The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จิตตนคร สมเด็จพระญาณสังวร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-16 19:53:09

จิตตนคร สมเด็จพระญาณสังวร

จิตตนคร สมเด็จพระญาณสังวร

Keywords: จิตตนคร สมเด็จพระญาณสังวร

282

เปน็ อศั จรรย์ อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ น์ นั้ กเ็ พอ่ื จะทำ� ลายมานะของผฟู้ งั เสยี กอ่ น
และมใิ ชห่ มายความแตเ่ พยี งการแสดงอาการทแ่ี ผลงตา่ ง ๆ ซงึ่ ผดิ จาก
สามัญชนปกติอย่างเดียว แต่หมายถึงการกระท�ำทุกวิธีที่เป็นไป
เพ่ือท�ำลายมานะดังกล่าว เหมือนอย่างวิธีแก้บ้าแก้เมาของคนผู้ใหญ่
เคยกลา่ ววา่ “อยา่ ไป สอนคนบา้ อยา่ ไปวา่ คนเมา” เขาไมอ่ าจจะรเู้ รอื่ ง
เหตุผลอะไรได้ ต้องแก้ไขให้หายบ้าท�ำให้หายเมาเสียก่อน น่ันแหละ
จึงจะพูดกันรู้เรื่อง คนที่เต็มไปด้วยความมานะหรือที่เรียกว่ามีทิฏฐิ
มานะแรงกล้า ก็ยากที่จะส่ังสอนได้ ต้องท�ำให้คลายมานะหรือสิ้น
ทฏิ ฐมิ านะเสยี กอ่ น ดงั ทเ่ี รยี กในภาษาศาสนาวา่ ทำ� ใหส้ น้ิ ความเสพตดิ
หรือให้หมดพยศ

องค์พระบรมครูทรงแสดงฤทธ์ิได้เป็นอัศจรรย์ คือทรงทราบ
วิธีและสามารถท�ำลายมานะของคนได้อย่างล�้ำเลิศ ทรงดักใจเป็น
อัศจรรย์ คือทรงทราบจติ ใจอัธยาศยั นสิ ยั อาสวะ บารมีของบุคคล
จึงทรงสั่งสอนได้เป็นอัศจรรย์ คือทรงสั่งสอนได้เหมาะ เป็นเหตุให้
ผฟู้ งั ไดร้ บั ผลตามควรแกอ่ ปุ นิสยั

พระธรรมทศ่ี กึ ษาปฏบิ ตั กิ นั อยทู่ กุ วนั น้ี คอื คำ� สอนของพระพทุ ธ-
เจ้าที่จะเป็นเหตุให้ผู้ศึกษาและปฏิบัติได้รับผลตามควรแก่การปฏิบัติ
และผลของพระธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้านั้นไม่เป็นสอง คือ
ไมเ่ ปน็ ผลรา้ ยบา้ ง ผลดบี า้ ง แตเ่ ปน็ หนง่ึ เทา่ นนั้ คอื เปน็ ผลดสี ถานเดยี ว
ดงั นนั้ การทบ่ี รรดาผมู้ าบรหิ ารจติ ตงั้ ใจมาศกึ ษาและปฏบิ ตั ติ ามคำ� สอน
ของพระพุทธเจ้าจึงเป็นการถูกต้อง เป็นการท�ำกรรมดีท่ีจะให้ผลดี
เป็นความสขุ สงบยิง่ ข้ึน โดยควรแกก่ ารปฏิบตั ิ

กองทพั ใหญ่มรรค
เตรียมแสดงกา� ลัง

คู่บารมีกับมรรคบดีผู้เป็นแม่ทัพใหญ่มรรคเห็นว่า การแสดง
ก�าลังของกองทัพใหญ่มรรคให้ปรากฏแก่ตาแก่ใจประชาชนชาว
จิตตนคร หาใช่เป็นการแสดงความโอ้อวดไม่ แต่จะต้องก�าหนด
สถานท่ีแสดงก�าลัง และประชาชนชาวจิตตนครผู้ท่ีจะมาดูชมการ
แสดงก�าลัง ก็จะต้องอยู่ในอิริยาบถและอาการท่ีมีความเคารพ จึงได้
ก�าหนดสถานท่ีกลางใจเมือง ซึ่งถนนส�าคัญ ๔ สายมาบรรจบกัน
นั่นแหละเป็นสถานท่ีแสดงก�าลัง แต่ได้ก�าหนดสนามหลวงใหญ่
กลางเมืองน่ันแห่งเดียวเป็นที่ชุมนุมกองทัพใหญ่มรรคและเป็นที่
แสดงก�าลัง ก�าหนดที่ให้ประชาชนชาวจิตตนครมาดูชมอยู่โดยรอบ
สนาม ให้ดชู มดว้ ยอาการท่เี คารพ จึงตา่ งจากการแสดงแสนยานภุ าพ
ของกองทพั ใหญส่ งั โยชน์ ซงึ่ เดนิ สวนสนามไปตามถนนใหญ่ ประชาชน
ตา่ งดูชมด้วยอาการต่าง ๆ โดยมากขาดความเคารพ

284

คร้ันได้จัดเตรียมการท้ังปวงเรียบร้อยแล้ว ก็ได้ประกาศวัน
เวลา และระเบยี บการตา่ ง ๆ ใหป้ ระชาชนชาวจติ ตนครไดท้ ราบทว่ั กนั
เป็นอันว่าจะได้มีการสวนสนามแสดงก�ำลังของกองทัพใหญ่มรรค ณ
สนามหลวงใหญก่ ลางใจเมอื ง เฉพาะพกั ตรน์ ครสามี เจา้ เมอื งจติ ตนคร
เป็นที่ต่ืนเต้นโสมนัสยินดีของประชาชนจิตตนครท้ังส้ิน แต่เป็นที่
หวาดระแวงพรั่นพรงึ ของสมทุ ยั กับคูอ่ าสวะและพรรคพวกมากทส่ี ุด

คอู่ าสวะกบั สมทุ ยั พากนั คาดผดิ วา่ กลวธิ ขี องพวกตนจะเปน็ เหตุ
ห้ามการแสดงกำ� ลงั ของกองทัพใหญ่มรรคได้ แต่คู่บารมกี ับมรรคบดี
กลับถือว่าเป็นการ ประกาศแสดงพระธรรมขององค์พระบรมครู
เพ่อื ประโยชนส์ ขุ แก่ประชาชนชาวจติ ตนครทง้ั สน้ิ ซ่งึ องคพ์ ระบรมครู
ทรงสั่งก�ำชับและส่งพระสาวกทั้งหลายให้แยกย้ายกันท่องเที่ยวไป
ประกาศแสดง ต้ังแต่เมื่อพระองค์ได้ตรัสรู้และเริ่มมีพระสาวกขึ้น
ใหม่ ๆ พระองค์เองก็ได้เสด็จจาริกท่องเท่ียวไปประกาศแสดง
พระธรรมไม่หยุดหย่อน ตราบกระทั่งเสด็จสู่ปรินิพพาน คู่บารมีกับ
มรรคบดีจึงถือเป็นกิจ เป็นหน้าท่ีสำ� คัญท่ีจะต้องประกาศแสดงก�ำลัง
ให้เป็นท่ีปรากฏประจักษ์ตาในจิตตนคร ทั้งได้จัดสถานที่ส�ำหรับ
การเดินสวนสนามแสดงกำ� ลงั กับวธิ ีการต่าง ๆ อย่างมรี ะเบียบ ผทู้ ไี่ ด้
ดูชมจะต้องอยู่ในอิริยาบถอาการที่มีความเคารพ แต่เม่ือเหตุการณ์
ได้กลับตาลปัตร หรือกลับหน้ามือเป็นหลังมือไปเช่นนี้ คู่อาสวะกับ
สมุทัยก็ไม่อาจจะห้ามต่อไปได้ ท่ีจะให้กองทัพใหญ่มรรคงดการเดิน
สวนสนาม แต่ก็ได้หาวิธีที่จะท�ำลายล้างหรือแทรกซึมบ่อนท�ำลาย
ตอ่ ไป

ÊÁà´ç¨¾ÃÐÞÒ³ÊѧÇà 285

ข้ึนชื่อว่ากิเลสย่อมมีฤทธ์ิมาก มีเล่ห์เหลี่ยมมาก แม้ไม่อบรม
ปญั ญาใหเ้ พยี งพอ ก็จะไมส่ ามารถเอาชนะกเิ ลสได้ ดังน้นั การอบรม
ปญั ญาในทางพระพทุ ธศาสนาจงึ เปน็ สง่ิ จา� เปน็ ซง่ึ สา� คญั อยา่ งยง่ิ สา� หรบั
บรรดาผู้มาบริหารจิตที่ปรารถนาจะเป็นผู้ชนะกิเลส เพ่ือจิตใจจะได้
มีความสงบสุข มากน้อยตามแต่ก�าลังปัญญาที่จะสามารถเอาชนะ
กิเลส ทา� ใหก้ ิเลสลดน้อยลง



เริม่ การแสดงกา� ลงั
ดวยอิทธิแหง่ ธาตุ ๔

ได้กล่าวแล้ววา่ คู่บารมแี ละมรรคบดกี า� ลังเตรยี มการ ประกาศ
แสดงพระธรรมขององค์พระบรมครู เพ่ือประโยชน์สุขแก่ประชาชน
ชาวจิตตนครท้ังส้ิน ซ่ึงฝ่ายคู่อาสวะกับสมุทัยหมดหนทางจะห้ามได้
แต่ก็ไดค้ ิดหาวิธีท่จี ะทา� ลายลา้ งหรือแทรกซึมบ่อนทา� ลายต่อไป

ฝ่ายคู่บารมีและมรรคบดีแม่ทัพใหญ่แห่งกองทัพใหญ่มรรค
ก็มิไดป้ ระมาท ไดค้ ิดเตรียมปอ้ งกันการกอ่ กวนแทรกซมึ บ่อนท�าลาย
ของพวกสมทุ ยั ไวพ้ ร้อมสรรพ เมอ่ื ถึงวนั แสดงกา� ลังของกองทัพใหญ่
มรรค ประชาชนชาวจิตตนครได้พากันมาคอยดูอยู่รอบสนามหลวง
ใหญ่กลางใจเมืองแน่นขนัด สมุทัยได้ส่งพรรคพวกมาแทรกอยู่ใน
หมู่ประชาชนทั่วไป และได้นัดหมายการที่จะปฏิบัติไว้ด้วยเสร็จ
ครั้นนครสามีออกปรากฏสถิตอยู่ ณ กลางใจเมือง ซ่ึงถนนส�าคัญ
๔ สายของเมืองมาบรรจบกัน กองทัพใหญ่มรรคซึ่งได้เตรียมพร้อม
อยู่แล้วก็ได้เริ่มการแสดงก�าลังทันที พิธีได้เริ่มข้ึนด้วยอิทธิปาฏิหาริย์

288

คือ แสดงธาตุทั้ง ๔ อันเป็นส่วนประกอบส�ำคัญของถนนส�ำคัญ
๔ สาย คอื ธาตดุ นิ ธาตนุ ำ�้ ธาตไุ ฟ ธาตลุ ม ใหป้ รากฏในอากาศ แสดง
ให้เหน็ ลกั ษณะเฉพาะของธาตทุ ้งั ๔ ทลี ะอย่าง คือ ธาตุดินมีลักษณะ
แข้นแขง็ ธาตนุ ำ้� มีลกั ษณะเหลวเอบิ อาบ ธาตไุ ฟมีลักษณะอบอ่นุ รอ้ น
ธาตุลมมลี กั ษณะพัดไหว

