The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตามทางพุทธกิจ โดย ป.อ. ปยุตโต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 20:47:18

ตามทางพุทธกิจ โดย ป.อ. ปยุตโต

ตามทางพุทธกิจ โดย ป.อ. ปยุตโต

Keywords: ตามทางพุทธกิจ โดย ป.อ. ปยุตโต

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๙๑

ตงั ้ ต้นแต่ระดับง่ายๆ คือ ดับกิเลสได้ชั่วคราว ปราศจาก
โลภะ โทสะ โมหะ ก็ทาให้จิตใจของเราไม่มีความเศร้ าหมอง ไม่มี
กิเลสรบกวน จนกระทั่งขัน้ สุดท้ายเป็ นสมุทเฉทปหาน ก็คือละ
กิเลสได้โดยสมบรู ณ์ เป็ นพระอรหนั ต์ เป็ นผ้ทู ี่มีจิตใจเบิกบานผ่อง
ใสตลอดเวลา ปราศจากความทุกข์โดยสมบูรณ์ เรียกว่า บรรลุ
ความเป็นอิสระหลดุ พ้นจากกิเลสและความทกุ ข์ทงั ้ ปวง

อนั นกี ้ ็ได้แก่ ความในบาทท่ีสองของพระคาถาท่ี ๑ คือเมื่อ
ดาเนินตามมรรคาของพระพทุ ธศาสนา ก็จะบรรลุถึงเป้ าหมายนี ้
พระพทุ ธเจ้าก็ได้ตรัสให้เห็นแล้ววา่ จดุ หมายของพระพทุ ธศาสนา
เป็ นอย่างไร จากนัน้ ก็ตรัสต่อไปถึงลักษณะอีกอย่างหนึ่งของ
พระพทุ ธศาสนา คอื เรื่องนกั บวช

นักบวช ตามความหมายของพระพทุ ธศาสนาเป็ นอย่างไร
นกั บวชเป็นท่ีปรากฏชดั เจนของศาสนา เวลาคนมองศาสนา เขาก็
จะมองที่นกั บวชก่อน มองนกั บวชแล้วก็มองไปที่วดั แต่ถ้าวดั ไม่มี
พระ ก็ไม่มีความหมาย พระหรือนักบวชน่ีแหละเป็ นหลักสาคัญ
ของศาสนา เป็นลกั ษณะท่ปี รากฏ

เพราะฉะนนั ้ พระพทุ ธเจ้าจงึ ตรัสถงึ ลกั ษณะของพระพทุ ธ-
ศาสนาโยงเข้ามาในตอนนีว้ ่า บุคคลที่เรียกว่านกั บวชมีลกั ษณะ
อย่างไร ความในคาถานบี ้ อกวา่

น หิ ปพพฺ ชโิ ต ปรปู ฆาตี สมโณ โหติ ปรํ วิเห ยนโฺ ต
คนที่ทาร้ายผู้อื่นไม่ชื่อว่าเป็ นบรรพชิต คนที่เบียดเบียน
ผอู้ ืน่ ไม่ชือ่ วา่ เป็นสมณะ

๙๒ ตามทางพุทธกจิ

แสดงว่าลกั ษณะของนักบวช หรือบรรพชิต หรือผู้ที่เป็ น
สมณะก็คือ ผ้ทู ีไ่ มเ่ บยี ดเบยี นผ้อู ื่น ปราศจากการทาร้ ายผ้อู ื่น เป็ นผู้
สงบระงับ สมณะ ก็แปลว่าผู้สงบจากกิเลส หรือสงบจากการ
เบียดเบียน บรรพชิต ก็แปลวา่ ผ้เู ว้นจากบาป เว้นจากการเบียดเบียน
เหมือนกัน อันนีก้ ็เป็ นลักษณะของบรรพชิตหรือสมณะ หรื อ
นกั บวชตามความหมายในพระพทุ ธศาสนา ซงึ่ แต่ก่อนนนั ้ อาจจะ
ไม่เข้าใจอยา่ งนี ้

ลักษณะของนกั บวชอย่างเช่นในพทุ ธกาล คนจานวนไม่
น้อยก็จะมองไปท่ีการบาเพ็ญตบะ โดยเข้าใจว่าถ้าเป็ นนกั บวช
หรือเป็ นสมณะแล้วต้องบาเพ็ญตบะทรมานร่างกายของตนให้
ลาบาก เป็นต้น หรืออาจมีความหมายว่าจะต้องไปบาเพ็ญพรตอยู่
ในป่ า ไปเป็นฤษีชไี พร กินผกั ผลไม้ ไม่ย่งุ เกี่ยวกบั ผ้คู น

อย่างลัทธิฤษีชีไพรที่มีมาก่อนพุทธกาล มีในชาดก
มากมายหลายเรื่อง ฤษีเยอะแยะไปหมด พระพุทธเจ้าไม่ถือว่า
นกั บวชเหล่านนั ้ เป็ นสมณะ หรือบรรพชิตที่แท้จริง ถ้าหากไม่เข้า
หลกั ท่ีกลา่ วมา คือไม่เว้นจากการเบียดเบียน ไม่มีความประพฤติ
สงบปราศจากการทาร้ายผ้อู ื่น แม้แตม่ ัวย่งุ แข่งฤทธ์ิกับเทวดา หรือ
สาปแช่งคนโน้นคนนี ้หรือว่าคนไม่น้อยก็อาจจะมองเพียงท่ีเครื่อง
แต่งกาย คือลักษณะภายนอก ผ้าน่งุ ห่ม เช่น การน่งุ หนงั สือ การ
มนุ่ มวยผมเป็นชฎา อยา่ งพวกนกั บวชชฎิล เป็นต้น

คนจานวนมากจะติดอย่ทู ่ลี กั ษณะภายนอก ที่เครื่องน่งุ หม่
และอาการกิริยาที่ประพฤติวัตรหรือบาเพ็ญพรตต่างๆ ว่าเป็ น

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๙๓

นกั บวช พระพทุ ธเจ้าจึงตรัสบอกว่า อนั นนั ้ ไม่ใช่ความหมายของ
สมณะหรือบรรพชิตทีแ่ ท้จริง

สรุปว่า พระพุทธเจ้าแสดงลักษณะบรรพชิต หรือนักบวช
ในพระพทุ ธศาสนาด้วยความในบาทท่ี ๓ และ ๔ ของคาถาที่ ๑ นี ้
เป็ นอนั ว่าจบความในคาถาที่ ๑ ของโอวาทปาฏิโมกข์ ซ่ึงแสดง
ลกั ษณะทว่ั ไปของพระพทุ ธศาสนา

พระสงฆ์ทาหน้าท่ใี นการเผยแผพ่ ระศาสนา เมื่อไปสงั่ สอน
เขา ก็สามารถแยกลักษณะของพระพทุ ธศาสนาให้เหน็ ว่าแตกต่าง
จากศาสนาอื่นอย่างไร ประชาชนท่ีมารับฟังก็แยกได้วา่ หลกั คาสอน
ท่ีถูกต้ องในพระพุทธศาสนานัน้ ต่างไปจากที่คนเช่ือถือกัน
โดยทั่วไปในศาสนาอ่ืนอย่างไร อนั นีเ้ ป็ นความในคาถาที่ ๑ ของ
โอวาทปาฏโิ มกข์

ตอ่ ไปนกี ้ จ็ ะแสดงความในคาถาที่ ๒

คาถาที่ ๒ นรี ้ ูจกั กนั มาก มีความดงั นี ้
บาทท่ี ๑ สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทาความชวั่ ทงั้ ปวง
หรือการไม่ทาบาปทง้ั ปวง
บาทที่ ๒ กุสลสฺสูปสมฺปทา การบาเพ็ญกุศลคือความดีให้
ถึงพร้อม
บาทท่ี ๓ สจิตฺตปริโยทปนํ การทาจิตใจของตนให้ผ่องใส
บริสทุ ธ์ิ
บาทท่ี ๔ เอตํ พุทธาน สาสนํ นี้คือคาสอนของพระพทุ ธะ
ทง้ั หลาย
อย่างท่ีอาตมภาพได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า คาถาท่ี ๒ นี ้

ชาวพทุ ธทวั่ ไปรู้จกั กันมาก เราเอามาพดู กันมากจนกระทง่ั บอกว่า

๙๔ ตามทางพทุ ธกจิ

นีแ้ หละคือ หวั ใจพระพุทธศาสนา คล้ายๆ ว่าคาถานีค้ าถาเดียว
แทน ๓ คาถาของโอวาทปาฏิโมกข์ทงั ้ หมดทีเดียว คือ การละช่วั
การทาความดี และการทาจติ ใจให้ผอ่ งใส

ทาไมจงึ รู้จกั คาถานมี ้ าก กเ็ พราะคาถานีใ้ ช้เป็ นหลกั ปฏิบตั ิ
ของคนทว่ั ไป

คาถาท่ี ๑ นนั ้ แสดงลกั ษณะของพระพทุ ธศาสนา แตย่ ังไม่
เหน็ ชดั ถึงหลกั ปฏิบตั ิทว่ั ๆ ไป

พอถงึ คาถาท่ี ๒ พระพทุ ธเจ้ากแ็ สดงหลกั ปฏิบตั ิทงั ้ หมดใน
พระพทุ ธศาสนา สรุปโดยย่อลงในข้อความเพียง ๓ ข้อเทา่ นี ้คือไม่
ทาช่วั ทาดี และทาจิตใจให้ผ่องใส สาหรับพทุ ธศาสนิกชนทั่วไป
สามารถยึดถือเป็ นหลกั ปฏิบตั ิได้ คือเป็ นตวั หลกั ปฏิบตั ิที่พระสงฆ์
จะนาไปสอนประชาชนให้ยดึ ถือบาเพญ็ ตาม

ทา่ นลงท้ายว่า เอตํ พทุ ฺธาน สาสนํ นีค้ ือคาสอนของพระ
พทุ ธะทงั ้ หลาย ขอให้สงั เกตด้วย ทา่ นบอกวา่ เป็ นคาสอนของพระ
พทุ ธะทงั ้ หลาย ไมใ่ ชเ่ ฉพาะพระพทุ ธเจ้าองค์นเี ้ทา่ นัน้ พระพทุ ธเจ้า
ทกุ องค์ก็จะสอนเป็ นอย่างเดียวกนั เหมือนกนั หมดว่า ให้เว้นจาก
ความชว่ั คอื ไมท่ าชวั่ ให้ทาความดี แล้วก็ทาจติ ใจให้ผอ่ งใส

พระอรรถกถาจารย์ขยายความบอกว่า ไม่ทาชว่ั ทาดี ทา
จิตใจให้ผอ่ งใส นกี ้ ค็ ือหลกั ทเี่ ราเรียกวา่ ไตรสิกขา หรือ ศีล สมาธิ
ปัญญา นนั่ เอง

พร ะ พุทธ โ ฆสาจาร ย์ แ สดง ไว้ ใ นคัม ภีร์ วิสุทธิ มัคค์ตอ น
เร่ิมต้นทีเดียว บอกว่า หลกั ที่วา่ ไม่ทาชัว่ ก็คือศีลนนั่ เอง การทาดี
ให้ถึงพร้ อม หรือบาเพ็ญคณุ ธรรมต่างๆ ได้แก่ หลกั อธิจิตตสิกขา

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๙๕

หรือหลกั สมาธิ หลกั การทาใจให้ผอ่ งใส ก็คือ อธิปัญญาสิกขา หรือ
ปัญญานนั่ เอง

รวมความว่า โอวาทปาฏิโมกข์ คาถาที่ ๒ ได้แก่ หลัก
ไตรสิกขา หรือศลี สมาธิ ปัญญา ดงั ทอ่ี าตมภาพกลา่ วมาโดยย่อนี ้

ผ่านคาถาท่ี ๒ สู่ คาถาที่ ๓ อาตมภาพจะแปลให้ฟัง
เสยี กอ่ น แล้วจงึ จะอธิบายให้เข้าใจโดยยอ่ ทา่ นบอกวา่

อนูปวาโท การไม่กล่าวร้าย หนึ่ง
อนูปฆาโต การไม่ทาร้าย หนึ่ง
ปาฏิโมกฺเข จ สํวโร ความสารวมในพระปาฏิโมกข์ หนึ่ง
ให้สงั เกตคาวา่ ปาฏิโมกข์มาอกี แล้ว
มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ ความเป็ นผู้รู้จักประมาณใน
ภตั ตาหาร หน่ึง
ปนฺตญฺจ สยนาสนํ ทีน่ งั่ ทีน่ อนอนั สงดั หรือการนอนนงั่ ในที่
สงดั หนึ่ง
อธิจิตฺเต จ อาโยโค การประกอบความเพียรในอธิจิต หรือ
การฝึกฝนพฒั นาจิตของตน อย่างหนึ่ง
เอตํ พทุ ธาน สาสนํ นีเ้ ป็นคาสอนของพระพทุ ธะทง้ั หลาย

นีเ้ ป็ นข้อความในท่อนที่ ๓ ของโอวาทปาฏิโมกข์ มีคาถา
กึง่ คือคาถากบั อีกครึ่งคาถา

ทา่ นกลา่ ววา่ ข้อความทอ่ นท่ี ๓ ของโอวาทปาฏิโมกข์นีเ้ป็ น
หลักของนักเผยแผ่พระศาสนา คือ ผู้ท่ีจะทาหน้าท่ีเผยแผ่พระ

๙๖ ตามทางพทุ ธกจิ

ศาสนานนั ้ พึงดารงตนอย่ใู นหลกั ปฏิบตั ิท่ีกล่าวไว้ในความท่อนนี ้
ขอโยงกบั ๒ ทอ่ นแรก

ท่อนที่ ๑ แสดงลกั ษณะทว่ั ไปของพระพทุ ธศาสนาให้เห็น
ตา่ งจากลกั ษณะความเชอ่ื ในศาสนาอื่นๆ โดยเฉพาะที่มีอย่ใู นสมยั
พทุ ธกาล

ทอ่ นที่ ๒ แสดงหลกั ปฏิบตั ิของพระพทุ ธศาสนาโดยยอ่
แล้วท่อนที่ ๓ แสดงปฏิปทาของนกั เผยแพร่พุทธศาสนา
หรือผ้ทู ีจ่ ะทาหน้าที่นาเอาพระพทุ ธศาสนาที่กลา่ วแล้วในท่อนที่ ๑
และที่ ๒ นนั ้ ไปสงั่ สอนผ้อู นื่ ตอ่ ไป
ผ้ทู ่ีจะทาหน้าท่ีเผยแผ่พระพุทธศาสนานนั ้ ควรจะปฏิบัติ
ตามปฏิปทา
หนึ่ง คือ ไม่กล่าวร้ าย ข้อนีเ้ ข้ากับลักษณะของบรรพชิต
หรือสมณะในพระพทุ ธศาสนาดงั ได้กลา่ วมาแล้วข้างต้น ไม่กลา่ ว
ร้าย ม่งุ แสดงแตค่ าสอน แตห่ ลกั ความจริง ไม่พดู กลา่ วร้ ายติเตียน
ผ้อู ื่น ไม่กล่าวร้ ายป้ ายสีศาสนาอ่ืนๆ ซึ่งพระพุทธเจ้าเองก็ได้ทรง
บาเพญ็ เป็นตวั อย่างในพทุ ธปฏิปทา
มีพทุ ธจริยาหลายตอนซง่ึ แสดงให้เห็นถึงพระพทุ ธลกั ษณะ
ทวี่ า่ ทรงแสดงแตห่ ลกั ธรรม ไม่กลา่ วร้ายป้ ายสใี คร เห็นง่ายๆ อย่าง
ในตอนที่พระพทุ ธเจ้าเสด็จประทบั ใต้ต้นสาละคู่ ที่สาลวโนทยาน
หรือป่ าไม่สาละ ในวนั ที่จะปรินิพพานนนั ้ มีสภุ ทั ทปริพาชกเข้ามา
ทลู ถามปัญหา
สภุ ทั ทปริพาชกทลู ถามพระพทุ ธเจ้าในทานองว่ามีศาสนา
ต่างๆ สอนกันมากมาย แต่ละศาสนาก็ว่าศาสนาของตวั เองเป็ น

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๙๗

ศาสนาที่แท้จริง มีคาสอนท่ีถูกต้อง ศาสนาอ่ืนสอนผิดทัง้ หมด
สมณะหรือพระอรหันต์มีแต่ในศาสนาของตน ศาสนาอ่ืนไม่มี
อรหนั ต์อะไร ดงั นีเ้ป็ นต้น แล้วเขาก็ถามพระพทุ ธเจ้าว่าควรจะเช่ือ
อย่างไร

พระพทุ ธเจ้าตรัสวา่ ไม่ต้องไปวิพากษ์วิจารณ์ เราจะไม่พดู
ละว่าศาสนาไหนเขาเป็ นอย่างไร เขาสอนถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง
เราจะแสดงธรรม กลา่ วแตห่ ลกั การเทา่ นนั ้ แล้วพระพทุ ธเจ้าก็ตรัส
หลกั ที่ว่า มรรคามีองค์ ๘ ประการอนั ประเสริฐ คือข้อปฏิบตั ิอัน
เป็ นทางสายกลาง มีปัญญาอนั เหน็ ชอบ เป็ นต้น มีในคาสอนใด ก็มี
สมณะมีพระอรหนั ตใ์ นคาสอนนนั ้ เอาแตห่ ลกั อย่างนี ้ไม่ต้องไปวา่
ร้ายใคร ไมต่ ้องไปกลา่ วตเิ ตยี นยกตนเองข่มผ้อู นื่ นกี่ ต็ วั อยา่ งหนงึ่

หรืออยา่ งใน กาลามสูตร ซ่งึ เป็ นสตู รท่ีมีชื่อเสียงมาก ตอน
นนั ้ พระพทุ ธเจ้าเสด็จไปถึงเกสปตุ ตนิคม อนั เป็ นที่อยู่ของพวกชน
เผา่ กาลามะ ชาวกาลามะก็มาเฝ้ าพระพทุ ธเจ้า แล้วก็ทลู ถามว่า ที่
เกสปตุ ตนิคม หรืออาเภอ หรือเมืองเล็กๆ ท่ีชื่อเกสปตุ ตะนี ้มีเจ้า
ลทั ธิตา่ งๆ เดินทางผา่ นมาเรื่อยๆ เจ้าลทั ธิตา่ งๆ เมื่อมาถึง ตา่ งก็จะ
สง่ั สอนยกย่องลทั ธิของตนเทา่ นนั ้ ว่ามีคาสอนท่ีถูกต้อง ลทั ธิอ่ืนๆ
สอนผิดทงั ้ สนิ ้ แล้วนี่พระสมณโคดมมาจะวา่ อย่างไร ก็คงจะถือว่า
ลทั ธิของตวั ถกู ต้อง ลทั ธิอน่ื ผิดหมดอกี ละซิ อะไรทานองนี ้

