โรคภัยไข้เจ็บ จิต เวลานั่งอยู่หรือเดินอยู่ ถ้าจิตคิดถึงบ้าน คิดถึง
ทรัพย์สินหรือคิดฟุ้งซ่านต่าง ๆ นานา ก็ให้เอาสติปักลงที่ลิ้นปี่
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้พรอ้ มกับก�ำ หนดวา่ “คิดหนอ ๆ ๆ” ไปเรอ่ื ย ๆ จนกว่าจติ จะหยุดคดิ
แม้ดีใจ เสียใจ หรือโกรธ ก็กำ�หนดเช่นเดียวกันว่า “ดีใจหนอ ๆ ๆ”
“เสียใจหนอ ๆ ๆ” “โกรธหนอ ๆ ๆ” เปน็ ตน้
เวลานอน
เวลานอนคอ่ ย ๆ เอนตวั นอนพรอ้ มกบั ก�ำ หนดตามไปวา่
“นอนหนอ ๆ ๆ” จนกว่าจะนอนเรยี บร้อย ขณะนน้ั ให้เอาสติ จบั อยู่
100 กบั อาการเคลอื่ นไหวของรา่ งกาย เมอ่ื นอนเรยี บรอ้ ยแลว้ ใหเ้ อาสตมิ า
จับที่ท้อง แล้วกำ�หนดวา่ “พองหนอ” “ยบุ หนอ” ต่อไปเรื่อย ๆ ให้
คอยสังเกตใหด้ ีว่า จะหลบั ไปตอนพอง หรอื ตอนยบุ
อิริยาบถต่าง ๆ การเดินไปในที่ต่าง ๆ การเข้าห้องนำ้�
การเข้าห้องสว้ ม การรบั ประทานอาหาร และการกระท�ำ กิจการงาน
ทั้งปวง ผู้ปฏิบัติต้องมีสติกำ�หนดอยู่ทุกขณะในอาการเหล่านี้
ตามความเปน็ จรงิ คือ มีสติสัมปชัญญะ เปน็ ปจั จบุ นั อยู่ตลอดเวลา
สรุปการกำ�หนดต่าง ๆ พอสังเขป ดังน้ี
(จากหนงั สือ สวดมนต์ ทำ�กรรมฐาน ตามแบบหลวงพ่อจรญั )
๑. ตาเห็นรูป จะหลับตาหรือลืมตาก็แล้วแต่ ให้ตั้งสติ โรคภัยไข้เจ็บ
ไว้ที่ตา กำ�หนดว่า “เห็นหนอ ๆ ๆ” ไปเร่ือย ๆ จนกว่าจะรู้สึกว่า
เห็นก็สักแต่ว่าเห็น ละความพอใจและความไม่พอใจออกเสียได้ 101
ถา้ หลับตาอยู่ก็ก�ำ หนดไปจนกวา่ ภาพนน้ั จะหายไป
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้
๒.หไู ดย้ นิ เสยี งใหต้ ง้ั สตไิ วท้ หี่ ูก�ำ หนดวา่ “เสยี งหนอๆๆ”
ไปเรอ่ื ย ๆ จนกวา่ จะรสู้ ึกว่าเสยี ง ก็สกั แตว่ า่ เสยี ง ละความพอใจและ
ความไมพ่ อใจออกเสียได้
๓.จมกู ไดก้ ลน่ิ ตง้ั สตไิ วท้ จ่ี มกู ก�ำ หนดวา่ “กลน่ิ หนอๆๆ”
ไปเรือ่ ย ๆ จนกว่าจะรู้สกึ วา่ กลิ่น ก็สักแต่ว่ากลิ่น ละความพอใจและ
ความไมพ่ อใจออกเสยี ได้
๔. ลิ้นได้รส ตั้งสติไว้ท่ีล้ิน กำ�หนดว่า “รสหนอ ๆ ๆ”
ไปเรอื่ ย ๆ จนกวา่ จะรสู้ กึ วา่ รส กส็ กั แตว่ า่ รส ละความพอใจและความ
ไมพ่ อใจออกเสยี ได้
โรคภัยไข้เจ็บ ๕. การถกู ต้องสมั ผัส ตั้งสติไวต้ รงทสี่ ัมผสั กำ�หนดตาม
ความเป็นจรงิ ทเี่ กิดขึน้ ละความพอใจและความไมพ่ อใจออกเสยี ได้
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้
๖. ใจนึกคิดอารมณ์ ต้ังสติไว้ท่ีลิ้นป่ี กำ�หนดว่า
“คิดหนอ ๆ ๆ” ไปเรอ่ื ยจนกวา่ ความนึกคดิ จะหายไป
๗. อาการบางอยา่ งเกดิ ขึน้ ก�ำ หนดไม่ทัน หรือก�ำ หนด
ไม่ถูกวา่ จะก�ำ หนดอย่างไร ตงั้ สตไิ วท้ ่ลี น้ิ ปี่ กำ�หนดว่า “รู้หนอ ๆ ๆ”
ไปเร่ือย ๆ จนกว่าอาการนนั้ จะหายไป
การท่ีเรากำ�หนดจิต และต้ังสติไว้เช่นน้ี เพราะเหตุว่า