เมอื่ ธาตดุ นิ มาอากาศจะแขน้ แขง็ เปน็ อยา่ งดนิ หรอื ภเู ขา เหมอื น
อยา่ งจะถลม่ ทบั ชาวจติ ตนครทง้ั สน้ิ เมอื่ ธาตนุ ำ้� มาอากาศจะกลายเปน็
มหาสมุทร คล้ายกับจะตกลงมาท่วมจิตตนครทั้งส้ิน เม่ือธาตุไฟ
มาอากาศจะดูลุกเป็นไฟกองมหึมา เหมือนอย่างจะเผาไหม้จิตตนคร
ให้เป็นจุณไปทันที เมื่อธาตุลมมาอากาศจะปั่นป่วนเป็นพายุร้าย
คล้ายจะพัดผันจิตตนครให้ย่อยยับไปทันใด เป็นที่ตกใจกลัวของ
ประชาชนชาวจติ ตนครทง้ั สน้ิ แมพ้ รรคพวกสมทุ ยั เองกเ็ กดิ ความตกใจ
หลบถอยไปอย่างวนุ่ วาย ลืมค�ำสัง่ ให้มาปฏิบตั กิ อ่ กวนทั้งหมด

ฝ่ายมรรคบดีได้ประกาศแก่ชาวจิตตนครมิให้ตกใจกลัว ให้
ทกุ คนตงั้ ใจนมสั การองคพ์ ระบรมครู โดยพรอ้ มกนั เปลง่ วา่ ”นโม ตสสฺ
ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส „ ๓ จบ แล้วตั้งใจถึงองค์พระ
”พทุ ฺโธ ธมโฺ ม สงฺโฆ„ เป็นสรณะคอื ที่พึ่ง ”พทุ ฺธํ สรณํ คจฉฺ ามิ ธมฺมํ
สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ „ ๓ คร้ัง ครั้นชาวจิตตนคร
เปลง่ วาจานมสั การองคพ์ ระบรมครู และถงึ พระไตรสรณคมนด์ งั นแี้ ลว้
อาการที่ปรากฏของธาตุ ๔ อย่างน่าสะพรึงกลัวน้ันก็หายไปทันที
ขณะน้ันจิตใจของประชาชนท่ีแตกแยกเป็นหลายอย่าง บางคนอ่อน

ÊÁà´ç¨¾ÃÐÞÒ³ÊѧÇà 289

บางคนกระดา้ ง บางคนเคารพ บางคนไมเ่ คารพ เปน็ ตน้ กร็ วมเขา้ เปน็
อันหน่ึงอันเดียวกัน คือพากันมีจิตใจสงบจากความแข็งกระด้างด้วย
อ�านาจความกลัวภัยจากธาตุทั้ง ๔ และเห็นประจักษ์อานุภาพของ
พระไตรสรณคมน์

พระรัตนตรยั เปน็ ท่ีพงึ่ ไดจ้ ริง กา� จัดความกลัวได้จรงิ กา� จดั ภัย
ได้จริง การมาบริหารจิตเป็นการอบรมจิตให้สามารถถึงพระรัตนตรัย
เป็นท่ีพ่ึงได้อย่างแท้จริง จึงเป็นการท�าให้จิตพ้นจากอ�านาจของความ
กลัวภัยท้ังหลาย ได้มีความเข้มแข็ง เป็นสุขสงบยิ่งข้ึนทุกทีตามควร
แกก่ ารปฏิบัติ



ดกั ใจในปญ หา “ตัวเรา”
โดยแสดงภาพอบายภมู ิ

”กา� ลงั และอา� นาจของธาตุ ๔ ทไ่ี ด้ประจกั ษ์แลว้ พรอ้ มกับก�าลัง
อ�านาจแห่งพระไตรสรณคมน์มีมากนัก แสดงเป็นตัวอย่างแต่เพียง
อย่างเดียว„ มรรคบดีได้ประกาศ ต่อจากน้ันมรรคบดีได้แสดง
อาเทสนาปาฏิหาริย์ (ดักใจเป็นอัศจรรย์) โดยทราบใจของชาว
จิตตนคร ทั้งท่ีเป็นส่วนลึก ท้ังท่ีเป็นส่วนผิวเผิน ใจที่เป็นส่วน
ลึกน้ัน คือเป็นที่ตั้งแห่งอาสวะ อนุสัย หรือบารมี หรือท่ีเป็นส่วน
นิสัย สันดาน ดังที่บางทีเรียกในจิตวิทยาปัจจุบันว่า จิตใต้ส�านึก
ใจสว่ นตน้ื ผวิ เผนิ นนั้ คอื เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ นวิ รณห์ รอื กเิ ลสทเ่ี ปน็ อกศุ ลมลู
ดงั ทบี่ างทเี รยี กในจติ วทิ ยาปจั จบุ นั วา่ จติ ในสา� นกึ เมอ่ื ไดท้ ราบใจดงั น้ี
ก็เรียกว่าดักใจถูก ใครจะมีพ้ืนเพของจิตใจอย่างไรก็รู้ จะมีความ
คิดเห็นปรารถนาต้องการอะไรอย่างไรก็รู้ แต่มากคนก็มากใจ ดังท่ี
เรียกวา่ นานาจิตตงั จงึ ไม่อาจตอบปัญหาใจท่ีตา่ ง ๆ กันของทุกคน
ให้ครบถ้วนได้ในคราวเดียวกัน จ�าต้องสรุปตอบในประเด็นท่ีคน
ส่วนมากมีใจพ้องตรงกันพอเป็นตัวอย่าง ดังเช่นปัญหาว่าตายเกิด

292

หรือตายสูญ ตายแล้วไปไหน นรกสวรรค์มีไหม เร่ืองเหล่าน้ีเป็น
ความอยากรู้ที่ตรงกนั ของทกุ คน

ดงั นัน้ จึงปรากฏภาวะอย่างหนง่ึ ท่ชี าวจติ ตนครท้ังปวงมองเหน็
และเข้าใจว่า ตัวเรา ลอยอยู่ในอากาศมากมาย มีจ�ำนวนเท่าชาว
จิตตนครที่มาประชุมดูอยู่นั้น และชาวจิตตนครแต่ละคนก็รู้สึกเป็น
ตัวเราแต่ละตัวท่ีลอยอยู่นั้น คือรู้สึกเหมือนไปลอยอยู่เอง อยู่กับ
ตัวเราของตน ๆ แต่ละคน หรือตัวเราของแต่ละคนน้ันมีสายใย
มากเกี่ยวอยู่ท่ีกายของแต่ละคน คล้ายกับว่าวท่ีลอยอยู่ในอากาศมี
สายโยงมาถึงคนชักว่าวที่พ้ืนดิน ตัวเรา มาจากชาติอดีตนับไม่ถ้วน
เหมอื นอยา่ งวนั นมี้ าจากวนั อดตี นบั ไมถ่ ว้ น และจกั ไปสชู่ าตอิ นาคตอกี
ไม่รู้ว่าอีกเท่าไร เหมือนอย่างวันพรุ่งน้ีและวันต่อไปก็จะมีสืบต่อกัน
ไปอีก ในชาติอดีตเหล่าน้ัน บางชาติตัวเรามีรูปร่างน่าเกลียดน่ากลัว
ถูกเผาอยู่ในไฟ บางชาติ ตัวเรามีรูปร่างเป็นสัตว์ดิรัจฉานชนิดหนึ่ง
บางชาติตัวเรามีรูปร่างผอมโซ สูงชะลูดน่าเกลียด หิวโหยเหลือเกิน
บางชาติตวั เรามีรปู รา่ งพกิ ล เปน็ จ�ำพวกผีชนดิ ตา่ ง ๆ

ครั้นชาวจิตตนครไดม้ องเห็นภาพ ตัวเรา ในอดีตชาติ มรี ปู ร่าง
ต่าง ๆ ในแต่ละชาติดังน้ัน ก็รู้สึกข้ึนว่า ”นี้เองคือนิรยะ หรือนรก
น้ีเองสัตว์ดิรัจฉาน นี้เองถิ่นอสุรกาย คือผีต่าง ๆ„ เหล่าน้ีคือ ทุคติ
ที่ช่ัว เต็มไปด้วยทุกข์ ครั้นแล้วก็ได้เห็นว่า ตัวเรา ก่อนที่จะเกิด
ในทุคติเหล่านั้น ก็ได้มี ”จิตใจเต็มไปด้วยโลภ โกรธ หลง จึงฆ่า
เขาบ้าง ลักของเขาบ้าง เป็นชู้กับของเขาบ้าง พูดเท็จท�ำลายเขาบ้าง

ÊÁà´ç¨¾ÃÐÞÒ³ÊѧÇà 293

ดื่มน้�าเมาประมาทไปบ้าง„ ก็รู้สึกขึ้นเองว่า ”นี้คือบาป อกุศลกรรม
ท่ตี ัวเราได้ทา� แล้ว ก็เป็นเหตนุ �าไปสู่ทคุ ติจริงไมต่ ้องสงสยั „

ความรู้สึกของชาวจิตตนครเมื่อมองเห็นภาพตนเองน่าเกลียด
น่ากลัวต่าง ๆ นั้น อาจกล่าวอีกอย่างได้ว่า กรรมช่ัวย่อมให้ผลชั่ว
ผู้ใดท�ากรรมช่ัวไว้ จักได้รับทุกข์ไม่ต้องสงสัย แม้ไม่ปรารถนาทุกข์
ก็ต้องพิจารณาให้ดีก่อน จะท�ากรรมใด อย่าให้เป็นการท�ากรรมชั่ว
จึงจะไม่ไดร้ ับผลเปน็ ความทกุ ข์



ดกั ใจในปญ หา “ตัวเรา”
โดยแสดงภาพสวรรค์

ครั้นมรรคบดีได้แสดงตัวเราผู้ประกอบอกุศลกรรมบถต่าง ๆ
แลว้ ตอ้ งไปเกดิ มรี ปู รา่ งวปิ รติ ต้องทนทกุ ขท์ รมานในชาติต่าง ๆ แล้ว
ก็แสดง ตัวเรา อีกฉากหนึ่ง ชาวจิตตนครทั้งปวงได้มองเห็น ตัวเรา
ทลี่ อยอยใู่ นอากาศนนั้ กลบั มรี ปู รา่ งงดงามทง้ั หญงิ ชาย มที อี่ ยทู่ ส่ี วยงาม
เป็นสุขสบาย มีสวนที่ร่มรื่น สวยงาม มีเคร่ืองแวดล้อม และทุก ๆ
อย่างที่ล้วนสวยงาม น่ารัก น่าชม ล้วนให้เกิดความสุข ส่ิงต่าง ๆ
ทไี่ ด้เหน็ นนั้ มมี ากมายเหลอื ท่จี ะกล่าวจะบอกให้สนิ้ เชงิ แต่กร็ วมลงวา่
รูปทั้งปวงที่ตามองเห็น เสียงต่าง ๆ ท่ีหูได้ยิน กลิ่นต่าง ๆ ที่จมูก
ได้ดม รสต่างๆ ท่ีลิ้นได้ลิ้ม สิ่งสัมผัสถูกต้องต่าง ๆ ที่กายได้
ถูกต้อง ล้วนแต่น่ารัก น่าชม น่าอภิรมย์ยินดี น�าให้เกิดความสุข
ทั้งน้ัน ตรงกันข้ามกับนรก ชาวจิตตนครบางคนยังได้มองเห็นตัวเรา
ของตนในอดตี ชาติ มรี ปู รา่ งทงี่ ามละเอยี ดยง่ิ ขนึ้ ไปกวา่ นนั้ ไมต่ อ้ งการ
อภิรมย์ในรูป เสียง กล่ิน รส ส่ิงถูกต้องท่ีน่ารัก น่าอภิรมย์ท้ังปวง
แตส่ งบอยใู่ นอเุ บกขาญาณตลอดเวลา และชาวจติ ตนครบางคนยังได้

296

มองเหน็ ตวั เราของตนเองในอดตี ชาติ เปน็ ตวั เราทไ่ี มป่ รากฏรปู รา่ ง อยู่
ในภาวะตัวเราที่ละเอียดประณีตยิ่งนัก สงบอยู่ด้วยอุเบกขาญาณท่ี
ละเอยี ดประณตี

