กายเปน ธาตุ ๔ ท่เี สอื่ มส้นิ ไปทกุ นาที
จิตเปนผูครองกาย ตองคิดบํารุงกายดวยขาว
และน้าํ ผลไมต า งๆ ตองหาเสอ้ื ผา สตี างๆ มาปกปด
รา งกาย ปอ งกันความหนาวความรอน กนั เหลือบยงุ
สรา งบา นเรือน ท่ีนัง่ ที่นอนใหกายไดพ ักอาศัย
เมื่อกายเกิดเจ็บปวย จิตตองแสวงหายาบําบัด
โรคภยั น้นั ๆ เพื่อใหกายทรงอยูต อ ไป
แปลกไหมละ สกลกายนี้แมประกอบดวยธาตุ ๔
ดิน น้าํ ไฟ ลม กจ็ ริง แตเปนสรีระยนตที่วิจติ รพิสดาร
ย่ิงนัก ไมมีส่ิงอันใดในโลกท่ีเปนของใชอันสําคัญ
จะสําคัญเหนือยิ่งกวากาย สิ่งตางๆ ท่ีสรางสรรคข้ึน
มาเชน รถยนต รถไฟ เครอ่ื งบนิ นาฬก า กย็ งั ไมพ สิ ดาร
หรอื มคี ณุ คา ย่ิงกวากาย สมบัตภิ ายนอกแมจะตรี าคา
วตั ถุน้นั เปน แสน เปนลาน เปนรอ ยลาน เมือ่ เทยี บกับ
กายแลว กายตองมคี ุณคามากกวาสงิ่ เหลานัน้ เพราะ
สง่ิ เหลา นัน้ จิตและกายเปนผูคิดและสรา งข้นึ ทั้งสิน้
๕๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
จิตรักใคร่ กําหนัดในกาย สําคัญวากายเปน
สิ่งสวยงาม
จติ มองหยาบๆ เหน็ ผวิ หนงั ปด รา งกายไว หอ หมุ
เนื้อ ตบั ไต ไสพงุ กระดูกไว หลงวากายนงี้ าม จิตหลง
มวั เมาในกาย กใ็ ชก ายนนั่ แหละใหแ ตง กาย กายไมร วู า
ถกู ใช ก็ทําตามนายส่งั (จิตเปนนาย กายเปนบาว)
กาํ นนั เกิดมาแลว ก็ประสบความทุกข ทกุ ขเ พราะ
ตอ งทาํ ไรไถนา ทุกขเ พราะความเจ็บปวย ทกุ ขเพราะ
ความแกแ ละความตาย
จติ สงั่ ใหท าํ ไรไ่ ถนา เกบ็ เกย่ี วแลว เอาขา วไปขาย
แมบานสงั่ วา ซอื้ สรอ ยคอมาใหหนงึ่ เสน นะ ใหล กู สาว
หนง่ึ เสน นะ ตา งหหู นงึ่ คนู ะ กาํ นนั กท็ าํ ตาม ปฏบิ ตั ติ าม
ตามทจี่ ิตของแมบ า นสั่ง
ประวัติและการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรตั น กนฺตสโี ล ๕๑
กายและอวัยวะต่างๆ ไมร่ ูวา่ ถูกใช ใหป ระดับ
กายใหสวยงาม
เพราะจิตกําหนัดในกาย มัวเมาในกายจึงสั่งให
กายนัน่ แหละใหประดบั กาย หูไมร วู า ถกู ใสตา งหู นวิ้ ก็
ไมร วู า ถกู ใสแ หวน คอกไ็ มรูวาสวมสรอ ยคอ เอวก็ไมร ู
วาถูกคาดเข็มขัดนาค นอกจากนี้จิตยังสั่งใหหา
ผาซิ่นไหมลายสวยๆ สีน้ันสีน้ี เสื้อก็ตัดทรงน้ันทรงน้ี
แขนส้ันบาง แขนยาวบา ง ครง่ึ แขนบาง กายของกํานนั
ก็เอาคําสั่งของจิตแมบานมาใสจิตตน จิตตนก็ส่ังกาย
ใหทําตามความตองการของจิต เพราะจิตกํานันหลง
ในกายของแมบาน
กํานันรําพึงออกมาวา โอยแมนอีหลี แมนคักๆ
จิตมันเปน นาย กายมนั เปนบา วอีหลี
ทานพระอาจารยทองรัตนพูด เทศน บรรยาย
ภาษาพื้นเมืองตลอด แตผมถายทอดแปลภาษาลาว
เปน ไทยสะดวกดี งา ยดคี รบั ทา นบรรยายตอ ไปอกี เปน
