The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตามทางพุทธกิจ โดย ป.อ. ปยุตโต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 20:47:18

ตามทางพุทธกิจ โดย ป.อ. ปยุตโต

ตามทางพุทธกิจ โดย ป.อ. ปยุตโต

Keywords: ตามทางพุทธกิจ โดย ป.อ. ปยุตโต

ตามทางพทุ ธกจิ

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต)

ร่วมรำลึก
พระครูกติ ตวิ ราภรณ์ (ทวี กิตตฺ ปิ ญโฺ , ดร.)

๗ มีนาคม ๒๕๕๘

ตามทางพุทธกจิ

 พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต)

ISBN 974-8357-34-1

พมิ พค์ ร้ังแรก - สงิ หาคม ๒๕๓๑ ๗,๕๐๐ เลม่ ๓,๐๐๐ เล่ม
พมิ พค์ รั้งท่ี ๔ - ตลุ าคม ๒๕๕๓ ๑,๕๐๐ เลม่
๒,๒๗๓ เลม่
พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๑๐ – มนี าคม ๒๕๕๘ ๗๒๗ เลม่

- ร่วมบาเพญ็ กศุ ลในงานพระราชทานเพลงิ ศพ
พระครูกติ ติวราภรณ์ (ทวี กติ ฺตปิ ญโฺ ดร.)

- ทนุ พมิ พห์ นงั สอื เป็นธรรมทาน วดั ญาณเวศกวนั

แบบปก: พระครูวนิ ยั ธร (ชยั ยศ พทุ ฺธวิ โร)
ขอ้ มลู : พ.ศ. ๒๕๒๘ คณุ พนติ า องั จนั ทรเพญ็ ถอดจากเสียงเป็ นตวั อักษร - ทาเลม่ ต้นแบบ

พ.ศ. ๒๕๓๑ พระครูปลดั สุวฒั นพรหมคุณ (อินศร จนิ ฺตาปญฺโ ) งานขนั้ สง่ โรงพิมพ์

ด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบ Apple Macintosh

พ.ศ. ๒๕๕๓ คุณพทุ ธชาติ แผนสมบุญ และเพอ่ื นๆ นาลงฐานข้อมูลคอมพวิ เตอร์ ระบบ PC

พมิ พเ์ ป็นธรรมทาน โดยไม่มคี ่าลิขสิทธ์ิ
ทา่ นผูใ้ ดประสงคจ์ ดั พมิ พ์ โปรดตดิ ต่อขออนุญาตท่ี
วดั ญาณเวศกวนั ต.บางกระทกึ อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๑๐

http://www.watnyanaves.net

พมิ พท์ ่ี

นา้ ใจเมตตาแผ่ไว้

ซมึ ซ่านอยู่ในศรัทธามหาชน

ย้อนหลงั ไปนบั ได้ ๓๐ ปี พอดี เม่ือเดือนกุมภาพนั ธ์ พ.ศ.
๒๕๒๘ อาตมภาพได้รับอาราธนาให้เดินทางไปนมัสการพุทธ
สงั เวชนียสถาน และเยี่ยมชมสถานที่สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา
หลายแหง่ ในประเทศอินเดยี เป็นครัง้ แรก

คณะบุญจาริกครัง้ นนั ้ เป็ นคณะใหญ่ทีเดียว แตก่ ็เรียบร้ อย
ร่ืนรมย์เป็ นอย่างดี ด้วยมีพระครูกิตติวราภรณ์ (ทวี กิตฺติปญฺโ )
เม่ือยงั เป็นนกั ศกึ ษาปริญญาเอก หรือพดู ง่ายๆ วา่ กาลงั ทา Ph.D.
อยู่ท่ีมหาวิทยาลัยฮินดูพาราณสี เป็ นผ้อู านวยการการเดินทาง
และจดั เตรียมอานวยความสะดวกทกุ อยา่ ง

โยมคณุ หญิงกระจ่างศรี รักตะกนิษฐ ผ้นู ิมนต์และเป็ น
หวั หน้าจดั การเดินทางบญุ จาริกครัง้ นนั ้ ซงึ่ เป็ นโยมแม่อปุ ถมั ภ์ของ
พระครูกิตติวราภรณ์เอง ก็ได้ จัดเตรียมการต่างๆ สาหรับการ
เดินทางในด้านท่ีไปจากเมืองไทยอย่างพร่ังพร้ อมทกุ ประการ การ
จาริกบญุ ครัง้ นนั ้ ต้นทางก็สดใสด้วยศรัทธา จดปลายทางก็ฉ่าชื่นด้วย
เมตตาและไมตรี จงึ อย่ใู นขนั ้ ทเ่ี รียกได้วา่ สมบรู ณ์

โยมคณุ หญิงกระจ่างศรี รักตะกนิษฐ มีลูกศิษย์และญาติ
มติ รมากหลาย บางทา่ นที่ร่วมจาริกครัง้ แรกพอใจจะไปอีก บางท่าน
ทยี่ งั ไมไ่ ด้ไป ก็อยากจะไปบ้าง เป็นเหตใุ ห้โยมคณุ หญิงจดั การจาริก
บญุ สพู่ ทุ ธสถานในชมพทู วปี อีกเป็ นครัง้ ท่ี ๒ ในเดือนกุมภาพนั ธ์ พ.ศ.
๒๕๓๓ คือหลงั จากครัง้ แรกไม่นานประมาณ ๕ ปี บญุ จาริกครัง้ ที่ ๒
นถี ้ ือได้วา่ เป็นการยืนยนั ความสาเร็จของการจาริกบญุ ครัง้ แรกนนั ้

ข ตามทางพทุ ธกจิ

บญุ จาริกครัง้ แรกเม่ือปี ๒๕๒๘ นนั ้ นานมากแล้ว ตงั ้ แตก่ ่อน
เกิดมีวดั ญาณเวศกวนั พระภิกษุที่ได้รับนิมนต์มีเพียง ๒ รูปจากวัด
พระพเิ รนทร์ คอื พระครูวินยั ธรถวลั ย์ สมจิตฺโต กบั อาตมภาพ แตใ่ น
การจาริกครัง้ ท่ี ๒ แม้โยมจะต้องพยายามจากัดจานวน คณะก็
ใหญ่ขึน้ กวา่ ครัง้ แรก ทงั ้ พระภิกษุก็เพ่ิมจานวนขึน้ เป็ น ๕ รูป โดย
นิมนต์พระวัดญาณเวศกวนั หมดทัง้ สามรูปในสมัยนนั ้ มีพระครู
ปลดั สวุ ฒั นพรหมคณุ กับหลวงลงุ คือ พระครูสงั ฆรักษ์ (ฉาย
ปญฺ าปทีโป) ร่วมไปด้วยกับอาตมภาพ คราวนนั ้ พระอธิการดุษฎี
เมธงฺกโุ ร จากจงั หวดั ชมุ พร (เจ้าอาวาสวดั ทงุ่ ไผ่ จ.ชมุ พร ในปัจจบุ นั )
ก็ได้ร่วมขบวนจาริกด้วย และโยมกเ็ พม่ิ จาก ๑๐ เป็น ๑๓ คน

ในคณะบุญจาริกนนั ้ พระทุกรูปไม่ค้นุ เคยกับอินเดีย ไม่รู้
เร่ืองการเดนิ ทางในอินเดีย ฝ่ ายโยม นอกจากไม่ค้นุ ถิ่นอินเดียแล้ว
กเ็ ป็นผ้สู งู วยั คอ่ นข้างมาก นอกจากนนั ้ การจาริกอินเดียในเวลานนั ้
มีความยากลาบาก ไม่สะดวกนานปั การ ตา่ งจากสมยั นี ้ท่ีได้ทราบ
ว่ามีความพร่ังพร้ อมเพ่ิมขึน้ มากมาย แต่เพราะได้ผู้นาจาริกที่
เช่ยี วชาญเร่ืองอินเดีย คือ พระครูกิตติวราภรณ์ ซึง่ เวลานนั ้ ยงั เป็ น
พระครูปลดั ทวี กิตตฺ ปิ ญโฺ เป็นผ้ทู ไี่ ด้อยใู่ นอินเดียมายาวนาน และ
มีความสามารถ มีความชานาญ รู้เข้าใจกว้างลึกทงั ้ เรื่องคนและ
เร่ืองถ่ิน จงึ นาการจาริกให้ได้ผลดี และสะดวกไปหมด

แม้ว่าคณะบญุ จาริกจะเดินทางอย่ใู นอินเดียไม่นาน ก็พอ
มองเห็นได้ว่า พระครูกิตติวราภรณ์ ซ่ึงอยู่ในอินเดียมานาน
นอกจากมีประสบการณ์มากมายและรู้เข้าใจเร่ืองราวท่ีนน่ั อย่างดี
แล้ว ทา่ นยงั ได้มีเมตตา มีไมตรี ชว่ ยเหลือเกือ้ กูลสงเคราะห์พระรุ่น
น้องและคฤหสั ถ์ท่ีไปศึกษาในชมพทู วีปมามากรุ่นมากรูปมากคน
จึงปรากฏว่ามีพระและคฤหสั ถ์มากหลายทา่ นท่ีกาลงั ศึกษาอย่ใู น

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ค

ประเทศอินเดีย มาร่วมต้อนรับชว่ ยเหลือคณะจาริกเป็ นอย่างดี น่า
ชื่นใจตงั ้ แต่ต้น และหลายท่านได้ร่วมสมทบขบวนบุญจาริกด้วย
อาตมภาพซาบซงึ ้ ใจและยังระลึกถึงนา้ ใจเกือ้ กลู ของทา่ นเหล่านนั ้
ทัง้ พระและคฤหัสถ์ แม้ว่าเม่ือจบการจาริกกลับเมืองไทยแล้ว
จะต้องห่างกนั ไป แทบไม่มีโอกาสได้ติดต่อถึงกนั อีก บางท่านก็ยงั
สง่ รูปภาพบ้างส่งหนงั สือบ้างไปให้ทางไปรษณีย์ เลยขอถือโอกาส
ขอบคณุ ขอบใจทกุ ทา่ นพว่ งไปกบั พระครูกิตตวิ ราภรณ์ด้วย

ท่ีเล่าเร่ืองการจาริกนีม้ า ถือได้ว่า เป็ นเพียงตวั อย่างของ
การท่ีพระครูกิตติวราภรณ์ได้ชว่ ยเหลือเกือ้ กลู คณะบุญจาริกจาก
เมืองไทย ท่ีได้ไปเยี่ยมเยือนนมัสการพุทธสถานในชมพูทวีป
หมายความว่า พระครูกิตติวราภรณ์คงจะได้ใช้นา้ ใจเมตตาและ
ความรู้ความชานาญของทา่ นในเร่ืองถ่ินอินเดียนี ้ชว่ ยนาคณะบุญ
จาริกอีกมากมายหลายคณะให้ได้ปี ตใิ นบญุ ในธรรมกนั ไปแล้ว

ในการจาริกครัง้ แรกเม่ือปี ๒๕๒๘ นัน้ เมื่อถึงอิสิปตน
มฤคทายวนั ที่พระพทุ ธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาอนั สาคญั ย่ิง ถือ
วา่ เป็ นท่ีแรกประดิษฐานประกาศพระพทุ ธศาสนา เม่ืออาตมภาพ
จะกล่าวธรรมกถาแก่ญาติโยม ก็จึงนิมนต์ท่านพระครูกิตติวรา-
ภรณ์ เป็นผ้กู ลา่ วเกริ่นนาธรรมกถา ท่ีธมั เมกขสถปู สารนาถ

หลังจากบุญจาริ กครัง้ แรกจบลง และคณะกลับถึง
เมืองไทยแล้ว ต่อมาเม่ือรวบรวมธรรมกถาซ่ึงอาตมภาพกลา่ วใน
คราวเดินทางครัง้ นนั ้ พิมพ์เป็ นเล่มหนงั สือชื่อ ตามทางพุทธกิจ ก็ได้
นาคาเกริ่นนานิมนต์ของพระครูกิตติวราภรณ์ ณ พุทธสงั เวชนีย
สถานท่สี าคญั นนั ้ ลงตพี ิมพ์ไว้ด้วย เป็ นท่ีระลึกถึงพระครูกิตติวรา-
ภรณ์ คกู่ นั กบั บญุ จาริกครัง้ นนั ้ สืบไป

ง ตามทางพุทธกจิ

ท่ีจริง ไม่เฉพาะพทุ ธสถานและถิ่นแดนทงั ้ หลายในอินเดีย
เท่านัน้ พระครูกิตติวราภรณ์มีประสบการณ์ด้านการจาริกมา
ยาวนาน ตัง้ แต่ในประเทศไทยประชิดประเทศต่อแดนอย่าง
เมียนม่าร์ ท่านก็ได้เดินธุดงค์มามากมาย บุกป่ าฝ่ าดง ไปในถ่ิน
ทรุ กันดาร พบชุมชนชาวชายแดน ผ่านเขาสูงต่อแดน ผจญภัย
อยา่ งเสย่ี งชวี ิต ดงั ท่ีทา่ นเขียนเลา่ ไว้แล้ว

เหมือนวา่ เม่ือมีวยั สงู ขึน้ ทา่ นจึงอย่ปู ระจาที่ ดงั ที่ทราบกัน
ว่า ท่านเป็ นเจ้ าอาวาสวัดป่ าลิไลยก์ ในตาบลลาปา อ.เมือง
จ.พทั ลงุ และด้วยนา้ ใจรักงานรักการบาเพ็ญประโยชน์ นอกจาก
ศาสนกิจในการเผยแผ่ธรรม การบริหาร การปกครอง ท่ีปฏิบัติ
ชานาญอยู่เป็ นประจาตามปกติแล้ว ท่านได้นาประชาชนในการ
สร้างถนนหนทาง ทเี่ รียกกนั วา่ เป็นงานพฒั นาท้องถ่ินพฒั นาชมุ ชน
ซ่ึงหนกั แรง ต้องเหน็ดเหน่ือยตรากตรากลางฝ่ นุ กลางแดดอย่าง
มาก เป็ นเหตุเร่ิมต้นของโรคร้ าย ท่ีทาให้ทา่ นอาพาธยาวนาน แม้
จะบรรเทาได้ ข่าวว่าดีขึน้ มาก แต่ก็ได้เป็ นเหตกุ ่อความออ่ นแอแก่
ระบบของร่างกาย จนในทส่ี ดุ ทา่ นกไ็ ด้ถงึ มรณภาพ

แม้ว่าพระครูกิตติวราภรณ์จะได้ลว่ งลบั ด้วยมรณภาพจาก
ไป แต่เมตตาไมตรีธรรม ความมีนา้ ใจช่วยเหลือเกือ้ กูลบาเพ็ญ
ประโยชน์ ต่อบุคคลทัง้ พระและโยม กับทัง้ ต่อชุมชนและสังคม
สว่ นรวม ทา่ นได้ทาไว้ให้แล้ว ถึงตวั บุคคลจากไป แต่คณุ ประโยชน์
ท่ีได้ทาไว้ยังอยู่ นอกจากวัตถุสถาน ที่ทาง ทัง้ สังหาริมะและ
อสงั หาริมะแล้ว ก็คือความทรงจาราลกึ ทีเ่ คียงคอู่ ยกู่ บั ความซาบซงึ ้
ศรัทธาในจิตใจของบคุ คลและชมุ ชนข้างหลงั ที่ยังอยู่ เป็ นอนสุ รณ์
ทรี่ าลกึ และอทุ ิศกศุ ลแก่องค์ทา่ น ยืนนานสืบไป

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต)

๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘

ชีวิตของทา่ นพระครูท่คี วรดูเป็นคติ

ท่านพระครูกิตติวราภรณ์ (ดร.ทวี) เป็ นพระภิกษุท่ีมีความ
สนใจ ใฝ่ ในการศกึ ษาค้นคว้า ได้มีการเดินทางไปศกึ ษาเล่าเรียน
ทงั ้ ท่ีประเทศศรีลังกา และอินเดีย ตงั ้ แต่ยังเยาว์วัย สนใจท่ีจะไป
พานักพกั ในถิ่นท่ีแปลกใหม่ ตลอดจนได้จาริกเป็ นธุดงค์ข้ามแดน
ไปยงั ดนิ แดนทรุ กนั ดาร หา่ งไกลความเจริญ เชน่ ข้ามเขตแดนไทย
ไปพม่า อินเดีย เป็ นต้น เพื่อเป็ นการฝึ กหัดขัดเกลา และเรียนรู้
เร่ืองราวท่ีท้าทาย ตลอดเวลา เป็ นผ้ทู ่ีมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ที่ดี มีวาจา
ไพเราะอ่อนหวาน เข้ ากันได้กับทุกคน มีเพื่อนสนิทมิตรสหาย
กระจายอย่ทู ว่ั โลก

