The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติและการอบรมธัมมะของ พระอาจารย์ทองรัตน์ กนฺตสีโล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-07-11 22:01:16

ประวัติและการอบรมธัมมะของ พระอาจารย์ทองรัตน์ กนฺตสีโล

ประวัติและการอบรมธัมมะของ พระอาจารย์ทองรัตน์ กนฺตสีโล

Keywords: ประวัติและการอบรมธัมมะของ พระอาจารย์ทองรัตน์ กนฺตสีโล

ประวตั แิ ละการอบรมธัมมะของ

พระอาจารยทองรตั น กนตฺ สีโล

โดย

หลวงพอเทยี บ ถริ ธมฺโม (ถริ วฒั น)

วัดบุญญาวาส อ.บอ ทอง จ.ชลบรุ ี

ประวตั ิและการอบรมธัมมะของ
พระอาจารยท์ องรัตน์ กนตฺ สีโล
โดย หลวงพอ่ เทียบ ถิรธมโฺ ม (ถริ วฒั น)์

พิมพครั้งท่ี ๑ : เมษายน ๒๕๖๕
จํานวน : ๒,๐๐๐ เลม
ผจู ัดพมิ พ : คณะศษิ ยานศุ ษิ ย

พิมพเ พอื่ แจกเปนธรรมทาน
ไมอ นญุ าตใหจําหนา ย

พิมพท ี่ : บริษัท ศลิ ปส ยามบรรจุภัณฑและการพิมพ จํากัด
๖๑ ซ.เพชรเกษม ๖๙ ถ.เลียบคลองภาษเี จรญิ ฝง เหนือ
เขตหนองแขม กรุงเทพฯ ๑๐๑๖๐
Tel. ๐-๒๔๔๔-๓๓๕๑-๒ Fax. ๐-๒๔๔๔-๐๐๗๘
E-mail: [email protected]

พระอาจารย์ทองรัตน์ กนฺตสีโล

วดั ปามณรี ัตน (บา นคุม) อ.สาํ โรง จ.อบุ ลราชธานี

หลวงพอ่ เทียบ ถริ ธมโฺ ม
ถา่ ยภาพค่กู ับ

พระอาจารยอ์ คั รเดช (ตน๋ั ) ถริ จติ โฺ ต

ประวัติสงั เขป

หลวงพอเทียบ ถิรธมโฺ ม

วัดบญุ ญาวาส อ.บอ ทอง จ.ชลบรุ ี

หลวงพอเทียบ ถิรธมโฺ ม (ถริ วฒั น), โยมพอ ของ
พระอาจารยต น๋ั (พระอคั รเดช ถริ จติ โฺ ต), วดั บญุ ญาวาส,
บอ ทอง, ชลบรุ ี เกดิ เม่ือ ๒๙ กมุ ภาพันธ พ.ศ. ๒๔๖๖

ชีวิตสมัยเปนฆราวาส หลวงพอเทียบ เจริญทั้ง
ทางโลกและทางธรรม ในทางโลก ทานเปนนักเรียน
เรียนดี ไดรับทุนการศกึ ษามาตลอด แมเม่ือจบมัธยม
ปท ี่ ๖ ทานไดเหรียญทองเรยี นดี

ประวตั แิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรตั น กนตฺ สโี ล ๕

ทานจบวิศวะและทํางานที่ บ.ปูนซีเมนตไทย,
ทา หลวง ตอ มา บรษิ ทั ฯ ใหท นุ ไปศกึ ษาวชิ าโลหะวทิ ยา
และวิชาหลอมโลหะในยุโรป รวมหกประเทศดวยกัน
นับเปน รากฐานสาํ คัญทางโลหะวิทยาในบานเรา

ในทางธรรม ทา นไดร บั การอบรมสงั่ สอนใหย ดึ มน่ั
ในทางธรรม, ประพฤตดิ ี ประพฤตชิ อบ สบื สายสมั พนั ธ
จากโยมพอของทาน (ปูเ ดช ถริ วัฒน) ซ่ึงเปนชาวอุบล
และยึดม่ันในธรรมทุกขณะ แมเม่ือปูเดชเสียชีวิตลง
ทานสิ้นใจในขณะนอนพนมมอื สวดโพชฌงค ๗

หลวงพอ เทยี บ ถริ ธมโฺ ม บวชกบั หลวงปทู องรตั น
กนตฺ สโี ล (ลกู ศษิ ยอ าวโุ สของทา นหลวงปมู นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต,
วัดปาบานคุม อุบลราชธานี) ต้ังแตกอนแตงงานกับ
โยมแมท า นอาจารยตัน๋ (คุณจําเนียรพันธ เฟอ งทอง)

บันทึกธรรมท่ีหลวงพอเทียบ ถิรธมฺโม มาจาก
เหตกุ ารณท หี่ ลวงพอ เคยบวชกบั ทา นอาจารยท องรตั น
และตอมาทานไดถวายบันทึกนี้ตอพระเถราจารย
อาวุโสแหง วดั ปาหนองพง ในป พ.ศ. ๒๕๔๓

๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

บนั ทึกฉบบั นี้ ทา นพระอาจารยต น๋ั เกบ็ ไวอ ยา งดี
ณ วัดบุญญาวาส และเม่ือคณะศิษยไดอานดูพบวา
มีคาควรพิมพเก็บรักษาไว เพราะจะเปนประโยชนยิ่ง
ตอ พระภกิ ษสุ งฆแ ละชนทว่ั ไป เพอื่ รวู า สมยั นน้ั พระปา
ทานม่ันคงในธรรมวินัยและเคารพอาวุโส ภันเต
อยา งไร

หากพจิ ารณาแลว เชอ่ื วา รอ งรอยของธรรมจนถงึ
กรรมสมั พนั ธข องภพชาตยิ อมมจี รงิ เราจึงไดม ีโอกาส
กราบพทุ ธ ธรรม สงฆ ณ วัดบญุ ญาวาสสบื มา

ในครั้งหนึ่งทานอาจารยต๋ันเคยเลาวา “โยมพอ
ทานสอนใหเมตตาผูอ่ืนเสมอ เรามีความคิดและ
จิตใจท่ีไมเหมือนเด็กในวัยเดียวกัน ส่ิงที่จําขึ้นใจคือ
ตอนเด็กๆ พอ สอนวา ถาไปเลน บา นเพอ่ื น แมแ ตเ ขม็
เลม เดยี วก็หามหยิบของเขามา ตอนเปน เดก็ ชอบเอา
เครอ่ื งมอื ชา งของพอ มาเลน กนั แลว วางไมเ ปน ระเบยี บ
พอ สอนวา ถา หยบิ ของมาจากทไี่ หน ใหไ ปวางไวท เ่ี ดมิ
คนทจี่ ะใชข องนั้นจะไดหยบิ ไปใชไ ด”

ประวัติและการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรัตน กนตฺ สโี ล ๗

เรื่องราวตางๆ ท่ีปรากฎในหนังสือเลมนี้ ไมวา
จะเปนบันทึกของหลวงพอเทียบ ถิรธมฺโม หรือ
บางขอความซ่ึงคัดลอกจากหนังสือประวัติทาน
พระอาจารยต น๋ั ถริ จติ โฺ ต ก็ตามลว นเปนส่งิ มีคา ยิ่งตอ
การจดจํา และเกบ็ รกั ษาเปนมรดกธรรมตอไป

ความบกพรองดวยใดๆ ก็ดีในการจัดทํา หากมี
ขอ ผิดพลาดประการใด ผูจ ดั ทําขอนอมรบั ทุกประการ
และบุญกุศลใดๆ หากบังเกิดข้ึน ขอนอมถวายเปน
อาจารยิ บูชาตอ พอแมค รูอาจารยท กุ ๆ พระองค

๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

สารบญั

 ประวัตสิ ังเขป หลวงพอ เทยี บ ถิรธมโฺ ม ๕

 ระลึกถึงบญุ คณุ ของบิดา ๑๑

 ประวัตแิ ละการอบรมธัมมะของ ๑๕
พระอาจารยทองรัตน กนฺตสีโล

 เพิ่มเติมประวตั ิ ๔๑
พระอาจารยท องรตั น กนฺตสีโล

 ประวัติและการอบรมธมั มะของ ๖๓
พระอาจารยทองรัตน กนฺตสีโล
(ตนฉบับลายมอื )

 โอวาทธรรม
หลวงปคู รูบาจารยเฒา ทองรัตน กนตฺ สีโล
(คดั จากหนงั สอื มณรี ตั น อญั มณีแหงไพรสณฑ) ๘๙

ประวตั แิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรัตน กนฺตสโี ล ๙

“นับแตน เ้ี ปน ตน ไป
ความทกุ ขอนั ใดที่จะเกดิ ข้ึนในจิตใจ
ของพอ เรา เราจะขอรับไวท้งั หมด