ภาษาพ้ืนบาน
๕๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
จิตเปนอรปู ธาตสุ งิ อยู่ในกาย
จติ เปน ผรู ู แตแ มก ระนนั้ กไ็ มร ตู ามความเปน จรงิ
วิชาทางการแตงกายประดับกายน้ี จิตไมรูวาเปนไป
เพอื่ สะสมกองกเิ ลสโดยแท จติ หลงเพลนิ มวั เมารกั ใคร
ในรางกายเชนน้ัน มิไดระลึกถึงความแปรปรวนของ
รางกาย กายแกลงทุกขณะ จิตยังไมยอมวากายแก
สําคัญตนเองวายังหนุมยังสาว จิตลุมหลงมัวเมา
เพงเล็งมุง หมายในเพศตรงกนั ขา ม จติ เชนนยี้ อ มนยิ ม
การครองชวี ติ คู จงึ ประสบความสขุ บา ง ความทกุ ขบ า ง
ระคนปนกันไป ก็เพราะกามคุณ มีกามสุขเปนผล
กามโทษก็มีกามทุกขเปนผล ชีวิตคูจึงมิไดประสบ
สันติสุขอันแทจริง สิ่งเหลาน้ีมีคุณอนันต ก็ยอมมี
โทษมหันต น่ีแหละเปนวิถีการครองชีพของจิตที่หลง
รกั กาย
จิตรจู กั กายแจง ยอ่ มเปน จติ เอก
จิตทรี่ ูจักกายชดั แจง ตามความเปน จริงของกาย
วา เปน ของไมส ะอาด เสอ่ื มสลายไปทกุ นาที ยอ มเปน
ประวัตแิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สีโล ๕๓
จติ เอก ครองชวี ติ เอก ไมค ิดเบยี ดเบียนใคร ไมกลา ว
วาจาเบยี ดเบยี นใคร ไมใ ชก ายใหท าํ การเบยี ดเบยี นใคร
จิตเวนจากการเบียดเบียน จึงไดช่ือวาเปนจิต
บรรพชติ เปน ผสู งบ เปน ผมู คี วามสขุ อยา งเยอื กเยน็ อยู
เปนนิตย นีแ่ หละพระภกิ ษุ บรรพชิต ทานใหรักษาศีล
ระวังอนิ ทรีย ๖ มคี วามพากเพยี รทาํ สมาธิ เดินจงกรม
ใหจิตสงบจากกเิ ลส ทาํ จิตใหเปน เอกคั ตาจิต ก็จะเห็น
ความสงบเหน็ ความมหศั จรรยข องจติ ดว ยตนเอง ดจู ติ
เหน็ จิตของตนเอง ก็จะพน จากบว งของมาร
คฤหัสถ์ญาติโยมใหรักษาศีล ๕ สมาทานศีล
๕ อยูเสมอ ก็จะพนจากอบายภูมิ เห็นทางไปสูสุคติ
โลกสวรรคไดสมปรารถนา สมดังทานตรัสไววา มโน
ปุพฺพงฺคมา ธมฺมาฯ จิตเปนใหญเปน ประธานฯ
คิดว่าพระอาจารย์ทองรัตน์ ท่านมี เจโต-
ปริยญาณ
วันหนึ่ง โยมสองคนสามีภรรยา มาจากบาน
หวั ดอน มาถวายอาหาร ภรรยาหว้ิ หมอ เขยี วใสอ าหาร
๕๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
และกระตบิ ขาวเหนยี วเดนิ มากอน สามีหาบมะพราว
ออน แตงไทย และแตงกวาตามหลงั มาหางๆ
เมอื่ มาถงึ ศาลาหอฉนั วางหาบ กราบพระประธาน
กราบพระอาจรยทองรัตนแลว พระอาจารยทองรัตน
กลา วยมิ้ ๆ วา เออ! จะเยยี่ วกว็ างหาบเสยี กอ น แลว นง่ั
ลงเยย่ี ว ยนื เยย่ี วนน่ั มนั เปน พวกววั พวกควาย หาบของ
มาถวายพระกต็ อ งวางหาบลงจากบา กอ น จงึ จะสมกบั
เกิดมาเปนคน พระเณร ญาติโยมในเชาวันนั้น
แปลกใจวา หาบของมาตั้งไกล ๓-๔ กม. ยืนเยี่ยว
กลางทางไมวางหาบลงกอ น ทา นรูไดอยา งไร?
