The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติหลวงปู่ทวด วัดช้างไห้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-27 23:17:57

ประวัติหลวงปู่ทวด วัดช้างไห้

ประวัติหลวงปู่ทวด วัดช้างไห้

Keywords: ประวัติหลวงปู่ทวด วัดช้างไห้

เร่อื งราวประวตั ิของ "หลวงป่ทู วด วัดช้างให้" นนั้ เป็นเรอื่ งราวตามตานาน กลา่ วเล่าสบื ตอ่ กนั มา
บางตานานบางตอนของ ประวัติหลวงปู่ทวดผู้เลา่ กอ็ าจเสรมิ เพิ่มเติมกันไปบ้างเกี่ยวกับเรอ่ื งราว
อภนิ ิหารต่างๆ แต่ก็ถอื วา่ มีเคา้ เรอื่ งจริงเป็นแก่นแทอ้ ยู่ หลวงปู่ทวด เหยยี บน้าทะเลจืด เปน็ บุคคลทมี่ ี
ตวั ตนจริงๆ เร่ืองราวตา่ งๆ ซ่ึงได้รวบรวมจากหนังสอื อา้ งองิ หลายเลม่ ท้งั ทเ่ี ปน็ ตานานหลักฐานทาง
ประวัตศิ าสตร์ หนังสือ ประวตั ิหลวงปู่ทวด วดั ช้างไห้ และ เอกสารตา่ งๆ

พระเคร่ืองของ หลวงปู่ทวด ถงึ แม้ว่าท่านไมไ่ ด้สร้างเองแต่ในความศกั ดิ์สิทธนิ์ ัน้ คงไมม่ ใี ครจะ
ปฏิเสธได้ ความนยิ มในวัตถมุ งคลหรอื พระเคร่ือง หลวงป่ทู วด วัดชา้ งให้ นั้นถอื วา่ เป็นอมตะควบคไู่ ป
กับตานานเล่าขานสบื ตอ่ กันไป ประวตั หิ ลวงปู่ทวด วัดช้างให้ ซึง่ ผสู้ รา้ งตานานแหง่ ความศกั ดส์ิ ิทธ์ิ คือ
พระอาจารย์ทิม ธมฺมธโร (พระครวู ิสัยโสภณ)

ประวัติวัดราษฎรบ์ รู ณะ (วัดช้างให้)

วดั ราษฎรบ์ ูรณะ หรือ วดั ช้างให้ ต้งั อยทู่ ่ี ตาบลควนโนรี อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ชดิ กบั
ทางรถไฟสายใต้ (ระหว่างหาดใหญ่-ไปยะลา) วัดช้างใหส้ ร้างขึน้ เม่ือใด ใครเปน็ คนสร้างคร้งั แรกกย็ ังหา
หลักฐานแนน่ อนไมไ่ ด้ มากนัก กพ็ อจะอ้างอิงตามหนังสือตานานเมืองปตั ตานไี ดบ้ า้ ง ซง่ึ หนังสือตานาน
เมอื งปัตตานรี วบรวมโดย พระศรบี ุรีรัฐพพิ ิธ (สทิ ธิ์ ณ สงขลา) ดงั บทความตอนหนึง่ ว่า

