The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กฏแห่งกรรม ธรรมปฎิบัติ เล่ม ๔ หลวงพ่อจรัญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-07-06 21:24:04

กฏแห่งกรรม ธรรมปฎิบัติ เล่ม ๔ หลวงพ่อจรัญ

กฏแห่งกรรม ธรรมปฎิบัติ เล่ม ๔ หลวงพ่อจรัญ

Keywords: กฏแห่งกรรม ธรรมปฎิบัติ เล่ม ๔ หลวงพ่อจรัญ

นักปฏิบัติต้องมีความเข้าใจข้อนี ด้วย ถ้าไมเ่ ข้าใจจริง กําหนดไม่หายเลิกเลย แล้วก็เคลือนย้ายไปนั ง
ไปนอน ไปคุยกัน รับรองโยมจะไม่พบพระไตรลักษณ์ ไม่พบอนจิ จัง ทุกขัง อนตตั าเลย เห็นเป็นของจริงที
ไม่แน่นอน ของทไี ม่แน่นอนกลับเห็นเป็นของแน่นอน

เหมือนเรามีแว่นตาทีเป็นสี มองไม่เหน็ ของจริง หญ้าแห้งๆ เห็นเขยี วๆ พอเอาแว่นสีออกจะมองเหน็
ว่าหญ้านั นมันแห้ง ไม่เป็นสีเขียวแตป่ ระการใด นี ก็เปรียบเทียบเช่นเดียวกนั

การรู้ของจริงนั นต้องรู้ในเวทนา ไม่ใช่รูเ้ พยี งปวด ไม่ใช่รู้เพียงเมอื ย ไมใ่ ช่รู้เพียงแตว่ ่าเกิดขึ น ตั งอยู่
ดับไป ในวิชาการต้องรู้ว่าเกิดอย่างไร เกิดขึนกับตวั เองอย่างไร เคลือนย้ายอย่างไร

เวทนาเกิดจากไหน ก็เกิดจากของไม่เทียง คืออนิจจัง จิตมันไปเกาะทีเจ็บ จิตเกาะทปี วดท้อง จิตไป
เกาะทีปวดศีรษะ จิตเกาะทหี ัวใจเป็ นโรคหัวใจ

เราเข้าใจอยา่ งนี สิงทั งหลายเลยเกาะกันแน่น เลยจติ ก็อุปาทานยึดแน่น ทา่ นจะไมพ่ บของจริง คือ
พระไตรลักษณ์ จึงแยกเวทนาออกจากจติ ไม่ได้ เพราะมันมีรูปบังเกดิ สมส่วนควรกันในสังขารปรุงแต่ง มัน
จงึ ปวดหนัก และเราไม่ไปเพลิดเพลิน

ยกตัวอย่างให้โยมฟัง จติ ไม่ไปเพลินทีเวทนา จิตกลับเพลินทีเราพดู คุยกัน จิตไปเพลินทไี ปดูอะไร
ต่างๆ ทีเราเรียกว่าลืมปวด ลืมเมือยนั นเอง ลืมไปหมด นีมันแยกออกไปได้

เพยี งแต่จิตรู้เทา่ ทันของเวทนาทีเกดิ ขึ น ตั งอยู่ แปรปรวน ดับไป โดยสังขารปรแุงตง่ แลว้ กเ็ กดิ
อนตั ตาความไม่แน่นอน เป็นอย่างนีแหละหนอ

จิตทีไปเกาะนั นมันก็ถอยออกมา ไมไ่ ปเกาะเวทนาต่อไป ความเมอื ยปวดนั นก็หายวับไปกับตา ด้วย
สงั ขารทปี รุงแตง่ มันก็เกิดขึ นเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จติ ของเราก็เข้าสู่ภาวนา จิตก็เข้าสู่ปัญญาญณา
เรียกวา่ แยกรูปแยกนามได้

แยกขันธ์แต่ละขันธอ์ อกเป็นสัดส่วน เรียกว่าเวทนาขันธ์ จะเป็นความสุข ความทุกข์ ความดีใจ ความ

เสียใจ อฏิ ฐารมณ์ อนฏิ ฐารมย์ หรือจะเป็นโทมนัสสัง โสมนัสสัง เกิดขึนในทุกข์ ทุกข์อยู่ประจําหรือทกุ ข์จร
เข้ามา จิตมันก็แยก ไม่เกาะ

จติ มันเหมาะเจาะอยูใ่ นรูปนาม ไหนเลยล่ะทุกข์จรจะเข้ามาหาเราได้ ทุกขป์ ระจํามันก็ออกไป แล้ว
เราจะไปทุกข์มันเรืองอะไร มันจะบอกเราด้วยปัญญา แปลว่า รอบรู้ในกองการสังขาร เมือปรุงแต่งเกิดขึ น
เราไม่ติดทีปรุงแตง่

สังขารมันเกิดขึน มันเป็ นธรรมชาติของมนั ต้องปรุงแต่ง ห้ามไม่ได้ มนั จึงปวดรวดร้าวทั วสกนธ์
กาย เหมือนโยมเป็ นไข้ แยกเวทนาออก ไข้มันร้อน ปวดศีรษะเป็นกําลังจิตกม็ ีอุปาทานยดึ ในปวดนันแยก
ออกมาเป็ นสัดส่วน

รูปนามขนั ธ์ ๕ เป็ นอารมณ์เมือใด โยมจะไมม่ ีจติ เป็นไข้ ใจไม่เป็นไข้แต่เป็นไข้เฉพาะสังขารทีมัน
ปรุงแต่งอยู่เสมอ แต่จิตก็แยกออกมาเรียกวา่ นามธรรม

สภาวธรรมเกิดขึ นนั น เรียกว่า ตัวปัญญา สามารถจะรอบรู้ในกองการสงั ขารได้ชัดเจน

รู้ของจริงต้องรู้สภาพความเป็นจริงของสังขารทีเกิดขึ นตามสภาวะ โดยสี โดยสัณฐาน โดยอาการ
ของมันอยา่ งนีแล้วถึงจะเรียกว่ารู้จริง รู้ว่ามันปวดอย่างไร รู้จริงขึ นมาด้วยตนเอตงามศัพท์นีเรียกวา่ “ปัจจัต
ตงั ” รู้ ได้เฉพาะตน ของตนเองเท่านัน คนอืนเขาไม่รู้ คนอนื เขาไม่เข้าใจ

แต่ปัญญาในหลักกรรมฐานนี ต้องจับจุดปัญญาได้ แยกเวทนาได้ เอาเวทนาไปฝากไว้ก่อน เอาจิตใจ
เราไปทํางานอนื เสียก่อน สบายใจ เพราะเวทนาไมม่ าเกียวกันกับสังขาร ไหนเลยละ่ จติ จะไปพัวพันให้ปวด
ต่อไป

เพราะฉะนันต้องอาศัยสมาธิภาวนา รู้ว่าสังขารไม่เทียงหนอ เราไม่พะเน้าพะนอสังขารมัน สังขาร
มันก็ปรุง เกิดสมั ผัส เกิดบัญญัติว่า ปวดจัง เลยไม่ทราบเจ็บหนักเจ็บเบาประการใด

ท่านเรียกว่ามายา เกิดขึ นคือของปลอม ของปลอมเรียกว่ามารยาสาไถยแต่ของจริงไมใ่ ช่มายา เป็น
ของจริงแจ้งโดยปัจจัตตัง รูปนามขันธ๕์ เป็นอารมณ์

การปวดหนักก็กลายเป็นเบาเพราะจิตไม่ไปเกาะ ถ้าจติ ไปเกาะมากมันก็ปวดมาก จิตเกาะน้อยมันก็
ปวดน้อย ถ้าจิตไม่เกาะเกียวมัน ไหนเลยล่ะจะไปปวดได้ อันนีบั นปลายแล้ว

แต่วิธีฝึก วิธีปฏิบัตติ ้องเอาสมาธิเข้าขันธ์เวทนา เอาจิตจับจุดให้เป็นสมาธิ ปัญญาก็เกิดในขันธ์เวทนา
คอื รู้จริง รู้ทุกสิงแปรปรวน รู้โดยสี โดยสัณฐาน โดยอาการของมัน ในเวทนานั นกเ็ กิดขึ น ตั งอยู่ แล้ว็ดกับ
ไป

เวทนาก็หายวับไปกับตา กลับซู่ซ่า เวทนากับจิตทีอยู่ค่กู ันจะหายจากกันไป โดยแยอกอกไปเป็น
สัดส่วน จึงรู้ว่าควร ไมค่ วร เหมาะสมประการใด

ไมใ่ ช่ปวดแล้วเลิก แล้วก็พลิกไปพลิกมา อยา่ งนีจะไม่พบของจริง แต่โยมใหม่ๆ ค่อยเป็นค่อยไปนะ
ทํา๕ นาที ๑๐ นาที ค่อยๆ เรียนรู้ เล็กๆ น้อยๆ ค่อยเก็บเล็กผสมน้อยไป จึงต้องมีเวทนาทุกคน

อาตมากเ็ ป็น ไมใ่ ช่ไม่เป็น บัดนี ปวดไหม ปวด! ปวดมากหรือน้อย โยมรู้ไหม โยมก็ไมร่ ู้ ใครเป็นผู้รู้
ใครเป็นเจ้าของก็รู้ว่ามันปวด แต่เจ้าของไมส่ นใจกับมัน แยกมันอยู่เสีย จิตก็ไม่เกาะเท่านีเอง กลายเปว็นทเนา
ในเวทนา แก้ปัญหาจากเวทนาปวดเมือย

ยกตัวอยา่ ง โยมเป็นโรคปวดขา โยมก็เกาะเกียวกันดว้ ยการกําหนด ปวดขาหนอ ปวดขาหนอ พอ
สมาธิเกิดขึนจากการภาวนา เรียกว่าเกาะจบั จุด

สมาธิแปลว่าอะไร สมาธิแปลว่าจับจดุ เดียว แตง่ กายแต่งตัวอยู่ในชุดเดียว เรียกว่าสมาธิ โยมกําลัง
ทํางานไม่ข้องเกยี วกับใคร ถอื ว่าทํางานด้วยสมาธิ จิตไม่วอกแวก จิตไมส่ ่งไปทีอนื แต่ประการใดเรียกว่า
เวทนาสมาธิ เกดิ สมาธิมันก็เกิดแจ้งจิตใจ จิตสงบลงทสี มาธใิ นภาวนาของเวทนา ขันธ์ ๕ ในรูปเวทนานี มนั
ก็เกิดขึน ตังอยู่ แปรปรวน วูบหายไป เวทนาตวั หนกั กเ็ บาลงไป

ใจก็ใสสะอาดในภายใน โยมจะเห็นชัด นแี หละตัวอนิจจัง ไม่แน่นอน ปวดเดยี วกป็ วดอกี ไมใ่ ช่ว่า
ดฉิ ันนั งสมาธิได้ดแี ล้วเจ้าข้า ได้ญาณสูง นั งทีไรไม่เคยปวดเมือยเลย ไม่จร!ิงทุกสิงมากหรือน้อย ต้องเป็ น
ทุกคน ต้องประสบขันธ์๕ ทุกคน

รูปก็อยู่ตามรูป เวทนาขันธ์ปนกันรูป แตแ่ ยกออกมา เรียกว่าขันธ์หนึง เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์
วิญญาณขันธ์ สังขารขันธ์ รวมเรียกเป็นหนึงว่า นามกับรูป

เวทนาก็คงเป็นเวทนา นามรู้ปวด สัญญาความจํา จําได้หมายรู้ เรามีความจําในขันธ์ สัญญา มีสมาธิ
ภาวนาแล้ว จําแม่นไม่ลมื จําดูดดืมในปัญญา จําอะไรหรือ จํารูป จํานาม จําขัน๕ธ์ ได้

นามธรรมเป็ นสมาธิในสัญญา ในสมาธิภาวนา มันจะจําไม่ลืม ไปจําเอาตอนจิตเป็นทุกขต์ าย
ขณะนั น โยมไปนรก ถ้าไปจําตอนมีสุขไปเจือปนตอนนั น โยมตายไปสวรรค์ สุคติปาฏกิ ังขา จุดนีเป็น
จดุ สาํ คัญ มีความหมายในเวทนานี

สญั ญาจําเวทนาได้ไหม ต้องจําได้ ถ้าเราเคยปวด เคยทํา โอ๊ย จําได้ ปวดขาอีกแล้วตามเดิม มันก็จํา
ตัวสญั ญาบอกให้จํา แต่เราขาดสติสัมปชัญญะ

นีอะไรโยม “สัญญา” ความจําได้หมายรู้ ได้มาจากไหน สัญญาขันธ์ ขันธ์ตัวนี มั นคง มีสมาธิลง
ด้วยองค์ภาวนา ประกอบไปด้วยสติ สมั ปชัญญะ แยกรูปแยกนามได้ ไม่ปนกัน

คนทีอารมณ์ดี จิตมันคง คนทีมีอารมณ์เยอื กเยน็ เป็ นบัณฑิต จิตมันคง สญั ญาก็ไมข่ าด สัญญาเกิด
ความจํา สัญญาฝึกอย่ใู นเทป คือจติ สํานึก สมัญญา เรียกว่าจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน

จิตตานุปัสสนาสตปิ ัฏฐานข้อสามนี สาํ หรบั บันทกึ จิต จติ เป็นธรรมชาติ คิดอ่านอารมณ์ รับรูอ้ ารมณ์
ไว้ได้เวลานาน มาเปิ ดเมือใด โผล่ออกมาเมอื นั น สญั ญาความจําได้หมายรู้ มันเป็นกิจอันหนึง เป็นสัญญา
ลึกซึ ง นีจติ -ตานุปัสสสนาสติปัฏฐาน

จติ ฟุ ้ งซ่านเป็ นธรรมชาตขิ องจิต ต้องผันแปร แต่อารมณ์ทีจําได้ มันเกียวเนอื งกับสัญญาขันธ์ เป็น
ขันธ์ทีจําได้แมน่ ยํา ต้องประกอบด้วยสติ ประกอบไปด้วยสมั ปชัญญะ สตมิ า สัมปชาโน โผลอ่ อกมาใน
สังขาร ในสัญญาขันธ์

สติสัมปชัญญะได้มาจากไหน ได้มาจากการกําหนด กาํ หนดได้มาจากไหนได้จากการเจรญิ สติปัฏ
ฐาน ๔

เดินยืนนังนอนได้มาจากไหน ได้มาจากอินทรีย์ หนา้ ทีการงานรับผิดชอบ ตาเหน็ รูปกําหนด หูได้
ยินเสียงกําหนด จมูกได้กลินตั งสติไว้ด้วยการกําหนด เพือสัญญาความจํา เป็นสมาธิภาวนาเกยี วโยง

ความจํามี ๒ อย่าง จําฝ่ ายดี จําฝ่ ายชัว จําเอาตัวไม่รอด จําด้วยราคะ จําด้วยโทสะ จําด้วยโมหะ จําได้
แม่น ทําไมถึงจําด้วยโทสะ เพราะเมือวานซืนต่อยกันมา เมอื ปี กลายตีกันหัวแตก จําได้ไหม ได้ อะไรเป็นตัว
จํา ตัวสัญญาจํา

นีแหละจิตตานุปัสสนาสตปิ ัฏฐาน อารมณจ์ ิต มสี ัญญาจํา๒ ประการ จําดี จําชัว จําชั วไว้นเปโ็ รค
ประสาท จาํ ดีไว้ในสมองปัญญาดี จติ ใจผ่องใสในทางดี

จาํ ทางชัวไว้ จิตใจเป็ นอกุศลตลอดไป มันลืมไปแล้ว เห็นคนนี มานั ง พอเห็นปับพลุ่งขึ นทันที
ความจําเก่าสัญญาขึนมา อ๋อเมือ๓ ปี คนนี ทะเลาะกับเรา มันจําทไี ม่ดีนะ เพราะเหตใุ ด เพราะแยกรูปแยก
นามไม่ออก แยกความชวั แยกความดีไม่ออกจากกัน ไปผสมกัน เจอชัวกจ็ ําได้ เจอดกี จ็ ําได้

เหมือนคนมาทําบุญละบาปไมไ่ ด้ เหมือนมาบวชกันละชั วไม่ได้ เอาดีได้อย่างไร มันจําแต่ชั ว ดีไม่
คอ่ ยจํา นเี รียกว่าสญั ญาอันหนึง

ถ้ามาเจริญวิปสั สนากรรมฐานแล้ว แยกรูปแยกนามได้ แยกชั วกับดอี อกจากกันไดแ้ ยกเอาชั วทิง เอา
ดีไว้ แยกเอากุศลเข้าไว้ เอาอกุศลออก แยกโลภะ แยกโทสะ แยกโมหะ

แยกตรงไหน ตาเห็นรูป ชอบไหม ชอบเป็นโลภะ ไม่ชอบเป็ นโทสะ จําได้แม่น ตากับรูปเป็นคนละ
อันกัน รูปกับตา อะไรเป็นรูป อะไรเป็นนาม พอแยกออกจากกันแล้ว มันก็ออกไป ความโลภ ความโกรธ
ความหลง มนั ก็สลดปับดับลงไป

มาสร้างบุญกุศล ทําไมเอาบาปติดมาเล่า มาสร้างความดี ทําไมเอาชั วติดมาเล่ามาเป็ นมนุษย์ ทําไม
เอาลงิ ตดิ กันมาเล่า เสียใจสําหรับผู้ปฏิบัติกรรมฐานนะ ไม่น่าเลย

ทา่ นสาธุชนพุทธบริษัททั งหลาย รูปนามขันธ๕์ เป็นอารมณ์ เสียงหนอ เขาด่าเรา เราจําได้ เอามาไว้
ในใจ ไม่กําหนดเสียงหนอ จําเอาเสียงด่ามาไว้ในใจ เลยก็กลุ้มอกกลุ้มใจ

นีแหละกฎแห่งกรรมนะ หนีไปไหนจะเหน็ คนด่า คนว่า มีทไี หน แยกรูปแยกนามเสียเถิด จะได้
ประเสริฐเป็นพระ ใจประเสริฐแล้ว จะได้ไม่จําทชี ั ว ทีอยู่ในตัวเราบันทึกเทปไว้เสียเต็มเปา เต็มกระเปเ๋ลาย

แยกรูปไม่ออก แยกนามไม่ออก จิตกเ็ ป็ นอกุศลกรรม ตอบได้ดังทีได้ชีแจงแสดงมา ณ บัดนี
ขออนุโมทนาส่วนกุศลไว้แก่ผู้ปฏิบัตธิ รรมทุกท่าน ขอโปรดจงแยกรูปแยกนาม แยกความชั วแยก
ความดีออกจากกัน อย่าไปปนกันอย่างนั น มันทําให้สับสนอลหม่าน..ทังดีทั งชัวปนกันเลย เลยกท็ ะลึงงตตึ ัง
ดังทีกลา่ วมา
ไม่กําหนดเสียงหนอ ไม่กําหนดรูปหนอ เห็นหนอไม่กําหนด กลินเหม็นก็ไม่กําหนดไว้ในใจ เลยคน
นันก็เป็นบาปติดตัวไป ไม่ต้องไปหาวัดอืนต่อไปแล้ว ไปวัดของเรา วัดกาย วัดวาจา วัดใจ วัดนอกวัดใน ใน
สติปัฏ-ฐานสี ดังทีได้ชี แจงแสดงมาพอสมควรแก่เวลาแล้ว ด้วปยระการฉะนี

โพธิปักขยิ ธรรมภาคปฏิบัติ

พระภาวนาวิสุทธิคณุ
๕ ธันวาคม ๒๕๓๒

วันนีจะชีแจงภาคปฏิบัติธรรมแยกรูปแยกนามในโพธิปักขิยธรรมให้ญาติโยมทงั หลายฟัง เพอื นํามา
เป็ นหลักปฏิบัติตามทีพระพุทธเจ้าทรงสอนไว้

เหตุผลทีให้ปฏิบัติโดยไม่ห่วงภาควิชาการ ให้ปฏิบัตคิ ้นหาเหตผุ ลให้กศุ ลเกิดขึนจากวิธีปฏิบัติ ให้
ผดุ ขึ นมาในดวงใจเองนั น เพราะท่านทิงความรู้เดิมทเี ป็ นทิฐิมานะในชีวิตของตนใหห้ มดจากจติ ใจไป

การปฏิบัติจริงนัน เกดิ จากดวงใจคือภาวนา เป็ นปัญญาใสสะอาด ผุดขึนมาเองจงึ จะเป็นการปฏิบัติ
ได้ของจริ งด้วยความถูกต้อง

ดังนั นจงึต้องห้ามดหู นังสือ ห้ามคุยกนั ทีพูดยํามานาน คือ กินน้อย นอนน้อย ทําความเพียรให้มาก
หาปฏบิ ัติได้ตามองค์ภาวนานี ก็จะพบวิชาการ ทพี ระสัมมาสมั พุทธเจ้าทรงศึกษาค้นพบด้วยพระองค์เอง
เรียกวา่ วิชาพ้นทกุ ข์

และออกมาแยกแยะออกไปเป็นรูปนาม ขันธ์ ๕ เป็นอารมณ์ อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ บอกหน้าทีการ
งาน พละ ๕ ประการ เป็นตน้ กไ็ ด้จากวิธีปฏิบัติภาวนานีทั งหมด

พระอรหันต์สมัยพุทธกาล มพี ระมหากสั สปะเถระเป็นประธานประชุมกันทําสังคายนา รวบรวม
ทอ่ งจําแล้วจารึกเป็นพระไตรปิ ฎก หยบิ ยกขึ นมาเป็นวิชาการให้พวกเราได้ศึกษาและปฏบิัติธรรมตราบจน
ทุกว ั นนี

การแสวงหาความสงบในอรญั ราวป่ า คอื รุกขมูล เป็นการปฏิบัตใิ ห้จติ สงบไมฟ่ ุ ้ งซ่านแล้ว ปัญญาก็
เกิดขึ นในสงั ขารทีปรุงแต่ง เกิดเป็นวิญญาณ แสดงท่าทอี อกมา โดยแยกรูปแยกนาม ขันธ๕์ เป็นอารมณ์
ออกมาได้ โดยวิธีนีถอื ว่าเป็นข้อปฏิบัติ

แต่ปฏิบัติเกดิ กอ่ นปริยัตแิ น่ พระพทุ ธเจ้าไปปฏิบัติก่อน จนสาํ เร็จสัมโพธิญาณแล้ว จึงได้แยกแยะ

ออกไปเป็นจิต เจตสิก รูป นิพพาน ออกไปตามรูปการณ์อย่างนี
ในการปฏิบัติจะเหลือ๒ ข้อ คือสติ สัมปชัญญะ ทีกําหนดใช้สติกําหนดจิต ให้จิตรู้หน้าทีการงาน