ครั้นชาวจิตตนครได้เห็นดังน้ัน ก็รู้สึกข้ึนมาว่า ”น้ีคือสวรรค์
ช้ันกามาพจร นี้คือสวรรค์ชั้นรูปพรหม นี้คือสวรรค์ชั้นอรูปพรหม „
เหล่านค้ี อื สคุ ติ คตทิ ่ีดมี สี ุข คร้ันแลว้ ก็ไดม้ องเห็นวา่ ตัวเรา กอ่ นที่
จะไปเกิดในสุคติภพเหล่านั้นได้ มีจิตใจไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง
ประกอบดว้ ยเมตตากรณุ า ไมร่ ษิ ยาอาธรรม์ ไมท่ ำ� รา้ ยชวี ติ รา่ งกายใคร
ไม่ลักของใคร ประกอบสัมมาอาชีวะ ไม่เป็นชู้กับของใคร ยินดีอยู่
แต่ในคู่ครองของตน ไม่พูดเท็จหลอกลวงใคร พูดสัตย์จริงท่ีเป็น
ประโยชน์ ไมพ่ ดู สอ่ เสยี ดยยุ งใคร พดู ประสานสามคั คี ไมพ่ ดู คำ� หยาบ
พูดแต่ค�ำสุภาพ ไม่พูดเหลวไหลไร้สาระ พูดแต่สิ่งที่มีหลักฐานเป็น
ประโยชน์ เวน้ สงิ่ ทที่ ำ� ใหเ้ กดิ ความเมากาย เมาใจ ปลกู สตใิ หร้ อบคอบ
รู้ผิดชอบช่ัวดี ประพฤติตนอยู่ในทางทานและศีล บางคนก็ประพฤติ
ตนอยู่ในทางภาวนา ได้สมาธิอย่างสูงถึงรูปฌานสมาบัติ อรูปฌาน-
สมาบัติ จึงไปเกิดเป็นรูปพรหม อรูปพรหม ก็รู้สึกข้ึนเองว่า ”นี้คือ
บญุ กศุ ลกรรมทต่ี ัวเราไดท้ ำ� แล้ว เป็นเหตใุ ห้ไปส่สู คุ ติโลกสวรรค์จรงิ
ไมต่ อ้ งสงสยั „

เม่ือชาวจิตตนครได้เห็นกรรมและผลของกรรม ได้เห็นชาติน้ี
และอดตี ชาตนิ แ้ี ละอดตี ชาตถิ อยหลงั ไปแลว้ กค็ ดิ วา่ จะหยดุ เกดิ เพยี ง
เท่านห้ี รือจะมชี าตติ ่อไปอกี หยดุ เสยี ทกี ด็ ี เพราะกลวั ทคุ ติเตม็ ทแี ล้ว

ÊÁà´ç¨¾ÃÐÞÒ³ÊѧÇà 297

คราวอยู่ในนรกรู้สึกว่านานแสนนาน แต่คราวอยู่ในสวรรค์รู้สึกว่า
ประเดย๋ี วเดยี วเท่าน้ัน

ทุคตหิ รือสภาพที่เปน็ ทุกข์น้นั ทกุ คนกลัว ไมอ่ ยากได้รบั แตจ่ ะ
สามารถหนี สภาพนั้นให้พ้นได้ มิใช่อยู่ท่ีความกลัวหรือความตั้ง
ปรารถนาต้องการ แตอ่ ยู่ที่ต้องศึกษาธรรมและปฏิบัติด�าเนนิ ไปจนถงึ
จุดท่ีจะพ้นจากสภาพท่ีเป็นทุกข์ได้เท่านั้น บรรดาผู้มาบริหารจิตคือ
ผู้ที่ก�าลังหนีทุคติ ซึ่งแม้บริหารจิตจริง ก็จะสามารถหนีสภาพท่ีเป็น
ทุกขไ์ ด้ในวนั หน่ึงอย่างแนน่ อน มากนอ้ ยตามควรแก่การปฏบิ ตั ิ



“ตวั เรา”
บา่ ยหนาสู่คตทิ ่ีจะไปเกดิ

ได้น�าเร่ืองราวของนครส�าคัญที่สุดมาแสดง คือเร่ืองราวของ
จิตตนคร ได้แสดงมาแต่ต้นโดยล�าดับ จนถึงเม่ือชาวจิตตนครได้
ชมการแสดงแสนยานุภาพของกองทัพใหญ่สังโยชน์จบลง มรรคบดี
ก็แสดงก�าลังธรรมให้เข้าใจบ้าง จนถึงแสดงให้ชาวจิตตนครได้เห็น
กรรมและผลของกรรม ไดเ้ หน็ ชาตนิ แี้ ละอดตี ชาตถิ อยหลงั ไป จงึ เกดิ
ความคดิ วา่ จะหยดุ เกดิ เพยี งเท่านหี้ รือจะมชี าตติ ่อไป

ทนั ใดทชี่ าวจติ ตนครคดิ สงสยั ถงึ ชาตหิ นา้ วา่ จะมหี รอื ไม่ กป็ รากฏ
คติท่ีไปข้างหน้าที่ชาวจิตตนครรู้สึกว่า ตัวเรา ที่ลอยอยู่ในอากาศ
จะต้องไป เหมือนอย่างจะต้องถึงวันพรุ่งน้ีอย่างแน่นอน และคติข้าง
หนา้ ทป่ี รากฏนน้ั กป็ รากฏมนษุ ยภมู อิ ยตู่ รงกลาง ตา�่ ลงไปเปน็ อบายภมู ิ
สงู ขึ้นเป็นสคุ ติภูมแิ ห่งเทพต่างชน้ั และพรหมต่างชน้ั ตามลา� ดับ ตวั เรา
ของใครจะไปภมู ไิ หน กป็ รากฏวา่ ตวั เราของแตล่ ะคนตา่ งบา่ ยหนา้ ไปสู่
ภมู ินัน้ ๆ แลว้ ตัวเราของคนบางคนบา่ ยหนา้ ไปสู่อบายภูมิ คอื สู่นรก

300

ท่ีเต็มไปด้วยทุกข์ทรมาน ตัวเราของบางคนบ่ายหน้าไปสู่ก�ำเนิดสัตว์
ดิรัจฉาน และบา้ งบา่ ยหน้าสแู่ ดนเปรต บา้ งสูถ่ น่ิ อสุรกาย สว่ นตัวเรา
ของบางคนบ่ายหน้าไปสู่ภูมิมนุษย์ บ้างสู่สุคติภูมิของเทพของพรหม
เปน็ ปรากฏการณท์ แ่ี ปลกทสี่ ดุ เพราะตวั เราจะตอ้ งบา่ ยหนา้ ไปสภู่ มู ใิ ด
ภูมิหน่ึง ทั้งท่ีบางภูมิเป็นที่น่าเกลียดน่ากลัว ไม่อยากจะดูจะพบเห็น
แตก่ ต็ อ้ งบา่ ยหนา้ ไปเหมอื นอยา่ งถกู บงั คบั ใหห้ นั หนา้ ไปทางนนั้ ไมอ่ าจ
จะเบนหนา้ ไปทางอน่ื ได้ ตอ้ งหนั หน้าไปทางนั้นเทา่ น้ัน เป็นเหตุให้เกิด
ความอลหม่านดว้ ยอาการต่าง ๆ ขน้ึ ในหมชู่ าวจิตตนครทง้ั หมด

บรรดาผทู้ ม่ี ตี วั เราตอ้ งบา่ ยหนา้ ไปสอู่ บายภมู ิ กต็ อ้ งสะดงุ้ ตกใจ
ร้องกรีดกราดด้วยความกลัวความพร่ันพรึงถึงตัวส่ันงันงกก็มี คล้าย
กับนักโทษที่ถูกน�ำตัวไปสู่ที่ประหารหรือท่ีทรมาน ส่วนบรรดาผู้ท่ีมี
ตวั เราบา่ ยหนา้ ไปสภู่ มู มิ นษุ ย์ กร็ สู้ กึ เปน็ ปกตหิ รอื ดใี จ ไปสภู่ มู ขิ องเทพ
ของพรหมในสวรรค์ ก็ปลื้มใจยินดีถึงกับกระโดดโลดเต้นด้วยความ
ดใี จกม็ ี อนั ทจี่ รงิ มใิ ชเ่ ปน็ สงิ่ แปลกประหลาด แตเ่ ปน็ กรรมนยิ ม หรอื
กรรมนยิ าม คอื ความกำ� หนดแน่แหง่ กรรมของทกุ ๆ คนท่ที �ำไว้แลว้
จงึ เปน็ ธรรมดาของกรรม มใิ ช่เปน็ ของผดิ ธรรมดาแตอ่ ยา่ งไร เหมือน
อย่างความแก่ ความเจ็บ ความตาย เปน็ ของธรรมดาของชีวติ ถา้ ใคร
เกิดมาแล้ว ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย น่ันแหละ จึงจะผดิ ธรรมดา

เมอื่ ปรากฏอาการตกใจหรอื ตนื่ เตน้ ขน้ึ ในหมชู่ าวจติ ตนครดงั นนั้
ครู่หน่ึงแล้ว คติข้างหน้าเหล่าน้ันก็หายไป ปรากฏเป็นภาพแห่งการ
กระทำ� กรรมต่าง ๆ ของตวั เราแต่ละคนปรากฏข้ึนอยา่ งจะแจง้ วา่ ตวั
เราได้ท�ำกรรมอะไรไว้แล้วบ้าง ได้ท�ำอกุศลกรรมไว้อย่างนี้ ๆ ได้ท�ำ

ÊÁà´ç¨¾ÃÐÞÒ³ÊѧÇà 301

กศุ ลกรรมไวอ้ ยา่ งน้ี ๆ เมอื่ นน้ั ๆ เมอื่ ทา� อกศุ ลกรรมไว้ จติ กเ็ ศรา้ หมอง
หน้าของตัวเราก็บ่ายไปสู่ทุคติ แต่เมื่อท�ากรรมดีไว้ จิตก็ผ่องใส
หนา้ กบ็ า่ ยไปสสู่ คุ ติ ชาวจติ ตนครจงึ เกดิ ความรรู้ บั รองขน้ึ วา่ ชาตหิ นา้ มี
และทุกคนจะต้องไปเกิดตามกรรม อกุศลกรรมท่ีท�าให้จิตใกล้ตาย
เศร้าหมอง น�าไปสู่ทุคติ ส่วนกุศลกรรมท่ีท�าให้จิตใกล้ตายผ่องใส
กน็ �าไปส่สู ุคติโดยแท้

กรรมจึงมีความส�าคัญย่ิงนัก ทุกคนควรจะได้พิจารณาอย่างดี
ทสี่ ดุ กอ่ นจะทา� กรรมทงั้ ปวง เพอื่ ใหส้ ามารถทา� แตก่ รรมดี เปน็ กศุ ลกรรม
ท่จี ะน�าไปสสู่ คุ ติ พ้นจากทคุ ติอนั เป็นแดนแหง่ ความทุกข์นอ้ ยใหญ่



ทุกคนสรา งหรือ
เปลย่ี นคติภายหนาของตนได

ครน้ั ชาวจติ ตนครเกดิ ความรรู้ บั รองในชาตหิ นา้ และในกรรมกบั
ผลกรรมดังน้ันแล้ว ภาพคติข้างหน้าที่ปรากฏให้เห็นก็ยังหลอนใจให้
กลัวว่าจะต้องไปแน่ หรือยังประทับใจให้ยินดีปรีดาว่าจะได้ไปแน่
แต่ในทันใดน้ัน คติข้างหน้าทั้งปวงนั้น ได้มาปรากฏขึ้นอีกครั้งหนึ่ง
และบรรดาตัวเรา ที่ลอยอยู่มากมายน้ัน มิได้หันหน้าไปสู่ภูมิที่ดีหรือ
ชั่วเหมือนอย่างครั้งก่อนเสียแล้ว บางตัวเราที่เคยหันหน้าไปสู่ภูมิดี
ในคร้ังก่อน กลับหันไปสู่ภูมิช่ัว แต่บางตัวเราเคยหันหน้าไปสู่ภูมิช่ัว
ในครง้ั กอ่ น กลบั หนั ไปสภู่ มู ดิ ี บางตวั เรากห็ นั หนา้ ไปเหมอื นอยา่ งครงั้
กอ่ นนน่ั แหละ จงึ เกดิ อาการอลหมา่ นตรงกนั ขา้ มขน้ึ ในหมชู่ าวจติ ตนคร
คนท่ีเคยเสียใจในคร้ังก่อนกลับดีใจ คนที่เคยดีใจในคร้ังก่อนกลับ
เสยี ใจ แตบ่ างคนกเ็ ปน็ เหมอื นอยา่ งครงั้ กอ่ น ทา� ไมถงึ เปน็ เชน่ นี้ กเ็ ปดิ
ปรากฏขนึ้ อกี เปน็ ภาพแหง่ การกระทา� กรรมขน้ึ ใหม่ เพราะยงั มชี วี ติ อยู่
ในโลก ยังไม่ตาย จึงยังต้องท�ากรรมต่าง ๆ อยู่ บางคนท�ากรรมช่ัว
ไวใ้ นคร้งั กอ่ น ๆ แต่ต่อมาท�ากรรมดีทตี่ รงกนั ขา้ ม บางคนท�ากรรมดี
ไวใ้ นครง้ั ก่อน แต่ต่อมาท�ากรรมช่ัวทตี่ รงกนั ข้าม บางคนกท็ �ากรรมดี