สมยั พระยาแก้มดา เจ้าเมอื งไทรบุรี ปรารถนาต้องการจะหาที่ เพื่อทจี่ ะสรา้ งเมืองให้ “เจะ๊ สติ ี”
น้องสาวครอบครอง เมอ่ื โหรหาฤกษย์ ามดไี ดเ้ วลา ทา่ นเจา้ เมืองกเ็ ส่ยี งสตั ยอ์ ธฐิ านปล่อยชา้ งตัวสาคัญ
คบู่ า้ นคู่เมืองออกเดินป่า หรอื เรียกว่า “ชา้ งอปุ การ” เพ่อื หาท่ีชยั ภมู ิดสี รา้ งเมอื ง ท่านเจ้าเมอื งกย็ กพล
บริวารเดนิ ตามหลังช้างนั้นไปเปน็ เวลาหลายวนั วันหนงึ่ ช้างได้เดนิ ไปหยุดอยู่ ณ ท่ีป่าแหง่ หนึ่ง
(ทว่ี ดั ช้างใหเ้ วลานี้) แลว้ เดินวนเวียนรอ้ งข้ึน 3 ครั้งพระยาแกม้ ดาถอื เป็นนมิ ติ ที่ดจี ะสร้างเมือง ณ ท่ีตรง
นี้ แต่น้องสาวตรวจดูแลว้ ไม่ชอบ พีช่ ายกอ็ ธษิ ฐานให้ช้างดาเนินหาทีใ่ หมต่ อ่ ไป ไดเ้ ดนิ รอนแรมหลายวนั
เวลาตกเย็นวันหน่งึ ก็หยุดพักพลบริวาร นอ้ งสาวถอื โอกาสออกจากทพี่ ักเดินเล่น บงั เอิญขณะนนั้ มี
กระจงสีขาวผ่องตวั หนึ่งวงิ่ ผ่านหนา้ นางไป นางอยากจะไดก้ ระจงขาวตัวน้นั จึงชวนพวกพเี่ ลีย้ งว่ิงไล่
ล้อมจับ กระจงตัวนั้นได้วิ่งวกไปเวยี นมาบนหาดทรายอันขาวสะอาดริมทะเล (คือ ตาบลกือเซะเวลานี)้
ทันใดนัน้ กระจงก็ไดอ้ ันตรธานหายไป นางเจะ๊ สติ ี ร้สู ึกชอบที่ตรงนี้มาก จงึ ขอใหพ้ ีช่ ายสร้างเมืองให้
เม่ือพระยาแก้มดาปลูกสร้างเมืองใหน้ ้องสาว และมอบพลบรวิ ารให้ไว้พอสมควรเรียบร้อยแลว้ กใ็ หช้ ื่อ
เมืองนีว้ า่ “เมืองปะตานี” (ปตั ตาน)ี ขณะนั้นพระยาแกม้ ดาเดนิ ทางกลับมาถึงภมู ิประเทศทช่ี า้ งบอกให้
ครงั้ แรก ก็รสู้ กึ เสียดายสถานท่ี จงึ ตกลงใจหยดุ พกั แรมทาการแผ้วถางป่า และปลกู สรา้ งขึ้นเปน็ วัดตงั้
ชือ่ ว่า “วดั ชา้ งให้” มาจนบัดน้ี ตอ่ มาพระยาแกม้ ดา กไ็ ด้มอบถวายวดั ช้างให้แก่ “ทา่ นลงั กา”
ครอบครอง พระภกิ ษุชราองค์นที้ ่านอยเู่ มืองไทรบุรเี ขาเรียกว่า ท่านลังกา เมอ่ื ท่านมาอยูว่ ัดช้างให้
ชาวบ้านเรียกวา่ ทา่ นชา้ งให้ เปน็ เช่นนี้ตลอดมา

หลวงป่ทู วด และ พระอาจารยท์ มิ ธมฺมธโร (พระครวู สิ ัยโสภณ)

สมยั โบราณน้ัน คนมลายนู บั ถอื ศาสนาพทุ ธ พระยาแกม้ ดาคนมลายจู ึงไดส้ รา้ งวดั ชา้ งใหข้ ึ้น อา้ ง
ตามหนังสือของพระยารัตนภักดี เรอ่ื งปญั หาดนิ แดนไทยกบั มลายู หน้า 8 บรรทดั 16 ในหนังสอื อิง
ตามประวัติศาสตร์ว่า พ.ศ.1300 กษัตรยิ ค์ รองกรงุ ศรีวชิ ยั แห่งปาเลม็ บงั มอี านุภาพแผ่ไพศาลอาณาเขต
เข้ามาถึงแหลมมลายู และไดก้ ่อสร้างสถานทีส่ าคญั ทางพุทธศาสนาไวห้ ลายแห่ง มีผู้พบศลิ าจารึกแผ่น
หนงึ่ ที่นครศรีธรรมราช บนั ทึกวา่ เม่ือพ.ศ.1318 เจ้าเมอื งศรีวิชัย ได้มากอ่ สร้างพระเจดยี ท์ ่ี
นครศรธี รรมราช และท่ีสาคัญอีกแหง่ คอื พระพุทธไสยาสน์ในถา้ ทีภ่ ูเขา (วัดหน้าถา้ ) ตาบลหนา้ ถา้
อาเภอเมอื งยะลา จงั หวดั ยะลา คาดว่าสรา้ งเมื่อสมยั กรุงศรวี ิชยั ระหว่างพ.ศ.1318-1400
ตอ่ มามกี ารปฎิสังขรณ์เพ่มิ เตมิ ตามที่เหน็ ในปัจจบุ นั ขณะที่ ทา่ นลงั กา "หลวงปทู่ วด" พานกั อยู่ท่วี ดั ใน
เมืองไทรบุรี วนั หนง่ึ อุบาสก อบุ าสกิ า และลกู ศิษยอ์ ย่พู ร้อมหน้าทา่ นไดพ้ ดู ข้นึ ในกลางชุมนุมนนั้ ว่า ถ้า
ท่านมรณภาพเม่อื ใดขอให้ชว่ ยกนั จดั การหามศพไปทาการฌาปนกิจ ณ วัดชา้ งให้ ดว้ ย และขณะหาม