พระพทุ ธเจ้าก็ตรัสบอกว่า “ทา่ นทงั ้ หลาย ไม่ต้องพดู ถึงว่า
ลทั ธิไหนถกู ไมถ่ กู หรอก เอาละ เราจะให้หลกั ”

แล้วพระพุทธเจ้าก็ทรงแสดงหลักว่า น่ีแน่ะ ชาวกาลามะ
ทงั ้ หลาย จงอย่าเช่ือโดยเพียงแต่ได้ฟังตามๆ กันมา ตามเสียงเล่า

๙๘ ตามทางพุทธกจิ

ลือ… เป็ นต้น รวมความวา่ อย่าให้เชื่อง่ายๆ อย่าปลงใจเชื่อด้วย
เหตุนนั ้ ๆ ทัง้ หมด ๑๐ ประการ เราเรียกว่าหลักกาลามสูตร ๑๐
ประการ ถือวา่ เป็นหลกั แหง่ ศรัทธา

แม้แต่คาสอนของพระองค์เอง พระพุทธเจ้าก็ไม่ได้ทรง
จากดั หรือสอนยกตวั วา่ ของเรานีน้ ะจึงจะถกู ต้อง คาสอนอย่างอ่ืน
ผิด จงเชอ่ื อยา่ งทฉี่ นั บอก พระพทุ ธองค์ไมต่ รัสเลย พระองค์บอกวา่
ไม่ต้องเช่ือแม้แต่คาสอนของเรา ให้ท่านพิจารณาใช้ปัญญา ไม่
ต้องถือวา่ น่ฉี นั เป็นศาสดามาพดู แล้วทา่ นจะต้องเชื่อ ให้พิจารณา
วินิจฉยั ด้วยปัญญาของตนเองวา่ สิ่งใดเป็ นอกศุ ลประพฤติแล้วมี
โทษ ส่ิงใดเป็นกศุ ลประพฤติแล้วเป็นคณุ เป็นประโยชน์

หลักกาลามสูตรนีถ้ ือว่าเป็ นหลักแห่งศรัทธา และแสดง
ลักษณะของพุทธศาสนาอีกเหมือนกัน พวกท่ีได้ศึกษาในทาง
เหตผุ ล คนสมัยใหม่อย่างพวกฝร่ังท่ีมาเล่ือมใสพทุ ธศาสนา ก็มา
เลื่อมใสด้วยกาลามสูตรนีเ้ ป็ นจานวนมาก กาลามสูตรเลยมี
ช่ือเสยี งในประเทศตะวนั ตก ทงั ้ ๆ ท่ีในประเทศไทยเราสมยั ก่อนไม่
คอ่ ยมีใครพดู ถึงกนั หรือไมร่ ู้จกั ด้วยซา้

ยงั มีตวั อย่างอื่นอีก เช่น มีนักบวช หรือพวกพราหมณ์มา
ทลู ถามพระพทุ ธเจ้าให้ตดั สินวา่ พวกศาสดาทงั ้ ๖ มี ปรู ณกัสสปะ
มักขลิโคสาล อชิตเกสกัมพล ปกุธกัจจายนะ สัญชยั เวลัฏฐบุตร
และนิครนถนาฏบุตร ต่างก็สอนกันไปต่างๆ คนไหนสอนผิด คน
ไหนสอนถกู ให้พระพทุ ธเจ้าวนิ จิ ฉยั

พระพทุ ธองคก์ บ็ อกวา่ อย่าไปพดู ถึงวา่ คนไหนสอนผิด คน
ไหนสอนถูก เราจะแสดงธรรมะ แสดงหลักการให้ฟัง ให้ท่าน

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๙๙

พิจารณาเองว่าอนั นีเ้ ป็ นหลกั ความจริงไหม ถ้าเห็นว่าเป็ นความ
จริง ก็พิจารณาเอาเองวา่ ใครสอนผิดสอนถกู พระพทุ ธเจ้าจะตรัส
แบบนี ้

พระองค์ได้ทรงบาเพ็ญพทุ ธจริยาเป็ นตวั อย่างในการท่ีไม่
กล่าวร้ ายใคร พระองค์แสดงแตห่ ลกั ความจริง เป็ นอนั วา่ ผ้ทู ่ีเผยแผ่
คาสอนหรือหลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนานนั ้ ควรจะยดึ หลกั ดงั นี ้

ข้อที่ ๑ อนปู วาโท คือ ไม่กลา่ วร้าย ไม่ให้ร้ายใคร
ข้อท่ี ๒ อนูปฆาโต คือไม่ทาร้ าย เมื่อเป็ นนักบวชเป็ น
บรรพชติ กไ็ มท่ าร้ายอยแู่ ล้ว ในการเผยแผไ่ มค่ วรทาร้ ายเบียดเบียน
ใครๆ
ข้อที่ ๓ ปาฏิโมกฺเข จ สวโร แปลว่า สารวมในปาฏิโมกข์
สารวม แปลว่าระมดั ระวงั คือสารวมระวงั กวดขันตนเองประพฤติ
ปฏิบัติให้ถูกต้องในปาฏิโมกข์นัน้ ๆ อย่างท่ีอาตมภาพได้กล่าว
มาแล้วว่ามี ๒ อย่าง ผ้ทู ี่จะสง่ั สอนเขา ก็ต้องถือว่าเป็ นผ้นู าใน
ศาสนา เม่ือเป็นผ้นู าผ้อู นื่ แล้ว กค็ วรจะรักษาหลกั การให้ถกู ต้อง จึง
มีหน้าท่ีตามหลักคาสอนข้อนีว้ ่า จะต้องระวังตนกวดขันตนเอง
ควบคมุ ตนเองให้อยใู่ นหลกั การโดยเคร่งครัด ทงั ้ ในส่วนท่ีเป็ นหลกั
คาสอนท่ีเป็นประธาน ทงั ้ ระเบียบวินยั ที่เป็ นหลกั เป็ นประธานด้วย
กเ็ ลยมีคาสอนข้อนที ้ ่ีวา่ ให้สารวมในปาฏิโมกข์
ต่อไปข้อที่ ๔ มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ แปลว่า เป็ นผ้รู ู้จกั
ประมาณในการบริโภคภตั ตาหาร น่กี ็มองได้หลายอยา่ ง ความรู้จกั
ประมาณในภัตตาหารนัน้ เป็ นคุณธรรมข้ อสาคัญยิ่งสาหรับ
บรรพชิต หรื อนักบวช สัมพันธ์กับการทาตนให้เขาเลีย้ งง่าย

๑๐๐ ตามทางพุทธกจิ

เพราะว่าพระสงฆ์ หรือนักบวช เป็ นผ้มู ีอาชีวะหรือการเลีย้ งชีพ
เน่ืองด้วยผู้อ่ืน หมายความว่าไม่ได้ทามาหาเลีย้ งชีพด้วยตนเอง
ต้องอาศยั ปัจจยั ๔ คอื ทานท่ญี าติโยม ทายกทายิกาถวาย

ญาตโิ ยมนนั ้ เขาทามาหาเลยี ้ งชพี กวา่ จะได้เงินได้ปัจจยั ๔
มา บางทีลาบากยากเย็นมาก แล้วเขาต้องเอาปัจจัย ๔ นัน้ มา
จดั แบง่ ถวายให้แกน่ กั บวช ให้แก่พระสงฆอ์ กี

เพราะฉะนนั ้ พระสงฆ์ก็ไม่ควรจะจกุ จิกจ้จู ี ้หรือปรนเปรอ
เอาใจตนเองในเร่ืองปัจจยั ๔ โดยเฉพาะเร่ืองอาหาร ควรทาตวั ให้
ชาวบ้านเขาเลีย้ งง่าย เม่ือตัวเองมีความรู้จกั ประมาณในอาหาร
แล้ว จิตใจก็จะได้ปลอดโปร่ง ไม่ตัองมัวห่วงกังวลในเร่ืองอาหาร
และก็จะสามารถทาหน้าทข่ี องตนได้บริบูรณ์ด้วย จะไปไหนก็ไปได้
ง่าย ถ้ ามัวห่วงแต่ความสุขสบายทางร่างกาย มัวแต่ห่วงเรื่อง
อาหารแล้ว ก็คงไปไหนได้ยาก จะทาหน้าที่เผยแผ่พระศาสนาได้
อย่างไร

เพราะฉะนนั ้ ทา่ นก็ให้มีหลกั ในการรู้จกั ประมาณในอาหาร
เม่ือรู้จกั ประมาณในภตั ตาหารแล้ว ก็เกือ้ กูลแก่การบาเพ็ญธรรม
ข้ออื่นๆ ทงั ้ หมด มีความสนั โดษ มีการบาเพ็ญเพียร เป็ นต้น ก็จะ
ทาให้สะดวกทกุ อย่างทกุ ประการ อนั นกี ้ ็กลา่ วโดยยอ่

ตอ่ ไปก็ ปนตฺ ญฺจ สยนาสน มีท่ีนง่ั ที่นอนอนั สงดั หมายความ
วา่ นกั บวชหรือสมณะนกั เผยแผพ่ ระศาสนานี ้จะต้องรู้จกั ยินดีในที่
สงัดด้วย ไม่ใช่ยินดีในการคลกุ คลี ลกั ษณะท่ีตรงข้ามกบั การยินดี
ในทีส่ งดั ก็คือ การชอบคลกุ คลี การชอบคลกุ คลีกับหม่คู ณะนนั ้ ทา
ให้ไม่มีเวลาบาเพญ็ เพยี ร ทาให้จิตใจฟ้ งุ ซา่ นวนุ่ วายได้ง่าย

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๐๑

นักบวชที่จะทาหน้าท่ีได้ดีนัน้ ไม่ว่าจะเป็ นการบาเพ็ญ
ประโยชนต์ น เพื่อความก้าวหน้าในธรรรมก็ดี หรือจะขบคิดธรรมะ
เพื่อที่จะนาไปสั่งสอนผ้อู ่ืนก็ดี จะต้องรู้จักใฝ่ หาความสงัด จึงจะ
บาเพญ็ หน้าทไ่ี ด้ผลดี ก้าวหน้าเจริญงอกงามในธรรม

ตอ่ ไปข้อสุดท้าย อธิจิตฺเต จ อาโยโค เมื่อยินดีในท่ีสงัด
แล้ว ก็บาเพ็ญเพียรประกอบในอธิจิต คือการฝึ กฝนพฒั นาจิตใจ
ตนเอง ซงึ่ เป็นหลกั สาคญั ของพระภิกษุ

สมณะนัน้ หลักสาคัญอยู่ท่ีการฝึ กจิต สาหรับชาวบ้าน
อาจจะยุ่งเกี่ยวกับเรื่องทางกายมาก เชน่ ว่นุ วายในการประกอบ
อาชีพ มีภาระในเรื่องสงั คม ในเรื่องครอบครัว เป็ นต้น แตพ่ ระภิกษุ
สงฆ์นนั ้ ได้สละเว้นวางจากสิ่งเหล่านนั ้ มาแล้ว เมื่อสละมาแล้ว ก็
ม่งุ เน้นการบาเพ็ญเพียรทางด้านจิตใจ พฒั นาจิตใจของตนเอง
เพ่อื ให้ก้าวหน้าในธรรม

เม่ือบาเพ็ญเพียรในทางอธิจิต พฒั นาจิตของตนดีแล้ว ก็
จะเป็ นบาทฐานให้มีความเจริญทางปัญญา ได้เจริญสมถะและ
วิปัสสนาแล้ว ก็จะเข้าถึงจุดหมายท่ีพระพุทธเจ้าได้แสดงไว้ใน
คาถาท่ี ๑ ที่บอกว่า “นิพพาน ปรม วทนฺติ พทุ ฺธา พระพทุ ธเจ้า
ทงั ้ หลายกลา่ วนิพพานวา่ เป็ นธรรมสงู สดุ หรือบรมธรรม”

นอกจากบรรลจุ ดุ หมายที่เป็ นประโยชน์ตนสงู สดุ แล้ว ก็ทา
หน้าท่ีตอ่ ผ้อู ื่นได้ดีด้วย

นอกจากนีก้ ็เป็ นตัวอย่างให้เขาเห็นว่า การบาเพ็ญเพียร
ในทางจติ ใจ ทาจิตใจของตนเองให้ดี พฒั นาจิตใจนนั ้ มีคณุ ประโยชน์
อยา่ งไร ถ้าพระสงฆ์ไม่เป็ นตวั อย่างในอธิจิต ยงั คงวนุ่ วายทางโลก

๑๐๒ ตามทางพุทธกจิ

มากมายแล้ว ชาวบ้านจะเห็นดีได้อย่างไรว่าการพฒั นาจิตใจนนั ้ มี
ประโยชน์ จงึ ต้องทาให้เขาเหน็ เป็นตวั อย่างด้วย

ตกลงว่า นี่เป็ นปฏิปทา เป็ นข้อปฏิบัติ เป็ นทางดาเนิน
สาหรับผ้ทู ่ีทาหน้าท่ีเผยแผ่พระศาสนา เป็ นผ้นู าของประชาชนใน
การเดินทางเข้าส่ธู รรมะ คาสั่งสอนของพระพทุ ธเจ้า จะพึงยึดถือ
เป็นหลกั ปฏบิ ตั ิตอ่ ไป

ที่กล่าวมานีก้ ็เป็ นคาอธิบายโดยท่ัวไปและเบือ้ งต้ น
เก่ียวกบั โอวาทปาฏิโมกข์ ที่พระพทุ ธเจ้าทรงแสดงในวนั จาตรุ งค
สนั นิบาต หรือวนั โอวาทปาฏิโมกข์ อาตมภาพได้แสดงสาระสาคญั
มาพอสมควรแก่เวลา

ในวันมาฆบูชา เมื่อ ๒๕๒๗ ปี มาแล้ว พระพุทธเจ้าได้
แสดงคาสอนอนั นี ้และวนั นีเ้ ราทงั ้ หลายก็มาบรรจบวันมาฆบูชา
อีกครัง้ หน่ึง ในฐานะที่เป็ นลูกศิษย์ เป็ นสาวก เป็ นผ้ดู าเนินตาม
ปฏิปทาของพระพทุ ธเจ้า รวมทงั ้ พระอรหนั ต์ทงั ้ หลายท่ีมาประชมุ
ในมหาสันนิบาตครัง้ นนั ้ พวกเราก็ควรพิจารณาใส่ใจในคาสอน
ของพระพทุ ธเจ้าทไี่ ด้ทรงแสดงไว้

นอกจากทาความเข้าใจให้ถูกต้อง ให้รู้ว่าวันสาคญั ท่ีตน
นบั ถืออยู่นัน้ มีความหมายอย่างไร มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึน้ บ้าง
แล้ว ก็จะได้นาคาสอนมายึดถือปฏิบัติ นามาใช้ให้เป็ นประโยชน์
แก่ชีวิตของตนเอง ตลอดจนบาเพ็ญประโยชน์แก่ผู้อ่ืนให้เกิด
ความสขุ ความเจริญ และความสงบโดยทว่ั ไปในสงั คม

เม่ือทาได้อย่างนี ้ ก็จะเป็ นการบูชาพระพทุ ธเจ้าโดยการ
ปฏิบตั ทิ ่ีเรียกปฏบิ ตั บิ ชู า ถ้าทาทงั ้ ๒ อย่าง คือมีทงั ้ อามิสบูชา การ

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๐๓

บชู าด้วยอามิส และ ปฏิบตั ิบูชา การบชู าด้วยการปฏิบตั ิ ก็จะเป็ น
การบชู าทยี่ อดเยี่ยมสมบรุ ณ์

สาหรับคฤหัสถ์นนั ้ เริ่มด้วยอามิสบูชาเป็ นพืน้ ฐาน แล้วก็
นาเข้าสปู่ ฏิบตั ิบชู า สาหรับพระสงฆ์นนั ้ ก็เน้นที่ปฏิบตั ิบูชา นาหน้า
ประชาชนให้ก้าวหน้าในปฏบิ ตั บิ ชู ายิ่งๆ ขนึ ้ ไป

เราทงั ้ หลาย เม่ือถึงวนั มาฆบูชาแล้ว ก็ขอเชิญชวนให้ทา
จติ ใจให้ผอ่ งใส นาเอาโอวาทปาฏิโมกข์นนั ้ มาปฏิบตั ิ

อยา่ งน้อยเราก็ทาได้ในหลกั ปฏิบตั ิทว่ั ไปท่ีอยู่ในคาถาท่ี ๒
คือ สพพฺ ปาปสฺส อกรณ การไม่ทาความชวั่ ทงั ้ ปวง กุสลสฺสูปสมฺปทา
การบาเพ็ญกุศลคือความดีให้ถึงพร้ อม สจิตฺตปริ โยทปน การทา
จิตใจของตนให้ผ่องใส ทาได้ทัง้ ในเฉพาะเวลานีซ้ ่ึงเป็ นปัจจุบัน
และก็ทาได้ในระยะยาวตอ่ ไป

ท่ีวา่ ทาได้เฉพาะในเวลาบดั นี ้ก็คือ หนง่ึ เราไม่ทาความชวั่
ทงั ้ ปวง ขณะนเี ้รานง่ั กนั อย่ใู นท่ีนี ้เราเว้นจากความชวั่ ไม่ทาความ
ชว่ั อะไรเลย กด็ าเนินในข้อที่ ๑ ได้อยา่ งน้อยก็บางสว่ น

ข้อท่ี ๒ กสุ ลสฺสูปสมฺปทา บาเพญ็ ความดี หรือทาความดี
ให้ถึงพร้อม ขณะนเี ้รากม็ าเจริญศรัทธา เจริญฉนั ทะในธรรม มาฟัง
ธรรม ประกอบในบุญกิริยาวตั ถุ ญาติโยมทงั้ หลายก็ได้ประกอบบุญ
ในการนอี ้ ย่ตู ลอดเวลาในการเดินทางนี ้ที่ได้มานมสั การสงั เวชนีย-
สถาน ก็ตงั ้ ใจเป็ นกุศลในเบือ้ งต้นอย่แู ล้ว นี่ก็คือการประกอบกุศล
เร่ิมตงั ้ แตก่ ศุ ลเจตนา