102 จิตของเราอยู่ใต้บังคับของความโลภ ความโกรธ ความหลง เช่น
ตาเหน็ รปู ชอบใจเปน็ โลภะ ไมช่ อบใจเปน็ โทสะ ขาดสตไิ มไ่ ดก้ �ำ หนด
เป็นโมหะ หูได้ยินเสียง จมูกได้กล่ิน ลิ้นได้รส กายถูกต้องสัมผัส
ก็เชน่ เดียวกนั
การปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน โดยเอาสตเิ ขา้ ไปตง้ั ก�ำ กบั
ตามอายตนะน้ัน เมื่อปฏิบัติได้ผลแก่กล้าแล้ว ก็จะเข้าตัดที่ต่อ
ของอายตนะต่าง ๆ เหล่าน้ัน มิให้ติดต่อกันได้ คือว่า เม่ือเห็นรูป
กส็ กั แตว่ า่ เหน็ เมอ่ื ไดย้ นิ เสยี งกส็ กั แตว่ า่ ไดย้ นิ ไมท่ �ำ ความรสู้ กึ นกึ คดิ
ปรงุ แตง่ ใหเ้ กดิ ความพอใจหรอื ความไมพ่ อใจ ในสงิ่ ทป่ี รากฏใหเ้ หน็
และไดย้ ินนัน้
รปู และเสยี งทไี่ ดเ้ หน็ และไดย้ นิ นน้ั กจ็ ะดบั ไปเกดิ และดบั โรคภัยไข้เจ็บ
อยู่ท่ีน้ันเอง ไม่ไหลเข้ามาภายใน อกุศลธรรม ความทุกข์ ร้อนใจ
ที่คอยจะตดิ ตาม รปู เสียง และอายตนะภายนอกอนื่ ๆ เข้ามา กเ็ ขา้ 103
ไม่ได้
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้
สตทิ เ่ี กดิ ขน้ึ ขณะปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานนน้ั นอกจาก
จะคอย สกัดกั้นอกุศลธรรม และความทุกข์ร้อนใจท่ีจะเข้ามา
ทางอายตนะแล้ว สติเพ่งอยู่ท่ีรูปนาม เม่ือเพ่งเล็งอยู่ก็ย่อมเห็น
ความเกิดดับของรูป นาม ท่ีดำ�เนินไปตามอายตนะต่าง ๆ อย่างไม่
ขาดสาย การเห็นการเกิดดับของรูปนามน้ัน จะนำ�ไปสู่การเห็น
พระไตรลักษณ์ คอื ความไม่เที่ยง ความทกุ ข์ และความไมม่ ีตัวตน
ของสังขาร หรืออตั ภาพอยา่ งแจม่ แจ้ง
ทา่ นสามารถเขา้ ชมวดี โี อการสอน
“วิธีปฏบิ ตั วิ ปิ ัสสนากรรมฐาน”
โดย พระเดชพระคุณหลวงพอ่ จรัญได้ท่ี
http://www.jarun.org/digitallibrary/
“อยา่ ลมื นะ ท่ลี ้ินป่ี
หายใจยาว ๆ
สำ�รวมเวลาสวดมนต์
นั้นนะ่ ได้บุญแลว้ ”
จากธรรมะเทศนาเร่อื ง วิธีแผ่เมตตาและอทุ ศิ ส่วนกศุ ล
โดย พระธรรมสงิ หบรุ าจารย์
บทสวดมนต์
กราบพระรตั นตรัย โรคภัยไข้เจ็บ
อะระหัง สมั มาสมั พทุ โธ ภะคะวา 105
พุทธัง ภะคะวันตงั อะภิวาเทมิ (กราบ)
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้
สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม
ธมั มัง นะมสั สามิ (กราบ)
สปุ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
สงั ฆัง นะมามิ (กราบ)
นมสั การ (นะโม)
นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต
สัมมาสัมพุทธสั สะ (๓ จบ)
โรคภัยไข้เจ็บไตรสรณคมน์ (พทุ ธงั ธมั มัง สงั ฆงั )
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้ พทุ ธงั สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คจั ฉามิ
สงั ฆงั สะระณัง คัจฉามิ
ทตุ ิยัมป ิ พุทธัง สะระณงั คัจฉามิ
ทตุ ิยมั ป ิ ธมั มัง สะระณงั คัจฉามิ
