต่ ัวเอง
ความตั้งใจ ความซือ่ สตั ย์ จะเป็นท่ีพึ่งแก่ตวั เองได้ จะเปน็ งานทางโลกหรอื ทางธรรม ย่อมนำมา
แห่งความสำเร็จและเป็นประโยชน์แก่ตัวเอง ทั้งเป็นประโยชน์ส่วนรวมได้เป็นอย่างดี ดังคำว่า
ทำประโยชน์ตนและประโยชน์ทา่ นให้ถงึ พร้อม ยอ่ มนำมาซ่ึงความเจริญ
นเ้ี ราเปน็ นักปฏบิ ัตติ ้องซอื่ สัตย์ในตวั เอง และตั้งใจจรงิ ไม่เหน็ แกโ่ ลกเกินไป งานของโลกกใ็ ห้เป็น
งานทางโลกไป ส่วนงานทางธรรมที่เป็นงานประจำตัวเราก็ไม่ลดละ พยายามหาเวลาท่ีว่างให้เป็น
ประโยชน์ ดีกว่าจะไปเตร็ดเตร่เท่ียวเล่นโดยไม่มีประโยชน์อันใด วันล่วงไปๆ ก็จงทำให้ชีวิตเราเป็น
ประโยชน์ ความดีทเ่ี ราจะตอ้ งสรา้ งใหเ้ กดิ ขึน้ แก่ตวั เองดว้ ยวิธกี ารอย่างไร ก็เรานนั้ แลจะเปน็ ผูป้ ฏบิ ัตเิ อง
และให้มีความตง้ั ใจ คนอ่นื ใครเลา่ จะทำใหเ้ ราได
้
181
ขปิ ปปญั ญานุสรณ
์
ñ1ø8ò2
Ëลวง¾อ‹ สอนวา‹
ปัญญา
หลักปฏบิ ตั ธิ รรม คือ หลักสอนใจ โดยใช้ปัญญา
วิปัสสนาแปลว่าปัญญา เหมือนรับประทานกับคำว่ากิน ความหมายเดียวกันแต่ความ
สละสลวยตา่ งกัน ปญั ญาแปลวา่ ความคดิ
เอาปัญญาซึ่งเป็นตาของใจ มาเบิกทางให้ใจเห็นความจริง ปัญญาทำให้แจ้งเหมือนตาทำให้
มองเหน็
คำว่า เกิดปัญญา คือเกิดความเข้าใจชัดเจนแจ่มแจ้งตามหลักความเป็นจริง ปัญญาเวลา
มันเกิดข้ึนมนั ละเอียดกวา่ ในตำรามาก
ปญั ญามาก ไมใ่ ช่ ปญั ญาเกิด
ทกุ วนั นไ้ี มม่ ใี ครเจรญิ วปิ สั สนาเพราะวา่ รแู้ ลว้ รไู้ ดอ้ ยา่ งไร รจู้ ากตำรา อยากรอู้ ะไร ก็ไปอ่านเอา
เพราะฉะนั้นจึงมีแต่ความรู้ ความรู้เอาไปละกิเลสไม่ได้ คนเราไปเอาตำรามาพูดกันก็ถูก
แตเ่ ป็นปริยัติ รตู้ ามปริยัติ การปฏบิ ัติจงึ ไมก่ า้ วหนา้
การฝกึ คิดตอ้ งสร้างเรอ่ื งขึ้นมาเหมอื นแตง่ นิยาย เชน่ เรอ่ื งอนจิ จัง
ความคิดจะเป็นเข็มทิศให้กับใจตัวเอง เมื่อเราคิดทางไหนบ่อยๆ ใจก็จะไปทางนั้น ถ้าคิด
เร่ืองโลกบ่อยๆ ใจกจ็ ะไปทางโลก
ตัวความคิดเป็นตัวสร้างปัญหานานาประการมากมายเหลือเกิน การจะแก้ปัญหาจึงต้องใช้
ความคดิ ตัวมันเองน่ันแหละเพ่ือแก้ปัญหาตวั เอง
เราเกิดมาก็คิดเสียว่าเกิดมาดูโลก ดูซิว่าโลกน้ีมีอะไรดี มีอะไรท่ีน่าอยู่บ้าง ไม่มีเลย
อยากเกิดอกี ไหมกับโลกอันน้ี
เวลาคิดสร้างปัญหาทำไมขยันคิด แต่เวลาแก้ปัญหาทำไมไม่ขยันแก้ เวลาคดิ สรา้ งปญั หา
ทำไมไมป่ วดหวั แตเ่ วลาคดิ แกป้ ญั หาทำไมปวดหวั
เวลาฉลาดผกู เรายงั ผกู เปน็ เวลาฉลาดแก้ ถ้าแกไ้ มไ่ ด้เรยี กวา่ เปน็ คนโง
่
เร่ืองความคิดเป็นอันดับท่ีหนึ่ง เร่ืองการทำใจเป็นอันดับที่สอง การปฏิบัติจึงสามารถทำได้
แมเ้ ปน็ ฆราวาส ฆราวาสบวชใจกอ่ นไดแ้ ลว้ จึงบวชกายในภายหลงั
การคิดเปน็ ตัวเบกิ ใจ ใหใ้ จเหน็ ความจริง ตวั อวิชชาความมืดบอดของใจเปน็ ตัวปดิ บังใจ
ความรกู้ บั ความคดิ คนละเรอ่ื งกนั เดยี๋ วนคี้ นมแี ตค่ วามรไู้ มม่ คี วามคดิ
ขิปปปัญญานุสรณ
์
184
คิดใหเ้ หน็ ความจริงทัง้ ๕ อย่าง สิง่ ใดเกดิ ขน้ึ มาแลว้ เปลีย่ นแปลงไปอย่างไร นีค่ อื ความจรงิ
อย่างหนึ่ง อยา่ งทส่ี องพิจารณาเกีย่ วกบั ความทุกขแ์ ละเหตใุ หเ้ กิดทกุ ข์ อยา่ งทส่ี ามพจิ ารณา
ถึงความไม่มีตวั ตนความสญู สลาย อยา่ งทส่ี ีส่ ง่ิ ทงั้ หลายทมี่ อี ยนู่ น้ั ไมใ่ ชข่ องของเรา ไม่มีของ
ส่ิงใดเป็นของของเรา อยา่ งท่หี ้าเม่อื เราเกดิ ขนึ้ มาแล้วยอ่ มพลัดพรากจากสง่ิ ท่รี ักไป
ขณะกำลังฝึกคิด อย่าเพิ่งคิดถึงเรื่อง ละ ถอน ปล่อย วาง (ผล) แต่ให้เพียรพยายาม
ฝึกคดิ ใหเ้ ปน็ จนชำนาญ เปรียบเทยี บเหมอื นฝึกเตน้ รำ ถึงจะเตน้ เปน็ ก็ยงั เตน้ เอาเงินไม่ได้
ตอ้ งเตน้ จนชำนาญ (สรา้ งเหต)ุ
ใจเราไปในทางโลกตลอดเวลา ต้องเอาความคิดมาดึงใจให้ไปในทางธรรม เม่ือคิดบ่อยๆ
ให้ถูกตามความจริง คือจริงในไตรลักษณ์ ใจก็จะคล้อยตามๆ เกิดความเห็นชอบ เป็นการ
เอาความคิดหกั ล้างความคดิ หนามยอกเอาหนามบ่ง
ศลี
ตวั หนงั สือทีเ่ ปน็ ธรรมะก็เขียนมาจากตวั ธรรมะตัวจรงิ นน่ั เอง
(๑) ศีลขอ้ ท่หี นง่ึ ถา้ สรา้ งเมตตาธรรมขน้ึ มาก็จะรกั ษาศลี ได
้
(๒) ศลี ขอ้ ทส่ี อง ถ้าสรา้ งกรณุ าธรรมขน้ึ มาก็จะรักษาศลี ได้
(๓) ศลี ข้อท่สี าม ถา้ สร้างหิริธรรมขึ้นมาก็จะรกั ษาศลี ได้
(๔) ศีลข้อทีส่ ี่ ถา้ สรา้ งสจั จวาจาธรรมขนึ้ มากจ็ ะรกั ษาศลี ได
้
(๕) ศลี ขอ้ ท่หี ้า ถ้าสรา้ งสตธิ รรมขน้ึ มาก็จะรักษาศลี ได
้
ไม่มเี ครอื่ งผกู ใจใดทจี่ ะผกู ใจคนไดด้ ีเหมือนคำพูดของคน
ถ้าคดิ ว่าตัวเองดแี ล้วเทย่ี วไปขม่ คนอน่ื แสดงว่าเป็นคนพาล
การบวชชีพราหมณ์เป็นอุบายเฉยๆ ถ้าปัญญาไม่มีก็ไม่มีประโยชน์อะไร สมัยพุทธกาลไม่ม