นอกจากนัน้ ญาติโยมยังได้อุปถัมภ์ให้พระสงฆ์ได้มา
นมสั การด้วย และในการเดินทางก็ได้บาเพ็ญทานเรื่อยมา ทงั ้ ทาน

๑๐๔ ตามทางพทุ ธกจิ

ท่ีเป็ นส่วนบุพภาคให้เกิดการเดินทาง โดยอุปถัมภ์ทุนรอนให้
พระสงฆ์สามารถเดินทางได้ และเม่ือขณะเดินทางก็ได้ถวาย
ภตั ตาหารอปุ ถมั ภ์บารุงให้กาลงั ในการเดินทางอย่ตู ลอดเวลา เป็ น
การบาเพ็ญบุญกิริยาวัตถุท่ีเป็ นส่วนบุญส่วนกุศล ทาความดีอยู่
เร่ือยไป ทงั ้ ทแ่ี สดงออกทางกาย ชว่ ยเหลือขวนขวาย ทางวาจา พดู
ดี และทางจิตใจทบี่ าเพญ็ ศรัทธา เป็นต้น ดงั ทไ่ี ด้กลา่ วแล้ว

ประการที่ ๓ ก็ทาจิตใจของเราให้บริสทุ ธิ์ผอ่ งใสตามหลกั
สจิตฺตปริโยทปน เม่ือจิตใจของเรามีศรัทธาแล้ว จิตใจนนั ้ ก็ผ่องใส
เบิกบาน ย่ิงถ้ ามีความราลึก คือมีอนุสติในพระพุทธคุณ พระ
ธรรมคณุ พระสงั ฆคณุ จิตใจก็สดช่ืนร่าเริงบนั เทิงในธรรม จดั เป็ น
การปฏิบตั ติ ามหลกั คาสอนในพระคาถาท่ี ๒

ที่ได้กลา่ วมานี ้เป็ นคาเชิญชวนให้เราทงั ้ หลายกระทาการ
บูชาในวันมาฆบูชา เพ่ือให้สมกับที่วันนีเ้ ป็ นวันสาคัญในทาง
พระพทุ ธศาสนา แม้เราจะไมไ่ ด้มีการทาพิธีดงั ที่นิยมทากนั มาตาม
ประเพณี แตด่ ้วยวธิ ีปฏิบตั ิบชู านี ้ย่อมถือว่าเป็ นการเฉลิมฉลองวนั
มาฆบชู าที่ไมย่ ิ่งหย่อนวา่ การกระทาอ่ืนใดทงั ้ สนิ ้

แท้จริง อาจจะเป็ นการบูชาที่เป็ นการพิเศษด้วยซา้
เพราะว่า ด้วยการท่ีได้มานมสั การสงั เวชนียสถานแล้วนี ้จึงทาให้
จิตใจของเรามีศรัทธาเพิ่มพนู ย่ิงขึน้ มีฉันทะในธรรมยิ่งขึน้ ญาติ
โยมอาจจะมีปี ตี มีความปลาบปลืม้ ใจ อนั นีแ้ หละเป็ นการบูชาที่มี
ความสาคญั มาก มีอานิสงส์อย่างพเิ ศษ ซง่ึ เป็นข้อท่ีนา่ อนโุ มทนา

อาตมภาพเห็นว่า ถ้ามีเวลาก็น่าจะกล่าวความสืบเน่ือง
ต่อไปเกี่ยวกบั เหตกุ ารณ์สาคญั ในพระพทุ ธศาสนาด้วยให้มากขึน้

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๐๕

ไปอีก เพ่ือโยมจะได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เก่ียวข้อง ให้
มองเห็นภาพเก่ียวกับพระพุทธศาสนากลมกลืนกับการท่ีเราได้
เดนิ ทางมาประเทศอนิ เดยี

คอื วา่ นอกจากเราจะเข้าใจธรรมะ มีศรัทธาในการบาเพญ็
ธรรมะ ประพฤติปฏิบัติธรรมะแล้ว เราก็ควรเข้าใจเร่ืองราวความ
เป็นมาของพระพทุ ธศาสนาด้วย เพราะความเข้าใจเช่นนนั ้ จะทาให้
เรามองเห็นภาพของพระพุทธศาสนาชดั ย่ิงขึน้ และการมองเห็น
ภาพ เห็นเหตุการณ์ต่างๆ ชัด ก็จะทาให้เกิดความเข้าใจซ่ึงจะ
นาไปสู่การปฏิบัติท่ีถูกต้องย่ิงขึน้ ด้วย เช่น เราจะมีทัศนคติท่ี
ถกู ต้อง มีหลกั ในการวนิ จิ ฉยั วา่ อะไรถกู อะไรผดิ มากย่ิงขนึ ้

แล้ วความเข้ าใจธรรมะท่ีสัมพันธ์กับความเข้ าใจใน
สภาพแวดล้อมนี ้จะนาไปสกู่ ารปฏิบตั ิที่ดาเนินแน่วแน่ถูกทางใน
คาสอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้ายิ่งๆ ขนึ ้ ไป

อาตมภาพได้กล่าวมาแล้วในแง่ของหลกั ธรรมคาสอน ใน
โอกาสหน้าก็จะโยงกลับมาสู่เหตุการณ์ในทางพระพุทธศาสนา
ตอ่ ไป ตอนนีอ้ ยากจะขอหยุดพกั ผ่อน เพราะอาจจะต้องดวู ่าเวลา
ล่วงเลยไปเท่าใด สมควรจะให้พระสงฆ์ได้ฉันภัตตาหาร แล้ว
หลงั จากนนั ้ จะได้พจิ ารณากนั ใหม่ เจริญพร



บทเรยี นจากอดีต

ขอเจริญพร โยมคณะบญุ จาริกทกุ ทา่ น

อาตมภาพขอเรี ยกชื่อไปพลางๆ ว่า คณะบุญจาริ ก
โดยทว่ั ไปนิยมเรียกกนั วา่ ผ้เู ดินทางแสวงบุญ แต่มานกึ ดทู ี่เรียกว่า
ผ้เู ดนิ ทางแสวงบญุ นี ้ความหมายจะแคบไปหนอ่ ย

คาวา่ “บญุ จาริก” นี ้มีความหมายกว้าง แปลว่า การจาริก
ทีเ่ ป็นบญุ หรือการจาริกเพอื่ บญุ ได้ทงั ้ นนั ้ เพราะว่าผ้เู ดินทางนนั ้ มี
ความเป็ นบุญตงั ้ แต่ก่อนการเดินทางแล้ว คือตงั ้ ใจเป็ นบุญ เป็ น
กุศลไปแล้ว ว่าจะไปนมสั การสถานที่สาคญั เก่ียวกับพระพุทธเจ้า
แล้วเมื่อไป ก็ไปยังสถานท่ีเป็ นบุญ สถานท่ีดีงาม ไปถึงแล้วก็ไป
ทาบุญ ทาบญุ เสร็จแล้วเดินทางกลบั มา ระลึกขึน้ จากจิตใจที่ผอ่ ง
ใส มีความสขุ มีความปี ติปลาบปลืม้ เอิบอิ่มใจ เป็นบญุ อีก

ถ้าได้อย่างนี ้ก็เรียกว่าเป็ นการจาริกบุญ เป็ นบุญตลอด
ตัง้ แต่ต้น จนกระท่ังแม้ ภายหลังจบการเดินทางแล้ว ก็ได้บุญ
เรื่อยไป นกึ ขนึ ้ มาเม่ือไร ก็เป็นบญุ เป็นกศุ ลเม่ือนนั ้

แม้โยมที่ไมไ่ ด้เดินทางไปด้วย วนั นีม้ าร่วมฟังร่วมชมหลาย
ท่าน ก็ทาบุญด้วยกัน เพราะว่า แม้ไม่ได้ไปด้วยตนเอง ก็ร่วม
อนโุ มทนากบั โยมท่ีได้ไปทาบุญ นอกจากนนั ้ ก็ยงั ได้ช่วยสนบั สนนุ
ในด้านทนุ อุปถัมภ์ เป็ นต้น ขอยกตัวอย่างเช่น โยมเล็ก เจ้าของ

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๐๗

บ้านนี ้ ก็ได้อุปถมั ภ์ทนุ ช่วยเหลือในด้านการเดินทางเป็ นอันมาก
โยมสร้ อยนัง่ อย่ใู นที่นี ้ไม่ได้ไป แต่ก็ได้ถวายทนุ ชว่ ยเหลืออปุ ถมั ภ์
ไป อยา่ งนเี ้ป็นต้น ก็ถือวา่ ได้บญุ เหมือนกนั

และวนั นี ้ เมื่อมาชมการเดินทางที่เป็ นบุญเป็ นกุศล ถ้าทา
จิตใจด้วยดี มีความปี ติอ่ิมเอิบใจ มีจิตใจผอ่ งใสเบิกบาน ก็ได้บญุ
เพ่มิ เติมอกี

ทนี ี ้เพ่ือให้การชมและการฟังสไลด์ต่อไปนีช้ ดั เจน อาตมภาพ
ก็อยากจะทบทวนการเดินทางนิดหนอ่ ย อาตมภาพได้แจกแผนท่ี
ไป เข้าใจว่าโยมมีอย่แู ล้ว เอามาดสู กั นิดเป็ นการทบทวน ถ้าได้ดู
แล้ว เวลาฟังก็ตาม เวลาชมสไลด์ก็ตาม เม่ือพูดถึงขึน้ มา ก็จะ
มองเหน็ ภาพชดั เจนขนึ ้ ด้วย

ขอทบทวนเส้นทางตามแผนที่นี ้อาตมภาพขีดไว้ เสน้ สแี ดง
เป็นเส้นทางรถยนต์ เสน้ สนี ้าเงนิ เป็นทางเครื่องบนิ

ทวนสรุปการเดินทาง

เริ่มแรก คณะเดินทางโดยเคร่ืองบิน บริษัทการบินไทย ไป
ลงที่เมือง กัลกัตตา อย่ทู างขวามือสดุ นนั ้ เป็ นจดุ เริ่มต้น เม่ือวนั ที่
๒๓ กุมภาพนั ธ์ ตอนแรกแวะที่วัดเบงกอลก่อน เป็ นวัดของพระ
ชาวเบงกอล แต่วา่ อยู่ในอินเดีย ไม่ได้ค้างคืน ไปขึน้ รถไฟเดินทาง
ต่อไปในวนั นนั ้ เอง ส่เู มืองคยา แล้วก็ขึน้ รถยนต์ต่อไปพกั ท่ี วดั ไทย
พุทธคยา ชมสถานท่ีตรัสรู้ ค้างคืนท่ีวดั ไทยพทุ ธคยาในคืนวันท่ี
๒๔ อีกหนง่ึ คนื

๑๐๘ ตามทางพุทธกจิ

แล้ววนั ที่ ๒๕ ก็เดินทางไปเมือง ราชคฤห์ แวะเยือนเวฬุวนั
และเขาคชิ ฌกฏู เป็นต้น แล้วเดินทางต่อไปยังเมือง นาลนั ทา ค้าง
คืนท่ีนาลนั ทานนั ้ ๑ คืน ชมนาลนั ทามหาวหิ าร วดั ใหญ่ท่ีถือว่า
เป็ นมหาวิทยาลัยแรกของโลก มีท่านมหายอด เป็ นผู้นาชม
ตอ่ จากนนั ้ ก็เดินทางกลบั มาท่ีวดั ไทยพทุ ธคยาอีกครัง้ นอนค้างที่
วดั ไทยพุทธคยาคืนวันที่ ๒๖

จากนัน้ วันที่ ๒๗ หลังจากชมแม่นา้ เนรัญชราตรงวัด
มหนั ต์ของฮินดูแล้ว ก็เดินทางต่อไปยัง เมืองพาราณสี (วาราณสี)
หรือเบนาเรส (Benares) ไปพกั ที่วดั ไทยสารนาถ ซ่ึงพระครูประกาศ
สมาธิคณุ ไปสร้ างไว้ แต่ตอนนีท้ า่ นมรณภาพแล้ว มีพระภิกษุชาว
อินเดียเป็ นผ้รู ักษาการอยู่ ท่ีวดั นีไ้ ด้ค้างคืนถึง ๓ คืน คือคืนวนั ท่ี
๒๗, ๒๘ กมุ ภาพนั ธ์ และวนั ท่ี ๑ มีนาคม

เช้าวันที่ ๒๘ ไปชมเจาขัณฑีสถูป และสถานที่แสดง
ปฐมเทศนาที่สารนาถ หรือป่ าอิสิปตนมฤคทายวนั ตอนบา่ ย ชม
พิพิธภัณฑ์แล้วเดิมชมสวนกวางและวัดเชน ท่ีอยู่ในบริ เวณ
เดยี วกนั

รุ่งขึน้ วนั ท่ี ๑ มีนาคม เช้าไปลอ่ งแม่น้าคงคา ตรงทา่ ที่คน
มาล้างบาปและเผาศพกันมาก ตอนสายไปแวะเย่ียมวัดธิเบต
กลบั มาฉนั เพลทีว่ ดั ตอนบา่ ยไปเฝ้ ามหาราชาแห่งเมืองพาราณสีท่ี
รามานคร และไปที่มหาวิทยาลยั พาราณสี (Banaras Hindu
University) พบกบั พระภิกษุนกั ศึกษาไทยแล้ว ก็ไปเย่ียมโพรเฟส-
เซอร์รามนั อาจารย์คนหนง่ึ ของมหาวิทยาลยั ด้วย

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๐๙

วนั รุ่งขึน้ เดินทางไปยังเมืองกาเซีย หรือท่ีเราเรียกตาม
ศัพท์พุทธศาสนาว่า เมืองกุสินารา โดยผ่านเมืองโครักขปูร หรือ
โครักขปรุ ะ หรือโครักขบรุ ี ไปเมืองกสุ นิ ารา นอนค้างที่นน่ั ๑ คืน คือ
คนื วนั ที่ ๒ มีนาคม ไปนมสั การสถานท่ปี รินิพพานของพระพทุ ธเจ้า
ซ่งึ มีสถูปปรินิพพาน มีวิหารพระอนฏุ ฐานไสยา คือพระพทุ ธปาง
ปรินิพพาน วนั รุ่งขนึ ้ กไ็ ปที่มกุฏพนั ธนเจดยี ์ สถานท่ถี วายพระเพลิง
พระบรมศพของพระพทุ ธเจ้า

วนั ท่ี ๓ มีนาคม คณะเดินทางต่อไปยัง เมืองสาวตั ถี ตาม
ศพั ท์สนั สฤตเขาเรียก ศราวสั ตี เราเรียก สาวตั ถี ในแผนที่เขียน
ตามแบบสันสฤตเป็ น ศราวัสตี ไปนอนค้างท่ีวดั ไทย ของท่าน
อาจารย์ประเสริฐ หรือทชี่ าวไทยในอินเดียเรียกว่า ฤาษีเสริฐ ได้ไป
ชมพระเชตวนั มหาวหิ าร วดั สาคญั ที่พระพทุ ธเจ้าประทบั อย่นู าน
ทส่ี ดุ ถึง ๑๙ พรรษา

ในท่ีใกล้ๆ นนั ้ ก็จะเป็ นเขตแดนระหว่างอินเดียกบั เนปาล
มีสถานท่ีสาคญั แหง่ หน่ึงช่ือวา่ ลมุ พินี อนั เป็ นสถานท่ีประสตู ิ แต่
คณะไม่ได้เดินทางไป เพราะการเดนิ ทางโดยรถยนต์เข้าไปจากเขต
อินเดียลาบาก เราไม่ได้เดินทางโดยเครื่องบิน ซึ่งต้องไปลง
ที่กตั มณั ฑุ แล้วไปทล่ี มุ พินีอีกตอ่ หนงึ่ เป็ นอนั ว่าคณะตดั รายการท่ี
ลมุ พนิ ี คอื สถานทปี่ ระสตู ิไปเสยี

ตอ่ จากสาวัตถี ก็เดินทางไปค้างที่เมืองลกั เนา คราวนีม้ า
ข้างลา่ ง เมืองลกั เนานีเ้ ป็ นเมืองผา่ นไปพักแรมเท่านนั ้ เอง เป็ นคืน
วนั ท่ี ๔ มีนาคม ค้าง ๑ คืน แล้วเดินทางต่อไป ผ่านเมืองกานปรู ะท่ี
อยู่ข้างล่าง แล้วขึน้ เลยผ่านไปเฉยๆ ไปยังเมืองอัครา ชมป้ อม

๑๑๐ ตามทางพทุ ธกจิ

เมืองอคั รา (Agra Fort) วันรุ่งขึน้ จึงไปชมทชั มาฮาล ซ่ึงอยู่ท่ี
เมืองอคั รานี ้นเี ้ป็นวนั ท่ี ๕ มีนาคม

ต่อจากนนั ้ วนั รุ่งขึน้ ก็เดินทางไป เมืองชยั ปรุ ะ ซ่ึงอยู่ทาง
ทิศตะวนั ตกเฉียงใต้ ไปชมปราสาทแอมเบอร์ แต่เขาปิ ด เพราะ
ตอนนนั ้ เป็ นเทศกาลโฮลี่ที่ชาวอินเดียพากนั เล่นสนุกสนาน ซึง่ ไม่
เหมาะสาหรับผ้เู ดินทาง ได้ค้างแรมที่น่ัน ๑ คืน คงเป็ นคืนวันที่ ๖
มีนาคม ต่อจากนนั ้ ก็เดินทางไปยังเดลี เมืองหลวงของประเทศ
อนิ เดีย ค้างแรมท่นี น่ั ๑ คืน ไปพกั เฉยๆ เป็นคืนวนั ท่ี ๗ มีนาคม

ต่อจากเมืองเดลีเป็ นเส้ นทางท่ีขีดด้ วยหมึกสีน้ าเงิน
หมายความวา่ เดนิ ทางโดยเคร่ืองบิน เริ่มด้วยไปเมืองออรังคาบาด
ข้างลา่ ง แตเ่ คร่ืองบินแวะที่เมืองอทุ ยั ปรุ ะด้วย อาตมภาพก็เลยขีด
ไว้ให้ดวู ่าเคร่ืองบินแวะ แต่เราไม่ได้แวะ จากเมืองออรังคาบาดนี ้
เราได้ไปชม ถ้าเอลโลร่า ซึ่งเป็ นถา้ จานวนหนึ่งมีมาก คือมีทงั ้ ถา้
พทุ ธศาสนา ฮินดู เชน ชมได้เพียงบางถา้ ก็ถึงเวลาค่า ไปค่าที่ถา้
ไกรลาสของฮนิ ดพู อดี