ทุตยิ มั ปิ สังฆงั สะระณงั คัจฉามิ
ตะติยัมป ิ พทุ ธัง สะระณงั คัจฉามิ
106 ตะตยิ มั ป ิ ธัมมงั สะระณัง คัจฉามิ
ตะตยิ ัมป ิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
พระพุทธคณุ (อิตปิ ิ โส)
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต
ตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
พทุ โธ ภะคะวาติฯ
พระธรรมคณุ
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก
อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง
เวทิตัพโพ วญิ ญูหตี ิฯ (อา่ นว่า วญิ ญูฮีติ)
พระสงั ฆคณุ โรคภัยไข้เจ็บ
สุปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 107
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
ญายะปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้
สามจี ปิ ะฏปิ ันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
ยะททิ งั จตั ตาริปรุ สิ ะยคุ านิอฏั ฐะปรุ สิ ะปคุ คะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ
อาหเุ นยโย* ปาหเุ นยโย* ทกั ขเิ ณยโย* อญั ชะลี
กะระณโี ย อะนุตตะรงั ปุญญกั เขตตงั โลกัสสาติฯ
(อ่านออกเสียง อาหุไนยโย ปาหุไนยโย ทักขิไณยโย
โดยสระเอ ก่งึ สระไอ)
โรคภัยไข้เจ็บพุทธชยั มงคลคาถา (พาหุงฯ)
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้พาหุง สะหสั สะมะภนิ มิ มิตะสาวุธันตงั
ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารงั
ทานาทิธมั มะวิธินา ชติ ะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานฯิ
มาราติเรกะมะภิยชุ ฌติ ะสพั พะรัตตงิ
โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขงั
ขนั ตีสุทนั ตะวิธินา ชติ ะวา มนุ นิ โท
108 ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
นาฬาคริ ิง คะชะวะรัง อะตมิ ตั ตะภตู งั
ทาวคั คิจกั กะมะสะนีวะ สทุ ารณุ นั ตัง
เมตตมั พเุ สกะวธิ ินา ชติ ะวา มุนนิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
อกุ ขิตตะขคั คะมะตหิ ัตถะสทุ ารุณนั ตงั
ธาวนั ติโยชะนะปะถังคลุ มิ าละวนั ตัง
อิทธีภสิ ังขะตะมะโน ชิตะวา มุนนิ โท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
กตั วานะ กฏั ฐะมุทะรงั อิวะ คัพภนิ ยี า โรคภัยไข้เจ็บ
จญิ จายะ ทุฏฐะวะจะนงั ชะนะกายะมชั เฌ
สนั เตนะ โสมะวิธนิ า ชิตะวา มุนนิ โท 109
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้
สจั จัง วหิ ายะ มะตสิ ัจจะกะวาทะเกตงุ
วาทาภิโรปิตะมะนัง อะตอิ นั ธะภตู ัง
ปัญญาปะทปี ะชะลิโต ชติ ะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานฯิ
นนั โทปะนนั ทะภุชะคงั วพิ ธุ ัง มะหทิ ธิง
ปตุ เตนะ เถระภชุ ะเคนะ ทะมาปะยนั โต