ี
ชีพราหมณ์ การนุ่งขาวตอ้ งเอาการน่งุ มาพจิ ารณาเปน็ ปญั ญาใหไ้ ด้ คนนงุ่ ขาวเวลาจะนงั่ ตอ้ ง
ระวงั ระวงั ไมใ่ หส้ กปรก ใจเรากเ็ ชน่ กันต้องระวงั ไมใ่ หส้ กปรก
ความรกั ที่ประกอบด้วยความใคร่ ความกำหนัด ฝักใฝใ่ นกามคุณ จะเปน็ ลักษณะของกิเลส
ถา้ ความรักใดประกอบด้วยความสงสาร ความเก้ือกลู ต่อกัน ความเหน็ ใจกัน จะเป็นลักษณะ
ทเ่ี ป็นธรรม
185
คนมนี สิ ัยขีโ้ กรธ อยา่ ไปอยูใ่ นหมู่คนขีโ้ กรธ มันจะไหลตามกันไปอกี
นักปฏิบัติจะต้องทำใจว่า เราจะเป็นมิตรกับทุกๆ คน มองคนในแง่ดี ส่วนไม่ดีของเขาจะ
ไม่ดูเขา ใจเราก็จะเป็นกุศลตลอด ไม่มีอะไรมากระทบ เพราะทำตัวเป็นมิตร นักปฏิบัติ
จะทำตวั อยดู่ ว้ ยธรรม
คำพดู ไมส่ ำรวม เหมอื นคนพดู กำลงั อมนำ้ กรด ตนเองปากเปอ่ื ย พดู สาดออกมาลวกคนอนื่ อกี
ถ้าเห็นคนอื่นทำผิด พูดผิด เขาผิดได้ เราก็ผิดได้ ถ้าเราผิด ผิดแล้ว แล้วกันอย่าเสียใจ
ให้จำไวเ้ ปน็ บทเรียน
ใหเ้ อาบุญ กศุ ล เป็นเพอ่ื นของใจ ชีวิตประจำวัน ใหใ้ ช้หลกั “ความเปน็ มิตร”
ฝกึ หเู ปน็ สว้ ม การใชห้ ู ฟงั เอาบญุ กุศล
คุณสมบัติของผนู้ ำ คือ ต้องใจกวา้ ง ดูแลเพอ่ื นฝงู ได้ ใหเ้ กียรตกิ ัน เข้าใจซง่ึ กนั และกนั
จาคะ มี ๒ อย่าง (๑) จาคะสิง่ ไมด่ ที ้ิง (๒) จาคะส่ิงดใี ห้คนอืน่
สมาธ
ิ
สมาธิมี ๒ ประเภท คือ มิจฉาสมาธิและสัมมาสมาธิ ถ้าใจมีความเห็นผิดเป็นมิจฉาแล้ว
จะทำสมาธิให้เป็นสัมมาไม่ได้เลย สมาธิท้ังสองมีลักษณะเหมือนกันแต่ความเห็นต่างกัน
ผทู้ ่ีเปน็ มจิ ฉาจะไมร่ ู้ตวั เลยว่าตวั เองเปน็ มจิ ฉา
ในทางปฏิบตั ฐิ านของสมาธิ (ความตง้ั ใจมั่น) กับฐานของปัญญาความรอบรู้ ตอ้ งไปด้วยกนั
เหมือนการเขยี นหนังสือ ขอ้ ความที่จะเขยี นเป็นเหมือนตัวปญั ญา ความตัง้ ใจทจ่ี ะเขยี นเปน็
เหมือนสมาธิ แตใ่ นด้านการศกึ ษาสมาธกิ บั ปญั ญาแยกกัน
ความเหน็ ทวี่ า่ ทำสมาธแิ ลว้ ปญั ญาจะเกดิ นก่ี ผ็ ดิ แลว้ ผดิ เตม็ รอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ต์ ไมใ่ ชผ่ ดิ ธรรมดา
คำพูดนี้เป็นต้นทางของการปฏิบัติ เมื่อเดินทางผิดการปฏิบัติก็ผิดตามไปหมด เป็นมิจฉาใน
ภาคปรยิ ตั ิ เมื่อเกิดมิจฉาในภาคปรยิ ัติ ก็เปน็ มิจฉาในภาคปฏิบัติ หมดสทิ ธิไ์ ปเลย คือความ
เหน็ ไม่ตรงตอ่ ความเป็นจรงิ ในภาคปริยัต
ิ
ผลของการทำสมาธจิ ะไดอ้ ภญิ ญาแค่นนั้ เอาไปทำไมอภิญญา มนั กแ็ คเ่ ลน่ สนุกเทา่ นน้ั แต
่
ผลของการฝกึ พจิ ารณาจะไดป้ ญั ญาพน้ ทกุ ขไ์ ด
้
ขิปปปญั ญานุสรณ
์
186
มจิ ฉาสมาธทิ ำใหเ้ กดิ วปิ สั สนปู กเิ ลส ๑๐ อยา่ ง ทงั้ ๑๐ อยา่ งนเี้ ปน็ ภยั ของสมาธิ ถ้าใครทำ
ในชาตินี้จะปิดฉากการปฏิบัติทนั ที สว่ นสัมมาสมาธินั้นมี ๒ อย่าง คอื สมาธติ ั้งใจมน่ั และ
สมาธคิ วามสงบ
การพิจารณาลมหายใจเข้าออก อันน้ีไม่ใช่พิจารณา เป็นการกำหนดรู้ เป็นสมถะธรรมดาๆ
ทวั่ ๆ ไป
ตัวสมาธยิ ่ิงทำย่ิงโง่ ตัวฉลาดทำไมไมฝ่ ึก ไปสมุ หวั กันทำสมาธิ ทำให้โง่ ยงิ่ ผิด ย่ิงมืด
สงิ่ ใดทเี่ ราทำอยูก่ ็ดี คิดอย่กู ด็ ี พดู อยู่กด็ ี ถา้ เราตัง้ ใจทำ ตัง้ ใจคดิ ตงั้ ใจพูด นัน่ แหละเรยี กว่า
สมาธติ ้งั ใจมั่น
การปฏิบัตธิ รรมะ
สมัยก่อนๆ คนไม่มีความรู้มากขนาดนี้ ก็เป็นพระอริยเจ้ากันได้มากมาย พระพุทธเจ้าสอน
ประโยคสองประโยค ท่านเอาไปปฏิบัติ สมัยน้ีรู้มาก ลังเลมาก เรียกว่ารู้มากยากนาน
เหมอื นอาหารมากเครือ่ งปรุงมากกลับไม่อรอ่ ยเพราะเครอื่ งปรงุ ไมส่ มบรู ณ์แบบ
ถ้าเรามีแบบแปลนและสามารถศึกษาให้เข้าใจได้แล้ว การก่อสร้างตามแบบน้ันก็ง่ายไม่ยาก
อะไร แต่ถ้าไมม่ ีแบบแปลนหรือดแู บบไม่รเู้ รือ่ ง การกอ่ สร้างจะทำไม่ได้ ถึงไดก้ ็สะเปะสะปะ
ผดิ ไปผิดมาในท่ีสดุ กล็ ม้ เหลว การปฏิบัตกิ เ็ ชน่ กนั ปริยัติเปรยี บเหมอื นแผนทหี่ รอื แบบแปลน
ถ้าเรายังศึกษาไม่รู้เส้นทางที่จะไปหรือไม่รู้แบบแปลน ก็อย่าพึ่งปฏิบัติ ต้องศึกษาจนเข้าใจ
ดกี ่อนจึงเร่มิ ปฏบิ ัติ การปฏิบตั จิ งึ งา่ ยเพราะเดนิ ตามแบบทีก่ ำหนดไว้
การปฏิบัติทางธรรมจริงๆ ง่ายนิดเดียว แต่เราทำให้ยากเอง เพราะเราไม่มีสูตรปฏิบัต ิ
จงึ ยงุ่ ไปหมด เหมอื นคนไมม่ ีสตู รคดิ เลข ถ้าหากเราทำตามสตู รแลว้ ไม่ยาก
การท่ีได้อ่านธรรมะตามตำราหรือการได้ยินได้ฟังอาจารย์สอนเป็นสัมมา แต่เป็นสัมมาใน
ภาคปริยัติ ไม่ใช่สมั มาในภาคปฏิบัติ สัมมาในภาคปรยิ ัติสามารถรู้ธรรมะพูดธรรมะไดถ้ ูกต้อง
เม่ือไปประสบกับเหตุอะไรข้ึนมา คราวนี้ก็จะรู้กันว่าคนนั้นเป็นอย่างไร ทำใจได้จริงหรือไม่