โยมใส่บาตรพระใหม่ ดวยปงไก ซอนไว
กนขันขาว
เมื่อกลับถึงสํานัก ยังไมไดเอาขาว เอาอาหาร
ออกจากบาตร ทานเปรยขึ้นวา วันนี้ทานเทียบได
อาหารพเิ ศษอกี แลว (โยมภรรยาครใู หญ โทน ฉลวยศรี
ซอ นไวใตขนั ขา วเสมอ ทานจะรทู กุ ครง้ั ) ทานรูไดย งั ไง
ทา นตองมญี าณเจโตแน
ประวัตแิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรัตน กนฺตสีโล ๕๕
ผัวเมียตกี นั ทะเลาะกนั ไปกราบทา น ไปฟอง
ทาน
เม่ือผัวเมียเขาไปกราบทาน ทานชี้ไปที่ไมคาน
และดามไมกวาดวา เอา ตีกันใหดูหนอย อยากจะดู
(ทานรูกอนเดินเขาเขตสํานัก) ผัวเมียมองหนากัน
แลวย้มิ อายๆ ทา นใหนํา้ ไปคนละขวด (ขวดเหลาขาว
ตรารวงขาว โยมนํามากรอกน้ําด่ืมถวายพระ) ทาน
บอกวา เวลาโกรธกันใจมันรอน ใหอมน้ําไวในปาก
ใจจะเย็น ปากก็จะไมดากันทะเลาะกัน มีเร่ืองตางๆ
ที่ทานรูลวงหนากอนเสมอ แสดงวา ทานมีเจโต-
ปรยิ ญาณแนๆ
ทานปรารภวา เมื่อแรกก็รักกัน สามัคคีกัน
คร้ันมีลูกมีเตาข้ึนมาก็ทะเลาะกันตีกัน นี่แหละเปน
เร่ืองของความไมเท่ียง ความไมเท่ียงน่ันแหละเปน
ความทุกข คนรกั ษาศลี มีสมาธิ ฝก ทําสมาธใิ หจ ิตวา ง
จากกเิ ลส คนพวกนีจ้ ะไมท ะเลาะกนั เพราะอานิสงส
ของศีลคุมครองรักษา พูดจากันก็มีเหตุมีผลสงเสริม
กันไปในทางเจริญ
๕๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
เปนพระอาจารย์แตกฉานในธรรมของ
พระพุทธเจา
ธัมมะทุกขอในหนังสือสวดมนตแปล ในหนังสือ
เจด็ ตาํ นานแปล ทา นจะอธบิ ายใหเ ขา ใจโดยแจม แจง ฯ
กอนเขาพรรษา พระอาจารยกินรีจะมากราบ
พระอาจารยทองรัตนทุกป และกําหนดนัดกันไววา
ออกพรรษาแลวประมาณหนึ่งเดือน พระอาจารย
ทองรัตนจะกําหนดนัดพระอาจารยกินรีไวลวงหนา
(แมชีแกว แมชีผิว ธานี เลาใหผมฟง) สวนมากทาน
จะธุดงคไปนครจําปาศักด์ิ ไปภูมะโรง ภูดาง ในเขต
ประเทศลาว ตรงหมูบานใดมีคนหมูมาก ไมมีวัด
ไมมีสํานักสงฆทานจะปกกลดอยูเชิงเขาหรือราวปา
หา งหมูบ านราว ๑ กม.
ตาแสงหรือกํานัน จะมาถามมาสนทนากับทาน
และนมิ นตใ หท านอยูน านๆ ทา นจะส่งั ใหต าแสงบอก
ลูกบา น ใหใสขาวเหนียวคนละกอ นเทาไขไก อาหารก็
ช้นิ เดียว ถาเปนกลว ยกเ็ อาลกู เดยี ว เผอื กตม มันตม
ประวัติและการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรัตน กนตฺ สโี ล ๕๗
กห็ วั เดียว ใสบ าตรหลายบา นกเ็ ต็มบาตร ใหเ ด็กหนมุ
ลาวไปเอาขาวอาหารเหลือจากฉันเอามาแบงกันกิน
เน้อื ววั เนือ้ ควาย ลิง คา ง ชะนี หมูปา กะรอกกระแต
งู พงั พอน เตา ตะพาบ ปลาไหล กระตา ย เกง กวาง
ฯลฯ ทา นไมฉ นั จุดประสงคไ มใ หเ ขาไปฆา สัตวพวกนี้
ทานบอกตาแสงกํานันวา ปลาแหง ปลาปน ตม เผือก
ตมมนั พริกเกลอื พระกัมมัฏฐานทานฉนั ไดอ ยู
ช า ว ล า ว น ค ร จํ า ป า ศั ก ด์ิ เ ค า ร พ เ ล่ื อ ม ใ ส ใ น
พระอาจารยทองรัตนมาก ไปที่ไหนชาวบานก็นิมนต
ใหทานอยูนานๆ ทานจะอยูจําพรรษาที่วัดบูรพา
ต.ชีทวน ออกพรรษาแลวจะไปธุดงคฝงลาวเสมอ
ไปทุกป ไปอยูฝงลาวมากกวาฝงไทย
แม่ชแี กว ธานี ทราบประวตั ทิ ่านดี
แมชีแกว ธานี ยายของผม, แมชีผิว ธานี
แมช เี สยี่ ง ธานี นา ของผม, สามแมช นี ร้ี ปู ระวตั อิ าจารย
ทองรัตนดี บวชอยูกับอาจารยทองรัตนตลอดชีวิต
ทง้ั สามทา นถงึ แกก รรมหมดแลว คงจะมญี าตขิ องทา น
๕๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
หลานของทานอยูบานทาโคม พอจะสืบถามประวัติ
ของทา นไดบ า ง!!!