วนั รุ่งขึน้ คณะสละเวลาทงั ้ วนั ให้แก่ ถ้าอชนั ตา ซ่ึงเป็ นถา้
ของฝ่ ายพทุ ธศาสนาล้วนๆ ค้างที่ออรังคาบาดทงั ้ หมด ๒ คืน ตรง
กบั วนั ท่ี ๘ - ๙ มีนาคม

จากนนั ้ ก็เดินทางกลับโดยเครื่องบินมาเดลี ค้างท่ีเดลี ๑
คืน คือคืนวนั ที่ ๑๐ แล้วเดินทางตอ่ ขึน้ ไปยังแควน้ แคชเมยี ร์ โดย
ทางเครื่องบินเช่นเดียวกัน ก็ไปลงท่ีเมืองศรีนคร ท่ีคนไทยฟังเสียง
แขกเรียกเป็ นศรีนาการ์ ที่จริงก็คือ ศรีนคระ หรือศรีนคร

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๑๑

แวะที่ เมืองศรี นคร นี ้ แล้วไปชมภเู ขา ชมหิมะ โดย
เดินทางด้วยรถยนต์ไปกุลมารค อย่ทู างซ้ายมือที่ขดี แดง ไปค้าง
ในทะเลสาบบนเรือ รวมทงั ้ หมด ๒ คนื

ตอนแรกกะไว้ ว่าจะค้ างท่ีเคชเมียร์ เพียง ๒ คืนตาม
หมายกาหนดการเดิม แต่เมื่อไปขึน้ เครื่องบิน ปรากฏวา่ เคร่ืองบิน
เท่ียวนีถ้ ูกยกเลิกไป ทาให้คณะต้องไปค้างที่โฮเต็ล ริมทะเลสาบ
ตามทบ่ี ริษทั การบินจดั ให้เพิ่มอีก ๑ คืน รวมเป็ นค้างที่แคชเมียร์ ๓
คืน รายการที่เดลีก็เลยถกู ตดั ไป ๑ วนั

แล้ววนั ที่ ๑๔ ก็เดินทางจากศรีนครกลบั เมืองนิวเดลี และ
เดินทางกลบั เมืองไทยเช้าตรู่ของวนั ท่ี ๑๕ มีนาคม

ทงั ้ หมดนกี ้ ็เป็นรายการท่ผี า่ นมา อาตมภาพคิดวา่ จากที่ได้
ดตู ามแผนท่ี ก็จะทาให้เห็นสถานที่ท่ีไปได้ชดั เจนขึน้ เวลาทบทวน
ความทรงจาก็จะง่ายด้วย

อาตมภาพขอเล่าสรุปนิดหนึ่งถึงสถานที่ที่เดินทางไปนี ้
อาตมภาพได้กล่าวไว้ครัง้ หนึ่งว่า เราเดินทางไปนนั ้ ระยะช่วงต้น
เป็นดินแดนท่อี ย่ใู นเขตพทุ ธภมู ิ

เขตพุทธภูมิ ในที่นี ้ หมายถึงสถานท่ีเกี่ยวข้องกับองค์
พระพทุ ธเจ้าในสมยั พทุ ธกาล ดินแดนนีเ้ ราเดินทางจากกัลกตั ตา
เข้าไปหา กัลกัตตาเองก็ยงั ไม่เข้า ต้องเร่ิมนบั ตงั ้ แต่พทุ ธคยาเป็ น
ต้นไป จนกระทงั่ ถึงสาวตั ถี ชว่ งต้นนอี ้ ย่ใู นเขตพทุ ธภมู ิ หรือดินแดน
ท่ีมีพุทธสังเวชนียสถานและสถานท่ีเก่ียวข้องกับพระพทุ ธเจ้าใน
สมยั พทุ ธกาล ตงั ้ แตพ่ ระองค์ยงั มีพระชนม์อยู่

๑๑๒ ตามทางพทุ ธกจิ

ดินแดนท่ีเราเดินทางไปหลงั จากนนั ้ ทงั ้ หมด ไม่เกี่ยวข้อง
กบั พระพทุ ธเจ้าสมยั ยงั มีพระชนม์อย่โู ดยตรง มีบ้างแต่วา่ เราไม่ได้
เก่ียวข้องในการเดินทาง ก็ถือว่าต่อจากนัน้ ไปเป็ นดินแดนหลัง
พทุ ธกาล เช่นอย่างถ้าอชนั ตา เริ่มตงั ้ แต่ พ.ศ. ๓๐๐ – ๔๐๐ หรือ
สามร้ อย ถึงสี่ร้ อยปี หลงั พทุ ธปรินิพาน เป็ นเร่ืองพระพทุ ธศาสนา
ในยคุ หลงั เมื่อพระสาวกได้สืบตอ่ พระพทุ ธศาสนาสง่ ทอดกนั มา

จดุ สาคญั ที่เราต้องการไปดู ก็คือช่วงแรก ทีนีใ้ นสถานที่
ช่วงแรกท่ีเป็ นดินแดนพุทธภูมิ ตงั ้ แต่พุทธคยาไปสาวัตถีนนั ้ ก็มี
สถานท่ีท่ีเรียกวา่ สงั เวชนียสถาน โดยตรง ๔ แหง่ ได้แก่ สถานที่
ประสตู ิ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และเสดจ็ ดบั ขนั ธปรินิพพาน

ท่ีประสูติ ก็คือที่ลุมพินีวนั ซ่ึงคณะไม่ได้ไป ที่ตรัสรู้ คือที่
พทุ ธคยา ซึง่ คณะไปถึงเป็ นแห่งแรก ท่ีแสดงปฐมเทศนา คือที่สารนาถ
ซง่ึ เป็นชอื่ ปัจจบุ นั ของป่ าอิสิปตนมฤคทายวนั และท่ีปรินิพพาน คือที่
กสุ ินารา หรือในแผนทน่ี เี ้รียกวา่ กาเซยี

ในสงั เวชนียสถานทงั ้ ๔ แห่ง คณะได้เดินทางไป ๓ แห่ง ก็
ตดั ลมุ พินีออกไป เหลอื ท่ีตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และปรินพิ าน

แม้วา่ จะเดินทางไปไมค่ รบ ๔ แหง่ แตถ่ ้ามองในแง่เกี่ยวกับ
พระพุทธเจ้าแท้ ๆ ก็ถือว่าครบ เพราะว่าตอนประสูตินัน้ ยังเป็ น
เจ้าชายสิทธตั ถะอยู่ พระพทุ ธเจ้าแท้ๆ ท่อี บุ ตั ิเป็ นพทุ ธะจริงก็ต้องที่
ตรัสรู้ นนั่ คือท่ีเกิดของพระพทุ ธเจ้า ก็ได้ไปแสดงปฐมเทศนาเริ่ม
ทางาน ตงั ้ ต้นทส่ี ารนาถ ปฏบิ ตั ิงานเร่ือยไป จนกระทง่ั ปรินิพพานที่
กสุ ินารา นกี ้ เ็ ป็นเรื่องเก่ียวกบั พระองค์พระพทุ ธเจ้าแท้ๆ

ทีนี ้อาตมภาพเคยพดู ถึงเรื่อง รูปกาย กับ ธรรมกาย ตาม
หลกั นกี ้ ็อาจจะพดู แบ่งเป็ นวา่ ในบรรดาสงั เวชนียสถานทงั ้ ๔ แห่ง

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๑๓

นนั ้ ลุมพินี เป็ นที่อุบัติของพระรูปกาย ท่ีปรินิพพานคือกุสินารา
เป็นทส่ี นิ ้ สดุ แหง่ พระรูปกายของพระองค์ ส่วนธรรมกายนนั ้ เริ่มต้น
เม่ือตรัสรู้ทพ่ี ทุ ธคยา คอื เป็นทีอ่ บุ ตั ขิ องธรรมกาย

ถ้าถามว่า พระพทุ ธเจ้าอบุ ัติโดยรูปกายที่ไหน ก็ตอบว่าที่
ลมุ พินีวนั แต่ถ้าอบุ ตั ิโดยธรรมกายทีไ่ หน ก็อบุ ตั ิทีพ่ ทุ ธคยา

ต่อมา เมื่อพระพทุ ธเจ้าปรินิพพานท่ีกุสินารา เราถือเป็ นท่ี
สนิ ้ สดุ แหง่ รูปกาย แตส่ ว่ นพระธรรมกายนนั ้ ไม่สนิ ้ สดุ ไปด้วย เพราะ
เม่ือก่อนจะเสดจ็ ดบั ขันธปรินิพพานท่ีกุสินารา พระองค์ได้ตรัสแก่
พระอานนท์ ซงึ่ อยใู่ นสถานทปี่ รินิพพานโดยใกล้ชดิ วา่

“ธรรมแลวินยั ใด ทีเ่ ราได้แสดงแล้ว บญั ญตั ิแลว้ แก่เธอ
ทงั้ หลาย ธรรมแลวินยั นน้ั แหละ จะเป็ นศาสดาของเธอทงั้ หลาย
เมือ่ เราล่วงลบั ไปแลว้ ”

กห็ มายความวา่ พระธรรมกายท่เี ราเรียกพระธรรมวินยั นนั ้
ดารงอย่เู ป็นตวั แทนของพระพทุ ธองคส์ บื มา

พระธรรมกายนี ้พระพทุ ธเจ้าได้ช่วยก่อให้เกิดขึน้ ในผ้อู ื่น
เป็ นคนแรกก็คือ พระอญั ญาโกณฑญั ญะ ณ สถานที่แสดงปฐม
เทศนา หรื อสารนาถ หรื อป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน แต่เม่ือ
ปรินิพพานนนั ้ พระองค์ได้ประดิษฐานพระธรรมวินยั ไว้มั่นคงแล้ว
ทาให้มีการขยายเผยแพร่ธรรมกายแกผ่ ้อู น่ื สบื ตอ่ ออกไปมากมาย

เพราะฉะนนั ้ แม้พระองค์จะเสด็จดับขันธปรินิพพานสูญ
สนิ ้ สลายโดยรูปกายแล้ว แตธ่ รรมกายก็ยังสามารถท่ีจะอบุ ตั ิขึน้ ใน
ผ้อู ื่นสืบตอ่ มา หมายความวา่ เมื่อผ้ใู ดได้มองเหน็ เข้าถึงธรรมกาย
แล้ว ก็สามารถเฝ้ าพระพุทธเจ้าได้ตลอดเวลา และธรรมกายนี ้

๑๑๔ ตามทางพุทธกจิ

แหละเป็ นส่ิงสาคัญท่ีจะทาให้ พระพุทธเจ้ าดารงอยู่กับเรา
เพราะวา่ ในบดั นีอ้ งค์พระพุทธเจ้าท่ีมีพระชนม์ชีพอยู่ มีทงั ้ รูปกาย
และธรรมกายพร้ อมอยู่ในองค์นนั ้ ก็ได้สิน้ สดุ สลายไปท่ีกุสินารา
แล้วต่อจากนนั ้ มา เราก็ได้อาศยั ธรรมกายนีเ้ องเป็ นเคร่ืองสาหรับ
เข้าถึงพระพทุ ธเจ้า

เราอาจจะมีรูปเคารพ เป็ นพระพุทธรูป ทาด้วยทองคา
ทองแดง ทองเหลือง สาริด ตลอดจนกระทง่ั หิน ปนู ไม้ต่างๆ แต่
วัตถุเหล่านัน้ ถ้ าไม่มีธรรมกายเป็ นเคร่ื องยืนยันแล้ ว ก็ไม่มี
ความหมาย

อย่างที่เราเดินทางไปประเทศอินเดีย ก็ได้พบเห็นวัตถุนี ้
จานวนมากมาย วัตถุเหล่านนั ้ เม่ือพระธรรมปลาสนาการสูญสิน้
ไปจากแผ่นดิน ไม่มีคาสอนในทางพทุ ธศาสนาเหลืออยู่ ผ้คู นท่ีนนั ้
เขากไ็ ม่รู้จกั

คนอินเดียจานวนมากมายไม่รู้จักพระพุทธเจ้ า เห็น
พระพทุ ธรูปก็ไม่รู้ว่าอะไร กลายเป็ นของไม่มีค่า ไม่มีความหมาย
เป็นเพยี งทอง เป็ นเพียงดิน หิน ปนู ไม้ เท่านนั ้ แล้วบางทีเขาก็เอา
ไปใช้ในทางทที่ าให้เราเกิดความสะเทือนใจอีกด้วย โดยกระทาการ
ทเ่ี รียกวา่ ลบหลดู่ หู ม่ินอะไรตา่ งๆ นนั่ ก็เพราะเขาไม่รู้จกั คณุ คา่

เพราะฉะนัน้ จึงเป็ นเคร่ืองเตือนใจพุทธศาสนิกชนว่า
จะต้องชว่ ยกนั ทาธรรมกายให้ปรากฏย่งั ยืนอย่ตู ลอดไป เพื่อให้เรา
สามารถเข้าถึงพระรัตนตรัย สามารถเข้าเฝ้ าพระพทุ ธเจ้าได้ สิ่งท่ี
เราก่อสร้ างไว้ เช่น พระพุทธรูป เป็ นต้น ก็จะมีค่ามีความหมาย
ด้วยธรรมกายปรากฏเป็นเคร่ืองยืนยนั อยนู่ เี ้อง

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๑๕

นีก่ เ็ ป็นเรื่องโดยย่อในฝ่ ายทีเ่ กี่ยวกบั พทุ ธสงั เวชนยี สถาน

ทีนี ้นอกจากพทุ ธสังเวชนียสถานโดยตรงแล้ว คณะยงั ได้
เดินทางไปเย่ียมเยียนสถานที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธองค์อ่ืนๆ ที่
สาคญั ก็คือ เมืองราชคฤห์ กบั เมืองสาวตั ถี

ท่ีเมืองราชคฤห์ คณะได้เข้าไปในสถานที่พระพทุ ธเจ้าเคย
ปรากฏพระรูปกาย ประทบั อยู่ คือที่พระคนั ธกุฎี บนเขาคชิ ฌกูฏ
ได้ไปทาวตั รสวดมนต์ กลา่ วธรรมกถา ฟังธรรมกถากนั ท่นี น่ั

อีกแหง่ หนึ่งก็คือ สาวตั ถี ท่ีเชตวนั ซ่ึงอาตมภาพได้กล่าว
แล้วว่าเป็ นที่ที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่นานท่ีสดุ แสดงธรรมมาก
ท่ีสดุ ท่นี ี่

สถานที่ ๒ แหง่ นี ้ควรจะกลา่ วถงึ มากเป็นพิเศษ
ราชคฤห์เป็ นเมืองหลวงของแคว้นมคธ สาวตั ถีเป็ นเมือง
หลวงของแคว้นโกศล ๒ แคว้นนี ้เป็ นแคว้นมหาอานาจที่ยิ่งใหญ่
ที่สดุ ในครัง้ พทุ ธกาล นอกจากมีความสาคญั ในทางการเมืองแล้ว
กม็ ีความสาคญั ในทางพทุ ธศาสนามากท่ีสดุ ด้วย
แคว้นมคธนัน้ มีความสาคัญเก่ียวกับพระพุทธศาสนา
ตลอดมา เป็ นเวลาหลายร้ อยปี เร่ิ มด้วยเมืองราชคฤห์เป็ นท่ี
ประดิษฐานพระพทุ ธศาสนาให้มน่ั คง ครัน้ มน่ั คงแล้ว ก็เป็ นแหล่งที่
จะกระจายเผยแพร่คาสอนออกไป ส่วนเมืองสาวตั ถี เป็ นเมืองที่
เมื่อพระพุทธเจ้าประดิษฐานพุทธศาสนาม่ันคงดีแล้ว ก็เสด็จไป
ประทบั อย่สู บายๆ แล้วแสดงพระธรรมเทศนาเร่ือยไป

๑๑๖ ตามทางพุทธกจิ

ถ้าจะเปรียบเทียบกัน ก็ว่าราชคฤห์เป็ นฐานท่ีม่ันคง เป็ น
เหมือนด่านหน้าหรือป้ อมคา่ ยท่ีพระพทุ ธเจ้าทรงตงั ้ กองทัพธรรม
แล้วสง่ กองทพั ธรรมนนั ้ ดาเนินการขยายกระจายคาสอน

สว่ นเมืองสาวตั ถีทเี่ ชตวนั เป็ นแหล่งป้ อนข้อมลู หรือเตรียม
เสบียงให้ พระพุทธเจ้าเสด็จไปประทับที่นัน้ แล้วก็แสดงธรรม
ประทานเนือ้ หาคาสอนตา่ งๆ พระแม้จะออกไปจากเมืองราชคฤห์
แตก่ ็ได้คาสอนจากสาวตั ถี หรือจากพระเชตวนั นี ้

เพราะฉะนนั ้ ๒ แหง่ นี ้ก็มีความสาคญั ด้วยกนั ทงั ้ คู่
เราจะเห็นความเป็ นไปในประวัติศาสตร์สนบั สนุนเร่ืองท่ี
อาตมภาพกล่าวมานีว้ ่า ท่ีสาวตั ถี พระพทุ ธเจ้าประทบั และแสดง
ธรรมมากกจ็ ริง แตใ่ นด้านเหตกุ ารณ์สาคญั เก่ียวกับการแพร่หลาย
หรือขยายเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา ราชคฤห์เป็นศนู ย์กลางทงั ้ หมด
ตอนแรก พระพุทธเจ้าเสด็จไปเมืองราชคฤห์ ทรงแสดง
ธรรมแก่พระเจ้าพิมพิสาร และทาให้พระเจ้าพิมพิสาร พร้ อมทงั ้ ข้า
ราชบริพารและประชาชนนบั ถือพระพทุ ธศาสนา ต่อมาอคั รสาวก
พระสารีบตุ ร พระโมคคลั ลาน์ กไ็ ด้ที่เมืองนี ้ทรงบาเพ็ญพทุ ธกิจจน
ประดิษฐานพระพทุ ธศาสนามั่นคง แตพ่ ระองค์ประทับท่ีนน่ั เพียง
๓ พรรษาเทา่ นนั ้ ก็ทรงทางานเรียบร้ อย ต่อจากนนั ้ ก็ไว้วางพระทยั
พระสาวกทงั ้ หลายได้ ให้ทางานกนั ไป
จนกระท่ังเม่ือพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานแล้ว เมือง
ราชคฤห์หรือแคว้นมคธก็เป็นสถานท่สี าคญั ในการทางานทางพทุ ธ
ศาสนาอีก คือเป็ นท่ีทาการสังคายนา พอพระพุทธเจ้าปรินิพพาน
ได้ ๓ เดือน ก็มีการจัดสังคายนาครัง้ ที่ ๑ จดั ระเบียบคาสอนของ