การอ่านธรรมะ รู้จริงตามธรรมะ เป็นเพียงช่ือของธรรมะเท่าน้ัน มันไม่พอ ยังไม่ใช่ตัว
ความจรงิ ตัวความจริงอยู่ท่ีใจต้องใช้ปัญญา รู้เห็นด้วยปัญญาจึงเป็นการรู้เห็นธรรมะตาม
ความเป็นจริง
ธมั มาธปิ ไตย จะไม่เข้าข้างตนเอง มฉิ ะนน้ั ความโลภจะเพ่มิ มากข้นึ
นิพพานไมใ่ ช่อตั ตาและไม่ใช่อนตั ตาด้วย เพราะเหนอื คำทจ่ี ะสมมติพดู ได้ในโลกน้
ี
187
นกั ปฏบิ ตั ิ เกดิ มาเพอ่ื มาบำเพญ็ บารมี ทำความดใี หเ้ ปน็ ธรรม สรา้ งความเปน็ ธรรม ถา้ เขา้ ขา้ ง
ตนเองผดิ ต้องเพ่อื สว่ นรวมและส่วนตวั
การพจิ ารณาความจริงนี้คอื พทุ โธ คือรู้จรงิ ตามความเป็นจรงิ เมอื่ รู้จรงิ ใจกต็ น่ื ใจไมย่ ดึ กับ
ของส่ิงใด ใจกเ็ บกิ บาน หมดภาระทต่ี ้องทำ
การศกึ ษาธรรม คอื การใชป้ ญั ญาศกึ ษา “ชอ่ื ธรรมะ กบั ตวั ธรรมะ”
ธรรมในตำราเป็นเพียงชอ่ื ของธรรม
ความเปน็ ธรรม หมายถงึ การทำการพูดใดๆ ทำแล้วไม่เดือดร้อนกบั ตนเองและคนอื่น สร้าง
ความยุติธรรม (ยตุ ิท่ีธรรม) ใหเ้ กิดข้นึ กับตนเอง
ธรรมตัวจริงอย่ทู ่ตี วั เรา เปน็ ก้อนธรรม มี ๓ ทาง คือ กายธรรม วจีธรรม มโนธรรม
ฝึกตัวเราให้ธรรมเกิด ต้องเกิดตลอดเวลา ต้องรักษาให้คงเส้นคงวา ต้องมีสติปัญญา
ดูความผิดพลาดในอดีต แล้วสอนตนเองว่าในปัจจุบันจะไม่ทำให้เหมือนเดิม ถ้าอยากทำ
กอ็ ยา่ ทำ คำพดู เคยพูดแล้วให้ผ้อู ่ืนเดือดร้อนก็อยา่ พูด พดู ใหเ้ กดิ ความรัก ความสงสาร
ปจั จบุ นั ความเป็นธรรมมันหดหายไป สร้างปญั หา เพราะอตั ตา ปญั หาเกิดจากอตั ตา ตนเอง
ถูกฝ่ายเดยี ว
ใครทส่ี อนไมต่ รง ไมถ่ กู ตอ้ ง อยา่ ไปฟงั เลย อยหู่ า่ งๆ ไดย้ ง่ิ ดี เพราะเดย๋ี วจะเปน็ นสิ ยั ไหวไปตาม
เพราะตัวเรามกี ิเลสตัณหาอย
ู่
ธรรมท่ีทำให้คนรกั กนั สงสารกันคอื นะโม
นะโม คอื ความอ่อนน้อมถ่อมตวั ใหค้ วามเคารพ ซ่ึงผูกมัดใจ คือ ความรัก ความสงสาร
ฝึกให้มี “นะโม” ในใจ รักษาใจอยา่ ให้ใจร้าว สรา้ งความรักความสงสาร
ธรรมะมสี องประเด็น
(๑) ธรรมเพอ่ื สว่ นตัว ใหป้ ิดเปน็ ความลับสดุ ยอด
(๒) ธรรมตอ่ สว่ นรวม ใหฝ้ ึกเป็นนกั แสดงให้ไดต้ กุ๊ ตาทอง
พวกเราหอบมิจฉาทิฏฐิ มา ๙๙.๙๙ เปอร์เซ็นต์ เปรียบเหมือนอยู่ในท่ีมืดตอนตีหนึ่ง
ถ้าเร่ิมปฏิบัติให้ถูกหลัก ถูกขั้นตอน ฝึกสังเกต มิจฉาทิฏฐิ ปรับเปล่ียนเป็นสัมมาทิฏฐิไป
เร่อื ยๆ ความสว่างจะไล่ความมดื ไปถงึ ๖ โมงเชา้ “สัจธรรมจะละอวิชชาเอง”
โลกกับธรรมอยู่ก้อนเดียวกัน เราจะมองมุมโลกก็ได้ มองมุมธรรมก็ได้ อยู่ที่ความเห็น
ตัวเดียว เปรียบเหมือนปากกากับกระดาษ จะใช้ปากกาเขียนทางโลกหรือทางธรรมก็ได้
แตถ่ ้าเขียนไม่เปน็ ถงึ จะมปี ากกาและกระดาษเยอะ กไ็ ม่มีความหมายอะไร
ขิปปปัญญานุสรณ
์
188
งานทางโลก ยังเอาไดอ้ ยู่ แตเ่ อาพอประมาณ ไมค่ วร หาบ เอาแค่สะพาย หรือคอนกพ็ อ
ชวี ิตฆราวาส เหมือนทำงานกลางแดดร้อน จะหายร้อนไดบ้ ้างเปน็ คร้ังคราว
เมอื่ พิจารณาบ่อยๆ เขา้ จะเป็นสมาธไิ ปในตวั เรยี กวา่ ปญั ญาอบรมสมาธ
ิ
ความวุ่นวายใจ เพราะเราไมด่ งึ ฟืนออกหรอื ไม่ถอดปลัก๊ ไฟ ใจจงึ ไม่สบาย เมื่อดึงปลั๊กไฟออก
หม้อน้ำจะหยดุ เดอื ด ความเยน็ เป็นผล
ปัญหาภายนอกเวลาอยรู่ วมกนั เกดิ จากความเหน็ ไมต่ รงกนั
ปัญหาภายในเกดิ จากความเห็นไม่ตรงกบั ความจรงิ (สจั ธรรม)
นกั ปฏบิ ตั ติ อ้ งหมน่ั ศกึ ษาขอ้ บกพรอ่ งของตนเอง ตอ้ งศกึ ษากเิ ลสของตนเอง ตอ่ สกู้ บั ความโลภ
ความรัก ความยดึ มนั่ ราคะ ต้องพง่ึ ตนเอง ชนะตนเองให้ได้
อย่าไปตีคนบ้า อย่าไปว่าให้คนเมา เวลาหมาเห่าอย่าไปเห่าหมา เวลาหมากัดขาอย่าไป
กดั ขาหมา
ขดั สมมตใิ หข้ ึ้นเงา
อกเขาอกเรา
ยอมแพเ้ ปน็
เปน็ มติ รกบั ทกุ คน
คดิ ก่อนทจ่ี ะพูด คิดก่อนท่ีจะทำ
กระจกส่องกาย อุบายส่องใจ
ปดิ เลิศ เปิดเสีย
คุณสมบตั ิของนกั ปฏิบตั ทิ ีด่ ี
(๑) ฝกึ คยุ กบั ตัวเองบ่อยๆ แต่ไมอ่ อกเสยี ง
(๒) ต้องตง้ั คำถามเกง่ และหาคำตอบใหต้ นเอง
(๓) ฝกึ พูดแต่นอ้ ย คอยสงั เกตมาก
(๔) ฝกึ อยคู่ นเดยี วและอยู่กบั หมู่คณะให้ได้
(๕) อยู่กบั โลก อยา่ ตา้ นโลก บา้ กับเขาได้ ๗๕ เปอร์เซ็นต์
อบุ ายธรรม คือ
- สอ่ื สะกิดใหจ้ ิตต่นื ดู รู้ เหน็ ความเปน็ จริง
- สญั ญาณ ประกาศความจรงิ อยา่ งเปดิ เผย
- เคร่ืองมอื แก้ใจให้คลายยึด (ทุกข์)
- ยาวติ ามนิ กนิ ปอ้ งกันโรค
189
- หนามบ่งฝี
- เครื่องมอื เจาะถกู ตาน้ำ
อบุ ายธรรมหาไดจ้ าก
- เหตกุ ารณ์ เช่น ทอดปลาทูไหม้ ฯลฯ
- สง่ิ ที่มชี วี ติ เชน่ คน สัตว์ ตวั แมลง ฯลฯ
- สิ่งท่ไี ม่มชี วี ิต เช่น นาฬิกา ผ้าข้ีรว้ิ
นกั ปฏบิ ัติต้องถามตัวเองวา่
- เกดิ มาทำไม? เกิดมาเพื่ออะไร?