304

หรือช่ัวสม่�ำเสมอไป ปรากฏการณ์ครั้งหลังนี้ท�ำให้ชาวจิตตนครได้
ความรู้ส�ำนึกว่าคนท่ีเคยท�ำช่ัวไว้ ย่อมมีโอกาสกลับตัวได้ คือเม่ือมี
ความไม่ประมาท ละความช่ัวเสีย ท�ำความดีเมื่อใด ก็กลับตัวเป็น
คนดีเม่ือนั้น กลับตัวเป็นคนดีได้เม่ือใด ก็หันหน้าไปสู่คติดีเม่ือน้ัน
สว่ นคนทเี่ คยทำ� ดไี ว้ มามคี วามประมาทละความดเี สยี ไปทำ� ชวั่ กก็ ลาย
เป็นคนชั่ว และหนั หนา้ ไปสู่คติทชี่ ว่ั

ฉะนน้ั เมอื่ ยงั ไมต่ าย ยงั มชี วี ติ อยู่ ทกุ คนจงึ อาจสรา้ งหรอื เปลยี่ น
คตภิ ายหนา้ ของตนได้ ถา้ มีความประมาท ประพฤติพอกพนู ความชวั่
ร้ายเสียหายมากข้นึ ก็จะสรา้ งคติที่ชว่ั ภายหนา้ ขึ้น หรือเปล่ยี นคตทิ ่ีดี
เป็นคติที่ชั่ว แต่ถ้ามีความไม่ประมาท ประพฤติ พอกพูนคุณงาม
ความดีต่าง ๆ มากข้ึน ก็จะสร้างคติท่ีดีข้ึนภายหน้า หรือเปล่ียนคติ
ที่ช่ัวให้เป็นคติทีด่ ี

ขณะนั้นได้ปรากฏเสียงกระแสพระบรมพุทโธวาทดังขึ้นว่า
”ทุกคนทง้ั หญิง ชาย คฤหัสถ์ บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื ง ๆ ว่าเรา
มกี รรมเปน็ ของตน เราเปน็ ทายาทรบั ผลของกรรม มกี รรมเปน็ กำ� เนดิ
มกี รรมเปน็ เผา่ พนั ธ์ุ มกี รรมเปน็ ทอี่ าศยั เราจกั ทำ� กรรมอนั ใดไว้ ดหี รอื
ชว่ั จกั เปน็ ทายาทรบั ผลของกรรมนนั้ „ ”กรรม ยอ่ มจำ� แนกสตั วใ์ หเ้ ลว
และประณตี ตา่ ง ๆ กนั „ ”เรากลา่ วเจตนาวา่ เปน็ ตวั กรรม เพราะบคุ คล
มีเจตนาแล้ว จงึ ทำ� กรรมทางกาย วาจา และใจ„ ”กรรมชวั่ ทีบ่ คุ คลใด
ท�ำไว้แล้ว ย่อมละเสียได้ด้วยกุศล บุคคลน้ันย่อมส่องโลกน้ีให้สว่าง
เหมือนอย่างดวงจันทร์ท่ีพ้นจากหมอกฉะน้ัน„ ทุกคนพึงละกรรมช่ัว
ท�ำกรรมดีเถิด

สิน้ สงสัยในชาติและกรรม
ทั้ง ๓ กาล

ฝ่ายคูบ่ ารมีและมรรคบดี ครน้ั ไดแ้ สดงใหช้ าวจติ ตนครไดเ้ ห็น
ฤทธ์ิเป็นอัศจรรย์ของธาตุทั้งปวงในโลกน้ี และดักใจชาวจิตตนคร
ว่าคิดสงสัยอยู่ในอดีตอนาคตของตนเองแต่ละคน ว่าได้ท�ากรรม
อะไรไว้ และไดร้ บั ผลของกรรมที่ตนท�าไวอ้ ย่างไร โดยเฉพาะอนาคต
เบ้ืองหน้าของแต่ละคน ก็จะต้องเป็นไปตามกรรมที่ท�าไว้ในอดีตบ้าง
ในปัจจุบันนี้เองบ้าง และได้แสดงเน้นให้เห็นความส�าคัญของปัจจุบัน
วา่ อาจเปล่ยี นอนาคตของทุก ๆ คนได้ คอื ถา้ ในปัจจบุ ันนที้ า� ความช่วั
กจ็ ะเปลย่ี นอนาคตใหไ้ มด่ ไี ปได้ ถา้ ทา� ความดี กจ็ ะเปลย่ี นอนาคตใหด้ ี
ไดเ้ ชน่ เดียวกนั เมอื่ ชาวจติ ตนครมองเห็นอดตี อนาคต และปจั จุบัน
เกยี่ วเนอื่ งกนั ไปอยดู่ งั น้ี คลา้ ยกบั วนั วานนี้ พรงุ่ นี้ และวนั นี้ กส็ นิ้ ความ
สงสัยในอดีตชาติ ชาติน้ี และชาติหน้า และเร่ิมมองเห็นราง ๆ
ในกรรมและผลของกรรม

ขณะนั้นชาวจิตตนครก็เร่ิมสงสัยว่า ท�าไมหนอเราจึงต้องท�า
กรรมช่ัวท้ังท่ีรู้เห็นอยู่อย่างน้ี เราน่าจะท�าแต่กรรมดีหรือความดีแต่

306

อย่างเดียว ทันใดน้ันก็ปรากฏภาพของสมุนท้ังหลายของสมุทัยลอย
อยู่ในอากาศ เป็นต้นว่า โลโภ โทโส โมโห และคล้าย ๆ กับว่ามี
ภาพของสมุทัยแอบอยู่เบ้ืองหลัง ภาพของสมุทัยนั้นปรากฏออกมา
เป็น กามตัณหา ภวตัณหา วภิ วตณั หา อยา่ งราง ๆ คลุกเคลา้ อยู่ใน
อารมณ์ที่ลอยอยู่เต็มไปหมด และยังมีภาพท่ีเลือนรางยิ่งไปกว่านั้น
อยเู่ บือ้ งหลงั อีก คือเปน็ ภาพของคอู่ าสวะ แตจ่ างเต็มที

ขณะนั้นก็ปรากฏเสียงองค์พระบรมครูดังข้ึนอย่างชัดเจนว่า
”โลโภ โทโส โมโห เป็นอกุศลมูล คือรากเหง้าของอกุศล อันได้แก่
กรรมท่ีชั่วทั้งหลาย เพราะว่าบุคคลท่ีมีจิตใจถูกอกุศลมูลน้ีครอบง�า
เปน็ คนโลภแลว้ โกรธแลว้ หลงแลว้ กจ็ ะฆา่ เขาบา้ ง ลกั สงิ่ ของของเขา
บ้าง ประพฤติผิดทางกามบ้าง พดู เท็จหลอกลวงตัดประโยชน์เขาบา้ ง
ด่ืมน�า้ เมาเป็นฐานประมาทบ้าง และจะชกั ชวนคนอ่ืนให้กระทา� เช่นนน้ั
ฉะน้ัน ผู้ที่ปรารถนาจะละกรรมชั่ว ก็จงละอกุศลมูลทั้งปวงน้ีเสีย
อน่ึง อโลโภ อโทโส อโมโห คือความไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง เป็น
กุศลมูล คือรากเหง้าของกุศล อันได้แก่กรรมดีทั้งหลาย เพราะว่า
คนท่ีจิตไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง ก็จะไม่ประพฤติดังน้ัน และจะไม่
ชกั ชวนใครให้ท�าอยา่ งนนั้ แต่จะประกอบกรรมทีด่ ี เปน็ เครื่องเก้อื กูล
ให้เกดิ ความสขุ ฉะน้ัน ผูท้ ปี่ รารถนาจะทา� ความดี ก็จงอบรมกุศลมลู
ทง้ั ปวงนใี้ ห้เกดิ มีขนึ้ ในใจเถดิ „

กองทัพใหญ่มรรค
แสดงก�ำลงั

เม่ือส้ินพระสุรเสียงแห่งองค์พระบรมครู ก็เกิดความสงบข้ึน
ทว่ั จติ ตนครอยา่ งแปลกประหลาด ทฏิ ฐมิ านะในจติ ใจของชาวจติ ตนคร
ก็สงบลง บรรดาหัวโจกและสมุนท้ังหลายของสมุทัยท่ีถูกส่งให้เข้า
แทรกแซงอยู่ในหมู่ประชาชน ก็ต้องถอยหลบออกไป เพราะไม่อาจ
จะแทรกแซงอยู่ในที่สงบ แต่ก็คอยทีหาโอกาสอยู่ห่าง ๆ หากเกิด
ความไม่สงบข้นึ ก็จะว่งิ เข้าแทรกแซงทันที ครัน้ คูบ่ ารมีและมรรคบดี
เห็นว่าชาวจิตตนครท้ังปวงมีจิตสงบเรียบร้อย มีอาการทางกายวาจา
ส�ำรวมเรียบร้อย หัวโจกท้ังปวงของสมุทัยพร้อมท้ังสมุนท้ังหลาย
หลบถอยออกไปหา่ งไกล ดว้ ยอำ� นาจของอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ แ์ ละอาเทสนา-
ปาฏิหาริย์ ถึงเวลาท่ีจะแสดงก�ำลังแห่งกองทัพมรรคในฐานะเป็น
อนุสาสนีปาฏิหาริย์ได้แล้ว จึงสั่งกองทัพมรรคท่ีเตรียมพร้อมอยู่แล้ว
ใหเ้ ริม่ ออกเดนิ แสดงก�ำลัง

กองทพั มรรคจงึ ออกเดินโดยล�ำดบั ดงั นี้คือ

308

กองทพั น้อยท่ี ๑ สัมมาทิฏฐิ ความเหน็ ชอบ แบง่ ออกเป็นเหลา่
ทกุ ขญาณ (ความรใู้ นทกุ ข)์ เหลา่ สมทุ ยั ญาณ (ความรใู้ นเหตเุ กดิ ทกุ ข)์
เหลา่ นโิ รธญาณ (ความรู้ในความดับทกุ ข)์ เหลา่ มรรคญาณ (ความรู้
ในทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์) แต่ละเหล่าก็ยังแบ่งย่อยออกไป
อกี มาก

กองทพั นอ้ ยท่ี ๒ สัมมาสงั กัปปะ ความด�ำริชอบ แบง่ ออกเป็น
เหลา่ เนกขมั มสงั กปั ปะ (ความดำ� รอิ อกจากกาม) เหลา่ อพั ยาปาทสงั กปั ปะ
(ความด�ำริไม่พยาบาท) อวิหิงสาสังกัปปะ (ความดำ� ริไม่เบียดเบียน)
แตล่ ะเหล่าก็ยงั แบ่งยอ่ ยออกไปอกี มาก

กองทัพน้อยที่ ๓ สัมมาวาจา วาจาชอบ แบ่งออกเป็นเหล่า
มสุ าวาทา เวรมณี (เวน้ จากพูดเทจ็ ) เหลา่ ปิสณุ วาจา เวรมณี (เวน้ จาก
พูดส่อเสียด) เหล่าผรุสวาจา เวรมณี (เว้นจากพูดค�ำหยาบ) เหล่า
สัมผัปปลาปา เวรมณี (เว้นจากพูดเพ้อเจ้อ) แต่ละเหล่าก็ยังแบ่ง
ออกไปอกี มาก