เราจะไมท ําใหท า นทุกขใจ
ไมสบายใจเพราะเรา”

พระอาจารย์อคั รเดช (ตนั๋ ) ถริ จติ ฺโต

๑๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ระลกึ ถึงบญุ คณุ ของบิดา

ตอ จากนเี้ ราขอกลา วถงึ ในสว นทเ่ี กย่ี วกบั การบวช
ของโยมพอ เทยี บ ในป พ.ศ. ๒๕๓๑ เราระลกึ ถงึ พระคณุ
ของโยมพอ เราคดิ วา เราไมม โี อกาสไดต อบแทนบญุ คณุ
ทานทางดานวัตถุส่ิงของและความสะดวกสบาย
ภายนอก เราจึงคิดวาอยากจะตอบแทนพระคุณ
ของทานในทางธรรม เราจึงเขียนจดหมายไปชวน
ทานมาบวชในพระบวรพุทธศาสนา ทานเห็นดีดวย
และตอบตกลง เราไดเ ตรยี มบรขิ ารสาํ หรบั การบวชของ
ทานไวพรอมแลว

เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ โยมพอ ไดมาบวช
เปน ผาขาว อุปสมบทเปนพระภกิ ษุ ที่วดั หนองปาพง
เม่ือวันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๑ และไดมาอยู

ประวตั ิและการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรตั น กนตฺ สีโล ๑๑

ปฏิบัติภาวนากับเราที่สํานักสงฆสุภัททะบรรพต
จ.ระยอง จนถงึ ป พ.ศ. ๒๕๓๓ ทเี่ ราออกวเิ วกไปภาวนา
ท่ีเขาใหญ เราไดฝากหลวงพอเทียบไวที่สํานักสงฆ
สุภัททะบรรพต จ.ระยอง ตอมาเม่ือเรามาวิเวก
พักภาวนาอยูรูปเดียวที่ปาบานคลองใหญแหงน้ี
หลวงพอไมรูวาเราอยูท่ีไหน จึงไดติดตอโยมแจงผาน
มาถึงเราวา จะขอข้ึนไปภาวนาที่อีสาน แตเราคิดวา
ไมอยากใหทานไปไกล เพราะทานอายุมากแลว
จึงชวนทานมาอยูภาวนากับเราท่ีน่ี เราจะไดมีโอกาส
ดูแลทานไดเต็มที่ หลวงพอเทียบจึงไดมาอยูภาวนา
กับเราท่ีวัดบุญญาวาสแหงน้ี และเราก็ไดมีโอกาส
ตอบแทนทานทางธรรม

ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ หลวงพอเทียบ
ปว ยเปน มะเรง็ ตบั ออ น ขน้ั ท่ี ๔ หมอวา รกั ษาไมไ ดแ ลว
คงอยูไดไมเกิน ๓ เดือน ทานมรณภาพในวันท่ี ๒๑
พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๖ อายุ ๘๐ ป พรรษา ๑๖
เราถวายเพลิงศพทา นในวนั ที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๔๖

๑๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ตั้งแตเราเกิดข้ึนมาจนถึงบัดนี้เทาท่ีเราจําได
เราไมเคยเถียงพอแมแตเพียงประโยคเดียว เราจําได
วันหน่ึงพอกลับจากที่ทํางานตางจังหวัดมาท่ีบานใน
กรุงเทพฯ รุงเชาเราพบพอ พอถามถึงพ่ีชายวาเมื่อ
คืนกลับมานอนท่ีบานหรือเปลา เราตอบทานวา
“พไ่ี มไดกลับบา น คงจะนอนทบ่ี า นเพือ่ น” พอบอกวา
“รูไหม พอนอนไมหลับท้ังคืน” เราคิดวาพอคง
เปนหว งลกู มคี วามกังวลใจจนนอนไมห ลบั เราจงึ พดู
ขึ้นในใจวา “นับแตน้ีเปนตนไป ความทุกขอันใดท่ี
จะเกิดข้ึนในจิตใจของพอเรา เราจะขอรับไวท้ังหมด
เราจะไมทาํ ใหทานทุกขใจไมสบายใจเพราะเรา”

นบั แตนนั้ มา พอตองการอะไร เราจะเชอื่ ฟงทาน
ทงั้ หมดทุกอยา ง บางคร้งั เราอยากจะไปเท่ียว ถา พอ
ไมใหไป เราก็เชื่อฟงทาน แมเราอยากจะไป เราก็
อดทนไมไปเพ่ือใหพอสบายใจ ในชาติน้ีเราคิดวา
เราไดตอบแทนบุญคณุ ทา นหมดแลว

พระอาจารย์ต๋ัน (อัครเดช) ถิรจิตโฺ ต
จากหนังสือ พระถิรจิตฺโต หลวงพออัครเดช

ประวัตแิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๑๓

๑๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ประวตั ิและการอบรมธมั มะของ

พระอาจารยทองรัตน กนตฺ สีโล

โดย

หลวงพอ เทียบ ถิรธมฺโม (ถริ วัฒน)

วดั บุญญาวาส อ.บอทอง จ.ชลบุรี

ประวตั แิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยทองรตั น กนตฺ สีโล ๑๕

“ผมู ีความเพยี ร
ไมเกยี จครา นท้ังกลางวันกลางคนื

อยูดว ยความไมประมาท
ยอ มเปนผเู จรญิ ในธรรม”
พระอาจารย์ทองรตั น์ กนตฺ สโี ล

๑๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

สาํ นกั สงฆบ ญุ ญาวาส
หมู ๘ ต.คลองใหญ
อ.บอ ทอง จ.ชลบรุ ี

๓๑ มีนาคม ๒๕๔๓

ประวตั แิ ละการอบรมธมั มะของ
พระอาจารยทองรตั น กนตฺ สีโล

๑. ประวัตขิ องพระอาจารยทองรัตน

เกี่ยวกับประวัติของทาน ผมไมทราบมากนัก
ทราบเพยี งเลก็ นอยเทานนั้ คุณยายของผม แมช แี กว
ธานี บอกวา อาจารยทองรัตนเปนชาวบานทาโคม
อายุออนกวาโยมบิดาผม ๕ ป นายเดช ถิรวัตน
โยมบดิ าผมเกิดปวอก ๒๔๒๗ พระอาจารยค งจะเกดิ
ปฉ ลู ๒๔๓๒

เม่อื พระอาจารยทองรตั นม รณภาพเมือ่ ๒๔๙๙
ทานอายุ ๖๘ พรรษา ๔๒ เพราะฉะน้ันทานตอง

ประวตั แิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรตั น กนฺตสีโล ๑๗

อปุ สมบทในปเ ถาะ ๒๔๕๘ เมอ่ื อายขุ องทา นได ๒๖ ป
และเมื่อนับปอุปสมบท ถึงปมรณภาพ ๒๔๙๙
จึงครบ ๔๒ พรรษา และเม่ือนับปฉลู ๒๕๓๒ ถึง
ปวอก ๒๔๙๙ ได ๖๘ ป ตรงกับทีเ่ ขยี นไวใตภ าพของ
พระอาจารยท องรตั น

รายละเอยี ดประวตั พิ ระอาจารยท องรัตน ขอให
ทา นอาจารยสอบถามจาก นายบนั พาพะนม เจา ของ
ที่ดินที่ยกถวายใหพระอาจารยทองรัตน เปนสํานัก
ปฏิบัติธรรมและเปนที่กอเจดียบรรจุอัฐิธาตุของ
พระอาจารยท องรัตน อยทู ่บี านคุม

นายบัน พาพะนม
บา นคมุ หมู ๔ ตําบลโคกสวาง
อําเภอสําโรง จงั หวดั อุบลราชธานี
นายบัน คงจะรูประวัติหรือมีหนังสือแจกใน
วันฌาปนกิจศพพระอาจารยทองรัตนอยูบาง หรือ
นายบัน อาจจะรูวาผูเฒาผูแกอายุ ๗๐-๙๐ ป
มผี ใู ดบา งไปในงานฌาปนกจิ ศพพระอาจารยท องรตั น

๑๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

อาจจะไดหนังสือประวัติพระอาจารยทองรัตนจาก
ผูเฒาเหลานี้

ป ๒๕๓๘ ผมไดภาพพระอาจารยทองรัตน
จากผใู หญบ าน บา นทา ศาลา ต.ชีทวน (นายสิงห ธานี
เปน หลานชายของแมช แี กว ธาน)ี เปน ภาพถา ยขาวดาํ
ผมจงึ นําภาพน้นั ใหอาจารยจุฑา ขาํ เปรมศรี อาจารย
สอนวาดเขียนภาพสีนํ้ามัน วิทยาลัยอาชีวะ ถนน
พรหมราช ในเมืองอุบล วาดใหม ขยายใหโตขึ้น
ขนาด ๒ ฟุต x ๔ ฟุต เปลย่ี นสีขาวดํา เปน สแี กน ขนนุ
แลวถายภาพสีนํ้ามันยอสวนลงเหลือขนาด ๑๑ นิ้ว
x ๑๔ น้ิวครึ่ง ดังท่ีผมไดสงภาพมาใหทานอาจารย
พรอมนี้ จํานวน ๓ ภาพ