ศพพกั แรมนนั้ ณ ท่ใี ดน้าเน่าไหลลงสพู่ ้ืนดนิ ทตี่ รงน้นั จงเอาเสาไม้แกน่ ปกั หมายไว้ ต่อไปข้างหน้าจะ

เป็นทศี่ ักดิส์ ิทธิ์ อยู่มาไมน่ านท่านก็ไดม้ รณภาพลงด้วยโรคชรา คณะศิษยผ์ เู้ คารพในตัวทา่ นกไ็ ด้ จัดการ
ตามทท่ี า่ นสงั่ โดยพร้อมเพรียงกันเมื่อทาการฌาปณกิจศพท่านเรียบรอ้ ย

เมอื่ พ.ศ.2501 พระอาจารย์ทมิ ธมมฺ ธโร (พระครูวิสยั โสภณ) ได้เดนิ ทางไปบชู ามาแลว้ ทกุ
สถานที่ แตล่ ะสถานท่ีก็มสี ภาพเหมือนสถปู ท่ีบรรจอุ ฐั ิหลวงปู่ทวดทวี่ ัดชา้ งให้ เมื่อครั้งยงั ไม่ไดต้ บแตง่
สรา้ งใหมส่ อบถามชาวบา้ นแถบๆนนั้ ดู ตา่ งก็เล่นถึงเรื่องราวท่ีสืบทอดต่อกนั มาใหอ้ าจารยท์ มิ และคณะ
ฟังวา่ เป็นสถานทต่ี ้งั ศพหลวงปทู่ วด เมื่อมาพกั แรมมีนา้ เหลอื งหยดตกลงพ้นื กเ็ อาไมป้ ักทาเครอ่ื งหมาย
ไว้ บางแห่งกก็ อ่ สร้างเปน็ สถปู เจดียก์ ็มี แลว้ คณะศษิ ย์ผ้ไู ปสง่ ไดข้ อแบง่ เอาอัฐิของท่านแต่สว่ นน้อยนา
กลับไปทาสถูปท่ี วัด ณ เมอื งไทรบุรไี ว้เปน็ ที่เคารพบชู า ตลอดจนบดั นสี้ มเดจ็ เจา้ พะโคะกบั ท่านชา้ งให้
หรอื "หลวงป่ทู วดเหยียบนา้ ทะเลจดื " น้ีสมัยทา่ นยังมชี ีวติ มีช่ือที่ใชเ้ รยี กท่าน หลายช่ือเชน่ พระราชมุนี
สามีรามคุณูปมาจารย์ ท่านลังกา และ ท่านช้างให้ แต่เมอื่ ทา่ นมรณภาพแล้วเรียกเขื่อนหรอื สถูป
ศกั ด์ิสิทธิ์ท่บี รรจอุ ฐั ิของท่านวา่ “เข่อื นท่านชา้ งให้” เขอ่ื น หลวงปทู่ วด เหยยี บนา้ ทะเลจดื (คาวา่ เขื่อน
เป็นภาษพื้นเมืองทางใต้ หมายถึง สถปู ท่บี รรจุอฐั ขิ องท่านผมู้ บี ุญนนั่ เอง)

เม่ือ พ.ศ. 2480 พระครูมนูญสมณการ วัดลานุภาพ ไดช้ วนชาวบา้ นช้างให้และใกล้เคียง ไปทา
การแผว้ ถางวดั ร้างแห่งนี้ โดยจัดบรู ณะให้เปน็ วัดมพี ระสงฆ์เขา้ จาพรรษาและในปนี ั้นเอง ได้ให้
พระภิกษุชว่ งมาอยกู่ ไ็ ดม้ ีการจัดสร้างถาวรวตั ถุ ขน้ึ เชน่ ศาลาการเปรยี ญ และ กฏิ 2-3 หลัง คร้งั ต่อมา
เมือ่ พ.ศ. 2484 พระภกิ ษชุ ่วงกไ็ ด้ลาสกิ ขาบท วดั ช้างให้จึงขาดเจา้ อาวาสและผนู้ าลง พระครูภัทรกรณ์
โกวทิ เจา้ อาวาสวัดนาประดู่ จึงไดใ้ ห้ พระภิกษทุ ิม (พระครวู ิสัยโสภณ) ไปเป็นเจา้ อาวาสวดั ช้างให้
ตามทช่ี าวบา้ นขอมา