- หวงั อะไรกบั การเกิดของตนเอง
- ถา้ เกดิ มาเพ่ือรวย จะรวยไปเพอ่ื อะไร ถา้ ไม่ถาม-ตอบตัวเองเราจะหลงโลก เพิ่มความอยาก
ไม่อ่มิ ไมพ่ อ
ภาวนา
ภาวนา แปลว่า ทำใหเ้ กิด ทำใหม้ ี
- ทำใหเ้ กิด หมายถงึ เกดิ ความเหน็ ที่ถกู ต้องชอบธรรม
- ทำให้มี หมายถงึ มีสตปิ ญั ญา รอบรูต้ ามความเปน็ จรงิ
การภาวนาเป็นเร่ืองของจิต ไม่ใช่เร่ืองของกาย จึงไม่ผูกขาดว่าจะต้องน่ังเท่านั้น ดังนั้น
ถา้ ไมห่ ลับจะภาวนาได้ทกุ ท
่ี
หลกั ภาวนาทั้งหมดรวมยอดคอื หลักในการแก้ปญั หา หลักทำสมาธิคือหลกั พักปัญญา การพัก
ปัญญากเ็ ปน็ การพักปัญหา
อยา่ มองสิง่ เดยี วโดดๆ ตอ้ งมองเปน็ คูก่ นั ไป (เช่น มองสุขใหม้ องทกุ ขค์ ู่กนั )
ไมเ่ ร็ว ไมช่ ้า จะกลัวตายหรอื ไม่ ไม่สำคญั ตอ้ งตายกนั ทกุ คน เหมอื นเสอ้ื ขาดก็ตอ้ งทงิ้ ไป
คำว่าเห็นนั้นไม่ใช่เป็นการเห็นภาพ การเห็นภาพเรียกว่านิมิต การเห็นเป็นนิมิตทำให้คน
หลงนิมิต เหล่าน้ีเป็นการเห็นภายนอก ความหมายท่ีแท้จริงของคำว่าเห็น คือต้องเห็นใจ
ตวั เองว่าเปน็ อยา่ งไร ตดิ ปญั หาอะไรบา้ ง
ขปิ ปปัญญานุสรณ
์
190
การปฏิบัติตอ้ งฝกึ ในเร่ืองความเห็นให้ถกู ตามปกตคิ นเราเปน็ มจิ ฉาลกึ ๆ อยู่แล้ว จงึ ตอ้ งมา
แก้ตัวน้กี ่อน ให้เป็นสัมมา
การขบั รถ ถ้าเส้นทางตรงเรยี บดจี ะไมเ่ หนื่อย แตถ่ ้าทางเปน็ หลมุ เป็นบอ่ วกๆ วนๆ ก็จะ
เหนอ่ื ย การปฏบิ ตั กิ เ็ หมอื นกัน ถา้ ปฏิบตั ติ รงมันจะไมเ่ หนื่อย มันจะเพลดิ เพลินไปเรื่อย
ตนและของของตน
เรามาเกดิ กเ็ พอ่ื มาสรา้ งบารมี ใหส้ มกบั มาสรา้ งบารมี เราจะไมผ่ กู พนั สง่ิ ใดๆ ในโลก ไมย่ ดึ ตดิ
กบั ของสงิ่ ใด
บำเพญ็ บารมี หมายถงึ การบำเพญ็ นสิ ัยของใจ
ตัวเราเปน็ อตั ตา เปน็ หลกั ใหญ่ เมอื่ หลงตนหลงตวั เองเมอื่ ไร มันจะหลงของของเราเมอ่ื นน้ั
พิจารณาเรือ่ งตนและของของตน
อย่าให้วตั ถุมาทบั มาถมใจ ให้อดึ อัด หรือลำบากใจ แต่เอามาเปน็ ฐานส่งั สมบุญ-กศุ ล
บ่นวา่ งานหนักๆ แต่ก็ ขนเข้าๆ บ้าหรอื ดี
ลดอัตตา ดว้ ยการฝึกยอมแพเ้ ปน็ อยดู่ ว้ ยกันให้มคี วามสขุ ย้ิมแยม้ แจ่มใส ร่าเริง เกิดความ
รักความเห็นอกเห็นใจ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รักกัน สงสารกัน เคารพซึ่งกันและกัน
ร่วมสขุ ร่วมทกุ ข์
หลกั การละความโลภ คอื หลกั ปฏเิ สธ วตั ถสุ มบตั ิ วา่ เปน็ ของโลกเรา มาอาศัยเพอ่ื บำรงุ ธาต ุ
เพียงช่วั คราวเท่านน้ั
ตื่นเช้าข้นึ มา ฝึกสอนใจตวั เองวา่ จะไมย่ ึดตดิ ในสิ่งใดๆ ฝกึ ทอดธรุ ะ ฝกึ ปฏิเสธบ่อยๆ
ต้องคอยสังเกตดูใจตัวเองว่ามีความผูกพันของสิ่งใดๆ คอยหาจุดอ่อนของตัวเองให้ได้
เพอ่ื คิดแกไ้ ข
เราหลงตนกอ่ นจงึ ทำใหห้ ลงคนอน่ื ได้ ถา้ เราไมม่ ี เขาจะมไี ดอ้ ยา่ งไร คำวา่ เราและเขากเ็ หมอื น
กัน ตอ้ งเริ่มจากเราก่อน
เมื่อเราแนะนำพ่อแม่ในทางที่ดีแล้ว ท่านไม่ปฏิบัติตามก็ต้องปล่อยท่านไป เพราะท่านเป็น
พอ่ แม่ของเราไม่ใช่เป็นลูกเรา
191
ขิปปปญั ญานสุ รณ
์
192
©ากสุด·้าÂ.....ของ
¾ระมËาºุรÉุ ผ้สู ง‹างามและàดดç àดÕèÂว
©ากสุด·้าÂ.....ของ¾ระมËาºุรÉุ ผูส้ ง‹างามและàดดç àดèÂÕ ว
หลวงพ่อทูลเล่าวา่ สมยั เปน็ ฆราวาส ทา่ นเปน็ หมอชาวบ้าน ทีม่ ีความรู้ทง้ั เรือ่ งสมุนไพรและยา
แผนปัจจุบันพอสมควร มีความชำนาญในการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อและเข้าเส้นเลือด ในช่วงหน่ึงท่าน
เคยอุปฏั ฐากหลวงปู่ขาว ตอนทหี่ ลวงปู่ป่วยเป็นวณั โรค ทา่ นเปน็ ผ้ดู แู ลเรอื่ งสุขภาพ คอยฉีดยาให้ ท่าน
เรียกตนเองวา่ “หมอทลู หมอใหญ่ทลู ”
หลวงพ่อเป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง และจิตใจเข้มแข็งมาโดยตลอด ท่านไม่เคยแสดงความ
ออ่ นแอใหเ้ ห็น ใช้ความอดทนพึง่ ตนเองตลอดมา ทา่ นตอ้ งเดนิ ทางตลอดเวลาเพ่อื ไปโปรดลกู ศิษย์ท้งั ใน
และนอกประเทศไทย หลวงพอ่ มักจะพูดเสมอวา่ “ทา่ นทำทุกอย่างแขง่ กบั เวลา จะทำประโยชนเ์ พื่อ
อนุเคราะห์ผู้อ่ืนให้มากที่สุด หลวงพ่อขอมอบงาน ส้ินสุดท้ายของชีวิต ให้กับโลกทั้งสามนี้เป็นชาติ
สุดท้าย” โดยเฉพาะงานเผยแผ่ธรรมะให้กับชาวโลก ท่านจะแสดงธรรมทุกเวลาและทุกสถานท่ีท่ีมีผู้
อาราธนาท้ังทางตรงและทางอ้อม ทั้งคำพูดและการกระทำให้กบั คนทุกคน โดยไม่เลือกเช้อื ชาติ และ
ชนช้ันวรรณะ
จนเมอื่ วนั ที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๔๘ หลวงพอ่ ประสบอบุ ตั เิ หตรุ ถลากในวดั พงุ่ เขา้ ชนฝาผนงั โรงครวั
ฝ่าเท้าข้างขวากระแทกกำแพงอย่างแรงจนกระดูกส้นเท้าร้าว เท้าปวดและบวมแดง ท่านพยายาม