๒. แนวการอบรมธัมมะ
ของพระอาจารยท องรตั น ป ๒๔๘๗

เมื่อผมไปบวชอยูกับพระอาจารยทองรัตนปนั้น
ทานใหอานพุทธประวัติ ใหอานสวดมนตแปล
ฉบบั หลวงอา นเจด็ ตาํ นานแปลประวตั อิ นพุ ทุ ธ๘๐องค

ประวตั ิและการอบรมธัมมะของพระอาจารยทองรัตน กนฺตสีโล ๑๙

ซึ่งหนังสือเหลาน้ี มหาเพียร พลเกื้อ ป.๖ ธ.บ.
วดั บวรนเิ วศ ศึกษาธกิ ารอาํ เภอเขื่องใน ลูกบา นชีทวน
เปนผูนําหนังสือธัมมะมาถวาย ทานเทศนสอนโยม
ในวนั พระใหญ ๑๔ หรือ ๑๕ คํา่ ทา นเทศนเ ก่ยี วกบั
ศลี ๕ ใหโ ยมสมาทานศลี ๕ และตัง้ ใจงดเวน ขอหาม
๕ ขอนี้ไวใหได จะไดไปเกิดในสุคติโลกสวรรค ผูใด
ละเมิดศีล ๕ ขอ คือผูประมาท ไมเชื่อคําส่ังสอน
ของพระพุทธเจา พวกไมรักษาศีล เหมือนขนของวัว
ทั้งหมดนัน่ แหละ ลงสูอ บายหมด เปน เปรต อสุรกาย
สัตวเดียรัจฉาน สัตวนรก.... สวนผูสมาทานศีล
เวนเบียดเบียนสัตว, เวนลักทรัพย, เวนจากผิด
ศีลธรรม, เวนจากพูดเท็จ สอเสียด นินทา, เวนจาก
เสพสุราเสพของมึนเมา เทากับเขาวัวสองเขาเทาน้ัน
ทขี่ น้ึ สูสคุ ตโิ ลกสวรรค

ทานมีตัวอยางท่ีดีไมดีแตละขอๆ ใหญาติโยม
นอ มนาํ เอามาใสต นไมใ หม คี วามประมาท มศี ลี แลว ให
มีสมาธิ ใหจิตวางจากกิเลส ไมใหจิตยึดเอากิเลส
โลภะ โทสะ โมหะ ไวใ นจติ ใจ ถา จติ ปลอ ยวาง วา งจาก

๒๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

กเิ ลสแลว กจ็ ะเยน็ กายเยน็ ใจ เพราะกเิ ลส โลภะ โทสะ
โมหะ เปนของรอน ใครมีกิเลส โลภะ โทสะ โมหะ
อยูในจิต คนนั้นจะรอนกายรอนใจ ทุกขกายทุกขใจ
เพราะกิเลสมันเผาลนอยูทุกขณะ สวนผูมีศีล ๕
ศลี คมุ ครองรกั ษา อานสิ งสข องศลี จะทาํ ใหม โี ภคทรพั ย
บรบิ รู ณ มคี วามสขุ กายสขุ ใจ ผมู ศี ลี จะกา วไปสมู รรคผล
นิพพานได ศีลเหมอื นพนื้ แผนดนิ สมาธเิ หมือนตนไม
ปลูกลงบนแผนดนิ รม เงาของตน ไมเ หมือนกบั ปญญา
ผูมีศีล สมาธิ ปญญา จึงเปนผูมีความสุขกายสุขใจ
เย็นกายเย็นใจ ไมทุกขกายทุกขใจเหมือนคนไมมีศีล
คนไมมีศีลเปนคนบาป ผลของบาปจะเผาลนไป
ตลอดชาติ และจะตดิ ตามไปทกุ ภพทกุ ชาติ ฯลฯ ทา นจะ
ใหธ รรมในแนวศลี ๕ ศลี ๘ อยูเ สมอ

อบรมพระดวย ศลี สมาธิ ปญญา
พระอาจารยทองรัตน ใหปฏิบัติตามในหนังสือ
สวดมนต สงสัยในขอใดใหมาถามทา น เชน ใหศึกษา
คําแปลธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ซ่ึงเกิดมีพระสงฆ
องคแ รกในพทุ ธศาสนา ใหศ กึ ษาในอรยิ สัจส่,ี ในมรรค

ประวตั แิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรตั น กนฺตสีโล ๒๑

มีองคแปด, ใหศึกษาอานาปานสติ, ปฏิจจสมุปบาท
อิทัปปจจยตา ไมเขา ใจสงสยั ขอ ใด ทานอธิบายใหฟง
โดยแจมแจง

พระพุทธเจาทานทําทางเดินไวใหเราเดินแลว
พระอรยิ เจา พระอรหนั ตท งั้ หลายทา นกเ็ ดนิ ตามทางท่ี
พระพทุ ธองคท าํ ไว แนะนาํ ไวแ ลว ทกุ ๆ พระองค ถา เรา
ไดศกึ ษาไดป ฏบิ ตั ติ าม เรากจ็ ะพบทางเดินไปมรรคผล
นพิ พานไดเ หมือนพระอรหนั ต ๘๐ องคนั้นเหมอื นกัน
เวนแตผูประมาท ผูข้ีเกียจ ผูไมมีความเพียร ผูหลง
เดินตามกิเลส ก็จะไมมีทางพนจากทุกข ไมพนจาก
วฏั สงสาร เกดิ ตาย เกดิ ตาย ทกุ ขโ ศก โรคภยั อยอู ยา งน้ี
นบั ภพนับชาติไมถ วน

ใครมาบวชปฏบิ ตั ใิ นสาํ นกั นี้ ใหม คี วามพากเพยี ร
นงั่ สมาธิ เดนิ จงกรม อยา ใหน อ ยกวา ๓ ชว่ั โมง วนั หนง่ึ
กบั คนื หนงึ่ มี ๒๔ ชัว่ โมง ใหก ิเลสเอาไป ๒๑ ช่ัวโมง
ถาทําความเพียร ทําจิตใหสงบจากกิเลสไดไมถึง ๓
ชวั่ โมง ออกพรรษาใหส ึกออกไปชว ยพอ แมท ําไรไถนา

๒๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ชว ยพอ แมป ระกอบอาชพี เลยี้ งครอบครวั ดกี วา มาบวช
ไมม ีความเพียร ทําความเพยี รนอยกวา ๓-๔ ช่ัวโมง
เอาชนะกิเลสไมไดหรอก มรรคผลนิพพาน โนน
อยูฟากตายโนน ตองกินนอย นอนนอย ขยันมาก
อดทนมาก ไมก ลัวลําบาก ไมกลวั กเิ ลส เอาชนะกิเลส
ใหได จึงจะเห็นมรรค ผล นิพพาน.... พระจักขุบาล
ทําความเพียรทั้งกลางวันท้ังกลางคืน จนตามอง
ไมเห็น หมอตา, หมูเพ่ือนใหพักรักษาตาสัก ๗ วัน
ทานปฤกษาใจตนเองวา จะเอาตาไว หรือจะเอา
มรรค ผล นิพพาน ตกลงเอามรรค ผล นิพพาน
ตาแตก ตาบอดในขณะเดินจงกรม และไดน ิพพานใน
ขณะนนั้ เอง นต่ี ัวอยา งผูมคี วามเพียรมาก

พระพุทธองคตรัสวา ผูทําความเพียรใหจิตสงบ
จากกิเลสตลอดหนึ่งราตรี ดีกวาประเสริฐกวาผูไมมี
ความเพยี ร มอี ายุอยตู ั้งรอ ยป

ผูปรารถนาพนจากทุกข พนจากวัฏสงสาร
ปรารถนามรรค ผล นิพพาน ตองขยันอดทนทํา

ประวตั ิและการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรตั น กนตฺ สีโล ๒๓

ความเพียร นั่งสมาธิ เดินจงกรม ใหไดไมนอยกวา
วนั ละ ๓-๔ ชว่ั โมง จึงจะเห็นมรรคเห็นผลในอนาคต
ในชาตนิ แี้ หละ เอาใหไดผ ลในชาติน้แี หละ

ทง้ั หมดนเ้ี ปน โอวาทอนั สาํ คญั ทท่ี า นพระอาจารย
ทองรัตน เตือนสติใหทําความเพียรไมนอยกวาวันละ
๓ ชวั่ โมง