พระภิกษุทิม ไดย้ า้ ยไปอยู่วดั ชา้ งให้ เมือ่ วนั ท่ี 15 กรกฎาคม พ.ศ.2484 ตรงกบั วันอังคาร ขน้ึ 15
คา่ เดือน 8 พระภกิ ษุทมิ มาอย่วู ดั ชา้ งให้ตอนแรก กไ็ ปๆมาๆอยกู่ ับวัดนาประดู่ กลางวนั ตอ้ งไปสอน
นกั ธรรมวดั นาประดู่

วัดชา้ งให้ มีชอื่ เต็ม ๆ วา่ วัดราษฎรบ์ รู ณะ อยู่ท่ี ตาบลควนโนรี อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ห่างจากปัตตานปี ระมาณ 26 กิโลเมตร ห่างจากกรงุ เทพฯประมาณ 1,032 กิโลเมตร ได้รับ
พระราชทานวิสุงคามสีมาเม่อื วนั ที่ 12 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ตามพระราชกิจจานเุ บกษาเล่ม 74
ตอน 15 หน้า 451 - 252 เขตวสิ ุงคามสีมายาว 80 เมตร กวา้ ง 40 เมตร ทาพิธีผูกพทั ธสมี าเมอื่ วัน
เสาร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 ตรงกับวนั ขึ้น 13 คา่ มที ่ีดนิ ทต่ี ัง้ วัดเปน็ เนอื้ ท่จี านวน 12 ไร่ ตาม
หนังสือแสดงกรรมสิทธ์ิทดี่ ิน ส.ค. 1 เลขที่ 334/2498

สถูปบรรจอุ ฐั ิหลวงปทู่ วด

สถูปบรรจอุ ฐั ิ "หลวงปทู่ วด" นนั้ พระครูวิสัยโสภณ และ พระครธู รรมกจิ โกศล (พระอาจารย์นอง
วดั ทรายขาว) ไดป้ รึกษาหารือกนั ตกลงให้รื้อขดุ ของเก่าขึน้ มาเพื่อสรา้ งใหม่ แต่เม่ือขดุ ลงไปกไ็ ด้พบหมอ้
ทองเหลืองและมีอัฐหิ ลวงปู่ทวดห่อผ้าอยใู่ นหมอ้ ทองเหลืองอกี ช้นั หนึง่ หมอ้ ทองเหลอื งได้ผเุ ปอ่ื ย ไม่
กลา้ เอามือจบั ต้องเพราะเกรงสภาพจะผดิ เปลี่ยนไปจากสภาพเดมิ จึงได้จัดสร้างสถปู สวมครอบลงบน
สถปู เดิม ซ่งึ ปรากฏตามท่ีเห็นมาในปจั จุบัน

ความเปน็ มาของสถูปศกั ด์ิสิทธิ์หลวงปูท่ วด

หลงั จากทา่ นอาจารย์ทมิ ฝนั ว่าได้พบกบั หลวงปทู่ วด เหยยี บนา้ ทะเลจดื ซ่งึ เปน็ ทเ่ี คารพบูชา
ของประชาชนอย่ใู นเวลาน้ี วันหน่งึ ทา่ นอาจารยท์ มิ นกึ สนกุ จงึ เก็บเอากน้ เทียนทตี่ กอยู่ริมเขอื่ น (สถูป)
มาคลงึ เปน็ ลูกอมแลว้ แจกจา่ ยให้กับเดก็ วดั ไป แต่ปรากฏเป็นทีอ่ ศั จรรยแ์ กท่ า่ น เม่ือเด็กได้อมลูกอมสี
ผึ้งน้ีในปาก แลว้ ลองแทงฟนั กันด้วยมีดพรา้ และของมคี ม แตแ่ ทงฟนั กนั ไม่เขา้ เลย จนเรื่องทราบถงึ
อาจารย์ทิม ทา่ นก็ตกใจเพราะเกรงเปน็ อันตรายกับเด็ก จงึ เรียกเด็กมาอบรมสงั่ สอนห้ามไมใ่ หท้ ดลอง
กันต่อไป

หลงั จากน้ันท่านเร่มิ สนใจในคาปวารณาของ "หลวงปู่ทวด"ว่า จะเอาอะไรให้ขอ ก็พอดีมพี วก
ชายหนมุ่ ผู้ชอบทางคงกระพนั ไดพ้ ากนั มาของให้อาจารย์สกั ยันตล์ งกระหมอ่ มเพือ่ ไว้คุ้มครองตวั ทา่ น