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๑๗

พระพุทธเจ้ าให้ เป็ นหมวดหมู่ เป็ นอันหน่ึงอันเดียวกัน การ
สงั คายนานนั ้ กท็ าทเ่ี มืองราชคฤห์ แคว้นมคธนี ้

ตอ่ มาอีก ๒๐๐ กว่าปี มีพระเจ้าแผ่นดินผ้ยู ิ่งใหญ่เกิดขึน้
คือ พระเจา้ อโศกมหาราช ครองแคว้นมคธ ตอนนนั ้ เมืองหลวงของ
แคว้นมคธ ได้ย้ายจากราชคฤห์ไปอย่ทู ี่ เมืองปาตลีบตุ ร ปัจจบุ นั
เรียกปตั นะ

เมืองปัตนะนนั ้ ในแผนท่ีนีก้ ็มี เราไมไ่ ด้ไป อย่เู ลยจากนา
ลันทาไปนิดเดียว เป็ นเมืองหลวงของแคว้นมคธในยุคหลัง คือ
หลงั จากราชวงศ์พระเจ้าพิมพิสารแล้ว ต่อมาก็ย้ายเมืองหลวงไป
อยู่ท่ีปัตนะ หรือปาตลีบุตรนี ้พระเจ้าอโศกครองราชย์อยู่ที่เมือง
ปาตลีบตุ ร ก็ได้ทาสงั คายนาครัง้ ท่ี ๓ ส่งพระธรรมทตู ออกประกาศ
พระศาสนาจากปาตลบี ตุ รนี ้

เพราะฉะนัน้ มคธจึงเป็ นดินแดนท่ีเผยแพร่พระพุทธ-
ศาสนา และทาหน้าที่นีต้ ลอดมา พระศาสนทตู ท่ีมายังเมืองไทย
มาสวุ รรณภมู ิ พระโสณะและพระอุตตระ ก็มาจากที่นี่ ในลังกา
พระมหินท์ พระสังฆมิตตาเถรี ก็มาจากท่ีนี่ มาจากแคว้นมคธ
เพราะฉะนนั ้ มคธจงึ เป็นถ่ินฐานสาคญั ในทางพระพทุ ธศาสนาเป็ น
อย่างมาก

จนกระทง่ั มาถึงท้ายสดุ ตอนพระพทุ ธศาสนาจะสูญสิน้
จากอินเดีย ตอนนนั ้ ราชวงศ์ที่ครองอินเดียคือ ราชวงศ์ปาละ ต่อ
จากปาละ ก็มีราชวงศเ์ ลก็ ชอ่ื เสนะ เขามกั รวมเรียกกันในทางศิลปะ
วา่ ปาลเสนะ ปาละเป็ นราชวงศ์ท่ีนบั ถือพทุ ธศาสนา ก็ครองราชย์
ทีเ่ มืองปาตลีบตุ รเชน่ กนั จนกระทงั่ มสุ ลิมบกุ เข้ามาทาลายหมด

๑๑๘ ตามทางพทุ ธกจิ

โดยนยั นี ้ มคธจึงสัมพันธ์กับพระพุทธศาสนาตลอดมา
และเพราะเหตทุ ีไ่ ด้เป็นสถานท่ีสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา จึงมีวดั
วาอารามมากเหลือเกิน บางวดั ก็ใหญ่โตเป็ นมหาวิหาร ท่ีเรียกเป็ น
มหาวิทยาลยั ในปัจจบุ นั เชน่ นาลนั ทาก็อยใู่ นแคว้นนี ้

เพราะเหตทุ ่ีมีวดั วาอารามมากนี ้แม้เมื่อพระพทุ ธศาสนา
จะสญู สิน้ ไปแล้ว ก็มีซากวดั วาอารามเหลืออย่ทู วั่ ไป ตอ่ มา คาวา่
มคธ ได้เลอื นหายไปจากความทรงจาของชาวอินเดีย แต่เพราะเหตุ
ท่ีมีวิหารหรือวดั มากมาย คาว่า วิหาร หรือวดั นีก้ ็กลายเป็ นชื่อของ
แคว้นหรือรัฐนแี ้ ทนมคธ แตค่ าวา่ วหิ าร ได้แปลงมาเป็น พหิ าร

ตวั ว แผลงเป็ น พ ได้ เชน่ คาว่า วงศ์ ก็แผลงเป็ น พงศ์ ได้ คา
วา่ วรรณ เป็นพรรณ ได้ ตวั ว เป็ น พ ในภาษาไทยมีใช้กนั มากมาย
ปัจจบุ นั ในแผนทนี่ กี ้ ็เขียนไว้วา่ “พิหาร” นี่คือชื่อรัฐ หรือแคว้นนีใ้ น
ปัจจบุ นั เดมิ กค็ อื แคว้นมคธ แตเ่ พราะเหตทุ ่ีมีซากวดั วาอารามมาก
เม่ือช่ือเดิมหายไป ก็เลยเรียกตามสภาพท่ีเป็ นมาทางประวัติ-
ศาสตร์วา่ วหิ าร หรือ พิหาร

ภาพชีวิตในพุทธกาล

นอกจากนี ้อาตมภาพก็อยากจะเล่าให้เห็นภาพชีวิตของ
คนในยคุ นนั ้ เพื่อจะได้เหน็ ภาพของมคธและโกศลเพมิ่ ขึน้ พร้ อมทงั ้
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเมืองทงั ้ สองนนั ้ เคยเล่าไปบ้างแล้วว่า พระเจ้า
แผน่ ดิน ๒ แคว้นนเี ้ป็นญาติกนั โดยการแต่งงาน ทรงเป็ นพ่ีเขยของ
กนั และกนั (อญฺ มญฺ ํ ภคินีปติกา) คือ พระกนิษฐภคินีของแตล่ ะ

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๑๙

แคว้นไปเป็ นมเหสีของพระมหากษัตริย์อีกแคว้นหน่ึง พระเจ้าพิม-
พิสาร แหง่ แคว้นมคธ มีมเหสเี ป็นน้องสาวของพระเจ้าปเสนทิโกศล
แหง่ แคว้นโกศล พระเจ้าปเสนทิโกศลท่ีครองกรุงสาวตั ถีแหง่ แคว้น
โกศลก็มีมเหสเี ป็นน้องสาวของพระเจ้าพิมพิสารแหง่ แคว้นมคธ

หรืออย่าง อนาถบิณฑิกเศรษฐี ซึ่งเป็ นเศรษฐีประจา
เมืองสาวัตถีแห่งแคว้นโกศลก็มารู้จักพระพุทธเจ้า มานับถือ
พระพุทธศาสนาท่ีกรุงราชคฤห์ เพราะแกมีเพื่อนเป็ นเศรษฐีที่กรุง
ราชคฤห์ โดยตา่ งกเ็ ป็นพี่น้องเขยของกนั และกัน (อญฺ มญฺ ํ ภคินี
ปติกา) คราวหนงึ่ มาเยี่ยมเยียนเพื่อน ตอนนนั ้ พระพทุ ธเจ้าอบุ ตั ิขึน้
แล้ว แกก็เลยได้รู้จักพระพุทธเจ้าแล้วก็เลื่อมใส ประกาศตนเป็ น
พทุ ธศาสนิกชน เป็ นอุบาสก แล้วนิมนต์พระพุทธเจ้าเสด็จไปที่
แคว้นโกศลไปประทบั ท่ีสาวัตถี เป็ นครัง้ แรกท่ีทาให้พระพทุ ธเจ้า
เสดจ็ ไปสาวตั ถี แล้วแกก็ได้สร้าง เชตวนั ถวาย

อีกท่านหนึ่งท่ีมีความสาคัญมากในพระพุทธศาสนาคือ
มหาอบุ าสิกาช่ือ วิสาขา ท่านผ้นู ีก้ ็อย่ทู ่ีสาวตั ถีเช่นเดียวกัน มหา
อุบาสิกาวิสาขานัน้ พ่อชื่อว่า ธนญชัยเศรษฐี ซ่ึงเป็ นลูกของ
เมณฑกเศรษฐี ผ้เู ป็นเศรษฐีใหญ่คนหนง่ึ ของแคว้นมคธ

แคว้นมคธนนั ้ รุ่งเรืองมาก มีเศรษฐีมาก แตก่ ่อนนีแ้ คว้นใด
จะแสดงความรุ่งเรืองของตน จะต้องบอกได้วา่ ตนมีเศรษฐีเยอะทีนี ้
แคว้นมคธมีเศรษฐีเยอะ แคว้นโกศลก็เลยขอเศรษฐีไปคนหน่ึง
ทานองขอยืมเพ่ือจะไปประดับเกียรติของแคว้น พระเจ้าโกศลขอ
เศรษฐีคนหน่ึงจากแคว้นมคธ ทางแคว้นมคธก็ให้ธนญชยั เศรษฐี
ซง่ึ เป็นลกู ของเมณฑกเศรษฐีเดินทางไปยงั แคว้นโกศล

๑๒๐ ตามทางพทุ ธกจิ

ธนญชัยเศรษฐีได้ไปสร้ างเมืองใหม่ขึน้ ช่ือเมืองสาเกต อยู่
ใกล้ๆ เมืองสาวัตถี ธนญชัยเศรษฐีก็เป็ นบิดาของนางวิสาขา
วิสาขาก็เป็ นมหาอุบาสิกา ได้สร้ างวดั สาคญั ช่ือว่า วดั บุพพาราม
ท่ีพระพทุ ธเจ้าได้ประทบั หลายพรรษา รวมทงั ้ หมด ๖ พรรษา สลบั
ไปมากบั เชตวนั ของอนาถบณิ ฑิกเศรษฐี

อาตมภาพอยากจะเล่าเร่ืองทว่ั ไปเป็ นตวั อย่างให้ฟังกนั อีก
สกั เร่ือง ทีแ่ สดงภาพชีวิตในสมยั พทุ ธกาลเกี่ยวข้องกบั เมืองสาวตั ถี
และเมืองราชคฤหน์ ี ้เป็นเร่ืองเก่ียวกบั พระภิกษุณีกบั พระภิกษุ พระ
ภกิ ษุณีรูปหนงึ่ ซง่ึ เป็นพระอรหนั ต์เป็ นมารดาของพระภิกษุรูปหน่ึง
ซ่ึงเป็ นพระอรหนั ต์เหมือนกัน โยมอาจจะสงสยั ว่าเป็ นได้อย่างไร
กัน พระภิกษุณีมีลกู เป็ นพระอรหนั ต์ อาตมภาพจะเล่าแทรกสัก
หนอ่ ย เพื่อประดบั ให้มองเห็นภาพชวี ติ ในสมยั พทุ ธกาลมากขึน้

ท่ีกรุงราชคฤห์ในสมัยพุทธกาล มีตระกูลเศรษฐีตระกูล
หนง่ึ มีลกู สาวคนเดียว ลกู สาวคนนีเ้กิดมาแล้วก็มีจิตใจโน้มไปทาง
พระศาสนา ตอนนนั ้ พระพทุ ธเจ้าประดิษฐานพระพทุ ธศาสนาไว้ใน
แคว้นมคธมนั่ คงแล้ว แกก็มีจิตศรัทธาคิดจะบวชอย่เู ร่ือย

ทีนีเ้ ม่ือเติบโตพอสมควร เธอก็อ้อนวอนขอบิดามารดาท่ี
เป็ นเศรษฐีว่าอยากจะออกบวช ฝ่ ายเศรษฐีบิดามารดาก็ไม่
อนญุ าต บอกวา่ ตระกลู ของเรามีลกู คนเดียว ถ้าลกู ไปบวชแล้วใคร
จะสืบต่อวงศ์ตระกูล ทรัพย์สมบตั ิจะเอาไปไหน ก็ไม่ยอมให้บวช
จะขอร้ องอย่างไรก็ไม่สาเร็จ แกก็เลยคาดหวังว่า เอาละต่อไปมี
ครอบครัวแล้วคอ่ ยคิดใหม่ สามีของเราอาจจะเป็นคนทพี่ ดู ง่ายก็ได้

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๒๑

ตอ่ มาแกก็แตง่ งาน แตง่ งานไปได้ระยะหนง่ึ พอมีโอกาสก็
พูดกับสามี สามีก็ตกลง เป็ นอันว่าให้บวช สามีก็เป็ นเจ้าภาพใน
การบวชของภรรยาที่เป็ นธิดาเศรษฐีนี ้แต่เขาก็มีความค้นุ เคยกับ
สานกั ภิกษุณีที่เป็ นฝ่ ายของพระเทวทตั ก็เลยพาไปบวชในสานัก
ภิกษุณีนนั ้

ภิกษุณีนนั ้ ตอนท่ีบวชแกไม่รู้ตัวว่าแกได้เร่ิมตงั ้ ครรภ์แล้ว
นิดหนอ่ ย บวชตอ่ มาครรภ์ก็โตขนึ ้ ๆ

ฝ่ ายภิกษุณีทงั ้ หลายมองเหน็ เร่ืองครรภ์ปรากฏชดั ก็บอกวา่
น่ีเธอยงั ไงกนั นี่ มาบวชเป็นภกิ ษุณี ทาไมมีครรภ์ละ่

พระภิกษุณีองค์นัน้ ก็บอกว่า ฉันไม่ทราบเหมือนกัน มัน
ยงั ไงกนั แน่ แตฉ่ นั รู้ตวั วา่ ฉนั บริสทุ ธิ์แนน่ อน

ก็เกิดเป็ นปัญหาขึน้ มา พระภิกษุณีทงั ้ หลายก็บอกวา่ เร่ือง
นีต้ ้องชาระความให้เสร็จสิน้ กันไป แล้วก็สั่งว่างัน้ เราไปหาพระ
เทวทัตให้ตัดสินเรื่อง ตกลงพระภิกษุณีทัง้ หลายก็พาเอา พระ
ภิกษุณีธิดาเศรษฐี ไปหาพระเทวทตั ให้ตดั สนิ ความ

ฝ่ ายพระเทวทตั ได้รับพิจารณา กค็ ิดห่วงแตช่ ่ือเสียงของตน
คิดว่าเร่ืองนีม้ ันเกิดขึน้ ในฝ่ ายของเรา ถ้าปรากฏข่าวออกไปเราก็
เสียช่ือหมด อ้อ! ภิกษุณีในฝ่ ายของเทวทตั มีครรภ์! หมดแล้ว
เสียหายหมด จิตใจไม่ได้เอาเมตตากรุณาเป็ นที่ตัง้ นึกถึงแตเ่ รื่อง
กลวั ตวั เองเสียชื่อ ก็ไม่ได้คิดอะไรมาก นึกอะไรก็ไม่ออก ความรู้ก็
ไมช่ ดั วา่ จะพิจารณาเรื่องนอี ้ ย่างไรดี ก็เลยตดั สินเอาง่ายๆ ว่า พวก
เธอไปจดั การสกึ กนั ไปเสียเถอะ อย่าให้มนั มีเรื่องอือ้ ฉาวขึน้ มา ยก
เร่ืองปัดไปเลย

๑๒๒ ตามทางพุทธกจิ

ฝ่ ายภิกษุณีพวกนัน้ ก็พูดกับภิกษุณีลูกเศรษฐีว่า น่ีพระ
เทวทตั ทา่ นก็ได้สง่ั ให้สกึ แล้วจะวา่ ยงั ไง

ฝ่ ายภิกษุณีธิดาเศรษฐีก็เสียใจมาก บอกว่าดิฉนั นีก้ ่อนจะ
บวชได้ก็ยากเย็นเสียเหลือเกิน เป็ นผ้บู วชด้วยความตงั ้ ใจจริง แม้
บวชมาแล้วก็พยายามตงั ้ ใจปฏิบตั ิธรรมเตม็ ที่ เพราะฉะนนั ้ จะให้
เหตุการณ์เล็กน้อยที่ดิฉันเองก็เป็ นผู้บริสุทธิ์มาทาลายชีวิตฉัน
ทงั ้ หมด ทาลายความตงั ้ ใจความเพียรพยายามของดิฉันทงั ้ หมด
มนั ไม่สมควรเลย

เอาอย่างนีเ้ ถอะ ดิฉันไม่ได้ บวชในศาสนาของพระ
เทวทตั นะ ดิฉนั บวชในศาสนาของพระพทุ ธเจ้า อย่างไรก็ขอให้ได้
นาคดีนไี ้ ปถวายพระพทุ ธเจ้าตดั สินเถิด ขอให้ถึงพระพทุ ธเจ้าก่อน

พระภิกษุณีพวกนัน้ ก็เห็นใจบอกว่า ตกลงเราจะไปเฝ้ า
พระพทุ ธเจ้า แตภ่ ิกษุณีสานกั พระเทวทตั อย่ใู นเมืองราชคฤห์ สว่ น
พระพทุ ธเจ้าตอนนนั ้ ประทบั อย่ทู ่ีเชตวนั เมืองสาวตั ถี คณะภิกษุณี
เหลา่ นนั ้ จงึ ต้องพากนั เดนิ ทางจากเมืองราชคฤหไ์ ปเมืองสาวตั ถี

ท่านกล่าวไว้ในคัมภีร์ว่าเป็ นระยะทางเดินทัง้ หมด ๔๕
โยชน์ อาตมภาพเอามาเทียบกับท่ีเราเดินทาง เราเดินทางจาก
พทุ ธคยาไปราชคฤห์ ผ่านเมืองพาราณสีก่อน ๒๓๐ กม. จาก
พาราณสี สารนาถ ไปโครักขปรู ะ ๑๘๐กม.จากโครักขปรู ะไปสาวตั ถี
๑๗๒ กม. รวมเป็ น ๕๘๒ กม. นี่เป็ นระยะทางที่พระภิกษุณี
เหลา่ นนั ้ เดนิ ทางไป

แต่ถ้าเทียบกับที่คมั ภีร์กล่าวไว้ ๔๕ โยชน์ อาตมภาพคิด
คร่าว ๆ เป็นไมลไ์ ด้ประมาณ ๔๕๐ ไมล์ ก็ได้ ๗๒๐ กม. ยาวกวา่ ท่ี

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๒๓

เราเดินทางคราวนี ้อาจเป็ นได้วา่ เส้นทางการเดินสมัยโบราณเป็ น

เส้นทางเกวียน อาจจะอ้อมกว่า เหมือนอย่างสมัยปัจจุบนั นีไ้ ป

สพุ รรณฯ เมื่อ ๗-๘ ปี ก่อนไปเส้นทางเก่า ทางรถยนต์ประมาณ

๑๖๐ กม. แตเ่ ด๋ยี วนีเ้ส้นทางใหม่เหลือ ๑๒๐ กม. แล้ว แต่เส้นทาง

เดินทางใกล้ไกลตา่ งกนั ได้ ตวั เลขนกี ้ ไ็ ม่หา่ งกนั มากนกั
ก็เป็นอนั วา่ ทา่ นต้องเดนิ ทางกนั เป็นระยะทางยาวนานเลย