อทิ ธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มนุ ินโท
ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานฯิ
ทคุ คาหะทฏิ ฐภิ ุชะเคนะ สทุ ัฏฐะหตั ถัง
พรหั มงั * วิสทุ ธิชตุ ิมทิ ธิพะกาภธิ านัง
ญาณาคะเทนะ วธิ ินา ชติ ะวา มุนนิ โท
ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ
เอตาปิ พทุ ธะชะยะมงั คะละอฏั ฐะคาถา
โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตนั ที
หิตวานะเนกะวิวธิ านิ จุปัททะวานิ
โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญั โญฯ
* พรัหมัง อ่านว่า พรมั มงั
โรคภัยไข้เจ็บชัยปริตร (มหากาฯ)
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
ชะยนั โต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวฑั ฒะโน เอวงั
ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะรา
ชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก
110 สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนัก
ขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ
สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ** ปะทักขิณัง
กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง
มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ
กัตวานะ ละภนั ตัตเถ ปะทกั ขเิ ณฯ
** พรหั มะจาริสุ อ่านวา่ พรมั มะจารสิ ุ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา โรคภัยไข้เจ็บ
สพั พะพุทธานภุ าเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ
111
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สพั พะธมั มานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เตฯ ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสงั ฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวนั ตุ เตฯ
หลังจากสวดมนต์ตั้งแต่ต้นจนจบบทพาหุงมหากาฯ แล้ว ก็ให้
สวดเฉพาะบทพระพุทธคุณ หรืออิติปิโส ให้ได้จำ�นวนจบ เท่ากับอายุ
ของตนเอง แล้วสวดเพิ่มไปอีกหนึ่งจบ ตัวอย่างเช่น ถ้าอายุ ๓๕ ปี
ต้องสวด ๓๖ จบ จากนัน้ จึงค่อยแผ่เมตตา อุทิศส่วนกศุ ล
พุทธคณุ เทา่ อายุเกนิ ๑ (อิติปโิ สเท่าอาย+ุ ๑)
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต
ตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
พุทโธ ภะคะวาตฯิ
“สวดมนต์เปน็ นจิ
อธิษฐานจิตเป็นประจำ�
อโหสกิ รรมเสียก่อน
และเราก็แผเ่ มตตา
ให้สรรพสตั ว์ทัง้ หลาย”
จากธรรมะเทศนาเรอ่ื ง กรรมฐานแก้กรรมได้อย่างไร
โดย พระธรรมสิงหบุราจารย์
“หายใจยาว ๆ
ตงั้ กัลยาณจิตไวท้ ลี่ น้ิ ป่ี
ไม่ใช่พดู ส่งเดช”
“จำ�นะที่ลิน้ ป่ี เปน็ การแผ่เมตตา”
“จะอุทิศกย็ กจากล้ินปี่
ส่หู น้าผาก เรยี กวา่
อุณาโลมา ปจชายเต”