อาจารยท์ มิ กส็ กั ใหแ้ ล้วระลึกถึงหลวงปู่ทวดซ่งึ ท่านไมเ่ คยศึกษาเรื่องนีม้ ากอ่ น ปรากฏว่าศษิ ย์ทา่ นท่มี า
สกั ยันต์เกิดไปลองดกี บั ศษิ ยอ์ าจารย์อื่น แลว้ ไม่มีศิษย์อาจารยอ์ ่ืนสู้ไดเ้ ลย (ขณะนน้ั กอ่ นหลงั
สงครามโลกครั้งที่ 2 เล็กนอ้ ย) หลงั จากนัน้ ทางคณะสงฆ์ผใู้ หญ่สั่งหา้ มพระภิกษสุ กั ลงกระหม่อม ทา่ น
อาจารย์ทิม จึงงดรับการสกั ต้งั แต่บดั น้นั มา

เนอื่ งจากทราบกิตตศิ ัพทใ์ นอดีตสมัยท่ี "หลวงปู่ทวด" เดนิ ทางไปยงั กรุงศรอี ยุธยา ดว้ ยเรอื สาเภา
ระหว่างทางได้เกดิ พายพุ ดั จนกระทั่งขา้ วปลาอาหารและน้าดื่มตกลงทะเลไป ลูกเรือกระหายน้ามาก
หลวงปู่ทวดจึงได้แสดงอภินหิ ารหย่อนเท้าลงไปในทะเล ปรากฏว่าน้าทะเลในบริเวณนั้นกลายเป็นนา้ จืด
และดื่มกนิ ได้ ต้งั แตน่ นั้ มาชื่อเสียงของท่านขจรขจายไปท่วั หล้า คนไดม้ าทาการสักการะจนทา่ น
อาจารยท์ มิ ดารจิ ะสรา้ งอุโบสถไว้ เพอ่ื เปน็ หลกั ใหญใ่ นพระพทุ ธศาสนาและจะไดเ้ ปน็ ทีอ่ ย่อู าศัยของ
พระภิกษุสงฆ์ในวัดได้มาทาสังฆกรรมต่อไป ความจรงิ น้ันคร้ังโบราณกาลมา วดั ช้างให้เคยมีอุโบสถมา
ก่อนแล้วแต่ชารดุ สลายตัวไปหมด เพราะเวลาท่ปี รากฏเป็นใหเ้ ห็นเพยี งพัทธสีมาและเนินดินทเี่ ป็น
อุโบสถเก่าแกเ่ ทา่ นั้น ทา่ นอาจารย์ทมิ จงึ ไดก้ าหนดวางศลิ าฤกษ์ อันเปน็ รากฐานของอโุ บสถแหง่ ใหม่ใน
วันท่ี 6 สงิ หาคม 2495 แล้วขุดดนิ ลงรากกอ่ กาแพงหนา้ อโุ บสถสืบตอ่ มาจนถงึ พ.ศ.2496 งานกอ่ สร้าง
สาเรจ็ ลงเพียงแค่กาแพงอุโบสถโดยรอบเท่าน้ันงานก่อสรา้ งหยดุ ชะงัก ลงเพราะหมดทนุ ทจี่ ะใช้จะจ่าย
ต่อไป

ประวตั ิการสรา้ งพระเคร่อื งหลวงปู่ทวด วดั ชา้ งให้

กาเนิดพระเครอื่ งหลวงปูท่ วด ซึง่ ตอ่ มาในปี พ.ศ.2497 "หลวงปู่ทวด เหยียบนา้ ทะเลจืด" เจา้
อาวาสองค์แรกของวัดชา้ งให้ไดป้ ระทานนมิ ิตอันเป็นมงคลยิ่งแก่ นายอนันต์ คณานุรักษ์ ซ่งึ มภี ูมลิ าเนา
อยหู่ ่างจากวดั ประมาณ 31 กิโลเมตร ใหส้ ร้างพระเครื่องรางเป็นรูปภิกษุชราขน้ึ แทน่ องคข์ องทา่ น
นายอนันต์นมัสการพรอ้ มทั้งปรกึ ษาทา่ นอาจารย์ทิม และเตรยี มงานสรา้ งพระเครอื่ งในวนั ที่ 19
มีนาคม 2497 ตรงกับวนั ศกุ ร์ขึ้น 15 คา่ เดือน 4 เวลาเท่ยี งตรง ไดฤ้ กษ์พิธีปลุกเสกเบ้าและพมิ พพ์ ระ
เครอ่ื งหลวงป่ทู วดเร่อื ยมาทกุ ๆ วนั จนถึงวันท่ี 15 เมษายน 2497 พมิ พพ์ ระเครอื่ ง"หลวงปทู่ วด"รุ่น
แรกได้ 64,000 องค์ ท้ัง ๆ ทตี่ งั้ ใจจะพมิ พ์ใหไ้ ด้ 84,000องค์ แตเ่ วลาจากดั ในการพธิ ปี ลุกเสก ก็ตอ้ ง

