The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-12 11:47:02

มิลินทปัญหา

มิลินทปัญหา

Keywords: มิลินทปัญหา

มิลินทปัญหา

ทีร่ ะลึกเถลงิ ศกใหม่
ปีระกา พุทธศกั ราช ๒๕๖๐

คำ�นำ�
เม่ือแรกเปิดโรงเรียนรุ่งอรุณในปี
๒๕๔๐ นนั้ มผี สู้ งสยั วา่ การจดั การเรยี นการ
สอนท่ีรงุ่ อรุณเปน็ แบบไหน คำ� อธิบายหรือ
ตอบคำ� ถามน้ีบอ่ ยๆ ต่างกรรมตา่ งวาระน้นั
มมี ากมายหลากหลายสำ� นวน เขา้ ใจมากบา้ ง
นอ้ ยบา้ ง แตใ่ นทสี่ ดุ กต็ อ้ งเหน็ กบั ตานนั่ แหละ
จงึ เขา้ ใจ แตก่ ย็ งั ไมว่ ายทจี่ ะตอ้ งหาคำ� เฉพาะ
ที่เป็นบัญญัติอย่างเป็นทางการ เพราะใน
ระยะนั้นเป็นกระแสการปฏิรูปการศกึ ษา

อยพู่ อดี นวตั กรรมใหมๆ่ ถกู กลา่ วขานถงึ
นักการศึกษาส่วนใหญ่ รวมทั้งพ่อแม่
ผปู้ กครองกใ็ หค้ วามสนใจมาก โรงเรยี นรงุ่ อรณุ
ซึ่งเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ได้รับความรู้และ
คำ� แนะนำ� จากหลกั การเรยี นรพู้ ระพทุ ธศานา
ได้แก่หลักไตรสิกขา เมื่อมาประยุกต์ใชใ้ น
บริบทของโรงเรียนยุคปัจจุบัน จึงต้องหา
วิธีการสะท้อนถึงความทันสมัยตลอดกาล
ของค�ำสอน หรือการเรียนรู้ตามพุทธวิธี
ในท่ีสุด รุ่งอรุณก็เลือกท่ีจะสะท้อนบุคลิก
ตนเองดว้ ยการคดั เลอื กบางบทจากหนงั สอื

มลิ นิ ทปญั หา มาจดั พมิ พเ์ ปน็ หนงั สอื เลม่ เลก็
เป็นของขวัญแก่ผู้ท่ีมีความใกล้ชิดและ
รู้จักคุ้นเคยกัน และเผยแพร่ทั่วไปในวาระ
วนั ข้นึ ปีใหม่

ดงั นนั้ เมอ่ื วาระสำ� คญั ทรี่ งุ่ อรณุ อายุ
ครบ ๒๐ ปีในปี พ.ศ.๒๕๕๙ น้ี จงึ มผี ู้ทีย่ งั
ระลึกถึงหนังสือเล่มแรก และได้ปรารภว่า
นา่ จะพมิ พแ์ จกเปน็ ทรี่ ะลกึ ถงึ เวลาทลี่ ว่ งไป
หากแตอ่ ดุ มการณข์ องรงุ่ อรณุ ยงั คงสบื ทอด
มาอย่างมั่นคง จึงเป็นท่ีมาของหนังสือ
เลม่ เลก็ ในโอกาสต้อนรบั ปีใหม่ ๒๕๖๐ น้ี

เพอื่ มอบใหแ้ กท่ กุ ทา่ นไดอ้ า่ น เพอื่ รบั ความ
บนั เทงิ และสนั ตสิ ขุ ในธรรมโดยทว่ั กัน

ขอขอบคณุ คณะผจู้ ดั ทำ� และคดั เลอื ก
บางบทจากฉบับของมหาปุ้ย แสงฉาย
อนงคาราม และขอบคุณ คุณอมรวัชร
กอหรงั่ กลู ทเี่ ป็นผูเ้ ขยี นภาพประกอบเรอ่ื ง
ตง้ั แตเ่ ลม่ แรก และเลม่ ปจั จบุ ัน

รองศาสตราจารย์ ประภาภทั ร นยิ ม
ธันวาคม ๒๕๕๙

สารบัญ ๘
พุทธท�ำนายพระเจ้ามลิ นิ ทราชา ๑๓
ถามเรื่องมนสิการ ๑๕
ถามลักษณะมนสกิ าร ๑๗
ถามลกั ษณะศีล ๒๒
ถามลักษณะศรทั ธา ๒๙
ถามลักษณะวิริยะ ๓๒
ถามลักษณะสติ ๔๐
ถามลักษณะสมาธิ ๔๓
ถามลกั ษณะปัญญา ๔๖
ถามหน้าที่แหง่ ธรรมต่างๆ กนั

ถามทด่ี ับปญั ญา ๔๘
ถามท่ีตง้ั แห่งปัญญา ๕๗
ถามลักษณะทม่ี ภี าวะเดียวกนั ๕๘
ถามถงึ สาเหตุทีค่ วรให้รีบทำ� เสยี ก่อน ๖๓
ถามอาการแหง่ สติ ๖๘
ถามเร่ืองการดบั ทุกข์ใน ๓ กาล ๗๕
ถามถงึ การท�ำบาปแห่งผรู้ ู้ กับผ้ไู มร่ ู้ ๘๑
เหตใุ หเ้ จรญิ ความรู้ ๘ ๘๓
คุณของอาจารย์ ๒๕ ประการ ๘๕
ถามถงึ ท่ีต้ังนพิ พาน ๙๐

