The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กฏแห่งกรรม ธรรมปฎิบัติ เล่ม ๒ หลวงพ่อจรัญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-17 20:46:32

กฏแห่งกรรม ธรรมปฎิบัติ เล่ม ๒ หลวงพ่อจรัญ

กฏแห่งกรรม ธรรมปฎิบัติ เล่ม ๒ หลวงพ่อจรัญ

Keywords: กฏแห่งกรรม ธรรมปฎิบัติ เล่ม ๒,หลวงพ่อจรัญ

พนั โทวงิ รอดเฉย

เกิดเมือ ๒๓ มกราคม ๒๔๖๒ ทบี ้านโพธิ รวม หม่ทู ๗ี อําเภอเมอื ง จังหวัดสิงห์บรุ ี อาชีพทํานา
การศึกษา จบชั นประถมบริบูรณ์ เมือปี๒๔๗๑ ในขณะนั น โรงเรียนชั นมัธยมมีอยู่แห่งเดียว ตั งอยู่ทจี ังหวัด
เทา่ นั น จังไมม่ ีโอกาสได้ศึกษาต่อ และได้ออกจากโรงเรียนมาประกอบอาชพี ทํานา เมืออายุครบกท็ ําการ
อปุ สมบท และไปอยู่กับอุปัชฌาย์ทวี ัดโพธิลังกา อําเภออินทร์บรุ ี จังหวัดสิงห์บุรี ประมาณ๔ เดือนก็บา
สิกขาจากเพศพรหมจรรย์มาสู่เพศฆราวาสตามเดิม

ในปี ๒๔๘๓ เดือนเมษายน ถูกคัดเลือกเข้ารับราชการทหารเป็นพลทหารกองประจําการ ประจําอยู่
ในค่ายสมเด็จพราะนารายณ์มหาราช จังหวัดลพบรุ ี ต่อมาได้รับการบรรจเุ ป็ นประจําการอยู่ในค่ายนั นตลอด
มา จนถึง ยศพันโท ในขณะรับราชการอยู่นั นมีสิงทที ําให้ได้รับการภูมิใจมากก็คือ ในป๒ี ๕๐๒ ได้รับการ
แต่งตั งใหด้ ํารงตําแหน่ง ผู้บังคับกองรอ้ ย อัตรารอ้ ยเอก ซึงเป็นกองร้อยเดียวกับเมอื เข้ารบั ราชการนเปพ็ ล
ทหาร

ตอ่ มาปี ๒๕๒๐ ได้รับพจิ ารณาเห็นว่า ลูกๆ๕ คน ได้จบการศึกษาและมงี านทํากันทกุ คนแล้ว เห็น
ควรลาออกจากราชการเพือพักผ่อน และหาโอกาสทําประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมบ้างตามโอกาสจะอํานวยให้
ทั งนี เห็นว่าเงินบํานาญทจี ะได้รับกเ็ พียงพอแก่การยังชีพสองคน ตายายแล้ว จงึ ขอาลออกจากราชการตั งแต่
เดือน พฤศจกิ ายน ๒๕๒๐ เป็นต้นไป รวมวันรับราชการอยู่ในค่ายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช โดยมิได้ย้าย
ไปอยทู่ ีอืนเลย เป็นเวลา ๗๗ ปี ๗ เดือน จากเงนิ เดือนทไี ด้รับจากพลทหาร เดือนละ๒ บาท จนถึง รบั เงิน
บํานาญขณะนี๑๐,๑๓๔.๒๐ บาท