โดยถูกต้อง แล้วจะเหลืออย่หู นึงเดยี ว คือความไม่ประมาท ดําเนนิ วิถีชีวิตด้วยความถูกต้อง นีเป็นหลักปฏิบัติ
ต่อไปนี จะบรรยายโพธปิ ักขิยธรรมภาคปฏบิ ัติ ให้ญาติโยมฟัง

คําว่าโพธิปักขิยธรรม แยกออกมาแล้วมีความหมายอย่างนีโพธิ แปลว่า รู้ รู้โดยความหมายของคํา
ว่าโพธินี หมายถึงการรู้ทีจะทําให้สิ นอาสวะ คือ รู้อริยสัจสี

ปักขิยะ แปลว่า ทีเป็ นฝ่ าย โพธิปักขยิ ธรรม จึงหมายความว่า ธรรมทเี ป็ นฝ่ ายรู้ถึงมรรคผล
ถ้าจะแปลสั นๆ ก็ว่า ธรรมทเี ป็นฝ่ ายให้ถึงการตรัสรู้ โพธิปักขิยธรรมนีแบง่ ออกเป็น๗ กอง รวม
เป็นธรรมะ ๓๗ ประการ
ในธรรม ๓๗ ข้อนี จะได้องค์ธรรมทีไมซ่ํ ากัน๑๔ องค์ ขอใหท้ ําความเข้าใจไว้ก่อนตามทกี ลา่ วนี

โพธปิ ักขิยธรรม ๗ กอง ได้แก่
๑. สติปัฎฐาน มี ๔ ประการ
๒. สัมมัปปธาน มี๔ ประการ
๓. อทิ ธิบาท มี ๔ ประการ
๔. อินทรีย์ มี ๕ ประการ
๕. พละ มี ๕ ประการ
๖. โพชฌงค์ มี ๗ ประการ
๗. มรรค มี ๘ ประการ

กองที ๑ ได้แก่สติปัฏฐาน ๔ ทีปฏิบัตอิ ยู่ ณ บัดนี สติ ความระลกึ รู้อารมณ์ เป็นธรรมฝ่ ายดี รู้ทันอารมณ์ใน
สติปัฏ-ฐาน ได้แก่ กาย เวทนา จิต ธรรม สติทีระลึกรู้กาย เวทนา จิต ธรรม มจี ดุ ประสงค์จําแนกเป็น๒ ทาง
คือ

๑. ถ้าเจริญสมถภาวนา ก็พิจารณาตั งมั นในบัญญัติ เพือให้จิตสงบ มอี านิสงส์บรรฌลาุ ณสมาบัติ
๒. ถ้าเจริญวิปัสสนาภาวนา สตกิ พ็ จิ ารณาตั งมั นอยู่ในรูปนาม เพือใหเก้ ิดปัญญาเห็นพระไตร

ลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา มอีานิสงส์ให้บรรลุถึงมรรค ผล นิพพาน
การพจิ ารณาไตรลักษณ์ก็เพือให้รู้สภาพตามความเป็นจริงว่าสิ งทั งหลายทียึดถือเป็นตัวตน เป็นชาย
หญงิ นั น ลว้ นเป็นเพียงรูปกับนามเทา่ นั น และรูปนามเหล่านั นมีลักษณะเป็นอนจิ จัง เป็นทุกขัง เป็นอนัตตา
หาแก่นสารไม่ได้เลย จะได้ไมต่ ิดอยูใ่ นความยนิ ดพี อใจ อันเป็นการเริมต้นทีจะให้ถงึ การดับทุกข์ตอ่ ไป
ฉะนั นสติปัฎฐาน๔ จงึ เป็นทางสายเอก จัดว่าเป็นทางสายเดยี วทีสามารถให้ผทู้ ดี ําเนนิ ตามทางนี ถึง
ความรอบรู้ความจริงจนบรรลุถงึ พระนิพพาน
ดังนั นผู้ปรารถนาจะบรรลุถึงมรรค ผล นิพพาน ต้องเริมต้นด้วยสติปฏั ฐาน เพือบรรลุญาณธรรม
เพอื ทําให้แจ้งซึงพระนิพพาน
ญาณธรรม คือธรรมทีควรรู้มีอยู่ ๕ ประการ ได้แก่
๑. สังขาร คอื ธรรมทีปรุงแต่ง ได้แก่ จติ เจตสิก รูป
๒. วกิ าล คือธรรมทีเปลียนแปลงแปรผัน ได้แก่ ธรรมทีเปลียนแปลงแปรผันของสัตว์ทีเป็นไปใน

ภพต่างๆ
๓. ลกั ษณะ คอื ธรรมทีเป็นเหตุให้รู้ให้เห็น ได้ลักษณะของสภาวะ
๔. นิพพาน คือธรรมทีพ้นจากกิเลส คืออสงั ขตธรรม อสังขตธรรมนี เรากจ็ ะมองเหน็ เด่นชัด

เช่นเดยี วกัน
๕. บญั ญตั ิ คือธรรมทีสมมติใช้พดู จาเรียกขานกัน ได้แก่ อัตถบัญญัติ และสัททบัญญัติ
อารมณ์ของสติปัฏฐาน มี ๔ อย่าง คือ

๑. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ สติทตี ั งมั นพิจารณากายเนอื งๆ ได้แก่สตทิ ีกําหนดรู้ ทีเรากําหนดอยู่
ณ บัดนี ลมหายใจเข้า ลมหายใจออก อิริยาบถใหญ่คือ ยนื เดิน นั ง นอน อิริยาบถย่อย ได้แกก่ ารเคลือนไหว
คู้เหยียด เหยียดขา เป็นต้น

เพือให้ตระหนักว่า การยืน การเดิน นั ง นอน อันเป็นการเคลือนไหวของร่างกายนั น เกิดจากธาตุลม
ทมี ีอยใู่ นร่างกาย โดยอํานาจของจิต

ทางธรรมะ เรียกว่ารูป คือ รูปทีเกดิ จากจติ หาได้มีผู้ใดมาบงการแต่อย่างใดไม่ ในบางแห่งจะพบว่า
พิจารณากายในกาย หรือกายในอันเป็นภายใน กายในอนั เป็นภายนอก คําเหลา่ นีเป็นภาษาธรรมะ อธิบายกัน
เป็นหลายนัย เช่น

กาเยกายานปุ ัสสี แปลว่าเห็นกายในกาย คําว่ากาเย หมายถึงรูปกับกาย คือกัมมัชรูป แต่ร่างกายมีทั ง
จติ เจตสิก และรูป ส่วนคําว่ากายานปุ ัสสี หมายเพียงใหก้ ําหนดดูแต่รูปธรรมเทา่ นั น คือดูรูปอย่างเดยี ว ไม่ใช่
ดจู ติ เจตสิกทมี ีอยูใ่ นร่างกายด้วย

คําว่ากายในกาย หมายตรงว่า รูปในรูป แต่ในร่างกายนี มีมากมายหลายรูป แตใ่ ห้พจิ ารณาดรู ูปเดียว
ในหลายๆ รูปนั น

เช่นจะพิจารณาลมหายใจเข้าออก พองหนอยุบหนอ คือลมหายใจเข้ากพ็ อง ลมหายใจออกก็ยุบ ก็
พิจารณาวาโยธาตุแตร่ ูปเดียว เรียกว่าอานาปาณสติ ลมหายใจเข้าออก พองหนอ ยุบหนอ เรียกว่าอานาปาณ
สติ

ส่วนคําว่ากายในอันเป็นภายใน และกายในอันเป็นภายนอกนัน ถ้าพจิ ารณาดูรูปในกายของตนก็เป็น
ภายใน รูปในกายผู้อืนถือว่าเป็นภายนอก ดังนี

๒. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน การพิจารณาเวทนานี ใช้การเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว ต่างกับการ
พิจารณากายใช้ได้ทั งสมถะและวิปัสสนา เพราะจะเพง่ เวทนาโดยความเป็นอารมณ์ของสมถกรรมฐานให้เกิด
ฌาณจิตหาได้ไม่

การพจิ ารณาเวทนา จะเป็นสุขเวทนา ทกุ ขเวทนา หรืออุเบกขาเวทนาก็ดี เป็นธรรมชาตทิ ีไม่มรี ูปร่าง
สณั ฐานทีจะให้เห็นได้ด้วยตา จึงไม่ใช่รูปธาตุ แตเ่ ป็นนามธาตุ

เวทนาจะเกิดขึนเมอื มีเหตุปัจจัยจะห้ามไม่ให้เกิดห้ามไมไ่ ด้ ครั นเมอื หมดเหตุปัจจัย ก็จะดับไปเอง
หมดไปเอง เป็นต้น

อนึง ความหมายเวทนาในเวทนานี และเวทนาในเวทนาอันเป็นภายใน ภายนอกก็เป็นทํานอง
เดียวกับกายในกายตามทกี ลา่ วมาแล้ว

ความจริงเวทนาก็เกิดอยทู่ ุกขณะ ไมม่ เี วลาว่างเว้นเลย คนทั งหลายก็รู้สึกสุขบ้าง ทุกข์บ้าง เพราะไป
ยดึ ว่า เราสุข เราทุกข์ จึงไม่อาจรู้สภาวะความเป็นจริงได้ เวทนานีเวลาเกิดขึนจะเกิดแต่อย่างเดยี ว เป็นเจตสิก
ธรรม ปรุงแต่งจติ ให้รับรู้

๓. จติ ตานุปัสสนาสติปัฎฐาน สติตั งมั นพิจารณาเนืองๆ ซึงจิต ก็คือวิญญาณขันธ์ ทกี ําหนดพิจารณา
จิต ก็เพือใหร้ ู้เท่าทันว่าจติ ทกี ําลังเกิดอยู่นั นเป็ นจิตชนิดใดเป็นจติ โลภ จิตโกรธ จติ หลง จิตฟุ้งซ่าน จติ ทีเป็น
สมาธิ หรือไม่เป็นสมาธิ

เพือให้ประจักษ์ชัดว่า ทีมคี วามรู้สึกโลภ โกรธ หลง หรือศรัทธา ฟุ ้ งซ่าน เกยี จคร้าน เป็นอาการของ
จิต เป็นธรรมชาติทเี ป็นนามธรรม ย่อมเป็นเหตุปัจจัยทีมาปรุงแต่ง เพือรับอารมณ์ เมือหมดเหตปุ ัจจัย อาการ
นั นๆ ก็ดับไปเอง ไมม่ อี ะไรเหลืออยู่

อันสภาวธรรมทเี รียกว่าจติ นั น เป็นธรรมชาติทีไมม่ ตี ัวตน เห็นด้วยตาก็ไม่ได้ จงึ ไม่ใช่รูปธรรม แต่
เป็นนามธรรม เป็นนามจิต ไม่ใช่นามเจตสิก เช่น เวทนา เป็นต้น

ทวี ่าจิตในจิต จิตภายใน จติ ภายนอกนั น กเ็ ช่นเดยี วกับทีกล่าวมาแล้วข้างต้นเหมือนกัน
๔. ธรรมานุปัสสนาสติปัฎฐาน สตติ ั งมันพจิ ารณาเนอื งๆ ซึงธรรม มนี ิวรณ์ อปุ าทานขันธ์ อายตนะ
โพชฌงค์ อริยสัจ ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐานนี เป็นสตใิ นการเจริญวิปัสสนาแตอ่ ย่างเดียว เป็ นการพิจารณา
ให้รู้ใหเ้ หน็ ทั งรูปทั งนามจึงกล่าวได้ว่า การพิจารณากาย เวทนา และจิตย่อมรวมลงได้ในธรรมานุปัสสนาสติ
ปัฏฐานทั งสิ น
สรุปแล้วการเจริญสติปัฏฐาน ๔ ก็เพือให้เกิดปัญญารู้ว่ากายก็สักแต่ว่ากาย เวทนากส็ ักแต่ว่าเวทนา
จิตก็สักแต่ว่าจิต ล้วนแต่เป็นเพียงธรรมชาติ ไม่ใช่สัตว์ ไมใ่ ช่บคุ คล ไมใ่ ชต่ ัวตนเราเขา แม้แตส่ ตหิ รือปัญญา
ทีรู้ก็เป็ นเพียงธรรมชาติเท่านั น
ธรรมานปุ ัสสนาสติปัฏฐานนี พจิ ารณาทั งรูปธรรม นามธรรม ปัญญารู้แจ้งชัดเห็นทั งรูปทั งนาม แยก
จากกันเป็นคนละสิ งคนละส่วนรูปก็ส่วนรูป นามก็ส่วนนามไมป่ ะปนกัน ไมใ่ ช่สิ งเดียวกัน รู้เห็นเช่นนี จัด
ว่าเข้าถงึ นามรูปปริจเฉทญาณ อันเป็นญาณต้น ทีเป็ นทางให้บรรลุถึงมรรคและผลตอ่ ไป
ผลทไี ด้รับจากการเจริญสตปิ ัฏฐาน ๔ นั นก็คือ
๑. พิจารณากายานุปัสสนาสติปัฎฐาน อารมณท์ ีพจิ ารณาคอื รูปขันธ์ เหมาะแกม่ ัณฑบคุ คลทมี ี

ตัณหาจริต เพราะนิมิตทีได้จากการพิจารณา ได้แก่อสุภสัญญา ประหาร สุภสัญญา
๒. พจิ ารณาเวทนานุปัสสนาสติปฏั ฐาน อารมณท์ ีพิจารณาคือเวทนาขันธ์ ซึ งเป็นอารมณล์ ะเอยี ด

เหมาะแก่บุคคลซึงมีตัณหาจริต เพราะนิมิตทีได้จากการพิจารณา ได้แกท่ ุกขสัญญา ทําให้
ประหาร สุขสัญญา เสียได้
๓. พิจารณาจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน อารมณท์ ีพิจารณา คอื วิญญาณขันธ์ ซึงมอี ารมณไ์ ม่
กว้างขวางนัก เหมาะแก่มัณฑบุคคลทีมที ิฎฐิจริต เพราะนมิ ติ ทไี ด้จากกราพิจารณา ได้แก่อนิจจ
สัญญา ทําให้ประหารนิจจสัญญา เสียได้
๔. พจิ ารณาธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน อารมณท์ ีพิจารณา คอื ทั งรูปทั งนาม ซึงมีอารมณ์กว้างขวาง
มาก เหมาะแก่บคุ คลทมี ีทฏิ ฐิจริต เพราะนิมิตทไี ด้จากการพิจารณา ได้แก่อนัตตสัญญา ทําให้
ประหารอัตตสัญญาเสียได้

ฉะนนั การเจริญสติปัฏฐาน กเ็ พือให้เกดิ ปัญญาเห็นรูปเห็นนาม ทเี คยเหน็ ว่าสวยงาม เห็นว่าเป็น
ความสุขสบาย เหน็ ว่าเทยี ง เหน็ ว่าเป็นตัวตน จะได้รูว้ ่าของจริงแท้นั นเป็ นประการใด?

โดยการเข้าใจเห็นแจ้งว่า สภาวะนั นประกอบด้วไยตรลักษณ์ คือ อนิจจงั ทกุ ขัง อนัตตา การเจริญ
สติปัฎ-ฐาน ควรทําด้วยความมีสติสัมปชัญญะ

สติ ก็คอื ตั งมั นในการพิจารณกาาย เวทนา จติ ธรรม อย่างนี เพือให้เกิดปัญญาเห็นว่ารูป นาม นั นมี
สภาพเป็นอนิจจัง ทกุ ขัง อนัตตา

สัมปชัญญะ คือ ให้พิจารณาเห็นว่ามีประโยชน์ และพินิจพิจารณาว่าควรทํา จึงทํา เพอื ให้เกิดปัญญา
ยิงๆ ขึน จงึ จะบรรลุมรรคและผลได้

ขอให้เข้าใจว่า อันความพนิ ิจทีจะประกอบด้วยปัญญาหรือสติสมั ปชัญญะนี ถ้ามีแกผ่ ู้ใดแล้ว นับว่าผู้
นั นอยู่ใกล้พระนพิ พาน ทั งนีเพราะ

นัตถิ ฌาณงั อปัญยัสสะ ความพินิจย่อมไม่มแี ก่ผู้หาปัญญามิได้
นัตถิ ปัญญา อฌายโิ น ฌานัญจ ปัญญาย่อมไมม่ ีแก่ผู้ไมพ่ ินจิ
ยมั หิ ปัญญา จ เส เว นพิ พานะ สันติเก ความพินิจกาลปัญญา มีในผู้ใด ผู้นั นแหละอยใู่ กล้พระ
นิพพาน

กองที ๒ สัมมัปปทาน ๔ คอื เพียรพยายามทําการงานทีชอบ ความเพียรพยายามชอบ ทีจะจัดเป็น
สัมมัปปธานต้องประกอบด้วย๒ ประการ คือ

๑. ต้องเป็นความเพียรพยายามอย่างยิงยวด แม้ว่าเลือดเนือจะเหอื ดแห้ง เหลอื แต่หนังหุ้มกระดูกก็
ตาม หากยังไม่บรรลุธรรมอันพึงถงึ แล้ว กจ็ ะไมถ่ ดถอยความเพยี รพยายามนั นต่อไป

๒. ความเพียรพยายามทวี ่ายิงยวดนั น ต้องเป็นไปในธรรม๔ ประการ จึงจะได้ชอื ว่าสัมมัปปธาน
ธรรม ๔ ประการนั นได้แก่
๒.๑ เพียรพยายามไม่ให้อกศุ ลทียังไมเ่ กิดไม่ให้เกิดขึ น
๒.๒ เพียรพยายามละอกศุ ลทเี กิดแล้วให้หมดไป
๒.๓ เพยี รพยายามให้กุศลธรรมทยี ังไมเ่ กดิ ขึนให้เกิดขึน
๒.๔ เพยี รพยายามให้กุศลธรรมทีเกิดแล้ว ให้เจริญยิงขึ น

ข้อควรรู้ ตามธรรมดาอกุศลธรรมทีเกิดขึ นแล้ว ย่อมดับไปแล้ว และการทจี ะลบล้างอกศุ ลทเี กิดแล้ว
ให้หมดสิ นไปนั นยอ่ มทําไมไ่ ด้ ทีกล่าวว่าจะเพยี รพยายามทีละอกุศลธรรมให้หมดไปนั น ขอให้เข้าใจว่า
เพียงแต่พยายามอย่าไปนึกถึงอกศุ ลนั นๆ อีก

เพราะถ้าไปนึกคิดขึนอีก ก็จะทําให้จิตเศร้าหมอง กระวนกระวายใจ จัดว่าอกุศลได้เกิดขึ นลแ้วทาง
มโนทวาร จึงต้องพยายามจนลมื เสีย ไม่เก็บมานึกคิดอีก และตั งใจให้มั นว่า จะไม่กระทําการใดๆ ทเี ป็น
อกศุ ลอีก ดังนีแหละจงึ ได้ชอื ว่าเพียรเพอื ละอกศุ ลทีเกิดแล้วให้หมดไป

อีกนัยหนึงแสดงว่าอกุศลทีได้ทําแล้วนั น ทใี ห้ผลแล้วกม็ ี ทียังไม่ให้ผล เพราะยังไมอ่มกีโาสกม็ ี แต่
จะอันตรธานสูญหายไปเองนั นไมม่ เี ลย แต่ถ้าในชาติใดสามารถประหารสักกายทิฏฐิได้แล้ว ด้วย
สัมมัปปธานทั งสีนี ชาตินั นแหละถือว่าได้ละอกศุ ลทีได้เคยทํามาแล้วอยา่ งสิ นเชิง

กองที ๓ อิทธิบาท ๔
ธรรมะทีเป็นเหตใุ ห้ถึงความสัมฤทธิ ผล ชือว่าอทิ ธิบาท ความสาํ เร็จหรือสัมฤทธิ ผล คือบรรลถุ ึง

กุศลญาณจิต และมรรคจิต ชือว่า อิทธิบาท เป็นธรรมทีให้ถงึ ความสําเร็จ เป็นกิจการงานอันเป็นกุศลเท่านั น
ได้แก่

๑. ฉันทะ คือ ความพอใจและเต็มใจ
๒. วริ ิยะ คือ ความพยายามอย่างยิงยวด
๓. จิตตะ คือ การทีมีจิตจดจ่อ ฝักใฝ่แน่วแน่
๔. วิมังสา คือ ปัญญา
มีข้อควรสังเกตว่า องค์ธรรมของอทิ ธิบาท เหมอื นองค์ธรรมของธรรมทีได้ชือว่าเป็นอธิบดี ซึงมี
ความหมายว่าเป็นไปเพือให้กิจการงานสําเร็จผลเช่นกัน แต่กระนั นก็ยังมีความแตกต่างกันอยู่ คือ ธรรมทไี ด้
ชอื ว่าเป็ นอธิบดีได้นั น จะเป็นไปในกิจการงานอันเป็นทกั งุศลและอกุศล
ส่วนธรรมทชี ือว่าอทิ ธิบาทนั น เป็นไปเพือความสําเร็จกิจอันเป็ นกุศลฝ่ ายเดยี ว และต้องเป็นกุศลที
จะให้บรรลถุ งึ มหคตกุศล คือ ฌาณจิต และโลกุตรกุศล คอื มรรคจิต เทา่ นั น
ดังตัวอย่างเชน่ ขโมยทําการสําเร็จได้ เพราะเขาพยายามและใช้ปัญญาหาวิธีต่างๆ จนทําทุจริตนั นได้
จัดว่าความเพียรและปัญญาของเขานั นเป็นอธิบดี คอื เป็นหัวหน้าหรือผู้ แต่จะเรียกว่าเป็นอิทธิบาทไม่ได้
ขอให้เข้าใจว่าธรรมทีจะชอื ว่าอทิ ธิบาท ต้องเป็นไปในการให้สําเร็จฌาณจติ และมรรคจติ เทา่ นั น
แม้แต่ฉันทะ วิริยะ จิตตะ และปัญญาของพระอรหันต์ ก็ไมช่ ือว่าอทิ ธิบาทเพราะทา่ นเป็นผู้สําเร็จอันสุดยอด
แล้ว
อนึงการทีสําเร็จกจิ นั น ย่อมประกอบด้วยธรรม๔ ทเี ป็ นองค์ธรรมของอทิ ธิบาท แต่การเกิดขึ นนั น
อาจจะไม่กล้าเสมอกัน บางทีฉันทะกล้า บางทวี ิริยะกล้า หรือ จิตตะกล้า ปัญญากล้า ถ้าธรรมะใดกําลังกล้า ก็
จัดวา่ ธรรมนั นเป็นอิทธิบาท

กองที ๔ อนิ ทรีย์ ๕
ธรรมทีเป็ นอินทรีย์นี หมายถึง ธรรมทีเป็นใหญ่ เกิดร่วมกับคน จะเป็นได้ทั งกุศล อกุศล แต่อินทรีย์

ในโพธิปักขิยธรรมทีกําลังกลา่ วอยูน่ ี มีเพยี ง๕ องค์ธรรมเทา่ นั น และต้องเป็นไปตามสภาวธรรมทีเป็นกุศล
คือรู้ให้ถึงฌาณ และอรัยสัจเทา่ นั น ได้แกส่ ัทธินทรีย์