หยดุ พิมพ์พระเครอื่ ง เพอ่ื เอาเวลาเตรียมงานพิธีปลกุ เสกพระเคร่ืองหลวงปทู่ วดตามเวลาท่ีหลวงปทู่ วด
กาหนดใหพ้ ระครปู ฏิบัติ และแล้ววันอาทิตยท์ ี่ 18 เมษายน 2497 ข้ึน 15 คา่ เวลาเท่ียงตรงได้ฤกษพ์ ิธี
ปลุกเสกพระเครือ่ งหลวงปู่ทวดวดั ช้างให้ ณ เนินดนิ บรเิ วณอุโบสถเก่า โดยมที า่ นอาจารย์ทิมเปน็
อาจารย์ประธานในพิธแี ละน่ังปรกไดอ้ าราธนาอญั เชญิ พระวิญญาณหลวงปู่ทวดเหยยี บนา้ ทะเลจืด
พรอ้ มวญิ ญาณ หลวงพอ่ สี หลวงพอ่ ทอง และ หลวงพอ่ จัน ซึง่ หลวงพอ่ ท้งั สามองคน์ สี้ ่ิงสถิตอยู่รวมกับ

หลวงปู่ทวดในสถูปหนา้ วดั ขอใหท้ า่ นประสทิ ธปิ์ ระสาทความศักดิส์ ทิ ธิค์ วามขลงั แดพ่ ระเครื่องฯ
นอกจากนนั้ กม็ ี หลวงพ่อสงโฆสโก เจา้ อาวาสวัดพะโคะ พระอุปัชฌายด์ า วดั ศิลาลอง พรอ้ มด้วย
พระภกิ ษสุ งฆอ์ าวโุ ส ณ วดั ช้างให้ รา่ ยพิธปี ลกุ เสกพระเครือ่ งสมเด็จหลวงปู่ทวดเหยียบน้าทะเลจืด
เสร็จลงในเวลา 16.00 น. ของวนั นัน้ ท่านอาจารย์ทมิ พร้อมด้วยพระภิกษุอาวโุ สและคณะกรรมการวดั
นาทีมโดย นายอนันต์ คณานุรักษ์ ได้ร่วมกนั ทาการแจกจ่ายพระเครอ่ื งหลวงปู่ทวดให้แก่ประชาชนผู้
เล่ือมใสซึ่งมาคอยรอรับอยู่อยา่ งคบั ค่งั จนถึงเวลาเทย่ี งคืน ปรากฏวา่ ในวนั นนั้ คอื วันท่ี 18 เมษายน
2497 กรรมการไดร้ บั เงินจากผใู้ จบญุ โมทนาสมทบทุนสรา้ งอโุ บสถเปน็ จานวนเงนิ 14,000 บาท
หลังจากนั้นมาด้วยอานาจบญุ บารมอี ภินิหาร"หลวงปู่ทวด"ได้ดลบรรดาลใหพ้ ีน่ อ้ ง หลายชาติหลาย
ภาษารว่ มสามัคคีสละทรัพย์โมทนาสมทบทุนสรา้ งอุโบสถดาเนนิ ไปเรอื่ ยๆ มิได้หยดุ หยัง่ จนถึงวนั ที่ 19
สิงหาคม 2499 ไดจ้ ัดพธิ ยี กช่อฟา้ และวนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2501 ได้ทาพธิ ีผูกพัทธสีมาอโุ บสถหลงั นจ้ี ึง
สาเรจ็ เสร็จสิน้ สมบรู ณ์

วัตถุมงคล หลวงป่ทู วด วดั ช้างให้

พระบชู าหลวงพอ่ ทวด

พระบูชาหลวงพ่อทวด วัดช้างให้ พ.ศ. ๒๔๙๗ เนอื้ ว่านผสมปูน

พระบชู าหลวงพอ่ ทวด วัดช้างให้ พ.ศ. ๒๔๙๗ เนอ้ื วา่ นผสมปูน
http://www.amuletheritage.com/p-7.html