ผมขอตอบจดหมายของทาน.......................
ดงั นคี้ รบั
เหตกุ ารณท์ ีผ่ มไดย นิ ไดฟ ง ไดเ ห็นมา
เหตุการณที่ผมไดสอบถามดูและไดอยูศึกษา
ปฏิบัติธรรมอยูกับพระอาจารยทองรัตนน้ัน ไดเลา
มาถวายทานอาจารยแลว พรอมภาพพระอาจารย
ทองรตั น ๓ ภาพนนั้
บริขารของพระอาจารย์ทองรัตน์อยูท่ ี่ใดบา ง
เรอื่ งบรขิ ารของพระอาจารยท องรตั นน นั้ ผมไมร ู
เลย ป ๒๔๙๙ ทที่ า นมรณภาพนน้ั ผมทาํ งานอยบู รษิ ทั
ปูนซเี มนตไทย จํากดั โรงงานทา หลวง จงั หวัดสระบรุ ี
ประวตั แิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยทองรัตน กนฺตสโี ล ๕๙
สาเหตุแห่งการมรณภาพ
สาเหตุแหงการมรณภาพของทานอาจารย
ผมไมทราบเลย มรณภาพที่ไหน ใครเปนประธาน
เปนเจาภาพ และฌาปนกิจทานท่ีไหนผมก็ไมทราบ
เพราะไมทราบขาวเลย
แนวการสอนของทา่ น
ทานใหอานพุทธประวัติ ๒ เลม อานสวดมนต
แปลฉบับหลวง อานเจ็ดตํานานแปล โดยเฉพาะให
ศกึ ษาธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร ทเ่ี กดิ มพี ระสงฆอ งคแ รก
ในพทุ ธศาสนา สงสยั ในธรรมขอ ใดใหม าถาม พระบวช
ใหมใหทําจิตใหสงบ ใหสงบอยูในกาย ในถ้ําในหทัย
อยาใหฟุงซานไปนอกกาย อยาใหจิตคิดไปถึงเรื่อง
ขางหนาที่ยังมาไมถึง อยาใหจิตคิดถึงเรื่องท่ีผาน
มาแลว มีศีลพรอมดวยกายวาจาใจ มีความเพียร
ทําจิตใหสงบจากกิเลส จึงจะมีปญญาเห็นธรรมของ
พระพุทธเจา ถาไมม ีความเพียร จติ ไมสงบ จติ คดิ ไป
รอบโลก จิตไมสงบจากกิเลส จิตไมเปนเอกัคตาจิต
๖๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
บวชไปรอยปก็ไมเห็นธรรม เห็นมรรคผลอะไรดอก
ดังน้ันจึงใหมีความเพียรมากๆ มีศรัทธามาบวชแลว
ใหม ศี ีลบรสิ ุทธิ์ มสี ติ มีสมาธิ มปี ญ ญา จึงจะเหน็ ธรรม
ฯลฯ
อุปนิสัยใจคอของทา่ น
ทานเปนผูมีธรรมอันสะอาด คือมีใจเปนกุศล
มีจิตใจขาวสะอาดอยูเสมอ สีหนาทานจะราเริง มีใจ
เบิกบาน ใจฟดู ว ยอารมณขนั ทกุ เวลา ใครไมสบายใจ
เห็นทานอาจารยจะสบายใจ ราเริงใจดีขึ้น ทานพูด
ทานแนะนําอะไรเปนประโยชนเปนกุศลจิตท้ังน้ัน
ทานเทศนทานพูดนาฟง เปนสุภาษิต เปนประโยชน
ในเบื้องตน ทามกลางและสุดทาย ชาวบานที่ไดมา
พบทานมาฟงทานเทศน อยากจะมาคารวะกราบ
ไหวทานอีก ถือวาไดมาออนนอมไดมากราบไหว
พระอริยเจา ไดบุญไดกุศล ไดอานิสงสกลับไปบาน
อกี ดวย
ประวัตแิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๖๑
ท่านเคยจาํ พรรษาท่ไี หนบา ง พ.ศ. เทา่ ไร
เรื่องการจําพรรษาที่ใดบางของพระอาจารยนั้น
เรอื่ งนผี้ มไมท ราบเลย หากแมช แี กว แมช ผี วิ แมช เี สยี่ ง
ยังอยู ก็พอจะสอบถามไดบาง
เกรด็ ธรรมะของพระอาจารย์
เกร็ดธรรมของทานอาจารยคือความเพียร
ใหถือเอาความเพียรของพระจักขุบาลเปนตัวอยาง