๑. สัทธินทรีย์ คือ ความศรัทธาเป็ นใหญใ่ นอารมณ์ จะต้องเป็นภาวนาศรัทธาด้วย ไม่ใช่ปกติ
ศรัทธา ซึงมกี ําลังไม่แรงกล้า เพราะอกุศลอาจทําให้เสือมได้ จึงต้องเป็นภาวนาศรัทธา ที

เนอื งมาจากกรรมฐานต่างๆ มีอานาปานสติเป็นต้น ศรัทธาชนิดนีแรงกล้าและแนบแน่นในจิต
มาก เรียกว่าภาวนาศรัทธา อกุศลจะทําให้เสือมศรัทธาได้ยาก ยิงเป็นวิปัสสนาศรัทธาด้วยแล้ว
อกศุ ลนั นไมอ่ าจทําให้ศรัทธานั นเสือมได้เลย ภาวนาศรัทธานีแหละ ทีได้ชือว่าสทั ธินทรีย์ คือ มี
อินทรีย์แก่กล้าฉะนั น
๒. วิริยนิ ทรีย์ ความเพยี รเป็นใหญใ่ นการพยายามอยา่ งยิงยวด ซงึ ต้องเป็นความเพยี รทีต้องบริบรู ณ์
ด้วยองค์๔ แห่งสัมมัปปธาน จงึ จะเรียกได้ว่า วิริยินทรีย์ในโพธิปักขิยธรรมนี
๓. สตินทรีย์ สติทรี ะลึกรู้ในอารมณ์ ทันอารมณป์ ัจจบุ ัน อันเกิดจากสตปิ ัฏฐาน๔ จงึ เรียกสตินั นว่า
สตินทรีย์
๔. สมาธินทรีย์ การทําจิตให้เป็ นสมาธิตั งมั น จดอจอ่ ยใู่ นอารมณ์กรรมฐาน ไม่ฟุ ้ งซ่าน จึงจะเรียก
สมาธินั นว่า สมาธินทรีย์
๕. ปัญญินทรีย์ ปัญญาทที ําหน้าทเี ป็นใหญ่ ในสภาวะทเี กิดร่วม ด้วยการรูแ้ จ้งเห็นจริงว่ามีรูปนาม
ขันธ์ อายตนะ ธาตุ มีลักษณะเป็นอนิจจัง เป็นทุกขัง เป็นอนัตตา เต็มไปด้วยโทษภัย เป็นวัฏฏ
ทกุ ข์
อนึงขอให้เข้าใจว่า ธรรมทีเป็นใหญ่ หรือทีเรียกว่าเป็นอินทรียใ์ นโพธิปักขยิ ธรรมนั น แสดงความ
เป็นใหญ่ในอันทีจะให้ถึงซึ งควรตรัสรู้ มรรค ผล นิพพาน และมหคตกุศลจติ เทา่ นั น

กองที ๕ พละ ๕
พละในโพธิปักขิยธรรมนั นมงุ่ หมายเอาเฉพาะกุศลพละเทา่ นั น ซึงมีลักษณะอ๒ยู่ ประการ คือ

อดทน ไมห่ วั นไหวประการหนึง และยาํ ยธี รรมทเี ป็ นข้าศกึ อีกประการหนึง ดังนั น จึงมเี พียง พละ๕ เท่านั น
คอื

๑. สัทธาพละ ความเชือถือเลือมใส เป็นกําลังให้อดทน ไมห่ วั นไหว และยํายีธรรมอันเป็นข้าศกึ มี
ตัณหา เป็นต้น และต้องเป็นภาวนาศรทั ธาทีเกิดจากอารมณ์กรรมฐาน ไม่ใช่ปกตศิ รัทธา จึงจะมี
กําลังอดทน มีกําลังทีจะยํายหี รือตัดขาดตัณหาได้

๒. วริ ิยะพละ ความเพยี รพยายาม กต็ ้องเป็นความเพียรอย่างยิงยดว จึงจะมกี ําลังอดทนยําโยกี สัชชะ
คอื ความเกียจคร้าน อันจัดว่าเป็นข้าศึกแก่การปฏิบัติได้แน่นอน

๓. สติพละ สตมิ ีความระลึกได้ในอารมณก์ รรมฐาน จะเพียงเป็นใหญ่เป็นผู้ปกครองในสภาวธรรม
เทา่ นั นยังไม่พอ ต้องมีกําลังเป็นพละ คือ มที ั งความอดทน ไมห่ วั นไหว สามารถต้านทานกิเลส
อันเป็นข้าศึกของการปฏิบัติ ได้แกว่ ิกเขปะ คอื ความฟุ ้ งซ่าน พาให้ออกนอกอารมณก์ รรมฐาน
จั ดว่าเป็ นข้ าศึกแก่การเจริ ญภาวนา

๔. ปัญญาพละ ต้องให้ปัญญานั นมีกําลังอดทนเข้มเข็ง ในการทจี ะยําสยัีมโมหะ คือ ความโง่ หลง
งมงาย มืดมนอนธการ เป็นต้น

ฉะนั นการเจริญสมถภาวนา วิปัสสนาภาวนาก็ดี จะต้องใหพ้ ละทั ง๕ นีต่างมีกําลังสมําเสมอกัน
เพราะถ้าพละได้กําลังอ่อน การเจริญภาวนาก็ตั งมั นอยู่ไมไ่ ด้

กองที ๖ โพชฌงค์ ๗
คําว่าโพชฌงค์ มีความหมายดังนี
โพธิเป็ นตัวรู้ โพชฌงค์เป็ นส่วนทีให้เกิดตัวรู้รวมความแล้วก็คอื องค์ทเี ป็ นเครืองให้ตรัสรู้ คือรู้

อริยสัจ ๔ สิงทจี ะรู้อริยสัจ ๔ คอื มรรคจิต องคท์ ีเป็นเครืองให้รู้อริยสจั ๔ ทีชือว่าโพชฌงค์มีอยู่๗ ประการ
และโพชฌงค์แต่ละองค์ ต้องเนืองมาจากเหตุผลทีถูกต้องด้วยดังนี

๑. สติสัมโพชฌงค์ ต้องเนืองมาจากสตทิ ีระลึกรู้ในอารมณ์ของสติปัฏฐาน ๔ ไม่ใช่สติทปี กตริ ะลึกรู้
ในอารมณ์ทั วไป สตินั นต้องเลือนฐานะกําลังขึ นเปอ็นนิ ทรีย์ เป็นพละ แล้วสตินั นจึงจะเลือนมาเป็นโพชฌงค์
เป็นสมั มาสตดิ ้วยอํานาจของวิปัสสนาภาวนา จงึ จะทําลายความประมาทได้

สตอิ ยา่ งนีแหละทีเรียกว่า สติสัมโพชฌงค์ มีความสามารถทําให้เกิดมรรคฌาณได้ มหี วังแนน่ อนใน
การทีจะรู้แจ้งอริยสัจ ๔ สามารถทีจะได้ชอื ว่าเป็นอริยบุคคลใน ๘ จําพวกได้

ขอให้เข้าใจว่า สติเตสิกทีจะเป็นโพชฌงค์ได้นั น ต้องบริบูรณ์ทกุ อยา่ ง บริบูรณ์ด้วยเหต๔ุ ประการ
คอื

๑.๑ ต้องมสี ตสิ ัมปชัญญะ ในมหาสติปัฎฐาน ๔ อารมณ์ต้องมาจากสติปัฎฐาน มสี ติรู้ ในสัมปชัญญะ
ในสติปัฏฐาน ๔

๑.๒ ต้องเว้นจากการสมาคมจากผู้ทีไม่ได้เจริญสติปัฏฐาน
๑.๓ ต้องเสวนาผู้ทเี คยเจริญสติปัฏฐานอย่างถูกต้อง และเข้าใจดีด้วย
๑.๔ ต้องพยายามเจริญสติให้รู้อยู่ทกุ อารมณ์ และทุกอิริยาบถไม่ขาด
ทั ง๔ อย่างนีจะเป็นเหตุช่วยให้ สติสมั โพชฌงค์เกิดขึ น เพราะถ้าประกอบด้วยเหต๔ุ ประการนีแล้ว
สติสัมโพชฌงค์ทียังไม่เกิด ก็อาจจะเกดิ ขึนได้โดยไม่ลําบาก
จะเห็นได้ชดั ว่า สติสมั โพชฌงคน์ ี ต้องเนอื งมาจากการเจริญวิปัสสนา ไมใ่ ช่มาจากอย่างอืน เพียงแต่
รักษาศีลหรือเจริญสมาธิเท่านั นก็ไม่อาจเกิดได้ ต้องเจริญวิปัสสนาในมหาสติปัฏฐาน๔ ด้วย
๒. ธัมมวจิ ยะสัมโพชฌงค์ โพชฌงคน์ ี ได้แกป่ ัญญาทีรู้สภาวะของรูปธรรมนามธรรมว่าเป็ นอนิจจงั
เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา คือ ไมใ่ ช่ตัวตนทจี ะบังคับบัญชาได้ เป็นไปเพือความรู้ยิง เพือความตรัสรู้ เพือนิพพาน
ฉะนั นปัญญาทีจะเข้าถงึ ธัมมวิจยะสัมโพชฌงค์นี ไม่ใช่ปัญญาธรรมดาทรี ู้อย่างอืน ต้องเป็นปัญญาที
เกิดจากการเจริญสติปัฏฐาน และปัญญานี จะต้องต่อเนอื งจากอิทธิบาท อนิ ทรีย์ และพละด้วย
ฉะนั นขอให้ทําความเข้าใจด้วยว่าธัมมวจิ ยะสัมโพชฌงค์ ต้องสมบูรณ์ด้วยเหตุ๔ ประการ ดังนี
๒.๑ ต้องเข้าใจวปิ ัสสนาภมู ิ ๖ คอื ขันธ์ อายตนะ อินทรีย์ ปฏิจจสมุปบาท อริยสจั แต่เมอื สรุปโดย
ยอ่ แล้ว กไ็ ด้แก่รูปธรรมนามธรรม

ฉะนั นเมือเราพจิ ารณารูปนาม กช็ ือว่าเราพจิ ารณาวิปัสสนาภูมิ๖ แตผ่ ู้ทีขาดการศึกษา กไ็ มส่ ามารถ
ทจี ะรู้และเข้าใจแตกฉานในภูมิของวิปัสสนา สําหรบั ผู้ทีเคยเรียนรู้ปริยัตมิ าบ้างแล้ว ก็สามารถทจี ะเลือก
พจิ ารณาภมู ิใดภมู หิ นึงตามความพอใจ วิปัสสนาภูมินีแหละเป็นอารมณ์ของปัญญา ทจี ะทําให้ธัมมวิจยะสัม
โพชฌงค์เกิดขึ น

๒.๒ ต้องทําอินทรีย์ให้สมําเสมอคือปัญญากับศรัทธาต้องมีกําลังเสมอกันเมือพจิ ารณา เพราะถ้า
ศรัทธามากเกินไป กจ็ ะขาดเหตุผล ถ้าปัญญามากเกินไปแม้จะรู้จะเข้าใจทุกสิงทุกอย่าง แต่เมืออ่อนศรัทธา
ไมเ่ ลือมใสแล้วกไ็ ม่อาจบรรลุธรรมได้

วิริยะกับสมาธิกเ็ ช่นเดียวกัน จําเป็นต้องให้เสมอกัน ถ้าอย่างใดอย่างหนึงอ่อนหรือแรงเกนิ ไป กจ็ ะ
ไม่ทําให้ธัมมวิจยะสัมโพชฌงค์เกิดได้เช่นเดยี วกัน เพราะถ้าสมาธิมากเกินไปจะเกิดความสงบ ก็จะ
เพลิดเพลินพอใจความสงบนั นเสีย ฉะนันต้องอาศัยความเข้าใจทําให้อนิ ทรีย์เสมอกัน

ถ้าศรทั ธาสมาธิแรง กจ็ ะทําให้ตัณหาความพอใจเกิด และถ้าปัญญามากไป ก็จะทําให้เกิดวิจิกิจฉา
ความลังเลสงสัย ทําให้ฟุ ้ งซ่าน สงสยั ไปว่าทําไมเป็นอยา่ งนั น ควรจะเป็นอยา่ งนี ทําให้คิดค้นมากเกนิ ไป
หรือถ้าปริยัตเิ ข้ามามากเกนิ ไป ปัจจุบันอารมณ์จะพลอยเสียไปด้วย เพราะอาจจะนกึ รู้ไปก่อน เป็นวิปัสสนึก
จะทําให้ไม่สามารถเข้าถงึ โพชฌงค์นี ได้

วิริยะถ้ามากนักก็จะฟุ ้ งซ่านส่วนสมาธิมากกจ็ ะมีอาการคล้ายซึมเซ่อ ซึมเซอะ และเอาแต่ความสงบ
จะทําให้ขาดการขวนขวายในธรรม

ส่วนสตินนั มีมากเท่าใด รู้ทันอารมณท์ ุกขณะก็ยิงดมี าก เพราะฉะนั นสตินี ทําให้มากเข้าไว้ จะรู้เท่า
ทันเหตุการณ์ได้ ใมเ่ หมือนอย่างอืน

๒.๓ ต้องสมาคมกับผู้ทีเจริญวปิ ัสสนาเข้าใจสภาวะของรูปนาม เป็นการแลกเปลียนความรู้ต่อกัน
๒.๔ ต้องมสี ติรู้ทันอารมณ์อิริยาบถเพราะปัญญาทีเข้าในโพชฌงค์นี ต้องพิจารณาเข้ากับความเกิด
ดับของรูปนาม สภาวะลักษณะของรูปนาม มิฉะนั นจะเข้าถึงโพชฌงคน์ ี ไม่ได้แน่นอน
๓. วิริยะสัมโพชฌงค์ ได้แก่ ความเพยี รพยายามในกิจของสัมมัปธาน๔ นั นเอง แตก่ ารทจี ะวิริยะจะ
ขยับเลือนขึ นมาเป็ นโพชฌงค์ จะต้องอาศัยเป็นเหตุปัจจัยซึงกันและกัน
ขอให้เข้าใจว่า วิริยะจะเป็ นองค์ของโพชฌงค์ได้กต็ ้องสมบูรณ์ด้วยเช่นกัน ต้องรูแ้ ละมั นใจใน
อานิสงส์ของความเพยี รว่า ทุกสิงทุกอยา่ งทีปรารถนา ต้องอาศัยความเพยี รพยายามไม่ท้อถอย ต้องอดทน ถ้า
ไม่มีความเพียรแล้ว ความสําเร็จจะมไี ม่ได้เลย
คบหาสมาคมกับคนทีขยันหมนั เพียร หลีกเลียงบุคคลทีเหลาะแหละเกียจคร้ าน มันใจว่าสติปัฏฐานสี
นีเท่านัน เป็ นทางทีพระอริยเจ้าทังหลายล้วนปฏิบัติมาแล้วทังสิน ท่านจึงผ่านเข้าถึงความเป็นอริยบุคคลได้
๔. ปี ติสัมโพชฌงค์ ปี ติและความอิมเอิบใจนี มีได้ทั งสมถะและวิปัสสนา ถ้าปีตใิ นสมถะกไ็ ด้แก่ปีติ
ทเี ป็ นองค์ฌาน ส่วนปี ติในวิปัสสนาก็คือ ความอมิ ใจในการเจริญวิปัสสนา
ผู้ทเี จริญสติปัฏฐาน เมือมสี ติรูท้ ันอารมณ์ มปี ัญญาเข้าใจสภาวะ เหน็ สภาพไตรลักษณ์ของรูปนาม
รู้สึกตัวมีความเพียรอยา่ งจริงจัง ไม่ย่อท้อย่อมเกดิ ปีติชืนชมเป็นธรรมดา

ปีติในวิปัสสนาย่อมทําลายความเฉือยชา เบือหน่ายได้ การระลึกถงึ คุณพระพทุ ธ พระธรรม
พระสงฆ์ ตลอดจนคณุ ของพระนิพพาน กเ็ ป็นเหตุใหป้ ีตเิ กิดได้

การละเว้นทีจะคบหาผู้ทปี ราศจากศรัทธาหมั นเจริญสติปัฎฐาน หากได้ปฏิบัติบริบรู ณ์ด้วยคณุ ธรรม
ทกี ลา่ วมานีแล้ว ปี ตสิ มั โพชฌงค์ย่อมเกิดได้

๕. ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ มีลักษณะทําให้จติ ใจสงบเยือกเยน็ รู้สึกสบายใจ ความสงบประณีต
ของปัสสทั ธินี อาจถึงทําให้เข้าใจผิด สําคัญว่าความสงบสบายนั นคือเข้าถึงพระนิพพานแล้ว กลายเป็น
วิปัสนูปกิเลส คอื กเิ ลสของพระนิพพานไป

ปัสสัทธิทีเกิดขึ น ไม่ใช่ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ แม้จะเกิดในวิปัสสนาก็ตามปัสสัทธิทีจะเป็นองคข์ อง
โพชฌงค์ ต้องเป็นไปตามอารมณ์ทปี ระกอบด้วยไตรลักษณ์

ฉะนั นปสั สัทธิสัมโพชฌงค์จะเกดิ ได้ ต้องสมบรู ณ์ด้วยเหตุดังต่อไปนี
๕.๑ บริโภคอาหารให้สมควร ทั งปริมาณและคุณภาพ
๕.๒ อยูใ่ นทีทมี ีอากาศพอเหมาะพอสบาย
๕.๓ ใช้อิริยาบถทีสะดวกสบาย ไมต่ ้องฝืนจนเกินไป
๕.๔ พิจารณาเชือว่ากรรมดีนันแหละเป็นทพี ึงของตน
๕.๕ เว้นการสมาคมกับบุคคลทุศีล
๕.๖ สมาคมกับผู้มีศีล มีกาย วาจาสงบไมเ่ พ้อเจ้อ
๕.๗ ต้องมสี ติสัมปชัญญะอยทู่ ุกอารมณจ์ ิต ทุกอิริยาบถ
ผู้ทีสมบูรณ์ด้วยธรรม๗ ประการนี จะทําให้ปัสสิทธิสัมโพชฌงค์เกิดขึ น ความจริงแล้ว ปัสสิทธินีก็
ไมไ่ ด้มาจากไหน ได้มาจากปีตินันเอง ปัสสิทธิต้องมีด้วย
เมอื ปีติยังมีกําลังกล้าอยู่ แสดงว่ายังอิมเอิบตืนเต้นอยู่มาก จึงยังไม่เห็นอาการของปัสสัทธิ เมือตปิ ี
สงบลงบ้างแล้ว ปัสสัทธิจะปรากฏอาการ ความสงบสบายจะปรากฎชัดขึ น เป็นเหตุเป็นปัจจัยของกันและกัน
ดงั นี
๖. สมาธิสัมโพชฌงค์ สมาธิสมั โพชฌงค์นี มีทั งสมถะและวิปัสสนาเหมือนกัน เพราะผู้ทไี ด้ฌานแล้ว
จะยกองค์ฌานขึ นพิจารณาวิปัสสนาได้ สมาธินั นกจ็ ะเป็นอารมณข์ องวิปัสสนา สมาธิในฌานนั นเป็นอัปปนา
สมาธิ
เหตุทีจะเกิดสมาธิสัมโพชฌงค์จะต้องบริบรู ณ์ด้วยเหตุดังนี
๖.๑ ต้องรักษาความสะอาดในปัจจยั สี มีอาหารเป็นตน้
๖.๒ ต้องเจริญศรัทธากับปัญญา วิริยะกบั สมาธิให้เสมอกัน อย่าให้มากน้อยกว่ากัน
๖.๓ ต้องเข้าใจรักษานิมติ ของสมถกรรมฐาน และอารมณ์วปิ ัสสนากรรมฐาน กําหนดเสีย ต้องเข้าใจ
ยกจิตให้แก่กล้าขึ น
๖.๔ ถ้าวิริยะอ่อนก็ต้องมีปัญญา ต้องมนสิการ ให้วิริยะแก่กล้าเสมอกับสมาธิ(ปีตจิ ะช่วยวิริยะให้มี
กําลังขึ น)

๖.๕ ถ้าวิริยะอ่อนลง สมาธิอ่อนลง ความฟุ ้ งซ่านจะมีมากขึ นในบุคคลนั น อันความฟุ ้ งซ่านเป็นกิเลส
เป็นเหตใุ ห้เกิดนิวรณ์ ต้องปรบั จติ ให้อยู่ในปัจจุบันอารมณ์

ถ้าไม่ปรับจิตให้อยู่ในปัจจุบนั อารมณ์เป็นนิวรณ์ ขณะใดทีได้อารมณ์ปัจจุบัน ความฟุ ้ งซ่านหรือ
นิวรณ์จะเกดิ ไมไ่ ด้เลย

เหตุทีเกิดความฟุ ้ งซ่านก็เพราะสตริ ับปัจจุบันอ่อนหรือนอ้ ยไป จะต้องพยายามให้จิตอยู่ในปัจจบุ ัน
อารมณ์เสมอ ความฟุ ้ งซ่านก็จะหมดลงไปเอง โดยดับไป จะใชว้ ิธีบังคับอืนใดไมไ่ ด้เลย เพะรทา ุกอย่างย่อม
เป็นไปตามเหตตุ ามปัจจัย ไม่ใช่ทอี ยากหรือต้องการให้เป็นไป

๖.๖ ทําใจให้ยินดีในความไม่ประมาท มีสติอยู่ตลอดเวลาคือ ตัวกําหนดทกุ อยา่ ง อย่าขาดกําหนด
ต้องเจริญพระกรรมฐานใหถ้ ูกกับจริต ต้องปราศจากปลิโพธกังวล อันเป็นความกังวลในใจเสีย

เว้นจากการคบหาสมาคมกับบุคคลทีช่างพดู ช่างเจรจา ต้องเว้นไป อย่าไปคบหาบุคคลทีช่างพูด ช่าง
เจรจา ชอบคุย ออกสมาคมกับผู้ทีรกั ษาความสงบระงับ

สาํ หรับผู้ทีเจริญฌานก่อนจะยกองค์ฌานขึนสู่อารมณ์วิปัสสนา จะต้องมวี สีชํานาญในองค์ฌานมา
ก่อน จงึ จะยกอารมณ์เข้าสู่วิปัสสนาได้ ไมใ่ ช่พอได้ฌานแลว้ กย็ กขึ นสู่อารมณ์วิปัสสนาได้เลย

ต้องมีสติสัมปชัญญะ ต้องรู้สึกทันทุกอารมณ์ทันปัจจุบันทกุ อิริยาบถด้วย เมือบริบูรณ์ด้วยอปุ การ
ธรรมอยา่ งนีแล้ว สมาธิสัมโพชฌงค์ทยี ังไม่เกิดกจ็ ะเกิดขึ น