๑. พทุ ธทำ�นายพระเจา้ มลิ ินทราชา

คร้ังสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า
กับเหล่าภิกษุสงฆ์เป็นอันมาก เสด็จไปที่
เมืองกุสินาราในเวลาที่เสด็จดับขันธ์เข้าสู่
นิพพานนั้น ได้ทรงบรรทมบนบัลลังก์
หันพระเศียรไปทางทิศอุดรระหว่างต้นรัง
ทง้ั คู่ แลว้ จงึ ตรสั แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายวา่ ภกิ ษุ
ทั้งหลาย เราขอเตือนเธอทั้งหลายให้รู้ว่า
สังขารท้ังปวงมีความสิ้นความเสื่อมไป
เป็นธรรมดา เธอทั้งหลายจงท�ำกิจท้ังปวง
ดว้ ยความไมป่ ระมาทเถดิ ธรรมวจิ ยั อนั ใดท่ี
เราบญั ญตั ไิ วแ้ ลว้ เมอ่ื เราลว่ งลบั ไป ธรรมวนิ ยั

9

อนั นน้ั แหละจะเปน็ ครขู องพวกเธอ ฯ เมอื่ เรา
ปรินิพพานแล้ว พระอริยกัสสปจะระลึกถึง
ถอ้ ยคำ� ทไี่ มด่ ขี องสภุ ทั ทภกิ ษุ ผบู้ วชเมอ่ื ภาย
แกแ่ ลว้ จะกระทำ� สงั คายนา ทำ� ใหพ้ ระพทุ ธ
วจนะทผ่ี อู้ นื่ จำ� คลาดเคลอ่ื นไปนน้ั ใหถ้ กู ตอ้ ง ฯ
ตอ่ จากเรานพิ พานลว่ งไปได้ ๕๐๐ ปี จกั มี
พระราชาองคห์ นง่ึ ชอื่ วา่ มลิ นิ ท์ ผไู้ ดก้ ระทำ�
อภินิหารไว้ แล้วจะท�ำให้เกิดปัญหาอัน
ละเอียดลึกซึ้งขึ้นด้วยอานุภาพปัญญา
ของตน จะย่�ำยีเสียซ่ึงสมณะพราหมณ์
ทงั้ หลายดว้ ยปญั หาอนั ละเอยี ด ฯ จะมภี กิ ษุ
องคห์ นงึ่ ชอ่ื วา่ นาคเสน ไปทำ� ลายถอ้ ยคำ� ของ

10

มิลินทราชา ท�ำให้มิลินทราชาเกิดความ
รา่ เรงิ ยนิ ดดี ว้ ยอปุ มาเปน็ อเนก

มิลินทราชานั้น จักได้ถามปัญหา
ต่อพระนาคเสน มีอุปมาเหมือนกับน�้ำใน
แม่น�ำ้ คงคาไหลไปสสู่ มุทรสาคร ฉะนัน้ ฯ
มลิ นิ ทราชา คอื พระเจา้ มลิ นิ ทน์ น้ั เปน็ ผมู้ ี
ถอ้ ยคำ� อนั วจิ ติ ร ไดเ้ สดจ็ ไปหาพระนาคเสน
ในเวลาราตรี มคี บเพลงิ จดุ สวา่ งไสว แลว้ ถาม
ปญั หาลว้ นแตล่ ะเอยี ดลกึ ซงึ้ ฯ การปจุ ฉา
วิสัชนาล้วนประกอบด้วยอรรถอันลึกซึ้ง
ลว้ นแตห่ ยง่ั ลงถงึ ใจ ลว้ นแตเ่ พราะหู ลว้ นแต่
ไมเ่ คยมี ฯ

11

การปุจฉาของพระนาคเสนล้วนแต่
หยง่ั ลงในนยั แหง่ ธรรมอนั ลกึ ซงึ้ มเี นอ้ื ความ
สวา่ งไสว ประกอบไปดว้ ยอปุ มานานาประการ
ฯ ขอทา่ นทง้ั หลายจงตงั้ ไวซ้ งึ่ ญาณ ทำ� ใจให้
เบกิ บานยนิ ดี ฟงั ปญั หาอนั ละเอยี ดในคมั ภรี ์
มลิ นิ ทน์ น้ั เถดิ จะเกดิ ประโยชนส์ ขุ แกท่ า่ นทงั้
หลายตลอดกาลนานดงั น้ี

ฯ เปน็ เครอ่ื งหมายวรรคตอนหรอื จบความ

12

๒. ถามเร่อื งมนสกิ าร
พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า ข้าแต่
พระนาคเสน ผู้ใดไม่มีปฏิสนธิ ผู้น้ันย่อม
ไมม่ ปี ฏสิ นธิ ดว้ ยโยนโิ สมนสกิ ารไม่ใชห่ รอื ?
ขอถวายพระพร บคุ คลยอ่ มไมป่ ฏสิ นธดิ ว้ ย
โยนิโสมนสิการ คือ ด้วยปัญญาและด้วย
กุศลธรรมอื่นๆ ฯ ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้า
โยนิโสมนสิการกับปัญญาเป็นอันเดียวกัน
หรืออย่างไร? ขอถวายพระพร ไม่ใช่อย่าง
เดียวกัน คือ โยนิโสมนสิการก็อย่างหนึ่ง
ปัญญาก็อย่างหนึ่ง แพะ แกะ สัตว์เลี้ยง