กองทพั นอ้ ยที่ ๔ สัมมากมั มนั ตะ การงานชอบ แบ่งออกเปน็
เหล่าปาณาติปาตา เวรมณี (เว้นจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต) เหล่า
อทินนาทานา เวรมณี (เว้นจากถือเอาส่ิงของท่ีเจ้าของมิได้ให้ด้วยเจ
ตนาเปน็ ขโมย) เหล่ากาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี (เว้นจากประพฤติผดิ
ในกาม) แตล่ ะเหลา่ ยังแบง่ ยอ่ ยออกอกี มาก

กองทัพน้อยที่ ๕ สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีวิตชอบ แบ่งออกเป็น
เหล่ามิจฉาอาชีวปหานะ (เว้นจากอาชีพผิด) เหล่าสัมมาอาชีวกัปปะ
(ส�ำเรจ็ อาชพี ชอบ) แตล่ ะเหลา่ ยงั แบง่ ออกไปอีกมาก

สมเด็จพระญาณสังวร 309

ตอ่ จากกองทพั นอ้ ยที่ ๕ กม็ าถงึ กองทพั นอ้ ยท่ี ๖ สมั มาวายามะ
ความเพยี รชอบ แบง่ ออกเปน็ เหลา่ สงั วรปธาน (เพยี รระวงั บาปทย่ี งั ไม่
เกดิ มิให้เกดิ ขนึ้ ) เหลา่ ปหานปธาน (เพยี รละบาปท่ีเกิดขน้ึ แลว้ ) เหล่า
ภาวนาปธาน (เพยี รทำ� กศุ ลทยี่ งั ไมเ่ กดิ ใหเ้ กดิ ขนึ้ ) เหลา่ อนรุ กั ขนาปธาน
(เพียรรักษากุศลท่ีเกิดข้ึนแล้วให้ต้ังอยู่ และให้เจริญงอกงามมากขึ้น)
แตล่ ะเหล่ายงั แบ่งออกไปอีกมาก

กองทพั นอ้ ยท่ี ๗ สมั มาสติ ความระลกึ ชอบ แบง่ ออกเปน็ เหลา่
กายานปุ ัสสนาสติปฏั ฐาน (ต้งั สตพิ ิจารณากาย) เหล่าเวทนานุปสั สนา
สติปัฏฐาน (ตั้งสติพิจารณาเวทนา) เหล่าจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
(ต้ังสติพิจารณาจิต) เหล่าธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน (ตั้งสติพิจารณา
ธรรม) แตล่ ะเหลา่ ยงั แบ่งออกไปอกี มาก

กองทพั น้อยที่ ๘ สมั มาสมาธิ ความต้งั ใจม่ันชอบ แตล่ ะเหลา่
ยังแบ่งออกไปอีกมาก เป็นเหล่าปฐมฌาน (ความเพ่งท่ี ๑ ประกอบ
ดว้ ยวติ ก วจิ าร ปีติ สุข เอกัคคตา) เหลา่ ทุตยิ ฌาน (ความเพ่งท่ี ๒
ประกอบด้วยปีติ สุข เอกัคคตา) เหล่าตติยฌาน (ความเพ่งท่ี ๓
ประกอบดว้ ย สขุ เอกคั คตา) เหลา่ จตตุ ถฌาน (ความเพง่ ท่ี ๔ ประกอบ
ด้วยเอกัคคตา อเุ บกขา) แต่ละเหลา่ ยังแบ่งออกไปอกี มาก

คร้ันกองทัพใหญ่มรรค อันประกอบด้วยกองทัพน้อยท้ัง ๘
เดนิ แสดงกำ� ลังผา่ นไปโดยอนุโลม (ตามลำ� ดบั ) แล้ว กก็ ลบั เดินย้อน
กลับมาเป็นปฏิโลม (ทวนล�ำดับ) อีกครั้ง คือกองทัพน้อยที่ ๘
สมั มาสมาธิ ที่ ๗ สมั มาสติ ท่ี ๖ สมั มาวายามะ ขณะนน้ั มเี สยี งประกาศ

310

ว่า ๓ กองทัพน้อยนี้รวมเข้าในกองทัพพิเศษ จิตตสิกขา หรือ
สมาธิ ต่อจากนน้ั กองทัพนอ้ ยที่ ๕ สัมมาอาชวี ะ ท่ี ๔ สมั มากัมมันตะ
ที่ ๓ สัมมาวาจา ขณะนั้นมีเสียงประกาศว่า ๓ กองทัพน้อยนี้
รวมเข้าในกองทัพพิเศษ สีลสิกขา ต่อจากน้ันกองทัพน้อยที่ ๒
สมั มาสงั กปั ปะ ท่ี ๑ สมั มาทฏิ ฐิ ขณะนน้ั มเี สยี ง ประกาศวา่ ๒ กองทพั
นอ้ ยนีร้ วมเข้าในกองทพั พิเศษ ปญั ญาสกิ ขา

เมื่อกองทัพใหญ่มรรคแสดงก�าลังโดยอนุโลมและปฏิโลมแล้ว
ได้มีเสียงประกาศว่า จะมีการแสดงการแปรขบวนตามระบบที่ช่ือว่า
อนุปุพพปฏิปทา ความปฏิบัติหรือข้อปฏิบัติโดยล�าดับ คือ กองทัพ
พเิ ศษสลี สกิ ขา ประกอบดว้ ยสมั มาวาจา สมั มากมั มนั ตะ สมั มาอาชวี ะ
มีช่ือเรียกพิเศษว่า อาชีวมัฏฐกศีล (ศีล มีอาชีวะเป็นที่ ๘) คือ
สมั มาวาจา ๔ (ได้แก่ วริ ัตหิ รอื เวรมณีทางวาจา ๔) สมั มากัมมันตะ ๓
(ได้แก่ วิรัติหรือเวรมณีทางกาย ๓) สัมมาอาชีวะอีก ๑ รวมเป็น
๘ ขอ้ เป็นศลี ในอรยิ มรรค

การรักษาศีล ๘ ข้อในอริยมรรคดังกล่าว เป็นการบริหารจิต
ใหเ้ ปน็ อรยิ ศลี คือศลี ทเี่ จริญ ผู้ที่มาบรหิ ารจิตทัง้ หลาย จึงควรใสใ่ จ
ศึกษาให้เข้าใจศีลท้ัง ๘ ในอริยมรรคดังกล่าว และควรตั้งใจปฏิบัติ
รกั ษา ปฏบิ ตั ริ กั ษาไดเ้ พยี งไร จะเปน็ การบรหิ ารจติ ใหเ้ จรญิ ไดเ้ พยี งนน้ั

อนุปุพพปฏปิ ทา

ตอ่ จากนน้ั กองทพั พเิ ศษจติ ตสกิ ขา ประกอบดว้ ยสมั มาวายามะ
สมั มาสติ สมั มาสมาธิ ตอ่ จากนนั้ กองทพั พเิ ศษปญั ญาสกิ ขา ประกอบ
ด้วย สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ แล้วได้แสดงอนุปุพพปฏิปทาแห่ง
กองทัพมรรคแปรรูปในลักษณะต่าง ๆ เช่น ในธรรม นับต้ังแต่
หมวด ๑ หมวด ๒ ข้ึนไป จนถึงโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ
เป็นต้น กระจายออกไป ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แล้วสรุปลงใน
ลา� ดบั ธรรมดังต่อไปน้ี

ข้อท่ี ๑ ศีล แบ่งออกเป็นจุลศีล มหาศีล ต่าง ๆ มากมาย
อันเปน็ เหตใุ หไ้ ด้อนวชั ชสขุ (สุขอันเกดิ จากกรรมทีไ่ ม่มีโทษ)

ขอ้ ท่ี ๒ อนิ ทรียสังวร คือส�ารวมสิง่ ทเ่ี ปน็ ใหญใ่ นตวั เราน้ี คอื
ตาซึ่งเป็นใหญ่ในหน้าที่เห็นรูป หูในหน้าท่ีฟังเสียง จมูกในหน้าที่
ดมกลิ่น ล้ินในหน้าที่ล้ิมรส กายในหน้าท่ีถูกต้องสิ่งท่ีถูกต้อง และ
มนะคือใจในหน้าท่ีรูห้ นา้ ทค่ี ิด เรื่องทงั้ ๕ ดังกลา่ ว และเรอ่ื งที่ยังเกบ็

312

มารู้มาคิดต่าง ๆ ด้วยมีสติส�ำรวมระวังในเวลาที่ตาเห็นรูป เป็นต้น
และใจคิดเร่ืองต่าง ๆ มิให้อกุศลธรรมต่าง ๆ เกิดข้ึนและแล่นมาสู่
จติ อนั เปน็ เหตใุ หไ้ ดส้ ขุ ทเ่ี กดิ จากจติ ทไ่ี มร่ วั่ ไมเ่ ปยี กชมุ่ ดว้ ยความยนิ ดี
ยินรา้ ย

ข้อที่ ๓ สติสัมปชัญญะ คือมีสติสัมปชัญญะระลึกรู้ตัวอยู่
ในอิริยาบถ เดิน ยืน นั่ง นอน และในอิริยาบถเล็กน้อยท้ังปวง
อันเปน็ เหตุใหไ้ ด้สขุ ที่เกดิ จากความมสี ติสัมปชญั ญะ

ข้อที่ ๔ สันโดษ ยินดีด้วยของที่มีอยู่ของตน มีความอิ่ม
ความเต็ม ความพอ ไม่คิดโลภเพ่งเล็งทรัพย์หรือส่ิงของของผู้อ่ืน
เพราะเหตุที่ไม่อิ่มไม่พอ ถ้าบรรพชิตก็ยินดีเพียงพอแต่จีวรส�ำหรับ
บริหารกาย บิณฑบาตส�ำหรับท้อง เหมือนอย่างนกมีเพียงขนเป็น
ภาระ บินไปไหน ๆ ได้ตามปรารถนา อนั เปน็ เหตใุ ห้ไดส้ ขุ ทเี่ กดิ จาก
ความอ่ิมความพอ อนั เป็นทรพั ย์อย่างย่ิง

ขอ้ ท่ี ๕ จติ ตปริโสธนะ คอื เสพ คอื อยู่ในเสนาสนะ คอื ทน่ี อน
ทนี่ งั่ ท่อี ยู่อาศัย ทีว่ ่าง ที่สงัด หรอื อยู่ปา่ อยู่โคนไม้ อย่ภู เู ขา ล�ำธาร
ห้วยระแหง ท่ีสงบสงัด ต้ังสติละนิวรณ์คือกิเลสเครื่องกั้นจิตมิให้
สงบตงั้ มน่ั และมใิ หร้ ตู้ ามเปน็ จรงิ เชน่ กามฉนั ทะ (ความพอใจรกั ใคร่
ในกาม) อภิชฌา (ความโลภเพ่งเล็งไปถึงคนและวัตถุต่าง ๆ ด้วย
ความอยากได้เป็นสิทธิ์ของตน) พยาบาท (ความโกรธแค้นขัดเคือง)
มีจิตปราศจากอภิชฌาพยาบาท มีความเอ็นดูกรุณาคิดเก้ือกูลสัตว์
ท้ังปวงไม่เลือกหน้า และมีสติสัมปชัญญะ ท�ำอาโลกสัญญา (ความ

สมเด็จพระญาณสังวร 313

ส�ำคัญหมายว่า แสงสว่าง) ก�ำจัดความง่วง ความท้อแท้ ความคิด
ฟงุ้ ซา่ น มจี ติ สงบละความสงสยั ไมแ่ นใ่ จในกศุ ลธรรมทง้ั หลาย ตอ่ จาก
น้ันได้ปรากฏภาพอุปมาให้มองเห็น โดยภาพเปรียบเทียบว่าจิตที่
ปราศจากนิวรณ์มีความสุขเหมือนอะไรหรือเหมือนใคร เป็นภาพที่
ปรากฏชัดแจง้ ในอากาศทช่ี าวจติ ตนครมองเหน็ ทว่ั กนั