เทา่ ที่กระผมได้รู้จกั ท่านพระครูเป็ นพระที่ปฏิบตั ิตนกับ
ทกุ คนเสมอต้นเสมอปลาย เปิ ดเผย ตรงไปตรงมา ให้ความรัก
ความเมตตา เอือ้ อาทร ต่อตวั กระผม เหมือนดั่งเป็ นพี่เป็ นน้อง มี
การแวะเวียนเย่ียมเยียนพบปะกนั เป็ นครัง้ คราว เมื่อได้ทราบว่า
ทา่ นพระครูอาพาธด้วยโรคร้ าย จะต้องรักษาตัวต่อเน่ืองยาวนาน
มีคา่ ใช้จ่ายในเรื่องค่ารักษามาก ได้เคยนาปัจจยั จากนิตยภตั ของ
ท่านเจ้าคณุ อาจารย์ไปถวาย ณ วัดเจ้ามูล กรุงเทพฯ เพ่ือเป็ นค่า
รักษาพยาบาล ครัน้ เมื่อทา่ นพระครูได้รับแล้ว ดอู าการตอนนัน้
ท่านมีความสขุ สดชื่น มีกาลงั ใจ ท่ีได้รับความเมตตานุเคราะห์
จากพระมหาเถระยามวิกฤตขิ องชวี ติ เชน่ นนั ้

อีกประการหนึ่ง ท่านพระครู เป็ นผู้ที่มีความเสียสละ
ทางานเพอ่ื พระศาสนา ในการเกือ้ กูลและอนเุ คราะห์ตอ่ ประชาชน
ไม่หวงั ผลตอบแทน มีใครนิมนต์ท่านพระครูไปแสดงธรรมท่ีไหน
เม่ือไร ถ้าไม่ตดิ กิจธุระอ่ืนใด ทา่ นก็ยินดีตอบสนองด้วยความเตม็ ใจ

ฉ ตามทางพุทธกจิ

พร้อมกนั นนั ้ กค็ ิดโครงการใหมๆ่ ให้เกิดประโยชนแ์ กช่ มุ ชนสงั คมใน
วงกว้าง เชน่ การสร้างสะพานข้ามทะเลน้อย จากลาปา จงั หวดั พทั ลงุ
ไปยงั อาเภอระโนด จงั หวดั สงขลา ก็เป็นผลงานทเ่ี หน็ ได้เดน่ ชดั

แม้ว่าในระยะหลังๆ มา ท่านพระครูมีโรคภัยเข้ามาเบียด
เบยี น ล้มป่ วย จากการตรากตราทางานหนกั จนต้องพกั จากงานท่ี
เคยทา แตไ่ ฟในการทางานก็ยงั ไม่มอดดบั ยังได้เขียนหนงั สือบอก
กลา่ วเลา่ เร่ืองราวของโรคท่ีเป็ นอย่ใู ห้ผ้คู นได้เรียนรู้ ทาเป็ นวิทยาทาน
และมีการรักษาตวั จนเหน็ ผลดีขึน้ ในระดบั หน่ึง โดยการฉันอาหาร
ตามที่คุณหมอแนะนา ทาอย่างเข้ มข้ นจริงจัง หาท่ีมีอากาศดี
แม้กระทง่ั ที่ทา่ นพระครูเคยเลา่ ให้ฟังวา่ เคยไปอย่บู นเกาะแห่งหนึ่ง
ท่ีมีเสียงเลา่ ลือกันมาวา่ เป็ นถิ่นที่เหมาะท่ีจะพกั ฟื น้ สขุ ภาพกายได้
เป็ นอย่างดีก็ตามที

เคยได้ไปพบกับท่านพระครูครัง้ หนง่ึ ที่จงั หวดั เชียงใหม่ ซง่ึ
มิได้มีการนดั หมายลว่ งหน้าแต่ประการใด ซงึ่ ตอนนนั ้ ได้มีโอกาส
เดินทางไปเยี่ยมโยมพ่อโยมแม่ที่จงั หวัดเชียงราย ครัน้ มีเวลาก็ได้
ไปเย่ียมชมวัดท่าตอน จงึ ได้ทราบจากพระท่ีวดั นนั ้ ว่า ท่านพระครู
กิตติวราภรณ์ ได้มาพกั อยู่ท่ีนั่นโดยไปพานกั อาศยั อยู่ในที่ดินของ
วดั ทา่ ตอน หลวงพอ่ เจ้าอาวาสวดั ทา่ ตอน จดั ท่ีพกั ให้อย่างสปั ปายะ
เพือ่ เป็นการรักษาตวั ให้หายจากโรคภยั ทีเ่ ป็ นอยู่ โดยมีทีมงานดแู ล
ทา่ นพระครูอยา่ งดี มีทงั ้ ลกู ศิษย์ติดตามขบั รถให้ และฝ่ ายแม่ครัวที่
จะต้องทาอาหารปลอดสารพิษ และนา้ ปานะถวายตรงตามเวลา

แต่ถึงกระนนั ้ ก็ตาม ท่านพระครูก็หนีไปไม่พ้น มรณะ คือ
ความตาย อันมนษุ ย์เช่นเราจะปกป้ อง หลบซ่อนตวั อย่างไร จะมี
สถานทพ่ี กั ทม่ี ีอากาศดีๆ มีอาหารท่ีปลอดจากสารพิษ มีมิตรไมตรี

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ช

จากเพ่อื นพ้องน้องพี่มากมาย ไม่มีใครเลยจะหนีไปได้จากเง่ือมมือ
ของพญามจั จรุ าชนไี ้ ด้เลย

ชีวิตของท่านพระครูท่ีควรดูเป็ นคติที่ว่า ชีวิตของคนเรานี ้
ชา่ งน้อยนิด ไมย่ าวนาน อย่กู นั ไปได้ไม่เกินร้ อยปี ถึงจะมีการยือ้ แย่ง
แข็งขืนทจ่ี ะอย่ตู อ่ ไปอกี ก็ไมไ่ ด้ ธรรมชาติไม่เคยผอ่ นปรนให้กบั ใคร
คนส่วนใหญ่ในโลกนีม้ ีชีวิตท่ีต้องดิน้ รนแสวงหา ไขวค่ ว้าส่ิงต่างๆ
เข้ามาในชีวิต แต่แล้วก็เป็ นเพียงภาพลวงตา ไม่มีแก่นสารท่ีแท้จริง
และวางทงิ ้ ไว้ในโลกนี ้จกั มีก็แตค่ ณุ งามความดี และบญุ กุศลเทา่ นนั ้
ที่ได้ ทาไว้ติดตามตัวไปในเบือ้ งหน้ า ส่วนเกียรติยศ ศักด์ิศรี
ทรัพย์สนิ เพ่อื นมิตรตดิ ตามตวั ไปไมไ่ ด้

ถ้าหากพระครูกิตติวราภรณ์ จะพึงทราบด้วยญาณวิถีใด
ทา่ นคงจกั ได้ร่วมอนโุ มทนาในการบญุ กศุ ลท่ีปวงญาติมิตร ลกู ศิษย์
และสาธุชนทุกท่านทุกคนได้กระทา บาเพ็ญให้เป็ นไปในครัง้ นี ้
ขอจงรื่นรมย์ มีความสขุ สงบในสมั ปรายภพ สมตามเจตนาปรารภ
ของคณะเจ้าภาพด้วย เทอญ

พระครูปลดั สวุ ฒั นพรหมคณุ
วดั ญาณเวศกวนั จ.นครปฐม

๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘

สารบัญ ก

นา้ ใจเมตตาแผไ่ ว ้ ซมึ ซา่ นอยูใ่ นศรทั ธามหาชน – พระพรหมคณุ าภรณ์
ชวี ติ ของท่านพระครูทคี่ วรดูเป็นคติ - พระครูปลดั สวุ ฒั นพรหมคณุ ๑

ตามทางพุ ทธกจิ ๑

๑. ใตร้ ่มโพธ์ิตรสั รู้ ๑๔
๒. บนยอดเขาคิชฌกฏู ๑๘
๓. ปฐมเทศนาที่สารนาถ
๓๘
ธรรมกถาวา่ ดว้ ยปฐมเทศนา ๕๐
๔. กุสินารา ท่ีปรินิพพาน ๗๒
๕. รปู กายดบั สญู ธรรมกายไมส่ ้ ิน ๑๐๖
๖. หวั ใจพระพุทธศาสนา
๗. บทเรียนจากอดีต ๑๐๗
๑๑๘
- ทวนสรุปการเดินทาง ๑๒๙
- ภาพชีวติ ในพทุ ธกาล ๑๔๐
- พระพทุ ธศาสนาหลงั พทุ ธกาล ๑๕๒
- เหตใุ ห้พระพทุ ธศาสนาสญู สนิ ้ จากอินเดีย
- คติจากอนจิ จงั ๑๕๘

๘. อินเดีย แดนเทวดา ๑๖๓
๑๖๗
- อินเดยี ทีไ่ มเ่ หมือนเดมิ อินเดยี ทีเ่ หมือนเดมิ ๑๗๐
- อินเดียแคเ่ ซน่ เทวดา มาไทยได้แถมสรุ า ๑๗๒
- คาประกาศอิสรภาพของมนษุ ย์ แหง่ องค์พทุ ธะ ๑๘๑
- ทา่ ทีแบบพทุ ธตอ่ เทวดา ๑๘๔
ภาคผนวก: คาปรารภ ในการพมิ พค์ รงั้ ที่ ๑

บนั ทกึ ของผูเ้ขยี น (ในการพมิ พค์ รงั้ ที่ ๑)

ตามทางพุ ทธกจิ



ใตร้ ม่ โพธ์ิตรสั รู้

ขอเจริ ญพรโย มซ่ึงได้ มี ศรั ท ธาร่ วมเดินท างมานมัสการ
สถานทส่ี าคญั ทางพระพทุ ธศาสนา บดั นีค้ ณะก็ได้มาถึงสถานท่ีซงึ่
มีความสาคญั อย่างย่ิง พระพทุ ธเจ้าตรัสไว้วา่ เป็ นสงั เวชนียสถาน
แหง่ หนงึ่ ในบรรดาสงั เวชนียสถาน ๔ สงั เวชนียสถาน ๔ นนั ้ กค็ อื

๑. สถานท่ีประสูติของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ได้แก่ ลมุ พินี
วนั หรือสวนลมุ พินี

๒. สถานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อนุตตรสัมมา-
สมั โพธิญาณ คือ สถานท่นี ี ้

๓. สถานที่พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าทรงประกาศพระธรรมจกั ร
แสดงปฐมเทศนา ปัจจบุ นั นีเ้ รียกวา่ สารนาถ ซึง่ คณะ
จะได้เดนิ ทางไปนมสั การตอ่ ไป

๔. สถานทพี่ ระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าเสด็จดบั ขันธปรินิพพาน
ทีเ่ มืองกุสินารา ซงึ่ ก็อย่ใู นเส้นทาง มีกาหนดการว่าจะ
ไปนมสั การเชน่ เดียวกนั

บดั นีค้ ณะได้มาอย่ภู ายใต้ร่มพระศรีมหาโพธิ์ อนั เป็ นที่ตรัสรู้
ซง่ึ กลา่ วได้วา่ เป็ นจุดเร่ิมต้นของพระพทุ ธศาสนา พระพทุ ธศาสนา

๒ ตามทางพุทธกจิ

นนั ้ ปัจจบุ นั ได้แผ่ไพศาลไปทว่ั โลก มีประชากรจานวนมากมายนบั
ถือเป็ นพุทธศาสนิกชนเป็ นจานวนเกินร้ อยล้ านคน แต่สถิตินี ้
ต่างกันไปบ้าง เป็ นสามร้ อยล้านบ้างก็มี ร้ อยห้าสิบล้านบ้างก็มี
ก็นบั วา่ เป็นจานวนมากมาย อย่กู ระจายกนั ไปทวั่ โลก ประชากรใน
พทุ ธศาสนาทงั ้ หมดนนั ้ กลา่ วได้วา่ เริ่มต้นไปจากจดุ สาคญั ณ ท่ีนี ้
คือ เริ่มจากการตรัสรู้หรือสถานที่พระพทุ ธเจ้าตรัสรู้ แล้วแผ่ขยาย
เพมิ่ จานวนออกไป

พระธรรมที่พระพุทธเจ้ าประกาศถึงปั จจุบันนี ้ เรามี
พระไตรปิ ฎกเป็ นหลกั ฐาน เป็ นคมั ภีร์สาคญั ที่ชาวพทุ ธยึดถือเป็ น
หลกั ทว่ั โลก พระไตรปิ ฎกท่ีพิมพ์เป็ นภาษาไทยก็มีจานวน ๔๕ เลม่
หรือนับกันมาแต่โบราณก็มีจานวน ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์
ทงั ้ หมดนนั ้ กม็ ีจดุ เริ่มต้นจากการตรัสรู้ของพระพทุ ธเจ้า ณ ภายใต้
พระศรีมหาโพธ์ินี ้

เพราะฉะนนั ้ ต้นพระศรีมหาโพธ์ิที่เราทงั ้ หลายกาลงั มานงั่
กนั อย่นู ี ้จงึ เป็นจดุ เริ่มต้นของพทุ ธศาสนา นบั วา่ เราทงั ้ หลายได้มา
สสู่ ถานท่ที ่ีมีความสาคญั อย่างสงู สดุ ของศาสนาท่ีเราเคารพนบั ถือ

โยมแต่ละท่านได้สละทนุ ทรัพย์เป็ นอนั มาก จดุ ม่งุ หมายก็
เพื่อจะได้มานมัสการสถานที่สาคัญนี ้ ได้มาเคารพพระพทุ ธเจ้า
เคารพพระรัตนตรัย เราทงั ้ หลายเป็นพทุ ธศาสนิกชน ได้เคารพบชู า
พระรัตนตรัยกนั ตลอดมา จะเรียกวา่ ตงั ้ แต่เกิดก็ได้ จนกระทงั่ บดั นี ้
แต่บดั นีเ้ ราได้มาเคารพพระพทุ ธเจ้าถึงสถานท่ีที่พระองค์ได้อุบตั ิ
ขึน้ คือ อุบัติจากความเป็ นสิทธัตถราชกุมาร หรือเป็ นมนุษย์
ธรรมดา เป็ นปุถุชน กลายเป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้ า

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๓

เพราะฉะนัน้ จึงควรแก่การปลาบปลืม้ ปี ติยินดีว่าเราได้มาสู่
สถานที่สาคญั นีแ้ ล้ว มาสจู่ ดุ เริ่มต้นของพระพทุ ธศาสนาแล้ว มาสู่
จดุ ศนู ย์รวมจิตใจของพทุ ธศาสนิกชนทงั ้ ปวง

เม่ือได้มาส่สู ถานท่ีนีแ้ ล้วโดยทางกาย ก็ขอให้ใจของเรา
ได้มารวมด้วย กายของเราได้มาส่สู ถานท่ีนีก้ ็ได้บรรยากาศอันร่ม
ร่ืนมีความช่ืนบานร่มเย็นสดใสทางกาย ในทางจิตใจเราก็ควรจะมี
ความเบิกบานผ่องใสเช่นเดียวกัน ซึ่งอนั นนั ้ จะเป็ นบุญเป็ นกุศล
เพราะเมื่อเรามีจิตใจเบิกบานผ่องใสแล้ว นอกจากจะทาให้ชีวิตมี
ความสดชื่นเบิกบานทงั ้ กายทงั ้ ใจครบถ้วนทกุ ประการแล้ว ก็เป็ น
การปฏิบัติตามคาสอนของพระสัมมาสมั พุทธเจ้าด้วย เพราะว่า
พระพทุ ธเจ้าได้ตรัสสอนหลกั ธรรมท่ีเป็ นหวั ใจ เป็ นหลกั กลาง หรือ
เป็ นข้ อสรุ ปของพระพุทธศาสนาท่ีเราเรี ยกว่า หัวใจของ
พระพทุ ธศาสนา ๓ ประการ คือ

๑. สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไมก่ ระทาความชวั่ ทงั ้ ปวง
๒. กุสลสฺสูปสมฺปทา การบาเพ็ญกุศลคือความดีให้ถึง

พร้ อม
๓. สจิตฺตปริโยทปนํ การทาจิตใจของตนให้บริสทุ ธ์ิผ่องใส

ในสามประการนี ้ บางอย่างก็เป็ นข้ อปฏิบัติท่ัวๆ ไป
ภายนอก และเป็ นเรื่องท่ีอาศัยการดูความเป็ นไปในระยะเวลา
ยาวนาน แต่ข้อสาคัญที่เป็ นแก่นก็คือจิตใจของเรา จิตใจของเรา
ทวี่ า่ ก็ต้องมีความแชม่ ชนื่ เบิกบานผ่องใส นีเ้ป็ นศนู ย์กลางของชีวิต
จิตใจแช่มชื่นเบิกบานแจ่มใสแล้ว จะแสดงออกมาทางกาย วาจา
ออกมาในชวี ติ ความประพฤติ การดาเนนิ ชีพทงั ้ หมด

๔ ตามทางพทุ ธกจิ

ทีนี ้ การทาจิตใจของเราให้ผ่องใสนนั ้ สามารถทาได้ทุก
ขณะทกุ เวลา โดยเฉพาะเวลานีเ้ ป็ นโอกาสที่สมควรอย่างยิ่งท่ีจะ
ทาจิตใจให้แช่มชื่นเบิกบานแจ่มใส จิตท่ีแช่มช่ืนเบิกบานแจ่มใส
นอกจากอาศัยศีลความประพฤติท่ีดีงามเป็ นปกติเรียบร้ อย
บริ สุทธิ์ หมดจดตาม หลักคาสอนของพระสัมม าสัม พุทธเจ้ าใ น
ภายนอกแล้ว ก็อาศยั การทาจิตใจให้สงบ มีปัญญารู้เทา่ ทนั ความ
เป็นจริงของส่ิงทงั ้ หลาย