ทีเดยี ว แล้วไปเฝ้ าพระพทุ ธเจ้า
เม่ือไปถึงพระเชตวันแล้ว คณะพระภิกษุณีเหล่านนั ้ ก็นา

พระภิกษุณีธิดาเศรษฐีเข้าเฝ้ าพระพทุ ธเจ้า กราบทลู เร่ืองทงั ้ หมด
ถวาย พระพทุ ธเจ้าทรงพิจารณาแล้วก็ทรงทราบว่าเป็ นเร่ืองที่คง
ตงั ้ ครรภ์มาก่อนบวช แต่จะตดั สินไปเฉยๆ คงไม่เป็ นการดี คนอาจ
ติฉินนินทา ยิ่งเป็ นพระภิกษุณีที่เคยอยู่ในสานักพระเทวทัตด้วย
คนก็อาจบอกว่า โอ! น่ีพระพทุ ธเจ้าเอาภิกษุณี ที่พระเทวทตั ทิง้
แล้ว มาเลยี ้ งดู หรือวา่ เป็นการสนบั สนนุ พวกทแี่ ตกมาจากฝ่ ายโน้น
มาเข้าฝ่ ายนี ้เป็นการไมด่ ี ต้องทาให้เรื่องนปี ้ รากฏชดั ในทีป่ ระชมุ

พระองค์จงึ ตรัสสง่ั พระอานนท์ให้ไปเตรียมการเชิญบุคคล
สาคัญมา ถ้าว่าถึงชาติตระกูล ภิกษุณีนีก้ ็เป็ นผ้ใู หญ่เหมือนกัน
เป็ นธิดาเศรษฐี ก็ให้ไปเชิญพระเจ้าปเสนทิโกศล อนาถบิณฑิก-
เศรษฐี นางวสิ าขามหาอบุ าสกิ ามายงั ที่ประชมุ (คงเป็นที่ธรรมสภา
ที่เราไปดกู นั วนั นนั ้ ท่ีทา่ นฤาษีเสริฐไปแสดงท่านางจิญจมาณวิกา
คดิ วา่ คงเป็นที่นนั ้ เพราะเป็ นสถานท่ีประชุมใหญ่) ฝ่ ายพระภิกษุก็
มอบพระอบุ าลี ซง่ึ เป็นพระวินยั ธร ให้เป็นเจ้าของเร่ือง

วนั รุ่งขึน้ นดั ประชมุ แล้ว ก็พิจารณาเรื่องในท่ีประชมุ พระ
อบุ าลีเป็นเจ้าของเร่ือง ได้พิจารณาไต่สวนกัน พระอบุ าลีก็มอบให้

๑๒๔ ตามทางพทุ ธกจิ

นางวิสาขามหาอุบาสิกาพิจารณาความ นางวิสาขาก็ไปสืบสาว
ราวเร่ืองกับนางภิกษุณี ดสู ภาพร่างกาย สืบถามประวตั ิความเป็ น
มาแล้ว ก็วนิ ิจฉยั ได้วา่ จะต้องตงั ้ ครรภ์มากอ่ นอปุ สมบท

จากนนั ้ ก็นาเอาเรื่องราวที่ได้ไต่สวนทงั ้ หมดมาเลา่ ให้พระ
อบุ าลีฟัง และนาเข้าที่ประชมุ วินิจฉยั โดยพร้ อมหน้า ตัดสินได้ว่า
นางภิกษุณีธิดาเศรษฐีเป็ นผ้บู ริสทุ ธิ์ ได้ตงั ้ ครรภ์มาก่อนอปุ สมบท
เป็ นอันว่าเรื่องราวเสร็จสิน้ ไปด้วยดี เป็ นท่ีปรากฏแจ่มชัดแก่
มหาชน พระภกิ ษุณีนนั ้ กพ็ ้นคดีไป

เมื่อท่านพ้นคดีแล้ว ก็อยู่ปฏิบัติธรรมเร่ือยมา จนกระท่ัง
ครรภ์แก่ ก็ได้คลอดบุตร แล้วท่านก็เลีย้ งเด็กอยู่ในสานักนาง
ภิกษุณีนนั ้ เอง

อย่มู าวนั หนึง่ พระเจ้าปเสนทิโกศล เสดจ็ มาเฝ้ าพระพทุ ธเจ้า
คือพระองค์เสดจ็ มาบอ่ ยๆ มาเฝ้ าพระพทุ ธเจ้าเรื่อย วนั หนึง่ ก็เสดจ็
มาทางสานกั ภิกษุณี ได้ยินเสียงเด็กทารกร้ อง ก็ตรัสถามข้าราช
บริพารวา่ เดก็ ทารกที่ไหนมาร้ องอย่ใู นวดั ในวา ข้าราชบริพารก็ทลู
ว่า นี่ก็คือเด็กทารกลกู ของนางภิกษุณีองค์นนั ้ องค์ท่ีได้ตดั สินคดี
ในวนั นนั ้

พระเจ้าปเสนทิโกศลกต็ รัสว่า เรื่องการเลีย้ งดเู ดก็ เป็ นเรื่อง
ยาก ทา่ นเป็นภิกษุณี ท่านย่อมไม่สะดวกในเร่ืองปัจจยั การเป็ นอยู่
การที่จะเลยี ้ งเดก็ ย่อมไม่สะดวกทกุ ประการ เราควรชว่ ยเหลอื ทา่ น

พระเจ้าปเสนทิโกศลก็เลยไปขอเด็กทารกนนั ้ มา บอกว่า
เราจะขอไปเลีย้ งในวงั เป็ นอนั วา่ เด็กคนนนั ้ ก็เลยได้ไปอย่ใู นวงั ตงั ้
ช่ือวา่ กสั สปะ แตเ่ พราะเหตทุ ่ีกัสสปะเด็กน้อยคนนีเ้ติบโตขึน้ ในวงั

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๒๕

เป็นราชกมุ าร เด็กที่เป็ นตระกลู เจ้าเขาเรียก กมุ าร พอเติบโตในวงั

คนทัง้ หลายก็เลยเรียกว่า กุมารกัสสปะ แปลว่า กัสสปะผ้เู ป็ น

กมุ าร หมายความว่า กัสสปะลูกเจ้านาย หรือกัสสปะเด็กชาววงั

อะไรทานองนนั ้ หรืออยา่ งพระพทุ ธเจ้าเวลาสง่ ของเลก็ ๆ น้อยๆ ไป

ให้เดก็ คนนกี ้ ็เรียก กมุ ารกสั สปะ ก็เลยเรียกกนั มาวา่ กมุ ารกสั สปะ
เวลาผ่านไป จนกระทงั่ เด็กน้อยอายุ ๗ ขวบ ก็ได้มาบวช

เป็ นสามเณร ศึกษาปฏิบตั ิธรรมจนได้บรรลเุ ป็ นพระอรหนั ต์องค์
หนงึ่ ชื่อวา่ พระกุมารกัสสปะ เป็ นผ้มู ีชื่อเสียงมาก สามารถในการ
แสดงธรรมจนได้รับการยกย่องจากพระพทุ ธเจ้า เป็ นเอตทคั คะใน
บรรดาภิกษุผ้แู สดงธรรมวิจิตร

อันนีเ้ ป็ นฝ่ ายลกู อนาคตของฝ่ ายลูกได้พัฒนามาจน
สมบรู ณ์ ก็เป็นผ้บู รรลธุ รรมสงู สดุ ในพระพทุ ธศาสนาแล้ว

สว่ นนางภกิ ษุณีผ้เู ป็นมารดานนั ้ ตงั ้ แตบ่ ตุ รของตนไปอย่ใู น
วงั แล้ว ก็เฝ้ าหว่ งใย ร้ องไห้คิดถึงแตบ่ ตุ รของตนตลอดเวลา แม้จะ
ได้ตัง้ ใจปฏิบัติธรรม แต่หากใจหนึ่งก็คิดถึงแต่ลูก จึงไม่เป็ นอัน
ปฏบิ ตั ธิ รรมได้จริงจงั มีกงั วล มีหว่ งเกิดขนึ ้ ร่าร้องหาแต่ลกู เร่ือยมา
กเ็ ลยไมบ่ รรลมุ รรคผลอะไรทงั ้ สนิ ้

อยู่มานานจนกระทั่งวนั หนึ่ง เดินบิณฑบาต ตอนนัน้
พระกมุ ารกสั สปะเป็ นพระอรหนั ต์แล้ว พระภิกษุณีมารดามาเจอ
เข้ากบั ลกู พอเจอเข้า ด้วยความดีใจเป็ นอย่างย่ิง ก็ร้ องเรียกว่าลกู
รัก แล้วก็โผเข้าไปหา แต่อารามร้ อนรน พอโผเข้าไปหา ก็ซวนเซ
แล้วกพ็ ลาดล้มลงไป เขาว่ากันว่า มารดาพอนึกถึงลกู รัก นา้ นมจะ
ไหล ก็ปรากฏวา่ นา้ นมไหล เปื อ้ นจีวร แล้วกไ็ ปจบั ลกู

๑๒๖ ตามทางพทุ ธกจิ

ฝ่ ายพระกมุ ารกัสสปะ ก็มีใจเมตตาการุณย์ตอ่ มารดา นึก
ถงึ วา่ มารดายงั ไมไ่ ด้บรรลธุ รรม เป็นเพราะความรักความหว่ งใยใน
ตวั เราผ้เู ป็ นบตุ ร เราจะช่วยอย่างไรดี ถ้าหากว่าให้แม่มีจิตใจครุ่น
กงั วลอยู่กับความรักความห่วงใยอยู่อย่างนี ้ก็จะไม่รู้จักได้บรรลุ
มรรคผลแนน่ อน เราจะต้องใช้วิธีการเป็ นอบุ ายสกั อย่าง ทาให้แม่
ตดั ความรู้สกึ ผกู พนั กงั วลนใี ้ ห้ได้

ทา่ นกเ็ ลยพดู คาหน่ึงขึน้ มา ซง่ึ เป็ นคาท่ีฟังแล้วไม่นา่ สบาย
ใจนกั แต่โดยเจตนาดีก็ทาเพ่ือให้แม่ตดั ความรู้สึกผกู พนั ลงไป จะ
ได้ปฏบิ ตั ธิ รรมได้ ทา่ นพดู ทานองวา่ “แม่ ทาอะไรอยู่ ความรักแค่นี้
ก็ตดั ไม่ได้” อะไรทานองนี ้ก็ทาให้แม่รู้สึกน้อยใจขึน้ มาวา่ “ลูกเรา
เรานะอตุ ส่าห์ตามหา ร้องไห้ ห่วงมาไม่รู้กี่ปี แล้ว พอเจอก็มาพูด
อย่างนี้ ไม่เอาแล้ว เขายงั ไม่รักเรา เราอย่าไปรักเขาเลย” เป็ น
ทานองนี ้ทาให้ตดั ความรู้สกึ หว่ งใยผกู พนั ลดน้อยลงไปได้

ตงั ้ แตน่ นั ้ ก็ตงั ้ ใจปฏิบตั ิธรรม ต่อมาก็ได้บรรลพุ ระอรหตั ผล
เป็นพระเถรีอรหนั ต์รูปหนงึ่

เรื่องกจ็ บลงด้วยดี พระภิกษุณีมารดาก็ได้เป็ นพระอรหนั ต์
พระภิกษุทเ่ี ป็นลกู กไ็ ด้เป็นพระอรหนั ต์ เลยมีเร่ืองพระภิกษุณีผ้เู ป็ น
อรหันต์ เป็ นแม่ของพระภิกษุผ้เู ป็ นอรหนั ต์ เป็ นเร่ืองเป็ นไปได้ที่
เกิดขนึ ้ แล้ว ดงั ที่ได้เลา่ มานี ้

เร่ืองนไี ้ ด้เป็นทป่ี รารภของพระสงฆ์ในธรรมสภา จนกระทง่ั
ทาให้พระพทุ ธเจ้าตรัสธรรมะอ่นื ๆ อกี อย่างหนง่ึ ท่พี ระพทุ ธเจ้าตรัส
โดยปรารภเรื่องนี ้ก็คือเร่ืองการเกิดขึน้ ของป่ าอิสิปตนมฤคทายวนั
ท่ีพระโพธิสตั วเ์ กิดเป็นกวาง คงจากนั ได้ที่อาตมภาพเล่าให้ฟัง แล้ว

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๒๗

ก็สละชีวิตตัวเองแทนแม่เนือ้ กวางท่ีกาลังตัง้ ครรภ์ใหม่ๆ รายนี ้
แหละ ทาให้เกิดนิยายเก่ียวกับ ป่ าอิสิปตนมฤคทายวนั ขึน้ นั่นก็
เร่ืองหนงึ่

อีกเรื่องหนึ่ง กรณีเดียวกนั นีแ้ หละ ก็เป็ นเหตุให้พระพทุ ธเจ้า
ตรัสพทุ ธภาษิตท่ีวา่ “อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ” ตนแลเป็ นที่พงึ่ แห่ง
ตน พระพทุ ธเจ้าทรงแสดงไขเนือ้ ความอนั นีว้ ่า แม้แตเ่ ป็ นลูกเป็ น
แม่กัน แต่ในการบรรลุธรรมเบือ้ งสงู ในการทาจิตใจให้พ้นจาก
กิเลส ถึงยังไง ตนก็เป็ นที่พ่ึงของตน คนอื่นจะมาช่วยไม่ได้ ลูกก็
ชว่ ยแม่ไม่ได้ แม่ก็ช่วยลกู ให้พ้นจากกิเลสไม่ได้ ตนเองต้องทาด้วย
ตนเอง พระองค์ตรัสภาษิตนี ้เพราะพระภิกษุท่านปรารภเร่ืองนี ้
สนทนากนั เรื่องพระภิกษุณีธิดาเศรษฐี กับพระภิกษุกุมารกัสสปะ
พระพทุ ธเจ้าทรงมาได้ฟัง ก็เลยแสดงธรรมให้เหน็ ว่า ตนต้องเป็ นที่
พง่ึ ของตนเองในการปฏิบตั ิธรรมขนั ้ สดุ ท้าย ท่ีจะให้บรรลมุ รรคผล
หรือจะให้พ้นกิเลส พ้นจากทกุ ข์โดยสนิ ้ เชิง

แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม คนเราก็เป็นกลั ยาณมิตร ช่วยเหลือกนั ได้
คือช่วยให้พึ่งตนได้ อย่างในกรณีนีพ้ ระกุมารกัสสปะก็ได้ช่วย
มารดาของท่านแล้ว เป็ นกลั ยาณมิตรให้กบั มารดา คือช่วยให้แม่
พ่งึ ตนเองได้ ก็ช่วยเสริมกนั แต่ในขนั ้ สดุ ท้ายแม่ต้องพ่ึงตนเอง คือ
จติ ใจจะหลดุ พ้น ต้องหลดุ พ้นเอง นีก้ ็เป็ นที่มาของพทุ ธภาษิตท่ีเรา
รู้จกั กนั มาก

พทุ ธศาสนิกชนมกั พดู กนั เสมอวา่ “อตฺตา หิ อตตฺโน นาโถ”
ตนแลเป็นท่ีพง่ึ ของตน ต้องเข้าใจว่าในขนั ้ ตอนสดุ ท้ายแล้วเราต้อง
พึ่งตวั เอง คนอื่นอาจจะช่วยเกือ้ กูลเพ่ือให้เราพึ่งตนเองได้ ไม่ได้

๑๒๘ ตามทางพทุ ธกจิ

หมายความว่าจะตัดไม่ให้เกี่ยวข้ อง ไม่ให้ช่วยเหลือกัน คือมี
ขอบเขตวา่ เรามาช่วยกนั และกันให้แตล่ ะคนพ่งึ ตนเองได้ แล้วแต่
ละคนกต็ ้องพง่ึ ตนเอง

นีเ้ป็ นเร่ืองหน่ึงที่อาตมภาพนามาเลา่ จะให้เห็นภาพชีวิตที่
เกิดขนึ ้ ในสมยั พทุ ธกาล เกี่ยวข้องทงั ้ เมืองราชคฤห์และเมืองสาวตั ถี
แตส่ าวตั ถีก็ดี ราชคฤห์กด็ ใี นปัจจบุ นั จะเห็นวา่ มีแต่ซาก ป่ าก็เหลือ
น้อย เป็ นท่ีแห้งแล้งเสียมาก สาวัตถีก็ยังเป็ นที่ชมุ่ ชืน้ มีต้นไม้มาก
หนอ่ ย แตว่ า่ ทงั ้ ๒ แหง่ ก็เป็นเมืองร้ าง จะมีหม่บู ้านอะไรก็เป็ นเร่ือง
ของชาวบ้านเล็กๆ น้อยๆ ในชนบทห่างไกล แสดงให้เห็นคติความ
เปล่ียนแปลงของสงั ขารทงั ้ หลาย ทไ่ี มเ่ ท่ยี งแท้แนน่ อน อาณาจกั รที่
เคยย่ิงใหญ่เป็ นมหาอานาจ ก็ล่มสลายไป สญู สิน้ ไป เมืองใหม่ๆ
อาณาจกั รใหม่ๆ ก็เกิดขนึ ้

แตเ่ มืองหนึ่งที่เราไปเยี่ยมที่สารนาถ ที่พระพุทธเจ้าแสดง
ปฐมเทศนา เมืองนนั ้ คือ เมืองพาราณสี เมืองพาราณสีเด๋ียวนีก้ ็ยงั
มีความสาคญั อยู่ เพราะยังเป็ นดินแดนของศาสนาฮินดู ศาสนา
ฮินดูยังคงรุ่งเรืองอยู่ และเมืองพาราณสีนนั ้ ตงั ้ อยู่ท่ีแม่นา้ คงคา
แม่นา้ คงคาป็ นแม่นา้ ศกั ด์ิสิทธ์ิของฮินดู เด๋ียวนีช้ าวฮินดกู ็ยงั ไปทา่
นา้ ที่เมืองพาราณสี ไปอาบนา้ ชาระบาปกัน เอาศพไปเผาท่ีนั่น
เพ่อื จะให้คนตายไปสวรรค์ อยา่ งทีเ่ ราได้ไปดมู าแล้ว