อยางอ่ืนยังมีอีกมาก ทานอธิบายไดแจมแจง
ชดั เจนเขา ใจงา ยในฉบั พลนั เชน พระสาํ เนยี ง ๓ พรรษา
ถามทา นเรอ่ื ง กัมมฏั ฐาน ๕ ผม ขน เลบ็ ฟน หนัง?
ทา นอธบิ ายวา แตล ะอยาง มนั ไมเท่ียง เปนทุกข เปน
อนตั ตา เปน พระไตรลกั ษณะ แตล ะอยา งไมใ ชเ รา ไมใ ช
ตวั ตนของเรา เม่ือพิจารณาแลว มันจะถอนอตั ตวาทุ-
ปาทานออก, สังขารูปาทานักขันโธ ขันธอันเปนท่ีตั้ง
แหง ความยดึ มนั่ คอื สงั ขาร, สงั ขติ เตนะ ปญ จปุ าทานกั -
ขนั ธา ทกุ ขา วา โดยยอ อปุ าทานขนั ธท งั้ หา เปน ตวั ทกุ ข,
นี่ทานอธิบายไวใหทราบโดยละเอียดแลววา ขันธ ๕
เปนตวั ทกุ ข ขนั ธ ๕ เปนไตรลกั ษณะ ทกุ ๆ สิง่ ในโลกนี้

๒๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ทั้งสิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิต ลวนถูกตราพระไตรลักษณ
ประทบั ไวห มดแลว ทกุ สง่ิ ทกุ อยา ง เกดิ ขนึ้ ตง้ั อยชู ว่ั ขณะ
แลวเสื่อมสลายไป (อุปาทะ ฐีติ ภังคะ) หมดทุกส่ิง
ทุกอยา ง ไมม ีอะไรคงทนจรี ังอยไู ดต ลอดไป

ทานจะเตือนใหทําสมาธิ ใหจิตสงบ ใหจิตเปน
เอกัคตารมณ จิตวางจากกิเลส กิเลสหลุดจากจิต
จึงจะเกิดปญญา มีปญญาเห็นธรรม มีดวงตาเห็น
ธรรม เหน็ วา ธมั มะทกุ ขอ ทกุ ประโยค เปน จรงิ เปน เหตุ
เปน ผล เปน ปจ จัยซงึ่ กันและกนั จริงแทท ุกๆ ขอ ดังได
ตรสั ไวใ นบทสวดมนต ในพระสตู รตา งๆ ตรสั ไวอ ยา งไร
เปน อยา งนัน้ เชน ตรสั วา เพราะชาตเิ ปน ปจจัย ชรา
มรณะยอ มม,ี เพราะภพเปน ปจ จัย ชาตยิ อมม,ี เพราะ
อุปาทานเปนปจจัย ภพยอมมี.... อวิชชาทําใหเกิด
สังขาร สงั ขารทําใหเ กดิ วิญญาณ ฯลฯ หลังสวดมนต
เย็นแลว ประมาณสามทุม ทานจะอธิบายธัมมะ
ตอบขอขอ งใจใหท ราบโดยแจมแจง

ประวตั แิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยทองรัตน กนฺตสโี ล ๒๕

ขอ วตั รปฏบิ ัตขิ องสาํ นกั บูรพาราม ต.ชีทวน
เหมือนขอวัตรของวัดหนองปาพง มีพิเศษอยู
ขอหนึ่ง คือทานใหระมัดระวัง สํารวมอินทรีย ๖
ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยา ใหห ลงเพลนิ ไปตามกิเลส
ถามีสติสัมปชัญญะ สํารวมระวังในอินทรีย ๖ อยู
ทุกอิริยาบถยืน เดิน นั่ง นอน จะควบคุมศีล ๒๒๗
ไดเปน อยา งดี
ใหระมดั ระวังอาบตั เิ ล็กๆ นอ ยๆ
ไปบิณฑบาต ปวดปสสาวะ เขาขางทาง นั่งลง
เอาใบไมแหง ๔-๕ ใบรองตอกันใหยาว จึงปสสาวะ
ถา ไมเ อาใบไมแ หง รอง ปส สาวะรอ นและเคม็ ถกู แมลง
หรือสตั วต วั เล็กๆ จะตายทันท.ี .. เปน อาบตั ิ
ถมนํ้าลาย ขากเสลด น่ังลง เอาใบไมรองเชน
เดียวกัน, อยา คุยกันเสยี งดัง อยา ตะโกนเรยี ก เดินเขา
ไปใกลๆ จงึ พดู กนั เบาๆ เอาของใหก นั อยา โยน ถา พระ
อาวุโสพรรษามากกวา เอาหนังสือใหผูอาวุโสตํ่ากวา
เชน ๓ พรรษาเอายน่ื ให ๒ พรรษา ๒ พรรษาตอ งนง่ั ลง

๒๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

จึงจะเอามือไปรับดวยความเคารพ, อาวุโสเดินมา
ขางหลัง พรรษาหยอ นกวา ตอ งหลกี ใหอาวโุ สเดินนาํ
ไปกอนเสมอ, ไปบิณฑบาต ใหภาวนาทุกยางกาว
หา มพดู คยุ กนั ถา จาํ เปน จะพดู กนั ใหห ยดุ แอบขา งทาง
แลวพูดกัน พรรษานอยตองนั่งลงเสมอ เปนการ
เคารพวนิ ยั ของพระพทุ ธเจา เปน การสาํ รวมอนิ ทรยี  ๖
เปนผูไมประมาทในพระธรรมพระวินัย การภาวนา
การปฏิบัติธรรมจะกาวหนา จะเกิดปญญาเห็นชอบ
อยเู สมอ

ทานนึกอะไรได เห็นขอควรแนะนําอะไรจะรีบ
เตือนรบี แนะนําเสมอ เร่ืองความเพียร ทา นกลา วอยู
เสมอวา “ผูมีความเพียร ไมเกียจครานท้ังกลางวัน
กลางคืน อยูดวยความไมประมาท ยอมเปนผูเจริญ
ในธรรม” เหมอื นพระมหากจั จายนะ ทีพ่ ระพทุ ธองค
ยกยองวาเปนผูมีราตรเี ดยี วเจรญิ .... ทานยกตวั อยา ง
ใหขยันทาํ ความเพยี รมากๆ ใหเกดิ ปญ ญา ใหเกดิ เห็น
ทางมรรค ผล ขนึ้ ในจิต ทา นวา ผูมคี วามเพยี ร เปน ผมู ี
จิตรา เริง มใี จฟใู จดี มอี ารมณด ีอยูเสมอ

ประวัติและการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรตั น กนฺตสโี ล ๒๗

พระอาจารยท์ องรตั นเ์ ทศนป์ จุ ฉา วสิ ชั ชนากบั
เจา คณะอําเภอเขอ่ื ง

ปลายเดือนมีนาคม ๒๔๘๗ มีการเทศนปุจฉา
วิสัชชนากับเจาคณะอําเภอเขื่องใน มีชาวบานรอบๆ
บานชีทวนมาฟงท่ีศาลาวัดพระธาตุสวนตาลเปน
จํานวนมาก มาจากบานหัวดอน บานหัวดูน บาน
ทาวารี บานแคน บานมะพริก บานทาศาลา บาน
หนองบอ พระเณรจากวัดตางๆ ทั้งครูหญิงชายจาก
โรงเรียนประชาบาลมาฟงกันเต็มบริเวณวัด วันนั้น
เปนวันอาทิตย กํานัน ผูใหญบาน ครูใหญโรงเรียน
ตางๆ รวมใจกันจัดข้ึน ใครๆ กอ็ ยากฟงเทศน โวหาร
ของพระอาจารย ทานเสียงหา ว เสยี งดงั เสยี งกงั วาน
เสยี งใส ใบหนาทานยิ้มแยมสรางอารมณขันอารมณด ี
ใหช าวบา นใหอ ยากนง่ั คกุ เขา ยกมอื ไหวท า น อยากฟง
เสียงทานถามทัก พูด เทศนเสมอ บุคลิกทานสงา
อาจหาญ ราเริง คําพูดทานเปนคติธรรม พูดตรง
พูดจริงไมกลัวใคร มีความเชื่อม่ันในตนเอง ในธัมมะ
ของพระพุทธเจา

๒๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

พระอาจารยทองรัตนอธิบายวา คนทําอกุศล
กรรมไวมาก ทําบาปไวมาก ไมรักษาศีล ๕ จะมีคติ
กรรมนิมิต หรือกรรมนิมิตอารมณมาปรากฎใหเห็น
กอนตาย เชน เหน็ แห อวน มีด ปน เหน็ สัตวท เี่ ราฆา
อารมณท่ีส่ังสมไวเปนอารมณของอกุศลกรรม
จะปรากฏกอนตาย กรรมนิมิตฝายอกุศลจะนําไปสู
อบายภมู ิ

ถารักษาศีล ๕ ทําบญุ กุศล ตกั บาตร ทาํ สงั ฆทาน
ทอดผาปา สรางกุฎีศาลา สรางโบสถ เห็นโบสถ
เห็นพระพุทธรูป เห็นเทวดา เปนกรรมนิมิตฝายกุศล
จะมาปรากฏ ตายไปจะขนึ้ สูส คุ ตโิ ลกสวรรค

แตขอเตือนญาติโยมทั้งหลาย อยาประมาท
ใหฝก ภาวนาตายกอนตายไวทกุ ๆ วัน คนื นแ้ี หละตี ๔
ตี ๕ ตองตายกอ นสวา ง จะเตรยี มตวั ตายกนั อยา งไร?