13

กระบือ อูฐ โค ลา เหล่าใดมีมนสิการ
แต่ปัญญาย่อมไม่มีแก่สัตว์เหล่านั้น
ขอถวายพระพร

14

๓. ถามลกั ษณะมนสกิ าร
พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า ข้าแต่
พระนาคเสน มนสิการมีลักษณะอย่างไร
ปัญญามีลักษณะอย่างไร? พระเถรเจ้า
ตอบวา่ มหาราช มนสิการมคี วามอตุ สาหะ
เป็นลักษณะ มีการถือไว้เป็นลักษณะ
ส่วนปัญญามีการตดั เป็นลกั ษณะ ฯ ข้าแต่
พระผู้เป็นเจ้า มนสิการมีการถือไว้เป็น
ลักษณะอย่างไร ปัญญามีการตัดเป็น
ลกั ษณะอยา่ งไร ขอจงอปุ มา ฯ มหาราช
มหาบพิตรทรงรู้จักวิธีเก่ียวข้าวบ้างไหม?

15

รจู้ กั ผเู้ ปน็ เจา้ ฯ วธิ เี กยี่ วขา้ วนน้ั คอื อยา่ งไร?
ข้าแต่พระผู้เปน็ เจ้า คือ คนจับกอขา้ วด้วย
มือข้างซ้าย จับเคียวด้วยมือข้างขวาแล้ว
ตดั ใหข้ าดด้วยเคียวท่ีถือไวด้ ้วยมือขา้ งขวา
ฯ มหาราช ข้อนีฉ้ นั ใด ปัญญากฉ็ ันนน้ั คอื
พระโยคาวจรถอื ไวซ้ ง่ึ มานสั คอื กเิ ลสอนั มี
ในใจของตนแล้ว ก็ตัดด้วยปัญญาฉันน้ัน
มนสกิ ารมลี กั ษณะถอื เอา ปญั ญามลี กั ษณะตดั
อยา่ งนแ้ี หละมหาราช ฯ ถกู ดแี ลว้ พระนาคเสน

16

๔. ถามลกั ษณะศลี
พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า ข้าแต่
พระนาคเสน พระผู้เป็นเจ้าได้กล่าวไว้ใน
ขอ้ ก่อนว่า กศุ ลธรรมเหล่าอ่นื ดังน้ี จึงขอ
ถามวา่ ธรรมเหลา่ ไหนเปน็ กศุ ลธรรมเหลา่ นน้ั
ฯ พระเถรเจา้ ตอบวา่ มหาราช ศลี ศรัทธา
วิริยะ สติ สมาธิ ปญั ญา เหล่าน้ีแหละเปน็
กศุ ลธรรมเหล่าน้ัน ฯ ข้าแตพ่ ระผู้เป็นเจา้
ศีลมีลักษณะเป็นอย่างไร? มหาราช ศีลมี
การเปน็ ท่ตี ้งั เปน็ ลักษณะ คือ ศีลเป็นทต่ี ัง้
แห่งกุศลธรรมท้ังปวง อันได้แก่ อินทรีย์
พละ โพชฌงค์ สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน

17

อทิ ธบิ าท ฌาน วโิ มกข์ สมาธิ สมาบตั ิ กศุ ล
ธรรมทง้ั ปวงของผตู้ ง้ั อยู่ในศลี แลว้ ไมเ่ สอื่ ม
ฯ ขอพระผเู้ ปน็ เจา้ โปรดอุปมา ฯ มหาราช
พืชคาม ภูตคามทั้งสิ้นได้อาศัยแผ่นดิน
ตั้งอยู่ในแผ่นดินแล้ว จึงเจริญงอกงามขึ้น
ฉันใด พระโยคาวจรได้อาศัยศีล ตั้งอยู่ใน
ศลี แลว้ จงึ ทำ� ใหเ้ กดิ อนิ ทรยี ์ ๕ คอื สทั ธนิ ทรยี ์
วริ ยิ นิ ทรยี ์ สตนิ ทรยี ์ สมาธนิ ทรยี ์ ปญั ญนิ ทรยี ์
ขึ้นได้ฉนั นน้ั ฯ ขอพระผเู้ ป็นเจา้ จงโปรด
อุปมาให้ยง่ิ ขึ้นไป ฯ

มหาราช การงานทั้งสิ้นที่ควรท�ำ
บนบก ตอ้ งอาศยั แผน่ ดนิ ตงั้ อยบู่ นแผน่ ดนิ
จึงท�ำได้ฉันใด พระโยคาวจรก็อาศัยศีล