จากธรรมะเทศนาเร่อื ง วิธแี ผเ่ มตตาและอทุ ิศสว่ นกุศล
โดย พระธรรมสิงหบรุ าจารย์
โรคภัยไข้เจ็บบทแผ่เมตตา
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้สพั เพ สัตตา สตั ว์ทั้งหลาย ที่เปน็ เพ่อื นทุกข์
เกิดแกเ่ จ็บตาย ด้วยกนั ทัง้ หมดทง้ั สิน้
อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด
อย่าไดม้ เี วรแก่กนั และกนั เลย
อพั ยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขเปน็ สขุ เถดิ
อย่าได้พยาบาทเบยี ดเบยี นซ่งึ กนั และกนั เลย
อะนฆี า โหนตุ จงเปน็ สุขเปน็ สขุ เถดิ
อยา่ ได้มคี วามทุกขก์ าย ทุกข์ใจเลย
114 สขุ ี อตั ตานงั ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกาย
สขุ ใจ รกั ษาตนให้พน้ จากทกุ ขภ์ ัยทั้งสิ้นเทอญ
บทอุทศิ ส่วนกุศล (บทกรวดน้ำ�)
อทิ งั เม มาตาปติ นู งั โหตุ สขุ ติ า โหนตุ มาตาปติ ะโร
ขอส่วนบุญน้ีจงสำ�เร็จ แก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า
ขอใหม้ ารดาบดิ าของข้าพเจ้า จงมคี วามสุข
อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอส่วนบุญนี้จงสำ�เร็จ แก่ญาติท้ังหลายของข้าพเจ้า
ขอใหญ้ าติทั้งหลายของขา้ พเจ้า จงมีความสขุ
อิทัง เม คุรูปัชฌายาจะริยานังโหตุ สุขิตา โหนตุ โรคภัยไข้เจ็บ
คุรูปัชฌายาจะริยา ขอส่วนบุญนี้จงสำ�เร็จ แก่ครู
อุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์ 115
อาจารยข์ องขา้ พเจ้า จงมคี วามสขุ
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้
อทิ ัง สัพพะเทวานงั โหตุ สขุ ติ า โหนตุ สัพเพเทวา
ขอส่วนบุญนี้จงสำ�เร็จ แก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง
ขอให้เทวดาทงั้ หลายท้งั ปวง จงมคี วามสขุ
อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สขุ ติ า โหนตุ สัพเพเปตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำ�เร็จ แก่เปรตท้ังหลายทั้งปวง
ขอให้เปรตทงั้ หลายทั้งปวง จงมีความสขุ
อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี
ขอส่วนบุญน้ีจงสำ�เร็จ แก่เจ้ากรรมนายเวร
ท้ั ง ห ล า ย ท้ั ง ป ว ง ข อ ใ ห้ เ จ้ า ก ร ร ม น า ย เ ว ร
ทงั้ หลายทัง้ ปวง จงมคี วามสุข
อทิ งั สพั พะสตั ตานงั โหตุสขุ ติ าโหนตุสพั เพสตั ตา
ขอส่วนบุญนี้จงสำ�เร็จ แก่สัตว์ท้ังหลายทั้งปวง
ขอใหส้ ัตวท์ ัง้ หลายท้ังปวง จงมคี วามสุข
โรคภัยไข้เจ็บวิธีการสวดมนต์
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้(จากหนงั สือ สวดมนต์ ทำ�กรรมฐาน ตามแบบหลวงพ่อจรญั )
การสวดมนต์เป็นนิจน้ี มุ่งให้จิตแนบสนิทติดในคุณ
ของพระพุทธเจา้ พระธรรม และพระสงฆ์ จิตใจจะสงบเยอื กเย็นเป็นบณั ฑิต
มีความคิดสูง ทิฏฐิมานะท้ังหลายก็จะคลายหายไปได้ เราจะได้รับอานิสงส์