บดั นี ้เรามาอยู่ในสถานที่อนั สงบร่มรื่น มีจิตใจยึดเหน่ียว
ม่งุ แนว่ ไปด้วยความเคารพบชู าในองคพ์ ระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ก็เป็ น
ข้อที่ควรจะช่วยทาให้จิตใจของเรามีความผ่องใสเบิกบานได้ ซึ่ง
นบั เป็นกศุ ลธรรมอนั สาคญั

ถ้าเรานกึ ย้อนกลบั ไปในอดีตเม่ือสมัยสองพนั ห้าร้ อยกวา่ ปี
มาแล้ว ครัง้ ที่พระพทุ ธเจ้าได้ตรัสรู้พระสมั มาสมั โพธิญาณภายใต้
ร่มพระศรีมหาโพธิ์ ณ บริเวณนี ้

ตามข้ อความที่ท่านได้ เล่าไว้ ในคัมภีร์ พระไตรปิ ฎก
พระพุทธเจ้าได้ออกบรรพชา เสด็จจากกรุงกบิลพัสด์ุ สละราช
สมบตั ิออกมาทรงผนวช พระองค์เสด็จดาเนินเดินทางมาโดยลาดบั
ได้ศึกษาธรรมในสานกั ของอาจารย์อาฬารดาบส กาลามโคตร ออก
จากสานักอาฬารดาบส กาลามโคตรแล้ว ก็มาถึงสานกั อุททก
ดาบส รามบตุ ร ศกึ ษาใน ๒ สานกั นจี ้ นจบฌานสมาบตั ิ ๘ ประการ
พระองค์ก็ยังทรงเห็นว่าไม่ใช่ทางตรัสรู้ จึงทรงค้ นคว้ าเพียร
พยายามด้วยพระองค์เอง ในที่สดุ ก็ได้เสด็จมายังสถานที่นี ้
เรียกวา่ ตาบลอรุ ุเวลาเสนานิคม

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๕

มีความบรรยายไว้ในพระไตรปิ ฎกแสดงถึงบรรยากาศ
อนั สดชื่นว่า มีหม่ไู ม้เขียวขจีน่าร่ืนรมย์ใจ หาดทรายชายฝั่งแม่นา้
เนรัญชรา เรียบสะอาด มีนา้ ไหลใสกระจ่าง ทา่ ที่ลงอาบนา้ ก็ราบ
โล่งดูงามตา ความในพระไตรปิ ฎกนีอ้ าตมภาพไม่ได้ ดูมา
โดยเฉพาะ แตก่ เ็ ป็นทานองนี ้

เมื่อพระองค์ได้ทรงเห็นสถานที่อันเป็ นที่น่ารื่นรมย์ดังท่ี
กลา่ วแล้ว เป็นท่คี วรแก่การบาเพญ็ เพียร จึงได้ตดั สินพระทยั วา่ จะ
บาเพ็ญเพียรเพื่อการตรัสรู้ ณ ท่ีนี ้ ต่อจากนัน้ พระองค์ก็เสด็จ
ประทบั เริ่มต้นด้วยบาเพ็ญทกุ รกิริยา จนกระทงั่ เห็นว่ามิใช่ทางท่ี
ถกู ต้อง จงึ ทรงเปลยี่ นดาเนนิ วิธีใหม่ ท่ีเราเรียกว่าบาเพญ็ เพียรทาง
ใจ ทรงดาเนินในมัชฌิมาปฏิปทา จนกระทั่งในท่ีสุดก็ได้ตรัสรู้
อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เมื่อเพ็ญเดือนวิสาขะ หรือวันเพ็ญ
เดอื น ๖ เมื่อพระชนมายไุ ด้ ๓๕ พรรษา นแ่ี หละคือจดุ เริ่มต้น

ถ้าเรานึกถึงความเดิมในประวตั ิศาสตร์ นามาเทียบดกู ับ
สถานท่ีที่เห็นอยู่ในปัจจุบนั โดยทาจิตใจให้ย้อนไปในอดีตตาม
ความที่ท่านบรรยายไว้ ก็จะเห็นว่าสถานท่ีนีเ้ คยเป็ นที่น่ารื่นรมย์
เป็ นท่ีเหมาะแก่การบาเพ็ญเพียร มีความสงบวิเวก แต่สิ่งที่เป็ น
วตั ถเุ ป็ นสภาพแวดล้อมภายนอกนนั ้ ย่อมมีความเปลี่ยนแปลงไป
ตามกาลเวลา แม้ว่าสภาพที่เป็ นอย่บู ดั นี ้อาจจะไม่ร่มรื่น ไม่สงบ
สงดั อย่างในอดตี แตก่ ข็ อให้เราทาจิตใจเหมือนกับว่าได้ดารงอย่ใู น
ทตี่ อ่ พระพกั ตร์ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ถ้าทาความรู้สกึ ได้อย่าง
นี ้ ก็จะเกิดความปี ติยินดี เพราะได้มาอยู่ ณ ที่ที่พระองค์ตรัสรู้

๖ ตามทางพทุ ธกจิ

เหมือนกับมาเฝ้ าต่อพระพกั ตร์ของพระองค์แล้ว เม่ือทาได้อย่างนี ้
จติ ใจก็จะสงบเป็นทางแหง่ สมาธิ

ท่านกล่าวว่า เม่ือจิตใจปลาบปลืม้ เอิบอ่ิมยินดีมีปี ติแล้ว
จิตใจนนั ้ ก็จะผ่อนคลาย สงบ เกิดปัสสัทธิ เม่ือเกิดปัสสทั ธิ จิตใจ
ผอ่ นคลายสงบแล้ว ก็จะเกิดสมาธิ จิตใจตงั ้ ม่ันแน่วแน่ และเมื่อใช้
จิตท่ีเป็ นสมาธินนั ้ พิจารณา ก็จะเกิดปัญญารู้แจ้งความจริงตอ่ ไป
แตใ่ นเบอื ้ งต้นขอให้เกิดความสขุ ความสงบทางจิตใจนีก้ ่อน ตอ่ แต่
นัน้ เมื่อพิจารณาด้ วยปั ญญาก็จะเห็นอย่างที่กล่าวเมื่อกีว้ ่า
สภาพแวดล้อมที่น่ารื่นรมย์ในสมัยของพระสัมมาสัมพทุ ธเจ้านนั ้
ครัน้ กาลเวลาล่วงเลยมาถึงบัดนี ้ ๒,๕๐๐ กว่าปี แล้ว ก็มีความ
เปลี่ยนแปลงไปตามธรรมดาของสงั ขารทงั ้ หลาย

ความเปลี่ยนแปลงของสงั ขารนี ้ก็เป็ นไปตามหลกั คาสอน
ของพระพุทธเจ้า คือหลกั ที่เรียกว่า ไตรลักษณ์ ได้แก่ อนิจจัง
ความไม่เท่ียงแท้แน่นอน ทุกขงั ความที่คงทนอยู่ในสภาพเดิม
ไม่ได้ และอนัตตา ความมิใช่ตวั ตน เมื่อพิจารณาได้อย่างนี ้ก็จะ
มองเห็นสภาวะของส่ิงทงั ้ หลายตามความเป็ นจริง เม่ือรู้แจ้งเข้า
ใจความจริงเหล่านีแ้ ล้ว ก็จะทาให้จิตใจเป็ นอิสระ นอกจากได้
ความสงบ ความสขุ ปี ติเอิบอ่ิมทางจิตใจแล้ว ก็ได้รู้เท่าทนั ธรรมดา
ของสงั ขารทงั ้ หลายเกิดปัญญาอีกด้วย

เพราะฉะนนั ้ ในการมา ณ สถานท่ีแห่งนีน้ นั ้ เราสามารถ
เจริญไตรสิกขาได้ครบบริบรู ณ์ ถ้าหากมีความเพียรพยายาม ใน
ด้านศีล เราก็ชาระกายวาจาให้บริสทุ ธิ์ เป็ นที่แน่นอนว่าญาติโยม
มาในสถานท่ีนีย้ ่อมมีจิตใจประกอบด้วยศรัทธา ประกอบด้วย

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๗

ความเคารพเลื่อมใส มีปสาทะ มีความตงั ้ ใจดีอยู่แล้ว จงึ เป็ นการ
แน่นอนว่าจะได้ดารงกายวาจาให้อยู่ในศีล และเม่ือปฏิบัติตาม
หลกั ดงั ท่อี าตมภาพได้กลา่ วมา ทาจิตใจให้อ่ิมเอิบผ่องใส เร่ิมแต่มี
ปี ติ ความปลาบปลมื ้ ใจ จนกระทงั่ ถึงจิตใจสงบแนว่ แนม่ ั่นคง ก็คือ
ได้เจริญสมาธิไปด้วย และเม่ือรู้เข้าใจความจริง พิจารณาเห็น
ธรรมดาของสังขาร ก็เกิดปัญญาอีกอย่างหนึ่ง จึงได้ทัง้ ศีล ทัง้
สมาธิ ทงั ้ ปัญญา หรือถ้าจะกล่าวถึงข้อปฏิบตั ิที่เป็ นด้านจิตใจ
โดยเฉพาะ ในตอนนีก้ ็จะได้ทัง้ ส่วนที่เป็ นสมถะและส่วนที่เป็ น
วิปัสสนา เป็ นเครื่องพฒั นาหรือเจริญจิตใจของตนเองให้ก้าวหน้า
ไปในพระธรรมคาสงั่ สอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า

เพราะฉะนัน้ ในวาระนี ้ ก็เป็ นโอกาสอันดีงามแล้ว ที่เรา
ทงั ้ หลายได้มาพร้ อมกันในสถานที่อันเป็ นท่ีเคารพบูชา เป็ นที่ตัง้
แห่งความเลื่อมใส และเมื่อใดเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสถานที่ด้วยดี
แล้ว เตรียมจิตใจให้พร้ อมแล้ว ต่อแตน่ ีไ้ ปเพื่อให้เป็ นทางแห่งบุญ
แหง่ กศุ ลมากขึน้ เป็ นการเพ่ิมพนู ‘สคั คมคั คะ’ ‘โมกขมคั คะ’ คือ
ทางแหง่ สวรรค์ ทางแห่งพระนิพพาน ด้วยการดาเนินตามปฏิปทา
ที่เป็ นคาสอนของพระพทุ ธเจ้า อาตมภาพก็ขอเชิญชวนญาติโยม
ทกุ ทา่ นได้มาร่วมกนั ปฏบิ ตั ิตามคาสอนในสว่ นของการเจริญจิตต-
ภาวนา การเจริญจิตใจให้ก้าวหน้าไปในคณุ ธรรม มีสมาธิ เป็ นต้ น
และในปัญญาภาวนา การเจริญปัญญา คือความรู้เข้าใจความจริง

ดังนัน้ ต่อแต่นีไ้ ปก็ขอเชิญโยมได้ น่ังทาจิตตภาวนา
บาเพญ็ สมาธิกนั ชว่ั เวลาหนง่ึ ขอกาหนดไว้ ๑ ชวั่ โมง



บนยอดเขาคิชฌกฏู

ขอเจริญพรโยมทกุ ท่าน บดั นีค้ ณะได้เดินทางยาวไกล ขึน้
ภเู ขามาจนถงึ พระคนั ธกฎุ บี นยอดเขาคชิ ฌกฏู สมใจแล้ว

พดู ได้วา่ เราได้มาเฝ้ าพระพทุ ธเจ้าถงึ ท่ีประทบั ของพระองค์
และเราก็ได้กระทาสกั การะบูชา สวดมนต์น้อมราลึกถึงพระคุณ
ของพระองค์ ทาจิตใจสงบผอ่ งใสเป็ นบญุ เป็ นกุศลยิ่งขึน้ เม่ือได้มา
เฝ้ าพระพุทธเจ้าในลักษณะเช่นนี ้อาตมภาพก็อยากจะกล่าวถึง
การเฝ้ านนั ้ ให้เหน็ ความหมายกว้างขวางออกไป

ตามปกติ การเฝ้ าพระพุทธเจ้านัน้ ก็ต้องมีพระกายของ
พระพทุ ธเจ้าอยู่ แตต่ ามหลกั ท่ีทา่ นกลา่ วไว้ กายของพระพทุ ธเจ้ามี
๒ อย่างคือ รูปกาย กับ ธรรมกาย นีเ้ ป็ นคาสอนที่แสดงไว้ใน
เถรวาท คือ นิกายท่ีเรานับถือกันอยู่ ส่วนทางมหายานท่านแบ่ง
กายเป็น ๓ มีธรรมกาย สมั โภคกาย และนิรมานกาย

ในที่นี ้จะกลา่ วถึงคาสอนฝ่ ายนิกายเถรวาท ท่ีแสดงเรื่อง
รูปกาย กบั ธรรมกาย

เรามาถงึ ท่ีพระคนั ธกฎุ ีบนเขาคชิ ฌกฏู ณ ท่ีนี ้ก็คือมา ณ ที่
ประทับของพระพุทธเจ้า เป็ นที่เคยมีพระรูปกายของพระองค์
ปรากฏ ทรงดาเนินมาประทับในท่ีนี ้ เสด็จลงจากที่ประทับนีไ้ ป
บาเพ็ญพุทธกิจข้างล่างในสถานท่ีต่างๆ แล้ว เสด็จกลับขึน้ มา

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๙

ประทบั พกั ผ่อน และทรงกระทาธรรมปฏิสนั ถารแก่ผ้ทู ่ีขึน้ มาเฝ้ า
อนั นนั ้ เป็ นด้านรูปกาย แต่บัดนีร้ ูปกายของพระองค์ไม่ปรากฏให้
เราเห็น เพราะได้เสด็จดบั ขนั ธปรินิพพานไปแล้ว เวลาก็ล่วงมาถึง
๒,๕๐๐ ปี เศษ

เพราะฉะนนั ้ แม้เราจะมาถึงกุฏิของพระองค์ เราจะเฝ้ า
พระรูปกายของพระองค์อย่างท่ีจะให้เห็นเป็ นขันธ์ ๕ ครบถ้วน
บริบูรณ์ เป็ นร่างกายชัดๆ ก็ไม่ได้ ส่วนท่ีเราจะเฝ้ าได้นัน้ ก็คือ
พระธรรมกาย

ธรรมกาย กค็ ือ กายท่เี ป็นธรรม
คาวา่ ‘กาย’ นนั ้ แปลวา่ ประชมุ หรือกองกไ็ ด้ เวลาเราพดู ถึง
รูปกาย รูปกายก็คือประชุมแห่งรูป ได้แก่ ธาตุ ๔ ประชุมกันเข้า
ปรากฏให้เราเหน็ ได้ สมั ผสั ถกู ต้องได้
ส่วน ธรรมกาย ก็หมายถึงประชมุ แหง่ ธรรม หรือกองแหง่
ธรรม พระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว พระองค์มีรูปกาย แต่รูปกายอย่าง
เดียวก็เป็ นเพียงเจ้าชายสิทธัตถะ ตอ่ เมื่อพระองค์มีพระธรรมกาย
เกิดขนึ ้ จากการตรัสรู้ จงึ ได้เป็นพระพทุ ธเจ้า
เม่ือเป็ นพระพุทธเจ้า พระองค์ก็กลายเป็ นท่ีประชมุ แห่ง
ธรรมะด้วย ทป่ี ระชมุ แห่งธรรมะ หมายความว่า ธรรมะนนั ้ ปรากฏ
อยทู่ ี่องคข์ องเจ้าชายสทิ ธัตถะ เมื่อพระองค์ตรัสธรรมะ ธรรมะนนั ้ ก็
พรั่งพรูออกมาจากพระโอษฐ์ ทาให้พระกายของพระองค์ท่ีปรากฏ
กลายเป็ นแดนหลง่ั ออกมาซงึ่ ธรรม ทาให้สรรพสัตว์ได้สดบั ธรรม
และพระสาวกก็ได้เล่าเรียนคาสอนและตรัสรู้ตาม พากนั ประจกั ษ์
แจ้งธรรมกาย จึงมีพระอรหนั ต์เกิดขึน้ เป็ นจานวนมาก ธรรมกาย

๑๐ ตามทางพุทธกจิ

นนั ้ เราสามารถเฝ้ าได้และสามารถทาให้ปรากฏขนึ ้ ในใจของเรา
พระนางมหาปชาบดีโคตมี ซึ่งเป็ นพระน้านาง และเป็ น

พระมารดาเลีย้ งของพทุ ธเจ้า ได้อปุ สมบทเป็ นพระภิกษุณีรูปแรก
และพระองค์ก็เป็นพระเถรีบรรลธุ รรมเป็นพระอรหนั ตเถรี ในตอนท่ี
จะปรินิพพาน พระนางมหาปชาบดีโคตมีได้ไปทลู ลาพระพทุ ธเจ้า
แล้วกต็ รัสข้อความมากมาย

ตอนหนง่ึ ได้กราบทลู พระพทุ ธเจ้าว่า “รปู กายของพระองค์

หม่อมฉนั ไดเ้ ล้ียงดใู หเ้ ติบโตข้ึนมา แตธ่ รรมกายของหม่อมฉนั

พระองคน์ ่ ีแหละไดท้ าใหเ้ จรญิ เติบโต หม่อมฉนั เป็นพระมารดา

ของพระองค์ พระองคก์ ็เป็นพระบิดาของหม่อมฉนั ”
พระนางมหาปชาบดีโคตมี ได้ ประกาศให้ ปรากฏแล้ วว่า