ภาพท่ีปรากฏในอากาศอันชาวจิตตนครมองเห็นท่ัวกันนั้น
ก็เช่นเดียวกับที่คู่บารมีได้แสดงแก่นครสามี และโยนิโสมนสิการ
ได้แสดงพากย์ประกอบว่า ”นิวรณ์ ๕ เหล่าน้ี ก็เปรียบเหมือน
ความเป็นหนี้ ความเป็นโรค ความต้องขังในเรือนจ�ำ ความเป็นทาส
และเดนิ ทางกนั ดาร สว่ นความพน้ จากนวิ รณ์ ๕ เหลา่ น้ี กเ็ หมอื นอยา่ ง
พน้ จากหนี้ พ้นจากโรค พน้ จากเรอื นจ�ำ พ้นจากความเปน็ ทาส มแี ต่
ความเป็นไทแกต่ น พ้นจากทางกนั ดาร บรรลถุ งึ ภูมิประเทศอันเกษม„
ครนั้ แล้วจึงถึง

ข้อที่ ๖ ฌาน สมาธิที่แน่วแน่ ทั้ง ๔ คือ (๑) ปฐมฌาน
เพราะเม่ือละนิวรณ์ท้ัง ๕ ได้ก็เกิดปราโมทย์ จิตท่ีเกิดปราโมทย์
ก็คือบันเทิงแล้วก็เกิดปีติ ใจที่มีปีติก็เกิดความสงบกาย (นามกาย)
จึงได้เสวยสุข เม่ือมีสุขจิตก็ตั้งมั่นเป็นสมาธิแน่วแน่เข้าข้ันปฐมฌาน
มีวิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตา (ความมียอดคืออารมณ์เป็น
อันเดียว) ท�ำให้ผู้ท่ีได้ฌานน้ีมีกาย (อาการทางใจ) ทั้งหมดเต็มไป
ด้วยปีติ สุข อันเกิดจากวิเวก (ความสงบสงัด) เหมือนอย่างผง
ส�ำหรบั อาบนำ้� หรือสำ� หรบั ฟอก (ปัจจบุ ันเช่นแฟ้บ) ทพ่ี รมนำ�้ ให้เปียก

314

ชุ่มทั้งหมด (๒) ทุติยฌาน มีปีติ สุข และเอกัคคตา ท�าให้ผู้ที่ได้
ฌานท่ี ๒ น้ีมีกายท้ังหมดเต็มไปด้วยปีติ สุข อันเกิดจากสมาธิ
เหมือนอย่างบ่อน้�าลึกมีน�้าพุผุดพุ่งขึ้นแล้วตกพรมลงไปท่ัวหมด (๓)
ตตยิ ฌาน มีสขุ และเอกคั คตา ทา� ให้ผู้ทีไ่ ด้ฌานที่ ๓ น้มี กี ายท้งั หมด
เต็มไปด้วยสุขท่ีไม่มีปีติ เหมือนอย่างดอกอุบลเป็นต้น ที่เกิดโตขึ้น
ในนา้� ชมุ่ นา�้ อยตู่ งั้ แตย่ อดถงึ โคนทง้ั หมด (๔) จตตุ ถฌาน มเี อกคั คตา
และอเุ บกขา ท�าใหผ้ ู้ทไี่ ดฌ้ านที่ ๔ นี้ มใี จบรสิ ุทธผ์ิ ่องแผ้วไปท่ัวกาย
น้ีท้ังหมด เหมอื นอย่างน่ังคลมุ ศีรษะด้วยผา้ ขาวโพลน

ภาพจิตที่ปรากฏด้วยอ�านาจการปฏิบัติธรรมของกองทัพมรรค
มีระดับต�่าสูงดังกล่าว และทุกระดับเป็นความสุขท้ังสิ้น ดังน้ัน
แม้ปรารถนาจะท�าความสุขให้เกิดข้ึนแก่จิตใจ ก็ต้องปฏิบัติธรรม
ดังกล่าวตามล�าดับ คือมีศีล มีอินทรียสังวร มีสติสัมปชัญญะ
มสี ันโดษ มจี ิตตปริโสธนะ และมีฌาน

ชาวจิตตนครถึงไตรสรณคมน์
เห็นสัจจะของสมุทยั

ภายในความสงบนั้น ชาวจิตตนครทั้งปวงได้มีจิตซาบซึ้งใน
พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ มีความผ่องใสของใจ
ซาบซ่านสงบอยู่ ทันใดน้ันก็มีเสียงที่เปล่งขึ้นกึกก้องในความสงบ
พร้อมกันเหมือนอย่างนัดซ้อมกันไว้ว่า นโม ตสฺส ภควโต อรหโต
สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ สสฺ ขอนอ้ มแดพ่ ระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้
พระองค์น้ัน พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ
(ทพ่ี ง่ึ ก�ำจดั ทกุ ขภ์ ยั ไดจ้ รงิ ) ธมมฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม
เปน็ สรณะ สงฆฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ ขา้ พเจา้ ถงึ พระสงฆเ์ ปน็ สรณะ ทตุ ยิ มปฺ ิ
พุทธฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ แม้วาระท่ี ๒ ข้าพเจา้ ถงึ พระพุทธเจา้ เปน็ สรณะ
ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ แม้วาระท่ี ๒ ข้าพเจ้าถึงพระธรรม
เป็นสรณะ ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ แม้วาระท่ี ๒ ข้าพเจ้าถึง
พระสงฆเ์ ปน็ สรณะ ตตยิ มปฺ ิ พทุ ธฺ ํ สรณํ คจฉฺ ามิ แมว้ าระที่ ๓ ขา้ พเจา้
ถงึ พระพทุ ธเจ้าเปน็ สรณะ ตติยมปฺ ิ ธมมฺ ํ สรณํ คจฺฉามิ แมว้ าระที่ ๓
ข้าพเจา้ ถึงพระธรรมเปน็ สรณะ ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฉฺ ามิ แมว้ าระ

316

ที่ ๓ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ และต่อจากน้ันก็ได้มีเสียงร้อง
ประกาศขึ้นในหมู่ชาวจิตตนครว่า ”สมุทัยเป็นทุกขสมุทัย เหตุให้
เกดิ ทกุ ข์ อาสวสมุทัย เหตุให้เกดิ อาสวะ คอื กเิ ลสท่ีดองสนั ดานสัตว์
หาใช่เป็นสขุ สมุทัย เหตใุ หเ้ กิดสขุ โดยแทจ้ รงิ ไม”่

ฝ่ายสมุทัยกับพรรคพวกซ่ึงต้องถอยออกไปห่างด้วยอานุภาพ
แห่งกองทัพมรรค เม่ือเหตุการณ์ผันแปรไปในทางเป็นประโยชน์
แก่กองทัพมรรคดังนั้น ก็มีความเสียใจมาก แต่ก็ยังมั่นใจในก�ำลัง
กองทัพสังโยชน์ของตนว่าจะเอาชนะกองทัพมรรค และจะสามารถ
ยึดจิตตนครไว้ได้จนถึงที่สุด คู่อาสวะก็ได้กล่าวปลุกปลอบใจสมุทัย
ใหเ้ ขม้ แข็งต่อสู้

ขณะนั้นสติกับอินทรียสังวรได้เข้าคุมทวารช้ันนอกชั้นในทั้ง ๖
อารมณ์กับนิวรณ์ได้คุมเชิงใกล้ ๆ ศีล วินัย และสุจริต ๓ ได้เข้า
คมุ ไตรทวารอีกส่วนหนงึ่ ทจุ ริต ๓ ไดค้ มุ เชงิ อยูใ่ กล้ ๆ หิริโอตตัปปะ
ได้เข้าตรวจตราเป็นนครบาล (ต�ำรวจ) หัวโจกท้ัง ๓ กับพรรคพวก
อันธพาลทั้งหลายได้คุมเชิงอยู่ใกล้ ๆ สติสัมปชัญญะคุมการจราจร
หรืออิริยาบถ อสติอสัมปชัญญะคุมเชิงอยู่ใกล้ ๆ สันโดษคุมการ
ปันส่วนทรัพย์สินเคร่ืองอุปโภคบริโภค อิจฉา โลภะ มัจฉริยะคุม
เชิงอยู่ใกล้ ๆ สัมมาทิฏฐิกับโยนิโสมนสิการและสัจจะคุมสมองเมือง
มจิ ฉาทฏิ ฐกิ บั อโยนโิ สมนสกิ ารและมายาคมุ เชงิ อยใู่ กล้ ๆ อปั ปมาทธรรม
คุมใจกลางเมือง ปมาทธรรมคมุ เชิงอย่ใู กล้ ๆ

ÊÁà´ç¨¾ÃÐÞÒ³ÊѧÇà 317

กองทพั มรรคไดค้ มุ ตรงบรเิ วณทช่ี มุ นมุ แสดงกา� ลงั คอื ตรงถนน
๔ แพร่งบรรจบกันกลางจิตตนครน้ันโดยไม่ยอมเขย้ือนก�าลังออกไป
ฝ่ายกองทัพสังโยชน์ก็ได้ชุมนุมคุมเชิงอยู่ไม่ไกลจากกองทัพมรรค
คบู่ ารมไี ดเ้ ขา้ กา� กบั นเิ วศสว่ นในของนครสามอี ยดู่ า้ นหนงึ่ และกระจาย
ก�าลังธรรมขันธ์ทั้งปวงออกตรวจตราดูแลจิตตนครทั่วไปในความ
ควบคุมของมรรคบดี คู่อาสวะก็เข้าก�ากับนิเวศส่วนในของนครสามี
อีกด้านหนึ่ง และกระจายก�าลังกิเลสตัณหาทั้งปวง ออกเผชิญหน้า
กับก�าลังธรรมขันธ์ทุกแห่งในความบังคับบัญชาทั่วไปของสมุทัยและ
สงั โยชนบดี ตา่ งระดมรวมกา� ลังเตม็ อตั ราทง้ั ๒ ฝา่ ย พรอ้ มท่จี ะเปิด
ฉากรบแย่งจิตตนครกัน ยังรอแต่จังหวะอันเหมาะเท่าน้ัน เป็นอันว่า
สงครามชิงจิตตนครจะเกิดข้ึนแน่นอน อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้เสียแล้ว
สถานการณก์ �าลังตงึ เครียดอยา่ งทส่ี ดุ

กองทัพ ๒ ฝ่ายที่พร้อมจะเข้าท�าสงครามกันนี้ ฝ่ายหนึ่งเป็น
ฝ่ายดี อีกฝ่ายหน่ึงเป็นฝ่ายช่ัว พูดง่าย ๆ ก็คืออ�านาจฝ่ายดีกับ
อา� นาจฝา่ ยไมด่ กี า� ลงั พยายามจะเขา้ ครองจติ ใจ ควรพจิ ารณาใหเ้ หน็ วา่
ควรจะยอมให้ฝ่ายไหนเข้าครอง ถ้ายอมให้ฝ่ายดีเข้าครอง ก็จะเป็น
คนดี มีความสุข ถ้ายอมให้ฝ่ายไม่ดีเข้าครอง ก็จะเป็นคนไม่ดี
มีความทุกข์ เพราะความดีย่อมให้ผลเป็นสุข ความไม่ดีย่อมให้ผล
เป็นทุกข์



จติ ตนครตงึ เครียดคับขันท่สี ดุ
โรงงานสงั กัดธาตุทง้ั ๕

ขณะทส่ี ถานการณท์ างทหารในจติ ตนครกา� ลงั ตงึ เครยี ดทส่ี ดุ นน้ั
สถานการณท์ างธรรมชาตทิ กุ อยา่ งของจติ ตนครกท็ วคี วามคบั ขนั ขน้ึ มา
อีกดว้ ย คอื จติ ตนครทเี่ ปน็ เมอื งมีภเู ขามหึมาวงลอ้ มเปน็ เหมอื นอย่าง
วงแหวน และคอ่ ย ๆ กลง้ิ เขา้ มาหาทงั้ ๔ ทศิ โดยรอบดงั กลา่ วในตอน
ทว่ี ่าด้วยเขาวงแหวนแลว้ นน้ั ไดก้ ล้งิ ใกล้เข้ามายิง่ ขึน้ และยงิ่ สูงเง่ือม
ง�้าจดฟ้าน่าสะพรึงกลัวยิ่งนัก ถ้าไม่หยุดกล้ิงเข้ามาก็น่ากลัวว่าจะกลิ้ง
เขา้ มาบดขยจี้ ติ ตนครทั้งสน้ิ ให้พนิ าศ ไมม่ ที างทจ่ี ะหลีกเลยี่ ง