กอ นนอนไหวพ ระสวดมนตแ ลว สมาทานศีล ๕
ดวยตนเอง สํารวจศีล ๕ ขอไมบกพรองแลว ดีใจ
ปล้มื ใจ ปติยินดี บรกิ รรม พุทโธ เม นาโถ ธมั โม เม

ประวตั ิและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรตั น กนฺตสโี ล ๒๙

นาโถ สังโฆ เม นาโถ นอนลงดวยมีสติ หายใจเขา
ภาวนาวา พุท หายใจออกภาวนาวา โธ ใหหลับไป
ดวยอารมณพ ทุ -โธ ฝน กฝ็ นดี มีนิมิตกน็ มิ ิตดี ตายไป
กต็ ายดี ไปเกิดในสุคติโลกสวรรคแ น อยา งต่าํ ก็มาเกดิ
เปน มนษุ ยอ กี เกดิ ใหมด กี วา เกา เพราะมพี ทุ ธานสุ ตเิ ปน
อารมณกอ นตาย ใหพากันอยาประมาท น่ัง นอน ยืน
เดิน ใหมีพุท-โธเปนอารมณอยูทุกขณะทุกอิริยาบถ
เปนผูตายกอนตาย เปน ผตู ง้ั อยูในความไมประมาท

เทศนด์ งั ระเบดิ ไปทว่ั อ.เขื่องใน
การเทศนปุจฉาวิสัชชนาคราวน้ัน ดังกระฉอน
ไปท่ัว คนฟงตั้งใจฟง เงียบ สงบ เหมือนทานเทศน
อยคู นเดียว บุคลกิ ทานสงา อาจหาญ เสียงดังฟง ชัด
เปนทีช่ นื่ ชอบ นยิ ม เคารพในภมู ธิ รรมของทานอยา ง
กวา งไกล ใครไดฟ ง ทา นเทศนแ ลว อยากฟง อกี อยากฟง
โดยไมเบ่ือ ธรรมมสี าระ มีประโยชน
เจาคณะอําเภอถามวา พระพุทธเจาทานตรัสรู
อะไรบาง ทานตอบวาตรัสรูอริยสัจสี่ แลวขยายทุกข

๓๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

สมทุ ยั นโิ รธ มรรค สนั้ ๆ พอเขา ใจ ถามวา ทา นสงั่ สอน
ประชาชนมีอะไรบาง ทานตอบวา สอนพระสูตร
พระวินัย พระอภิธรรม ๘๔,๐๐๐ หัวขอ สรุปแลว
ทานสอนศีล สมาธิ ปญญา สอนพระไตรลักษณ
ทุกขัง อนจิ จัง อนัตตา สอนใหปฏบิ ัตติ ามพระอรยิ เจา
คือมรรค ๘

ทานสอนประชาชนใหประพฤติปฏิบัติอะไรเปน
เบ้ืองตนเปนอันดับแรก ทานตอบวาสอนเร่ืองศีล ๕
ศีล ๕ น้ีพระโพธิสัตวสอนมาตั้งแตตนกัป ตั้งแต
พระกกุสันโธโนน ใหมนุษยในสมัยโนนกัปโนนอยูกัน
ดวยความสงบมีศีล ๕ ขอนี้เปนธรรมคุมครองโลกให
ปกตสิ ขุ ไมม คี กุ ตะราง ไมม ตี าํ รวจ ใครมศี ลี ๕ ในหวั ใจ
ดีทั้งน้ัน กลุมคนใดมีศีล ๕ กลุมน้ันก็ดี เมืองไหนมี
ศลี ๕ เมอื งน้ันก็สงบสุข

คนเชนไรไปเกิดในสุคติโลกสวรรค คนเชนไร
ตายไปแลว ลงสอู บายภมู ิ

คนรักษาศลี ๕ สมาทานศีล ๕ อยูเ สมอ เวน จาก
ฆาสัตวเบียดเบียนสัตว, เวนจากเอาของผูอ่ืนมาเปน

ประวตั แิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรตั น กนตฺ สีโล ๓๑

ของตน, เวน จากประพฤตผิ ิดศลี ธรรมบุตรภรรยาสามี
คนอน่ื , เวนจากพดู เทจ็ พดู สอเสียด พูดนนิ ทาคนอนื่ ,
เวนจากเสพสุรายาเมาของเสพติดท้ังปวง ถารักษา
ศีล ๕ ได จะมีโภคทรัพยบริบูรณ จะมีความสุขกาย
สบายใจ ตายไปแลวขึ้นสูสุคติโลกสวรรคหมด แตถา
ละเมดิ ศีล ๕ ขอ น้ี ไมสมาทานศีล ๕ จะลงสอู บายภมู ิ
นรก เปรต อสุรกาย สัตวเดียรัจฉานหมดไมมีเหลือ
เหมอื นขนววั นน่ั แหละ ลงนรกหมด “พวกทาํ แตก รรมดี
ทําบุญกุศล ไมประมาทรักษาศีล ๕ เหมือนเขาวัว
สองเขานัน้ แหละข้ึนสวรรค นอ ย นอ ยมาก”

กอนจะตาย เจ็บปวยใกลจะตาย จะทําจิตใจ
อยางไรจึงจะไปสูสุคติโลกสวรรค.... ทานวิสัชชนาวา
ใหระลึกนึกถึงบุญกุศลความดีท้ังหลายท่ีตนไดทํา
ไวแ ลว ระลึกถึงพุทธานุสตเิ ปน พอ ธรรมานสุ ติเปน แม
เห็นพระสงฆเปนพ่ีเลี้ยงนําทาง หายใจเขาภาวนาวา
พุท หายใจออกภาวนาวา โธ อยูเสมอทุกขณะจิต
เม่ือจิตเคลื่อนออกจากราง จิตถึงจะไปสูสุคติโลก
สวรรค ฯลฯ

๓๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ไมร่ บั ปจจยั กณั ฑเ์ ทศน์
เม่ือเทศนปุจฉาวิสัชชนาเสร็จ คณะครู กํานัน
ผูใหญบานนําปจจัยที่ใสลงในขันเงิน ขันโอรองหิน
(ทองเหลือง) หลายใบมารวมกันไดเงินเกือบๆ
สองพันบาท แบง เปน สองสวน ถวายเจา คณะอาํ เภอ
เขอ่ื งในหนง่ึ สว น สว นของทา นพระอาจารยท องรตั นน น้ั
เม่ือเจาคณะอําเภอกลับไปแลว ทานมอบใหวัด
พระธาตุสวนตาล ในสมัยน้ันครูประชาบาลเงินเดือน
๘ บาท ครใู หญ ๑๒ บาท สอนมานานจะได ๒๐ บาท
ครมู ธั ยม ป.ม. จะได ๘๐ บาท จบอกั ษรศาสตรบ ณั ฑติ
จะได ๙๐ บาท จบ ป.ม. (ประโยคครูมธั ยม) และ ธ.บ.
(ธรรมศาสตรบัณฑิต) ดว ย จะไดเงินเดือน ๑๐๐ บาท
กัณฑเทศน จากใสขันธคนละ ๑ สตางค ๒ สตางค
๕ สตางค รวมกนั เปน พนั สองพนั บาทนบั วา ไดเ งนิ มาก
เปน พเิ ศษ (ขา วสารเหนยี วทหี่ นงึ่ ๑๐๐ ก.ก. กระสอบละ
๙ บาท) ทานไมรับถวายกัณฑเทศน แตยกให
วดั พระธาตสุ วนตาล นบั วา ทา นไมต ดิ ในลาภ ในปจ จยั
ทา นพอใจทช่ี กั จงู ใหญ าตโิ ยมเขา ใจธมั มะ รจู กั รกั ษาศลี

ประวตั ิและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรตั น กนฺตสีโล ๓๓

รูจักทําสมาธิ รูจักทําความดีย่ิงๆ ข้ึนไป รูจักฝกตาย
กอนตาย รูจักทําอานาปานสติ มีสติสัมปชัญญะ
กําหนดดูลมหายใจเขาหายใจออก ทุกขณะจิต
ทุกอิรยิ าบถ คอื ผมู ีความไมประมาท