พระบชู าหลวงพ่อทวด วัดชา้ งให้ พ.ศ. ๒๔๙๗ เนื้อวา่ นผสมปูน

พระบชู าหลวงพ่อทวด วัดชา้ งให้ พ.ศ. ๒๔๙๗ เนื้อวา่ นผสมปูน

พระบูชาหลวงพอ่ ทวด วดั ช้างให้ พ.ศ. ๒๔๙๗ เนื้อวา่ น

พระรูปหล่อ หลวงปู่ทวด วัดช้างให้ ปี พ.ศ. 2503

พระบชู า หลวงปู่ทวด เนื้อหวา่ น ฐานยนั ต์ วดั ชา้ งให้ ปี พ.ศ. ๒๕๐๘

พระบชู าหลวงป่ทู วด วัดช้างให้ พ.ศ. 2536
http://www.amuletheritage.com/p-7.html

พระหลวงพอ่ ทวด ปี พ.ศ. 2497

หลวงปทู่ วด พิมพใ์ หญ่ เน้อื วา่ น ปี พ.ศ. 2497

หลวงป่ทู วด พมิ พ์ใหญ่ เน้อื ว่าน ปี พ.ศ. 2497

หลวงปู่ทวด พมิ พใ์ หญ่ เนื้อว่านสบ่เู ลือด ปี พ.ศ. 2497

หลวงปู่ทวด พิมพใ์ หญ่ กรรมการ เนื้อวา่ น ปี พ.ศ. 2497

หลวงป่ทู วด พมิ พ์ชลดู เน้ือวา่ น ปี พ.ศ. 2497

หลวงปู่ทวด พมิ พ์พระรอด เน้ือวา่ น ปี พ.ศ. 2497

หลวงปู่ทวด กรักไม้ขดี ปี 2497

พระหลวงพอ่ ทวด ปี พ.ศ. 2500

เหรียญหลวงป่ทู วด พมิ พ์เศียรโต รนุ่ แรก ปี 2500
หลวงพอ่ ทิมจดั สร้างเหรียญปั้มเปน็ ครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2500 ขณะทีท่ า่ นดารงตาแหนง่ เจา้ อาวาสวัด
ช้างให้ เพ่อื ปฏิสงั ขรณบ์ รู ณะวัดช้างใหแ้ ละเป็นท่ีระลึกถงึ หลวงพ่อทวด
ลกั ษณะเปน็ เหรยี ญรูปเสมา ด้านหน้า ตกแต่งขอบเป็นลายกระหนก ดา้ นบนเป็นอักขระขอมอ่านว่า
"นะ โม พทุ ธา ยะ" ตรงกลางเป็นรูปเหมือนหลวงพอ่ ทวด นง่ั สมาธบิ นอาสนะฐานบัวสองชั้น ศีรษะ
ค่อนขา้ งใหญ่ ด้านข้างทัง้ สองเป็นอกั ษรไทยว่า "หลวงพ่อทวด เหยียบน้าทะเลจดื " ด้านหลงั พนื้ เรยี บ
ด้านบนเปน็ อกั ขระขอมวา่ "นะ มะ พะ ภะ" ตรงกลางเปน็ รปู เหมอื นหลวงพ่อทมิ ดา้ นล่างจารึกชอ่ื
"พระครวู สิ ัยโสภณ (ทิม)" คาถาหลวงปู่ทวด เหยียบนา้ ทะเลจดื วดั ชา้ งให้

เหรยี ญหลวงป่ทู วด พมิ พ์เศยี รโต รุ่นแรก ปี 2500

เหรยี ญหลวงป่ทู วด พมิ พ์เศยี รโต รุ่นแรก ปี 2500

เหรยี ญหลวงป่ทู วด พมิ พ์เศยี รโต รุ่นแรก ปี 2500

เหรยี ญหลวงป่ทู วด พมิ พ์เศยี รโต รุ่นแรก ปี 2500

พระหลวงพ่อทวด ปี พ.ศ. 2502
หลวงปู่ทวด ร่นุ ลอยน้า เนื้อวา่ น ปี พ.ศ. 2502

เหรยี ญหลวงปู่ทวด ร่นุ 2 พิมพไ์ ข่ปลาใหญ่ ปี พ.ศ. 2502

เหรยี ญหลวงปู่ทวด ร่นุ 2 พิมพไ์ ข่ปลาใหญ่ ปี พ.ศ. 2502

พระหลวงพอ่ ทวด ปี พ.ศ. 2504
เหรียญหลวงป่ทู วด ร่นุ 3 ปี พ.ศ. 2504

เหรยี ญหลวงป่ทู วด ร่นุ 3 ปี พ.ศ. 2504

พระหลวงพ่อทวด ปี พ.ศ. 2505

ประวัตกิ ารสร้างพระหลอ่ หลวงพ่อทวด หลงั เตารีด ปี 2505

พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ เฉลิมพลฑิฆมั พรฯ หรือพระองคช์ ายกลางทรงเป็นประธาน
อุปถัมภ์ในการจัดสร้าง ตามคาอนญุ าตจากหลวงปทู่ วดผ่านพระครวู ิสัยโสภณ (พระอาจารยท์ มิ ) มกี าร
นาชนวนและมวลสารจากวัด นาไปหล่อพระร่วมกนั ทกี่ รุงเทพฯ เน้อื โลหะทหี่ ลอ่ พระหลวงป่หู วดในครั้ง
น้ีมี เนื้อทองคา เนอ้ื เมฆพดั เนื้อนวโลหะ และ เน้ือโลหะผสม