เป็นผลของตนเองอยา่ งน้ีจากสวดมนต์เป็นนิจ
การอธิษฐานจิตเป็นประจำ�น้ัน มุ่งหมายเพ่ือแก้กรรม
116 ของผมู้ กี รรมจากการกระท�ำ ครง้ั อดตี ทเ่ี ราร�ำ ลกึ ได้ และจะแกก้ รรมในปจั จบุ นั
เพื่อสู่อนาคต ก่อนที่จะมีเวรมีกรรม ก่อนอื่นใด เราทราบเราเข้าใจแล้ว
โปรดอโหสิกรรมแก่สัตว์ทั้งหลาย เราจะไม่ก่อเวรก่อกรรมก่อภัยพิบัติ
ไม่มีเสนียดจัญไรติดตัวไปเรียกว่า “เปล่า” ปราศจากทุกข์ ถึงบรมสุข
คือ นิพพานได้ เราจะรู้ได้ว่ากรรมติดตามมา และเราจะแก้กรรมอย่างไร
ในเม่ือกรรมตามมาทันถึงตัวเรา เราจะรู้ตัวได้อย่างไร เราจะแก้อย่างไร
เพราะมนั เปน็ เรื่องทแ่ี ลว้ ๆ มา
การอโหสกิ รรม หมายความวา่ เราไมโ่ กรธ ไมเ่ กลยี ด เรามเี วร
กรรมต่อกันก็ให้อภัยกัน อโหสิกันเสีย อย่างท่ีท่านมาอโหสิกรรม ณ บัดนี้
ให้อภัยซึ่งกันและกัน พอให้อภัยได้ ท่านก็แผ่เมตตาได้ ถ้าท่านมีอารมณ์
คา้ งอยใู่ นใจ เสยี สจั จะ ผกู ใจโกรธ อจิ ฉารษิ ยา อาสวะไมส่ นิ้ ไหนเลยละ่ ทา่ นจะ
แผเ่ มตตาออกได้ เราจงึ ไมพ่ น้ เวรพน้ กรรมในขอ้ นี้ การอโหสกิ รรมไมใ่ ชท่ �ำ งา่ ย
วธิ ีในการสวดมนต์พระเดชพระคุณหลวงพอ่ ไดส้ อนไว้วา่
“เอาตำ�รามาดูกันก็ไม่ได้ผล แต่ดูตำ�ราเพ่ือให้ถูกวรรคตอน
และให้คล่องปาก แล้วจะไดค้ ลอ่ งใจ เปน็ สมาธ”ิ
ทา่ นสามารถรับฟงั เสียงสวดมนต์
“บทพาหงุ มหากาฯ” และบทอนื่ ๆ ไดท้ ี่
http://www.jarun.org/digitallibrary/
การวางจิต โรคภัยไข้เจ็บ
(จากหนงั สือ สวดมนต์ ทำ�กรรมฐาน ตามแบบหลวงพอ่ จรญั )
เม่อื สวดมนตไ์ ดถ้ ูกวรรคตอน เป็นสมาธิดแี ลว้ กว็ างจติ ใหถ้ กู ต้อง 117
สวดมนตเ์ ปน็ นจิ อธษิ ฐานจิตเปน็ ประจำ� (ล้นิ ป)่ี
อโหสิกรรมเสียก่อนและเราก็แผ่เมตตา... (ลนิ้ ป)่ี ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้
มเี มตตาดีแล้ว ไดก้ ุศลแลว้ เราก็อุทิศเลย (อณุ าโลม)
สวดมนตเ์ ป็นนจิ (ลนิ้ ปี่)
“แผส่ ่วนกศุ ลท�ำ อย่างไร อุทศิ ตรงไหนท�ำ ตรงไหน และวางจิต
ไวต้ รงไหนถงึ จะได้อยา่ ลมื นะทลี่ น้ิ ป่ีหายใจยาวๆส�ำ รวมเวลาสวดมนตน์ น้ั นะ่
ได้บุญแล้ว ไม่ต้องเอาสตางค์ไปถวายองค์โน้นองค์น้ีหรอก แล้วสำ�รวมจิต
สง่ กระแสจิตทหี่ น้าผาก อุทศิ ส่วนกุศล ...”
“ลิน้ ปี่ จะอยูค่ ร่ึงทางระหวา่ งจมูกถึงสะดอื ”
โรคภัยไข้เจ็บอธิษฐานจิตเป็นประจำ� (ล้ินป่ี)
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้“... อธิษฐานจิต หมายความว่า ตั้งสติสัมปชัญญะ ไว้ท่ีล้ินปี่
ส�ำ รวมกาย วาจา จติ ให้ตั้งม่นั แล้ว จงึ ขอแผเ่ มตตาไว้ในใจ สักครูห่ นึ่ง แล้วก็
อุทศิ ใหม้ ารดา บิดาของเรา ว่าเราไดบ้ ำ�เพ็ญกศุ ล ทา่ นจะไดบ้ ุญไดก้ ศุ ลแน่ ๆ
เด๋ียวน้ดี ว้ ย ผมเรียนถวายนะ มิฉะนั้นผมจะอทุ ิศไปยโุ รปไดอ้ ย่างไร ...”