ทำการรักษาด้วยวธิ ีโบราณ คอื เอาอิฐมาอังไฟร้อนแล้วประคบ วนั ตอ่ มาแพทย์ทีโ่ รงพยาบาลอดุ รธานี
ขอโอกาสเข้าเฝือกอ่อน แต่ไม่นานท่านก็ให้ถอดออก เพราะท่านจะใช้วิธีทาน้ำมันรักษา การเจ็บป่วย
คร้ังนั้นทำให้ท่านเดินไม่ได้ ต้องน่ังรถเข็น และใช้ไม้เท้าอยู่หลายเดือน จึงเป็นเหตุท่ีทำให้หลวงพ่ออยู่
วัดได้นานมาก ถึงกระน้ันหลวงพ่อก็ไม่เคยปล่อยเวลาให้เปล่าประโยชน์ เน่ืองจากท่านเป็นคนไม่อยู่น่ิง
ทำงานตลอดเวลา และด้วยท่านเป็นหมอใหญ่มาก่อน ไม่ว่าท่านไปพบต้นสมุนไพรท่ีไหนก็ตาม เช่น
ท่านเคยเก็บเมล็ดต้นหมากซักท่ีสามารถนำมาทำสบู่ ยาสระผม ตอนไปหาสถานที่สร้างวัดที่ฮ่องกง
มาปลูกที่วัดป่าบ้านค้อ ท่านจึงดำริให้จัดหาสมุนไพรต่างๆ มาปลูกเพิ่มข้ึนมากมาย เพ่ือผลิตยารักษา
โรคตา่ งๆ ให้กบั คนทว่ั ไป เชน่ ยารกั ษาโรคธาลสั ซีเมยี
ช่วงท่ีท่านเร่ิมป่วยหนักเป็นคร้ังแรกนั้น เท้าของท่านมีอาการอักเสบ บวม และปวดเจ็บ พอ
อาการอักเสบลดลง ก็เริ่มมีคนทรี่ จู้ กั และศรทั ธามาสอบถามอาการและหาหมอมารกั ษา ซึ่งล้วนแตเ่ ปน็
หมอทม่ี คี วามเชย่ี วชาญในการรักษาต่างกนั ไป มีท้งั หมอนวด หมอเปา่ หมอเสน้ หมอเทวดา หมอตาดี
หมอตาบอด ท้ังพระและฆราวาส ถ้าใครมากจ็ ะรบี มาจบั ขาท่าน แลว้ นวด ท่านก็เมตตาให้ทำสารพัด
อย่าง ลองทุกวิถีทาง อาการก็ดีข้ึนมาระดับหน่ึง แต่มีปัญหาตามมาคือ ขาเริ่มลีบ อ่อนแรง
ขิปปปญั ญานุสรณ์
194
เริ่มมีปัญหาเร่ืองมีเอ็นข้ึนที่หน้าท้อง มีอาการเบ่ืออาหาร ตอนหลังท่ีฝ่าเท้ามีไตแข็งข้ึนกลางฝ่าเท้า
ย่ิงทำให้ทา่ นรำคาญ เบ่อื อาหารมากข้นึ อ่อนเพลยี ไมม่ เี สียงจะพูด และเทศน์ไดไ้ ม่นาน ท่านจะรสู้ กึ
เหนื่อยมาก ต้ังแต่ท่านประสบอุบัติเหตุในคร้ังน้ี ท่านเร่ิมอนุญาตให้คนมานวดมาจับองค์ท่านมากขึ้น
ซึ่งแตเ่ ดมิ ท่านไมอ่ นุญาตและไมช่ อบให้ใครมานวดหรือจบั องคท์ า่ นเลย บอกวา่ “ไม่ชอบ เดีย๋ วเคยตวั ”
และหลงั จากทท่ี า่ นเดินไดด้ ีขนึ้ ท่านกเ็ ริ่มรบั กจิ นมิ นตต์ ามเดมิ เท้าที่ไม่เหมอื นเดิมกเ็ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การ
เดินทางตลอดมา แต่ท่านก็อดทนและไม่แสดงอาการให้ศิษย์หรือคนทั่วไปรู้ จะบอกให้ลูกศิษย์ใกล้ชิด
ฟังในบางคร้ังเทา่ นัน้ ลกู ศิษยแ์ ตล่ ะคนจงึ พยายามหาวิธีการต่างๆ มาแนะนำเพอ่ื จะทำใหข้ าท่านกลบั มา
แข็งแรงเหมือนเดมิ ใหไ้ ด้
ในช่วงนั้นท่านทำงานหนักมากข้ึน เพ่ือที่จะให้คนได้เข้าใจธรรมะหลากหลายรปู แบบ ทา่ นเขยี น
คำกลอนอีสานหลายเร่ือง ได้แก่ พระเวสสันดร กลอนคติเตือนใจ เรวตะ-ลีลาวดี ละครประวัต
ิ
หลวงพอ่ นอกจากนที้ ่านยงั พฒั นาพน้ื ที่ ๒๐๐ ไร่ เพื่อทำสวนสมนุ ไพร ทำยาสมุนไพร ลูกศิษยห์ ลายคน
เริ่มคิดสงสัยหลวงพ่อว่า “ทำไมต้องรีบทำอะไรไว้มากมายและทำอย่างใหญ่โต” อนุญาตให้ก่อต้ัง
มูลนิธิวิวัฏธรรม เพ่ือขออนุญาตทำโรงผลิตยาสมุนไพร และร้านยาบ้านค้อโอสถ ให้พัฒนาพ้ืนที่บางส่วน
เปน็ ทปี่ ลูกพชื ผกั เพอ่ื เก็บกนิ ภายในวัด หลวงพ่อมกั พดู อยบู่ ่อยๆ วา่ “หลวงพอ่ ทำทกุ อยา่ งไวใ้ ห้เกบ็ กนิ
ถา้ หลวงพอ่ ไม่อย่จู ะได้เก็บกินเลย้ี งวดั ได”้ ชว่ งหลังหลวงพ่อทำงานหนกั มาก จนร่างกายท่เี คยแขง็ แรง
รบั ไม่ไหว แต่เดมิ ท่านไม่เคยป่วยเป็นไข้หวัด ท่านกเ็ ริ่มเปน็ เริม่ ปวดเมอ่ื ยตามตัว และเหนอื่ ยง่าย
ประมาณปลายเดือนตลุ าคม ๒๕๕๐ หลวงพ่อเร่ิมเจ็บเทา้ และมีอาการเบอ่ื อาหารมากข้ึน ผลจาก
อุบัติเหตุครั้งน้ัน หนังบริเวณอุ้งเท้าข้างขวาหนาผิดปกติ มีลักษณะตึงเหมือนมีพังผืดยึดอยู่ข้างใน
ซึ่งตามตำราจีนบอกว่า บริเวณน้ีเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร แพทย์ท่ีเป็นลูกศิษย์จากโรงพยาบาลศิริราช
มาขูดลอกผิวหนังบรเิ วณนอี้ อก หมอฝงั เข็มจากฮ่องกงก็มาฝงั เขม็ ให้ ทำใหช้ ่วงนี้อาการเบอ่ื อาหารดีขน้ึ
ฉันอาหารมีรสชาติมากข้ึน หลังจากน้ันประมาณ
๒ สัปดาห์ หนังเท้าเร่ิมหนาข้ึนอีก อาการเบื่ออาหาร
กลับมา ท่านก็หาทางดูแลหนังบริเวณน้ีด้วยตัวเอง
โดยทายาให้หนังลอกแล้วใช้เครอื่ งมือค่อยๆ ขูดออก
วันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ ได้ไปตรวจเท้าที่
โรงพยาบาลสมิติเวช พบว่าอุบัติเหตุในคร้ังนั้น ทำให้
กระดูกเท้าข้างขวาแตก แต่ได้ปล่อยให้หายเอง
ตามธรรมชาติ จึงเป็นเหตุให้กระดูกฝ่าเท้าข้างขวาผิด
195
รูปไปจากเดิม และการท่ีกระดูกส้นเท้าแตก จึงทำให้กระดูกทรุด แต่กล้ามเน้ืออุ้งเท้าท่ีแข็งแรงช่วยรับ
นำ้ หนักอยู่ นอกจากนีย้ ังพบวา่ หมอนรองกระดกู ท่ีเอวปลิ้น กระดกู สนั หลงั เสอ่ื ม ๒ ขอ้ เป็นสาเหตใุ ห้