เพ่ือนสหธรรมและแพทยรักษาตาใหหยุดทําความ
เพยี รสกั ๗ วัน ทา นไมเ อาตาดี แตทานเอามรรคผล
เดินจงกรมจนตาแตกตาบอดและนิพพานในทีส่ ดุ
ทานวาเปนคนไมมีความเพียร ทําอะไรก็ไมดี
ทั้งนั้น เปนพระไมมีความเพียร ก็ไมเห็นธรรม
ไมบรรลุธรรม ซ้ํามาบวชสะสมกิเลส เปนบาปกรรม
เปลาๆ
๖๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวตั แิ ละการอบรมธัมมะของ
พระอาจารยทองรตั น กนฺตสีโล
(ตน ฉบบั ลายมือ)
ประวัตแิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สีโล ๖๓
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๖๕
๖๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๖๗
๖๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๖๙
๗๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๗๑
๗๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๗๓
๗๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๗๕
๗๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๗๗
๗๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๗๙
๘๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๘๑
๘๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๘๓
๘๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๘๕
๘๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๘๗
“พระเณรบวชเขา มาในพระพทุ ธศาสนา
ถาจะดตี อ งไดอยกู บั ครูบาอาจารย
เพราะครบู าอาจารยทา นจะเปน คนสอดสอ งดแู ล
พฤติกรรมอปุ นสิ ยั ของลูกศษิ ยแตละคน
วาควรจะบอกจะสอนในลกั ษณะใด
เพราะมานะทฏิ ฐิของแตละคนไมเ หมือนกัน”
พระอาจารยท์ องรัตน์ กนตฺ สโี ล
โอวาทธรรม
หลวงปคู รูบาจารยเฒาทองรัตน กนตฺ สีโล
(คัดจากหนงั สอื มณรี ัตน อัญมณีแหงไพรสณฑ)
ประวัติและการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรตั น กนฺตสโี ล ๘๙
ทดสอบศิษย์
มบี อ ยครง้ั เหมอื นกนั ทค่ี รบู าจารยเ ฒา ลองลกู ศษิ ย
ทีย่ ังประมาทอยู เชน หลวงพออวนเลา วา “คร้งั หนึ่ง
หลวงพออวนไดกราบลาหลวงปูกินรีเพ่ือจะไปศึกษา
ธรรมะกบั ครบู าจารยเ ฒา กอ นไปหลวงปกู นิ รกี าํ ชบั วา
ระวงั นะ ถา ไปหาครบู าจารยเ ฒา ระวงั ทา นจะทดสอบ
อารมณ ทดสอบสติ เมอ่ื ไปถงึ ไดก ราบครบู าจารยเ ฒา
ก็ไดเรื่องจนได เม่ือครูบาจารยเฒาบอกใหไปตัดไม
มาใหทาน ขณะนั้นทานกําลังทํากิจวัตรอยูพอดี
หลวงพออวนซึ่งผานการฝกมาอยางดี จึงรูทางมวย
ไดมีดโตเดินเขาไปในปา ตัดไมที่ตายแลวมาใหทาน
พอครบู าจารยไ ดเ หน็ เทา นน้ั แหละ “เออ! นแ่ี มม นั จงั่ แมน
ศิษยพระพุทธเจา” (เออ! น่ีมันจึงสมกับเปนลูกศิษย
พระพุทธเจา)
มีบอ ยครงั้ เหมือนกันที่พระเณรบางรปู เม่ือทา น