๗. อุเบกขาสัมโพชฌงค์ มีลักษณะวางใจให้เป็นกลาง เชือมั นต่อกรรม เชอื วาท่ กุ อย่างย่อมเป็นไป
ตามผลกรรม ทีว่าวางใจให้เป็นกลางนั น คือ ไม่ยินดีต่อความสุข ไมเ่ ดอื ดร้อนต่อความทุกข์ทมี ตี อ่ ตน

เพราะเชอื ว่าสัตว์ทั งหลายยอ่ มเป็นไปตามอํานาจของกรรม ไม่มีผู้ใดจะแก้ไขกรรมทีทํามาแล้วได้
ทําใจไมย่ นิ ดี ยนิ ร้ายในอารมณ์ทีตนประสบ ในเวลาทตี นเจรญิ พระกรรมฐาน

ธรรมทีช่วยอปุ การะอุเบกขาสมั โพชฌงค์มดี ังตอ่ ไปนี
๗.๑ ต้องพิจารณาให้รู้และเข้าใจว่า สภาวะทีเป็นอย่นู ี ไม่ใช่สัตว์ ไมใ่ ชบ่ ุคคล เป็นแต่เพยี งรูปนาม
เท่านั น
๗.๒ ตั งจิตใจเป็นกลางในสังขารว่า ทุกสิงทุกอย่างล้วนแต่อนิจจัง เป็นทุกขัง เป็นอนัตตา ไเสมีย่ ใจ
เมอื จะต้องมีการสูญเสีย
๗.๓ เว้นจากการคบกาสมาคมกับบุคคบทียังยึดมั นเหนยี วแน่นในสมมติ ในสตั ว์บุคคล ว่าเป็นของ
เรา ของเขา
๗.๔ สมาคมคบหากับบุคคลทีเข้าใจสังขาร รู้จักสภาวธรรม
๗.๕ มีสติสัมปชัญญะทุกอารมณ์ น้อมใจให้มันคง วางใจให้เป็นกลางๆ
อุเบกขาสัมโพชฌงค์นี จัดว่าเป็ นองค์สาํ คัญองค์หนึงของโพชฌงค์ คล้ายกับปล่อยวางได้แล้ว ปัญญา
พอทีจะตรัสรู้ในอริยสจั ได้แล้ว
ความสําคัญของโพชฌงค์เจาะจงทวี ิปัสสนาไม่ใช่สมาธิ ทเี อาสมถะมาสงเคราะห์ไว้กับโพชฌงค์ดว้ ย
ก็มุ่งหมายถงึ ผู้ทีเจริญสมถกรรมฐาน ปรารถนาจะยกองค์ฌานขึ นสอู่ ารมณ์วิปัสสนา

เพราะฉะนั นสมถะทีกลา่ วว่าเป็นองค์โพชฌงค์ได้ หมายเอาสมถะทีสงเคราะหเ์ ป็นอารมณ์วิปัสสนา
ได้ ทั งนีเพราะการทีจะเป็ นโพชฌงค์ ต้องมาจากการเจริญสติปัฏฐาน๔ เทา่ นั น เพราะโพชฌงคใ์ นโพธิปักขิย
ธรรมก็คอื ธรรมในธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน หากแต่กําลังและการงานของสภาวธรรมนั น มีกําลังแก่กล้า
ขึนตามลําดับของภูมธิ รรม

บางทา่ นอาจคดิ ว่าตนเองปฏบิ ัติ เจริญสตปิ ัฏฐานมานานแล้ว และได้อารมณ์ดีด้วย เหตใุ ดจึงไม่
บรรลุมรรคผล ขอให้เข้าใจเถิดว่า เพราะองค์ธรรมอย่างใดอยา่ งหนึงเช่น สติ ปัญญา วิริยะ ศรัทธา สมาธเิ ป็น
ต้น ยังไมบ่ รรลถุ งึ ความเป็นโพชฌงค์ อันเป็นองค์ทีตรสั รู้

ฉะนั นจะต้องสาํ รวจอารมณ์ของตนว่า อันใดยังบกพร่องจะต้องพยายามทําให้สมบูรณข์ ึ น
จําเป็นต้องรู้ถึงอย่างนี เพราะฉะนั นจงอย่าท้อถอย

ให้เข้าใจเถิดว่า การทีจะบรรลุมรรคผล รูแ้ จ้งในอริยสจั ๔ นั น มิใชข่ องทจี ะทําได้ง่ายเลยจะต้อง
เข้าใจเหตุแลผลอย่างละเอียดรอบคอบ มีทางเดยี วคอื เจริญสติปัฏฐาน๔

กองที ๗ มรรคมีองค์ ๘
มรรคทจี ัดไว้ในหมวดโพธิปักขิยธรรมนีกล่าวเฉพาะมรรคทเี ป็ นทางชอบแต่อย่างเดียว จึงมีเพียง๘

มรรค เรียกว่า อฎั ฐังคิกมรรค มรรคมีองค์ ๘ ได้แก่
๑. สัมมาทฏิ ฐิ มีความเหน็ ชอบด้วยการเห็นว่า ร่างกายหรือสังขาร ทถี กู ปรุงแต่งขึ นมานี ไม่มแี ก่น

สาร เป็ นเพียงธรรมชาติรูปกับนามเท่านั น รูปกับนามนี ยังเป็นสภาพอนิจัง คือไม่เทยี ง เปลียนแปลง
ตลอดเวลา ทุกขัง เพราะความเปลียนแปลงไมค่ งที จึงทําเป็นทกุ ขัง และยังเป็นอนัตตา คือ ไม่มีตัวตนบทังี คับ
บัญชาได้ จะมสี ภาพเป็นไปตามเหตุปัจจัย หมดเหตปุ ัจจัยก็หมดไปเองด้วย ไม่เป็นไปตามความต้องการของ
ผู้ใดทั งสิ น

๒. สัมมาสังกปั ปะ คอื การคิดดําริแต่สิงทีชอบ ไมอ่ อกนอกลู่นอกทาง จะกลา่ วว่าเป็นความดําริที
สนับสนุนความเห็นชอบ คือ สัมมาทิฏฐิก็ได้ เพราะความดํารินนั คือ คดิ แตห่ นทางทีจะให้พ้นจากวัฏฏทุกข์
เทา่ นัน

๓. สัมมาวาจา คอื พดู จาแตส่ ิงทีชอบ หมายถงึ การสาํ รวมระวังในการพดู ไมใ่ ห้ผดิ ได้แก่ ไมพ่ ูดเท็จ
ไมพ่ ดู จาหยาบคาย ไม่พูดส่อเสียด และไมพ่ ูดเพ้อเจ้อเหลวไหล

ขอให้สงั เกตด้วยว่า การปฏิบัติตามมรรค๘ นีต้องรักษาศีลมากกว่าผู้ทีสมาทานศีลธรรมดา เพราะ
ต้องเว้นจากการกระทําทีเกียวกับกายวาจา

แม้แต่การเลียงชีพทไี ม่ดี ไมถ่ กู ต้องทุกอย่าง เช่นการพูดเท็จ จะต้องไม่มกี ารหยอกล้อ หรือ
หลอกลวงผู้อืนด้วยวาจา เว้นจากการพูดหยาบคายทุกชนิด แม้ว่าจะเป็นการด่าประชด กระทบกระแทก
เปรียบเปรยกต็ าม

ไมพ่ ดู ส่อเสียด อยา่ พูดใส่ร้ายหรือยยุ งให้แตกแยกกัน และเว้นจากการพดู เพ้อเจ้อ คือพูดพล่อยๆ ไม่
เป็นสาระ แม้จะเป็นการพดู สนุก ขบขัน กค็ วรเว้น รวมทั งการพูดทํานองโอ้อวดคุณวิเศษของตนเองด้วย

๔. สัมมากมั มันตะ การทํางานนี หมายถึง งานทั วไปทจี ะพงึ กระทํา ต้องกะรทําด้วยการมีสติรู้ตัวอยู่
เสมอ เว้นจากการทําให้ผู้อนื เดือดร้อน แม้ว่าการกระทํานั นจะเป็นเพียงเพือความสนุกสนานชั วครั งชัวาควกร็
ตาม ผู้ปฏิบัติตามมรรคมีองค๘์ นี ต้องละเว้น

๕. สัมมาอาชีวะ ท่านกําหนดไว้ว่า เลิกจากการหาเลียงชีพในทางทีผิด ทีเป็นมจิ ฉาชีพ อาชพี ทีทําให้
เดือนร้อนผู้อืน ตัวอย่างเช่น ฆ่าสตั ว์ขาย ทําของปลอมปน เป็นต้น ถ้าบรรพชิตก็เว้นจากการตั งตนเป็น
อาจารย์ผู้วิเศษ ใบ้หวย และกิจกรรมอืนนอกรีตนอกรอยของบรรพชิตทีไม่ควรทํา

๖. สัมมาวายามะ คือมคี วามเพียรพยายามในทางทีจะพ้นทุกข์ หรือตามหลักของสัมมัปปธาน๔
๗. สัมมาสติ การระลกึ ชอบ ตรงกับสตปิ ัฏบาน ๔ นั นเอง ทีว่าระลกึ ในทีนีคือ การพจิ ารณาเนืองๆ
ใน ๔ อยา่ งต่อไปนี
๗.๑ พิจารณาเห็นกายในกาย
๗.๒ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา
๗.๓ พจิ ารณาเห็นจิตในจติ
๗.๔ พจิ ารณาเห็นธรรมในธรรม
จะไม่อธิบายซํ าอกี เพราะได้อธิบายไว้หมดแล้วในหมวดสติปัฏฐาน ๔
๘. สัมมาสมาธิ คือการตั งใจแน่วแน่ในการเจริญสตปิ ัฎฐาน เพือบรรลถุ ึงมรรคและนิพพาน บางท่าน
เจริญฌาน เมือได้ฌานแล้ว จึงยกเอาองคฌ์ านขึนสู่อารมณ์ของวิปัสสนา จะเห็นได้ว่ามรรคมีองค๘์ นี มี
พร้อมทั ง ศลี สมาธิ ปัญญา การปฏิบัติต้องอาศัยการกเยี วเนืองกันอย่างพรังพร้อม จึงจะสาํ เร็จกิจ จึงจะ
ประหารกเิ ลสได้
ในมรรคมีองค์ ๘ นี ท่านแสดงสัมมาทิฏฐิมรรค คือ ความเห็นทชี อบทถี ูกต้อง อันได้แก่ปัญญาไว้
ก่อน เพราะเป็นองคท์ มี ีอุปการะคุณอย่างยิง
การทีจะสําเร็จมรรคผล เหน็ แจ้งในอริยสจั ๔ นั น จะขาดปัญญาหรือแม้แต่กําลังของปัญญาอ่อนยิง
หยอ่ นไปไม่ได้เลย
ทา่ นอธิบายไว้ว่า เมือมปี ัญญาชอบแล้วกย็ ่อมคดิ ชอบ เมือคดิ ชอบแล้วก็จะพดู ชอบ เจรจาชอบ มัน
เป็ นการชอบไปหมดดังนี เป็ นต้น
เพราะฉะนั นท่านสาธุชน โปรดได้ทราบดังทกี ล่าวนี เมือพูดชอบก็ย่อมทําชอบ เมอื เป็ นผู้ทําการงาน
ชอบกย็ ่อมมีความเป็ นอยู่เลียงชีพชอบไปด้วย เมือมีอาชีพทีชอบทีมั นคง ก็ยอ่ มมีความเพียร ความพยายามที
จะดํารงชีพนั น เมอื มีความพากเพยี รทชี อบ ก็ยอ่ มมกี ารระลึกนกึ แตใ่ นทางทีชอบ ทีถกู ต้อง เมือมีสติระกลึ
ชอบแล้ว ก็ย่อมมคี วามตังใจแตใ่ นสิงทีชอบทีควรกระทํา
อนั มรรคมอี งค์ ๘ นี มีทั งทีเป็นโลกียะ และโลกุตระ จะแตกต่างกันบ้างก็คอื ถ้าเป็นโลกียะ จะไม่
พร้อมกันทั ง๘ มรรค แต่ถ้าเป็นโลกุตระแล้ว ต้องพร้อมกันทั งองค๘์ เป็นมคั คสมังคี ต้องประกอบพร้อมกัน
เป็นอันหนึงอันเดียวกัน เรียกว่าพร้อมทั งศีล สมาธิ ปัญญา คือไตรสิกาข๓

มรรคทีเป็ นโลกียะ มีอารมณอ์ ยา่ งอนื ได้ แต่มรรคทเี ป็นโลกตุ ระ จะต้องมอี ารมณเ์ ป็นนิพพานอย่าง
เดียวเท่านั น โดยเฉพาะศลี ในโลกียะนั น เพียงเว้นสิงอันพงึ เว้นทีปรากฏเฉพาะหน้า แต่โลกตุ ระไม่ต้องมตวีถุั
เว้น เพราะวีรติเจตสิก หรือศีลทีเป็นโลกุตระนั น เป็นองค์มรรคทมี หี น้าทปี ระหารกเิ ลส ไม่ใชม่ ีหน้าทเี พยี ง
ละเว้นการงานทุจริต

เพราะหน้าทีหรือกิจการของมรรค ประหารกเิ ลสได้ทกุ สมทุ เฉทคือเด็ดขาด แตม่ รรคในโลกียะ
เพียงขม่ ไว้ได้ชั วคราว เวลาเจริญฌาน เรียกว่าวิขมั ภนประหาร หรือเพียง ตทังคประหาร

ขอให้เข้าว่าสติปัฎฐาน ๔ และอฏั ฐังคกิ มรรคในโพธิปักขิยธรรม สตปิ ัฏฐาน ๔ อนั เป็ นธรรมหมวด
แรกนัน ทําหน้าทเี พือให้แจ้งพระนิพพาน แต่มรรคมอี งค์ ๘ อนั เป็ นหมวดสุดท้าย ก็เป็ นไปเพือให้แจ้งพระ

นิพพาน
ฉะนั นการทจี ะบรรลมุ รรคผลนิพพาน ต้องดําเนนิ ไปตามทางสายกลาง คือมชั ฌิมาปฏิปทา อันมสี ติ

ปัฏ-ฐาน ๔ และมรรคมีองค์ ๘ เป็นจุดเริมต้นและจุดทีจะให้สําเร็จ แตใ่นขณะทีบรรลุแจ้งพระนิพพานนัน
โพธปิ ักขิยธรรมต้องประกอบ หมายถึง ทําหน้าทพี ร้อมเพรียงกัน

ขอกล่าวยํ าเกยี วกับการปฏิบัติวิปัสสนาธุระนี เป็นสิงสาํ คัญข้อหนึงขสอัทง ธรรม ๓ เพราะนอกจาก
จะเรียนรู้ปริยัติสัทธรรมแลว้ ก็ต้องเจริญสัทธรรมข้อ ๒ อันได้แก่ปฏิบัตสิ ัทธรรม

ถ้าปรารถนาจะให้หลุดพ้นจากวัฏฏทุกข์ ก็มีทางเดียว คอื เจริญวปิ ัสสนา มีสตปิ ัฏฐาน๔ และมรรคที
องค์ ๘ เป็นทางเดิน จึงจะสามารถดึงสัทธรรมข้อ ๓ คือ ปฏเิ วทสัทธรรม อันนํามาซึงสันติสุขถาวร

พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญการปฏิบัติเยียงนีว่า เป็นการบูชาอย่างเยยี มยอด แนวทางวิปัสสนานี ถือ
เป็นการเอารูปธรรม นามธรรม เป็นกรรมฐาน เอารูปนามเป็นอารมณ์ เอารูปนามเป็นทางเดิน โดยมีสติเป็นผู้
เพ่ง ปัญญาเป็นผู้รู้ เพือให้แจ้งแทงตลอดในสภาวธรรม ทีหลงยึดมั นถือมั นว่ามสี ภาพความเป็นริจงอย่างไร
และละโมหะทีทําให้หลงงมงายออกเสียได้

พระพทุ ธเจ้าทรงตรัสเตอื นผู้ปรารถนาจะบําเพ็ญวิปัสสนาธุระอย่างถูกต้องและได้ผลสมความ
ปรารถนา สรุปได้ดังนี

๑. ต้องมผี ู้แนะนําสังสอน คอื มีกลั ยาณมิตร

๒. มีทปี ฏิบัติทีสงบสงัดเป็ นสัปปายะ

๓. ต้องมีธรรม คือ ความตังใจจริง ความไม่ประมาทและปัญญา
๔. ไม่มปี ลิโพธ คือ ไม่กังวล ห่วงใยใดๆ ทังสิน
ฉะนั นผู้ทีจะปฏิบัติ ควรจะประกอบองค์คณุ ธรรมคือ มีความเลอื มใส ศรัทธาจริง ไม่มีหนีสินทีจะ
ทาํ ให้ห่วงกังวล ไม่มีโรคร้ายแรง โรคตดิ ต่อ ไม่เป็ นโรคจิต โรคประสาท พร้อมทีจะทําความเพียรได้ และควร
เป็นบคุ คลทีมีระเบียบแบบแผน พร้อมทีจะปฏิบัตติ ามระเบียบกตกิ า ของสํานักวิปัสสนากรรมฐานทกุ
ประการ
ขอความสุขสวัสดีจงมแี ก่สาธุชนทกุ ท่านเทอญ

สอนพระภิกษุนวกะ ในพรรษา ๒๕๓๒

พระภาวนาวิสุทธิคุณ
๑๗ ต.ค. ๓๒

วันนี เป็นวันพระ๘ คํา ไม่ใช่วันอุโบสถ ผมถือโอกาสขออนุญาตสงฆ์ จะเดนิ ทางไปบรรยายที
จังหวัดพษิ ณุโลก เริมบรรยายเวลา๘.๓๐ น. ให้เขาปฏิบัติกรรมฐานเดินจงกรม๑ ชั วโมง นั ง๑ ชั วโมง แล้ว
จะรีบกลับ ภาคบา่ ยให้เขาทําเอง จะรีบกลับมาโบสถ์นี จึงขอเรียนใหท้ ราบ ถ้าผมมาช้ามากไป กใ็ ห้ทําวัตรไป
ก่อน ถ้าหากมาทันก็มาทําวัตรร่วมกัน

เมอื วานนีผมไปบรรยายได้จตุปัจจัยร่วม๒ หมนื บาท แต่ผมถวายเขาหมด ผมไมเ่ อาเลยนะครบั ผม
ออกไป ท่านอย่าคิดว่า ผมได้เงินเข้าวัดนะ ผมไปให้เขา เมือวานนีเอาชาไป๑๒ หอ่ ช่วยเขา

นีแหละทา่ นทั งหลาย จําผมไว้เป็นธารดํา กําหนดจดจําไควน้ ขีเหนียว เหมือนนําไหลเข้าบ้านไม่มี

ทางออก นําจะเน่า มนั จะไม่ไหลมาอีก มันเต็ม
สมมติว่าบ้านเราเป็นบ่อ มีนํ า มันไหลมาแล้วไมม่ ที างออก ไม่ช้านํ าก็เน่า มันเน่าแล้ว ไม่มีทางจะ

ไหลมาอีก แล้วจะไมม่ ีทางไหลออกไป คือคนขีเหนียว รับรองไม่ช้าเน่า
บางองค์บางรูป ท่านเกบ็ ของไว้มาก นํ ามันก๊าด นม จตุปัจจัยของทา่ นามกหลาย หนักเข้าก็เน่าแบบ

นั นแหละ ผมมานึกในใจว่า คนทเี กบ็ อะไรต่ออะไรไว้ ขีเหนียวไม่อยากทําบญุ ไม่มนี ํ าระบาย วันใดวันหนึง
ต้องเหม็นจนได้ ขอเรียนถวายไว้

เมอื วานเขาเห็นใจผม มาช่วยพูดตั ง๒ ชัวโมงครึ ง ยังแถมไม่รับปัจจัยอีก เลยญาติโยมเกดิ ศรทั ธา
ทําบุญคนละ๕๐๐ บาท คนละ ๑,๐๐๐ บาท มาสร้างศาลาได้ตอ่ บญุ ไปอีก ญาติโยมทกี รุงเทพฯ เกิดมศี รัทธา
ส่งมาถวาย ๒ หมืนบาท เพือสร้างศาลา อยู่เฉยๆ กไ็ ด้เงินนะ ขอให้มีจิตใจดี ขอให้มีศรัทธา เงนิ ไหลนอง
ทองไหลมา

ถ้าทุกรูปเอาใจใส่นั งกรรมฐาน สํารวมสงั วรระวังอินทรีย์ ทา่ นจะได้กําไร สึกาหลาเพศไป ทา่ นจะ
นกึ เงินไหลนอง ทองไหลมานะครับ

ถ้าเป็นพระภิกษุ ปฏิบัติธรรมวินัยสํารวมปาริสุทธิศีล ๔ ประการ คือ

๑. ปาฏิโมกขสังวรศีล

๒. อินทรียสังวรศีล

๓. อาชีวปาริสุทธิศีล

๔. ปัจจยั สันนิสิตศีล
เทา่ นีเหลอื กิน
ถ้าไมส่ าํ รวม ก็ไมว่ ่าอะไร ท่านจะทําอยา่ งนั นก็ตามใจ แต่ท่านจะเปน็ คนสกปรกกาย สกปรกวาจา
สกปรกทางใจ บ้านสกปรกอกี ถ้าไปมีครอบครวั เข้า สตั ว์นรกมาเกิด ว่านอนสอนยาก เถียงพ่อแม่คําไมต่ ก
ฟาก

ถ้าเรามคี วามสะอาด สํารวมระวังอยู่ เมือเราเป็นฆราวาส นักปราชญ์มาเกดิ มีปัญญาสูง มีลูกเป็นใหญ่
เป็ นโต

ท่านก็เลือกเอา เฮฮาตอนเป็ นพระ ไมส่ ํารวมสังวรระวัง ไมอ่ ยใู่ นโอวาทอุปัชฌาย์ เป็นไปตามกรรม
เองนะ

ผมเคยเล่าให้ฟังว่าตังแต่บวชมา ผมไมเ่ คยเอาจีวรออก นอกเหนือจากสรงนํ า ผมห่มของผมเรือย
เหงือหยดออกลกู คางก็ต้องห่มจนเคยชนิ และสํารวมอยู่เสมอ พจิ ารณาปัจจยะปัจเวกขณะอยู่เสมอ

และครองสบงทรงจวี รกม็ ีสติ พิจารณาปฏิสงั ขาโย อัชมยา ยถาปัจจยัง สาํ รวมอยู่ทุกวัน รับรองทา่ น
มใี จเป็นกุศล จิตใจท่านก็เป็นบุญ ท่านเกิดความสุขในอนาคตแน่

ถ้าเราพจิ ารณาปัจจยะปัจจเวกขณะ๔ ประการตลอดแล้ว รบั รองท่านสวยงามน่ารัก จะทําอะไรน่า
นิยม สึกหาลาเพศไปแล้ว ท่านจะรวยมหาศาล ท่านจะทําอะไรไม่ตดิ ขัด ทําอะไรรบา รืน จะไปทํานากไ็ ด้ข้าว
มากมาย ไปทําสวนต้นไม้ก็งอกงาม ไปทําการค้าก็ได้กําไรงาม รับราชการจะมียศสูง มตี ําแหน่งด้วย

ถ้าหากว่าขัดข้องทางเทคนิคแล้ว ท่านไมป่ ฏิบัติตาม ถ้าเป็นราชการ ถึงประจําอยู่ กไ็ ม่มีตําแหน่ง ไม่
มหี นา้ ที เหมอื นได้เป็นนายทหารประจํากองกรม ไม่มีหน้าทกี บั เขา ไมม่ ีอํานาจ บางทหี าโตะ๊ นังไมไ่ ด้ด้วย
นะ ถ้าเป็นครูบาอาจารย์ก็แค่นั นแหละ

ผมเคยเล่าให้พวกมาอบรมฟังเสมอ นายสมาน แสงมะลิ เป็นครูชั นประถม ในทีสุดได้เป็น
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็ นคนมีบุญวาสนาเพราะอะไร?