ด้วยธรรมกายนนั ้ เอง จึงทาให้พระพุทธเจ้าซึ่งเป็ นโอรสเลีย้ งของ
พระองค์ กลายเป็ นบิดาของพระองค์ เพราะเป็ นผ้ทู ่ีทาให้พระนาง
มหาปชาบดีโคตมีเติบโตขนึ ้ ด้วยพระธรรมกาย

ธรรมกายนนั ้ คอื อะไร ทีไ่ ด้เตบิ โตขนึ ้ ในพระนางปชาบดีโคตมี
กค็ อื ประชมุ แหง่ ธรรมะ ซึง่ ท่านอธิบายวา่ ได้แก่โลกุตตรธรรม ๙ ซึง่
จะบรรลไุ ด้ด้วยโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ หรือหมายถึงความรู้
ในอริยสจั ๔ ผ้ใู ดได้เจริญโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ ก็ย่อมได้
ตรัสรู้อริยสจั ๔ และนนั่ ก็คือทาให้ธรรมกายเกิดขึน้ ในตน ได้ทาให้
ธรรมกายเจริญเพม่ิ พนู งอกงามขนึ ้ จนบริบรู ณ์

โพธปิ ักขยิ ธรรม ๓๗ ประการมีอะไรบ้าง กม็ ีสมั มัปปธาน
๔, สติปัฏฐาน ๔, อิทธิบาท ๔, อินทรีย์ ๕, พละ ๕, โพชฌงค์ ๗
และมรรคมีองค์ ๘ ประการ โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการนี ้ผ้ใู ดได้

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๑

เจริญขนึ ้ มาสาเร็จผล กเ็ ทา่ กบั วา่ ได้เจริญธรรมกายขนึ ้ ในตนเอง
เมื่อได้มาในสถานที่นี ้ อันเป็ นท่ีประทบั ของพระพุทธเจ้า

เราก็สามารถจะเจริญธรรมกายให้ปรากฏขึน้ ในจิตของตนเอง แต่
ความจริงนัน้ แม้ ไม่ได้มาในที่นี ้ ก็สามารถเจริญธรรมกายได้
เหมือนกนั หมายความวา่ สามารถเฝ้ าพระพทุ ธเจ้าได้ในใจของตน
ด้วยการเจริญธรรมกาย

อย่างไรก็ตาม การได้มาในสถานที่ที่พระพทุ ธเจ้าเคยทรง
อาศยั ใช้สอยอยา่ งพระคนั ธกฎุ ีนี ้ก็เป็นเครื่องเจริญศรัทธา ให้จิตใจ
มีความสงบ มีความเลื่อมใส มีปี ติเอิบอ่ิมปลาบปลืม้ มากยิ่งขึน้ จงึ
เป็ นทางทาให้เจริญธรรมกายง่ายย่ิงขึน้ ด้วย นีเ้ ป็ นตัวอย่างอย่าง
งา่ ยๆ เพราะวา่ ศรัทธานนั ้ ก็เป็นองค์ธรรมข้อหนงึ่ ในโพธิปักขิยธรรม
๓๗ ทีเ่ รียกวา่ เป็ นธรรมกาย กลา่ วคือ ศรัทธาอย่ใู นอินทรีย์ ๕ และ
อินทรีย์ ๕ กอ็ ยใู่ นโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ นนั ้ แหละ

อนิ ทรีย์ ๕ กม็ ี ศรัทธา วริ ิยะ สติ สมาธิ ปัญญา ศรัทธาเป็ น
องค์ธรรมข้ อท่ี ๑ ในอินทรีย์ ๕ เพียงว่าโยมมีศรัทธาเกิดขึน้ ก็
เป็นอนั วา่ ได้เร่ิมเจริญธรรมกายข้อ ๑ แล้ว หรือวา่ ถ้ามีปี ติเกิดขึน้ มี
ความปลาบปลืม้ ใจ ก็อยู่ในโพชฌงค์ โพชฌงค์ ๗ นนั ้ เป็ นส่วน
หนง่ึ ในโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ ก็เป็ นสว่ นหนึง่ ของธรรมกาย
ด้วย หรือมีจติ สงบเกิดขึน้ อย่างเรามานงั่ ในท่ีนี ้สวดมนต์บูชาพระ
พทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ แล้วนง่ั ทาจิตสงบ ทางกายก็สงบเพราะ
ได้บรรยากาศเงียบสงบ เมื่อกายเงียบสงบแล้ว ก็พลอยทาให้
จิตใจสงบด้วย อาตมภาพเข้าใจว่าโยมที่นง่ั ในท่ีนี ้ก็คงมีจิตใจ
สงบ มีความปลาบปลืม้ ใจเกิดขึน้ ไม่น้อยทีเดียว ความมีจิตใจสงบ

๑๒ ตามทางพทุ ธกจิ

นนั ้ ก็อย่ใู นธรรมกายเหมือนกนั จึงเป็ นโอกาสช่วยให้เราได้เจริญ
โพธิปักขิยธรรมนมี ้ ากบ้างน้อยบ้าง ช่ือว่าได้บาเพญ็ ธรรมกายหรือ
เฝ้ าพระพทุ ธเจ้าเป็นสว่ นพระธรรมกาย

บดั นี ้เราได้เข้ามาอย่ใู นสถานท่ีนี ้มาถึงที่พระพทุ ธเจ้าเคย
ทรงปรากฏรูปกาย ถ้าสามารถเจริญธรรมกายอย่างที่อาตภาพได้
กลา่ วมาแล้วด้วย กเ็ ทา่ กบั วา่ ได้ทงั ้ ๒ อยา่ ง ได้เข้าเฝ้ าเก่ียวข้องกับ
พระพทุ ธเจ้าทงั ้ โดยทางรูปกายและธรรมกาย

ยิ่งกว่านนั ้ เม่ือเข้ามาเฝ้ าใกล้ชิดในส่วนท่ีเคยเป็ นท่ีปรากฏ
ของพระรูปกายแล้ว ทาจิตใจให้มีศรัทธาปสาทะ มีความสงบ
ปลาบปลมื ้ เป็นต้น ก็หวงั ได้วา่ จะทาให้มีกาลงั กาย กาลงั ใจในการ
ที่จะเจริญธรรมกายให้มากขึน้ ไปอีก ไม่ใช่เฉพาะเจริญได้ในท่ีนี ้
เท่านนั ้ แต่ยังเป็ นปัจจยั สนับสนุนว่า เมื่อกลบั ไปจากท่ีนี่แล้ว จะ
เจริญธรรมกายให้เจริญงอกงามย่ิงๆ ขนึ ้ ไปจนกวา่ จะไพบลู ย์

เป็นอนั วา่ ในวนั นี ้เราได้มาในสถานท่ีท่ีพระพทุ ธเจ้าเคยใช้
สอย ซ่ึงสถานที่พระองค์เคยใช้สอยนี ้ท่านบอกว่าเป็ นเจดีย์ชนิด
หนงึ่ เจดีย์ก็เหมือนกบั คาว่าอนสุ าวรีย์ เป็ นเครื่องเตือนใจให้ระลกึ
ถึงพระพุทธเจ้า เจดีย์อย่างนีเ้ รียกว่า พุทธเจดีย์ แปลว่า เจดีย์
เก่ียวกบั องค์พระพทุ ธเจ้า มี ๔ อย่าง คือ

ธาตเุ จดีย์ เจดีย์บรรจพุ ระธาตุ
ธรรมเจดีย์ เจดีย์บรรจพุ ระธรรม
บริโภคเจดีย์ เจดีย์คือสถานท่ีพระองค์เคยใช้สอย หรือ
บรรจสุ ง่ิ ท่พี ระพทุ ธเจ้าใช้สอย
อทุ เทสิกเจดีย์ เจดีย์คือส่ิงท่ีสร้ างอทุ ิศต่อองค์พระพทุ ธเจ้า
ได้แก่ พระพทุ ธรูป

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๓

พระคันธกุฎีนีก้ ็จัดเข้ าในเจดีย์ลาดับท่ีสาม คือ บริโภค
เจดยี ์ หมายถึง สถานท่พี ระพทุ ธเจ้าเคยทรงใช้สอย เคยอยอู่ าศยั

วันนีเ้ ราได้ มาในที่ท่ีเป็ นพุทธเจดีย์ และได้ มาเฝ้ า
พระพทุ ธเจ้าด้วย ทงั ้ โดยการเข้ามาใกล้ชิดในทีส่ ถิตแหง่ พระรูปกาย
ของพระองค์ ทงั ้ โดยการพยายามทาใจของเราให้เฝ้ าพระธรรมกาย
ของพระองค์ ขออานิสงสจ์ งเพิม่ พนู ด้วยอานภุ าพของพระรัตนตรัย
เพื่อให้ทุกท่านเจริญด้วยธรรมกายย่ิงๆ ขึน้ ไป ทงั ้ ในบดั นีแ้ ละใน
เบอื ้ งหน้า ตลอดกาลนาน เทอญ



ปฐมเทศนาที่สารนาถ

พระครูปลดั ทวี กิตฺติปญฺโญ* กล่าวนา
กราบเรียนพระเดชพระคณุ ที่เคารพ เจริญพรแด่ญาติโยม

ทกุ ทา่ น ขณะนีเ้ ป็ นวันท่ี ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๒๘ คณะของเราได้
เดนิ ทางแสวงบญุ มาถึงดินแดนประกาศสจั ธรรมในทางพระพทุ ธ-
ศาสนาเป็ นครัง้ แรก สถานที่แหง่ นีใ้ นสมัยพทุ ธกาลเรียกว่า ป่ าอิสิ-
ปตนมฤคทายวนั ปัจจบุ นั เรียกว่า ‘สารนาถ’ สารนาถ และอิสิปตน
มฤคทายวนั นนั ้ ก็มีความหมายคล้ายคลงึ กนั

พระสถูปใหญ่ตรงหน้าเรานี ้ สร้ างในสมัยพระเจ้าอโศก
มหาราช มีช่อื เรียกวา่ ‘ธมั เมกขสถูป’ ธมั ม-อิกข-สถปู ธัมเมกขสถูป
แปลวา่ สถานทบ่ี คุ คลเหน็ ธรรม

ณ สถานท่ีแห่งนี ้ พระพุทธองค์ได้ทรงแสดงธรรมโปรด
ปญั จวคั คยี ์ ทัง้ ๕ คือ อญั ญาโกณฑญั ญะ วปั ปะ ภทั ทิยะ มหานามะ
และอัสสชิ ท่ีเราเรียกว่า ‘ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร’ เมื่อวนั เพ็ญ
กลางเดือน ๘ กอ่ น พ.ศ ๑ ไป ๔๕ ปี

ณ สถานที่แห่งนี ้ อาตมาจะกล่าวโดยย่นย่อว่ามีอะไร
เกิดขึน้ เป็นครัง้ แรกบ้าง

* มคั คุเทศกป์ ระจาการเดินทางในครงั้ น้ี ขณะนนั้ กาลงั ทาปริญญาเอกสาขาศาสนาและ
ปรชั ญา ท่มี หาวทิ ยาลยั แห่งเมอื งพาราณสี

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๕

๑. สมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าทรงแสดงธรรมครัง้ แรก
๒. พระอรหนั ตสาวกเกิดขนึ ้ ครัง้ แรกท่สี ถานทีแ่ หง่ นี ้
๓. พระสงฆ์ซงึ่ เป็ นหน่งึ ในไตรสรณาคมน์ก็ได้เกิดขึน้ ครัง้

แรก ณ สถานทแี่ หง่ นี ้
๔. ณ สถานทแี่ หง่ นี ้พระพทุ ธองค์ทรงได้สาวกซึง่ เป็ นพระ

อรหนั ต์ทงั ้ หมด ๖๐ รูป เป็นรุ่นแรก
๕. ณ สถานท่ีแห่งนี ้ ถือได้ว่าพระพทุ ธเจ้าได้ประทับจา

พรรษา เป็ นพรรษาแรก หรือปี แรก คือหลงั จากที่พระ
พทุ ธองค์ทรงตรัสรู้อนตุ ตรสมั มาสมั โพธิญาณแล้ว ก็ได้
อยจู่ ากาลฝน ณ สถานท่ีแหง่ นี ้แม้ในพระวินยั จะไม่ได้
บ่งชดั ว่าพระองค์อยู่จาพรรษาท่ีน่ี แต่ในฤดฝู นปี นัน้
พระองค์ประทบั อย่ทู ี่นี่
นอกจากนีย้ ังมีเหตกุ ารณ์ครัง้ แรกเกิดขึน้ ในพรรษานนั ้ อีก
คอื พระยสหรือพระยสะ ซง่ึ เป็นบตุ รของนางสชุ าดา ได้เดินออกมา
จากปราสาท ซ่ึงไม่ไกลจากที่น่ี อยู่ทางขวามือของเรา ใกล้เมือง
พาราณสี ห่างเพียง ๔-๕ กม. เด๋ียวนีก้ ็ยังอยู่ เกิดความขัดข้อง
วนุ่ วายในจิตใจ จงึ ได้เดนิ ทางมายงั ป่ าท่ีนี่
ถ้าเราย้อนนึกไปในสมัยนนั ้ ป่ าอิสิฯ เป็ นป่ าหวงห้ามของ
พระเจ้าพาราณสี เป็นท่ีอย่ขู องเนือ้ คือกวาง และเป็ นท่ีอย่ขู องพวก
ฤษี หรื อพวกนักพรตซ่ึงมีมาก่อนพระพุทธศาสนาจะอุบัติเกิดขึน้
และ ณ สถานท่ีแห่งนีพ้ ระองค์ได้ โปรดพระยสจนได้บรรลุพระ
อรหตั ตผล

๑๖ ตามทางพุทธกจิ

เทา่ นนั ้ ยงั ไมพ่ อ บดิ า มารดาและภรรยาของพระยสก็ได้มา
ฟังธรรมด้วย เพราะฉะนนั ้ อบุ าสกคนแรกผ้ถู ึงรัตนะสามก็เกิดขึน้
ที่นี่ อุบาสิกาคนแรกผ้ถู ึงรัตนะสามก็เกิดขึน้ ที่ป่ าอิสิฯ นีอ้ ีกเชน่ กัน
คือมารดาและภรรยาเก่าของพระยส

อุบาสกผู้ถึงรัตนะสองอย่างแรก ซ่ึงประกาศนับถือท่ี
บริเวณพุทธคยาในสปั ดาห์สดุ ท้ายท่ีพระพุทธองค์เสวยวิมตุ ติสขุ
อยู่ ได้แก่ ตปุสสะ และภัลลิกะ พานิชทัง้ สองได้ถึงรัตนะสอง คือ
พทุ ธรัตนะและธรรมรัตนะ ท่ีต้นราชายตนะ แต่ทว่าอบุ าสก อบุ าสิกา
ผ้ถู ึงรัตนะสามได้เกิดขนึ ้ ณ ป่ าอิสิปตนมฤคทายวนั แหง่ นี ้

แค่นีย้ ังไม่พอ พระยสยังมีสหายที่รักใคร่กันมาก คือ
กิมพลิ ะ สพุ าหุ ปณุ ณชิ และควมั ปติ สหายทงั ้ ๔ นีก้ ็ได้มาฟังธรรม
และก็ได้มาบวชเป็ นพระภิกษุในพระพทุ ธศาสนาด้วย องค์สมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าทรงประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทา คือ
พระพทุ ธเจ้าทรงบวชให้เอง ๔ คนนี ้

แล้วยังไม่พอ ยังมีสหายอีก ๕๐ คนเดินตามสหายทงั ้ ๔
มาฟังธรรมด้วย พระพทุ ธองคก์ ็ได้ทรงแสดงธรรมเรื่องอนปุ พุ พิกถา
และอริยสัจธรรมในธรรมจักกัปปวัตตนสูตร อาตมภาพใคร่ขอ
อาราธนาพระเดชพระคณุ ท่านเจ้าคุณพระราชวรมนุ ีได้แสดงโดย
ยอ่ ถงึ ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร และอนปุ พุ พกิ ถาบ้างพอสมควร

เพราะฉะนนั ้ ที่ตรงนีอ้ าตมานึกเอาเองวา่ มีอะไรแรกๆ อยู่
ประมาณ ๑๐ แรก แรกสดุ ท้ายคือ พระพทุ ธองค์ทรงส่งพระธรรม
ทตู ชดุ แรกออกจากท่นี ี่ ดงั ท่ตี รัสวา่

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๗

“จรถ ภิกฺขเว … ภิกษุทง้ั หลาย พวกเธอจงจาริกไปเพือ่
ประโยชน์สุขของผู้อื่น ไปเพื่อประกาศสัจธรรมอันไพเราะใน
เบื้องตน้ ท่ามกลาง และทีส่ ดุ ”

พระพทุ ธศาสนาได้ชื่อว่าเป็ นศาสนาแรกท่ีสง่ พระธรรมทตู
ออกไปประกาศศาสนา ถึง ๖๐ องค์ ได้แก่ ปัญจวคั คีย์ ๕ สหาย
พระยส ๕๔ พระยสอีก ๑ รวมเป็ น ๖๐ เม่ือรวมทงั ้ พระพทุ ธองค์
ด้วยเป็น ๖๑ พระพทุ ธองคต์ รัสสงั่ ไมใ่ ห้ไปในสถานท่เี ดียวกนั ให้ไป
ทางละองค์เดียวเท่านัน้ เพราะพระสาวกมีน้อย เพราะฉะนัน้
สถานที่แห่งนีม้ ีความสาคัญยิ่ง เป็ นที่ศาสนธรรม สัจธรรม และ
บรมธรรมของสมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าได้หมนุ ไป เป็ นไปอย่าง
ล้อเกวียน หรืออย่างกงจักรหมุนไปในจิตใจของเวไนยสัตว์ ผู้มี
กิเลสอนั เบาบาง ผ้มู ีตณั หาราคะ ทิฐิมานะอนั น้อย ก็ได้ดวงตาเหน็
ธรรม ได้บรรลธุ รรมทพ่ี ระพทุ ธองค์ทรงแสดง