ใหทําในส่ิงที่มันผิดวินัย ก็ทําดวยความรูไมเทาทัน
ทําใหรับบทเรียนท่ีไมมีวันลืม คือคําเทศนกัณฑใหญ
และแสบเผ็ด เพราะเหน็ วาเปนครูบาจารย แตไมเห็น
๙๐ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
ธรรมวินัยเปนใหญ ซึ่งครูบาจารยเฒา อาบัติเล็กๆ
นอ ยๆ ทา นไมป ลอ ย ทา นถอื เปน สง่ิ สาํ คญั มากสาํ หรบั
ชีวิตพรหมจรรย ดวยเหตนุ เ้ี องทําใหหลวงปูชาทานให
ความเคารพตอครูบาจารยเฒาเปนอยางมาก จึงได
นาํ หลกั ธรรมตา งๆ จากครบู าจารยเ ฒา มาสอนลกู ศษิ ย
ลูกหาอยูตลอด โดยเฉพาะขอวัตรปฏิบัติทุกอยางใน
สํานักวัดหนองปาพงและสาขา ปจจุบันเหมือนกับ
ขอ วตั รปฏบิ ตั ขิ องครบู าจารยเ ฒา ทสี่ ง่ั สอนลกู ศษิ ยส มยั
ที่ยงั มชี ีวติ อยูเกอื บทกุ อยา ง
ตามท่ีหลวงปูชาไดสัมผัสกับครูบาจารยเฒา
เห็นวาถาคนไมฉลาด จะไปเอาธรรมะกับทานไมได
คือไปเอาอยางทาน ไมไปเอาเย่ียงทาน อยางเชน
ครูบาจารยเฒาทานพูดไมสํารวม การออกไปรับ
บณิ ฑบาต ทา นขอของไปเรอ่ื ยๆ เวลาทา นดใุ หพ ระเณร
ทปี่ ระชมุ จะดุ พระเณรไปเอาอยา งทา นไมไ ด ทา นไมม ี
อะไร ความเปน จรงิ นน้ั ทานพดู ทา นทาํ อะไร ทา นมงุ
สอนธรรมะ ไมไ ดมงุ สอนหมคู ณะ ไมไดม ุงเสียหาย
ประวัตแิ ละการอบรมธมั มะของพระอาจารยท องรตั น กนฺตสีโล ๙๑
ติดสมมุติ
บางคนไมเ ขาใจ หาวาทา นเปนโรคประสาท เชน
มอี ยคู รงั้ หนงึ่ หลวงปชู าเลา วา ครบู าจารยเ ฒา ไดเ ดนิ ไป
พรอมภิกษุสงฆหมูหนึ่ง เห็นควายตัวเมียกินหญาอยู
ขางทาง ครูบาจารยเฒาพูดวา “โอย ควายเถิกโตน่ีคือ
กนิ หยา อยใู กลท างแท” (โอย ควายตวั ผตู วั นที้ าํ ไมจงึ มา
กินหญาอยูใกลทางจังเลย) และเดินไปอีก ทานไดชี้
ใหดูควายตัวผูกําลังเล็มหญาอยูกลางทุง และพูดวา
“เออ ไปหากินกลางทุงคือควายแมโตน่ันมันจังแมน”
(เออ ไปหากนิ กลางทงุ นาเหมอื นควายตัวเมยี ซิ มันถึง
จะถูก) ทานดูควายตัวผูเปนตัวเมีย ควายตัวเมียเปน
ตัวผู ผูไมเขาใจก็หาวาทานเปนประสาท ความจริง
ไมม ตี วั ผู ไมม ตี วั เมยี อยา งนท้ี า นเทศนใ หเ ราฟง คนไม
เขา ใจธรรมะเลยเกดิ เถยี งกนั วนุ เมอ่ื รสู มมตุ แิ ลว วมิ ตุ ติ
กเ็ ปนไปในตัว
๙๒ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
พระเณรจะดี ตอ งอยู่กบั ครูบาจารย์
ครูบาจารยเฒาทองรัตนเคยเลาใหหลวงพอกิ
ฟง วา พระเณรบวชเขามาในพระพทุ ธศาสนา ถาจะดี
ตอ งไดอ ยูกับครบู าอาจารย เพราะครูบาอาจารยทาน
จะเปน คนสอดสอ งดแู ลพฤตกิ รรมอปุ นสิ ยั ของลกู ศษิ ย
แตละคนวาควรจะบอกจะสอนในลักษณะใด เพราะ
มานะทิฏฐิของแตละคนไมเหมือนกัน ทานเลาวา
สมัยอยูกับครูบาจารยเสาร ครูบาจารยมั่น แตกอน
ทิฏฐิมานะของทานนั้น ใครจะมีเทาทานไดในโลกนี้
เพราะไดอาศัยครูบาจารยทั้งสองทานเปนคนคอย