อโหสกิ รรมก่อนแลว้ ค่อยแผเ่ มตตา
“แผ่เมตตากับอุทศิ มันต่างกนั ทำ�ใจใหเ้ ป็นเมตตาบรสิ ุทธกิ์ อ่ น
118 ไม่อิจฉา รษิ ยา ไมผ่ กู พยาบาทใครไว้ในใจ ท�ำ ใจใหแ้ จ่มใส ทำ�ใหใ้ จสบาย คือ
เมตตา แลว้ เราจะอทุ ศิ ใหใ้ ครกบ็ อกกนั ไป มนั จะมพี ลงั สงู สามารถจะอทุ ศิ ให้
คณุ พอ่ คุณแม่ของเรา ก�ำ ลงั ป่วยไขใ้ ห้หายจากโรคภัยไข้เจบ็ ได้ เช่น วโี ก้ บรูน
ชาวนอรเวย์ ท่เี คยมาบวชท่วี ดั นีเ้ ป็นต้น ...”
แผ่เมตตา (ลิ้นป)่ี อทุ ิศส่วนกุศล (อุณาโลม)
“หายใจยาว ๆ ตั้งกัลยาณจิตไว้ท่ีล้ินป่ี ไม่ใช่พูดส่งเดช
จำ�นะที่ลิ้นป่ี เป็นการแผ่เมตตาจะอุทิศก็ยกจากล้ินป่ี สู่หน้าผาก
เรยี กว่า อณุ าโลมา ปจชายเต ...”
ล�ำ ดับการสวดมนต์
(จากหนงั สือ สวดมนต์ ทำ�กรรมฐาน ตามแบบหลวงพอ่ จรญั )
“พระพุทธคุณ อาตมาสังเกตมาว่า บางคนเขาไปหาหมอดู โรคภัยไข้เจ็บ
เคราะห์ร้ายกต็ อ้ งสะเดาะเคราะห์ อาตมากม็ าดเู หตุการณ์ โชคลางไม่ดี กเ็ ปน็
ความจริงของหมอดู อาตมาก็ตั้งตำ�ราขึ้นมาด้วยสติ บอกว่า โยมไปสวด 119
พุทธคณุ เท่าอายใุ หเ้ กนิ กวา่ ๑ ให้ได้ เพื่อให้สตดิ ี แลว้ สวด “พาหงุ มหากาฯ”
หายเลย สติก็ดีขึ้น เท่าที่ใช้ได้ผล สวดตั้งแต่ นะโม พุทธัง ธัมมัง สังฆัง ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้
พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุงมหากาฯ จบแล้วย้อนกลับมาข้างต้น
เอาพทุ ธคณุ หอ้ งเดยี ว (อติ ปิ โิ ส ภะคะวา จนถงึ พทุ โธ ภะคะวาต)ิ หอ้ งละ ๑ จบ
ตอ่ ๑ อายุ อายุ ๔๐ สวด ๔๑ ก็ไดผ้ ล”
• ตั้งนะโม ๓ จบ
• สวดพุทธงั ธัมมัง สงั ฆัง
• สวดพุทธคณุ ธรรมคุณ สังฆคุณ
• สวดพุทธชยั มงคลคาถา (พาหงุ ฯ)
• สวดมหาการุณโิ ก
• สวดพุทธคุณ อย่างเดียวเท่ากับอายุ บวก ๑ เช่น อายุ ๒๘ ปี
ใหส้ วด ๒๙ จบ อายุ ๕๔ ปี ให้สวด ๕๕ จบ เปน็ ต้น
• แผ่เมตตา
• อุทิศสว่ นกุศล
“ยงิ่ ใหย้ ิง่ ได้ ยง่ิ หวงยงิ่ อด หมดก็ไมม่ า
เราไมห่ วงกัน เราก็ไม่อด หมดก็มาเร่อื ย ๆ”
หนงั สอื “สวดมนต์ ท�ำ กรรมฐาน ตามแบบหลวงพอ่ จรญั ”
และ หนงั สอื “สวดมนต์ ตามแบบหลวงพอ่ จรญั ”