อาตมภาพได้กล่าวเพียงย่นย่อ เพ่ือแนะนาให้รู้จกั สถานท่ี
สาหรับญาติโยมท่ีมาใหม่ แต่ธรรมะท่ีลึกซงึ ้ สุขุมคัมภีรภาพดังที่
พระพทุ ธองคแ์ ละองค์อรหนั ต์ได้แสดงในครัง้ พทุ ธกาลนนั ้ เราจะได้
ฟังจากพระเดชพระคณุ โดยย่อเท่าท่เี วลาจะอานวย กระผมในนาม
ของญาตโิ ยม ขออาราธนาครับ

ธรรมกถาว่าดว้ ยปฐมเทศนา

ขอเจริญพร วันนีค้ ณะได้เดินทางมาถึงพุทธสังเวชนีย-
สถานลาดบั ท่ี ๓ ในบรรดาสังเวชนียสถาน ๔ แห่ง ท่ีพระพุทธได้
ตรัสไว้แล้ว จุดมุ่งหมายสาคัญของคณะเดินทางนัน้ ก็มุ่งท่ีจะ
นมัสการสถานท่ีสาคัญทางพระพุทธศาสนา เพราะฉะนัน้ การ
มาถึงสถานทน่ี จี ้ งึ เป็นการบรรลเุ ป้ าหมายอย่างหนึ่ง หรือเป็ นท่ีแห่ง
หนง่ึ ท่ีทาให้บรรลคุ วามประสงค์ท่ไี ด้ตงั ้ เอาไว้

เม่ือได้ทาการที่สมความม่งุ หมายความสมหวงั คนเราก็
ย่อมมีจิตใจปลืม้ ปี ติยินดี เป็ นเหตุให้เกิดความสขุ โดยเฉพาะเป็ น
สถานทที่ ่เี ราตงั ้ ความม่งุ หวงั ในทางท่เี ป็ นกศุ ล

อาศัยความมีศรัทธาในพระศาสนา มีกุศลเจตนา ความ
ปลาบปลมื ้ ยินดีที่เกิดขนึ ้ จงึ เป็นปี ติอนั ประกอบด้วยธรรม หรือเป็ น
ปี ติในธรรม เรียกว่า ธรรมปีติ ย่ิงถ้าได้เจริญธรรมข้ออื่นๆ ให้
เกิดขึน้ ในจิตใจของตนด้วย เชน่ สมาธิ ปัญญา เป็ นต้น ก็จะทาให้
ความปี ติในธรรมนนั ้ เป็ นไปเพ่ือประโยชน์ คือความเจริญงอกงาม
ในธรรมยิ่งๆ ขนึ ้ ไปอีก พระพทุ ธเจ้าตรัสไว้วา่

“ธมฺมปี ติ สุขํ เสติ” แปลวา่ ผ้อู ่ิมใจในธรรมย่อมนอนเป็ น
สขุ หรือวา่ อยู่เป็ นสขุ นอกจากอยู่เป็ นสุขแล้วยังได้เจริญธรรมข้อ
อ่ืนๆ ยิ่งๆ ขึน้ ไปด้วย อย่างที่ท่านบอกว่า เม่ือเกิดปี ติมีความอ่ิมใจ
แล้วกม็ ีปัสสทั ธิ คือความสงบกายสงบใจ เมื่อมีปัสสทั ธิ ก็มีสขุ เมื่อ
มีความสุข ความสบายในใจของตน ต่อจากนัน้ ก็เกิดสมาธิได้
โดยงา่ ย

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๙

วา่ เฉพาะสถานทีส่ าคญั แหง่ นี ้เป็นสงั เวชนียสถานแหง่ ที่ ๓
คือสถานที่พระพทุ ธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา ธัมมจกั กัปปวตั ตน-
สตู ร แกพ่ ระภิกษุเบญจวคั คีย์ เป็ นการแสดงธรรมครัง้ แรก และใน
บรรดาพระเบญจวคั คีย์นนั้ องค์หัวหน้าคือพระอญั ญาโกณฑญั ญะ
ก็ได้ ดวงตาเห็นธรรม ได้ อุปสมบทเป็ นพระภิกษุองค์แรกใน
พระพทุ ธศาสนา จึงถือกนั ว่าได้เกิดพระสงฆ์ท่ีนี่ เม่ือประดิษฐาน
พระสงฆ์ขนึ ้ ในพระศาสนา ก็ทาให้พระรัตนตรัยครบถ้วนบริบรู ณ์

ในเร่ืองเกี่ยวกับความสาคัญของวันนี ้ และข้อความท่วั ๆ
ไปนนั ้ ท่านพระครูทวีก็ได้กล่าวนาไว้แล้ว ขอให้โยมราลึกถึงสตุ ะ
คือความรู้ที่ได้สดบั มา ซงึ่ ญาติโยมก็ได้อ่านได้ฟังมาเป็ นอันมาก
แล้ว เพียงแตว่ า่ มาทบทวนความรู้กนั อกี ครัง้ หนงึ่

องค์พระสถปู ที่ประดิษฐานอยู่เบือ้ งหน้านี ้ มีชื่อว่า
ธมั เมกขสถูป มีความหมายดงั ที่ท่านพระครูทวีได้อธิบายไปแล้ว
ธัมเมกขสถปู มาจากคาว่า ธมั ม+อิกข แปลง อิ เป็ น เอ เป็ น เอกข
อิกข แปลว่า เห็น แปลงเป็ น เอกข ก็แปลว่า ผ้เู ห็น หรือการเห็น
สถูปก็คือสถูป แปลอย่างภาษาปัจจุบันก็เป็ นทานองอนสุ าวรีย์
หมายถึงสง่ิ ทไี่ ด้ก่อพนู ขนึ ้ ไว้เพ่ือเป็ นเคร่ืองเตือนใจให้ราลกึ ถึง โดย
ปกติจะบรรจพุ ระธาตุ หรือส่ิงสาคญั เข้าไว้ด้วย เพ่ือเป็ นอนุสรณ์
ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า

ธัมเมกขสถูปนีก้ ็เป็ นสถูป หรือสิ่งก่อสร้ างท่ีได้กระทาขึน้
เพ่ือเป็ นอนสุ รณ์ถึงผ้ไู ด้เห็นธรรม หรือเป็ นเคร่ืองราลึกถึงการเห็นธรรม
ซึง่ ในที่นี ้หมายถึงการเหน็ ธรรมครัง้ แรก คือการที่พระอญั ญา-
โกณฑญั ญะ ซง่ึ เดิมช่อื เพยี งวา่ โกณฑญั ญะ ได้ฟังพระธรรมเทศนา
ธัมมจกั กปั ปวตั ตนสตู รแล้ว ได้ดวงตาเหน็ ธรรม มีใจความวา่

๒๐ ตามทางพทุ ธกจิ

“ยงฺกิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ
สิ่งหนึ่งส่ิงใดมีความเกิดข้ึนเป็นธรรมดา ส่ิงนนั้ ทงั้ ปวงล้วน
มีความดบั ไปเป็นธรรมดา”
พระโกณฑัญญะได้ มองเห็นเข้ าใจธรรมะนี ้ ซ่ึงเป็ น
ความหมายโดยย่อของคาสอนของพระพทุ ธเจ้าทงั ้ หมด หรือถ้าจะ
กลา่ วโดยเฉพาะ ก็คือความหมายโดยย่อของหลกั ปฏิจจสมปุ บาท
นน่ั เอง เพราะเป็นหลกั แสดงเร่ืองเหตเุ ร่ืองผล ความเป็ นไปตามเหตุ
ตามผล เพราะเหตุท่ีพระโกณฑัญญะได้ดวงตาเห็นธรรม เข้าใจ
ธรรมะคาสอนของพระพุทธเจ้า จึงเป็ นเหตุให้พระพุทธองค์ทรง
เปลง่ อทุ านในตอนท้ายของปฐมเทศนานีว้ า่
“อญฺ าสิ วต โภ โกณฺฑญฺโ อญฺ าสิ วต โภ โกณฺฑญฺโ ”
“โกณฑญั ญะไดร้ ู้แลว้ หนอ โกณฑญั ญะไดร้ ู้แลว้ หนอ”

คาวา่ อญั ญาสิ ท่ีแปลวา่ ได้รู้แล้วนี ้กไ็ ด้มาประกอบเข้ากับ
ช่ือของพระโกณฑัญญะ ทาให้พระโกณฑัญญะได้มีช่ือเพ่ิมต่อ
ข้ างหน้าว่า อัญญาโกณฑัญญะ ถ้ าจะแปลก็เป็ นทานองว่า
อญั ญาโกณฑญั ญะผ้ไู ด้รู้แล้ว หรือรู้ทว่ั เข้าใจทว่ั ถึงธรรมะแล้ว

ในพระไตรปิ ฎกฉบบั สิงหฬ อกั ษรพม่า และอกั ษรโรมัน
ของฝรั่งท่ีพิมพ์กนั เขาเรียกพระอญั ญาโกณฑัญญะว่า อญั ญาต-
โกณฑญั ญะ มีเพยี ้ นกนั ไปนิดหนอ่ ย ซงึ่ ก็มีความหมายอย่างเดียวกัน
แตว่ า่ ประกอบรูปศพั ท์ไวยากรณ์บริบรู ณ์ อญั ญาตะ แปลว่า ผ้ไู ด้รู้
แล้ว จงึ เรียกวา่ อญั ญาตโกณฑัญญะ ของเราเรียกเพียง อญั ญา-
โกณฑัญญะ น่ีคือการเกิดขึน้ ของปฐมสาวก และการเกิดขึน้ ของ
พระรัตนตรัยทีค่ รบ ๓ อยา่ งบริบรู ณ์

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๒๑

ทีนี ้ พระธรรมเทศนาท่ีพระพุทธองค์ทรงแสดงในวันนี ้
เรียกว่า ปฐมเทศนา ตามอาการที่ว่าได้แสดงเป็ นครัง้ แรก แต่ตัว
หลักธรรมท่ีแสดงนนั ้ มีชื่อเรียกเป็ นพระสูตรโดยเฉพาะ เรียกว่า
ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร

ธัมมจักกัปปวตั ตนสูตร แปลว่า พระสูตรว่าด้วยการยัง
ธรรมจกั รให้เป็ นไป มาจากคาวา่ ธัมม+จกั ก กับ ปวตั ตน ปวตั ตน
แปลวา่ การทาให้เป็ นไป หรือแปลว่าหมนุ ธัมมจกั ก ก็แปลว่า วง
ล้อแหง่ ธรรม ยงั วงล้อแหง่ ธรรมให้เป็นไป ก็คือ หมนุ วงล้อธรรม

ทา่ นเปรียบธรรมะของพระพุทธเจ้าเหมือนวงล้อท่ีจะหมนุ
คอื วิ่งแลน่ ออกไป แพร่หลายออกไปเพ่ือประโยชนส์ ขุ แก่มวลมนษุ ย์
พระพุทธเจ้าได้ทรงหมนุ วงล้อแหง่ ธรรมให้เคล่ือนไปจากท่ีนีเ้ ป็ น
จุดเริ่มต้น ต่อจากนีธ้ รรมะก็แพร่หลายขยายออกไป ทาให้เกิด
ประโยชน์ เกิดศีล เกิดสมาธิ เกิดปัญญา เกิดวิมตุ ติแก่คนทงั ้ หลาย
อย่างกว้างขวาง

อีกนยั หนงึ่ ทา่ นบอกวา่ ‘ธัมมจกั ก’ แปลว่า อาณาจกั รแห่ง
ธรรม เพราะคาว่า ‘จกั ร’ นอกจากแปลว่า วงล้อ แล้ว จะแปลว่า
ดินแดนท่ีล้อได้หมุนไปถึงก็ได้ อย่างสมัยปัจจุบันนี ้ เรามีคาว่า
“อาณาจักร” ก็แปลว่า ที่ท่ีวงล้ อแห่งอานาจได้หมุนไปถึง
อาณาจกั รก็เข้าใจกันในภาษาไทย พดู แล้วรู้ทนั ทีวา่ หมายถึงอะไร
อย่างพุทธจักร จกั ร ในความหมายนีเ้ ป็ นดินแดนท่ีล้อหมุนไปถึง
เพราะในสมัยโบราณ สิ่งท่ีเป็ นเครื่องหมายของความเจริญท่ี
สาคญั ก็คือล้อ เพราะวา่ ล้อเป็ นตวั นาพาหนะ หรือเป็ นตวั นาที่ทา
ให้เกิดยานพาหนะ และกเ็ กิดการเคล่อื นท่ีได้อยา่ งรวดเร็ว

๒๒ ตามทางพทุ ธกจิ

กษัตริย์สมัยโบราณ เม่ือเกิดมีล้อมีรถขึน้ มาแล้ว ก็ทาให้
สามารถแผข่ ยายอานาจไปได้อยา่ งกว้างขวาง และดินแดนท่ีล้อรถ
หมนุ ไปถึง กเ็ รียกวา่ “อาณาจกั ร”

ทีนี ้ทางโลกเขามีอาณาจักร ดินแดนที่อาณา คือ อานาจ
หรืออาชญาแผ่ไปถึง อานาจแผ่ไปถึงอาจจะมีความทุกข์ ความ
เดือดร้อน มีการบงั คบั ขเู่ ข็ญท่ีเรียกว่าอาชญา แตพ่ ระพทุ ธเจ้าทรง
อบุ ตั ขิ นึ ้ แล้วมิได้ทรงแผอ่ านาจทีเ่ ป็นไปพร้อมด้วยความเบียดเบียน
หรือความเจ็บปวดทุกข์ทรมาน พระองค์แผค่ วามสขุ ความร่มเย็น
ด้วยอานาจธรรมะให้เป็นไปอยา่ งแพร่หลายกว้างขวาง ธรรมะแพร่
ไปถึงไหน ความสุข ความร่มเย็นก็แผ่ไปถึงน่ัน แล้วดินแดนที่
ธรรมะแผ่ไปถึงนี ้ เราก็เรียกว่า ธรรมจักร เหมือนให้เป็ นคู่กับ
อาณาจกั ร

เพราะฉะนนั ้ ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสูตร จงึ แปลอีกอย่างหนง่ึ
วา่ พระสตู รวา่ ด้วยการยงั ดินแดนแหง่ ธรรมให้เป็ นไป หมายความ
วา่ เป็นการประดิษฐานอาณาจกั รแห่งธรรม ก็เลยแปลกนั ๒ อย่าง
แตค่ วามหมายแรก ก็คือ พระสตู รแหง่ การหมนุ วงล้อแห่งธรรม ยงั
ธรรมะให้เริ่มเคล่ือนท่ีออกไป ธรรมะท่ีพระพทุ ธเจ้าเร่ิมหมนุ ให้
เคลอ่ื นที่ไป กต็ ้องเป็นหลกั สาคญั ในพระพทุ ธศาสนา

จะกล่าวถึงเนือ้ หาท่ีเป็ นตัวธรรมจกั ร คือเนือ้ หาของพระ
สตู รนกี ้ อ่ น ในพระสตู รนี ้พระพทุ ธเจ้าตรัสแสดงเร่ิมต้นด้วยคาวา่

“เทฺวเม ภกิ ฺขเว อนฺตา ปพฺพชิเตน น เสวติ พฺพา”
แปลว่า “ภกิ ษุทงั้ หลาย ทส่ี ุด ๒ อย่างน้ี อันบรรพชติ ไม่
ควรเสพ”

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๒๓

แล้วก็ตรัสบรรยายต่อไปว่า คือ กามสุขัลลิกานุโยค การ
หมกม่นุ สยบอย่ใู นกามสขุ ทงั ้ หลายอย่างหน่ึง และ อัตตกลิ มถานุโยค
การหมกม่นุ ในการทาตนเองให้ลาบาก หรือการทรมานตนอย่าง
หนงึ่ ๒ อยา่ งนบี ้ รรพชิตควรหลกี เล่ียง

พระพทุ ธเจ้าเองก็ได้ทรงหลีกเลี่ยง ไม่เข้าไปข้องแวะการ
ดาเนินชวี ิตหรือปฏิปทาท่ีเอียงสดุ โต่ง ๒ อย่างนีแ้ ล้ว ทรงดาเนินใน
มชั ฌิมาปฏปิ ทาหรือทางสายกลาง

ทางสายกลาง นัน้ ก็คือ มรรคามีองค์ ๘ ประการอัน
ประเสริฐ เร่ิมต้นด้วยสมั มาทฏิ ฐิ ปัญญาอนั เหน็ ชอบ จนกระทง่ั จบ
ด้วยสมั มาสมาธิ ความตัง้ จิตมั่นชอบ อนั นีเ้ ป็ นหลักแรกที่
พระพทุ ธเจ้าตรัสในปฐมเทศนานี ้