ทั้งเมื่อภูเขาวงแหวนกระชับวงอันมหึมาสูงจดฟ้าเข้ามา อาการ
แปรปรวนของจติ ตนครเองกเ็ พม่ิ มากขนึ้ ธาตดุ นิ นา�้ ไฟ ลม กไ็ มป่ กติ
ถนน ๔ แพร่งของเมืองก็ช�ารุดทรุดพังจนเกือบเหลือที่จะซ่อม
ระบบสื่อสารชั้นนอกชั้นในทั้ง ๖ ก็ช�ารุด หัวหน้าของระบบส่ือสาร
ทงั้ ๖ กท็ รุ พลหยอ่ นกา� ลงั เรยี่ วแรง ไมว่ อ่ งไวกระฉบั กระเฉงเหมอื นเดมิ
โรงครัวของเมืองก็ช�ารุด ระบบขนส่งและคมนาคมทางท่อ ตลอดถึง
ระบบขับถ่ายทางท่อต่าง ๆ ทั่วเมือง ก็ทรุดโทรมลงทั่วไป โรงงาน

320

ต่าง ๆ ของเมืองก็เช่นเดียวกัน โรงงานต่าง ๆ เหล่าน้ีตั้งอยู่ท่ัว
จติ ตนคร ได้แก่ โรงงานเกสา (ทำ� ผม) โรงงานโลมา (ทำ� ขน) โรงงาน
นขา (ทำ� เลบ็ ) โรงงานทนั ตา (ทำ� ฟนั ) โรงงานตโจ (ทำ� หนงั ) โรงงานมงั สงั
(ท�ำเนื้อ) โรงงานนหารู (ท�ำเอ็น) โรงงานอัฏฐี (ท�ำกระดูก) โรงงาน
อัฏฐิมิญชัง (ท�ำเยื่อในกระดูก) โรงงานวักกัง (ท�ำไต) โรงงานหทยัง
(ท�ำหัวใจ) โรงงานยกนงั (ทำ� ตบั ) โรงงานกิโลมกงั (ท�ำพังผืด) โรงงาน
ปหิ กงั (ทำ� มา้ ม) โรงงานปปั ผาสงั (ทำ� ปอด) โรงงานอนั ตงั (ทำ� ไสใ้ หญ)่
โรงงานอันตคุณัง (ท�ำไส้เล็ก) โรงงานอุทริยัง (ท�ำอาหารใหม่)
โรงงานกรีสัง (ท�ำอาหารเก่า) โรงงานมัตถเกมัตถลุงคัง (ท�ำขมองใน
ขมองศีรษะ) โรงงานเหล่าน้ีสังกัดอยู่ในอธิบดีกรมโรงงานคนหน่ึง
ชื่อ อาโปธาตุ ยังมีโรงงานท�ำไฟอีกหลายโรง สังกัดอยู่ในอธิบดี
กรมโรงงานอีกคนหน่ึง ชื่อ เตโชธาตุ ยังมีโรงงานท�ำลมอีกหลายโรง
เชน่ โรงงานอสั สาสะปสั สาสะ (ทำ� ลมหายใจเขา้ ออก) สงั กดั อยใู่ นอธบิ ดี
กรมโรงงานอีกคนหนึ่ง ช่ือ วาโยธาตุ ยงั มโี รงงานท�ำอากาศ (ช่องวา่ ง
เช่น ท่อต่าง ๆ ซึง่ ต้องมีอยู่มากมาย) สังกดั อยู่ในอธบิ ดีกรมโรงงาน
อกี คนหนงึ่ ชอ่ื อากาศธาตุ โรงงานทงั้ ปวงนล้ี ว้ นชำ� รดุ ทรดุ โทรมทงั้ หมด
ทว่ั เมือง

ความเปลี่ยนแปลงช�ำรุดทรุดโทรมดังกล่าว คือความไม่เที่ยง
ย่อมเกิดข้ึนแก่ทุกคนทุกส่ิง ไม่มียกเว้น ผู้มาบริหารจิตคือผู้ก�ำลัง
พยายามจะท�ำใจของตนให้สามารถรับสภาพท่ีไม่เท่ียงได้อย่างไม่เกิด
ความยินดียินร้ายวุ่นวายจนเกินไป ท�ำได้เพียงไร ก็จะมีจิตใจสงบ
สบายโดยควรแกค่ วามปฏิบัตเิ พียงน้ัน

โรงงานเกา่ แกช่ �ำรดุ
ผลติ ของไม่ดีออกมา

โรงงานในจติ ตนครทงั้ หลายรวมเขา้ เฉพาะทส่ี ำ� คญั ๆ กม็ ากกวา่
๔๐ โรงงาน แต่ละโรงงงาน เดิมเมื่อยังใหม่ ๆ ก็ผลิตสิ่งต่าง ๆ
ออกมาได้อย่างดี ทั้งโดยคุณภาพและปริมาณ ชาวจิตตนคร มีส่ิง
ต่าง ๆ บริโภคอุปโภค เพ่ือด�ำรงชีวิตอยู่เป็นสุขและสนุกสบาย
ทั้งงดงามไปท่ัวเมือง ไม่มีส่ิงไรบกพร่อง เป็นสมัยที่สมุทัยสบายใจ
ท่ีสุด เพราะชาวเมืองพากันสนุกสบาย ดังท่ีฝ่ายคู่บารมีเรียกว่า
มัวเมา อยู่ในวัย ในความไม่มีโรค ในชีวิตและในความพรั่งพร้อม
ทงั้ ปวง ไมจ่ ำ� ตอ้ งสรา้ ง มายา อะไรขนึ้ ความพรง่ั พรอ้ มทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ ง
ในจิตตนครเองเป็นเคร่ืองท�ำให้ชาวจิตตนครพากันหลงระเริงยินดี
สมุทัยเพียงแต่คอยสร้างโรงภาพยนตร์ อารมณ์ ส่งเสริมความสุข
สนกุ สนานใหย้ ง่ิ ขนึ้ ทงั้ กลางวนั และกลางคนื ทง้ั สรา้ งสถานบำ� เรอบำ� รงุ
ต่าง ๆ เกล่ือนเกร่อทั่วไป คล้ายกับเมืองท่ีเรียกว่า ศิวิไลซ์ ทั้งปวง
ในปัจจบุ นั

322

แตต่ อ่ มาเมอ่ื โรงงานทง้ั หลายแกเ่ กา่ ชำ� รดุ ประกอบทงั้ ธรรมชาติ
แวดลอ้ มจติ ตนครปรากฏเปน็ ภเู ขาวงแหวนมหมึ ากระชบั เงอ้ื มงำ้� เขา้ มา
โดยรอบ และภายในจิตตนครเองก็มีอาการแปรปรวนทรุดโทรมลง
ทุกอยา่ ง ดงั กลา่ วมาโดยล�ำดบั โรงงานทงั้ หลายกพ็ ลอยย่ิงชำ� รุดและ
ลดจ�ำนวนและคุณภาพส่ิงท่ีผลิตออกมา ลงไปทุกที ปรากฏผลเป็น
ความไมเ่ พยี งพอไมง่ ดงามขน้ึ ทว่ั ไป ยกตวั อย่างเชน่

โรงงานเกสา (ท�ำผม) เดิมผลิตผมออกมามีสีงดงามด�ำสนิท
(ส�ำหรับชาวประเทศผมด�ำเช่นไทยเรา) และมีจ�ำนวนมากเพียงพอ
ปกส่วนศีรษะเมืองทั้งหมด แต่ต่อมาเม่ือโรงงานเก่าแก่ช�ำรุด ก็ผลิต
ผมออกมาไม่ได้สีเหมือนเดิม กลายเป็นสีขาวมากข้ึน จนถึงไม่อาจ
ผลิตเป็นสีด�ำได้ ออกมาเป็นสีขาวโพลนไปท้ังหมด ทั้งโดยมากไม่
เพียงพอที่จะใช้ ท�ำให้ศีรษะเมืองดูโล่งเตียนไปข้างหน้าบ้าง ข้างหลัง
บ้าง ตรงกลางบ้าง ข้าง ๆ บา้ ง บางทีก็โล่งเตยี นไปทงั้ หมด แปลวา่
ผลิตออกมาไม่ได้ หรือน้อยเต็มที เป็นเส้นละเอียดเล็กน้อยเกือบจะ
มองไมเ่ หน็ ดว้ ยตา ทำ� ใหส้ มทุ ยั ตอ้ งเขา้ มาทำ� มายาปดิ บงั ดว้ ยวธิ ตี า่ ง ๆ
เช่น ท�ำยาย้อมผมให้ใช้ เพื่อให้มองดูด�ำสนิทเหมือนอย่างไม่มีอะไร
เกิดข้ึน และสอนวิธีหวีส่วนที่มีมากไปปิดส่วนท่ีบกพร่อง หรือสร้าง
ผมปลอมขนึ้ สวม ทงั้ สอนวธิ ดี ดั แตง่ ตา่ ง ๆ ตอ่ สกู้ บั สจั จะของธรรมชาติ
อย่างเต็มที่

ÊÁà´ç¨¾ÃÐÞÒ³ÊѧÇà 323

โรงงานตโจ (ท�าหนงั ) ทแี รกผลิตหนังออกมาตึงเรียบเปลง่ ปลัง่
งดงาม เมอื่ เกา่ แก่ หนงั ทผี่ ลติ ออกมาหยอ่ นยน่ สคี ลา�้ หมอง สมทุ ยั สอน
วธิ ใี ชแ้ ปง้ สีตบแตง่ ต่าง ๆ จนถงึ ใช้วิธีผ่าตดั ดงึ ทหี่ ย่อนใหต้ ึง แต่เมื่อ
เก่าหนัก ๆ เข้า ถึงย่นเปน็ เกลียวกรา้ นหยาบเหลือทจี่ ะตบแตง่ สมทุ ัย
กแ็ นะน�าให้พอกแปง้ เขา้ ไวจ้ นเหมือนอย่างใช้ปูนโบกผนงั ตกึ หนักเขา้
สมุทัยก็เหลือก�าลังแก้ไข แต่ก็ยังบอกว่าไม่เป็นไร จะสร้างโรงตโจ
ให้ใหม่แทนโรงเก่านี้



สง่ิ ประกอบเปน จติ ตนคร
และระบบงาน

จิตตนครจ�าต้องอาศัยส่ิงท่ีผลิตขึ้นจากโรงงานทั้งปวงน้ี มา
ประกอบเป็นจิตตนครข้ึน ต้ังต้นแต่จุดแห่งชีวิตที่มองไม่เห็นด้วย
ตาเปล่า อันเรียกว่า กลละ หรือบางคนในปัจจุบันเรียกว่า เซลล์
จุดเริ่มต้นแห่งจิตตนครองค์พระบรมครูทรงเรียกว่า กลละ ดังกล่าว
และพระอาจารยผ์ ศู้ ษิ ยข์ องพระองคอ์ ธบิ ายวา่ ประมาณหยาดนา้� มนั งา
ที่ติดปลายด้ายท่ีฟั่นด้วยปลายขนทราย ๓ เส้น คือเป็นอย่างหยาด
น�้ามันงานิดหนึ่ง ส่วนทางวิชาการแพทย์ปัจจุบันแสดงว่า ประกอบ
ด้วยเซลล์ที่เล็กที่สุดซ่ึงไม่สามารถจะมองด้วยตาเปล่า ต้องใช้
กล้องจุลทรรศน์ส่องดู จึงจะเห็นว่ามีลักษณะเป็นของเหลวคล้ายวุ้น
อยา่ งเละ ๆ หรือแปง้ เปยี ก มีธาตุตา่ ง ๆ ผสมอย่หู ลายอย่าง

จติ ตนครประกอบดว้ ยเซลลเ์ ปน็ จา� นวนมาก และมกี ารแบง่ แยก
หนา้ ทอี่ อกเป็นหมวด ๆ เพ่อื ทา� หนา้ ท่ีหลายอย่างใหเ้ หมาะสม แตล่ ะ
หมวดรับผิดชอบแตกต่างกัน แต่ท�างานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
เซลลเ์ หล่านยี้ งั ประกอบกันขึน้ เป็นเน้อื และเน้ือต้งั แต่ ๒ ชนิดข้ึนไป