ไม่ฉนั ภตั ตาหารที่มีกระดกู ติดอยู่
มหาเพียร พลเกื้อ เปรยี ญธรรม ๖ ประโยค พ.ม.
ครพู เิ ศษมธั ยม ธ.บ. ธรรมศาสตรบ ณั ฑติ เปน ผแู นะนาํ
ชาวบานและโยมอุปฏฐาก ไมใหเอาเนื้อวัวเน้ือควาย
เน้ืองู เตา ตะพาบ กระรอก กระแต ลิง คา ง ฯลฯ ไป
ถวายพระกมั มฏั ฐาน ปลารา ปลาจอม สม ปลา แหนม
ตองหมกไฟใหสุกกอน ปลาแหง ปลาน่ึง ปลาเค็ม
ตองแกะเอากาง ถอดกางออกกอน ปลาแหงปง
ทอด ตองเอาหัวเอาหางออกอยาเอาหัวเอาหางไป
ถวาย ปลาปง ปลาทอดใหแกะชิ้นเล็กๆ แลวตําให
ละเอยี ด ตม กระดกู หมใู หถ อดกระดกู ออก หรอื สบั เนอื้
หมูเปนชิ้นเล็กๆ กอนปรุงอาหาร อาหารที่มีกระดูก
ติดไป มีหัวมีหางติดไปพระกัมมัฏฐานจะไมฉัน
พระอาจารยทองรัตน ทานนิยมฉันขาวตมมัด

๓๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ขาวหลาม เผือกตม มันตม ขาวโพดตม มะมวงสุก
กลวยนํ้าวา.... ถาโยมใสขาวตมมัดลงในบาตร เณร
หรือโยมอุปฏฐาก จะแกะใบตองหอออก แลวตัด
เปนคําๆ ใสจานไว มีมะพราว หรือนํ้าตาลใสจาน
ไปดวย ตองทําใหเรียบรอย สะอาดเหมือนเอาถวาย
พระราชา เหมอื นถวายพระสงั ฆราช มหาเพยี ร พลเกอื้
จะแนะนาํ ชาวบา นชที วน อบุ าสกอบุ าสกิ าไวใ หป ฏบิ ตั ิ
ตอ พระกมั มฏั ฐานแตกตา งกบั พระวดั บา น ทกุ ขนั้ ตอน
ทุกๆ อยางโดยละเอียด ถาสงสัยอะไร ใหถามแมชี
ถามปะขาว ถามโยมอุปฏฐากที่จัดภัตตาหารถวาย
ทกุ วัน ใหถามใหเขา ใจกอ น ฯลฯ

พระอาจารย์ กินรี จนฺทโิ ย
ไปกราบนมสั การทกุ ป
ในป ๒๔๘๗ นน้ั กอ นเขา พรรษา พระอาจารยก นิ รี
พระอาจารยท องมาก พระอาจารยช า สภุ ทโฺ ท ไปเยยี่ ม
กราบนมสั การพระอาจารยท องรตั น และพกั สอบถาม
ธัมมะอยูสํานักบูรพา ๑๐ วัน แลวกลับไปนครพนม
ในปน นั้ พระอาจารยท องรตั น ๓๐ พรรษา พระอาจารย

ประวัตแิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยทองรัตน กนตฺ สีโล ๓๕

กินรี ๒๒ พรรษา พระอาจารยทองมาก (ไมทราบ)
พระอาจารยชา ๖ พรรษา ในป ๒๔๘๗ พระอาจารย
ทองรัตน พระอาจารยกินรี (ออกพรรษาแลว) ไดธ ดุ งค
ไปทางชอ งเมก็ อาํ เภอพบิ ลู มงั ษาหาร ไปตง้ั สาํ นกั สงฆ
ช่ือสํานักสงฆสิรินธร อยูตรงขามบานชองเม็กของ
ประเทศลาวอยูคนละฝงลํานํ้าชองเม็ก มองเห็น
หมูบานและคนเดินไปมา ขามลํานํ้าไดในฤดูแลง
ทานอาจารยทองรัตนยังขามไปต้ังสํานักกัมมัฏฐาน
ท่ีภูมะโรง นครจําปาศักด์ิอีกแหง ซึ่งทานไปอบรม
ชาวลาวทุกป ชาวลาวเคารพนิยมทานอาจารย
ทองรัตนมาก

ประธานสงฆ์ สํานกั ภหู ล่น
เขาไปปรับปรุงสาํ นกั สิรนิ ธร
ประธานสงฆภ หู ลน พรรษา ๒๘ ไดเ ขา ไปปรบั ปรงุ
สํานักสิรินธร เม่ือป ๒๕๔๓ เดือนกุมภา-มีนาคม
น่ีเองครับ นามและฉายาประธานสงฆภูหลนรูปน้ี
ผมไมท ราบนามทา น ผมไดร บั คาํ บอกเลา จาก ครนู ติ ย
กิรกิจ อดีตผูชว ยผูอํานวยการ ร.ร.เบญ็ จะมะมหาราช

๓๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

และปลดเกษียนมาประมาณ ๑๕-๑๖ ปแลว เคยไป
ภูหลน เคยไปสาํ นกั สิรนิ ธร

ทตี่ งั้ สาํ นักสงฆ์สริ ินธร
สาํ นกั สงฆสริ นิ ธร อยูห างจากวดั โพธญิ าณเขอ่ื น
สริ ินธรประมาณ ๒ กม. มีถนนลูกรังอยูซา ยมือ เขาไป
๓ กม. กถ็ ึงสาํ นักสริ ินธร ซงึ่ พระอาจารยทองรัตนไป
กอตั้งไวเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๗ อยูติดเสนแบงเขตแดน
ไทย-ลาว มีรองนํ้าเปนเสนเขตแดน ฤดูฝนใชเรือ
ขามฟาก ฤดแู ลงเดนิ ขา มได มองเห็นหมูบา นชองเม็ก
ไดช ดั เจน
สถานรี ถไฟโคราชถกู บอมบ์
จงึ ลาราชการบวช
ตนเดือนมีนาคม ๒๔๘๗ สถานีรถไฟ โรมแรม
รถไฟ โรงงานซอ มหวั รถไฟ-รถจกั รไอนา้ํ นครราชสมี า
ซ่ึงถูกทหารญี่ปุนยึดครองอยู ถูกเคร่ืองบินท้ิงระเบิด
บี.๕๒ บอมบทําลาย พังยับเยินหมด ทางรถไฟ
ขาดตอน จากกรุงเทพมาอุบล รถไฟมาจอดสถานี

ประวตั แิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรตั น กนตฺ สโี ล ๓๗

ภูเขาลาด, จากอุบลไปกรุงเทพ รถไฟจอดท่สี ถานีจิระ
แลว ลาํ เลยี งคนสง่ิ ของไปทางรถยนต ขา มสถานโี คราช
ไปตอที่สถานีภูเขาลาด จึงลาอุปสมบทกลางเดือน
มีนาคม

ทางรถไฟต่อรางเสรจ็ รถไฟว่งิ ไดปกติ
ตนเดือนมถิ นุ ายน
ตนเดือนมิถุนายน ๒๔๘๗ มีคนไปติดตามให
ไปทํางาน ยายโรงงานฟอกหนังที่ ๑๑ จากโรงงาน
ฟอกหนังกรมพลาธิการทหารบก คลองเตย กรุงเทพ
มาตงั้ ทหี่ นา โรงฆา สตั วอ บุ ล จงึ ลาสกิ ขาบทกลางเดอื น
มถิ ุนายน
ใหโอวาทก่อนลาสิกขาบท
พระอาจารยท องรตั น ใหโ อวาทวา ใหป ฏบิ ตั ิ มศี ลี
สมาธิ ปญ ญา ทกุ อริ ิยาบถ ยนื เดนิ นง่ั นอน ภาวนา
พุท-โธ ทกุ ลมหายใจเขาออก กาวเทา ขวาพุท เทาซาย
โธ ทกุ ยา งกา ว จะเหน็ ความมหศั จรรยข องพทุ โธภายใน
๑ ป เวลากราบพระพุทธประธาน กราบที่ไหนก็ตาม

๓๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ใหโยนิโสมนสิการ นอมใจกราบลงใกลฝาพระบาท
พระพุทธเจา เหมอื นกับทา นมายนื หรือประทบั นง่ั อยู
ใกลๆ เรา เปนพอติดตามคุมครองดูแลเราทุกเวลา
กราบพระธรรม พระธรรมเหมอื นแมคมุ ครองดแู ลเรา
ตลอดเวลา กราบพระอริยสงฆ พระสงฆเปน
พระพเ่ี ลย้ี ง นาํ เราใหค ดิ ดี พดู ดี ปฏบิ ตั ดิ ี ดว ยกาย วาจา
ใจในทุกสถานที่ คณุ พระรัตนตรัยน้ี จะทาํ ใหเราไดพ บ
แตส ิ่งทีด่ ี ไดรับแตสิ่งท่ดี ี ไดทําแตสิง่ ทีด่ ยี ่ิงๆ ข้นึ ไป