ขอให้สังเกตว่า พระพุทธเจ้าเริ่มด้วยข้ อปฏิบัติที่แยก
พระพทุ ธศาสนาออกจากความประพฤติ หรือการดาเนินวิธีปฏิบตั ิ
ของนักบวชสมัยนัน้ หรือความเป็ นอยู่ของคนสมัยนัน้ ซึ่งมี ๒
อย่าง ที่ล้วนแตเ่ ป็ นสดุ โตง่ คือ คนทว่ั ๆ ไปพวกหนึ่งนนั ้ ดาเนินชีวิต
อยู่ในสงั คมด้วยความหมกม่นุ มัวเมาในความสุขสาราญในกาม
รูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ แล้วอีกพวกหนึ่งก็สละกามสุขนี ้
ออกไปบาเพ็ญพรตอยู่ตามป่ าตามเขา เป็ นต้น ทาตบะ ทรมาน
ตวั เองอย่างยิ่งยวด มีบรรยายไว้มากมาย เช่น อย่างพวกฤษีโยคีท่ี
ไปอดอาหาร กลนั ้ ลมหายใจ นอนบนหนาม อาบนา้ ในฤดูหนาว
อะไรตา่ งๆ มากมาย ซงึ่ พระพทุ ธเจ้าได้ทดลองมาแล้ว

ปฏิปทาการดาเนินชีวิตของคนสมัยนัน้ เป็ นไปใน ๒
รูปแบบนีม้ าก คนพวกนนั ้ เข้าใจวา่ การดาเนินชีวิตอย่างนนั ้ ดีที่สุด

๒๔ ตามทางพทุ ธกจิ

แล้ว ทาให้ชีวิตมีความหมาย มีความสุขท่ีสมบูรณ์ พระพทุ ธเจ้า
ทรงค้นพบ ทรงได้ผา่ นมาด้วยการดาเนินชีวิตของพระองค์เองและ
ก็ทรงตระหนักแล้วว่า มิใช่ชีวิตที่ดีงามท่ีจะให้ประสบความสุข
อย่างแท้จริง

กามสุขลั ลิกานโุ ยคนนั ้ พระองค์เองเคยได้ประสบมาแล้ว
เพราะว่าพระองค์เป็ นโอรสกษัตริ ย์ อยู่ในรัว้ ในวัง ได้รับการ
ปรนเปรออย่างย่ิงมาตลอดในชีวิตช่วงต้น ๒๙ ปี ครัน้ เสด็จออก
บรรพชาแล้ว กไ็ ด้ทรงทดลองข้อปฏบิ ตั ิของนกั บวชตา่ งๆ ถึงกับทรง
บาเพญ็ ตบะทกุ รูปแบบ บาเพ็ญทกุ รกิริยาอีกถึง ๖ ปี เป็ นด้าน
อตั ตกิลมถานโุ ยค เป็นอนั วา่ พระองคไ์ ด้ทดลอง และดาเนินตามวิธี
ปฏิบตั ขิ องคนในยคุ สมยั นนั ้ มาครบถ้วน

ในทส่ี ดุ ก็ได้ทรงเห็นวา่ มิใช่ทางท่ีถกู ต้อง จึงได้ทรงบาเพ็ญ
ในมรรคาใหมท่ ีพ่ ระองค์ได้ทรงค้นพบ ที่เรียกวา่ มัชฌมิ าปฏิปทา
หรือทางสายกลาง และได้ตรัสรู้

เม่ือได้ตรัสรู้เช่นนีแ้ ล้ว พอมาแสดงธรรมครัง้ แรกก็ทรงนาเอา
ข้อปฏิบตั ินีม้ าชีแ้ จง แยกให้พระเบญจวัคคีย์ซ่ึงเป็ นคนชดุ แรกที่
พระองคเ์ หน็ วา่ จะสามารถเข้าใจธรรมะได้ ได้รู้ได้เข้าใจส่ิงนดี ้ ้วย

เพราะฉะนนั ้ จดุ เร่ิมแรก ก็คือ แยกให้เห็นความแตกต่าง
ของข้อปฏิบัติวา่ ข้อปฏิบตั ิใดทาแล้วผิดพลาดไม่ถกู ต้อง จะได้ละ
เลิกเสีย แล้วดาเนินในทางที่ถกู ต้องต่อไป เพราะฉะนนั ้ จดุ เร่ิมต้น
อย่ทู นี่ ่ี

เม่ือพระองค์ได้แยกให้เห็นข้อปฏิบัติอนั เป็ นปฏิปทาหรือ
ทางดาเนินท่ีถูกต้องแล้ว ก็ตรัสเข้าสู่เนือ้ หาธรรมะ คือตรัสถึง

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๒๕

อริยสจั ๔ ประการว่า คนเราที่ม่งุ หมายดาเนินชีวิตปฏิบตั ิไปตา่ งๆ
นนั ้ จุดเป้ าสาคัญก็มุ่งเข้าส่สู ัจธรรม โดยเข้าใจว่าทาอย่างนัน้ ๆ
แล้ว จะเข้าถึงความจริงแท้ ชีวิตจะมีความสุขแท้จริง จะมีชีวิตที่
สมบูรณ์ ทกุ อย่างจะดีงามแท้ทกุ ประการ ไม่มีปัญหา ไม่มีความ
ทุกข์ยากเดือดร้ อนอีกต่อไป แต่ด้ วยวิธีการปฏิบัติที่ผิด ก็ไม่
สามารถบรรลสุ จั ธรรมและไปยึดเอาอะไรตา่ งๆ ท่ีไม่ถูกต้องเป็ นสจั
ธรรม พระองค์จงึ ชใี ้ ห้เหน็ วา่ สจั ธรรมคอื อะไร

ทรงชใี ้ ห้เหน็ วา่ สจั ธรรม ได้แก่ อริยสจั ๔ ประการ คือ ทกุ ข์
สมุทยั นิโรธ มรรค แล้วพระองค์ก็ชีใ้ ห้เหน็ วา่ ทกุ ข์ สมทุ ยั นิโรธ
มรรค แต่ละอย่างนนั ้ มีความหมายเป็ นอย่างไร ให้เห็นถึงทกุ ข์ที่
เป็ นตัวปัญหา คือปัญหาชีวิตของมนุษย์ หรือปัญหาของมนุษย์
ทงั ้ หมด มนษุ ย์ทเ่ี กิดมาดนิ ้ รนกระทาการต่างๆ นนั ้ ก็เพ่ือแก้ปัญหา
เพ่ือให้พ้นไปจากทกุ ข์ เพ่อื ประสบความสขุ น่เี ป็นจดุ เริ่มต้น

ต้องเข้าใจเสียก่อนว่า ตัวทุกข์ หรือตวั ปัญหานนั ้ คืออะไร
กนั แน่ ถ้าจบั จดุ ตวั ปัญหา ตวั ทกุ ข์ผิดแล้ว ต่อจากนนั ้ ก็จบั เหตผุ ิด
ตัง้ จุดหมายผิด จับทางปฏิบัติ จับอะไรต่ออะไรผิดไปหมด
เพราะฉะนนั ้ ต้องเข้าใจเสียก่อนวา่ ปัญหาของเราคอื อะไรกนั แน่

เมื่อเข้าใจชดั เจนแล้ว ก็ต้องสืบสาวหาสาเหตุว่ามันเกิด
จากอะไร ตอ่ จากนนั ้ พระองค์ก็แสดงให้เห็นวา่ เหตขุ องทกุ ข์ท่ีเรียกว่า
สมทุ ัยนนั ้ ได้แก่ ตณั หา หรือสืบค้นออกไปตามแนวปฏิจจสมุป-
บาท กจ็ ะไปลงทอ่ี วชิ ชา

และตอ่ จากนนั ้ ก็ทรงแสดงให้เหน็ วา่ เป้ าหมายของชีวิตคือ
อะไร ก็แสดงนโิ รธ การดบั ทกุ ข์ การไม่มีทกุ ข์เกิดขึน้ ความพ้นจาก

๒๖ ตามทางพทุ ธกจิ

ทกุ ข์ ความเป็นอิสระ ได้แก่ พระนพิ พาน เมื่อรู้วา่ อะไรเป็ นจดุ หมาย
และเห็นว่าทกุ ข์หรือปัญหานนั ้ แก้ไขได้ เม่ือแก้ปัญหาได้แล้วจะดี
อย่างไร

เมื่อเห็นที่หมายท่ีจะไป ท่ีจะนาไปให้ถึงแล้ว คนก็มีจดุ ม่งุ
ไปส่เู ป้ าหมายนนั ้ แล้วก็จะต้องแสวงหาวิธีปฏิบตั ิ หรือทางดาเนิน
ให้เข้าถึง เมื่อถึงตอนนีพ้ ระองค์ก็แสดงวา่ มชั ฌมิ าปฏิปทา หรือ
มรรคามีองค์ ๘ ประการ ดงั ทไี่ ด้ตรัสแล้วข้างต้นนนั่ แหละ เป็ นทาง
ทจ่ี ะนาไปสคู่ วามดบั ทกุ ข์หรือเป้ าหมายที่ต้องการนี ้

ตอนนีก้ ็กลบั ไปบรรจบกับมัชฌิมาปฏิปทาท่ีพระองค์ตรัส
ไว้ตอนแรกว่า ให้แยกออกจากข้อปฏิบตั ิท่ีเรียกว่าทางสดุ โต่ง ๒
อย่าง เป็ นอนั วา่ ข้อปฏิบตั ิที่เรียกว่ามัชฌิมาปฏิปทาท่ีตรัสตอนต้น
นนั ้ แหละ คอื ทางดาเนนิ ให้เข้าสจู่ ดุ ม่งุ หมายซง่ึ จะบรรลถุ ึงสจั ธรรม
ดงั ทีไ่ ด้ตรัสตอนหลงั ในอริยสจั ๔ ประการ น่กี ็เป็นใจความโดยย่อ

การตรัสเร่ืองธัมมจกั กฯ เร่ืองอริยสจั ๔ ประการ และเรื่อง
มชั ฌิมาปฏิปทานนั ้ เราต้องมองดบู รรยากาศสมยั นนั ้ โดยเทียบกบั
ความเชื่อถือของคนในสมัยนนั ้ แล้ว จึงจะเข้าใจถึงความอศั จรรย์
คือต้องเข้าใจถึงพืน้ เพที่เรียกวา่ ภมู ิหลงั ของคน และความเชื่อถือ
ในสมยั นนั ้ ด้วย จงึ จะเหน็ ความอศั จรรย์มากจนกระทง่ั เป็ นอย่างที่
ทา่ นกล่าวว่า เม่ือพระพทุ ธเจ้าตรัสปฐมเทศนาจบแล้ว แผ่นดินก็
สะท้านสะเทือนหวน่ั ไหวไปหมด เสียงกลา่ วกระฉ่อนเล่ืองลือตงั ้ แต่
ภุมมเทวดา คือเทวดาขัน้ พืน้ ดินนีไ้ ปจนถึงพรหมโลกชัน้ สูงสุด
เพราะเป็นการปฏิวตั ิเปลยี่ นแปลงความเชื่อถืออะไรตา่ งๆ ที่คนนบั

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๒๗

ถือกนั มา ซ่ึงอาตมภาพอยากจะกล่าวตอ่ ไปข้างหน้า ตอนนีจ้ ะยก
ไว้ก่อน

ทีนี ้หนั มาดตู อนหลงั จากที่พระพทุ ธเจ้าได้เทศนาเร่ืองนีไ้ ป
แล้ว ได้เกิดพระสาวกขึน้ แล้ว ต่อจากนนั ้ พระองค์ก็ได้ทรงบาเพ็ญ
พทุ ธกิจ ได้พระสาวกองค์อื่นๆ มาเพิ่มอย่างที่ท่านพระครูทวีได้เล่า
ถึงพระยส เป็นต้น

ในการแสดงธรรมต่อๆ มานัน้ ครัง้ ท่ี ๒ ท่ี ๓ ได้มีธรรม
เทศนาอนื่ ๆ แทรกเข้ามาด้วย คือเร่ืองอนปุ พุ พิกถา ซงึ่ ในพระธรรม
เทศนาที่เรียกว่า ธัมมจักกัปปวตั ตนสูตร นัน้ ให้สังเกตว่าทาไม
พระพทุ ธเจ้าไม่ตรัสอนปุ พุ พิกถา แต่พอถึงครัง้ ตอ่ ๆ มา ทาไมถึง
ตรัสอนปุ ุพพิกถาด้วย มีทาน ศีล สคั คะ กามาทีนวะ เนกขัมมา
นิสงั สะ เมื่อตรัสอนุปุพพิกถาจบแล้ว จึงทรงแสดงอริยสัจ ๔
ประการ

อนุปพุ พกิ ถา มี ๕ อย่าง คอื
๑. ทาน การให้ การช่วยเหลือเอือ้ เฟื อ้ เผื่อแผ่แบ่งปัน

ในทางวตั ถสุ ิ่งของ ตอ่ จากนนั ้ ก็
๒. ศลี ความประพฤติเรียบร้ อยถูกต้องดีงาม เว้นจากการ

เบียดเบียนซึ่งกันและกันในรูปแบบต่างๆ การอยู่
ร่วมกนั ด้วยดใี นหมมู่ นษุ ย์ในสงั คมนี ้
๓. สัคคะ สวรรค์ คือสภาพที่มีความสขุ ความมีอารมณ์
เลิศ มีรูป รส กล่นิ เสยี ง โผฏฐัพพะ สิ่งสมั ผสั กายที่เลอ
เลศิ เม่ือบาเพ็ญทานแล้ว ดาเนินชีวิตตามแนวของศีล
มีความประพฤติดี ก็ได้ประสบผลดี สังคมก็มีความ

๒๘ ตามทางพทุ ธกจิ

เรียบร้ อยดีงามอยู่ร่วมกันเป็ นสุข คนเอือ้ เฟื อ้ เผ่ือแผ่
แบง่ ปันกนั ชว่ ยเหลือกนั ทาแตส่ ่ิงท่ีดีงามเป็ นบุญกุศล
ก็ได้ประสบผลอานิสงส์ คือ สคั คะ มีความสขุ นี่ก็เป็ น
ผลดีที่พงึ ปรารถนานา่ ช่ืนชม
๔. ตอ่ จากนนั ้ พระองค์ก็ได้แสดงว่า แม้แต่ส่ิงท่ีคนพอใจ
เป็ นอารมณ์ท่ีเลิศดีงามเป็ นสวรรค์ มันก็ยังมีโทษ มี
ข้อบกพร่องทาให้เกิดทุกข์ได้ จึงทรงชีส้ งู ขึน้ ไปอีกว่า
สคั คะนนั ้ ก็มีโทษมีปัญหา เพราะจิตใจยังไม่หลดุ พ้น
เพราะฉะนนั ้ จึงตรัสให้เห็นโทษเรียกว่า กามาทีนวะ
แปลวา่ โทษของกาม เป็นข้อ ๔
๕. ตอ่ จากกามาทนี วะแล้ว จะทาอย่างไร ในเมื่อกามยังมี
โทษ มีข้อบกพร่อง มีความทุกข์ปะปนระคนอยู่ พอ
ผู้ฟั งมองเห็นโทษชัดเจนดีแล้ ว พระองค์ก็ทรงชี ้
ทางออกวา่ มีอยู่ โดยปลีกออกไปจากกาม สละความ
โลภความอยากได้ ใคร่ เอา ละเสียจากชีวิตและ
ความคิดที่พวั พนั ว่นุ วายอย่กู ับเร่ืองที่จะได้ จะเอา จะ
หาวัตถุหาอะไรๆ ที่เป็ นเคร่ืองปรนเปรอบารุงบาเรอ
ความสุขของตน ปลีกกาย ปลีกใจ ทาตวั ให้เป็ นอิสระ
ออกไปเสยี เรียกวา่ เนกขมั มะ จากนนั ้ ก็แสดงคณุ หรือ
อานิสงส์แห่งเนกขัมมะนัน้ เป็ นข้ อสุดท้าย เรียกว่า
เนกขมั มานิสังสะ
เมื่อพระพุทธเจ้าได้ทรงชีเ้ ร่ืองการดาเนินชีวิตท่ีดีงามของ
มนษุ ย์ ผลดีทจี่ ะพงึ ประสบ แต่ยงั มีโทษ มีข้อบกพร่องท่ีคนจะต้อง

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๒๙

เกี่ยวข้องระคนอยู่ ความทุกข์ท่ียังปะปนอยู่กับความสขุ ของคน
ทงั ้ หลายอย่างนนั ้ ๆ และชีท้ างออกให้แล้ว พระองค์ก็แสดงอริยสจั
๔ ประการ

พระองค์นาเอาอนุปุพพิกถามาเป็ นธรรมะสาหรับปูพืน้
ท่านบอกว่า การแสดงอนุปุพพิกถาก็เหมือนกับการเอาผ้ามา
ซกั ฟอกให้สะอาด พร้อมที่จะรับนา้ ย้อม คอื อริยสจั ๔ ประการ

ตอนนีก้ ็มาถึงจุดท่ีว่า ทาไมในปฐมเทศนาพระพุทธเจ้า
แสดงธัมมจักกฯ ขึน้ สู่มัชฌิมาปฏิปทาเลย เข้ าถึงอริ ยสัจ ๔
ประการทนั ที แตก่ ับพวกพระยสและทา่ นผ้อู ่ืน เชน่ บิดาของพระยส
มารดาของพระยส ภรรยาของพระยส พระพทุ ธเจ้าแสดงอนุปพุ พิ-
กถาก่อน