เมือลาออกจากราชการมาแล้ว ได้ย้ายมาอยู่ภมู ิลําเนาเดิมของภรรยาทบี ้านเลขท๙ี ๗๒/๖ ถนนวิไล
จติ ตําบลบางพุทรา อําเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี และอยกู่ ันเพียง๒ คนตายายเท่านั น เพราะลกู ๆ ทํางานอยู่
ต่างจังหวัดหมด เมือไม่มีภาระด้านการงานแล้วจึงเข้าวัดทําบญุ รักษาศีลเช่นเดยี วกับชาวพทุ ธทั วไทปีวัดโพธิ
แก้วนพคุณ ใกล้ๆ บ้านนั นเอง และนอกจากนั นยังมีความสนใจในการศึกษาปฏิบัติธรรมตามคําสังสอนของ
สมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจ้ามาก เพราะยังไมเ่ คยศึกษามาแต่กาลก่อนเลย จึงเทยี วไปตามสํานักต่างๆ ทีมีการ
ปฏบิ ัติธรรมเช่นการบวชชีพราหมณ์เป็ นต้น

ผลสุดท้ายได้มาศึกษาและปฏิบัติธรรมที สํานักวัดอัมพวัน อําเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงหบ์ ุรี และเห็น
ว่าการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตามแนวสติปัฏฐาน๔ นั นน่าจะเป็นผลดีแก่การปฏิบัตเิ พราะเป็นการฝึก
สติ เมือมสี ติ เพ่งพจิ ารณาร่างกายของเราคือ รูป กับ นาม อยู่เป็นประจําแล้ว คงจะเกิดปัญญารู้สภาวะตาม
ความเป็ นจริงว่า ร่างกายของเราคอื อะไร เมือได้ตัดสินใจทจี ะปฏิบัตธิ รรม ณ สํานักนีแล้ว ก็ได้ขอกรรมฐาน
มอบกายถวายตัวต่อพระรัตนตรยั และ ครูบาอาจารย์(พระครู ภาวนาวิสุทธิ) และพระครูภาวนาวิสุทธิ ได้
เมตตาสอนการเดินจงกรม และการนั ง การกําหนด ตามอายตนะตา่ งๆ ดว้ ยตัวของท่านตั งแต่บัดนั นมาคือ
ประมาณปี ๒๕๒๒ และได้เข้าปฏิบัตใิ นห้องกรรมฐาน ครั งละ๑ เดือนอยู่ ๒ ครั ง และจะมาปฏิบัติทีวัดอัมพ

วันทุกๆ วันพระ วัดนี อยหู่ ่างจากภมู ิลําเนาประมาณ๑๓ กม. มาจนถึงทุกวันนี วันทีไมไ่ ด้มาวัดคงกระทําที
บ้านวันละ๒ ครั งหลังจากทําวัรตเช้า และ ทําวัตรเย็น

ในการปฏิบัติธรรมหากจะมีผู้ถามว่าปฏิบัติถึงขั นไหนแล้ว ข้าพเจ้าจะตอบไม่ได้เลย เพราะข้าพเจ้า
ไมส่ นใจว่าจะปฏิบัตไิ ด้ถงึ ขั นไหน คงปฏิบัตไิ ปตามทีครูบาอาจารย์สอนเทา่ นั น แผตล่จากการปฏิบัติเราจะ
เหน็ ว่า ด้านจติ ใจจะเปลียนไปในทางกุศลมากขึน เชน่ เหน็ ชัดใจเรือง บุญ บาปมีจริง และไม่ต้องไปรับถึงชาติ
หน้า ได้รับในปัจจบุ ันนีแหละ ตลอดจนเห็นชัดว่าร่ างกายของเราทีเห็นเป็นรูปร่างอยู่นี เป็นร่างทีเป็นกลางๆ
อยู่เท่านนั จิตของเรามันจะเปลียนไปเรือยๆ อยู่ตลอดเวลา เป็นสัตว์นรกบ้าง เป็นเปรต อสุรกาย สัตว์
เดรัจฉานบ้าง ถ้าเราปราศจากสติควบคมุ จิตทีเกิด ดับ อยู่ตลอดเวลา จะเป็นมนุษย์สมบูรณ์ และเป็นเทวดา
บ้างในเมือเรามีสติ อยู่ในศีลธรรมและมีความเชอื เรืองกฏแห่งกรรมโดยไมส่ งสัย และเชือถงึ การ จตุ
ปฏสิ นธิ จิต ให้เกิดในภพภูมิตา่ งๆ ๓๑ ภมู ิอย่างแนช่ ัด และจติ เกิดคุณธรรมเหน็ ได้ชัดคือ เกิดความเมตตา
สนั โดษ และ สติ กล่าวคอื เลิกเบียดเบยี นสัตว์ทกุ ชนิด ละความโลภลงได้มาก พอในในความเป็นอยู่ขณะนี
ว่าดีทีสุดแล้ว ไมส่ นใจไขว่คว้าหาทรัพย์อันเป็นสมบัติของกายอะไรอีกแล้ว