พาราณสีมีความสาคญั ในทางพระพุทธศาสนา แต่ในแง่
ของอดีต คืออยู่ในเร่ืองชาดก ถ้าหากเป็ นสาวตั ถีกับราชคฤห์แล้ว
มีความสาคญั ในครัง้ พทุ ธกาลเอง เร่ืองราวจะเกิดขึน้ ที่นน่ั มาก แต่

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๒๙

ถ้าเป็ นเร่ืองอดีตชาติของพระพทุ ธเจ้า มักจะเป็ นเร่ืองท่ีเกิดขึน้ ท่ี
พาราณสี

ชาดกส่วนมากจะขึน้ ต้นว่า “อตีเต พาราณสิย พฺรหฺมทตฺเต
....” เม่ือพระเจ้าพรหมทตั ครองราชสมบตั ิอยใู่ นเมืองพาราณสี พระ
โพธิสัตว์อุบตั ิเป็ นนั่นเป็ นนี่ อย่างเร่ืองกวางโพธิสัตว์จะสละชีวิต
ให้กับกวางแม่ลูกออ่ น หรือแม่กวางท่ีกาลงั ตงั ้ ครรภ์ ก็เป็ นเร่ืองที่
เกิดขนึ ้ ที่เมืองพาราณสเี ชน่ เดียวกนั น่กี ็เป็นเร่ืองสมยั พทุ ธกาล

ต่อไปนีจ้ ะข้ามมาหลังพุทธกาลให้เห็นภาพวิวัฒนาการ
ของพระพทุ ธศาสนา จนกระทงั่ สนิ ้ สดุ ไปพอคร่าวๆ

ตอนนีเ้ รากาลังจะผ่านออกจากพุทธภูมิ คือ ดินแดน
ชว่ งแรกท่ีเราเดินทางไปนมสั การ ตงั ้ แต่พุทธคยาไปถึงสาวตั ถี ก็
เป็นอนั จบสนิ ้ ไป

พระพทุ ธศาสนาหลงั พุทธกาล

คราวนีก้ ็มาถึงหลังพุทธกาล เม่ือพระพทุ ธเจ้าปรินิพพาน
แล้ว พระสาวกก็ได้จัดการสงั คายนาครัง้ ที่ ๑ ขึน้ ท่ีเมืองราชคฤห์
ต่อจากนัน้ ก็ถือว่าพระสาวกทัง้ หลายมีหน้ าที่ในการสืบต่อ
พระพทุ ธศาสนาทอดกนั มาโดยลาดบั

หลงั พุทธกาลแล้ว พระพทุ ธศาสนาได้เจริญรุ่งเรืองขึน้ มา
บ้าง เส่ือมบ้างเป็ นระยะๆ ชว่ งแรกท่ีเจริญสงู สดุ ก็คือในสมยั พระ
เจ้าอโศกมหาราช แหง่ ราชวงศ์โมริยะ (ฝร่ังเรียกอย่างสนั สกฤตวา่
Maurya/เมารยะ) ท่อี าตมภาพกลา่ วถึงครัง้ หน่ึงแล้ว พระเจ้าอโศก

๑๓๐ ตามทางพุทธกจิ

มหาราชครองราชย์ที่เมืองปาตลบี ุตร หรือปัตนะท่ีกลา่ วถึงเม่ือกีน้ ี ้
ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๑๘ ถึง พ.ศ. ๒๖๐ เป็นเวลาประมาณ ๔๒ ปี

แตฝ่ ร่ังเขาไม่นบั เหมือนเรา ฝรั่งเขานบั เทียบออกมาได้เป็ น
พ.ศ. ๒๗๐ ถึง พ.ศ. ๓๑๘ คือเร่ืองประวตั ิพทุ ธศาสนาน่ี นบั แบบ
เรากับนับแบบฝรั่งมันจะต่างกันสัก ๖๐ ปี แทบทงั ้ หมด แม้แต่
พระพทุ ธเจ้าประสตู แิ ละปรินิพพาน ของฝรั่งก็ตา่ งจากของเรา ๖๐
ปี เพราะของเราคิดตวั เลขปี พทุ ธปรินิพพาน เราบอกวา่ ก่อนคริสต์
๕๔๓ ปี แตฝ่ ร่ังเขาเอา ๔๘๓ ปี จงึ ตา่ งกนั อย่างนตี ้ ลอด

พระเจ้าอโศกครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. ๒๑๘ ถึง พ.ศ.
๒๖๐ ได้ทาการสงั คยานาครัง้ ที่ ๓ ส่งพระสาวกออกประกาศพระ
ศาสนาอยา่ งท่กี ลา่ วเม่ือกี ้ตอ่ มาราชวงศ์พระเจ้าอโศกสืบมาอีก ๗
ชวั่ พระเจ้าแผ่นดิน คือมีลกู หลานของพระเจ้าอโศกครองมาอีก ๗
องค์ ก็ถูกอามาตย์ท่ีเป็ นพราหมณ์จบั ปลงพระชนม์เสีย แล้วตัง้
ราชวงศ์ใหม่ชื่อ ราชวงศ์ศุงคะ เป็ นราชวงศ์ฮินดู ซึ่งเดิมก็เป็ น
อามาตย์ของพระเจ้าแผน่ ดนิ พทุ ธนนั่ เอง

ตอนก่อนนัน้ เม่ือพระเจ้าอโศกอปุ ถัมภ์พทุ ธศาสนา ก็มี
อามาตย์เป็ นพวกพราหมณ์ด้วย แตพ่ อฮินดตู งั ้ ราชวงศ์ของเขาขึน้
เขาก็ปราบชาวพุทธถึงกับทาพิธีบูชายัญ ดาเนินการปราบปราม
ชาวพทุ ธถงึ กบั ให้คา่ หวั แก่คนทไี่ ปฆ่าชาวพทุ ธมาได้ อะไรทานองนี ้
พทุ ธศาสนากถ็ กู กาจดั มาก กษตั ริย์องค์นีช้ ื่อ พระเจ้าปุษยมติ ร แต่
มีอานาจไมก่ ว้างขวางมาก

ตอนนนั ้ ในดินแดนที่เคยเป็ นแว่นแคว้นของพระเจ้าอโศก
ได้มีพวกผ้มู ีอานาจอื่นๆ ตงั ้ ตัวเป็ นกษัตริย์ขึน้ มา แตกเป็ นแคว้น

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๓๑

เล็กแคว้นน้อย หลายแคว้นก็ดารงพุทธศาสนาไว้ได้ แคว้นหนึ่งท่ี
ดารงพทุ ธศาสนาไว้ด้วยดี คือแคว้นของพระเจา้ มลิ นิ ท์

โยมคงเคยได้ยินชื่อพระเจ้ามิลินท์ ที่ถามปัญหาพระ
นาคเสน พระเจ้ามิลินท์เป็ นกษัตริย์เชือ้ ชาติกรีก ในภาษากรีกเขา
เรียกวา่ พระเจ้าเมนนั เดอร์ เมนนั เดอร์นีค้ รองราชย์ เม่ือ พ.ศ. ๓๘๘
นีว้ ่าตามการคานวณทางประวตั ิศาสตร์ แต่ใน มิลินทปัญหา ว่า
พ.ศ. ๕๐๐ อย่ทู เี่ มืองสาคละ ปัจจบุ นั อยทู่ ปี่ ระเทศปากีสถาน

พระเจ้ามิลินท์ครองแผ่นดินตงั ้ แต่แคว้นปัญจาบไปจนถึง
ประเทศอฟั กานิสถาน ก็ใหญ่พอสมควร เมืองสาคละที่เป็ นเมือง
หลวงของพระเจ้ามิลินท์ ก็อย่ใู กล้ๆ เมืองศรีนครท่ีเราไปมาแล้วใน
แคชเมียร์ ขอให้โยมนึกภาพเมืองศรีนครนนั่ แหละ ใต้เมืองศรีนคร
ลงไป หา่ งสกั ๒๓๐ กม. ก็เป็นเมืองสาคละ เมืองหลวงของพระเจ้า
มิลินท์ พระเจ้ามิลินท์นีก้ ็เป็ นผู้ครองดินแดนสาคญั แห่งหนึ่งที่ได้
เชิดชดู วงประทปี แหง่ พทุ ธศาสนาให้คงอยู่ หลงั จากพระเจ้าอโศก

ตอ่ จากนนั ้ ผา่ นมา ๒๐๐ ปี เศษ ก็มีพระเจ้าแผน่ ดินยิ่งใหญ่
องค์หน่ึงท่ีได้รวบรวมแคว้นเล็กแคว้นน้อยเข้ามาจัดเป็ นมหา
อาณาจกั รได้ในราว พ.ศ. ๖๐๐ พระเจ้าแผน่ ดินองค์นีช้ ื่อ พระเจ้า
กนิษกะมหาราช ครองราชย์ราว พ.ศ. ๖๐๐ ตงั ้ เมืองหลวงอย่ทู ี่เมือง
ปรุ ุษปรุ ะ หรือปรุ ุษบรุ ี หรือ เปษวาร์ อย่ใู นปากีสถานปัจจบุ นั

อันนีข้ อให้เปรียบเทียบกับเมืองศรีนครที่เราไปในแคว้น
แคชเมียร์ เมืองปรุ ุษปรุ ะของพระเจ้ากนิษกะอย่เู ลยเมืองศรีนครไป
ทางทิศตะวนั ตกประมาณ ๓๐๐ กม.

๑๓๒ ตามทางพทุ ธกจิ

พระเจ้ากนิษกะมหาราชเป็ นผ้อู ุปถัมภ์พุทธศาสนาแบบ
มหายาน ทาให้พทุ ธศาสนาแบบมหายานรุ่งเรืองขนึ ้ มา

ในทางฝ่ ายของเรา หรือในทางเถรวาท จะไม่ค่อยรู้จกั พระ
เจ้ากนิษกะมหาราชเลย เพราะเราไม่นบั เข้าในประวตั ิศาสตร์หรือ
ในตานานของเรา

พระเจ้ ากนิษกะอุปถัมภ์พุทธศาสนาแบบมหายาน จัด
สังคายนาครัง้ ที่ ๓ ของพุทธศาสนาแบบท่ีเจริญท่ีน่ันเวลานัน้
เรียกว่าพวกนิกายสรวาสติวาทิน (บาลีเป็ น สพั พตั ถิกวาที) แต่มี
มหายานร่วม นิกายสรวาสติวาทินสูญไปนานแล้ว จึงนับเป็ น
สงั คายนาของฝ่ ายมหายานด้วย เหมือนอย่างท่ีพระเจ้าอโศกจัด
สงั คายนาครัง้ ท่ีเราเรียกวา่ ครัง้ ท่ี ๓ แต่มหายานเขาไปนบั เอาของ
พระเจ้ากนิษกะนีเ้ ป็ นครัง้ ท่ี ๓ ทาให้พระพทุ ธศาสนาเผยแพร่ไป
ทางจีน ทางมองโกเลยี ธิเบต ไปทางทศิ เหนือโน้นมากมาย

น่ีเป็นเร่ืองของพระเจ้าแผ่นดินอีกองค์หนึ่ง ท่ีช่ือวา่ กนิษกะ ก็
ได้สร้างถาวรวตั ถใุ นทางพทุ ธศาสนาไว้มากเช่นเดยี วกนั

หลงั พระเจ้ากนิษกะแล้ว อาณาจกั รก็ค่อยๆ แตกสลายลง
ไปอีกจนกระทงั่ ประมาณ พ.ศ. ๘๖๐ ผา่ นพระเจ้ากนิษกะมา ๒
ศตวรรษเศษ หลงั จากชิงอานาจกนั มากมาย ก็มีราชวงศ์หนึ่งตงั ้ ขึน้
รวบรวมแคว้นน้อยใหญ่เข้ามาเป็ นมหาอาณาจกั ร ได้แก่ ราชวงศ์
คุปตะ ราชวงศ์นีเ้ ป็ นราชวงศ์ฮินดู ที่ผ่านมาเม่ือกีก้ ษัตริย์ยิ่งใหญ่
เป็นพทุ ธ ตอนนเี ้ป็นฮนิ ดู

กษัตริย์คุปตะนี ้ แม้จะเป็ นฮินดูก็จริง แต่ต้องอาศัยชาว
พทุ ธมาเป็ นมหาอามาตย์ เป็ นผ้วู างแผนในการปกครอง เป็ นต้น

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๓๓

เพราะว่าตอนนัน้ ชาวพุทธเป็ นผู้มีการศึกษาดีมาก เพราะฉะนัน้
มหาอามาตย์สว่ นมากหรือแทบทงั ้ หมดของราชวงศ์คปุ ตะเป็ นพทุ ธ
ตอนปลายๆ นนั ้ กษัตริย์คปุ ตะหลายองค์กเ็ ปลยี่ นมาเป็นพทุ ธเลย

ราชวงศ์คปุ ตะครองอานาจอย่ตู งั ้ แตป่ ระมาณ พ.ศ. ๘๖๓
ถึง พ.ศ. ๑๐๐๐ ตอนแรกก็ครองท่ีปาตลีบุตรเหมือนกัน ท่ีเมือง
หลวงเดียวกบั พระเจ้าอโศก แต่ตอ่ มาได้ย้ายไปท่ีเมืองอโยธยาซ่ึง
อยู่ใกล้เมืองกุสินารา เฉียงไปทางตะวนั ตกนิดหน่อย คนไทยเรา
เรียกเมืองหลวงเก่าของเราว่า อยุธยา เลียนศัพท์มาจากของ
อินเดียนีเ้ อง อโยธยาเป็ นเมืองหลวงของราชวงศ์คปุ ตะ อย่ใู กล้ๆ
กบั เมืองกสุ ินาราทเ่ี ราไปมาแล้ว

ราชวงศ์คปุ ตะแม้จะเป็ นฮินดู แตอ่ าศยั ชาวพทุ ธมาก และ
ในเวลานนั ้ พุทธศาสนาตงั ้ มั่นคงแล้ว จนกระทงั่ ว่าไม่มีใครจะทา
อะไรได้ เป็ นอนั ว่า แม้ฮินดจู ะมีอานาจขึน้ พทุ ธศาสนาก็เจริญมา
ด้วยกัน และราชวงศ์คุปตะก็ให้การอุปถัมภ์พุทธศาสนาไปด้วย
เช่นว่า มหาวิทยาลัยนาลนั ทา ตอนนัน้ รุ่งเรืองอยู่แล้ว พระเจ้า
แผ่นดินคุปตะก็ได้เป็ นผ้อู ุปถัมภ์มหาวิทยาลัยนาลันทาแทบทุก
พระองค์ จนกระทง่ั ถึง พ.ศ. ๑๐๐๐ ราชวงศ์คปุ ตะก็สิน้ สดุ ลง เหตุ
ท่ีสนิ ้ สดุ กเ็ พราะมีตา่ งชาติรุกราน ตา่ งชาตินคี ้ อื ชนชาติฮ่นั

ชนชาติฮน่ั บกุ เข้ามาทางทศิ ตะวนั ตกเฉียงเหนือของอินเดีย
พอบุกเข้ ามาก็ทาลายหมด ทาลายทุกอย่าง โดยเฉพาะด้าน
ทาลายพทุ ธศาสนามาก ต้นทางทเี่ ริ่มเข้ามาก็คือ ตกั ศิลา

ตกั ศิลา ปัจจบุ นั นีอ้ ย่ใู นปากีสถาน ตกั สิลาเคยรุ่งเรืองมาก
เราได้ยินจากในคมั ภีร์พทุ ธศาสนาวา่ เป็ นดินแดนทิศาปาโมกข์ พอ

๑๓๔ ตามทางพทุ ธกจิ

หลงั พทุ ธกาลไม่นานก็เป็ นที่ตงั ้ มหาวิทยาลยั พทุ ธศาสนา มีวดั วา
อารามมากมาย พอพวกฮน่ั บกุ เข้ามา ก็ทาลายตกั สิลาราบไปเลย
เผาผลาญหมด พวกฮน่ั บกุ เข้ามาระยะ พ.ศ. ๑๐๔๓ – ๑๐๙๓ ก็ทา
ให้อนิ เดียหวน่ั ไหว แตกเป็นอาณาจกั รเลก็ ๆ น้อยๆ มากมาย แต่วา่
ตอนนนั ้ อินเดียยงั พอต้านศตั รูไว้ได้ เข้ามาไม่ได้ลึกมาก ผลท่ีสดุ ฮน่ั
ก็ต้องออกไป แตว่ า่ ได้ทาลายพทุ ธศาสนาย่อยยบั ไปมากทเี ดียว

พอต้านพวกฮนั่ ได้แล้ว พวกกษตั ริย์ในอินเดียก็พยายามจะ
ชิงอานาจกนั เอง จนกระทง่ั มีพระเจ้าแผ่นดินองค์หน่งึ รวบรวมแวน่
แคว้นได้มากหนอ่ ยชือ่ พระเจ้าหรรษวรรธนะ

พระเจ้าหรรษวรรธนะเป็ นกษัตริย์ชาวพทุ ธ แต่พุทธศาสนาที่
เจริญรุ่งเรืองในยคุ นนั ้ เป็นมหายานสว่ นมากแล้ว เพราะฉะนนั ้ พระ
เจ้าหรรษวรรธนะที่ว่าเป็ นชาวพุทธ และได้อุปถัมภ์พุทธศาสนา
อย่างย่ิงใหญ่ ก็กลายเป็ นอุปถัมภ์พุทธศาสนาฝ่ ายมหายาน
ครองราชย์ประมาณ พ.ศ. ๑๑๕๐ – ๑๑๙๐ เมืองหลวงตงั้ อยู่ท่ีเมือง
กระโนช เทยี บปัจจบุ ันอย่รู ะหว่างทางเมืองลกั เนาไปเมืองอคั รา

พระเจ้าหรรษวรรธนะได้ฟื น้ ฟูอินเดียขึน้ มาหลงั จากยุคท่ี
พวกฮนั่ บกุ เป็นพระเจ้าแผน่ ดินพทุ ธ ก็ได้อปุ ถมั ภ์พทุ ธศาสนามาก
และไมเ่ บยี ดเบียนศาสนาอ่ืนๆ แตต่ อนปลายรัชกาลก็ปรากฏว่าถกู
ปลงพระชนม์ อามาตย์พวกฮินดพู วกพราหมณ์จดั การลอบปลง
พระชนม์ ครัง้ แรกไม่สาเร็จ พระเจ้าหรรษวรรธนะก็ใจดี เธอปลง
พระชนม์ฉนั ไม่สาเร็จ มันเป็ นยังไง ไม่พอใจอะไรก็ว่ากนั ดีๆ ก็ยก
โทษให้ พอยกโทษให้พวกนกี ้ เ็ ลยสมคบกนั ใหม่ คราวท่ี ๒ ปลงพระ
ชนม์สาเร็จ พระเจ้าหรรษวรรธนะก็สนิ ้ พวกฮนิ ดจู งึ รุ่งเรืองขนึ ้ มาอกี