18

ตัง้ อยู่ในศีล จึงทำ� ให้เกิดอินทรยี ์ ๕ ขนึ้ ได้
ฉันนั้น ฯ โปรดอุปมาให้ย่ิงข้ึนไปอีก ฯ
มหาราช บุรุษที่เป็นนักกระโดดโลดเต้น
ประสงคจ์ ะแสดงศิลปะ ก็ให้คนถากพื้นดิน
ใหป้ ราศจากกอ้ นหนิ กอ้ นกรวด ทำ� ใหส้ มำ�่ เสมอ
ดีแล้ว จึงแสดงศิลปะบนพน้ื ดินนน้ั ฉันใด
พระโยคาวจรกอ็ าศยั ศลี ตง้ั อยใู่ นศลี แลว้ จงึ
ทำ� ใหเ้ กดิ อนิ ทรยี ์ ๕ ขน้ึ ได้ ฉนั นน้ั ฯ นมิ นต์
อุปมาให้ยงิ่ ข้นึ ไปอกี ฯ มหาราช นายช่าง
ประสงคจ์ ะสรา้ งเมอื ง ใหป้ ราบพนื้ ทจี่ นหมด
เสยี้ นหนามหลกั ตอ ทำ� พนื้ ที่ใหส้ มำ่� เสมอดี
แลว้ จงึ กะถนนตา่ งๆ มถี นน ๔ แพรง่ ๓ แพรง่
เปน็ ตน้ ไวภ้ ายในกำ� แพง แลว้ จงึ สรา้ งเมอื ง

19

ลงฉันใด พระโยคาวจรก็อาศัยศีล ต้ังอยู่
ในศีล แล้วจึงท�ำให้เกิดอินทรีย์ ๕ ขึ้นได้
ฉนั น้นั ฯ ขอจงนมิ นต์อปุ มาใหย้ ิ่งขน้ึ ไปอกี
ฯ มหาราช พลรบผู้เข้าสู่สงคราม ตั้งมั่น
อยู่ในพน้ื ท่อี นั ดี กระทำ� พื้นที่ใหเ้ สมอดแี ลว้
จึงกระท�ำสงคราม ก็จักได้ชัยชนะใหญ่ใน
ไมช่ า้ ฉนั ใด พระโยคาวจรกอ็ าศยั ศลี ตง้ั อยู่
ในศีล แล้วจึงท�ำอินทรีย์ ๕ ให้เกิดขึ้นได้
ฉนั นน้ั ฯ ขอ้ นี้ สมกบั ทพี่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้
ตรสั ไวว้ ่า ภกิ ษผุ มู้ ีความเพียรรู้จักรกั ษาตวั
มปี ญั ญา ตงั้ อย่ใู นศลี แลว้ ทำ� จติ และปญั ญา
ใหเ้ กดิ ขน้ึ ยอ่ มสะสางซง่ึ ความรงุ รงั อนั น้ีได้
ดงั นี้ ฯ ศลี นเี้ ปน็ ทตี่ ง้ั แหง่ กศุ ลธรรมทงั้ หลาย

20

เหมือนกับพ้ืนธรณีอันเป็นท่ีอาศัยแห่งสัตว์
ท้ังหลาย ศีลน้ีเป็นรากเหง้าในการท�ำกุศล
ให้เจริญขึ้น ศีลน้ีเป็นหัวหน้าในศาสนา
ของพระชนิ ศรที ้ังปวง กองศีลอันดี ไดแ้ ก่
พระปาฏโิ มกข์ ขอถวายพระพร ฯ ชอบแลว้
พระนาคเสน

21

๕. ถามลกั ษณะศรทั ธา

พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า ข้าแต่
พระนาคเสน ศรัทธามีลักษณะอย่างไร
พระเถรเจา้ ตอบวา่ มหาราช ศรทั ธามคี วาม
ผ่องใสเป็นลักษณะ มีการแล่นไปเป็น
ลกั ษณะ ฯ ขา้ แตพ่ ระผเู้ ปน็ เจา้ ทว่ี า่ ศรทั ธา
มีความผ่องใสเป็นลักษณะ คืออย่างไร?
มหาราช ศรัทธาเมื่อเกิดขึ้นก็ข่มนิวรณ์ไว้
ทำ� จติ ใหป้ ราศจากนวิ รณ์ ทำ� จติ ใหผ้ อ่ งใสไม่
ขนุ่ มัว อยา่ งนี้แหละ เรยี กว่ามีความผ่องใส
เปน็ ลักษณะ ขอถวายพระพร ฯ ขอนิมนต์
อปุ มา พระผู้เปน็ เจ้า ฯ มหาราช พระเจา้
จักรพรรดิ ทรงด�ำเนินทางไกลพร้อมด้วย

23

จตุรงคเสนา ตอ้ งข้ามแม่น�ำ้ น้อยไป น้ำ� ใน
แม่น�้ำน้อยน้ันย่อมขุ่นไปด้วย ช้าง ม้า
รถ พลบทจร ฯ เมอ่ื พระเจา้ จกั รพรรดเิ สดจ็
ขา้ มไปแลว้ ไดต้ รสั สง่ั พวกอำ� มาตยว์ า่ จงนำ�
น้�ำด่ืมมา เราจกั ด่มื น�ำ้ ฯ แก้วมณสี ำ� หรับ
ท�ำน�้ำให้ใสของพระเจ้าจักรพรรดิน้ันมีอยู่
พวกอ�ำมาตย์รับพระราชโองการแล้วก็น�ำ
แกว้ มณีนนั้ ไปกดลงในนำ้� พอวางแก้วมณี
นนั้ ลงไปในนำ�้ สาหรา่ ย จอก แหนทง้ั หลาย
ก็หายไป โคลนตมก็จมลงไป น้�ำก็ใสไม่
ขุ่นมัว พวกอ�ำมาตย์ก็ตักน้�ำน้ันไปถวาย
พระเจา้ จกั รพรรดิ กราบทลู วา่ เชญิ เสวยเถดิ