มงุ่ แต่หาทรัพย์ภายในอันเป็นสมบัติของใจ คือการให้ทาน รักษาศีล เจรญิ ภาวนา เทา่ นั น และ
สามารถกระทําได้จริง กล่าวคือ บริจาคทรัพย์ส่วนหนึงจากเงินบํานาญประกอบการกุศลอยู่เป็นประจํา
สามารถรักษาศีล ๕ เป็นปกติได้เป็นนิจ โดยเฉพาะวันพระสมาทานอุโบสถศีลทุกวันพระมาประมาณ๔ ปี
แล้ว โดยสมาทานวิรัติเอาเองในกาลทีทางวัดไมม่ กี ารสมาทาน และรักษาศลี ๘ เป็นประจําในโอกาสทีช่วย
แนะนําผู้ทมี าปฏิบัติธรรมและละความอยากในเรืองกินลงได้โดยสิ นเชิง คือในเวลาวิกาลจะไมด่ ืมนํ าปานะ
ใดๆ ทั งสิน เว้นแต่นํ าชาและนํ าธรรมดา และไม่มคี วามหิวกระหายด้วย ไม่ใยดีในทรัพย์สมบัตจิ นเกินควร
เช่นบ้านบางครั งสองคนตายายไปปฏิบัตธิรรมเป็นเวลา ๕ วันบ้าง๗ วันบ้าง ก็ใส่กญุ แจบ้านทิงไว้โดยไม่มี
ความกังวลใจใดๆ ทั งสิ น

เพียงแต่ตั งจิตอธิษฐานว่าหากทรัพย์สมบัติเป็นของเราจริง แล้วก็คงจะอยู่กับเราจนตลอดชีวติ จะหา
ไม่ ถ้าเป็นของคนอืนเขา ก็ให้เขาไปจะได้หมดเวรหมดกรรมกันไป ในด้านสติ ขณะปฏิบัติกรูต้็ ัวว่ายังมีสติ
กําหนดได้ยังไมด่ ีเทา่ ทีควร ขาดหลัก๓ ประการอยู่อีกมากคอื ปัจจุบัน สติ สัมปชัญญะ เพราะการกําหนดให้
ได้ปัจจุบันพร้อมด้วยความมสี ติสมั ปชัญญะนั น ยังกระทําได้น้อยครั งมาก แม้กระนั นก็ยังเกิดผลอยา่ งไม่น่า
เชือ คอื เมือมปี ัญหาต่างๆ เกิดขึ นกจ็ ะสามารถพิจารณาตกลงใจแก้ปัญหานั นๆ ได้ถูกต้องอยา่ งไม่น่าเชือเลย นี
เป็ นผลมาจากการเจริ ญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวปฏิบัติสติปัฏฐาน ๔

เมือประมาณปี ๒๕๒๗ มีผู้มาปฏิบัตธิ รรมมากขึ นท่านอาจารย์พระครู ภาวนาวสิ ุทธิ ให้มาช่วย
อบุ าสิกา ยพุ นิ บําเรอจติ เป็นวิทยากรแนะนําการปฏิบัตเบิ ืองต้นในเรือง วิปัสสนากรรมฐานให้กับคณะ
บุคคล หน่วยงาน และ หน่วยศึกษาทีหอประชุม ภาวนา-กรศรีทพิ า ตลอดมา สําหรับทวี ัดอัมพวันนี มที ี
ปฏบิ ัตธิ รรมอยู่ ๒ ที คือ ถ้าผู้มาปฏิบัติเป็นบุคคลหรือคณะเล็กๆ จะเข้าปฏบิ ัติทีห้องกรรมฐาน โดยมี
อุบาสิกา สุ่ม ทองยิงเป็นผู้สอน และทา่ นทเี คยมาปฏิบัติย่อมรู้จักดีว่าอบุ าสิกา สุ่มผู้นี มคี ุณธรรมทีน่าเคารพ
เลือมใสเพียงใด หากผู้มาปฏิบัตธิ รรมเป็นหมู่คณะมากๆ ก็คงปฏิบัตทิ ีหอประชุมภาวนา-กรศรีทพิ า ตามที