326

ประกอบกันขนึ้ เปน็ อวยั วะ เช่น กระเพาะอาหาร ลำ� ไส้ ตบั อวยั วะท่ี
ท�ำหน้าที่รวมกันหรือเกี่ยวเนื่องกันหลายอวัยวะ จะรวมกันเข้าเป็น
ระบบ ตามหนา้ ที่ของแตล่ ะชนิด ทัง้ หมดมี ๙ ระบบ คือ

๑. ระบบโครงกระดกู มีหน้าทเ่ี ป็นโครงร่าง เป็นตน้ มจี �ำนวน
๒๐๖ ช้ิน (แพทย์โบราณในลังกานับได้ ๓๐๐ ท่อน) ส่วนเด็กใน
ครรภจ์ ะมปี ระมาณ ๘๐๐ ช้ิน เพราะกระดกู ยงั ไม่ตอ่ กัน

๒. ระบบกล้ามเน้ือ มีคุณสมบัติหดตัวยืดตัวหรือหย่อนตัว
คล้ายยาง เปน็ ตน้

๓. ระบบประสาท มีหนา้ ท่คี วบคุมหน้าทต่ี ่าง ๆ ของจิตตนคร
ให้ปฏิบัติและประสานงานกัน ควบคุมความคิดและความประพฤติ
ท�ำให้เห็นได้ ให้ได้ยินได้ ให้พูดได้ ให้เคลื่อนไหวได้ ควบคุมหน้าที่
ของอวัยวะภายในให้ด�ำเนินไปโดยปกติ รับความรู้สึกต่าง ๆ จาก
ภายนอกโดยรอบ และบอกไดว้ า่ สง่ิ นนั้ เปน็ อะไร ควรจะจดั การปฏบิ ตั ิ
อย่างไรตอ่ สง่ิ เหล่านั้น

๔. ระบบการไหลเวียนของโลหิตและน้�ำเหลือง ประกอบด้วย
หัวใจ หลอดเลอื ด และเลอื ด เพ่อื ไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของจติ ตนคร

๕. ระบบหายใจ ประกอบกับอวยั วะทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั การหายใจ
ไดแ้ ก่ จมูก ชอ่ งจมูก ปอด โครงกระดกู กระบังลม และกลา้ มเน้อื
อน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วกบั การหายใจ เพอ่ื ใหม้ กี ารแลกเปลยี่ นแกส๊ ระหวา่ งโลหติ
กับอากาศ โดยรับเอาออกซิเจนเข้าไว้ ถ่ายเอาคาร์บอนไดออกไซด์
ออกมา ชว่ ยทำ� ให้ความร้อนอยู่ในระดบั ปกติ เป็นตน้

ÊÁà´ç¨¾ÃÐÞÒ³ÊѧÇà 327

ในเวลาหายใจเข้าชอ่ งอกจะขยายโตข้นึ ทุก ๆ ทาง ทงั้ ด้านหน้า
ดา้ นหลัง และดา้ นข้าง ๆ โดยรอบ กลา้ มเนอื้ บางส่วนหดตวั ซโ่ี ครง
ยกขึ้น ท้องยื่นออก ปอดพองโต โดยช่องอกขยายใหญ่ข้ึน อากาศ
ก็จะผ่านเข้าไป เวลาหายใจออกช่องอกจะแคบลง โดยกล้ามเนื้อ
บางส่วนหย่อนตัวลง ท�าให้ซี่โครงกลับลงมาท่ีเดิม และกระบังลม
หยอ่ นตัวดนั ขึ้นมาในชอ่ งอก โดยกลา้ มเนอ้ื หนา้ ทอ้ งหดตวั ดนั อากาศ
ใหอ้ อกจากปอด

ท่ีกล่าวมาแล้วท้ังหมด เพื่อแสดงให้เห็นว่าโรงงานทั้งปวงใน
จิตตนครมีความจ�าเป็นแก่จิตตนครเพียงไร อนิจจังคือความไม่เท่ียง
ทง้ั หลายของจติ ตนครเกดิ จากโรงงานเปน็ ตน้ เหตทุ ง้ั สน้ิ เมอื่ โรงงานเอง
ก็ไม่เที่ยง คือแปรเปล่ียนจากใหม่เป็นเก่า จากแข็งแรงเป็นช�ารุด
ทรุดโทรม สิ่งที่โรงงานผลิตข้ึนก็ย่อมต้องเส่ือมคุณภาพไปด้วย คือ
ย่อมไม่เที่ยงไปด้วย และความไม่เที่ยงน้ีจะแก้ให้กลับเป็นเที่ยงหา
ได้ไม่ วิธีจะรับความไม่เท่ียงที่ถูกต้องสมควรท่ีสุด จึงไม่ใช่อยู่ท่ี
พยายามใช้วิธีของสมุทัยเข้าปกปิดแก้ไข แต่ต้องอบรมปัญญาให้เกิด
ใหต้ ระหนกั ในความจรงิ วา่ นน้ั เปน็ สง่ิ ไมเ่ ทยี่ ง ตอ้ งแปรปรวนเปลยี่ นแปลง
ไปเปน็ ธรรมดา



ระบบงาน (ต่อ)
และพยาธิภัยเกิดผสม

๖. ระบบย่อยอาหารและถ่ายเท ประกอบด้วยหลอดจากปาก
ลงไป และอวัยวะต่าง ๆ เช่น ลิ้น ต่อมน�้าลาย มีหน้าที่เก่ียวกับ
การย่อยอาหาร ดดู อาหารเข้าไป และช่วยระบายอาหารออกดว้ ย

๗. ระบบขบั ถา่ ยปสั สาวะ ประกอบดว้ ยอวยั วะในระบบขบั ถา่ ย
ทั้งปวง มไี ต เปน็ ต้น

๘. ระบบสบื พันธ์หุ รอื ระบบสรา้ งเมืองใหมแ่ ห่งจติ ตนคร
๙. ระบบต่อมไร้ท่อ ประกอบไปด้วยต่อมต่าง ๆ ซึ่งฉีดสิ่งท่ี
ตนสร้างข้ึน เรียกว่า ”ฮอร์โมน„ เข้าสู่เส้นโลหิตโดยตรง และไม่มี
ท่อของตัวเอง สิ่งท่ีฉีดเข้าไปนี้มีหน้าที่ควบคุมส่งเสริมและสัมพันธ์
กับการทา� งานในรา่ งกายใหเ้ ป็นไปโดยปกติ
ระบบท้ัง ๙ นี้ต้องอาศัยส่ิงท่ีผลิตจากโรงงานในจิตตนครมา
ประกอบขนึ้ เมอ่ื โรงงานเกา่ แกช่ า� รดุ ระบบเหลา่ นกี้ พ็ ลอยชา� รดุ ไมอ่ าจ
ปฏิบัติหน้าท่ีให้สมบูรณ์ได้ ปรากฏความบกพร่องชัดเจนขึ้นทุกที

330

ธาตุทั้ง ๕ ผู้เป็นอธิบดีกรมโรงงานได้ร่วมกันปรับปรุงแก้ไขเต็มที่
ก็ไม่สามารถจะแก้ไขให้ดีข้ึนได้เหมือนอย่างเดิม พอปะทะปะทังไป
ซ้�ำยังแถมเกิดภัยขึ้นอีกชนิดหนึ่ง ชาวจิตตนครเรียกว่า พยาธิภัย
มีเฉพาะในจติ ตนครเท่านนั้

อันที่จริงภัยนี้เกิดข้ึนอยู่เสมอ แต่เมื่อจิตตนครยังดี ภูเขา
วงแหวนยังล้อมอยู่ไกล ยังไม่มีอาการแปรปรวนภายใน โรงงาน
ทั้งหลายก็ยังท�ำงานผลิตส่ิงทั้งหลายป้อนระบบงานในจิตตนครอยู่
อยา่ งดี พยาธภิ ยั ทเี่ กดิ ขน้ึ เปน็ ครงั้ คราวกไ็ มท่ ำ� ใหจ้ ติ ตนครตอ้ งลำ� บาก
อะไรนกั ทง้ั ระบบการรกั ษาพยาบาลกด็ ขี น้ึ มาก ครนั้ จติ ตนครโทรมลง
มีภูเขามหึมาวงรัดเข้ามาใกล้พยาธิภัยก็พลอยเกิดผสมรุนแรงขึ้น
ทั่วไป ธาตุทั้ง ๕ เป็นหัวหน้าโรงงานใหญ่ เคยหัวเราะเยาะพยาธิภัย
เพราะทะนงในความแข็งแรงทะมัดทะแมงของตนว่าพยาธิภัยท�ำอะไร
ไม่ได้ บัดน้ีหัวเราะไม่ออกเสียแล้ว ต้องป่วยเจ็บลงเพราะพยาธิภัย
นครสามรี บี สง่ แพทยห์ ลวงไปรกั ษา กพ็ อไดผ้ ลขน้ึ บา้ ง แตก่ ไ็ มม่ กี ำ� ลงั
ที่จะปฏิบัติหน้าที่ได้เต็มที่เหมือนแต่ก่อน จิตตนครได้กลายเป็น
นครแหง่ อันตรายใหญ่ ท่จี ะเกดิ ขึ้นอยา่ งชดั เจนแน่นอนแล้ว

ฝ่ายนครสามีพร้อมด้วยชาวเมืองทั้งปวง ได้มองเห็นอันตราย
ท่ีคืบคลานเข้ามาใกล้โดยรอบ ท้ังกองทัพทั้ง ๒ ฝ่ายก็ก�ำลังประชิด
กันอยู่ การสัประยุทธ์จะเกิดข้ึนเมื่อไรก็ได้ ได้มีความสะพร่ันพรึง
ตกใจ มองหาทพี่ งึ่ ปอ้ งกนั อนั ตราย สมทุ ยั เองกไ็ ดแ้ ลเหน็ ภยั ธรรมชาติ
ดังกล่าว ซึ่งพ้นอ�ำนาจของสมุทัยจะครอบง�ำได้ คือไม่มีอ�ำนาจจะไป
ผลักก้นั ภูเขาวงรอบจติ ตนครใหถ้ อยกลับไปได้ ไมม่ อี �ำนาจท่จี ะแก้ไข

ÊÁà´ç¨¾ÃÐÞÒ³ÊѧÇà 331

ความช�ารดุ ทรดุ โทรมภายในจิตตนคร ทัง้ ไมส่ ามารถป้องกนั พยาธิภยั
สมุทัยเก่งกาจในทางใช้มายาต่าง ๆ ปกปิดอ�าพรางมิให้สัจจะปรากฏ
แก่ตา ใช้อารมณ์อ�าพรางใจมิให้คิดเห็น เพราะสิ่งที่สมุทัยกลัวอย่าง
ทส่ี ุดกค็ ือ สัจจะ ความจริง และสงิ่ ทีก่ ลัวนไี้ ด้ปรากฏขนึ้ อยา่ งไม่อาจ
จะปกปิดอ�าพรางได้เสยี แลว้

การบรหิ ารจติ ทใี่ หผ้ ลเตม็ ท่ี คอื การบรหิ ารจติ ใหส้ ามารถยอมรบั
สจั จะความจรงิ โดยไมห่ วาดกลวั เปน็ ตน้ วา่ การยอมรบั วา่ ทกุ สง่ิ ไมเ่ ทยี่ ง
รา่ งกายนี้ก็ไมเ่ ท่ียง จักไมเ่ ปน็ หนมุ่ เป็นสาวอยไู่ ดต้ ลอดไป แต่จกั ต้อง
แปรปรวนเปล่ียนแปลง แก่เฒ่าเปน็ ธรรมดา การต่อต้านด้วยวธิ ใี ด ๆ
กต็ าม จกั ไมเ่ กดิ ผลไดจ้ รงิ หนทางเดยี วทค่ี วรทา� อยา่ งยง่ิ คอื แลใหเ้ หน็
สัจจะความจริง


Click to View FlipBook Version