ผมทํามานานแล้วตั งแตบ่ วชใหม่ๆ ผมเชืออุปัชฌาย์คือหลวพง่อดี วัดแจ้ง ถ้าอยู่เดยี วนี อายตุ ั งรอ้ ยกว่า
ทา่ นมรณภาพแล้ว ทผี มพาท่านไปนมัสการบังสุกุลนะครบั

เมอื วันกอ่ นผมไปทักษิณาทานสดับปกรณ์ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช วัด
ราชบพิตรสถิตมหาสีมาราม ชวนญาติโยมไป หมดไป๒ หมนื นะครับ ทําบญุ เตรียมตัวมหาบังสุกุลถวาย
ของแล้วสร้างคู้ ทีนั นเรียกว่าคอู้ นุสาวรีย์สมเด็จพระสังฆราช ทีสิ นพระชนม์อายุพรรษาถึง๙๐ สร้างพระรูป
เอาไว้นะครบั ผมก็ไปชว่ ยสร้าง

ตอนเสดจ็ ทีวัดเรา ผมก็ยากดมี จี นไมเ่ ป็ นไร บอกผู้ว่าราชการจังหวัด อุตส่าห์ช่วยสร้างโรงพยาบาล
ของทา่ นไป ๗ แสนเศษนะครับ เทา่ นี เราพอใจของเรา ทําบุญทกุ วันแล้วก็ได้ช่วยคู้ เครืองบริการโรงพยาบาล
ไปอกี หลายหมืนบาท อุ่นเรือนก็ช่วยไปเยอะ

ทา่ นเคยเสดจ็ ทบี ้าน อุ่นเรือนท่านสงสารทบี ้านถูกไฟไหม้ ตอนทีผมไปเมอื งจีน ไปสวดมนตท์ วี ัด
ไทงั ง ฉลองวัดไทงั ง๑,๒๐๐ ปี อยทู่ างนีลูกศิษย์ไฟไหม้บ้านหมด ท่านกโ็ ปรดเมตตาเปลยี นชือร้านให้ ชือ ระ
วี อาภา-พรรณ และพระองค์เสดจ็ เปิดด้วย

นีแหละครับมันตอ่ เนืองในความดขี องคน ความดขี องคนเหมือนเชือสาโท เป็นเหล้าได้ ความไม่ดี
ของคนเหมือนเชือนํ าตาลเมา ไม่มีทางเป็นเหล้าแน่ ทําอย่างไรเป็นเหล้าไมไ่ ด้ นํ าตาลเมา ขอฝากวไ้ด้วยนะ

ท่านจะทําดีแค่ไหน ทา่ นก็รู้แจ้งแก่ใจด้วยกันทุกรูป ว่าปฏบิ ัติหรือเปล่า ทา่ นจะสํารวมหรือเปล่า เป็น
บาปหรือเปลา่ กแ็ ล้วแตน่ ะ มันก็เป็นเงาตามตัวทา่ นไปเอง

ผมเคยสงั เกตพระหลายรูปแล้วทบี วชเป็นพระนวกะบางองค์เขาเจริญเหลือเกิน มีความรุ่งเรือง ไปทํา
การค้าก็รวยเดยี วนี คนหนึงทีบวชทีนีไปตา่ งประเทศ เขามีจดหมายมาให้ส่งหนังสือไปใหเ้ ขา กฎแห่งกรรม
เล่ม ๓ เขามีหนังสือบอกหลวงพ่อ ทํางานด้วย รับจ้างฝรัง และค้าขายด้วย เลยพาญาตโิ ยมไปอยู่กันเยอะเลย

อเมริกาก็ให้อยู่ตามสบาย เดียวนีรวยมาก มีบ้าน๓ หลัง เขาบวชเอาใจใส่ดี ต่อหน้าปฏิบัติอยา่ งไร
ลับหลังอยา่ งนั น รับรองดีแน่ สึกหาลาเพศไป ค้าขายกร็ วย

สมมติว่าเราเป็นสมมติสงฆ์ ได้ปฏิบัติไตรสิกขาสามครบ ตามทผี มเป็นอุปัชฌาย์สอนให้ในวันบวช
รับรองท่านเหลือกนิ เหลือใช้ จะเหลียวซ้ายแลขวา คู้เหยียดเป็นกรรมฐานตั งสติไว้ รบั รองทา่ นสวยงามทั ง
นอกทั งใน และก็สึกหาลาเพศไป ก็จะนําความรํ ารวยติดตัวไปด้วย ไปอยู่ทไี หน นึกจะทําอะไรก็สําเร็จ

ขอบคุณขอบใจ ท่านผู้ใส่ใจในไตรสิกขา ท่านทีสนใจบวชไม่เสียทีบวช มมี ากมายหลายรูปที
ประชุมนี ไมเ่ สียทีแน่ บวชทั งทีเอาดีได้ สึกหาลาเพ”ศ”ทั งทีมดี ีติดตัวไปได้ ไปครอบครองสมบตัิ เป็นมหา
เศรษฐีแน่

ท่านทั งหลายตอ้ งการรวยหรือไม่ ต้องการมเี งินไหม เรายังอยู่ทางโลก เรายังไม่ได้เป็นพระอรหันต์
ก็ต้องการรวย ต้องการสวย ต้องการดี มใี ครไหมทีต้องการจะอับเฉาอับจน

ข้อสาํ คัญอย่ทู กี ารสร้างเหตุให้ถกู ต้อง ถ้าเราสร้างเหตุไม่รวย สร้างให้เราจน จนตจิ จนใจ จนสํารวม
หน้าทีคอยระวัง มันก็จนไปหมด

ถ้าเหตุดีเสียอย่างด้วยกรรมฐาน จิตดเี สียอย่างคดิ อะไรสําเร็จหมด ถา้ จิตไม่ดีนะครบั คิดอะไรไม่
สําเร็จหรอก ทําอะไรก็ขัดข้อง มีแตอ่ ุปสรรค เดือดร้อน สึกหาลาเพศไปทา่ นจะรู้เองนะ จะทําอะไรไม่เหมือน
ชาวบ้านเขา โอ้เพอื นเราเขาทําอเ าๆ ได้เอาๆ เราทําไม่ได้เลย

บางทีนาตดิ กันแท้ๆ เขาทําได้ข้าว เราทําไมไ่ ด้เพลียลงหมด มันขัดข้องไปหมด ร้านค้าเขาข้างร้านเรา
ขายดิบขายดี เหตุใดเราก็ขายเหมือนเขา ขายไม่ดีเลย มันขายไมไ่ ด้เสียด้วย ร้านนั นของก็สู้ร้านเราไม่ไดข้ เาก็
หยิบขายเอาๆ แต่เหตุใดหนอ ร้านเราขายไม่ได้ ก็เพราะเหตุอยา่ งนีเอง

เพราะฉะนันคนเราจะดีเหมือนกันหมดก็ไมไ่ ด้ แล้วแต่บุญแต่บาป บุญกม็ ีความสุข ทําอะไรสาํ เร็จ
บาปละก็มีแต่ความทุกข์ มีแต่ความเดือดร้อนนานาประการ นีอยู่ตรงนีนะครับ

ผมเคยพูดให้เขาฟัง สวรรคก์ ็เปิ ด บ้านเศรษฐกี ็เปิ ด ไมม่ ีใครไปเกดิ เลยหรอื แต่คุกปิด ทําไมไปติด
ตะรางกันเยอะ เขาปิ ดไว้แท้ๆ ไปเข้ากันได้ไง แต่ทีเปิ ดไม่ค่อยอยากไป

แต่ความดจี ะสร้างก็ไม่ใช่ง่ายและไมใ่ ช่ยาก ไมย่ ากเกินไป และไม่ง่ายเกินไป แต่ทําชั วมันกต็ ้อง
เหนือยเหมือนกัน ทําดีก็ต้องเหนือย ทังสองอย่าง เราก็เลือกเอาก็แล้วกัน ไหนๆ เหอนยื ทั งทีแล้ว เสียเวลา
แล้ว เอาข้างดี ดีกว่าข้างชัว ถงึ เหนอื ยแสนเหนือยก็ให้มันได้ดี สําคัญเหนอื ยได้ชั วนีมันแย่ ลําบเหากลือเกนิ
นะครับ

ผมนึกทบทวนเท่าทีผมเป็นอุปัชฌาย์บวชให้มา ผมพยายามสอนเหมือนกันทุกรูปนะ ให้สํารวม
อยา่ งไร ให้ปฏิบัตอิ ย่างไร ถวายหมดแล้ว คิดกันได้หรือไม่

นผี มพดู นีกส็ งสาร ไม่อยากให้ทา่ นบาป อยากให้เป็นผู้มีบุญวาสนา สึก”ห”าลาเพศไปไหน ทา่ นจะ
ได้เป็นเศรษฐี มั งมีศรีสุข มีหน้ามีตา

ผมทําได้ทีผมสอนนี ผมทําได้นะ ผมทํางานไม่เสร็จ ผมไม่ฉันข้าวนะ นีสองวันมาแล้ว ผมไม่ได้ฉัน
เลยถามเด็กๆ ดู ผมนั งเขียนหนังสือตลอดเลย เสร็จแล้วมารบั แขกอีก

นายทหารยศนายพล เอารถมาเจิม เราเคยส่งเสริมเขาเป็นนายพลมา เขากน็ ึกถึงมาเยียมเยียน และ
บอกว่าเงินไม่ได้เอามา แต่ช่วยสร้างศาลาหนึงหมนื บาท จะส่งมาภายหลัง เห็นไหมนี มันก็ได้ทุกวันนะครับ

คนดมี ีปัญญาจิตมันงอก คนไมด่ ี ไม่มีปัญญาจติ มันขาดนะ ทําไม่ดจี ติ ขาด หมดอาลัยตายอยากเลยก็
กลายเป็นเศษมนุษย์ บุรุษโคมลอย อันนี ไมใ่ ช่ว่าผมจะพูดในวันนี นะครับ พูดมานานแล้ว

พดู ถึงเรืองพระเครืองรางของขลัง บางกรุเก่าจริงนะครับ ไม่มีคนนิยม ไปถามกรุใหมท่ ีคนนิยมซิ เรา
กเ็ ลือกเอาซิ เลือกกรุเองเอง พระทไี ม่เอาเหนอื เอาใต้ ท่านไปตามอย่างได้หรือ ถ้าท่านทําอยา่ งนั น ท่านจะ
ไมไ่ ด้ดี จะไม่มีปัญญา

คนทีดมี ปี ัญญา เขาจะสํารวม สังวรระวัง เชาวนจิตมันเกิดนะครับ“หนามแหลมใครเสียม มะนาว
กลมใครกลงึ ” คนทีมโี หวงเฮ้ง มันไมเ่ สียหรอกครบั คนทีมีโสฬส มีเลข๑๖ อยใู่ นตัวบุคคลใด คนนั นดหี มด
ทุกคน จะเป็นฆราวาสก็ดีหมด ถ้าพูดถึงหมอดูมีเลขโสฬส มีเส้นผ่านศูนย์นั น รับรองดที ุกคน ถ้าเส้นนั นมัน
ไมเ่ อาไหนก็เอาดีไมไ่ ด้ เส้นมันคด

ผมเคยพูดเคยสอนอย่เู สมอว่า เส้นชีวิตมันคดทุกคน แต่ต้องทําให้มันตรง จิตมันขึ นๆ ลงๆ ด้วย
พรหมลิขิตมันขีดขั น เดยี วขึ นเดวียลง เดียวดี เดียวชัว นันแหละคือพรหมลิขิตจติ ของเรามนั คด กําหนดได้

ใช้สตปิ ัฎฐานสีซิครบั เจริญสติอยู่ กําหนดซิครับ
ถ้ากําหนดได้เส้นตรงนะครบั จะไมข่ ึ นๆ ลงๆ นั น หรพือรหมลขิ ิต จงทําดีให้แก่ดวง อย่าไปนังคอย

ดวงให้มนั ดี
คนเราต้องมีดีหลายด้าน มีสิงแวดล้อมหลายอยา่ ง มีความรู้รอบตัวหลายอย่าง ไม่ใช่รู้อยา่ งเดยี วทีเขา

รู้กันนะ ต้องรูใ้ ห้รอบตัว เขาเลน่ หวยกัน เราก็รู้นะ ความรู้รอบตัวนะสําคัญความรู้ทว่ มหัวเอาตัวไม่รอดู้ ร
อะไรล่ะจะเท่ารู้วิชา

ดังคํากลอนสุนทรภู่“อนั ข้าไทได้พึงเขาจึงรัก แม้ถอยศักดิสินอาํ นาจวาสนา เขาหน่ายหนีมไิ ด้อยู่คู่

ชีวา แต่วชิ าช่วยกายจนวายปราณ”
มวี ิชาติดมากับตัวดีนะครับ ปัญญาติดมากับตัว ความรู้อย่ใู นตํารา ใครอยากได้วิชาศกึ ษาเองเอง

ได้ผล
สําคัญวิชาอะไรกันหนอ แต่สู้รู้วิชาเอาตัวรอดเป็นยอดดี รูห้ ลบเป็นปี ก รู้หลีกเป็นหาง ขอฝากไว้ด้วย

นะ จะได้รอดพ้นอันตรายนะอย่าไปโง่ อย่าไปโผลใ่ ห้เขาเห็น
หยิงโยโสแมงป่องก็ไม่ดี ผู้ใหญ่ให้ของไม่เอาจองหองจริงๆ ไมเ่ อาเหนอื เอาใต้เลยพวกจองหอง นี

ผมโดนด่ามาอย่างนี ผมมาเลา่ ถวาย

หลวงพอ่ เดมิ เคยดา่ ผม ให้คาถาเลียงช้างไม่เอา คาถาต่อช้างป่า คาถาช้างตกนํ ามัน ไม่เอาครับ ตอน
นั นผมเตรียมจะสกึ แล้ว ผมเอาคาถาผู้หญงิ บทเดียว หลวงพอ่ เดิมพดู ทันที“เจ้านีหยงิ โยโส แมงป่ องจองหอง
นี ผู้ใหญ่ให้รู้นีว่าเหตุการณ์จะต้องเอาไปใช้ ยังจองหองอกี หรือ” นีผมเคยโดนดา่ มาก็เล่าถวาย

ปู่ผมสอนว่า“สมองหมา ปัญญาควาย” ผมโดนดา่ มาอย่างนี นีเลา่ ถวายทา่ น สิงละอันพันละนอ้ย
ทา่ นจะจําไปได้ข้อเดยี ว ผมก็พอใจ ยังได้แบบอยา่ งของวัดไปใช้บ้าง ท่านคงได้แน่นะครับ

เอาละท่านจะรักผมต่อภายหลังเมอื ท่านมีทุกข์นําตาไหล จงึ จะคดิ ถึงหลวงพ่ออัมพวัน ท่านไป
สบายอาจจะลืมเลย ไมก่ ลับมาก็ได้ ผมไม่ว่าหรอก แต่ไปมีทกุ ข์แล้วก็กลับมาเถอะครับ ถ้าไมส่ ามาถร
แก้ปัญหาได้ กลับมา ผมจะช่วย

“เดียว” ไม่มีนะ ไปสอนลูกหลานท่านในอนาคต อยา่ เดยี ว รับรองท่านเป็นเศรษฐี จะค้าขายกม็ ั งมี
ศรีสุขนะครบั นแี หละท่านผู้มปี ัญญาทุกท่าน โปรดโยนิโสมนสิการ พิจารณาด้วยปัญญาของท่านเอง

ผมมีความปรารถนาดี อยากให้ดที ุกองค์ สึกหาลาเพ”ศ”ไป อยากให้ลูกศษิ ย์มีบ้านใหญ่ บ้านโต
อย่างกับรั วอย่างกับวังอย่างกับวัดทั วกันทุกทา่ นเทอญ

วนั ชาํ ระหนีสงฆ์

พระภาวนาวิสุทธิคณุ
๓๑ ธ.ค. ๓๒

วันนี เราโชคดี ได้มีโอกาสทําบญุ สิ นปีเก่าต้อนรับปี ใหม่ เพอื ให้หมดเสนียดจัญไร เพือไมม่ ีเวรกรรม
มแี ตบ่ ญุ วาสนาส่งเสริมชีวิตตลอดไป

ท่านสาธุชนทังหลาย โปรดไปตัวเปล่า มาตัวเปล่า อย่าให้เป็นหนี ใครติดตัวไป ขอให้ปลอดภัย
ตลอดปี ๒๕๓๓ จะได้มีความสุขความเจริญยิงๆ ขึนไป

ขอทา่ นผู้ใจบุญ โปรดหลุดพ้นเสียจากหนีสินในตวั เอง คือ กเิ ลสนิทรา ราคัคคิ โทสัคคิ โมหัคคิ
โปรดทงิ ทอดมันเสียด้วย อโหสิกรรม อย่าได้เก็บไว้ในจิตใจให้เศร้าหมองต่อไป ประสบพบแต่โชคดี มี
ปัญญา ตลอดปี ใหมต่ ลอดกัลปาวสาน

วันที๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๒ ใกล้จะสิ นปีอีกไม่กชี ัวโมง จะถึงพทุ ธศักราช๒๕๓๓ เราจะได้
ประกอบมงคลพธิ ีอันยิงใหญค่ ือ การใช้หนีสงฆ์

ได้อาราธนาพระสงฆเ์ จริญพระพทุ ธมนตบ์ ทใหญ่ ทีพระพทุ ธเจ้าทรงแสดง มคี นฟังอยู่๕ คน คือ
ปัญจวคั คีย์ เรียกสั นๆ ว่า“ธรรมจักร” ได้ขยายผลวเิ ศษกว้างขวางตั งแต่โลกมนุษย์จนถึงพรหมโลก เพราะ
อาศัยพระมหากรุณาธิคุณอันล้นพ้นของพระบรมศาสดา เราได้อาศัยแสงสว่างจากพระธรรมส่องทางชีวิต จึง
เป็ นหนีพระพุทธเจ้ามามากมายหลาย เป็นหนีพระพุทธเจ้ายังไมพ่ อ ยังเป็ นหนี พระเดชพระคุณองค์
มหาบพิตรพระราชสมภารเจ้า ทีเราได้เข้ามาอยูใ่ ต้ร่มโพธิ ทองของพระองคด์ ้วยความสุข ความเจริญอย่างหา
ประมาณมิได้

นอกเหนือจากนั น เรายังเป็นหนี บุญคณุ ผู้หลักผู้ใหญ่ ทีปลุกปลบํ าํ รุงเราให้เติบใหญ่ มีหลักฐาน มี
ยศฐาบรรดาศักดิ เราจงึ เป็นหนี บญุ คุณของท่านเหลา่ นั นอีกไมใ่ ช้น้อย เรากต็ ้องตอบแทนท่านด้วยการสนอง
พระเดชพระคุณให้เป็ นทวีคณู

หนีบญุ คุณอันยิงใหญเ่ หลือจะนับจะประมาณนั น คือหนีพระคุณของบิดา – มารดา

ทา่ นพังเพยเปรียบเทียบสังสอนมาสองพันกว่าปีแล้ว ว่าจะเอาท้องฟ้ าหรือแผ่นดินมาเป็นกระดาษ
เอาเขาพระสุเมรุมาศมาเป็นปากกา จะเอานํามหาสมุทรเป็นนําหมึกวาด ก็ไม่สามารถจารึกพระคุณของบดิ า
มารดาไว้ได้ เพราะนํ ามหาสมุทรจะเหอื ดแห้งหมด ก่อนทจี ะจารึกพระคุณบิดามารดาได้จบสิ น

คนอนื ทีเป็นเพอื นทรี ักจนยอดหัวใจก็ยังมโี ทษตอ่ ตัวเรา รักเราไม่จริงเหมือนบิดามารดา เขาพึงเรา
ได้ เขาจึงมารักเรา ของฝากกลอนสุนทรภไู่ ว้ในทนี ี

อันข้าไทได้พึงเขาจึงรัก
แม้ถอยศักดิสินอํานาจวาสนา
เขาหน่ายหนีไม่ได้อยู่คู่ชีวา
แต่วิชาช่วยกายจนวายปราณ

หนีบญุ คุณพอ่ แม่เมือครั งอดีตชาติ เมอื ชาตกิ ่อนกย็ ังใช้ไม่หมด มามพี ่อแม่ในชาตินีก็ยังใช้ไมห่ มด
ตายจากชาตินี ไป มีพ่อใหม่แมใ่ หม่ชาตโิ น้น อนาคตกย็ ังใช้ไม่หมดสิ นอีก

นีแหละท่านทั งหลายเอ๋ย เป็นหนีบุญคุณพ่อแม่มากหลาย ยังจะไปทวงนาทวงไร่ ทวงตึกรามมาเป็น
ของเราอกี หรือ ตวั เองก็พึงตัวเองไม่ได้ ช่วยตัวเองไม่ได้ สอนตัวเองไม่ได้แล้ว เป็นคนอัปรีย์จัญไรในโลก
มนษุ ย์ ไปทวงหนีพ่อแม่ พ่อแมใ่ ห้แล้ว เรียนสาํ เร็จแล้ว ยังช่วยตัวเองไม่ได้ มีหนีติดค้าง รับรองทํามาากหิน
ไมข่ ึน

นอกเหนือจากนั นยังเป็นหนี ตัวเอง ตัวเองเกดิ มาแสนจะลําบากกาย ลําบกใจ กว่าจะเจริญวัยชันษา
มอี ายุเหยียบย่างมาถึง๔๐ – ๕๐ ปี ก็ยาก ไม่นึกถึงบญุ คุณตัวเอง เลยตัวเองก็ไม่สงสารตัวเอง ไมร่ กั ตัวเอง ทํา
ชั วช้าสามานย์ กินเหล้าเมาสุรา นีคนประเภทไม่รักตัวเอง