กล่าวมาแล้วข้างต้น และได้ช่วยแนะนําการปฏิบัติ ทีหอประชุมฯตลอดมาแทบไม่มีเวาลว่างจนถงึ บัดนี และ
ได้ปวารณาตัวไว้ว่าจะช่วยงานด้านศาสนาให้กับวัดอัมพวัน จนตราบเทา่ ร่างกายจะไมอ่ ํานวยหรือชีวิตหาไม่
โดยไม่คิดค่าตอบแทนประการใดทั งสิ น

ปัญหาของวิทยากร โดยความเห็นส่วนตัวเหน็ ว่า การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานนี เป็นเรือง
ละเอียดออ่ น โดยเฉพาะเป็นการฝึกจิต การฝึกจิตนียากมาก ยากกว่าการฝึ กใดๆทั งสิน เพราะเป็นการฝึกทีฝืน
ความรู้สึกสันดานเดิมของผู้ปฏิบัติ จงึ มักมอี ปุ สรรคนานับปการคอยขวางกั น ส่วนมากหน่วยทีมาปฏิบัติมา
เวลาน้อยมาก ส่วนมากมาแค่ ๓ วัน ทั งวันเดนิ ทางไปและกลับ จะมเี วลาปฏิบัติ เดินจงกรม และงนไัด้เพียง๗
ชั วโมงเท่านั น และผู้ได้รับการฝึกก็มีทั งเต็มใจมา และถูกบังคับมา จึงทําความหนักใจให้กับวิทยากรมาก
เพราะระยะเวลาเท่านี เราควรจะใหอ้ ะไรเขาไปได้บ้างทจี ะเป็นประโยชน์มากทีสุด เราจะฝึกตามขั นตอน
จริงๆ ไม่ได้ เพราะการฝึ กตามขั นตอนจริงๆ แล้ว จิต ทคเี ยเป็นอิสระ มาถกู ควบคมุ ด้วยสติ มากเข้า จิตจะดิน
รนอึดอัดกลัดกลุ้ม ผู้ฝึกจะต้องปลอบโยนควบคุม และเพิมเวลาในการปฏิบัติให้มากขึนตามขั นตอน เพือให้
จิตดินรนถึงทีสุด อยา่ งมากประมาณ๓-๔ วัน จติ จะเริมเชืองและเย็นลง ตอนนีแหละ ผู้ปฏิบัตจิ ะเหน็ คุณค่า
ของการฝึกจิตละว่ามปี ระโยชน์อยา่ งไร บางคนถึงกับร้องไห้เสียใจในการกระทําความชั วของตนทีแล้วๆ มา
ถ้าเวลาน้อย เราจะฝึกเช่นนั นแล้ว ผู้ฝึกกลับไปแล้วเข็ดขยาดไมก่ ลับมาอีก เพราะเขายังไมเ่ หน็ ผลทจี ะไบด้รั
นั นเอง นีแหละเป็นปัญหาของวิทยากร ว่าจะหาวธิ ีการฝึ กอย่างไรให้เหมาะสมกบั

เวลาและให้เกิดคุณค่ากบั ผู้รับการฝึ กไม่มากก็น้อยด้วยตามความเหน็ ของข้าพเจ้าว่าการฝึ ก
วิปัสสนากรรมฐานตามแนวนีอย่างน้อยการฝึ กครังหนึง ไม่ควรตํากว่า ๗ วัน