24

พระเจา้ ขา้ ฯ นำ�้ ที่ไมข่ นุ่ มวั ฉนั ใด กค็ วรเหน็
จิตฉันน้ัน พวกอำ� มาตยน์ นั้ ฉนั ใด กค็ วรเหน็
พระโยคาวจรฉันนั้น สาหร่าย จอก แหน
โคลนตมน้ันฉันใด ก็ควรเห็นกิเลสฉันนั้น
แก้วมณีอันท�ำน้�ำให้ใสฉันใด ก็ควรเห็น
ศรทั ธาฉนั นน้ั พอวางแกว้ มณอี นั ทำ� นำ�้ ใหใ้ ส
ลงไปในนำ้� สาหรา่ ย จอก แหน ก็หายไป
โคลนตมก็จมลงไป น�้ำก็ใสไม่ขุ่นมัวฉันใด
เมื่อศรัทธาเกิดขึ้น ก็ข่มนิวรณ์ไว้ จิตอัน
ปราศจากนวิ รณ์ กผ็ อ่ งใสไมข่ นุ่ มวั อยา่ งนี้
แหละ เรียกว่าศรัทธามีความผ่องใสเป็น
ลักษณะ ขอถวายพระพร

25

ข้าแตพ่ ระผเู้ ป็นเจ้า ขอ้ วา่ ศรทั ธามี
การแล่นไปเป็นลักษณะน้ันคืออย่างไร?
มหาราช พระโยคาวจรพิจารณาดูจิตอัน
หลุดพ้นของพระอริยบุคคลเหล่าอ่ืนแล้ว
จิตของพระโยคาวจรเหล่านั้น ก็แล่นไปใน
โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล
อรหัตตผล เป็นล�ำดับไปฉันนั้น แล้วพระ
โยคาวจรนั้นกก็ ระทำ� ความเพียร เพอ่ื ใหถ้ งึ
ธรรมท่ียังไม่ถึง เพื่อให้บรรลุธรรมที่ยัง
ไม่ได้บรรลุ เพือ่ กระทำ� ใหแ้ จง้ ซงึ่ ธรรมที่ยงั
ไม่ได้กระทำ� ให้แจ้ง อยา่ งนี้แหละ มหาราช
เมฆใหญ่ตกลงบนภูเขาแล้ว ก็มีน�้ำไหล

26

ลงไปสู่ท่ีต�่ำ ท�ำซอกเขาระแหงห้วยให้
เตม็ แลว้ กล็ น้ ไหลไปสแู่ มน่ ำ�้ เซาะฝง่ั ทง้ั ๒ ไป
เมื่อฝูงคนมาถึง ไม่รู้ท่ีต้ืนท่ีลึกแห่งแม่น้�ำ
นน้ั กก็ ลวั จงึ ยนื อยรู่ มิ ฝง่ั อนั กวา้ ง ลำ� ดบั นนั้
ก็มีบุรุษคนหน่ึงมาถึง เขาเป็นผู้มีก�ำลัง
เรี่ยวแรงมาก ได้เหน็บชายผ้านุ่งให้แน่น
แล้วกระโดดลงไปในน้�ำว่ายข้ามน้�ำไป
มหาชนไดเ้ หน็ บรุ ษุ นน้ั ขา้ มนำ�้ ไปได้ กพ็ ากนั
วา่ ยขา้ มตามไปฉันใด พระโยคาวจรได้เหน็
จิตของพระอริยะเหล่าอื่นแล้ว ก็มีจิตแล่น
ไปในโสดาปัตติผลหรือสกทาคามิผล
อนาคามผิ ล อรหตั ตผล แล้วก็กระท�ำความ

27

เพียรเพื่อถึงธรรมท่ียังไม่ถึง เพื่อบรรลุ
ธรรมทยี่ งั ไมบ่ รรลุ เพอื่ ทำ� ใหแ้ จง้ ซงึ่ ธรรมที่
ยังไม่ได้ท�ำให้แจ้งฉันนั้น อย่างนี้แหละ
มหาราช เรียกว่าศรัทธามีการแล่นไปเป็น
ลกั ษณะ ฯ ขอ้ นสี้ มกบั ทพ่ี ระผมู้ พี ระภาคเจา้
ตรัสไว้ว่าบุคคลย่อมข้ามห้วงน�้ำได้ด้วย
ศรทั ธา ยอ่ มขา้ มมหาสมทุ รไดด้ ว้ ยความไม่
ประมาท ย่อมล่วงทุกข์ได้ด้วยความเพียร
ย่อมบริสุทธ์ิได้ด้วยปัญญาดังน้ี ขอถวาย
พระพร ฯ ชอบแลว้ พระนาคเสน