อันนีเ้ ราก็เห็นได้ง่ายว่า ท่านเบญจวัคคีย์เป็ นนักบวชอยู่
แล้ว สละชีวิตในทางโลกมาแล้ว มาบาเพ็ญข้อปฏิปทา เช่น การ
บาเพญ็ ทกุ รกิริยา มีความรู้ความเข้าใจเร่ืองโทษของกามก่อนแล้ว
จึงมาบวช แต่ว่ายังปฏิบัติไม่ถูกต้อง พระพุทธเจ้าก็ชีเ้ ลยว่าข้อ
ปฏิบตั ิใดผิดหรือถูก และเข้าสู่หลักสัจธรรมทนั ที แต่สาหรับคน
ทวั่ ไปท่ียังครองเรือนนนั ้ จะต้องทาความเข้าใจเบือ้ งต้นเสียก่อน
เริ่มตงั ้ แตก่ ารครองชีวติ ท่ีดงี ามเรื่อยมา ผลดีผลเสียของชีวิตในทาง
โลก เม่ือเข้าใจดีแล้วจงึ แสดงอริยสจั ทหี ลงั

อนั นีก้ ็เป็ นใจความโดยย่อ ของพระธรรมเทศนาในระยะ
ต้นๆ ท่พี ระพทุ ธเจ้าแสดงในบริเวณสถานทน่ี ี ้

อาตมภาพอยากจะพดู ถึงเร่ืองความแตกตา่ งของพระพทุ ธ-
ศาสนาจากลทั ธิศาสนาอน่ื ๆ ดงั ทป่ี รากฏในธัมมจกั กปั ปวตั ตนสตู ร

๓๐ ตามทางพุทธกจิ

แต่ก่อนจะพดู เร่ืองนนั ้ อยากจะเลยไปพดู ถึงสถานที่ด้วยสกั หน่อย
เพราะจะได้ความรู้ทเ่ี ก่ียวข้องให้แงค่ ดิ แกเ่ ราในบางแงบ่ างด้าน

สถานที่นีเ้ รียกช่ืออย่างเดิมว่า อิสิปตนมิคทายวนั หรือ
มฤคทายวนั ปัจจบุ นั เรียกวา่ สารนาถ เดยี๋ วจะเหน็ วา่ ชื่อเดิมกบั ช่ือ
ใหม่นมี ้ าบรรจบกนั อยา่ งไร

อิสิปตนะ นนั ้ แปลวา่ ที่ตกของฤษี อิสิ แปลวา่ ฤษี ปตนะ
แปลวา่ เป็นท่ีตก ทา่ นเลา่ วา่ ฤษีมีฤทธ์ิ เดินทางไปไหนก็เหาะ ผ้คู น
พากันเห็นว่าฤษีเหาะมาจากไหนๆ ก็มาตกกนั ท่ีนี่หมด ก็เลยเรียก
ท่ีน่ีว่า ท่ีฤษีตก หรือ อิสิปตนะ ทาไมฤษีจึงมาตกท่ีน่ี ความจริง
ไม่ใช่ท่านตกหรอก แต่ท่านมาเหาะลง คือที่นี่เป็ นท่ีชมุ นุมของฤษี
ฤษีพากันมาประชุมในท่ีนี ้ เพราะฉะนัน้ ท่านมาจากไหนๆ ก็มา
เหาะลงท่ีนี่ มาประชมุ กนั ทนี่ ี่ ทน่ี ก่ี เ็ ป็ นแหลง่ ของฤษีเลยทีเดียว ฤษี
พากนั มาประชมุ ณ ทนี่ ี ้คนธรรมดาก็เหน็ วา่ เป็นท่ีฤษีมาตกลง

อนง่ึ ฤษีนนั ้ ตามปกติจะอย่กู ันในป่ าหิมพานต์ ฤษีเหลา่ นนั ้
จะมาในถ่ินผ้คู นหรือมนษุ ย์ทว่ั ไปเป็นครัง้ คราว เมื่อจะมาก็เหาะมา
เม่ือจะกลบั ไปก็เหาะไป ทีนี ้เม่ือจะเหาะมา ก็มาลงท่ีป่ าแหง่ นี ้เม่ือ
จะกลบั ไป ก็มาเหาะขนึ ้ จากท่ปี ่ านี ้หรือจะแปลวา่ ชมุ ทางพระฤษีก็ได้

คาวา่ ปตนะ หรือ ตก บางทีแปลวา่ ที่ประชมุ ก็ได้ อย่างคา
วา่ สนั นิบาต ในคาวา่ สนั นบิ าตชาติ สนั นบิ าตอะไรต่างๆ ก็แปลว่า
ที่ประชุม สันนิบาตนัน้ ความจริงก็มาจากคาว่า ตกพร้ อม นิปาต
แปลว่า ตกลง ส ร่วมกันหรือพร้ อมกัน คือรวมกัน มาประชมุ กัน
นนั ้ เอง เพราะฉะนนั ้ ป่ า อิสิปตน กแ็ ปลว่า ที่ชมุ นมุ ของฤษีก็ได้ ท่ีท่ี
ฤษีมาเหาะลงก็ได้

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๓๑

มฤคทายวนั หรือมิคทายวนั แปลว่า ป่ าเป็ นท่ีพระราชทาน
อภยั แก่เนือ้ เนือ้ ในท่ีนีไ้ ม่ได้แปลว่าเนือ้ สตั ว์ท่ีเรากิน เนือ้ เป็ นสตั ว์
ชนดิ หนงึ่ หมายความวา่ กวางเนอื ้ คือ สตั ว์จาพวกกวางอะไรพวกนี ้

แปลรวมกันว่า เป็ นสถานที่พระราชทานอภยั แก่เนือ้ และ
เป็นที่ประชมุ ของฤษีด้วย

เป็ นที่พระราชทานอภยั แก่เนือ้ หมายความว่า พวกกวาง
เนือ้ มาอยู่ในบริ เวณนีจ้ ะไม่ถูกทาอันตราย ไม่ถูกฆ่า จึงมี
ความหมายเป็ นสถานที่ท่ีมีความร่มเย็น มีความสงบ เพราะว่าทงั ้
ในความหมายว่าชมุ ทางพระฤษี ฤษีเป็ นนักบวช เป็ นผ้บู าเพ็ญ
พรตภาวนาถือศีล ก็เป็ นที่ร่ มเย็น มีเมตตา มีกรุณา ดังนัน้
บรรยากาศของสถานทกี่ ็ต้องมีความรื่นรมย์

อนั นีก้ ็ไปสมั พนั ธ์กับช่ือปัจจบุ นั ท่ีเรียกวา่ ‘สารนาถ’ สารนาถ
นนั ้ ท่านบอกว่ามาจากคาว่า สารังคนาถ สารังคะ แปลว่า เนือ้
เหมือนกัน คือกวางเนือ้ นี่แหละ เป็ นอีกศัพท์หน่ึง นาถ ก็แปลว่า
ท่ีพึ่ง ท่ีพ่ึงของเนือ้ ถ้าแปลอย่างง่ายๆ ก็หมายความว่า สถานท่ีนี ้
เป็ นท่ีพ่งึ ของเนือ้ กวางเนือ้ มาอย่ทู ี่นี่ไม่มีอนั ตราย แต่ว่ายังมีเรื่อง
เบอื ้ งหลงั มามากกวา่ นนั ้ อกี

เรื่องนีม้ าในชาดก การพระราชทานอภยั แก่เนือ้ เป็ นเร่ือง
ของพระเจ้าแผ่นดิน ก็มีเรื่องเล่ามาในชาดก (ชาดกที่ ๑๒ เรื่อง
นิโครธมิคชาดก) ถึงเหตทุ ี่ทาให้พระเจ้าแผน่ ดินพระราชทานอภยั
แกเ่ นอื ้

กลา่ วไปถงึ ความหลงั เมื่อพระพทุ ธเจ้ายงั เป็ นพระโพธิสตั ว์
อุบัติเป็ นเนือ้ หัวหน้าฝูง สมัยนัน้ พระเจ้าแผ่นดินเมืองพาราณสี

๓๒ ตามทางพุทธกจิ

เสวยเนอื ้ เป็นประจา โดยพอ่ ครัวจะต้องนาเนอื ้ ในป่ าบริเวณนีไ้ ปฆ่า
ปรุงอาหารถวายทุกวนั พวกเนือ้ เลยมาตกลงกนั วา่ ในเมื่อทางวงั
จะต้องนาเนอื ้ ไปฆา่ ถวายพระราชาทกุ วนั แล้วจะทาอย่างไรดี ก็เลย
มาตกลงจดั ลาดบั กนั เหมือนคล้ายๆ เป็ นเวร แตเ่ วรนีไ้ ม่มีการหมนุ
กลบั ให้ต้องมาทาเวรใหม่ คือตายแล้วก็ผ่านไปเลย ก็จดั ลาดบั กัน
เรียงรอไปเรื่อยๆ ถงึ วาระของเนอื ้ ตวั ไหน กเ็ ป็นอนั วา่ ไปส่เู ขียง แล้ว
กต็ ายไป ตวั อื่นกเ็ ข้าลาดบั ตอ่ ไป

วนั หน่ึงมาถึงวาระของแม่เนือ้ มีครรภ์ใกล้จะคลอด พระ
โพธิสตั ว์ทราบเร่ือง มีความสงสารแม่เนือ้ นีม้ าก ก็สละชีวิตของตน
ขอเข้าลาดบั แทน เมื่อพระโพธิสตั ว์เข้าส่ลู าดบั ที่เขาจะต้องเอาไป
ฆ่า ด้วยความเสียสละนี ้ เรื่องก็ไปถึงพระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้า
แผน่ ดินได้ทรงทราบ ทาให้พญาเนือ้ ได้เข้าเฝ้ า และได้แสดงธรรม
แกพ่ ระเจ้าแผน่ ดิน พระเจ้าแผน่ ดินเหน็ ความเสยี สละของพญาเนือ้
แล้วก็ได้ฟังธรรมะคาสอนของพระโพธิสตั ว์ด้วย ก็ทาให้พระองค์
เกิดความกรุณาขึน้ มา แทนที่จะฆ่าเนือ้ ก็เกิดความสงั เวชพระทยั
เกิดความกรุณามาก

ในที่สดุ ก็เลยพระราชทานอภัยแก่เนือ้ ทงั ้ หมด เป็ นเหตุให้
บริ เวณนีเ้ ป็ นที่อาศัยของเนือ้ โดยไม่ถูกเบียดเบียน โดยพระ
โพธิสตั ว์เป็ นจุดเร่ิมต้นท่ีทาให้ฝงู เนือ้ ได้รับการอภยั โทษ มีความ
ปลอดภยั จงึ เรียกกนั ว่า มิคทายวนั แปลวา่ ที่พระราชทานอภยั แก่
เนือ้ นีก้ ็เป็ นเรื่องราวหน่งึ ท่ีมาในพระพทุ ธศาสนา ชาดกท่ีเล่าเรื่อง
แสดงให้เห็นคณุ ธรรม ความเสียสละ ความดีงามต่างๆ ท่ีเรียกว่า

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๓๓

บารมี ท่ีพระพทุ ธเจ้าได้ทรงบาเพญ็ มา เร่ืองราวในพระพทุ ธศาสนา
จะแสดงถงึ การบาเพญ็ คณุ ธรรมอยา่ งนเี ้สมอ

อาตมภาพหวนกลบั ไปนึกถึงเม่ือวานนี ้ท่ีได้ฟังนิทานทาง
ฝ่ ายฮินดทู ่ีพระครูทวีท่านเลา่ ให้คณะเดินทางฟังในรถ ก็มีข้อสงั เกต
อย่างหนึ่ง โยมจะเห็นว่า นิทานทางฝ่ ายฮินดนู นั ้ เต็มไปด้วยเรื่อง
ของกิเลส เรื่องของความโกรธ ความโลภ ความหลง ความหงึ หวง
ริษยาเบียดเบียนกัน อะไรต่างๆ มากมาย ส่วนเร่ืองราวทาง
พระพทุ ธศาสนาจะแสดงถึงการบาเพ็ญคณุ ธรรมความเสียสละ
การให้อภยั แกก่ นั และกนั ความเมตตากรุณา ความเอือ้ เฟื อ้ เผื่อแผ่
อะไรตา่ งๆ มากมาย ซงึ่ แสดงถึงคติความคิดที่ตา่ งกนั ออกไป

นอกจากเรื่องของกิเลสแล้ว กไ็ ปสมั พนั ธ์กบั เร่ืองฤทธิ์ เร่ือง
ปาฏหิ าริย์ ในทางนิทานของฮนิ ดจู ะเหน็ วา่ เทพเจ้าตา่ งๆ นนั ้ มีฤทธิ์
มากมาย แตฤ่ ทธิ์นนั ้ จะเหน็ วา่ เอามาใช้สนองกิเลส คือฤทธ์ิท่ีแสดง
เพ่ือสนองความโลภบ้าง จะเอาโน่นเอาน่ี เอาให้ได้มาด้วยกาลงั ฤทธิ์
หรือว่าโกรธคนนนั ้ คนนีก้ ็ใช้ฤทธิ์ไปทาลายเขา เข่นฆา่ เบียดเบียน
เขา เช่น พระอิศวรหมกม่นุ ในกามคณุ จนมสุ าวาทหลอกลวงพระ
ฤษีบ้าง ฤษีโกรธ สาปพระอิศวรบ้าง พระอิศวรหึงหวงพระอมุ าจน
ฆา่ ลกู ตวั เองบ้าง สารพดั ล้วนแตเ่ ร่ืองโลภ โกรธ หลงทงั ้ สนิ ้

ในทางพระพทุ ธศาสนานนั ้ ตรงข้าม จะไม่ค่อยพูดถึงเรื่อง
ฤทธิ์เลย เพราะเอาธรรมะนเ่ี องมาเป็นฤทธิ์ เอากาลงั คณุ ธรรมที่เรา
ได้บาเพ็ญเป็ นตัวฤทธิ์ ถ้ าหากจะมีฤทธ์ิเข้ ามา ก็ประกอบกับ
คุณธรรม แต่เห็นว่าใช้น้อย เพราะว่าธรรมะเป็ นฤทธ์ิในตัวเอง
เรียกวา่ ธรรมฤทธ์ิ

๓๔ ตามทางพทุ ธกจิ

แม้ในหลกั การของพระพทุ ธศาสนาท่วั ไป ก็ไม่สรรเสริญ
เรื่องฤทธิ์ ฤทธ์ิจะต้องเข้ามาเป็ นเครื่องประกอบคาสอนที่มีเหตมุ ี
ผลดีงาม หรือการบาเพ็ญคณุ ธรรม เพราะฤทธ์ินนั ้ มกั จะเป็ นเรื่อง
ของการใช้อานาจ และอานาจนนั ้ ก็มกั จะเก่ียวข้องกบั กิเลส ความ
โลภ ความโกรธ ความหลง โดยเฉพาะโลภะ โทสะ แสดงมาก

ในคติพุทธศาสนา ไม่ค่อยเก่ียวข้ องกับเร่ื องฤทธิ์ ไม่
สนับสนุนการใช้ฤทธิ์ ชอบให้ยอมกันด้วยเหตุผล ด้วยคุณธรรม
ความดี นอกจากว่าพระพุทธเจ้าจะต้องไปปราบคนมีฤทธิ์ จะ
ปราบคนมวั เมาในฤทธิ์มาก พระองค์จงึ จะเอาฤทธิ์ไปปราบ อย่าง
พวกอุรุเวลกสั สปะชฎิล ตอนนัน้ เช่ือในฤทธ์ิของเทพเจ้า ฤทธ์ิของ
พญานาคอะไรตา่ งๆ พระพทุ ธเจ้าจงึ ต้องปราบด้วยฤทธ์ิเสียก่อน
ให้พวกที่เชื่อในฤทธิ์ยอมรับแล้ว พระองค์ก็ไม่ติดอยู่ในฤทธิ์นนั ้ ไม่
ถือว่าเรื่องฤทธิ์สาคญั พอเขายอมแล้ว พระองค์ก็จะแสดงธรรม
ต่อไป คือเลยจากเรื่องฤทธิ์ไปอีกทีหน่ึง น่ีเป็ นข้อท่ีควรพิจารณา
ตามหลกั การของพระพทุ ธศาสนา

อาตมภาพพดู ถงึ เรื่องนขี ้ นึ ้ มา ก็อยากจะให้เป็ นคติวา่ เรื่อง
ของฤทธิ์เป็ นเร่ืองที่ต้องระวงั เพราะวา่ มันเอนเอียงไปสกู่ ารสนอง
กิเลส ความโลภ ความโกรธได้ง่าย ทีนี ้ในอินเดียจะผิดหรือจะถูก
อย่างไรก็แล้วแต่ แต่เรามามองให้ได้ประโยชน์จากสิ่งท่ีได้พบเห็น
เท่าท่ีได้สงั เกตปัจจบุ นั และดปู ระวัติท่ีเป็ นมาในอดีต เห็นว่าชอบ
เพลิดเพลนิ มวั เมาด้วยเร่ืองเหลา่ นตี ้ ลอดมา

พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาท่มี งุ่ คณุ ธรรม และความมีเหตุ
มีผล แม้แต่ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร พระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงแต่