คนไมท่ ํากิจวัตร ไม่ปฏิบัติหน้าที ไม่รับผิดชอบ แปลว่าคนนั นเกลียดตัวเอง กเินหล้าเมาสุรา เลน่ การ
พนัน เทยี วเสสรวลฮวลฮา กินโต้รุ่ง พ่อแมก่ ็เสียใจ ยังไปว่าพ่อแม่ ไปทวงหนี เอาทรัพย์สมบัตพิ ่อแม่มาฉุย
แฉกแตกราน นีคือลูกสะสมหนี ไม่ยอมใช้หนี ละ

วิธีใช้หนีพ่อแม่ไม่ยากเลย ลูกหลานเอ๋ย จงสร้างความดีให้กบั ตวั เอง และก็เป็ นการใชห้ นีตัวเองนี
เป็นเรืองสําคัญ ตัวเรา พอ่ ให้หัวใจ แม่ให้นํ าเลือดนํ าเหลืองแล้วอยูใ่ นตัวเรา จะไปแสวงหาพอ่ ทีไหนไจปะ
แสวงหาแม่ทีไหนอกี เลา่

คนใช้หนีตัวเอง คือ สร้างความดี ละความชั ว เว้นอบายมุข การหาความสุขในอบายมุขเป็นการสร้าง
หนีตัวเองทุคติ ปาฏิกงั ขา ตายไปนรก มีหนีตดิ ไปด้วย หนีบญุ คุณไม่มีหมด ต้องติดตามไปทวงหนี ท่าน
ทั งหลายในอนาคต ถึงไปตกนรกอยูใ่ นคุกตะราง หนีสินก็ตามไปทวงอีก เว้นแต่ผู้ทีเป็นบัณฑิต เขาจะไม่ทวง
เพราะคนไปติดตะราง คนอยใู่ นกองทุกข์ไปทวงไมไ่ ด้ เพราะไมม่ จี ะให้ อย่าไปทวงเขาเลยนะ เป็นทุกข์
เปล่าๆ

ถ้าใช้หนตี ัวเองได้ ก็สร้างความดีเพิมขึ น ความชั วก็ออกไป หนี สินผูกพันอยา่ ใหอ้ ย่ใู นจิตใสจุคติ
ปาฏิ-กังขา หนี หมดไปสวรรค์ หนี ยังมีอยู่กต็ ้องไปนรก

คนทีรักตัวเอง ต้องใช้หนี ตัวเอง พระพุทธเจ้าสอนว่อาตั ตาหิ อัตโนนาโถ ตนเทา่ นั นเป็นทีพึงของ
ตน

กงเตก๊ เขายังทิง๔ บ่อ เอาไปใชห้ นีเกา่ เอาไปฝากไว้ เอาไปฝังไว้ เอาไปทิงเหว อย่างนีนะ
๑. ใช้หนีเก่า คือ ตอบแทนพ่อแม่ของเรา
๒. ฝังไว้ หมายความว่า เอาไปให้พวกยากจน อาจจะไม่ตอบแทนกช็ ่าง

๓. ฝากไว้ เอาไปช่วยเขาเลียงดูอุปการะลูกเด็กเล็กแดงของเรา โตขึ นเขาก็จะใชห้ นีเลี ยงดเู ราต่อไป
ในอนาคต

๔. ทิงเหว ก็กินทุกวัน กินเข้าไปไม่รู้จักเต็ม คือเอาไปทิงเหว กินเข้าไปแล้วยังไม่ได้ทํางาน ยังไม่มี
กิจกรรมให้ดี ก็เป็นหนี ตัวเองต่อไป

โลกมนุษย์นี มีมนุษย์ใจสูง ขีเกียจ ไมม่ เี พือน ไม่มีเงิน เพราะไม่มีงานทํา งานคือเงิน เงนิ คืองาน
บันดาลสุข จงทํางานให้สนกุ มคี วามสุขในการทํางาน เงนิ ไหลนอง ทองไหลมา

คนเกดิ มาดี มีปัญญา คนนั นอยูร่ อดปลอดภัย คนไหนปฏิบัติธรรมไปรอดแน่ คนไหนไม่มีคุณธรรม
ไมป่ ลอดภัย ถงึ มีความรู้สูงอย่างไร ก็เอาตัวไม่รอด

ถ้าเราใช้หนี ตัวเองด้วยการทํางานให้แก่ตัวเอง ทํางานในการเรียนหนังสือ ทํางานในการสร้าง
หลกั ฐานขึ นมา อย่างนีใช้หนี ตัวเอง เกิดมาอย่าให้เสียชาติเกิด ถงึ จะอยใู่ นโลกมนุษย์ก็ตาม พยายามสร้าง
ความดีเป็นการใช้หนี ตัวเอง มีความหมายอยา่ งนี

เมอื สมัยอาตมาเป็นเดก็ อย่ทู ีวัดศรัทธาภิรมย์ เขาเรียกวัดใหมศ่ รัทธาราษฎรเว์ ลาไปวัด ยายกใ็ ห้นํา
ก้อนดินใส่กระบุงหาบไปทุกวันพระถามยายว่าเอาไปทําไม ยายบอกว่า เอาไปใช้หนีสงฆน์ ะ หลาน

หนีสงฆ์เป็นอย่างไร ยายอธิบายให้หลานฟงัซิ ยายบอกว่า เออ! หลานเอ๋ย เราไปเหยยี บดินวัดติดเท้า
กลับมา เป็ นหนีสงฆ์ เราจงึ ต้องเอาก้อนดินไปใช้หนี วัด

เดียวนี ไมต่ ้องแล้ว เอาควายไปเลี ยงในวัดตัดต้นไวมัด้ เลย พอพระทา่ นพูดขึ นกท็ ะเลาะกับพระ คน
ประเภทนี เป็นลูกศิษย์เถรเทวทัต ลงนรกโลกันต์ ถูกลมเกย์พัด ถูกไฟไหม้ ถูกโจรกรรม ถูกกฏแห่งกรรม
ลงโทษตายเรียบ ขอฝากทา่ นไว้ จงสร้างความดีใช้หนีตัวเอง จึงมีประโยชน์ต่อชีวิต

คนเราเป็นหนีกันทั งนั นแหละ หนีอะไรหนอทีใช้ไมมีห่ มด หนี บุญคณุ นะ ท่านทั งหลายผู้เป็น
บัณฑติ โปรดคิด บญุ คุณไม่มีหมด ไปขอยืมเงินเขามา หนึงพันบาท ใชว้ ันละร้อยเดียวก็หมด หมดแล้วก็เลกิ
กัน

แต่หนี บุญคุณ โบราณเขาบอกว่า“ซือกนิ ไม่หมด คดกินไม่นาน” ขอฝากท่านทั งหลายไว้ด้วย ถ้า

ซือกินไม่หมด หลั งไหลมาเรือย หนบี ุญคุณไม่มีหมดหรอก ไปช่วยเขาทํานา ช่วยบ้านโน้นบ้านนี เขาจะไม่
ลมื พระคณุ เลย

นอกเหนือจากไปช่วยบ้านอันธพาล มันจะลมื บุญคุณคนได้ ถ้าไปช่วยบ้านบัณฑิตผู้มีปัญญาแล้ว เขา
จะไมล่ ืมพระคุณเลย

เพราะฉะนั นคนเราจึงไม่ลืมพระคุณบิดามารดา พระคุณอุปัชฌาย์อาจารย์ จะไม่ลืมพระคณุ สถานที
ไมล่ มื พระคุณแหล่งให้เกดิ วิชา จะใม่ลืมแหลง่ ให้เกิดความดี หมั นไปมาหาสู่กัน จะไม่ลืมพระคุณของตัวเอง
วา่ ตัวเราเกิดมายาก ต้องสร้างความดใี ชห้ นี ตัวเอง การทีจะใช้หนีตัวเองก็สร้างความดีให้มากขึ น ทํางานหใ้
มากขึ น ทําความดีให้ปรากฎชัด อย่างนีซิ เรียกวใ่าช้หนีตวั เอง

เดียวนีเราไม่สงสารตัวเองแล้ว กนิ เหล้าเข้าไป ทรพั ย์สมบัติพ่อแม่ให้มาก็ขาย แจกจ่ายไปหมด ไม่มี
เหลอื เลย ตัวเองก็จะขายตัวกิน ขายตัวเองเขาก็ไมเ่ อาอีก เพราะขีเกียจเช่นนี ขอฝากทา่ นสาธุชนเป็นข้อคดิ นใ
วันใช้หนี สงฆ์

ใช้หนีก็ต้องสร้างความดี เป็นการใชห้ นี พระคุณศรีรัตนตรัย ใช้หนี พอ่ แม่ ใช้หนีตัวเอง ต้องสร้าง
ความดีใหม้ ันยิงใหญ่ เหมอื นสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินนี าถมีพระราชดํารัสไว้ในวันแม่เม๑ือ๐ ปี ที
ผา่ นมา อาตมาจําได้

“พ่อแมท่ ั งหลายเอ๋ย จงสร้างบ้านเมืองให้ยิงสุข ลูกเอ๋ย จงสร้างชาตใิ ห้ยิงใหญ่ ช่วตยัวเองนะ ลูกนะ
หาวิชาความรู้พึงตัวเองต่อไป”

ลกู เอ๋ย จงสร้างชาตใิ ห้ยิงใหญ่ คือ สร้างตัวเองให้ใหญ่ ให้ปกครองตัวเองได้นะลกู นะ นีเป็นการใช้
หนีตัวเอง พอ่ แม่ก็สร้างบ้านเมืองให้ยิงสุข ไว้ให้ลูกอยู่ ผูกอู่ให้นอน ให้วิชาความรู้ทุกประการ

องค์สมเดจ็ พระชินสีห์บรมศาสดาสัมพทุ ธเจ้า เมือกาลครัง ๒,๐๐๐ กว่าปี พระองค์ทรงเสด็จ
บรรพชา ไม่ได้เอาสมบัติของพระราชบิดาไปเลย ไปแต่ตวั เปล่าๆ ไม่มอี ะไรเลย ร้อนถึงพระจักรินทร์เทวราช
เอาผ้ากาสาว-พสั ตร์มาถวาย ทีแม่นําอโนมานที สร้างความดีด้วยการบรรพชา

พระองค์เป็นโอรสจักรพรรดิ มีเงินหลายโกฏิ สตางค์เดยี วไม่เคยขอพ่อแม่เลย มาตัวเปล่า ไปตัวเปล่า
ไปสร้างความดีในโลกมนษุ ย์ มีชือเสียงโด่งดังมาจนบดั นี

พระพทุ ธเจ้าของเรา รวยทรพั ย์ รวยชือเสียง รวยความเป็ นบรมครูสอนประชาชน ให้ทรัพย์ มี
คุณสมบัติ มีชอื เสียง มีความรักตอ่ กัน ทําให้วัดวาอารามรุ่งเรือง๒,๐๐๐ กว่าปีแล้ว สง่างามเพราะความรวย
ของพระพทุ ธเจ้า แต่พระสงฆ์บางพวกไม่รวย ไมม่ ีนํ าใจ เพราะเหตใุ ดใช้หนี ญาตโิ ยม

พระบรมศาสดา ตรัสแก่พระอานนท์ศรีอนุชาว่า
“ดกู รอานนท์ บดั นี อานนท์เอ๋ย เราเป็นนักบวช เป็นหนีชาวแว่นแคว้น เป็ นหนีญาติโยมมากหลาย
ดกู รอานนท์ศรีอนุชา จงใช้หนีโยมเขา จงใช้หนีชาวแว่นแคว้นเขา ใช้ค่าข้าวสุกเขา ใช้ค่าปัจจัย๔ เขานะ
อานนท์”
“ดูกรภิกขเวสงฆ์ผู้ทรงศีลสงั วรในพระธรรมวินัย อย่าทําตัวร้ายแรงต่อสงั คม ขอพระสงฆ์จงทําตัว
ให้เป็นประโยชน์สุขตอ่ สังคม กิจกรรมของพระสงฆ์จงเป็นเอกภาพรวมสามัคคกี ัน ตั งแต่บนัดีเป็นต้นไป”
พระองคจ์ ึงสอนให้พิจารณาปัจจัย๔ สอนพระภิกษุให้ใช้หนี ญาติโยม ด้วยการพจิ ารณาปัจจัย๔ มี
จีวร บาตร บณิ ฑบาต เสนาสนะ คลิ านเภสัช อย่านิงดูดาย บริโภคของโยมโดยไม่พจิ ารณา
จวี ร ผ้าผ่อนท่อนสไบ ญาติโยมน้อมมาถวาย พระสงฆ์ต้องเคร่งครดั ในสีลาจารวัตร และพจิ ราณา
ปัจจัยทกุ ครั งทีใชน้ ุ่งห่ม
บิณฑบาต โยมมาใส่บาตร ให้พระสงฆ์ฉัน พระแต่ละรูปกเ็ ป็นหนี โยม แตล่ ะเม็ดข้าวสุกแล้วทําไม
ไมใ่ ช้หนีโยม พระพทุ ธเจ้าสอนให้ใช้หนีโยมเช่นเดียวกัน
เสนาสนัง กุฏิทีอยู่ ทีกินสะอาด มาบวชแล้วไม่ใช้หนี โยม ไม่ช่วยกันกวาด ไม่ช่วยกันทํา คทนีไม่
รักษาของเขา เป็ นหนีสงฆ์ สงฆ์ก็เป็ นหนีประชาชน ไมไ่ ด้รกั ษาของประชาชนไว้ เป็นสมบัตขิ องสงฆ์ ให้
คงทนแตป่ ระการใด เลยก็เป็นหนี สงฆ์เหมือนกัน ไม่ใช่โยมเป็นหนีอย่างเดียวนะพระสงฆ์เป็ นหนีด้วย เป็ น

หนีใคร เป็ นหนีโยม
โยมถวาย สังฆทาน ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชยามะถวายเป็นของสงฆ์ พระสงฆ์จะใช้ส่วนตวั ไม่ได้

ต้องเอาไปใช้หนีสงฆ์ เอาไปให้สงฆ์ใช้เฉลียกันไปด้วย ๔ ประการ
ส่วนที ๑ ถวายพระพทุ ธเจ้าส่วนหนึง
ส่วนที ๒ ถวายสงฆ์ทไี ม่มี – ขาดแคลน

ส่วนที ๓ ถวายผู้ทรงศีลทรงธรรม
ส่วนที ๔ ถวายแก่เปตชน ผู้ลว่ งลับไปแล้วเป็นทักษณิ านุปทาน
เป็นหนีโยมด้วยนะ รับรองกินกับนอน ตายแล้วไปเป็นเปรต พระพทุ ธเจ้าทรงแสดงไว้ ตายไปแล้ว
จะไปกินก้อนกรวดก้อนทองแดงในเมอื งนรกแน่นอนทสี ุด
เดียวนี พระทีวัดนีตายไปหลายองค์ กําลงั กินก้อนกรวดก้อนทองแดงอยู่ในเมืองนรก ไม่เคยใช้หนี
โยมเลย ใช้หนีโยมต้องสร้างความดี อย่างนีเป็นการใช้หนีญาติโยม
พระพุทธเจ้าตรัสว่า“อานนท์ศรีอนุชา บัดนีเราเป็นหนีชาวแว่นแคว้น เป็นหนีข้าวสุก ข้าวสาร เป็น
หนีปัจจัย๔ จวี ร บิณฑบาตร เสนาสนะ คิลานเภสัช จะต้องใช้หนี โยมเขา”
ใช้หนีอย่างไรล่ะ ใชห้ นี โดยการสร้างประโยชน์ให้แก่โยมเขา พฒั นาจิตให้โยมด้วย พัฒนา
การศึกษาใหโ้ ยมด้วย พัฒนาสังคม พัฒนาเศรษฐกิจ ให้โยมมีอาชีพการงานด้วย พัฒนาสงั คมให้โยมเขาอยู่
อยา่ งมคี วามสุข ด้วยเมตตา ปราณี อารี เอือเฟื อ ขาดเหลอื คอยดูกัน อยา่ งนี เป็นหนา้ ทีของพระสงฆ์
ฉะนั นท่านสาธุชนโปรดทราบ นผี ้ากราบ เวลาโยมเอาของมาถวาย พระท่านจะรบั ประเคน ถ้าเป็น
จวี ร พระท่านบอกว่า ยถาปัจจะยัง จีวะรัง ปะฏิเสวามิ นีใช้หนี โยมแล้ว จะต้องวา่ นะ
ถ้าโยมเอาของมาถวายเป็นบิณฑบาต ก็ว่ายถาปัจจะยัง บิณฑะปาโต นียอ่ ๆ ให้ฟัง ใช้หนีโยม ให้พร
โยมนะ
ถ้าโยมเอาเสนาสนะมาถวาย ท่านจะกล่าวว่ายถาปัจจะยงั เสนาสนัง ปะฏิเสวามิ ท่านจะใช้หนี
โยมเอาคิลานเภสัช นํ าผึ ง นํ าอ้อย นํ าตาล เนยใส เนยแขง็ เป็นต้น เป็นเภสชั กต็ ้องว่า คลิ านเภสัช นีก็
ใช้หนีโยม ให้พรโยมด้วย โยมทํานํ าปานะมาถวายอยใู่ นเขตของคิลานเภสชั ก็ต้องให้
พรมนั งอยู่นีเป็ นเสนาสนะ เวลานั งลง พระทุกรูปจะบอกว่าปฏิสังขา โย นิโส เสนาสนัง ปะฏิเสวามิ
คนทีสร้างพรม เสนาสนะ จะได้บุญ นีใช้หนี ทุกเวลานะ
พระบางองค์ไม่ใช้หนีก็กินก้อนกรวดก้อนทราย ไปตกนรก บางองค์ตายเป็นพระภูมกิ ็มี เพราะเก็บ
สมบัติไว้มากมาย ตายไปเป็นพระภูมิเฝ้ าเงิน เฝ้ าทอง เป็นโสมเฝ้ าทรัพย์ ยังงีมเียอะ ก็ไปเฝ้ าทรัพย์กันต่อไป
เป็นพระพรหมได้อย่างไรหรือ เป็นพระภูมนิ ่ะถูกแล้ว ไปเฝ้ าทรัพย์สมบัตขิ องตนทีได้สะสมมานาน เป็นหนี
กันมากมาย
นีแหละเวลาพระจะฉัน ท่านก็บอกว่า ปะฏิสังขาโย เวลารบั ประเคนก็ว่า ยถาปัจจะยัง นีใช้หนีโยม
และฉนั แล้วก็ใชห้ นีโยมด้วยยถาสัพพี ยถาให้ผี สัพพีให้คน
กรวดนํ าอยา่ ไปจับก้นกันยถาเปตานังให้แก่เปรต สัพพีติโย หมายความว่าให้พรแก่คน ยถาให้ผี สัพ
พใี ห้คน ต้องพนมมือรับพร ขอฝากไว้ด้วยในการใช้หนี ในวันนี

ทพี ระบณิ ฑบาต ต้องสํารวมอนิ ทรีย์ คือ สาํ รวมสายตาแลดไู ปช่วงแอก อย่าเหลยี วล่อกแล่กเหมือน
ลงิ ค่างบา่ งชะนี ถ้าไปเรียก “โยม พระมาแล้ว” นีขอทาน! ไม่ใช่บิณฑบาตโปรดสัตว์ พระพุทธเจ้าไม่เคย
สอน พระท่านทํากันเองนะ

ถ้าเขาไม่ปวารณาอยา่ งเรียก บางทเี ขาปวารณากับเด็กไวห้ นู ถ้าพระมา ยายไม่รู้ เรียกหน่อยนะอย่าง
นี ได้ ให้เด็กเรียก เราอย่าไปเรียกเองนะ

พระบิณฑบาตก็วา่ ยถาปัจจะยัง บณิ ฑะปาโต ตลอดทาง ถ้าพระไม่ทํา เป็นหนีสงฆ์ เป็นหนี โยม ตาย
ไปตกนรกแน่

กิจวัตรพระมี ๑๐ อย่าง คือ ๑. ลงอุโบสถ ๒. สวดมนต์ไหว้พระ ๓. บิณฑบาตไม่พัก ๔. โปรดให้
โยมได้สร้างความดี ๕. กวาดเว็จกฎุ ีขัดส้วมนีเป็ นหน้าทขี องพระ ถ้าพระในวินัยนี ผ่านเว็จกฎุ ไีด้กลินเหม็น
เห็นสกปรก ถ้าหนีเป็ นอาบัติโทษ๖. รักษาผ้าครอง ๗. โกนผมปลงหนวด ตัดเล็บ๘. อยู่ปริวาสกรรม๙.
ศึกษาสิกขาบทและปฏิบัติพระอาจารย์ ๑๐. พิจารณาปัจจเจกขณะปัจจัยทงั ๔ เป็นต้น

โยมโปรดทราบไว้ด้วย ไมใ่ ช่เป็นหนีเฉพาะโยม พระสงฆ์เป็นหนี ตัวดีนัก เอาสองณคูเลย เหมอื นรับ
ราชการขาตดิ โซ่อยู่ ๑ ขาแล้ว ถ้าทําผิด๑ ขา เข้าไปตะรางเลย พระสงฆก์ ็เหมือนกัน เป็นผู้สอนประชาชน
เป็นตัวอยา่ งทดี ีของโลกมนษุ ย์ เพราะเป็นผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัตชิ อบแล้ว ขอฝากไว้ด้วย

เวลาโยมไหว้พระสงฆ์ พระสงฆ์กใ็ ห้พร ถ้ามีทังโยมหญิงโยมชายกําลังไหว้ พะรสงฆ์องคน์ ั นจะ
กล่าวว่า สุขิตาโหตะ ทกุ ขะปบุญจถะ ขอท่านทั งหลายจงถึงซึงความสุข ปราศจากทุกข์เถิด

ถ้าโยนผู้ชายไหว้คนเดยี ว ท่านบอกว่าสุขิโต โหตุ ทุกขา ปมญุ จตุ ถ้าโยมผู้หญงิ ไหว้คนเดียว ทา่ นจะ
วา่ สุขิตา โหตุ ทุกขา ปมุญจตุ

นีให้โยมนะ พระบางองค์ไม่ให้เลย เป็นหนีสงฆ์ เป็ นหนีพระพทุ ธเจ้า ตายเป็ นเถรเทวทัต กินก้อน
กรวดก้อนทราย เกิดเป็นวัวเป็นควาย ด้วยอํานาจโมหะ ทีไม่รู้ ไม่ปฏิบัตติ ามธรรมวินยั นี

แต่พระสงฆ์องค์ใด ปฏิบตั ิกรรมฐาน ก็เป็ นการใช้หนีสงฆ์ เป็นการอโหสิกรรม หยิบหนอ ฉันหนอ
เคียวหนอ กลืนหนอ อาหารนีอาตมาเยียวยาให้ช่วยชีวิตอยู่ได้๑ วัน อาตมาจะไมล่ ืมโยม อาตมาจะใช้หนี โยม
ด้วยการปฏิบัติธรรม ปฏิบัติได้เมือใด อาตมาจะไปโปรดโยม จะไปเทศน์โปรดโยม จะให้โยมเข้าทางวัด ให้
โยมมีศลี ให้โยมมีภาวนา ให้โยมไปสวรรค์นิพพาน นีจุดมุ่งหมายทีใช้หนีสงฆ์