28

๖. ถามลกั ษณะวริ ยิ ะ

พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า ข้าแต่
พระนาคเสน วริ ยิ ะคอื ความเพยี ร มลี กั ษณะ
อยา่ งไร? ฯ พระเถรเจา้ ตอบว่า มหาราช
ความเพียรมีความอุปถัมภ์เป็นลักษณะ
กุศลธรรมเหล่าน้ันทั้งส้ิน อันความเพียร
อปุ ถัมภ์แลว้ ย่อมไมเ่ สอ่ื ม ฯ นมิ นตอ์ ปุ มา
ฯ มหาราช เมอ่ื เรอื นจะลม้ บคุ คลคำ้� ไวด้ ว้ ย
ไม้อื่น เรือนท่ีถูกค้�ำไว้นั้นก็ไม่ล้มฉันใด
ความเพียรก็มีความอุปถัมภ์เป็นลักษณะ
กุศลธรรมเหล่าน้ันทั้งสิ้นก็ไม่เส่ือมฉันน้ัน
ฯ ขอนมิ นตอ์ ปุ มาใหย้ ง่ิ ขน้ึ ไปอกี ฯ มหาราช
พวกเสนาจ�ำนวนน้อย ต้องพ่ายแพ้เสนา
หมู่มาก หากพระราชาทรงก�ำชับไปให้ดี

30

ท้ังเพมิ่ กองหนนุ สง่ ไปให้ เสนาจำ� นวนนอ้ ย
กับกองหนุนนั้นต้องชนะเสนาหมู่มากได้
ฉันใด ความเพียรก็มีความอุดหนุนเป็น
ลกั ษณะ กศุ ลธรรมเหลา่ นน้ั ทงั้ สนิ้ อนั ความ
เพียรอุดหนุนแล้วก็ไม่เสื่อม ฉันน้ัน ฯ
ข้อน้ีสมกับท่ีสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า
ตรัสว่า อริยสาวกผู้มีความเพียรเป็นก�ำลัง
ย่อมละอกุศล เจริญกุศลได้ ฯ ละสิ่งท่ี
มโี ทษ เจริญสง่ิ ที่ไมม่ โี ทษได้ ย่อมไมเ่ สื่อม
จากพระสัทธรรมดังน้ี ขอถวายพระพร ฯ
พระผู้เป็นเจ้า กล่าวแก้ถูกต้องดีแล้ว
พระนาคเสน

31

๗. ถามลักษณะสติ

พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า ข้าแต่
พระนาคเสน สติมีลักษณะอย่างไร?
พระเถรเจ้าตอบว่า มหาราช สติมีการ
ตักเตือนเป็นลักษณะ อีกอย่างหน่ึงว่า
มีการเข้าไปถือไว้เป็นลักษณะ ขอถวาย
พระพร ฯ ขา้ แตพ่ ระผเู้ ปน็ เจา้ ข้อวา่ สติมี
การเตือนเป็นลักษณะน้ัน คืออย่างไร?
คือสติเมื่อเกิดข้ึน ก็เตือนให้รู้จักสิ่งท่ีเป็น
กศุ ล อกศุ ล มโี ทษ ไมม่ โี ทษ เลว ดี ดำ� ขาว
ว่าเหล่านี้เป็นสติปัฏฐาน ๔ เหล่าน้ีเป็น
สัมมัปปธาน ๔ เหล่านี้เป็นอิทธิบาท ๔
เหลา่ นเี้ ปน็ อนิ ทรยี ์ ๕ เหล่านเี้ ป็นพละ ๕

33

เหล่านี้เป็นโพชฌงค์ ๗ เหล่านี้เป็น
อรยิ มรรค ประกอบดว้ ยองค์ ๘ อันนเี้ ปน็
สมถะ อันนี้เป็นวิปัสสนา อันน้ีเป็นวิชชา
อันน้ีเป็นวิมุตติ เหล่านี้เป็นเจตสิกธรรม
ดังน้ี ล�ำดบั นัน้ พระโยคาวจร กเ็ กยี่ วขอ้ ง
ธรรมท่ีควรเก่ียวข้อง ไม่เกี่ยวข้องธรรมที่
ไม่ควรเก่ียวข้อง คบหาธรรมที่ควรคบหา
ไมค่ บหาธรรมที่ไมค่ วรคบหา อยา่ งนแี้ หละ
มหาราช เรยี กวา่ สตมิ กี ารเตอื นเปน็ ลกั ษณะ
ฯ ขอนมิ นตอ์ ปุ มา ฯ มหาราช นายคลงั ของ
พระราชา ย่อมทูลเตือนพระเจ้าจักรพรรดิ
ให้ทรงระลึกถึงราชสมบัติในเวลาเช้า-เย็น

34

วา่ ข้าแต่เทพเจ้า ชา้ งของพระองคม์ ีเทา่ น้ี
ม้ามีเท่าน้ี รถมีเท่าน้ี พลบทจรมีเท่านี้
เงินมเี ท่าน้ี ทองมีเทา่ น้ี สง่ิ ทเี่ ป็นประโยชน์
เกื้อกูลแก่เจ้าของมีเท่านี้ ขอพระองค์จง
ทรงระลึกเถิดพระเจ้าข้า ดังนี้ ฉันใด สติ
เม่ือเกิดขึ้น ก็เตือนให้ระลึกถึงธรรมท่ีเป็น
กศุ ล อกศุ ล มโี ทษ ไมม่ โี ทษ เลว ดี ดำ� ขาว วา่
เหล่าน้ีเป็นสติปัฏฐาน ๔ เหล่าน้ีเป็น
สัมมัปปธาน ๔ เหล่าน้ีเป็นอิทธิบาท ๔
เหล่านเี้ ป็นอินทรยี ์ ๕ เหล่านเ้ี ปน็ พละ ๕
เหลา่ นเี้ ปน็ โพชฌงค์ ๗ อนั นเ้ี ปน็ อรยิ มรรค
ประกอบด้วยองค์ ๘ อันนี้เป็นสมถะ อันนี้