ตลอดระยะเวลาหลายสิบปี พระเดชพระคุณหลวงพ่อจรัญได้สละ
เวลา แรงกาย แรงใจ เพื่อสอนวิธีนำ�สตมิ าใช้ เพราะเมื่อมีสติ จะเกิด
ปญั ญา จะแกป้ ญั หาชวี ติ ได้ หนงั สอื เลม่ นี้ จะแนะน�ำ วธิ กี ารสวดมนต์
ทำ�กรรมฐานให้กับท่านต้ังแต่เริ่มต้น และตอบคำ�ถามเก่ียวกับการ
สวดมนต์ ทำ�กรรมฐาน เอาไวใ้ นเล่มนี้ดว้ ย (รหัส 424) (รหัส 426)
หนังสือ “ลกู ไม่ดแี กท้ พ่ี ่อแม่ พ่อแม่ไม่ดีแกท้ ี่ลกู ” และ
หนังสือ “สามีไม่ดีแกท้ ีภ่ รรยา ภรรยาไม่ดีแกท้ ่ีสาม”ี
หลายปัญหาในครอบครัว ที่บางคร้ังเราเองก็คิดว่าคงไม่มีทางแก้ไข
แต่ด้วยธรรมะที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อจรัญท่านได้สอนไว้
จะนำ�พาทา่ นพบกบั ทางออกแหง่ ความสุข ที่ พอ่ แม่ ลกู สามี ภรรยา
สามารถอา่ นได้กนั ทกุ คน (รหสั 626) (รหสั 828)
โรคภัยไข้เจ็บ หนังสอื “โรคภัยไขเ้ จบ็ ถ้ามันไม่เหลือวสิ ัย ก็หายได้”
และ “โรคภัยไข้เจ็บ ตำ�รบั ต�ำ รา ยา สมุนไพร”
120 หนงั สอื ทจ่ี ะเปน็ คมู่ อื ใหท้ งั้ คนปว่ ยและญาตพิ น่ี อ้ ง ในวนั ทโ่ี รคภยั ไข้
เจบ็ ไดม้ าถงึ คนปว่ ยจะไดท้ ราบวธิ ปี ฏบิ ตั ติ น คนทเ่ี ปน็ บตุ ร เปน็ สามี
ภรรยา เปน็ พอ่ แมญ่ าตพิ นี่ อ้ ง จะท�ำ สง่ิ ใดไดบ้ า้ งเมอ่ื คนทร่ี กั ตอ้ งพบ
ถ้ามันไม่เหลือวิสัย ก็หายได้ กบั สจั จะธรรมของชีวิตในขอ้ นี้ (รหัส 525) (รหสั 526)
หนังสอื และซดี ี “หลวงปู่จรญั กบั เณรนอ้ ยชา่ งคดิ ”
สาระความบันเทิงในรูปแบบการ์ตูน ที่แต่งขึ้นโดยนำ�เค้าโครงเรื่อง
มาจากธรรมะเทศนาของพระเดชพระคุณหลวงพ่อจรญั เพ่ือให้เดก็
และเยาวชน ตลอดจนสาธชุ นทว่ั ไป ได้เรยี นรูไ้ ด้เข้าใจ ไปพรอ้ มกับ
ความบนั เทิงได้อกี ด้วย (การ์ตูน 202) (ซดี ี 101)
หากท่านตอ้ งการจัดทำ�สอ่ื ธรรมะเหลา่ น้ี เผยแผเ่ ปน็ ธรรมทาน
หรอื ใช้ในงานบุญ งานพิธตี า่ ง ๆ ทา่ นสามารถสัง่ พมิ พส์ ่งั ผลติ ไดท้ ่ี
บุ๊คดดี อทคอม 081 599 1439
อีเมล์ [email protected], เว็บไซต์ http://www.book-d.com
โทรศัพท์ 02 222 0599
ธรรมนำ�ใจ 525