พระสงฆ์เดยี วนีไมค่ อ่ ยใช้หนตี ัวเอง เลยก็ต้องไปเป็นกรรม อย่างตําก็สมองเสีย สอนใครไม่ได้ สอน
ตัวเองไม่ได้แล้ว ออกไปสอนคนอืนกไ็ มไ่ ด้แล้ว ก็เป็นหนีตัวเอง ตายไปแล้วก็ลงโลกันต์ เพราะว่าทรยศต่อ
กฎบัญญัติสงฆ์ในทีประชุมด้วย

เอสาหํ ภันเต สุจิรปรินิพพตุ ัมปี ทรยศต่ออุปัชฌาย์ ทรยศตอ่ คู้สวดกรรมวาจาจารย์ ทรยศตอ่ สงฆ์ใน
ทปี ระชุมสงั ฆกรรม ในโรงอุโบสถ

พดู ถึงใชห้ นี โยม ขอพูดตอ่ ไปสกั หน่อยนะจ๊ะ บวชลูก บวชหลาน อย่าแห่ เป็นหนีสงฆเ์ข้าเฝ้ า
พระพุทธเจ้า ต้องสวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณรําลึกคุณพระรตั นตรยั ลูกนาค แม่นาค พ่อนาค จะได้บุญ
ไม่ใช่เอาเหล้ามากินกันในเขตขัณฑสีมา ทา่ นจะเป็นหนี สงฆ์ตลอดชาติ ขอฝากไว้ด้วยนะ

งานศพพ่อแม่ เอาเหล้าไปกินหน้าศพ เอาการพนันไปเล่นต่อหน้าศพ ทที ํางานพระพทุ ธศาสนา ที
ทํางานของพระพุทธเจ้า โยมจะต้องลงนรก ดวงวิญญาณไม่ได้รับส่วนบญุ ดวงวิญญาณเกิดไปอย่บู นสวรรค์
จะหนีเลย เหลือแคซ่ ากศพอยู่เหลอื เครืองตั งสักการะ ดวงวิญญาณจะไม่รับบญุ และไมใ่ ห้พรแก่ลูกหลาน

ขอฝากญาติโยมไว้ด้วย อย่าฝ่ าฝืนขนื กระทํา ไม่รักตัวเอง กินเหล้าเมาสุราในเขตขัณฑสีมา และก็
ร้องรําทําเพลง แอ่นหน้า แอ่นหลัง ต่อหน้าองค์พระพักตร์องค์พระพทุ ธเจ้า ขาดความเคารพ พระองค์มีบวช
มแี หไ่ หม แต่ต้องเดนิ ทางไกล แรงม้ากัณฐกะเหาะไป เข้าจงึ นิยมเอาม้าแห่นาค เอาอยา่ งพระพทุ ธเจ้าบ้าง

ความจริงเดินมาครึงกิโลเมตร จะแห่ม้าทําไม และมีสัปทน คือ ร่ม เดนิ ทางข้ามทุง่ นามา๑๖ โยชน์
กว่าจะมาถึงวัดเชตวัน ก็ต้องมรี ่มกาง เข้าเขตแล้วต้องเคารพ ต้องลดร่ม ถอดรองเท้า เข้าในเขตขัณสฑีมา
เคารพพระพุทธเจ้าเถิด โยมจะไม่เป็ นหนีสงฆ์นะ ขอฝากไว้ด้วย

หนีบุญคุณของสงฆ์ พระท่านสอนโยมใช่ไหม ก็เป็นหนีสงฆ์ สอนโยมให้สร้างความดี โยมได้
ปฏบิ ัติกรรมฐาน โยมจะรู้ว่าโยมเป็ นหนีสงฆ์ ถ้าโยมปฏิบัติกรรมฐานไม่ได้ ก็ไปว่าพระสงฆ์องค์ชี เอาดี
ไม่ได้

มาวัดก็มาใชห้ นีสงฆ์ สรา้ งความดีออกจากวัดไป ไม่ใช่มาหาเรืองกับพระ มาทะเลาะกับพระ มา
จับผดิ พระ นั นแหละมาสร้างหนี ในวัดทีเดียว น่าสงสารมาก

อาตมามานั งนี พิจารณาตั งแต่เดินแล้ว ว่าใครสร้างพรมปฏิสังขา โยนิโส เสนาสนัง ปฏิเสวามิ คนที
สร้างพรมจะได้บญุ เหมือนหว่านพืช หวังได้ผล โยมอยา่ ไปหว่านข้าวบนยอดเขา อย่าหว่านข้าวในป่ า คง
ไม่ได้บญุ ไม่ได้พชื พันธุ์ธัญญาหาร แถมเสียข้าวปลูกไปเปล่า ไมเ่ กิดประโยชน์แตป่ ระการใด

พระเดียวนีใช้หนี ใคร ปากหมุบหมบิ ว่ากระไรกไ็ ม่ทราบ นีแหละอาตมานึกถึงบญุ คุณโยมเหลือเกิน
นะจ๊ะ งานศพอาตมารีบให้โรงผีก่อนใช้หนีโยมเหมือนกัน

โยมใหค้ า่ ข้าวสุกข้าวสารแต่ละเม็ด อาตมาจะไมล่ มื อาตมาฉันข้าวคนอืนยาก แต่ละเม็ดนีนับหนึงถึง
สิบเม็ด ฉันเข้าไปแล้วจะใชห้ นี โยมอะไร โยมทํามาหายาก ทํามาด้วยความลําบากประการใด รู้อย่างไร จะรู้
จริง ทกุ สิงน่าเศร้าใจ ดังนั นอาตมาจงึ ขออธิษฐานจิตให้กลับมาก่อน ทีคอหักไปนั น อาตมายังใช้หนี โยมไม่
หมด โยมส่งปิ นโต โยมส่งคาวหวาน ยังใช้หนี ไม่หมดเลย ก็ปฏภิ าณตนว่า

“จะทํางานพระพทุ ธเจ้าให้แก่ประชาชน จะทํางานสาธุชนให้เป็นผลงานของเรา สิงใดทีไม่
เหลือวสิ ัยหนึง สิงใดทีไมผ่ ิดตามวินยั พระธรรมคําสอนหนึง สิงใดไม่ผิดกฏหมายบ้านเมืองหนึง อาตมาจะ
ช่วยหัวยันป้ าย”

ทหี อประชุมวัดอัมพวัน เสียงไม่ออก ข้างนอกไมเ่ ข้า ไมผ่ ดิ กฎหมายบ้านเมอื ง มิฉะนั นบ้านเมืองเขา
จะปรับเอา ชาวบ้านเขาจะรอ้ งทุกข์ วัดนี หูหนวกเหลอื เกิน

เพราะบ้านมีกลุ่มทั งยักษ์ ทั งมนุษย์ ยักษ์ไม่ชอบเสียงพระ มนุชษอยบ์ เสียงพระ มันก็ทะเลาะกัน
อาตมาภาพประธานสงฆ์ ขออนุโมทนา อาตมาขอยืนยันกับญาตโิ ยม ปณธิ านน“ี จะใช้หนีโยมจน
ชีวิตหาไม่”
สร้างหอประชุม สร้างศาลาขึ นมา เพือใช้หนี โยมพาลกู หลานมาอบรมนะจ๊ะ พาพีป้ านา้ อามาเข้า
กรรมฐาน อาตมาจะได้มโี อกาสใช้หนี โยม ด้วยการสอนกรรมฐาน ให้เอาความดีให้โยม เป็นการใช้หนีโยม
คา่ ข้าวสุก ค่านํ าปานะ ไม่ใช่กินของโยมเปล่าๆ

ในวันนี ทา่ นจะได้ความสุขในอนาคต สองคณู ขึ นไป นึกถงึ บญุ เมือใด ชืนใจเมือนั น นึกถึงศีลเมือใด
ชืนใจเมือนั น นึกถึงทานการบริจาคของท่าน ทา่ นจะดีใจเป็นนํ าย้อยกระบอกตาลลทะี หยด ทลี ะหยด นํ าตาล
กเ็ ต็มกระบอกได้ ขอให้หมั นทํา หมั นเพียรเวียนขวนขวาย สร้างแต่ความดีเถิด อยา่ ทะเลาะกันนะ สามีภรรยา
อย่าทะเลาะกันเลย อาตมาเสียใจด้วย อย่าไปตีลูกตีหลาน ดา่ ลกู ด่าหลานเลย ขอบิณฑบาตเสีย

อยู่ด้วยความชืนใจ อยู่ด้วยความใช้หนีบุญคุณกัน นึกถงึ ตอนได้กัน เกลือก็ว่าหวาน ชวนกันไป
จนกระทังถึงเมรุ พยายามจงู กันไปถึงสวรรคน์ ิพพานดังได้ชีแจงแสดงมา ในการใช้หนีในวันนี

อาตมาประธานสงฆ์ขอตังปณธิ านตอ่ หน้าโยม จะทาํ งานพระศาสนาด้วยความสามารถและจะบูชา

พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ บิดา มารดา ครูบาอาจารย์ ด้วยความสามารถและทําด้วยฝี มอื ของอาตมา

และคณะสงฆ์ ช่วยเหลอื ประชาชนให้พ้นจากกองทุกข์ถึงบรมสุขโดยทัวหน้ากัน
และโยมก็ปวารณาอาตมาบ้าง จงสร้างตัวเองให้ดี ใช้หนีตัวเองไป จะสําเร็จตามปรารถนาดังได้ชี แจง

ทุกประการ
อํานาจพรศักดิ สิทธิ ในสิ นปีนี จะบันดาลให้ทกุ ทา่ไนม่มีหนีสงฆ์ ไม่มีหนีของใครติดตัวท่านไป ท่าน

จะมีแต่ความบริสุทธิใจ จะมงั มีศรีสุข เป็ นมหาเศรษฐีในโอกาสปี นีตลอดกัลปาวสานเถดิ

ภาคผลงาน

กรมทหารราบที ๔ กบั วัดอมั พวัน
ร.อ.บญุ นาค มูลลา อนุศาสนาจารย์

ความสัมพันธ์ระหว่างกรมทหารราบที ๔ กับวัดอัมพวันนั น เกิดขึ นในป.ีศพ.๒๕๒๘ เรืองนีผู้เขียน
เองเพิงมารับราชการทกี องทหารราบที ๔ และมีโอกาสนํากําลังพลเข้าร่วมปฏิบัติธรรมตามโครงการ
ศลี ธรรมนําสุข ร.๔ รุ่นที ๕ เมือ ๑๘ – ๒๗ ต.ค. ๓๒ ซึงได้รับการบอกเล่าทีมาของโครงการนี จากพ.อ.
เจริญ เนตรแพ รองผู้บังคับบัญชาการกรมทหารราบท๔ี (ปัจจุบันทา่ นได้รับการปรับย้ายใหไ้ ปเป็น
ผู้อํานวยการกองการยทุ ธการกองทัพน้อยท๓ี ) ว่า ทา่ นเป็นผู้หนึงทีได้ผลักดันให้มโี ครงการนี ขึ นมา เพือ
เสนอกับผู้บังคับการกรมในขณะนั น คือ พ.อ.สมหมาย วิชาวรณ์ (ปัจจุบันเป็น รองผบ.พล.ร. ๔) ก็ด้วยความ
สลดใจทีได้เห็นกําลังพลของท่านติดอยู่ในอบายมุข ซึงกําลังพลบางนายถึงกับเป็นโรคพษิ สุราเรือรัง ทําให้
ปฏิบัตริ าชการเกดิ ความบกพร่อง

ท่านมาคิดหาวิธีทจี ะแก้ปัญหากําลังพลเหล่านั นอยู่หลายวิธี แต่ละวิธีนํามาแก้ปัญหาแล้วไมถ่ กู จุด จงึ
ไมส่ ามารถแก้ปัญหาให้ตกได้ จึงมาคิดอกี ว่า ทางพระพุทธศาสนานั น พระพุทธเจ้ามพี ุทธวิธีทีสามารถ
แก้ปัญหาได้ โดยเฉพาะหลักสมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน เป็นการชําระล้างจิตใจให้บริสุทธิ ได้
เป็นอยา่ งดีทีเดยี ว จึงคิดแก้ปัญหากําลังพลด้วยพระพุทธศาสนา ท่านได้ปรึกษาแนวทางนี กับอนศาุ สนาจารย์
และให้อนุศาสนาจารย์ได้ไปสาํ รวจหาวัดทีปฏิบัตดิ ้านวิปัสสนาทมี คี นนับถือ ซึงไมไ่ กลไมใ่ กล้จากกรม
ทหารราบที ๔ สาํ หรับอนุศาสนาจารย์ กรมทหารราบที ๔ ในขณะนั น ท่านก็ไม่บอกว่าเป็นใคร เข้าใจว่า
น่าจะเป็ น ร.อ.สมัย ศรีสังข์ หรือ ร.อ.อาํ นวย อูปแก้ว เพราะจากการตรวจสอบแล้วยังไม่ชัดเจน เมือ
อนุศาสนาจารย์ได้รบั นโยบายดังนั น ก็ต้องระลกึ ถึงวัดอัมพวัน เพราะวัดอัมพวันนั นไมใ่ กล้ไม่ไกลจากกรม
ทหารราบที ๔ ไปมาได้สะดวก นอกจากนั นยังมพี ระวิปัสสนาจารย์ทีมีชือเสียงโด่งดัง มลี ูกศษิ ย์ลูกหาจาก
การปฏิบัตจิ ากสาํ นักของท่านมีอยู่ทวั ประเทศ คือ พระภาวนาวสิ ุทธิคุณ และอนุศาสนาจารย์กองทัพบก
ทั งหมดก็ผ่านการปฏิบัตจิ ากสํานักของท่าน และเป็นศษิ ย์ของสาํ นักปฏิบัตวิ ิปัสสนากรรมฐานวัดอัมพวัน
ทั งนั น จึงได้กราบเรียนความประสงค์นี ให้หลวงพ่อพระภาวนาวิสุทธิคุณให้ทราบว่า จะจัดกําลังพลกรม
ทหารราบที ๔ คา่ ยจิรประวัติ เข้าปฏิบัติธรรมทีวัดนี หลวงพ่อทา่ นกอ็ นุโมทนาในบุญในกุศลในอันนี ซึงจะ
เกิดขึ นจากการปฏิบัติดีปฏิบัตชิ อบของกําลังพลดังกล่าว

จากนั นอนศุ าสนาจารย์ กรมทหารราบท๔ี จึงได้เสนอให้ผู้บังคับบัญชาทราบ และได้ร่วมกัน
วางแผน และเขียนโครงการนีขึ นมา โดยให้ชือว่า“โครงการศีลธรรมนําสุข กรมทหารราบที ๔”

ความมุ่งหมายของโครงการ
เพอื ให้กําลังพลได้ศึกษาและปฏิบัติเพือนําไปกล่อมเกลาจิตใจให้เกิดพลังและความเข้มแขง็ สามารถ

นําไปใช้ในชีวิตประจําวัน และปฏิบัติราชการใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด

วตั ถุประสงค์
๑. เพือให้กําลังพลเหน็ โทษของอบายมุข โดยเฉพาะการดืมสุรา, การเล่นการพนันและการเป็ นหนี
สิ นรุงรัง มีเป้ าหมายให้สามารถลด ละ และเลิกในทีสุด
๒. เพือปลูกฝังและส่งเสริมกําลังใจ ให้เกิดศรัทธายึดมั นในคุณธรรมของศาสนา และมี
แนวความคิดในการนําธรรมมาพัฒนาจติ ใจของตนเอง
๓. เพือให้รู้จักระงับกิเลสดว้ยการเจริญกุศลขั นทาน ศีล สมาธิ ในทกุ โอกาส
๔. เพือขัดเกลากิเลสด้วยการเจริญปัญญาให้รู้สภาพธรรมตามความเป็นจริง

วธิ ีดาํ เนินการอบรม ฝึกอบรมตามโครงการ การฝึกอบรมแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม คอื
๑. กลุ่มทีหนึง ใช้ระยะเวลาในการอบรม ๒ วัน คือ วันเสาร–์ วันอาทิตย์ มกี ารฝึกวิปสั สนาอยา่ ง
เดียว ไม่มีภาควิชาการ สถานทีใช้ วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี
๒. กลุ่มทสี อง ถือเป็นกลุ่มเร่งด่วนอันดับแรก แบง่ ออกเป็น๒ ขั นตอนคือ
ขันตอนที ๑ ภาควชิ าการ
ก. การศึกษาอบรมตามหลักสูตร ใช้เวลา๑ สปั ดาห์ หรือ ๓๕ ชั วโมง
ข. การจัดให้มีกิจกรรมเสริมในระหวา่ งการอบรม เช่น การไหว้พระสวดมนต์ การ
สมาทานศีล การฟังการบรรยาย การฝึกอบรมสมาธิเบืองต้น
ค. การจัดพธิ ีกรรม การถือสัจจะปฏิภาณตนตอ่ หน้าพระรัตนตรัย
ขันตอนที ๒ ภาคปฏิบัติ คือ การฝึกและการพัฒนาจิตนอกสถานที
ก. นํากําลังพลทีเข้ารับการอบรมมาแล้วตามข้อ๑ เข้าคา่ ยรับการฝึกโดยกําหนดทีวัด
อ ั มพว ั น
ข. จัดให้มีการถืออุโบสถศีลและฝึกอบรมทางจิตเฉพาะ โดยใช้หลักวิปัสสนา
กรรมฐานตลอดเวลาทีเข้าฝึ กอบรม

ผู้เข้ารับการฝึ กอบรม
๑. กลุ่มหนึง นายทหาร นายสิบ ผู้มจี ิตศรัทธาสมัครเข้าร่วมโครงการ
๒. กลุ่มทสี อง นายทหาร นายสิบ ซึ งผบ.หน่วยระดับ ผบ. ร้อย. ขนึ ไปพจิ ารณาคัดเลอื ก

หน่วยเข้าการรับอบรม
๑. กองร้อยขึ นตรง กรมทหารราบที๔
๒. กองพันทหารราบที๑ กรมทหารราบที ๔
๓. กองพันทหารราบที๒ กรมทหารราบที ๔ (หน่วย ๑ – ๓ ตั งอยู่ในค่ายจริ ประวัติ อ.เมอื ง จ.
นครสวรรค)์
๔. กองพันทหารราบที๓ กรมทหารราบที ๔ (ตั งอยู่ทีค่ายสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช อ.เมือง จ.
พิษณุโลก)

๕. กองพันทหารราบที๔ กรมทหารราบที ๔
๖. กองพันทหารราบที๕ กรมทหารราบที ๔ (หน่วย ๔ – ๕ ตั งอยู่ในคา่ ยวชิรปราการ อ.เมือง จ.

ตาก)
นอกจากนั นยังมีหน่วยใกล้เคียงส่งเข้าร่วมปฏิบัตอิ กี ด้วย

การดาํ เนินการฝึ กอบรม
โดยการจัดตั งกองอํานวยการฝึกอบรมขึน โดยให้มีผู้อํานวยการฝึ ก คือ ผู้บังคับการกรมทหารราบที

๔ (คนเก่า พ.อ.สมหมาย วิชาวรณ,์ คนปัจจบุ ัน พ.อ.ชลอ ทองศาลา) รองผู้อํานวยการฝึก, ผู้ช่วยผู้อํานวยการ
ฝึก, นายทหารโครงการ, ผู้ควบคุม, ผู้ช่วยผู้ควบคมุ , เจ้าหน้าทเี สนารักษ์ และเจ้าหนา้ ทีประจกําองอํานวยการ
ฝึก โดยเจ้าหน้าทเี หล่านี ตั งแตน่ ายทหารโครงการลงมา จะร่วมอยู่ปฏิบัตริ ่วมกับผู้เข้าปฏิบัตติ ลอดห้วงากร
ปฏบิ ัติ โดยเฉพาะนายทหารโครงการนั น จะต้องเป็นระดับผู้บังคับกองพันขึ นไป จึงนับว่าโครงการนี ได้มผี ู้
หลักผู้ใหญใ่ ห้การสนับสนุนและเข้าร่วมปฏิบัติดว้ย เพอื เป็นขวัญและกําลังใจแก่ผู้เข้าปฏิบัตเิ ป็นอย่างมาก

การดาํ เนินการ
ได้ดําเนินการมาแล้ว จํานวน๕ ครั ง(๕รุ่น) (ตั งแต่ พ.ศ.๒๕๒๘ – ๒๕๓๒) มีผู้ผ่านการอบรมแล้ว

รวมทั งสินจํานวน๒๘๗ นาย โดยเฉพาะรุ่นที ๕ ซึงได้เข้าปฏิบัติตั งแต๑่๘ – ๒๗ ต.ค.๓๒ นัน นับว่าปเ ็น
รุ่นทีโชคดีทสี ุด เพราะได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมบําเพ็ญพระราชกุศลถวายแดพ่ ระปิ ยมหาราช เนืองในวันปิ ย
มหาราชดว้ ย ได้เห็นพธิ ีทีถูกต้อง และได้รับเหรียญพระปิยมหาราชจากหลวงพ่อพระภาวนาวิสุทธิคณุ ด้วย

ผลทไี ด้จากการปฏิบัติ ระหว่างทีมกี ารปฏิบัติ จะให้มกี ารประเมนิ ผลดังนี
๑. ให้นายทหารโครงการ, ผู้ช่วยนายทหารโครงการ, ผู้ควบคุม และผู้ฝึกอบรมวัดผลด้วยการติดตาม

สังเกตผู้เข้าอบรมอย่างใกล้ชดิ และแก้ไขข้อบกพร่องของแตล่ ะวัน
๒. ออกแบบสอบถามให้ผู้เข้ารับการอบรม กรอกข้อความก่อนจบการอบรม๑ วัน เพือมอบแก่ทาง

วัด๑ ชุดส่งกรมทหารราบที ๔ จํานวน๑ ชดุ
๓. การรายงานผลการฝึ กอบรม ให้หน่วยทีส่งกําลังพลเข้ารับการอบรมส่งให้กรมทหารราบท๔ี

ทราบทกุ เดือน
ในวันปิ ดการอบรมการปฏิบัติธรรม ผู้บังคับการกรม และหน่วยขึ นตรงจะนําผ้าป่ าซึงจะมีทั งเงิน

และข้าวสาร มาทอดถวายเพือเป็นทุนในการปฏิบัติธรรมตอ่ ไป
เป็นทีน่ายนิ ดีอยา่ งยิงว่า จากการสํารวจและประเมินผล กําลังพลทีเข้าปฏิบัติธรรมทสี าํ นักวัดอัมพ