ขาไม่มีแรง ได้รับคำแนะนำให้ออกกำลังกายเพื่อให้กล้ามเนื้อแข็งแรงพอท่ีจะช่วยพยุงกระดูกที่เสื่อม
ตามวัยได้ สว่ นฝา่ เทา้ มียาทาเพือ่ ให้หนังน่ิม และแนะนำไมใ่ หข้ ูดผิวหนงั ทีฝ่ ่าเท้าอีก
วันน้ันกว่าจะกลับถึงวัดมกุฏฯ ก็ค่อนข้างมืดเพราะรถติด เมื่อถึงท่ีพัก ท่านให้เล่าถึงส่ิงท
่ี
จดบันทึกมา ให้ทายาและทบทวนท่าการออกกำลังกายตามท่ีหมอแนะนำในคืนน้ันเลย สองวันต่อมา
ได้นำรายงานการรักษาจากแพทย์มาถวาย ท่านบอกว่า “หลวงพ่อจะไม่รักษา หลวงพ่อจะปล่อย
ให้เป็นไปตามธรรมชาติจนถึงวันสุดท้ายของชีวิต” เม่ือได้ยินแล้วก็งง หน้าตาคงเป๋อเหรอ เน่ืองจาก
เป็นประสบการณ์ใหม่ เพราะเพิ่งเข้ามาทำงานถวาย รุ่งขึ้นอีกวันเข้าไปกราบ ท่านเมตตาคุยด้วยว่า
หลวงพอ่ วา่ ถา้ ปลอ่ ยตามธรรมชาติ เมอ่ื แก่ตัวจะลำบาก ท่านคงอยากจะให้กำลังใจ
ชว่ งนไี้ ดท้ ายาตามแพทยบ์ อกทฝ่ี า่ เทา้ ทกุ วนั เชา้ - เยน็ สามวนั ผา่ นไป ลกู ศษิ ยท์ มี่ าชว่ ยไดพ้ ดู ขน้ึ วา่
ฝา่ เทา้ ทา่ นแดงๆ สงสยั หลวงพอ่ จะแพย้ า เอะใจ เรยี นถามท่านว่า ทา่ นทายาทที่ ำให้หนังลอกหรอื เปลา่
ท่านตอบ “อย่าถาม อย่าถาม” เรียนท่านว่า ทำตัวไม่ถูกเพราะคุณหมอแนะนำมาไม่ให้ขูดผิวหนัง
ทฝ่ี ่าเทา้ เอง ขณะทพ่ี ูดออกมานั้น นกึ ถงึ เหตุการณท์ ่ีพาพ่อตัวเองไปหาหมอกระดกู เพราะปวดกระดกู
บรเิ วณสะโพกทำใหเ้ ดินไมถ่ นัด หมอให้ยามากนิ ๑ สัปดาห์ แล้วนัดไปตรวจ กนิ ยาได้ ๓ วนั กเ็ ลกิ กิน
แลว้ ไปหายามาทานวดเอง ถงึ วนั นดั ได้เลา่ ให้หมอฟัง ต้องการให้หมอยำ้ กบั พอ่ เรื่องการกินยาตามเวลา
หมอหันมาพูดกับเราว่า “คุณรู้อะไรไหม พ่อเรากว่าจะมาถึงวันน้ีชีวิตท่านผ่านอะไรมาเยอะมาก
การท่ีท่านกินยามา ๓ วัน แล้วเห็นว่าไม่ได้ผล ท่านก็หาทางรักษาด้วยตัวท่านเอง คุณสิควรจะ
เขา้ ใจในตัวทา่ น”
ได้คำตอบสำหรับตัวเองว่า “เราสิควร
จะเข้าใจในตัวหลวงพ่อ การจะรับหรือไม่รับ
ในส่ิงท่ีหมอแนะนำมา จะขึ้นกับตัวหลวงพ่อ
เปน็ หลกั ”
วนั ที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑ ทา่ นไปตรวจ
ร่างกายท่ีโรงพยาบาลวิชัยยุทธ กับนายแพทย์
สมพนธ์ บุณยคุปต์ พบก้อนเนื้อขนาด
๒ x ๑.๕ เซนติเมตร ที่ปอดขวาด้านบน
ขปิ ปปญั ญานสุ รณ
์
196
มีโอกาสเป็นก้อนเน้ือปกติ เพราะยัง
ไม่พบต่อมน้ำเหลืองในปอด ค่า CEA
เก่ียวกับมะเร็งยังปกติ หมอคิดว่าอาการ
เบ่อื อาหาร และพลงั เสยี งทีล่ ดลง นา่ จะ
เป็นผลมาจากก้อนเน้ือน้ี แนะนำให้
ผา่ ตัดออกใหเ้ รว็ ที่สดุ เท่าทีจ่ ะเรว็ ได้
วนั นนั้ ท่านบอกวา่ “หลวงพ่อเป็น
พระมีคนรู้จักมาก เร่ืองน้ีเป็นเรื่องใหญ่
ท่านมีงานใหญ่รออยู่ ๒ งาน คือ ไป
อินเดยี ๓๐ มกราคม - ๔ กมุ ภาพันธ์
๒๕๕๑ และงานมาฆบูชาของวัด
๑๖ - ๒๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๑ ให้ผา่ น ๒ งานนไี้ ปก่อน” หมอได้ต่อรองวา่ ขอให้งดไปอนิ เดยี ใช้เวลา
ช่วงนี้ ๒ สัปดาห์รักษาตัว แล้วท่านก็จะแข็งแรงทันวันมาฆบูชาพอดี ท่านตอบ “ไม่ได้ ลูกศิษย
์
กว่าร้อยคนรอไปอินเดียกับท่านและสั่งว่ายังไม่ให้บอกใคร” ก็ได้ตั้งใจไว้ว่าเร่ืองน้ีลูกศิษย์ต้องทราบ
จากตัวท่านเอง
วนั รงุ่ ขน้ึ ทา่ นไดพ้ ดู ดว้ ยวา่ “ไดพ้ จิ ารณาตนเองแลว้ หลวงพอ่ จะละสงั ขารเพราะโรคชรา ไมใ่ ชจ่ าก
โรคมะเรง็ เพราะไมม่ ีกรรมเร่ืองน้ี แตถ่ ้าเปน็ มะเรง็ หลวงพอ่ กอ็ ยากจะรู้ว่าเปน็ มะเร็งตายเปน็ อย่างไร”
หลังจากนั้นได้เข้าไปกราบนิมนต์ ให้ท่านอยู่เป็นหลักในการเผยแพร่พุทธศาสนาไปนานๆ ท่าน
พยักหน้า อมยิ้ม และเมตตาสอนว่า “น่ี เรากำลังหลงสมมติ ส่ิงท้ังหลายเหล่าน้ีล้วนเกิดจาก
ความคิด ใหม้ องวา่ เปน็ ภาวะไมเ่ ท่ียง ไตรลักษณ์ และให้รีบปฏบิ ัตภิ าวนา”
วนั ท่ี ๙ มนี าคม ๒๕๕๑ นายแพทย์ไชยรัตน์ เพิม่ พิกลุ จากโรงพยาบาลศิริราช มาตรวจร่างกาย
ที่วัดมกุฏกษัตริยาราม แนะนำให้ตัดก้อนเนื้อที่ปอดออก หลวงพ่อขอเวลา ๑ ปี เพ่ือรักษาตัวเอง
ด้วยการกินยาสมุนไพร หมอไม่อยากให้รอ เพราะช่วงนี้ท่านแข็งแรง มีโอกาสจะหายได้ ในที่สุด
หลวงพอ่ เลอื กวธิ ีใหเ้ ก็บเสมหะไปตรวจหาเชอ้ื
วนั ท่ี ๓ เมษายน ๒๕๕๑ โปรดให้กลมุ่ ลกู ศษิ ย์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี พาท่านไปตรวจเรอ่ื งเท้า
และเรื่องไม่ค่อยมเี สียง
197
วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๑ ตรวจรา่ งกายท่โี รงพยาบาลศิริราช พบวา่ ก้อนเน้ือท่ีปอดยงั มขี นาด
เท่าเดิม คณะลูกศิษย์แพทย์ พยายามขอร้องหลวงพ่อให้เข้าการตรวจให้ละเอียด ท่านก็ยังยืนยันท่ีจะ
ไม่ทำการรักษาหรอื ตรวจชนิ้ เน้ือทีป่ อดเด็ดขาด