การสร้างพระเครอื่ งหลวงปู่ทวดรนุ่ หลงั เตารีดมีการเททองหล่อกนั ทว่ี ดั คอกหมู หรอื วัดสติ าราม
กรุงเทพฯ อยูใ่ กลว้ ัดสระเกศ และ นาเข้าพิธีปลุกเสกท่วี ดั ช้างให้

ในการจัดสรา้ งพระเคร่อื งหลวงปทู่ วดครง้ั น้ีทางวัดไดด้ าเนนิ การพรอ้ มกับงานสมโภชรูปเหมอื น
หลวงปูท่ วดองค์ใหญ่ประจาวดั ซง่ึ ตอ่ มาไดก้ าหนดให้เป็นงานประจาปขี องวัดช้างให้ พีธดี ังกลา่ วจดั ขึ้น
ถึง 3 วัน 3 คืน คือ วนั พุธที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 ตรงกับวนั ขึ้น 13 ค่า เดือน 6 เวลา 9.00 น.
อัญเชญิ พระเครือ่ งหลวงปทู่ วดเขา้ สู่โรงพธิ ีในพระอุโบสถ เพอ่ื ให้พระสงฆเ์ จริญพระพุทธมนต์ วนั รุง่ ขึ้น
วันพฤหสั บดีท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ.2505 เวลา 9.00 น. ทาพิธปี ระกาศโองการตามหลกั ไสยศาสตร์
และอัญเชญิ ดวงจิตหลวงปูท่ วดเข้าประทับในพธิ ีเวลา 21.00 น. น่งั ปรกและสวดพทุ ธาภิเษกไปตลอด
ทัง้ คนื และวันศุกรท์ ี่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 เวลา 9.00 น. กระทาประทักษิณเวียนเทยี นวิสาขบูชา
และปดิ ทา้ ยด้วยเทศนา 1 กัณฑ์ และ สุดท้ายในวนั เสาร์ท่ี 19 พฤษภาคม พ.ศ.2505 เวลา 6.00 น.
พระอาจารยท์ ิม แจกพระเครอ่ื งหลวงปูท่ วดเปน็ ปฐมฤกษ์

หลวงป่ทู วด พมิ พ์เตารีด เน้อื ทองค้า ปี 2505

หลวงป่ทู วด พมิ พ์เตารีดใหญ่ เปยี กทอง ปี 2505

หลวงป่ทู วด พมิ พ์เตารีดใหญ่ ส้าริดทอง ปี 2505

หลวงป่ทู วด พมิ พเ์ ตารดี ใหญ่ ส้ารดิ ปี 2505

หลวงป่ทู วด พมิ พเ์ ตารดี ใหญ่ ส้ารดิ ปี 2505

หลวงป่ทู วด พมิ พ์เตารีดใหญ่ เน้ือแร่ ปี 2505

หลวงป่ทู วด พมิ พเ์ ตารดี ใหญ่ เมฆพดั ปี 2505

หลวงปู่ทวด พิมพเ์ ตารดี หัวมน เนื้อโลหะผสม ปี 2505

หลวงป่ทู วด พมิ พ์เตารีดใหญ่ ป้ัมซ้า ปี 2505

หลวงป่ทู วด พมิ พ์เตารีดกลาง ป้มั ซ้า ปี 2505

หลวงปู่ทวด พิมพเ์ ตารดี เล็ก หลงั ตัวหนงั สือ ปี พ.ศ. 2505

หลวงปู่ทวด พมิ พเ์ ตารดี หน้าอาปาเช่ ปี พ.ศ. 2505

หลวงปู่ทวด พิมพเ์ ตารดี ใหญ่ หลงั ตัวหนงั สือ ปี พ.ศ. 2505

เหรยี ญเล่อื นสมณศกั ด์ิ หลวงป่ทู วด บลอ็ กผา่ ปาก เน้อื ทองค้า ปี พ.ศ.2508

เหรยี ญเล่อื นสมณศกั ดิ์ หลวงปู่ทวด บล็อกผา่ ปาก ปี พ.ศ.2508

เหรยี ญเล่อื นสมณศกั ดิ์ หลวงปู่ทวด บล็อกผา่ ปาก ปี พ.ศ.2508


Click to View FlipBook Version