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๓๕

เรื่องเหตเุ รื่องผล เร่ืองการท่ีจะเข้าถึงสัจธรรมดบั ทุกข์แก้ปัญหา
ด้วยความรู้ความเข้าใจ ด้วยการบาเพ็ญคณุ ธรรม การแก้ปัญหา
ด้วยปัญญา ไม่ใชเ่ อาเร่ืองฤทธิ์เรื่องปาฏิหาริย์มาใช้ ซ่งึ มนั ตา่ งกบั
คติความเช่ือของคนในสมัยนนั ้ หรือนักบวชสมัยนนั ้ ที่เชื่อในเร่ือง
ฤทธิ์เรื่องปาฏิหาริย์อะไรต่างๆ ที่จะให้มนั เกิดขึน้ ได้ผลด้วยอานาจ
ความศกั ดส์ิ ิทธิ์ แตพ่ ระพทุ ธเจ้าเอาเหตเุ อาผลเข้ามาแทน

นอกจากนี ้คนในสมยั นนั ้ เม่ือมีเรื่องเกี่ยวกับฤทธิ์ ก็นบั ถือ
โยงไปถงึ พวกเทพเจ้าต่างๆ พากนั ยกย่องสรรเสริญบรรดาเทพเจ้า
ทัง้ หลายท่ีว่ามีฤทธิ์มีอานาจมากสูงส่ง คอยหวังพึ่งให้เทพเจ้า
เหลา่ นนั ้ ดลบนั ดาล

แต่พระพทุ ธเจ้าทรงดงึ ความสนใจลงมาสเู่ ร่ืองของมนษุ ย์
อริยสจั เป็ นเรื่องของมนษุ ย์ มนษุ ย์เราสามารถแก้ไขปัญหา แก้ไข
ความทกุ ข์ด้วยสติปัญญาของเรา ไม่ต้องไปรอเทพเจ้าบนั ดาล ไม่
ต้องไปรอพระศวิ ะ พระอศิ วร พระพรหม พระนารายณ์นิรมิตให้เรา
ไม่ต้องรอไปบชู ายัญวิงวอนให้พระองค์บนั ดาลให้ มนษุ ย์เราแก้ได้
นี่มนั เปล่ียนจากความเชอ่ื ถือของคนในสมยั นนั ้

สมยั นนั ้ คนอยใู่ นอทิ ธิพลของศาสนาพราหมณ์ เชื่อพระเวท
เชือ่ พระพรหม เชื่อการบชู ายญั เป็ นความเชื่อท่ีสาคญั เหนียวแน่น
มาก พระเจ้าแผ่นดินจะแสวงหาอานาจอะไร ก็ต้ องบูชายัญ
ชาวบ้านก็บูชายัญเล็กๆ ลงมาตามลาดบั เซ่นสรวงกันไปต่างๆ
พระพุทธเจ้าตรัสบอกว่า คนเราน่ีแหละใช้สติปัญญาบาเพ็ญ
คณุ ธรรมแก้ปัญหาได้ น่ีคอื เป็นไปตามหลกั อริยสจั เป็ นการเปลี่ยน
พลกิ มาหมด ดงึ จากเทพเจ้ามาสมู่ นษุ ย์

๓๖ ตามทางพทุ ธกจิ

แล้วมนษุ ย์น่ี ถ้าบาเพญ็ คณุ ธรรมประพฤติดี ฝึ กฝนอบรม
ตนแล้ว พัฒนาตนเอง ก็จะเป็ นผู้ประเสริฐจนกระท่ังเราถือว่า
มนษุ ย์ท่ีฝึ กตนดีแล้ว พระพุทธเจ้าเป็ นตัวอย่างของผู้ฝึ กตนแล้ว
เป็นผ้ปู ระเสริฐสดุ แม้แตเ่ ทพเทวาพระพรหมกต็ ้องบชู า

แทนที่มนุษย์จะต้องไปมัวบูชาพระพรหม ตอนนี้เทวดา
พระพรหมต้องมาบูชาพระพทุ ธเจ้าซึ่งเป็ นมนุษย์ นี่มนั พลิกกลบั
หมด ทาไมฟ้ าดินจะไม่สน่ั สะเทือน เพราะความเชื่อของคนในสมยั
นน้ั มนั ถูกปฏิวตั ิไปหมดเลย ดว้ ยพระธรรมเทศนานี้

ถ้าเรารู้ภมู ิหลงั เราจะเหน็ ความอศั จรรย์ คนต้องโจษจนั กัน
ไป แม้แตเ่ ทพเจ้ากต็ ้องหวนั่ ไหวหมด พระพรหมก็ต้องหวนั่ ไหว ถูก
หน่ั บลั ลงั ก์เลย ถกู ทาลายท่ีนั่งแล้ว สะเทือนสะท้านสน่ั คลอนหมด
เลย เคยย่ิงใหญ่อย่างไร กถ็ กู ลดลงมาหมด มนษุ ย์แก้ปัญหาตวั เอง
ได้ แตต่ ้องใช้สติปัญญา

ทีนี ้เรามาพิจารณาเรื่องราวความแตกต่างระหว่างพทุ ธ
ศาสนากับศาสนาฮินดู ในเมื่อคนอินเดียไม่มนั่ อย่ใู นคณุ ธรรม ไม่
เช่ือการบาเพ็ญคุณธรรมของมนุษย์ ไม่เชื่อในความมีเหตุมีผล
สติปัญญามนุษย์ มุ่งอิทธิฤทธ์ิปาฏิหาริย์ เช่ือในเทพเจ้าการดล
บนั ดาลตา่ งๆ และคอยรอหวงั พง่ึ อ้อนวอนให้เทพเจ้าดลบนั ดาลให้
อาตมภาพกเ็ ช่อื วา่ อนิ เดยี ก็ไม่เหมาะกบั พทุ ธธรรม และไม่สามารถ
รองรับพทุ ธศาสนาไว้ได้

เด๋ียวนีเ้ ราก็เห็นได้ว่า หลงั จากพระพทุ ธศาสนาได้สิน้ ไป
จากอินเดียแล้ว ความเช่ือเรื่องศกั ดสิ์ ิทธ์ิเทพเจ้า การดลบนั ดาล ย่ิง
หนกั ขึน้ ทุกที นี่ก็เป็ นสภาพของอินเดียท่ีเป็ นอย่ใู นปัจจบุ นั ซงึ่ ไกล

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๓๗

ออกไปจากแนวทางพทุ ธศาสนา และทาให้เขาเป็ นอย่างที่โยมได้
เหน็ มาด้วยกนั ตลอดทาง เขาเชอื่ อะไรอย่างไร และเขาเป็ นอย่างไร
ก็ให้พิจารณาดู อนั นพี ้ ดู ขนึ ้ มาเพอื่ ให้เกิดความไมป่ ระมาทด้วย

เราอย่าประมาทว่าอินเดียรองรับพุทธศาสนาไม่ได้ แล้ว
ไทยเรารองรับได้ ไทยเราก็ไม่แนน่ อนวา่ จะรองรับได้ตลอดไป ถ้า
หากวา่ ไมส่ ามารถยึดหลกั การทางพระพทุ ธศาสนาไว้ได้ เรายังหนั
ไปหวังความสาเร็จจากฤทธิ์ จากปาฏิหาริย์ ความเช่ือการดล
บันดาลอยู่ ปล่อยให้โลภะ โทสะ แสดงฤทธ์ิอานาจ ไม่ช้าพุทธ
ศาสนาก็อาจค่อยๆ เสื่อมสูญไปจากจิตใจ เมืองไทยก็จะไม่
สามารถรองรับพระพทุ ธศาสนาไว้ได้เหมือนกนั

นีก้ ็เป็ นคติอย่างหนึ่งที่อาจจะได้จากเร่ืองนีด้ ้วย นอกจาก
ความเจริญศรัทธา ความมีจิตใจเบิกบานผ่องใสแล้ว ก็ได้ความ
เข้าใจเหตเุ ข้าใจผล หลกั การคาสอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าด้วย

อาตมภาพก็ขออนโุ มทนาโยมที่ได้มาในสถานท่ีสาคญั ทาง
พระพุทธศาสนานี ้ อย่างน้อยเราก็ได้มีความสงบทางด้านกาย
บรรยากาศก็สงบแล้ว จิตใจของเราก็พลอยมีความผ่องใส มีความ
สดช่ืนเบิกบานเป็ นกุศลอย่างมาก นบั เป็ นผลในทางจิตตภาวนา
อีกทัง้ ก็ได้ เจริ ญปั ญญาภาวนา ด้ วยการสดับคาสอนและ
คาอธิบายธรรมะของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า

ก็ขอให้กศุ ลที่เกิดจากการนี ้จงเป็ นเครื่องเอือ้ อานวยผลให้
โยมทกุ ทา่ นเจริญในธรรมะคาสอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าย่ิงๆ
ขึน้ ไป และจงประสบจตรุ พิธพร บรรลคุ วามสาเร็จในส่ิงท่ีม่งุ หวงั
โดยชอบ ประกอบด้วยธรรม ทกุ ทา่ น ตลอดกาลทกุ เม่ือ เทอญ



กสุ ินารา ที่ปรนิ ิพพาน

เจริญพร อาตมภาพจะขอโอกาสกล่าวธรรมกถาสนั ้ ๆ ใน
ระยะเวลาสาคญั ที่เราได้เดินทางมาถึง และได้นมัสการสงั เวชนีย
สถานลาดบั สดุ ท้ายในบรรดาสงั เวชนียสถาน ๔ แหง่

เราเดินทางมาถึงท่ีน่ีจะค่ามืดแล้ว เวลาก็จากัด และโยมก็
อาจจะอ่อนเพลียร่างกาย เนื่องจากได้ตรากตราในการเดินทาง
ควรแกก่ ารพกั ผอ่ น จงึ จะกลา่ วธรรมกถาเป็นแง่คดิ แตเ่ พียงสนั ้ ๆ

ถ้าพิจารณาดถู ึงสงั เวชนียสถานท่ีคณะได้เดินทางมาแล้ว
ซ่ึงมีทงั ้ หมด ๓ แหง่ นบั เฉพาะท่ีมีในรายการก็ครบถ้วน ณ แหง่ นี ้
ขอให้สงั เกตว่า ท่ีเราเดินทางมานนั ้ เป็ นไปตามลาดบั กาลในพทุ ธ
ประวัติ คือ เริ่มด้วยสถานที่ตรัสรู้ที่พุทธคยา จากนัน้ ก็เดินทาง
ตอ่ มายงั สถานทีท่ รงแสดงปฐมเทศนา ‘ธัมมจกั กปั ปวตั ตนสูตร’ ซง่ึ
ปัจจบุ นั เราเรียกกนั วา่ สารนาถ หรือในพระบาลีเรียก ป่ าอิสิปตน
มิคทายวนั แล้วบดั นีก้ ็มาถึงสถานท่ีเสด็จดับขันธปรินิพพาน เป็ น
บรรจบครบสงั เวชนียสถาน ๔ แห่ง หรือ ๓ แหง่ ในรายการที่คณะ
ได้เดนิ ทางมา

สถานทด่ี บั ขนั ธปรินพิ พานนี ้เป็ นท่ีระลึกถึงการดาเนินพระ
พทุ ธกิจของพระพทุ ธเจ้ามาถึงวาระสดุ ท้าย เป็ นการสิน้ สดุ พระชนม-
ชีพของพระองค์ เหตกุ ารณ์ที่เกี่ยวกับการปรินิพพานนนั ้ มีกล่าวไว้

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๓๙

อย่างคอ่ นข้างพิสดารในพระสตู รๆ หนง่ึ ท่ีเรียกวา่ มหาปรินิพพาน
สูตร หรือแปลว่าพระสูตรว่าด้วยการเสด็จดบั ขันธปรินิพพาน หรือ
การปริ นิพพานอันยิ่งใหญ่ ซ่ึงหมายถึงการปริ นิพพานของ
พระพทุ ธเจ้า

เหตุการณ์โดยสรุปเริ่มมาตัง้ แต่พระพุทธเจ้าจาพรรษาที่
เมืองเวสาลี หลงั จากออกพรรษาแล้ว พระองค์ได้เสด็จพทุ ธดาเนิน
มาตามลาดับ มีเหตกุ ารณ์เกี่ยวกับการที่ได้ทรงปลงพระชนมายุ
สงั ขาร คือ ประกาศความตกลงพระทยั ท่ีจะปรินิพพานท่ีปาวาล-
เจดีย์ในวันเพ็ญเดือน ๓ ซึ่งก็ไปประจวบกับวันท่ีเราเรียกว่า
มาฆบูชา ด้วย คือตรงกับวันที่ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ใน
ตอนต้นพทุ ธกาล แตต่ อนนีเ้ป็ นปลายพทุ ธกาล ก่อนปรินิพพาน ๓
เดอื น จากนนั ้ ก็เสดจ็ มาโดยลาดบั จนกระทงั่ ถึงท่ีน่ี แล้วได้เสดจ็ ดบั
ขนั ธปรินิพพานภายใต้ร่มไม้สาละ หรือในเมืองไทยเรามกั จะแปล
กนั วา่ ไม้รังคทู่ ่ี สาลวโนทยาน ก็คือสวนป่ าไม้สาละซึง่ เป็ นพระราช
อทุ ยานของกษัตริย์แคว้นมัลละ เป็ นอนั วา่ สถานท่ีนีเ้ ป็ นสว่ นหนึ่ง
อยใู่ นดินแดนของอาณาจกั รของกษตั ริย์มลั ละ

พระพทุ ธองค์ได้เสดจ็ ดบั ขันธปรินิพพานในวนั เพ็ญเดือน ๖
หรือวันวิสาขปุรณมี ซึ่งเราจัดเข้าเป็ นเหตุการณ์หนึ่งในบรรดา
เหตกุ ารณ์สาคัญ ๓ อย่างในวนั ที่เรียกว่า วิสาขบูชา นีเ้ ป็ นการ
กลา่ วโดยสรุป

มีเรื่องราวที่ควรจะยกมาเน้นเป็ นพิเศษ ซงึ่ แสดงให้เห็นถึง
พระคุณของพระพทุ ธเจ้าด้านพระมหากรุณาธิคณุ อนั ยิ่งใหญ่ มี
เหตุการณ์หลายตอนในระยะสดุ ท้ายเม่ือจวนเจียนจะปรินิพพาน

๔๐ ตามทางพทุ ธกจิ

กลา่ วเฉพาะวนั ปรินพิ พาน กม็ ีเหตกุ ารณ์หลายอย่างที่แสดงให้เห็น
ถงึ พระทยั ของพระพทุ ธเจ้าซงึ่ ประกอบด้วยความกรุณาอนั ย่ิงใหญ่
ตอ่ สรรพสตั ว์ทงั ้ หลาย ม่งุ แต่จะบาเพ็ญประโยชน์แก่ผ้อู ่ืนโดยไม่
คานงึ ถงึ ความเหนด็ เหน่อื ยยากลาบากของพระองค์เอง เชน่ วา่

เม่ือเสดจ็ มาถึงถ่ินของนายจนุ ทะ นายจนุ ทกมั มารบตุ รก็ได้
นิมนต์พระพุทธเจ้าพร้ อมด้ วยพระสงฆ์ท่ีตามเสด็จให้ ไปฉัน
ภตั ตาหารท่ีบ้านของเขา เขาได้ถวายอาหารท่ีเรียกว่า สูกรมัทวะ
ซง่ึ แปลกนั วา่ เนือ้ สกุ รออ่ นบ้าง ปราชญ์บางพวกแปลวา่ เป็ นเห็ด
ชนดิ หนง่ึ มีพิษบ้าง

พระพทุ ธเจ้าทรงทราบว่าอาหารนนั ้ ย่อยยาก จะเป็ นโทษ
แก่ร่างกาย แต่พระองค์ทรงทราบว่าพระองค์ก็จะปรินิพพานอย่แู ล้ว
นายจุนทะก็มีความปรารถนาดี พระองค์มีพระประสงค์จะฉลอง
ศรัทธานายจนุ ทะ และอกี ประการหนง่ึ อาหารนนั ้ ถ้าพระองค์ไม่ฉนั
พระสงฆ์องค์อื่นก็จะต้องฉนั แล้วจะได้รับความลาบากเดือดร้ อน
เพ่ือตดั ปัญหา พระองค์จงึ ตรัสบอกให้นาสกู รมัทวะมาถวายเฉพาะ
พระองค์ สว่ นพระองค์อื่นไม่ต้องฉัน พระองค์ฉนั แทนหมด สาหรับ
องค์อื่นก็ให้ถวายอาหารอ่ืนไป พระองค์ได้ฉันสูกรมัทวะนนั ้ เสร็จ
แล้ว ที่เหลือก็ให้ฝังดินเสีย และด้วยสูกรมัทวะนีก้ ็เป็ นเหตุให้
พระองค์ซงึ่ ประชวรอย่แู ล้ว ประชวรหนกั ยิ่งขนึ ้

ในวนั นนั ้ ได้มีการประชวรอย่างรุนแรงจวนจะปรินิพพาน
หลายหนก่อนท่ีจะเดินทางมาถึงสาลวโนทยาน แต่พระองค์ก็มี
ขนั ติธรรม ใช้กาลงั สตสิ มาธิระงบั ทกุ ขเวทนาไว้ ทาให้โรคภยั ไข้เจ็บ
ระงับไปชั่วคราว เสด็จพระดาเนินต่อไป และในระหว่างท่ีเสด็จ


Click to View FlipBook Version