35

เป็นวิปัสสนา อันน้ีเป็นวิชชา เหล่านี้เป็น
วมิ ตุ ติ เหลา่ นเ้ี ปน็ เจตสกิ ธรรม ดงั นี้ ลำ� ดบั นน้ั
พระโยคาวจร ก็เกี่ยวข้องกับธรรมที่ควร
เกี่ยวข้อง ไม่เกี่ยวข้องกับธรรมท่ีไม่ควร
เกย่ี วข้อง คบกับธรรมทค่ี วรคบ ไมค่ บกบั
ธรรมท่ีไม่ควรคบ อย่างน้ีแหละมหาราช
ชื่อว่าสติมีการเตือนเป็นลักษณะ ขอถวาย
พระพร ฯ ชอบแล้ว พระนาคเสน

พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามต่อไปว่า
ข้าแต่พระนาคเสน ข้อว่าสติ มีการเข้าไป
ถือเอาเป็นลักษณะน้ัน คืออย่างไร?
พระเถรเจา้ ตอบวา่ มหาราช สตเิ มอ่ื เกดิ ขนึ้

36

ก็ชักชวนให้ถือซึ่งคติแห่งธรรมท้ังหลายว่า
ธรรมเหล่านี้มีประโยชน์ ธรรมเหล่าน้ีไม่มี
ประโยชน์ ธรรมเหล่าน้ีมีอุปการะ ธรรม
เหลา่ นน้ั ไมม่ อี ปุ การะ ลำ� ดบั นนั้ พระโยคาวจร
กล็ ะธรรมอนั ไมม่ ปี ระโยชนเ์ สยี ถอื เอาธรรม
ท่ีมีประโยชน์ ละธรรมที่ไม่มีอุปการะเสีย
ถือเอาแต่ธรรมท่ีมีอุปการะ อย่างนี้แหละ
มหาราช ช่ือวา่ สตมิ กี ารเขา้ ไปถอื เอาเป็น
ลักษณะ ฯ ขอจงนิมนต์อปุ มา ฯ มหาราช
นายประตขู องพระราชา ยอ่ มตอ้ งรจู้ กั ผทู้ มี่ ี
ประโยชน์ และไมม่ ปี ระโยชนแ์ กพ่ ระราชาวา่
พวกนม้ี ีประโยชนแ์ กพ่ ระราชา พวกนี้ไม่มี

37

ประโยชน์แกพ่ ระราชา พวกนมี้ อี ปุ การะแก่
พระราชา พวกนี้ไม่มอี ุปการะแก่พระราชา
ล�ำดับนั้น นายประตูก็ก�ำจัดพวกไม่มี
ประโยชน์เสีย รับให้เข้าไปเฉพาะพวกที่มี
ประโยชน์ ก�ำจัดพวกไม่มีประโยชน์เสีย
รับให้เข้าไปเฉพาะพวกท่ีมีอุปการะ ก�ำจัด
พวกไม่มีอุปการะเสีย ให้เข้าไปแต่พวกมี
อปุ การะ ฉนั ใด สติเมอื่ เกดิ ขึ้น ก็ชกั ชวนให้
ถือเอาคติแห่งธรรมทั้งหลายฉันนั้นว่า
ธรรมเหล่านี้มีประโยชน์ ธรรมเหล่านี้ไม่มี
ประโยชน์ ธรรมเหลา่ นม้ี อี ปุ การะ ธรรมเหลา่ น้ี
ไมม่ อี ปุ การะ ลำ� ดบั นน้ั พระโยคาวจรกก็ ำ� จดั

38

ธรรมอนั ไมม่ ปี ระโยชนเ์ สยี ถอื เอาแต่ธรรม
ทมี่ ปี ระโยชน์ ละธรรมอนั ไม่มอี ปุ การะเสีย
ถือเอาแต่ธรรมที่มีอุปการะ อย่างนี้แหละ
มหาราช ชอ่ื วา่ สติ มกี ารถอื เอาเปน็ ลกั ษณะ
ข้อนี้สมกับท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
สะติ จะ โข อะหัง ภกิ ขะเว สพั พตั ถกิ งั
วะทามิ อันแปลว่า ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย
เรากล่าวว่า สติประกอบด้วยประโยชน์
ทั้งปวง ดังน้ี ขอถวายพระพร ฯ ข้าแต่
พระนาคเสน พระผเู้ ปน็ เจา้ แกถ้ กู ตอ้ งดแี ลว้