ใหมหามนตอ์ ันศักดิส์ ทิ ธิ
เวลาเดินทางไกล ขน้ึ รถลงเรอื เขาไปในปา ในเขา
ภาวนามหามนต นโม พุทธัสสะ อสิ ะหวาสุ ปองกัน
ภตู ผปี ศาจปอ งกันภยั ไดทุกชนิด
นโม พทุ ธสั สะ มาจาก นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต
อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธสั สะ ในพระคาถานปี้ ระกอบ
ไปดวย พระบริสุทธิคุณ พระปญญาคุณ พระมหา-
กรุณาธิคุณ คุณสามประการนี้อยใู น นโมพุทธัสสะ

ประวัติและการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรตั น กนตฺ สีโล ๓๙

อิ สวา สุ คือพุทธคุณ ๙ อิติป โส ภะคะวา,
สวากขาโต, สุปฏิปนโน, พระคาถาน้ีบริกรรมใหจิต
เปนสมาธิก็ได เปนมหามนตเปนพอแมของมนต
ท้ังปวง ภูตผี ปศาจ เปรต อสุรกาย สัตวราย
เกรงกลวั เมอ่ื บรกิ รรม นโม พทุ ธสั สะ อิ สวา สุ ทาํ งานไป
บรกิ รรมคาถานไ้ี ป การงานจะเจรญิ กเิ ลส โลภะ โทสะ
จะไมเขามาใกล จะรูเห็นดวยตนเอง บอกใครก็ไมได
เกิดความอัศจรรยขึ้นมา รู เห็น ไดรับดวยตนเอง
ใหเ อาไปปฏบิ ตั ิดู จะรูเ องเหน็ เอง ทา นใหโอวาทดว ย
อารมณด ี บคุ ลกิ ทา นยม้ิ แยม เบกิ บานอยเู สมอ ชวนให
อยากฟง ชวนใหต้งั ใจฟงฯ

ผ ม ก ร า บ เ รี ย น เ ร่ื อ ง เ ก่ี ย ว กั บ พ ร ะ อ า จ า ร ย 
ทองรตั น กนตฺ สโี ล มาใหท า นอาจารยท ราบไดแ ตเ พยี ง
แคน ้ี เพราะเน่นิ นานมา ๕๖ ปแ ลวครับ

กราบนมัสการมาดวยความเคารพ
พระเทยี บ ถริ ธมโฺ ม
(เทยี บ ถริ วฒั น)

๔๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

สาํ นักสงฆบุญญาวาส
บอทอง ชลบรุ ี

๒ เมษายน ๒๕๔๓
เพิ่มเติมประวัตพิ ระอาจารย์ทองรตั น์ กนตฺ สโี ล

วันน้ีผมไดรับจดหมายของพระ...................
ลงวันท่ี ๑๔ มีนาคม รวมเวลา ๑๙ วัน จดหมายของ
ผมและภาพถาย ๓ ภาพของพระอาจารยทองรัตน
ผมหอ เรยี บรอ ยแลว จะสง ในวนั พรงุ นคี้ รบั จงึ รบี เขยี น
เพม่ิ เติมมาอกี ๑ ฉบบั ดังนี้

พระอาจารยท องรตั น อธบิ ายเรอื่ งพระกมั มฏั ฐาน
พระกมั มฏั ฐาน คอื พระเขา มาบวชทาํ ความเพยี ร
ใจใหบริสุทธิ์ บริสุทธิ์จากกิเลส ถามีกิเลสตัณหาอยู
ในใจ ใจจะนาํ ไปในทางบาปอกุศล โลกนม้ี ีรูปกับนาม
เทานัน้ ตวั เรานี้กค็ ือโลก มรี ูปกบั นาม หรือกายกบั ใจ
ใจเปนนาย กายเปนบาว มโนวิญญาณหรือใจเปน
อรปู ธาตุ สมั ผสั ไมได มองไมเ หน็ แตนามคอื วญิ ญาณ

ประวัตแิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๔๑

รปู คอื ตา หู จมกู ลน้ิ กาย การปฏบิ ตั ขิ องพระกมั มฏั ฐาน
คอื บงั คบั จติ ไมใ หฟ งุ ซา นไหลไปตามกเิ ลส โลภะ โทสะ
โมหะ ความอยากไดน ่นั อยากไดน ่ี อยากมีส่ิงน้นั สง่ิ น้ี
อยากเปนตําแหนงน้ัน ตําแหนงน้ี อยากมีความสุข
เหมอื นเศรษฐคี นนนั้ คนนี้ ฟงุ ซา นไปตลอดวนั ตลอดคนื
ตามหลังกิเลสมันหลอกลอใหไปติดบวงของมาร
บวงของมารเหลาน้ีแหละ มันทําใหทุกขชาติแลว
ชาติเลา เปนอนนั ตชาติ

ครูบาอาจารยทานจึงใหเพงดูจิต ทําจิตใหสงบ
ใหสงบอยูในถํ้าของมัน ถํ้าของมันคือหทัย (หัวใจ)
ทานจึงสอนวา ผูใดตามดูจิต ผูนั้นจะพนจากบวง
ของมาร คือดูวามันอยูในถ้ําหรือเปลา ถามันออก
จากถํ้าไปหาลูกสาวกํานนั ไปหาลกู สาวครใู หญ ไปดงึ
มันกลับมา ดึงมันกลับดวยสติ ทานเรียกวาพลิกจิต
ใหทันกิเลส การทําสมาธิคือการทําจิตใหสงบอยูใน
อารมณเดียว คือมีพุทโธเปนอารมณ พุทหายใจเขา
โธหายใจออก ลมหายใจเขาหายใจออกเปน
จิตวิญญาณของเรา เปรียบเหมือนโค พุทโธเปรียบ

๔๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

เหมือนเชือกผูกคอวัวไว, เขาคอกก็รู ออกจากคอก
ก็รู สติคือเจาของถือเชือกไว วัวหรือโคก็ไมเพนพาน
หนีไปกินขาวกลาในนาของคนอ่ืน เพราะเจาของ
(สติ) ถือเชือก (พทุ -โธ) ผูกคอโคไว. ... ลมหายใจเขา -
หายใจออกก็จะสงบ ลมหายใจเขา-ออก สงบอยูใน
อารมณเดียว เรียกวา เอกัคตาจิต เมื่อลมหายใจ
ละเอยี ดเขา รวมลงใน เอกัคตารมณ มปี ติ สขุ สบาย
แผซานไปทั่วราง เรียกวาปฐมฌาน.... พระอาจารย
ทองรตั น ทานอธิบายเปน ภาษาพ้นื เมือง (ภาษาลาว)

การทําอานาปานสติ ในครัง้ พุทธกาล
พระอาจารยท องรตั นบ รรยายวา ในครง้ั พทุ ธกาล
หายใจเขาส้ันรู หายใจออกยาวรู หายใจเขาเบารู
หายใจออกเบารู หายใจเขาเบาท่ีสุดละเอียดท่ีสุดรู
(ตัวรูคือสติสัมปชัญญะตามรู) หายใจออกเบาท่ีสุด
ละเอียดท่ีสุดรู หายใจเขากระทบชองรูจมูกรู หายใจ
ออกกระทบรู หายใจเขาลมเย็นเขากระทบ หายใจ
ออกลมรอนกระทบรู ถาปฏิบัติไดถึงขั้นลมเขาเย็น

ประวัตแิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยทองรัตน กนตฺ สีโล ๔๓

ลมออกรอ นจติ กจ็ ะรวมวับลง จะเกิดความมหศั จรรย
ของจิตขน้ึ ... ไดก ราบเรียนถามทานวา เกดิ มหศั จรรย
อยางไรครับ... ทานบรรยายวา ลมหายใจท่ีละเอียด
ทีส่ ุดเบาท่ีสดุ น้ี เม่ือรวมลงจะเปน ดวงวญิ ญาณกลมๆ
มีแสงเทากับหัวเทียนไฟฉาย สมาธิแกกลามากๆ
เกดิ ขน้ึ เทา กบั หวั เทยี นไฟฉาย ตง้ั อยทู ที่ รวงอก เทา กบั
มะนาว เทา กบั มะตมู เทากับมะพราว เทา กบั รา งกาย
ทั้งหมดมีแสงเต็มตัว เวลาดับไป (ลมหายใจออก)
เทากับหลอดไฟฉาย บางทานบางองคภาวนาเห็น
รางกายหายไป, บางทานเวลาจิตรวมวับแวบลงแลว
กายระเบดิ หายวบั ไปในอากาศ มแี ตแ สงสวางเทาน้ัน
แผนดิน ภูเขา ตนไม สรรพสัตวไมมี พระอาทิตย
พระจันทรไมมี มีแตแสงสวาง การปฏิบัติไดเชนน้ี
เปน ผปู ฏบิ ตั ติ ามรจู ติ ถงึ ขนั้ อนตั ตา คอื รปู นามกายใจน้ี
เกิดขึ้นมาแลวก็เปนทุกข ไมเที่ยง เส่ือมสลายไป
ไมมีอะไรคงทนอยูได เมื่อปฏิบัติเห็นเชนนั้นจะได
ไมประมาทในการดํารงชีวิต ดําเนินชีวิตใหถูกตอง
ตามศีลธรรม ศีลเปนวิถีชีวิตท่ีจะตองเอามาประพฤติ
ปฏบิ ัติ เปน ทางนําตนและครอบครัว กลุมชน หมบู า น