วันของกรมทหารราบที๔ มกี ําลังพลทีสามารถเลิกอบายมุขได้อย่างเด็ดขาด โดยเฉพาะสุรา บุหรี จํานวน
๔๘ นาย และสามารถลด ละสุรา บุหรีได้จํานวน ๑๔๗ นาย และทีปฏิบัติดีปฏบิ ตั ิชอบในชีวิตประจําวนั อีก
เป็ นจํานวนมาก

สรุปแล้วการปฏิบัตธิ รรมตามโครงการศีลธรรมนําสุข ของกรมทหารราบท๔ี ทัง๕ รุ่น ได้ผลเป็ นที
น่าพอใจเป็ นอย่างดยี ิง โดยเฉพาะผลในการเสริมสร้างกาํ ลังใจ ในอันทีจะละเว้นความชัว ทําคุณงามความดี
ซึงจะเป็ นประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว หน่วย และแก่ประเทศชาติ การแก้ปัญหาด้วยหลักภาวนาตาม
นโยบายของกองทัพบกนี นับว่าเป็ นการแก้ปัญหาได้ตรงจุดทีเดียว เพราะเมือบุคคลเกิดสาํ นึกในคุณธรรม
ด้วยตนเองแล้ว จะเกิดศรัทธาอันเกิดจากจติ ใจ เข้าถึงจิตใจโดยไม่ต้องมีใครบังคับ ไม่มีการลงโทษหรือลอ่
ด้วยอามิสสินจ้างใดๆทั งสิ น อยากจะละชั ว กระทําความดีด้วยตนเอง

จากการสัมภาษณ์กําลงั พลทีเข้าปฏิบัตินัน เขายอมรับว่าเขามีแนวคดิ ใหม่ๆ ในทางสร้างคุณงาม
ความดี เป็ นวธิ ีดาํ เนินการปกครองตนเองทเี ยียมยอด การดําเนินงานตอ่ ไปตามโครงการนี จึงเป็นการทําให้
กําลังพลได้เข้าถงึ ธรรมโดยแท้ และบญุ กุศลอันนี กน็ ่าจะได้แก่ผู้บังคับบัญชาด้วยเช่นกัน

วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรีกับวัดอัมพวัน

สุทนิ สุวรรณมาศ

ในปีการศกึ ษา ๒๕๒๗ กระทรวงศกึ ษาธิการได้กําหนดให้บรรจุวิชาพระพุทธศาสนาเข้าไว้ใน
หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) เรียนตลอด ๓ ปี ในหลักสูตรกําหนดให้เรียนทั งภาคทฤษฎี
และภาคปฏิบัตกิ รรมฐาน ซึงวิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรียงั ขาดบุคลากรทมี ีความรู้ความสามารถในพระ

ธรรมคําสังสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างแตกฉาน ตลอดจนกระทงั แนวทางในการทจี ะ

ปฏิบัติตามหลักพระธรรมคําสังสอนเพือให้บรรลุตามจุดประสงค์ของหลักสูตร ตลอดจนสามารถนําไปใช้ให้

เกิดความสงบสุขในการดาํ รงชีวิตของตนเองและการอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างแท้จริง
วิทยาลัยฯ ได้พจิ ารณาหาแนวทางในการทจี ะปลูกฝังทัศนคติทีดีต่อวิชาพระพุทธศาสนา จึงเสาะ

แสวงหาแหล่งทใี ห้ความรู้ทั งภาคทฤษฎีและปฏิบัติกรรมฐาน ได้รับคําแนะนําจากนางสาวดรุณี ญาณวัฒนา
วา่ ทีวัดอัมพวัน .อพรหมบรุ ี จ.สิงห์บรุ ี เป็นสถานทีปฏิบัตธิ รรมแก่พทุ ธศาสนกิ ชนทัวไป มคี วามสะอาดร่ม
รืน โดยเฉพาะอย่างยิงมีห้องนํ าหอ้ งส้วมเป็นจํานวนมาก พอทจี ะรับนักศกึ ษาทจี ะเข้ารับการอบรมและพักใน
วัดได้ ข้าพเจ้าและนางสาวดรุณี ญาณวัฒนา จึงได้ไปติดต่อขอคําแนะนําจาพกระครูภาวนาวิสุทธิ  เจ้า
อาวาส หรือทีบุคคลทั วไปเรียกทา่ นว่าหลวงพอ่ จรัญ ท่านได้เมตตากรุณาตอ่ วิทยาลัยฯ อยา่ งมาก โดยทา่ น
เป็นผู้วางโครงการ เป็นวิทยากรและจัดหาวิทยากรเพิมเติมให้ ในปี การศึกษานี ทวิยาลัยฯ จึงได้จัดนักศกึ ษา
ระดับปวช. ๓ ทุกชั นทุกแผนก รวม๒๓๐ คน มาเข้ารบั การศึกษาอบรม ตั งแต่เวลา๐๕.๐๐ น. – ๒๒.๐๐ น.
และพักค้างคืนทีวัดระหว่างวันท๑ี ๘ – ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ เป็นเวลา ๖ วัน

ในวันแรกทีเริมเข้าปฏิบัตธิ รรม คณะคร–ู อาจารย์ผู้ควบคุม มคี วามกังวลและหนักใจในเรืองกิริยา
มารยาท การเดิน การพดู คุย การไม่ตรงต่อเวลา การรับประทานอาหาร การอยู่ร่วมกันในทีพัก ฯลฯ ของ
นักศึกษาเป็นอยา่ งมาก แต่เมือเข้าวันทีสองของการอบรม ทุกอยา่ งทีเป็นเรืองหนักใจของครูอาจารย์ที
ควบคุมก็ผ่อนคลายลง และดีขึนตามลําดับ ทนั งีเพราะด้วยความสามารถของวิทยากรประจําวัดอัมพวัน ซึง
ได้แก่ อุบาสิกายุพิน บําเรอจิต และ พันโทวิง รอดเฉย ทีให้การอบรม และเสนอแนะว่าผู้มาปฏิบัติธรรม ต้อง
มคี ุณลักษณะทดี ีงามอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิงหลวงพอ่ จรัญ ท่านมีวิธีการทีจะชีแนะให้นักเรียนรู้ถึงควมามี
โชคดีทมี ีโอกาสเกิดมาเป็นมนุษย์ แล้วยังได้มโี อกาสศกึ ษาเล่าเรียนจนถึงระดับนี ในขณะทเี ด็กอีกหลายคน
ไม่มโี อกาส เนืองจากผลบุญกรรมของแตล่ ะคนทีได้สร้างไว้ เมอื มีโชคดีอย่างนีแล้วก็ให้เร่งกระทําความดี
สะสมไว้

จากการทนี ักศึกษาได้เข้ามาปฏิบัตธิ รรมรุ่นนีแล้ว ทางทวิยาลัยฯ ได้พิจารณาแล้วเห็นว่าการที
นักศึกษาได้เข้าไปปฏิบัตธิ รรมกับท่านทีมีความรู้อย่างแท้จริง ในสถานทที ีมีความพร้อมทั งทางด้านวัตถลแุะ

 อดตี ผู้อํานวยการวิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสิงห์บุรี ปัจจบุ ันเป็ นผู้อํานวยการวทิ ยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา
 พระภาวนาวิสุทธิคุณ

จิตใจ ทําให้ได้รบั ผลในการศึกษาหาความรู้ และการปฏิบัติธรรมในพระธรรมคําสังสอนเป็นอย่างมาก
วิทยาลัยฯ จงึ ได้ยดึ ถือเป็นแนวปฏบิ ัติว่านักศึกษาทุกคนจะต้องได้ไปปฏิบัติธรรมเพือพัฒนาจิตใจและ
จริยธรรม ทวี ัดอัมพวัน อย่างน้อยคนละ๑ ครั ง ซึงทางวิทยาลัยฯ ไดจ้ ัดให้มีการอบรมนักศึกษาจนถงึ ปัจจุบัน
นี (ปี การศึกษา ๒๕๓๒) นางสาวประดบั มุ่งกาํ จัดเป็นผู้อํานวยการฯ ดําเนินการสืบต่อมา รวม๒๒ รุ่น

ในปีการศึกษา ๒๕๒๙ วิทยาลัยฯ ยังได้ดําเนินการตามนโยบายของกรมอาชีวศกึ ษาเกียวกัยการ
พัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา ทั งทางด้านคณุ ธรรมและจริยธรรม ด้วยการจดั โครงการอบรมพัฒนาจิตใจ
และจริยธรรม ให้กบั คณะครู – อาจารย์ของวิทยาลยั ฯ ในระหว่างวันท๔ี – ๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๙ รวม
๔ วัน ณ วัดอัมพวัน

ในปีการศึกษา ๒๕๓๐ วิทยาลัยในกลุ่มสถานศึกษาประเภทคหกรรมศาสตร์ พาณิชยกรรม และ
ศิลปหัตถกรรม เขตการศึกษา ๖, ๑๒ คณะกรรมการกลมุ่ ซึงข้าพเจ้าในขณะนั นดํารงตําแหน่งผู้อํานวยการ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงหบ์ ุรี เป็นประธานกลุ่มฯ ได้พิจารณาเห็นควรทจี ะได้มกี ารพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรม
ให้กบั ลูกจ้างทุกประเภทของทุกวทิ ยาลัยโดยมอบหมายใหว้ ิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงห์บุรี เป็นผู้วางโครงการ
และประสานงาน จึง
ได้จัดโครงการอบรมออกเป็น๒ รุ่นๆ ละ ๘ วัน รุ่นแรกระหว่างวันท๒ี ๗ กันยายน ถึงวันท๔ี ตุลาคม พ.ศ.
๒๕๓๐ รุ่นทีสองระหว่างวนั ที ๑๘ – ๒๕ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๓๐ ทั งนี เพือไมใ่ ห้การปฏิบัติงานตามหน้าทีใน
สถานศึกษาต้องหยดุ ชะงักผลทไี ด้จากการอบรมเป็ นทีน่าพอใจ คือ ทุกคนมคี วามรับผิดชอบในหน้าที ขยัน

และเห็นประโยชน์ต่อส่วนรวมมากขึน หลายคนสามารถละเว้นการดืมสุราได้โดยเด็ดขาด ซึงก่อให้เกิดผลดี
ต่อหน้าทรี าชการและชีวิตส่วนตัวเป็ นอยา่ งมาก

ดังนั นในปี การศึกษา๒๕๓๒ สถานศึกษาในกลมุ่ ฯ ซึงมนี างอาํ นวย ศิริมาศ ผู้อํานวยการวิทยาลัย
อาชีวศึกษาชลบุรี เป็นประธานกล่มุ สืบมา ได้มอบหมายใหว้ ิทยาลัยอาชีวศึกษาสิงหบ์ ุรีเป็นผู้ประสานงาน
และจัดโครงการอบรมจริยธรรมให้กบั บุคลากรในสถานศกึ ษา ๒ กลุ่ม

กลุ่มที ๑ ได้แก่ ลกู จ้างทุกประเภท ซึงแบง่ ออกเป็น๒ รุ่น
รุ่นที ๑ ระหว่างวันท๒ี ๑ – ๒๕ มถิ ุนายน ๒๕๓๒ รวม ๕ วัน
รุ่นที ๒ ระหว่างวันที๑๓ – ๑๗ กันยายน๒๕๓๒ รวม ๕ วัน

กลุ่มที ๒ ได้แก่ ครู อาจารย์ทที ําหน้าทีหัวหน้างนา ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา ฝ่ ายกิจกรรมนักศึกษา และ
ฝ่ายวางแผนและพัฒนา ระหว่างวันท๓ี – ๗ มกราคม ๒๕๓๓ รวม ๕ วัน

การปฏบิ ัตธิ รรมตามโครงการของคณะครู – อาจารย์ ลกู จ้างทกุ ประเภท และนักศึกษาต้องไปพัก
ค้างคืน ถือศีล๘ นุ่งขาวห่มขาว ซึ งได้รับความร่วมมือจากผู้เข้ารับการอบรมอย่างดยี ิงและพร้อมเพรียงกัน
โดยเฉพาะอย่างยิงในส่วนของครู – อาจารย์ และลูกจ้างทุกประเภท ได้เสนอให้มีการอบรมเป็นประจําทุกปี

ในปีการศกึ ษา ๒๕๓๓ กรมอาชีวศกึ ษาเปลยี นแปลงการจัดตั งกล่มุ สถานศึกษาใหม่ โดยรวม
วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยเกษตรกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษา โรงเรียนสารพัดช่าง และศูนย์ฝึกวิชาชีพ เข้าเป็น

กลุ่มเดียวกัน ข้าพเจ้าหวังว่าคณะกรรมการบริหารกลุ่มฯ จะได้พิจารณานําโครงการอบรมนีบรรจเุ ข้าไว้ใน
โครงการตอ่ ไป

สรุปการเข้าอบรมจริยธรรมของวิทยาลัยอาชวี ศึกษาสิงห์บุรี ณ วัดอัมพวนั อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี

วันทเี ข้าอบรม ระยะเวลา รายการ จํานวนผู้เข้า ชั น

อบรมภาคปฏิบัติ รับการอบรม

ธรรม

๒๕๒๘ ๖ วัน นักศกึ ษา ๒๓๐ คน ปวช. ๓
๑๘ – ๒๓ มี.ค. ๓ วัน นักศึกษา ๑๒๒ คน ปวช. ๑
๒๘ – ๓๐ มิ.ย. ๓ วัน นักศกึ ษา ๑๑๑ คน ปวช. ๑
๙ – ๑๑ ส.ค. ๓ วัน นักศกึ ษา ๑๔๕ คน ปวช. ๒
๒๓ – ๒๕ ส.ค. ๓ วัน นักศึกษา ๘๔ คน ปวช. ๓
๑๓ – ๑๕ ก.ย. ๓ วัน นักศกึ ษา ๑๙๗ คน ปวช. ๒,๓
๒๗ – ๒๙ ก.ย. ๘ วัน นักศกึ ษา ๙๒ คน ปวส. ๒
๓ – ๑๐ ต.ค. ๘ วัน นักศึกษา ๑๓๘ คน ปวช. ๓
๘ – ๑๕ ธ.ค.

๒๕๒๙ ๘ วัน นักศึกษา ๑๑๕ คน ปวส. ๑, ปวท. ๑
๑๔ – ๒๑ ม.ี ค. ๔ วัน คณะครู – อาจารย์ ๖๐ คน
๔ – ๗ ม.ิ ย. ๓ วัน นักศกึ ษา ๗๙ คน ปวช. ๑
๔ – ๖ ต.ค. ๗ วัน นักศกึ ษา ๑๒๘ คน ปวส. ๑. ปวท. ๑
๗ – ๑๓ ต.ค. ๓ วัน นักศกึ ษา ๑๔๕ คน ปวช. ๑
๑๘ – ๒๐ ต.ค. ๓ วัน นักศกึ ษา ๑๑๐ คน ปวช.๑
๑๗ – ๑๙ ธ.ค.

๒๕๓๐ ๕ วัน นักศกึ ษา ๑๖๗ คน ปวช. ๑
๑๑ – ๑๕ ก.พ. ๕ วัน นักศึกษา ๑๑๐ คน ปวช. ๓
๒๐ – ๒๔ ส.ค. ๓ วัน นักศึกษา ๑๐๖ คน ปวส. ๑, ปวท. ๑
๒๙ – ๓๑ ส.ค. ๘ วัน ลกู จ้างทุกประเภท ๗๘ คน
๒๗ ก.ย. – ๔ ต.ค. ๘ วัน ลูกจ้างทุกประเภท ๘๘ คน
๑๘ – ๒๕ ต.ค.

๒๕๓๑ ๗ วัน นักศกึ ษา ๑๗๐ คน ปวช. ๓
๓ – ๙ ม.ค. ๓ วัน นักศกึ ษา ๑๓๐ คน ปวช. ๑
๑๕ – ๑๗ ก.ค. ๓ วัน นักศกึ ษา ๑๕๐ คน ปวช. ๑, ปวส. ๑,
๒๒ – ๒๔ ก.ค. ปวท. ๑

๒๕๓๒

๓ – ๗ ม.ค. ๕ วัน นักศึกษา ๑๓๐ คน ปวช. ๓
๒ – ๔ ม.ิ ย. ๓ วัน นักศกึ ษา ๓๐๐ คน ปวช. ๑
๒๑ – ๒๕ ม.ิ ย. ๕ วัน ลูกจ้างทุกประเภท ๕๘ คน
๑๓ – ๑๗ ก.ย. ๕ วัน ลกู จ้างทุกประเภท ๔๐ คน ปวช. ๓
๒๘ ธ.ค. – ๒ ม.ค. ๖ วัน นักศึกษา ๑๖๓ คน
๓๓
๒๕๓๓ ๕ วัน คณะครู-อาจารย์ ๙๒ คน
๓ – ๗ ม.ค. ๓๓ เขตการศกึ ษา๖,๑๒

จดหมายจากอดตี สามเณรภาคฤดูร้อน

สุธิน นิธิไชโย

กราบนมัสการ ท่านพระครูสังฆรักษ์ชชู ัย อริโย
กระผมฝากกราบนมัสการพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระภาวนาวิสุทธิคณุ และพระพีเลียงทุกทา่ น
กระผมกราบขอบพระคุณในความกรุณาของทา่ นพระครูอยา่ งมาก ทีได้กรุณาส่งเทปมาให้กระผม

กระผมได้ฟังแล้ว ทําให้กระผมรู้สึกเหมือนกับว่าได้กลับไปในเหตุการณ์นั นอีกครั งหนึง และกระผมได้
ข้อคิดหลายอย่างหลายข้อทีผมลืมไปแล้วกลับคนื มาด้วย ถ้าจะนับเวลาแล้วก็เป็นเวลา๑ เดือนเต็มทกี ระผม
ลาสิกขาบทมา ไมท่ ราบว่าทา่ นพระครูสบายดหี รือเปล่า ส่วนกระผมสบายดีครับ ไม่เจ็บไข้ ในช่วง๑ เดอื นที
ผ่านมานั น ผมได้พยายามหาเวลาในตอนช่วงเช้าและตอนเย็น สวดมนต์จากหนังสือสวดมนต์เล่มเล็กทที าง
วัดแจกให้ แต่บางวันก็ไม่มีเวลา ส่วนในการนั งวิปัสสนานั น ผมรู้สึกว่าจะทําได้ไมด่ ีอย่างตอนทบี วชอยู่และ
ไมก่ ้าวหน้าขึนเลย มีแต่จะลดลงและคงที อาจเป็นเพราะเหตุปัจจัยต่างๆ มากมาย เช่น กิเลสต่างๆ รอบตัวมี
มาก ยั วยุกิเลสภายในให้เกิดขึนมากกว่าตอนทีบวชอยู่ และอีกอยาง่ อาจเป็นเพราะผมนั นยังออ่ นหัดในการทํา
ความรู้จักตนเอง การนังของผมลดน้อยลงมาก แตผ่ มก็ยังปฏิบัติอยู่ในเรือสงติในชีวติ ประจําวัน โดยผม
พยายามทาํ ให้มีสตติ ืนอยู่ตลอดเวลาทียังไม่หลับ ให้มีสติรู้ตวั อยู่ให้มากทีสุดเท่าทีจะทาํ ไดซ้ ึ งรู้สึกว่าผมต้อง
ใช้เวลาชัวชีวิตนีในการปฏิบัตเิ พือเพิมสติ การปฏิบัตขิ องผม ผมรู้สึกว่าตัวเองมคี วามรู้สึกตัว มีสติเพิมขึน
กว่าเดิมพอสมควร เช่น เมือผมมีอารมณโ์ กรธขึ นมา ผมรีบตามดูใจทันที เมือผมรู้สึกตัวว่าเริ มโกรธขึ นมาิดน
หน่อยแล้ว ผมมาดใู จแล้วรู้สึกว่าใจนี เบาขึนกว่าแต่ก่อนนดิ หน่อยอารมณ์โกรธของผมน้อยลง ผมระงับได้ดี
ขึนตัดได้ดขี ึน ส่วนในเรืองความโลภนั น ผมรู้สึกว่ายิงเราอยใู่ นสังคม กิเลสตัวโลภนี จะมมี ากขึ น สิ งของ
ตา่ งๆ มันมีมาก ทําให้เราคอยแตจ่ ะไปชอบไปรักมันหากใจเราไม่ได้รับการฝึ กฝนอบรมมาดพี อแล้วละก็
จะต้องหลงเพลิดเพลินตามมันไปอย่างแน่นอน ตัวผมเองสามารถทจี ะลดได้บางสิงบางอย่างทีมันเบาๆ ส่วน
ในเรืองอนื ๆ ทมี ันรุนแรง ผมคงต้องใช้เวลาอกี สักระยะหนึงเพือฝึกตนเอง ผมมีความรู้สึกว่าการดํารงชตีวิ
ของฆราวาสกับของภิกษุสามเณรนีต่างกันมากๆ การดํารงชีวิตของภิกษุนั นมีแต่ความเบาสบาย ไมต่ ้องแกบ
สิงตา่ งๆ ให้หนัก หากมีความสันโดษ พอใจ และไมม่ คี วามโลภ หวังในลาภสักการะแล้ว และตั งใจปฏิบัติ
ธรรม ส่วนชีวิตฆราวาสนั น สิ งต่างๆ รอบตัวนั นล้วนบบี คั นจิตใจของคนเราทีได้รับการฝึกมาไม่ดีให้เป็นไป
ตามมัน ไปจับไปยึดมั นให้เราต้องมาแบกมันไว้ใหห้ นักโดยเราไมร่วู้ตคั นเราทุกวันนี จึงหลง เพราะเห็นว่า
สิงทเี ราแบกอยู่ทุกวันนี มันเป็ นของดี เห็นว่ามันไม่หนัก เพราะมันถูกกับกเิ ลสตัณหาของเขา เขาไม่เคย่อปยล
วางเหมือนกับนักปฏิบัติทุกทา่ นได้วางอยู่แล้วในขณะนี ผมหวังว่าสักวันหนึงในอนาคตอันไกล ผมคงมี
โอกาสถึงจุดๆ นั น คือ จดุ ทผี มได้วางทกุ สิงทุกอยา่ งจนหมดจากใจ ไม่ไปยึดติดกับมัน ซึงรวมทั งตัวตนอัน
ไมใ่ ช่ของเรา อันเน่าเปือยเน่าเหม็นผุพังนี ด้วยครับ

 จดั โดยยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทยฯ ร่วมกับวัดอัมพวัน ป๒ี ๕๓๓

ผมขอให้ท่านพระครูชว่ ยแนะนําสังสอนผมด้วยนะครับ ในความคิดทผี มเขียนมานี

ด้วยความเคารพอย่างสูง
สุชิน นิธิไชโย

๑๒๙๙/๙ ถ.กรุงเทพ – นนท์ บางซือ
ดสุ ิต กทม. ๑๐๘๐๐

๒๔ พฤษภาคม ๒๕๓๓


Click to View FlipBook Version