ขัดออกให กระทุงออกให บางครั้งครูบาจารยทานดุ
บางครงั้ ทา นกพ็ ดู ใหค ดิ บางครงั้ ใหไ ปอยทู ท่ี ไี่ มม ใี ครไป
แตก็อาศัยความเคารพศรัทธาท่ีมีตอครูบาจารยจึง
ไดอดทนอดกล้ันกระทําตามท่ีทานบอกทานสอน
ทานบอกอยาก็อยา ทานบอกไมก็ไม ถึงมันจะฝน
ก็ตองทน ถาไมใชครูบาจารยเสาร ครูบาจารยมั่น
ทานคงจะปลอ ยทิ้งแลว
ประวัติและการอบรมธัมมะของพระอาจารยท องรัตน กนตฺ สโี ล ๙๓
ดว ยความเคารพและศรัทธา
พอ ใหญก ณั หา สทุ ธพิ นั ธ เปน โยมอปุ ฏ ฐากใกลช ดิ
กับครูบาจารยเฒามาโดยตลอด หลังจากท่ีไดรวมกับ
คณะเปนคนไปนิมนตครูบาจารยเฒาที่บานขาโคมให
ไปจําพรรษาที่บานชีทวน เมื่อครูบาจารยเฒาไดออก
จากบานชีทวนหลายพรรษา และไดไปอยูที่บานคุม
อ.สําโรง จ.อุบลราชธานี ดวยความศรทั ธาอนั แรงกลา
ของพอใหญ กไ็ ดอ พยพครอบครวั ไปดว ย
พอใหญไดเลาใหฟงวา “ปกติครูบาจารยเฒา
ทานพดู เสียงดัง เปนเชิงไมกลัวใคร ทานชอบอยตู าม
รมไมตามปา และอยูไมเปนที่ การอยูท่ีเดียวนานๆ
ทานวา จะทําใหต ดิ สถานที่ ทา นไมตดิ กฏุ ิ กลับมาจาก
ธดุ งคก ม็ าอยกู ฏุ หิ ลงั ใหม ตามทไี่ ดไ ปกบั ทา น ทา นจะพา
พกั ใตต นไม เม่ือนั่งลงทานจะกราบกอ น เวลาทา นไป
ก็กราบอีก บางทีแดดจัดๆ หรือยามเย็นๆ ทานจะ
พาน่ังพักกลางวันตามรมไม เม่ือจะน่ังลงทานก็กราบ
เม่ือจะไปทา นก็กราบ ถามทา นวา “ครบู าจารยก ราบ
อะไรหรือครับ” ทานตอบวา “กราบตนไม ตนไมก็
๙๔ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
เหมือนพระพทุ ธเจา มันทํางานเลยี้ งชวี ติ ตวั เอง เวลา
มีลูก มันก็ไมหวง นกก็กินได คนจะนําไปกินก็ได”
สวนบางคร้ัง ครบู าจารยกราบลงกลางแจงนัน้ ก็กราบ
ระลึกถึงความบริสุทธิ์ของพระพุทธองค จิตของ
พระพุทธเจาไมไดเกาะติดอยูกับสิ่งใดสิ่งหน่ึง
คนโบราณจึงมักเปรียบเทียบวา เม่ือมีพระพุทธองค
อยูที่ใด ตองมีดอกบัวรองรับอยูท่ีน่ัน ตามท่ีไดอยู
กับทา น ทา นถอื เปนนสิ ยั ในการลกุ การน่งั ตองกราบ
เปน ประจํา จนผอู ่นื ทําตามยาก
สําหรับการอยู ทานไมชอบอยูกับคนหมูมาก
ชอบอยตู ามลาํ พงั อยตู ามปา สองสามวนั กย็ า ยไปทใ่ี หม
ไมชอบอยูในเมือง ทานบอกวาจะทําใหติดรสอาหาร
ไปอยตู ามปา ฉนั อาหารทพิ ย ถามทา นวา อาหารทพิ ย
คอื อะไร ทานตอบวา อาหารทพิ ย คอื ดอกกระเจียว
หนอขา เห็ดระโง หวาย หนอโจด เวลาฉันก็มีความ
สะอาด ไมมีโรคมีภัย บางท่ีเขานิมนตไปฉันในบาน
ทานจะเอายาควินินเม็ดเหลืองๆ ออกมาประมาณ
๒๐ เม็ด นาํ เขา ปากแลว ฉนั นํ้าตาม ถามทา นวา ทาํ ไม
ประวตั แิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยทองรตั น กนตฺ สโี ล ๙๕
ถึงฉันมากแท ครูบาจารยบอกวา เพื่อดับรสอาหาร
เปน เราฉนั ๓ เมด็ กห็ ดู บั ไปหมด นที่ า นฉนั ตง้ั ๒๐ เมด็
แลวก็เฉย