39

๘. ถามลักษณะสมาธิ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า ข้าแต่
พระนาคเสน สมาธิมีลักษณะอย่างไร?
พระเถรเจ้า ถวายพระพรตอบว่า มหาราช
สมาธมิ กี ารเปน็ หวั หนา้ เปน็ ลกั ษณะ กศุ ลธรรม
ท้ังสน้ิ มสี มาธเิ ปน็ หวั หนา้ น้อมไปในสมาธิ
โน้มไปในสมาธิ เงอ้ื มไปในสมาธิ ขอถวาย
พระพร ฯ ขอนมิ นตอ์ ปุ มา พระผเู้ ปน็ เจา้ ฯ
ขอถวายพระพร กลอนแหง่ เรอื นยอดทง้ั สน้ิ
ยอ่ มไปรวมอยทู่ ย่ี อด นอ้ มไปทยี่ อด โนม้ ไป
ที่ยอด ไปรวมอยู่ท่ียอด เง้ือมไปที่ยอด

40

ฉันใด กุศลธรรมท้ังส้ิน ก็มีสมาธิเป็น
หัวหน้า น้อมไปในสมาธิ โน้มไปในสมาธิ
เงอ้ื มไปในสมาธิ ฉนั นน้ั ฯ ขอนมิ นตอ์ ปุ มา
ให้ยิ่งขึ้นไปอีก ฯ ขอถวายพระพร เวลา
พระราชาเสด็จออกสงคราม พร้อมด้วย
จตรุ งคเสนานนั้ เสนาทงั้ สนิ้ เสนาบดที ง้ั สนิ้
ช้าง มา้ รถ พลบทจรท้ังสิน้ กม็ พี ระราชา
เปน็ หวั หนา้ นอ้ มไปในพระราชา โนม้ ไปใน
พระราชา เงอื้ มไปในพระราชา หอ้ มล้อม
พระราชา ฉนั ใด กศุ ลธรรมทง้ั สน้ิ กม็ สี มาธิ
เป็นหัวหน้า น้อมไปในสมาธิ โน้มไปใน
สมาธิ เงอื้ มไปในสมาธฉิ นั นนั้ อยา่ งนแี้ หละ

41

มหาราช ช่ือว่าสมาธิมีความเป็นหัวหน้า
เป็นลักษณะ ฯ ข้อน้ีสมกับท่ีพระผู้มีพระ
ภาคเจ้าตรัสไวว้ ่า สมาธิ ภกิ ขะเว ภาเวถะ
สะมาธิโก ภิกขุ ยะถาภูตัง ปะชานาติ
อนั แปลวา่ ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย เธอทง้ั หลาย
จงอบรมสมาธิ ภิกษุผู้ได้สมาธิย่อมรู้ตาม
ความเปน็ จรงิ ดงั น้ี ขอถวายพระพร ฯ ถกู ตอ้ ง
ดีแลว้ พระนาคเสน

42

๙. ถามลักษณะปญั ญา
พระเจ้ามิลินท์ตรัสถามว่า ข้าแต่
พระนาคเสน ปัญญามีลักษณะอย่างไร?
พระเถรเจา้ ตอบวา่ มหาราช ปัญญามกี าร
ตดั เปน็ ลกั ษณะ ตามที่อาตมาภาพได้ถวาย
วิสชั นาไว้แล้ว อกี อยา่ งหนึ่ง ปญั ญามกี าร
ท�ำให้สว่างเปน็ ลักษณะ ขอถวายพระพร ฯ
ขา้ แตพ่ ระผเู้ ปน็ เจา้ ปญั ญามกี ารทำ� ใหส้ วา่ ง
เปน็ ลกั ษณะอยา่ งไร? มหาราช ปญั ญาเมอื่
เกิดข้ึน ก็กำ� จดั เคร่อื งทำ� ให้มดื คอื อวชิ ชา
ท�ำให้เกิดแสงสว่าง คือ วิชชา ท�ำให้เกิด

43

แสงสวา่ ง คอื ญาณ ทำ� ใหอ้ ริยสัจปรากฏ
ล�ำดับน้ัน พระโยคาวจรก็เห็นด้วยปัญญา
อนั ชอบวา่ อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา ขอถวาย
พระพร ฯ ขอนมิ นตอ์ ปุ มา ฯ มหาราช บรุ ษุ
สอ่ งประทปี เขา้ ไปในเรอื นทม่ี ดื แสงประทปี
ย่อมก�ำจัดความมืด ท�ำให้เกิดแสงสว่าง
ทำ� ใหร้ ปู ทงั้ หลายปรากฏ ฉนั ใด ปญั ญาเมอ่ื
เกดิ ข้นึ กก็ ำ� จดั ความมดื คือ อวิชชา ทำ� ให้
เกดิ แสงสวา่ ง คอื วชิ ชา ทำ� ใหเ้ กดิ แสงสวา่ ง
คือ ญาณ ท�ำให้อริยสัจท้ังหลายปรากฏ
ล�ำดับน้ัน พระโยคาวจรก็เห็นด้วยปัญญา
อนั ชอบวา่ อนิจจงั ทกุ ขัง อนัตตา ฉันนั้น

44

อยา่ งน้แี หละ มหาราช ช่ือวา่ ปัญญามกี าร
ท�ำให้สวา่ งเปน็ ลกั ษณะ ขอถวายพระพร ฯ
ถูกแล้ว พระนาคเสน

45

๑๐. ถามหนา้ ทแ่ี หง่ ธรรมตา่ งๆ กนั


Click to View FlipBook Version