วนั ท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เนอ่ื งจากท่านเรม่ิ เหน่ือยงา่ ย อ่อนเพลยี เบ่อื อาหาร และไม่มี
พลังเสยี ง คณะลูกศษิ ยท์ างกรงุ เทพมหานคร จึงพยายามหาวธิ ีท่จี ะรกั ษาหลวงพอ่ โดยขอความเมตตา
ใหห้ ลวงพอ่ ขึ้นมาตรวจร่างกายที่ Holistic Medical Center เปน็ การรักษาแบบแพทย์ทางเลอื ก และ
เร่ิมรักษาด้วยวิธีการทางน้ี ท่านก็ให้ความร่วมมือไปตรวจสอบอย่างละเอียด ซึ่งผลการตรวจพบว่า
เซลล์ในร่างกายหลายส่วนเรม่ิ ทำงานผิดปกติ โดยเฉพาะท่ปี อด ตอ่ มลูกหมาก ตับอ่อน ทางคลินกิ ได้
จัดยาให้ฉันและฉีดยาบำรุงร่างกายเพื่อเพิ่มภูมิต้านทานอนุมูลอิสระ ลูกศิษย์ที่ได้รับข้อมูล เริ่มไม่ค่อย
สบายใจว่าร่างกายของหลวงพ่อเร่ิมมีสิ่งผิดปกติเกิดข้ึนแล้ว เป็นภัยเงียบที่ไม่แสดงตัวออกมาชัดเจน
และบิดเบือนความเข้าใจผิดให้กับคนไข้ ทำให้ไม่เชื่อว่าจะมีส่ิงที่ไม่ปรารถนาเกิดขึ้น ลูกศิษย์หลายคน
เริ่มหาทาง ช่องทางท่ีจะรักษาทางอ้อม ในช่วงนั้นหลวงพ่อเบ่ืออาหารมาก รวมไปถึงเบื่อยาวิตามิน
ยาบำรุงต่างๆ ท่ีลูกศิษย์แต่ละคนพยายามสรรหามารักษาธาตุขันธ์ของท่านให้แข็งแรง เพ่ือจะได้อยู่
เมตตาลกู ศษิ ย์ไปได้นานๆ หลวงพอ่ เคยปรารภหลายครั้งว่า “ใครๆ กอ็ ยากใหห้ ลวงพ่ออยู่ แตค่ นอยู่
มนั ทรมานร้ไู หม”
ในช่วงน้ีหลวงพ่อเริ่มมีอาการปวดเม่ือยตามร่างกาย แขนและขา เนื่องจากท่านเขียนหนังสือ
หลายเล่ม เขียนคำกลอนหลายเรื่อง เริ่มเจ็บปวดแขนขวาอย่างรนุ แรง เพราะเวลาทา่ นทำอะไร ท่าน
ทุ่มเทจรงิ เขียนเรื่องอะไร ใชเ้ วลาไม่นานก็เสรจ็ ทา่ นมีความตงั้ ใจ อดทนอย่างย่งิ และทำทกุ วถิ ที าง
เพื่อเผยแพร่งานพระพุทธศาสนา
วนั ท่ี ๔ มถิ นุ ายน ๒๕๕๑ มีอาการเจบ็ แขนและไหล่ รนุ แรงมากข้นึ และยกมือไม่ขึ้น
วันท่ี ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๕๑ มอี าการเจ็บหลังแถวสะบกั สะบักจม บริเวณสะบกั หลงั ด้านขวา
มีเม็ดเป็นไตแขง็ คล้ายเส้นเอ็นขอด ขนาดเท่าน้วิ ก้อย และเจ็บหลังด้านซา้ ยรนุ แรง มีอาการกลา้ มเนือ้
เกรง็ ขน้ึ เปน็ ลกู ๆ จงึ ทำการรกั ษาดว้ ยการนวด และประคบรอ้ นดว้ ยสมนุ ไพร ฝงั เขม็ และทำอลั ตราซาวนด์
เพือ่ ลดอาการเจ็บปวด แต่ยงิ่ นวด ยงิ่ ประคบรอ้ นด้วยสมนุ ไพร กลบั มอี าการเจบ็ ปวดมากขนึ้
วันที่ ๑๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๑ หลงั ฉันอาหาร ทา่ นมีอาการเจบ็ หลงั อย่างรุนแรง จนต้องร้องออก
มาเสียงดัง และไม่สามารถขยบั ตวั ได้ ลกู ศิษยท์ ุกคนตกใจกนั ใหญ่วา่ หลวงพอ่ เปน็ อะไร หลงั จากติดต่อ
หมอท่ีโรงพยาบาลอุดรธานีมาถวายยาคลายกล้ามเนื้อ และฉีดยาลดอาการปวดและอักเสบ ตอนบ่าย
พอท่านหายเจ็บ ท่านก็ขับรถกอล์ฟไปดูงานแกะสลักพระพุทธรูป ๔ ปาง ท่ีช่างกำลังตกแต่งใบหน้า
ขปิ ปปญั ญานสุ รณ
์
๑1๙9๘8
ท่านขึ้นไปส่ังงาน ทำเหมอื นไมม่ อี ะไรเกดิ ขน้ึ ทงั้ ทเี่ มอื่ เชา้ ยงั เจบ็ ปวดมากอยู่ ทา่ นจะหว่ งงานมากกวา่
ตนเอง ทำงานแข่งกับเวลาจริงๆ ช่วงหลังท่านทำอะไร ดูเร่งรีบ และต้องการให้งานเสร็จเร็วท่ีสุด
ซ่ึงพวกเราได้แต่แอบคิดอยู่ในใจว่าทำไมต้องรีบเร่งขนาดน้ีด้วย บางทีท่านเจ็บหลังมาก จนเดินไม่ได้
แต่ทา่ นมีกจิ นมิ นต์วันท่ี ๑๗ มิถนุ ายน ทกี่ รุงเทพฯ และวนั ท่ี ๑๘ มถิ ุนายน ที่วดั เขาสกุ ิม ลกู ศษิ ย
์
ไดข้ อรอ้ งทา่ นใหย้ กเลกิ กจิ นมิ นต์ ทา่ นไมย่ อม “บอกวา่ ทา่ นยงั ไหว ไมเ่ ปน็ ไรมาก อดเอา! รบั ปากเขา
ไวแ้ ลว้ ”
วนั ท่ี ๑๕ - ๑๖ มถิ ุนายน ๒๕๕๑ ไดท้ ดลองฝังเขม็ บรเิ วณกอ้ นเนอื้ ท่สี ะบกั และหลงั แตอ่ าการ
ยังไม่ดขี ้นึ
วันที่ ๒๐ มิถนุ ายน ๒๕๕๑ หลวงพอ่ มกี จิ นมิ นตท์ ่ีกรงุ เทพฯ ลูกศษิ ยจ์ ึงขอโอกาสนมิ นตห์ ลวงพอ่
ไปเอกซเรย์ปอด ดูวา่ ก้อนเนือ้ น้นั มอี ะไรผดิ ปกตหิ รือเปล่ียนแปลงอีกหรือไม่ ผลการตรวจพบปอดมีฝา้
วนั ที่ ๒๔ - ๒๖ มถิ นุ ายน ๒๕๕๑ กลบั มาฝงั เขม็ ตอ่ บรเิ วณกอ้ นทสี่ ะบกั ไมด่ ขี นึ้ แตก่ ลบั มขี นาด
ใหญ่ขึ้นและอักเสบ จนทำให้ท่านยกแขนลำบาก ในชว่ งนนั้ มกี ารใหย้ าบำรงุ เซลลแ์ ละยาวติ ามนิ รวมทาง
เสน้ เลอื ด ๓ วนั ทา่ นเร่ิมเบื่ออาหารมากขึ้น ฉันไดน้ อ้ ยลง จนกระทัง่ ไมย่ อมรับนำ้ ปานะดว้ ย ทา่ นเริม่
บ่นขึ้นว่า “ไม่อยาก เบื่อทุกอย่างท่ีเรียกว่าอาหารหรือทุกอย่างที่ต้องกลืน แต่สำหรับหมากใช้เค้ียว
ไมต่ อ้ งกลนื ยังฉันได้อย่”ู
วนั ที่ ๒๔ - ๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๑ หลวงพอ่ เปน็ ไขห้ วัดมอี าการเจบ็ คอ เป็นไขส้ ูง ๓๘.๒ องศา