คร้ังถึงเวลาวันพระ ๑๕ ค่ํา พระเณรมารวมกัน
ทศ่ี าลา เวลาฉนั อาหาร ทา นมกั จะบอกพระเณรใหฉ นั
ดวยความสํารวม มีสติ พิจารณาวาฉันเพ่ือบรรเทา
ความหิว เพ่ือดํารงชีวิตหรือเพ่ือความอยาก ฉันเพ่ือ
ความงามหรือฉันเพ่ือเลีย้ งตณั หา ถา รูสึกวาอีก ๕ คํา
จะอม่ิ ใหหยุด แลวฉันนา้ํ ลงจะอ่มิ พอดี แตถา ตัณหา
มนั สง่ั ใหฉ นั เตม็ ทถี่ งึ ลาํ คอ พอดมื่ นา้ํ ลงไปจะแนน ทอ ง
อยูไมได แลวก็ไมสบาย ตองเอามือลวงคอใหอาเจียน
อยางนี้ผิดวินัยของพระ การฉันโดยไมพิจารณา
เปนบาป ตายไปเปนควายไถนาใหเ ขากิน
๙๖ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม
จบั ไมถ่ กู
อบุ ายการสอนศษิ ยแ ตล ะคนของครบู าจารยเ ฒา
จะไมคอยเหมือนกัน เชนมีอยูครั้งหนึ่ง ทานจะสอน
เร่ืองการขบฉันใหอยูในการสํารวม ระวังอยาฉันให
มีเสียงดัง อยาฉันพลางพูดพลาง อยาฉันมูมมาม
ซง่ึ อยใู นกรอบของวนิ ยั ทว่ี า ดว ยการขบฉนั ถงึ เวลาฉนั
ครูบาจารยเฒาจะทําตรงขามที่สอนลูกศิษย ขาวตก
เรยี่ ราด พดู ทง้ั ทมี่ ขี า วอยใู นปาก เปน อาการทไี่ มส าํ รวม
และมีพระลูกศิษยไมทราบเจตนารมณของทาน
หรืออยางไรไมทราบ เกิดคิดตําหนิทานอยูในใจวา
ครูบาจารยเ ฒา สอนแตค นอื่น ไมสอนตัวเอง พอเกบ็
กวาดโรงฉันเสร็จ กอนเลิก ทานจะมาใหโอวาท
และกราบพระเลิกพรอมกัน พระรูปน้ันถึงกับอ้ึงไป
เมื่อครูบาจารยเฒาทานเทศนเกี่ยวกับที่พระรูปนั้น
คดิ วา “ไปยดึ ตดิ ครูบาจารย ไมยึดติดธรรมะ”
ในเวลาเดนิ อยนู ง่ั อยู กใ็ หน กึ ถงึ ศลี ตวั เอง ศลี ขาด
หรือเศราหมองก็ตองรู นี้เรียกวาอยูดวยความมีศีล
พระธุดงคใหระวังศีล ตลอดจนอาบัติเล็กๆ นอยๆ
ประวัตแิ ละการอบรมธัมมะของพระอาจารยทองรตั น กนตฺ สีโล ๙๗
ก็ใหระวัง ศีลไมบริสุทธ์ิ เขาปา ข้ึนเขา เสือกัดตาย
ถา อยา งนนั้ ไมต อ งเปน พระธดุ งค จงไปนอนเลย้ี งควาย
อยตู ามบา นดกี วา ถา เปน พระมแี ตจ ะตกนรก เขาอยาก
ไดบญุ เขาจึงมาเอาทาน ภายในกาย ภายในใจ ถาศีล
เศราหมองแลว ภาวนาจนแกต ายพระธรรมก็ไมเ กดิ
พระเณรกลวั ทานมาก ใครตอ งอาบตั ทิ านรหู มด
ทานทักทวงในทามกลางหมูคนมากเอาด้ือๆ ใหอาย
ถาทานเตือนแลวทําผิดบอยๆ ทานบอกวาไปเอา
เทียนติดหูไลใหมันหนี มาบวชไมเคารพคําสอนของ
พระพทุ ธเจา บวชหาประโยชนอนั ใด ถา เปนพระจาก
ท่อี ่นื ไปหาทา น พอนัง่ ลง ทานกเ็ รียกชอื่ ถามขา วจะ
ไปไหนมาไหน ทาํ อะไร ถา พระมคี วามรไู ดเ รยี นมามาก
ในใจคิดวาจะอวดความรูตัวเองเปนเชิงดูหม่ิน
ทานรูทันที ทานจะวา “เรียนมามากๆ นั้น เรียนไป
ทําไม มคี วามรูแลวเอาตวั ไมร อด อาบัตเิ ตม็ หัวไมร ตู ัว
เปนพระบณิ ฑบาต ก็มีอาหารฉัน ไมร จู กั เคารพบาตร
ไมรูคณุ ของพระพทุ ธเจา ” ทานพูดไมกลัวคนจะโกรธ
๙๘ บู ช า รั ต น ธ ร ร ม