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๓๕

เหตุการณ์ผา่ นมา อินเดียก็แตกเป็ นแคว้นเล็กแคว้นน้อย
อกี แย่งชิงอานาจกันมากมาย แต่ไม่มีใครที่มีอานาจย่ิงใหญ่จริงๆ
ในตอนนีก้ ็มีราชวงศ์หน่ึงอยู่ทางตะวันออก แถวๆ แคว้นมคธท่ี
พอจะรวบรวมแคว้นใหญ่ขึน้ มา คือ ราชวงศ์ปาละ เชน่ พระเจ้า
ธรรมบาล ยคุ นตี ้ กในราว พ.ศ. ๑๓๐๐ – ๑๖๘๕ พดู ง่ายๆ ตีเสียว่า
๑๓๐๐ - ๑๗๐๐ พระเจ้าแผ่นดินก็ครองราชย์ที่เมืองปาตลบี ุตร
และเป็นราชวงศพ์ ทุ ธ

วงศ์นีไ้ ด้อปุ ถมั ภ์พระพทุ ธศาสนา อดุ หนนุ มหาวิทยาลยั พทุ ธ-
ศาสนาทงั ้ แหง่ เก่าท่นี าลนั ทา และทีต่ งั ้ ใหม่ มีมหาวิทยาลยั โอทนั ต-
ปรุ ะ วิกรมศิลา เป็ นต้น อีกหลายแหง่ พทุ ธศาสนาก็รุ่งเรืองมาได้
อีก แม้วา่ จะเป็นพทุ ธศาสนาแบบกลายๆ คือมหายานผสมฮินดู

ลืมเล่าไปนิดหนึ่ง ตอนยุคพระเจ้าหรรษวรรธนะ มี
พระภิกษุท่ีมีช่ือเสียงมากรูปหน่ึงเดินทางเข้าไปในประเทศอินเดีย
แล้วเล่าเรื่องการเดินทางสืบสานพระศาสนาในอินเดียเอาไว้ด้วย
คือ พระถงั ซาจงั๋ ในเรื่องไซอว๋ิ หลายทา่ นรู้จกั ดี

พระถังซาจงั๋ เดินทางเข้ามาในสมยั พระเจ้าหรรษวรรธนะ
ประมาณ พ.ศ. ๑๑๕๐ – ๑๑๙๐ แล้วก็เลา่ เรื่องราวไว้มากมาย ขน
เอาพระไตรปิ ฎกจากไซที หรือประเทศตะวันตกของจีน คืออินเดีย
นั่นเอง นาเอาพระไตรปิ ฎกหรือคัมภีร์พระพุทธศาสนากลับไป
เมืองเชียงอาน แล้วไปแปลออกเป็นภาษาจีน

พระถังซาจัง๋ เป็ นปราชญ์แห่งราชวงศ์ถัง เป็ นผ้มู ีช่ือเสียง
มาก ทางประวัติศาสตร์เรียกหลวงจีน เหี้ยนจัง ท่านเรียนท่ี

๑๓๖ ตามทางพุทธกจิ

มหาวทิ ยาลยั นาลนั ทาด้วย และได้เขียนเลา่ เร่ืองเก่ียวกับนาลนั ทา
ไว้มากมาย

เมื่อสิน้ สุดยุคพระเจ้าหรรษวรรธนะนนั ้ มา จนถึงราชวงศ์
ปาละ เพราะเหตุที่อินเดียแตกแยกเป็ นแคว้นเลก็ น้อยมากมาย ก็
จงึ ชิงอานาจกนั เองเกิดความอ่อนแอ พอดีตอนนีม้ สุ ลิมก็บกุ เข้ามา
มสุ ลิมบุกเข้ามาเรื่อยๆ ตงั ้ แต่ พ.ศ. ๑๕๐๐ เข้าทางตะวนั ตกเฉียง
เหนือ ตีเข้ามาได้ทีละน้อยๆ จนกระทงั่ ถึง พ.ศ. ๑๗๐๐ ก็ตีได้ถึง
แคว้นมคธ หรือแคว้นพิหารในปัจจบุ นั

ตอนที่มสุ ลิมเข้าตีมคธคราวนี ้ราชวงศ์ปาละสิน้ สดุ ไปแล้ว
เพ่ิงสิน้ สดุ ไป มีราชวงศ์ใหม่เป็ นฮินดูชื่อ ราชวงศ์เสนะ ราชวงศ์
เสนะก็ถูกมสุ ลิมทาลาย ทหารมสุ ลิมทาลายล้างเรียบ ไม่มีเหลือ
ถ้าเป็นวดั กเ็ ป็นอนั วา่ เผาหมด พระสว่ นมากก็ถกู ฆา่ หรือไม่ก็หนไี ป

ตอนนนั ้ นกั ประวตั ิศาสตร์ของพวกมสุ ลิมเลา่ ไว้ด้วยความ
ภาคภมู ิใจวา่ เขาไปไหนมาก็ได้ทรัพย์สมบตั มิ ากมาย และเขาก็เอา
ดาบไปฆา่ ผ้คู น เม่ือปราบเสร็จแล้วเขาก็ให้เลือกเอาระหว่างดาบกบั
พระอลั เลาะห์ จะเอาอะไร ถ้าเอาอัลเลาะห์ ก็อยู่ ถ้าไม่เอาอลั เลาะห์
ก็ดาบ คือถกู ฆา่

เพราะฉะนนั ้ ผลท่ีสดุ พทุ ธศาสนาก็สญู สิน้ จากอินเดียตงั ้ แต่
พ.ศ. ๑๗๐๐ เป็นต้นมา นีก่ ค็ ือประวตั ศิ าสตร์พทุ ธศาสนาโดยยอ่

อาตมภาพเลา่ ให้เหน็ ภาพคร่าวๆ โยมอาจจะยงั เห็นไม่ชัด
นกั แตค่ งพอทราบวา่ เป็นมาอย่างไร พทุ ธศาสนาในตอนหลงั ๆ แผ่
ไปทวั่ อินเดียหมดแล้ว พอถึงพระเจ้าอโศก ก็แผ่ไปหมด พระเจ้า
อโศกครองแผ่นดินท่ีกว้างขวางเป็ นมหาอาณาจักร หลังพระเจ้า
อโศกไม่นานก็เกิดถา้ อย่างอชนั ตา ขนึ ้ มา

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๓๗

อชันตา ก็เกิดระหว่าง พ.ศ. ๔๐๐ – ๑๒๐๐ เป็ นถา้ ของ
พทุ ธศาสนาล้วนๆ เป็ นถา้ ของฝ่ ายเถรวาทอยู่ ๕ ถา้ นอกจากนนั ้
เป็ นมหายาน และที่อีกภูเขาหนึ่งคือ เอลโลร่ า หรือภาษาอินเดีย
เขาเรียกวา่ เอลลรู ่า ก็สร้ างระหวา่ ง พ.ศ. ๑๑๐๐ – ๑๓๐๐ ยุคท่ีมี
ถา้ พุทธศาสนาคือ ๑๑๐๐ – ๑๓๐๐ ยุคถา้ ฮินดู ราว ๑๑๕๐ –
๑๔๕๐ ยคุ ถา้ ของเชน ราว ๑๓๕๐ – ๑๕๕๐ หลงั จากนนั ้ ก็หมด คง
ถึงยคุ หนสี งครามถกู มสุ ลมิ บกุ

ส่วนมหาวิทยาลยั นาลนั ทา ก็เป็ นสถาบันการศึกษาท่ี
ย่ิงใหญ่เริ่มขึน้ มาเม่ือประมาณ พ.ศ. ๘๕๐ รุ่งเรืองในสมัยราชวงศ์
คปุ ตะ จนกระทง่ั พทุ ธศาสนาสิน้ สญู จากอินเดียเมื่อ พ.ศ. ๑๗๐๐
กถ็ กู เผาราบเรียบไป รวมแล้วรุ่งเรืองอยนู่ านเกือบ ๑,๐๐๐ ปี

เมื่อมุสลิมได้เข้ามาครอบครองประเทศอินเดียแล้ว ก็มี
ราชวงศ์มสุ ลมิ หลายราชวงศเ์ หมือนกนั แต่ที่ยิ่งใหญ่ก็ครองอานาจ
กนั มาตงั ้ แต่ พ.ศ. ๑๗๐๐ - ๒๒๕๐

พอถึงประมาณ พ.ศ. ๒๒๐๐ เศษ องั กฤษ พวกนักล่า
อาณานิคมจากตะวนั ตก ก็เข้ามาแย่งชิงดินแดนในอินเดีย ผลที่สดุ
องั กฤษรบชนะกษตั ริย์มสุ ลมิ ครอบครองอินเดียตงั ้ แต่ พ.ศ. ๒๒๕๐
มาจนถึงอินเดียได้รับเอกราชเม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๐ ตงั ้ แต่นนั ้ มา ก็ถึง
ยคุ อนิ เดียสมยั ปัจจบุ นั

นี่เป็นประวตั ศิ าสตร์อนิ เดยี โดยยอ่

เป็ นอนั ว่า พทุ ธศาสนาก็ได้สิน้ สญู ไปแล้ว เหลือแตศ่ าสนา
อิสลามสู้กับฮินดูสืบมา แต่ทัง้ หมดก็พ่ายแพ้แก่อังกฤษ แล้ ว
ท้ายทีส่ ดุ องั กฤษกเ็ ลิกราไปอีกทหี นง่ึ

๑๓๘ ตามทางพุทธกจิ

เราได้เห็นความเป็ นไปในประวตั ิศาสตร์ตลอดเวลาเป็ น
พันๆ ปี มีราชวงศ์เล็กๆ น้อย ๆ เกิดขึน้ มากมาย แล้วก็แย่งชิง
อานาจกันล้มหายไป มีมหาอาณาจกั รใหญ่ๆ เกิดขึน้ มา แล้วมหา
อาณาจกั รน้อยใหญ่เหล่านีก้ ็สิน้ สญู ไปตามกาลเวลาบ้าง โดยการ
ทาลายบ้าง มีอาณาจกั รเล็กๆ เกิดขึน้ กระจายไป แล้วก็รวมกันได้
อีก แล้วแตกสลายไปอีก หมนุ เวียนเปล่ียนไป เป็นคตธิ รรมดา

ความเปล่ียนแปลงท่ีเป็ นอนิจจงั นี ้ถ้าหากพิจารณาในแง่
ของธรรมะคอื ไตรลกั ษณ์ ก็เป็นเร่ืองที่ควรแก่การ สงั เวช ใจด้วย

เป็ นอันว่า ดินแดนทัง้ หมดที่เราได้ไปดูมา ล้วนมีความ
เกี่ยวข้องสมั พนั ธ์กบั พทุ ธศาสนาทงั ้ นนั ้ เราจะเหน็ หรือไม่เหน็ ก็ตาม
อย่างท่ีอาตมภาพได้บอกไว้ว่า สว่ นนอกเหนือจากพทุ ธภมู ิมาแล้ว
คือเลยจากสาวัตถีออกมา เป็ นถิ่นที่เก่ียวข้องกับพทุ ธศาสนาหลัง
พทุ ธกาล อชนั ตา เอลโลร่า ก็เก่ียวชดั เดลกี ็เก่ียว เพราะที่นนั่ เป็ น
เมอื งอนิ ทปตั ถ์ อย่ใู นแคว้นกรุ ุ พระพทุ ธเจ้าเคยแสดงมหาสติปัฏฐาน
สตู รท่นี นั่

แม้แต่ท่ีแคชเมยี ร์ หรือกัษมรี ะ ซึ่งเราไปท่ีเมืองศรีนคร ที่
นน่ั พทุ ธศาสนาก็เคยแพร่หลายอยู่ ประชาชนแถวนนั ้ ก็เคยนบั ถือ
พุทธศาสนา แต่ปัจจุบันเป็ นมุสลิมไปเกือบทัง้ หมดแล้ว พุทธ
ศาสนาเคยรุ่งเรืองที่นัน่ เช่น เมอื งสาคละของพระเจ้ามิลินท์ ก็อยู่
ห่างจากที่นนั่ ประมาณ ๒๐๐ กว่ากิโลเมตร หรือเมอื งปุรุษะปุระ
ของพระเจ้ากนิษกะ ก็อย่หู ่างจากนน่ั สกั ๓๐๐ กม. ดินแดนแถวๆ
นนั ้ ล้วนเคยเป็นถิ่นของพระพทุ ธศาสนา จนกระทง่ั ถึงอฟั กานิสถาน

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๓๙

และปากีสถานทงั ้ หมด ก็เคยเป็ นประเทศพทุ ธศาสนามาก่อน แต่
ปัจจบุ นั นพี ้ ทุ ธศาสนาแทบไม่มีเหลอื อยเู่ ลย

ทกี่ ษั มีระ เราได้เลยเข้าไปนิดหนงึ่ ในแดนหิมพานต์ หิมพานต์
นนั ้ ก็เป็ นดินแดนท่ีมีเรื่องราวในพทุ ธศาสนามาก เช่นเมื่อคราวท่ี
พวกเจ้าศากยะจะไปรบไปฆ่ากันระหวา่ งพ่ีน้อง ในสงครามใหญ่
ระหว่างโกลยิ ะ กับศากยะ เม่ือพระพุทธเจ้าไปห้ามทพั เสร็จ
เจ้าชายท่ีจะไปรบ ก็เปล่ียนเป็ นบวช ก็ได้บวชกันจานวนมากมาย
พระพทุ ธเจ้าก็พาพระใหม่เหล่านนั ้ ไปเที่ยวแดนหิมพานต์กันพัก
ใหญ่ เร่ืองราวในชาดกกเ็ ยอะแยะทีเ่ ก่ียวกบั เร่ืองแดนหิมพานต์

ในคมั ภีร์อรรถกถา ท่านพดู ถึงแดนหิมพานต์ไว้ว่า มีภเู ขา
เป็ นเทือกใหญ่ๆ ทงั ้ หมด ๗ เทือก ล้อมภูเขาคันธมาทน์ มีเนือ้ ที่
สามแสนโยชน์ มียอดทงั ้ หมด ๘๔,๐๐๐ ยอด มีทะเลสาบใหญ่ท่ีไม่
เคยร้อนด้วยแสงแดดเลย ๗ ทะเลสาบ

ปัจจุบันนี ้ ก็ขอให้ดูแผนท่ีเอาเองว่า หิมพานต์นัน้ กว้าง
ใหญ่ขนาดไหน อาตมภาพเองก็ยงั ไม่ได้ดูว่าเขาบอกไว้ว่ามีเนือ้ ท่ีก่ี
ล้านเอเคอร์ หรือกี่ล้านไร่ อนั นีเ้ ราไปมาแล้ว โยมก็พดู ได้วา่ เข้าไป
ในดินแดนหมิ พานตแ์ ล้วนิดหนอ่ ย

๑๔๐ ตามทางพุทธกจิ

เหตุให้พระพุทธศาสนาสญู ส้นิ จากอินเดยี

ข้อท่คี วรจะกลา่ วในที่นสี ้ กั หนอ่ ย เป็ นคติในทางธรรมะ ก็คือ
เรื่ องพระพุทธศาสนาสูญสิน้ ไปจากอินเดีย ควรกล่าวถึง เหตุ
ทงั้ หลายทีใ่ หพ้ ทุ ธศาสนาตอ้ งสญู ส้ินไปจากประเทศอินเดีย ซงึ่ เป็ น
เหตกุ ารณ์ท่ีชดั เจนเมื่อ พ.ศ. ๑๗๐๐

๑. เหตอุ นั แรก ท่ีเราเห็นได้ พูดง่ายๆ ว่า ชาวพทุ ธเราใจ
กวา้ ง แต่ศาสนาอื่นเขาไม่ใจกวา้ งด้วย นี่ก็เป็ นเหตสุ าคัญที่ทาให้
พระพทุ ธศาสนาสญู สนิ ้ ไป เพราะวา่ เม่ือพระพทุ ธศาสนาเกิดขึน้ นนั ้
กส็ อนแตเ่ พยี งแต่หลกั ธรรมเป็ นกลางๆ ให้คนประพฤติดี ทาความดี
จะนบั ถือหรือไม่นบั ถือ กไ็ มไ่ ด้วา่ อะไร ถ้าเป็นคนดีแล้วก็ไปสคู่ ติท่ีดี
หมด ไม่ได้จากดั วา่ ต้องเป็ นชาวพทุ ธจงึ จะไปสวรรค์ได้ หรือว่าชาว
พทุ ธทมี่ านบั ถือแล้วทาตวั ไมด่ ี ก็ไปนรกเหมือนกนั อะไรทานองนี ้

ทีนีเ้ ม่ือชาวพุทธได้เป็ นใหญ่ เช่น อย่างพระเจ้าอโศก
มหาราชครองแผน่ ดิน ก็อุปถมั ภ์ทกุ ศาสนาเหมือนกันหมด แต่ผ้ทู ่ี
ได้รับอปุ ถมั ภ์เขาไม่ได้ใจกว้างตามด้วย เพราะฉะนนั ้ พวกอามาตย์
พราหมณ์ของราชวงศ์อโศกเอง ก็เป็ นผ้กู าจดั ราชวงศ์อโศก จะเหน็
วา่ อามาตย์ที่ชือ่ ปษุ ยมิตร ก็ได้ปลงพระชนม์พระเจ้าแผ่นดินที่เป็ น
หลานของพระเจ้าอโศก แล้วตงั ้ ราชวงศใ์ หม่ท่ีกาจดั ชาวพทุ ธ อย่าง
ที่เล่าเมื่อกี ้แต่ก็กาจดั ไม่เสร็จสิน้ มีมาเรื่อย จนกระทงั่ ถึงพระเจ้า
หรรษวรรธนะครองราชย์ อามาตย์ที่เป็ นฮินดกู ็กาจดั พระองค์เสีย
อกี กเ็ ป็นมาอยา่ งนี ้จนในทสี่ ดุ มสุ ลิมก็เข้ามาบกุ กาจดั เรียบไปเลย
เมื่อ พ.ศ. ๑๗๐๐ นกี ้ ็เป็นเหตอุ นั หนงึ่ ทีเ่ หน็ ได้งา่ ย


Click to View FlipBook Version