เซลเซียส มไี อและจาม ได้จัดยาแกอ้ ักเสบ และฉดี ยาแก้อกั เสบ
วนั ที่ ๒๗ มถิ นุ ายน - ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ พระอาจารยจ์ นั เรียน วัดถ้ำสหาย ได้มานิมนต์ให้
องคท์ ่านไปทำการล้างสารพษิ ท่ีวดั ทา่ นก็รบั นิมนตไ์ ปทำดีทอกซ์ กลบั มาอาการก็ยงั ไม่ดขี น้ึ
๙ สิงหาคม ๒๕๕๑ หลวงพ่อลงไปตรวจที่คลินกิ ตามนดั หลวงพ่อเลา่ ให้ฟงั วา่ “มอี าการปวด
กลา้ มเนื้อหลงั และบริเวณซโ่ี ครงมาประมาณ ๓ - ๔ เดอื น เวลาไอหรือหาวจะเจบ็ แปล๊บๆ เริม่ มี
อาการปวดร้าวทางแถบขวาท้ังแถบ ปวดร้าวจากข้างหลังทางขวา ผ่านต้นคอ ขึ้นศีรษะข้ามมา
หน้าผาก กระบอกตาขวา จมูก ทำให้รำคาญ รู้สึกขาข้างขวาไม่มีแรง เดินข้ึนบันไดต้องใช้มือกด
หัวเข่าช่วย”
ท่านเลา่ ให้ฟังวา่ “ต้งั แตป่ ี ๒๕๓๓ ทา่ นไมส่ ามารถยกของหนักด้วยมอื ขวาได้ (ยกของหนักแลว้
ชูมอื ข้นึ ) ปี ๒๕๔๔ เขียนหนงั สือพุทโธ เลม่ ทพ่ี มิ พเ์ ป็นลายมอื เร่ิมปวดมอื ตงั้ แตน่ น้ั เป็นตน้ มา แต่ก็ยงั
เขยี นมาเร่อื ยๆ สะสมความปวดมาเร่ือยๆ และอาการหนกั มากข้ึนเมอ่ื เขยี นหนงั สือเรือ่ ง ภัยธรรมชาติ
เปล่ยี นความเห็น และพุทธประวัติ (จุดประกายแห่งปัญญา) เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๑ อาการปวดมากๆ
ออกฤทธ์ิ ทำให้เขียนหนังสือไม่ได้ เพราะไม่มีอารมณ์เขียน เนื่องจากเจ็บแขน ไม่มีกำลัง แต่ก็ยัง
199
อยากจะเขยี นหนังสือเรอื่ ง อรยิ วงศ์ และคำกลอนประวัตพิ ระพุทธเจา้ อกี ระยะหลังถึงทา่ นจะเจบ็ ปว่ ย
ขนาดนี้ ท่านกย็ ังเมตตารบั กจิ นิมนต์ เทศนใ์ ห้ญาติโยมที่มาปฏบิ ตั ธิ รรมทว่ี ัดและสถานทอี่ ื่นๆ อยู่เสมอ
มิไดข้ าด ถึงแมจ้ ะเจ็บปว่ ยไม่สามารถเทศนไ์ ดน้ านๆ แตท่ า่ นก็ไปตามกิจนมิ นต์ท่านบอกว่า “เกรงใจเขา
รับปากแล้วไมย่ อมเสียสจั จะ”
วันท่ี ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๑ หลวงพ่อมีอาการเสียงดังรบกวนในหู คล้ายกับเสียงเครื่องป่ันไฟ
มาดังอยู่ในหู ท่านเป็นหลังจากท่ีน่ังเคร่ืองบินกลับจากกรุงเทพฯ เม่ือวันท่ี ๙ สิงหาคม ๒๕๕๑
จึงได้นิมนต์หลวงพ่อไปตรวจที่โรงพยาบาลวัฒนา ผลการตรวจพบว่าระบบประสาทหูเส่ือมตามอายุ
ไม่สามารถรับคล่ืนเสียงความถ่ีสูงได้ดี หมอจัดยามาให้ฉัน นอกจากนี้ทางโรงพยาบาลขอโอกาสตรวจ
ระบบต่างๆ ในร่างกายด้วยการเอกซเรย์ปอด ตรวจคลื่นหัวใจ EKG ผลการตรวจปอดพบว่าปอด
ดา้ นขวามเี งาๆ ขนาด ๒ - ๓ เซนติเมตร แสดงว่ามีส่ิงผิดปกติ คุณหมอแนะนำให้ตรวจให้ละเอยี ด
ด้วยเคร่ือง MRI แต่หลวงพ่อยังไม่อนุญาต “บอกว่าไม่ให้ยุ่งกับปอดเด็ดขาด” ผลตรวจคลื่นหัวใจ
หวั ใจเตน้ ชา้ ผิดปกติ แตเ่ ปน็ จังหวะดี หลวงพอ่ บอกวา่ “มีอาการแน่นหนา้ อก เหนอื่ ยบางครงั้ หายใจ
ไม่อ่ิม เคยเจ็บบริเวณใต้ราวนมและซ่ีโครง” สำหรับก้อนท่ีหลัง หมอแนะนำให้ทำกายภาพบำบัด
และตอ้ งตรวจให้ละเอียดถา้ หลวงพอ่ จะผา่ ตัด และได้เจาะเลือดไปตรวจด้วย
วนั ที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๑ หลวงพ่อไปได้หาหมอจดั กระดกู พ้นื บา้ น หมอได้แนะนำให้ไปผา่ กอ้ น
เนื้อทห่ี ลังออกก่อน และแนะนำว่า ถ้าเป็นก้อนซสี ผา่ ตัดไดไ้ ม่เป็นอันตรายอะไร หลวงพอ่ จึงตดั สนิ ใจ
เขา้ โรงพยาบาลวฒั นา คณะแพทยไ์ ดท้ ำการตรวจ ดว้ ยเครอ่ื ง MRI เพอ่ื จะดกู อ้ นเนอ้ื ผดิ ปกตทิ ่ปี อดกอ่ น
ว่าจะทำการผ่าตัดได้หรือไม่ เพราะตำแหน่งใกล้เคียงกัน ผลการตรวจพบว่า “ก้อนเนื้อที่ปอดมีขนาด
ใกล้เคียงของเดิม แต่พบวา่ เซลล์ผดิ ปกตไิ ดก้ ระจายไปทกี่ ระดกู หลายจุด และต่อมนำ้ เหลอื งดว้ ย”
คณะแพทย์กราบเรียนว่าพบส่ิงผิดปกติ เปน็ อาการทน่ี ่าเปน็ ห่วง เพราะคา่ CEA มีคา่ สูงมาก
ข้ึนถึง ๑๕๐ ควรจะรีบดำเนินการตรวจและรักษาโดยด่วน แต่เนื่องจากโรงพยาบาลวัฒนาเป็น
โรงพยาบาลขนาดกลาง และไม่มีทีมแพทย์ผู้เช่ียวชาญ จึงแนะนำให้หลวงพ่อลงไปรักษาตัวท
ี่
โรงพยาบาลศริ ิราช ซ่ึงหลวงพ่อทา่ นรบั ทราบและยืนยนั ว่า “ถ้าเป็นมะเรง็ จริง ท่านก็จะปล่อยไปตาม
ธรรมชาติ จะไม่ไปทำอะไร ไม่ผ่าตัด หรือรับการรักษาแผนปัจจุบันเด็ดขาด” ท่านต้องการรักษา
แขนให้หายเจ็บเท่านั้น ถ้าเอาก้อนที่หลังออก แขนน่าจะดีข้ึน จึงได้ประสานกับนายแพทย์ไชยรัตน์
เพิ่มพิกุล เจ้าของไข้ท่ีโรงพยาบาลศิริราช และนิมนต์หลวงพ่อลงไปรักษาตัวท่ีโรงพยาบาลศิริราชด่วน
เมื่อกลับมาจากโรงพยาบาล ท่านก็รีบให้ต้มยาสมุนไพรที่รักษาโรคเก่ียวกับมะเร็งท้ังหลาย ท่านต้ังใจ
ดื่มยาอย่างมาก จะรักษาดว้ ยตนเอง เพราะเมื่อท่านพอจะรู้ว่าตนเองเปน็ อะไร ทา่ นไดเ้ ตรยี มหาสมุนไพร
ขปิ ปปัญญานสุ รณ์
200