๔๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ใหส งบสุข เมอื่ สงบสขุ แลวกส็ ุขกายสขุ ใจ มโี ภคทรัพย
บรบิ รู ณ พระพุทธองคต รัสไวว า สีเลนะ สุคะตงิ ยันติ
สีเลนะ โภคะสัมปะทา ศีลนี่แหละทําใหมีความสุข
ความเจรญิ ศีลน่แี หละทําใหมีโภคทรพั ยบ รบิ รู ณ

มีศีลแลวปฏิบัติสมาธิ ใหจิตวางหางจากกิเลส
หลบหลีกออกจากโลภะ โทสะ โมหะ มานะถือตน
ถือตัว ทําสมาธิแลวจะเกิดมีปญญาเห็นชอบ...
คบเพ่ือนชวนไปเลนการพนันไมไป ชวนไปเที่ยว
กลางคืนไมไป ชวนไปทําการงานทุจริตผิดกฎหมาย
ไมเอา ไมไป... น่ีจะเกิดปญญาเห็นชอบ รูวาอะไร
เปนกุศล อะไรเปนอกุศล อะไรควรละเวน อะไรควร
ประพฤติ ฯลฯ

มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา
มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติวา กโรติ วา ตโต นํ
สุขมเนฺวติ ฉายาว อนปุ ายนิ ี

“ธรรมท้ังหลายมีใจเปนหัวหนา มีใจเปนใหญ
สําเร็จแลวดวยใจ ถาบุคคลมีใจผองใส พูดแลวอยูก็ดี

ประวัตแิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยทองรัตน กนตฺ สโี ล ๔๕

ทําอยูก็ดี ความสุขยอมตามเขาไป เพราะเหตุนั้น
เหมือนเงาไปตามตัวฉะน้ัน”

ครั้งหนึ่งพระอาจารยทองรัตนไดนําพุทธพจน
มาบรรยายใหพระฟง ใหรูเร่ืองกายกับใจ รูปกับนาม
ใหเขาใจยิ่งข้ึน, มีกํานันสมาน ประเสริฐศรี (ลูกชาย
เปนนายอําเภอเขื่องใน นริ ันดร ประเสรฐิ ศร)ี ครูใหญ
โทน ฉลวยศรี (ลกู ชายเปน ผอ. การศกึ ษานอกโรงเรยี น
บุญทัน ฉลวยศรี) ครูใหญสัมฤทธ์ิ....(ลูกชายเปน
ผอ. โรงเรียนมัธยมลือคําหาญ) ครบู ญุ ยงั ................,
ผใู หญบ านอ่นื ๆ และครนู อย ชาวบา นอืน่ ๆ ประมาณ
๒๐ คน

พทุ ธพจนบทนห้ี มายถงึ ใจเปนนาย กายเปน บา ว
จิตส่ังยังไง กายตองทําตามทันที นั่งมาก เมื่อย
เปนทุกข จิตจะบงการใหแกทุกขโดยเปล่ียนเปนยืน
เปน เดนิ เปนน่ัง เปน นอน พระพทุ ธเจาทานใหเ อาสติ
ออกไปดวู า รปู นกี้ าํ ลงั ยนื , รปู นกี้ าํ ลงั นงั่ , รปู นก้ี าํ ลงั เดนิ ,
รูปนี้กําลังนอน การเปลี่ยนอิริยาบถทุกอิริยาบถ คือ

๔๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

การแกเ มอื่ ยแกทกุ ข แตค วามเมอื่ ยความทกุ ข จติ หรอื
มโนวิญญาณเปนผรู ู จติ น้นี อกจากเปน ผรู แู ลวยังเปน
ผูหลงในกายอีกดว ย

จติ เปน ผสู รา งสงั ขาร บงการสงั ขาร สง่ั ใหส งั ขาร
ทาํ น่นั ทํานี่

จิตเปนอรปู ธาตทุ ีแ่ ปลกประหลาดยง่ิ นกั แมจ ะมี
อวชิ ชา คอื ไมรูจกั ตนเองก็จริง แตมคี วามสามารถแตง
สงั ขารไดมากมาย จนพรรณาไมจ บสิ้น รถยนต รถไฟ
เครอื่ งบนิ นาฬก า ตกึ สงู ๆ ปราสาทราชวงั โบสถ วหิ าร
เหลานี้ จติ เปน ผูส รางขน้ึ ทงั้ สิน้

จิตฉายเงาเปนธาตุคิด แลวเกิดผลเปนธาตุรู
ธาตุรูท่ีปรากฎเปนโลกียวิชชา เมื่อจิตมีวิชชาแลว
จึงใชกายใหนําธาตุตางๆ อันเปนรูปธาตุ มาผสม
ควบคมุ กนั ขนึ้ สาํ เร็จเปน รปู วตั ถตุ า งๆ งดงามปราณตี
บา งไมปราณตี บาง

ประวตั ิและการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรตั น กนฺตสีโล ๔๗

จติ มธี าตรุ ูชนดิ หน่ึง เรียกวาผูฉลาด
จิตท้งั หลาย (จกั ขุวิญญาณ) คงไดเ คยเหน็ ประตู
หนาตางโบสถวิหาร แกะเปนรูปลวดลายตางๆ เปน
กวาง เปนนก เปนลิง เปนตะขาบ อยูในดงไม ในดง
เถาวัลย บางแหงลงรักปดทอง บางแหงติดกระจกสี
ตา งๆ สวยงามปราณตี เพยี งไร จกั ขวุ ญิ ญาณ ผมู องเหน็
คงไมปฏิเสธ สิ่งท่ีเห็นนั้นเปนกรรมของผูกระทํา
จิตของผูกระทําน่ันแหละสั่งใหกายทํา กอสรางข้ึน
เขยี นลายขึ้น แกะสลกั ขึน้ ปนแตง ดว ยปนู บาง ไมบ า ง
เหลก็ บา ง ทองเหลอื งบา ง ทองคาํ บา ง กายเปน ผกู ระทาํ
ตามคาํ ส่งั ของจติ
จิตมีโลกยี วิชชาเปน คุณสมบัติ
จติ ใชใ หก ายกระทาํ สรา งวตั ถเุ หลา นน้ั ขนึ้ กายนนั้
เปน ธาตไุ มร อู ะไร ทาํ อะไรเองหาไดไ ม จติ เปน ธรรมชาติ
ท่มี อี าํ นาจเหนอื กาย จิตจงึ มีอํานาจหลายประการจึง
จะสรางสงั ขาร (สงิ่ ตางๆ) ได เชน

๔๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม

ตองมีวิชชาในกจิ การนนั้ ๆ
ตอ งมีฉนั ทะความพอใจในอนั จะทําสง่ิ นั้นๆ
ตองมีความเพียรพยายามประกอบกิจนั้นๆ
ตองมีความเพียรเอาใจใสพจิ ารณาในกิจน้นั ๆ
จิตเปนธรรมชาติท่ีแปลกประหลาดอัศจรรย
เพยี งไร
จิตเปนอรูปธาตุ แตมีคุณสมบัติหลายประการ
จิตจะฉายเงาเปนธาตุคิด คิดเทาไรๆ ธาตุคิดน้ันๆ
ก็เกิดขึ้นและดับไป แตธาตุรูที่เปนผลของธาตุคิด
มอี ยเู ปน คณุ สมบตั ิ ไมส ญู หายไปไหน จติ เกบ็ ธาตรุ หู รอื
อวิชชาเหลาน้ันไวไดอยางนาอัศจรรย
จิตอื่นๆ จิตของคนอื่น ท่ีไมมีวิชชาอยางนั้น
เหมือนคนนั้น ไมสามารถแยงชิงแบงปนเอาวิชชา
ของจิตคนนน้ั เอามาเปน ของตนได วิชชาของคนนัน้ ๆ
จงึ เปน ดุจทรพั ยอันกายสิทธ์ิ จิตใชไมรหู มดส้นิ

ประวัติและการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรตั น กนฺตสโี ล ๔๙


Click to View FlipBook Version