การประเมินผลเคยทําแบบสอบถามนักศกึ ษาทมี าจากวิทยาลัยต่างๆ หลายๆรุ่นว่า เช่น ข้อ๑ เต็มใจ
มาหรือถกู บังคบั ให้มา จะมีส่วนหนึงทีลงว่า ถูกบังคับมา แต่ข้อใกล้สุดท้ายจะถามว่า จะกลับมาปฏิบัตอิ กี
หรือไม่ มีเกนิ กว่า ๕๐% กรอกว่าจะมาอกี จึงพอสรุปได้ว่า การปฏิบัตธิ รรมนีผูป้ ฏบิ ัติพอจะเหน็ ผลดใี นการ
ปฏบิ ัติอยู่บ้าง แม้เวลาเพียงเล็กน้อย และเคยถามนักศึกษาประเภทนี หลายๆ คนาวท่ ําไมจึงอยากมาอีก เพราะ
เวลาปฏิบัติมีเวทนามากมายเหลือเกิน นักศึกษาจะตอบคล้ายกันว่า เวลานังแม้จะมเี วทนามากก็จริง แเตวล่ า
เลิกปฏิบัตแิ ล้วเขามีความสุขใจอย่างบอกไม่ถูก

การพัฒนาถาวรวตั ถุ
พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๓๑

เนอื งในวโรกาสอันเป็นมงคลสมัยทพี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวภูมิพลมหาราชทรงเจริญ
พระชนมายคุ รบ ๖๐ พรรษา เมือวันท๕ี ธันวาคม ๒๕๓๑ และในพิธีเฉลิมฉลองรัชมังคลาภเิ ษก ซึงตรงกับ
วันที๒ กรกฎาคม ๒๕๓๑ ทพี ระมหากษัตริย์ ผู้ทรงทศพธิ ราชธรรม ทรงเป็นพระปิยมหาราช เป็นทีรักยิง
ของพสกนิกร ทรงครองแผ่นดินโดยธรรมมานานถงึ ๔๓ ปี นานกว่าพระมหากษัตริย์พระองค์ใดใน
ประวัติศาสตร์ของชาติไทยนับเป็นมหามงคลพิเศษถึงสองสมัยต่อเนอื งกัน

ด้วยความสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ วัดอัมพวันได้ร่วมแสดงความจงรักภักดี ร่วมเฉลิมฉลอง
วาระมหามงคลนี ด้วยการพัฒนางานทั งทางด้านวัตถุ และจิตใจ โดยเฉพาะอย่างกยิารพัฒนาทางด้าน
ถาวรวัตถุ

ปี ๒๕๓๐ ได้เน้นหนักการพฒั นาทางด้านวัตถเุ ป็นพเิ ศษ เพือให้เป็นสัปปยะส่งเสริมการอบรมจิตให้
มีประสิทธิภาพสูงขึ น มีผู้ศรัทธาบริจาคทรัพย์สร้างทังเป็นคณะและส่วนบุคคลโดยไม่มกี ารเรียไรแต่ประการ
ใดจํานวน ๔ รายการดงั นี
๑. กุฏิภาวนา-อ๋องคณา

เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั น หลังคาทรงไทย ใช้เป็นทีปฏิบัตธิ รรมของภกิ ษุสามเณร ขนาด
กว้าง๓ วา ยาว ๗ วา ๒ ศอก อยู่ทางด้านทิศตะวันออกของโบสถ์

คุณแม่ล้อเอียน พันธมิตร คุณจรูญ และ คุณรัตนา อ๋องคณา เป็นผู้บริจาค ราคาประมาณ ๖๐๐,๐๐๐
บาท สรา้ งเสร็จเมือเดอื นพฤษภาคม ๒๕๓๐
๒. วหิ ารสมเด็จพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

เป็นทปี ระดิษฐาน รูปเหมือนสมเดจ็ พุฒจารย์ (โต พรหมรงั สี) ทา่ นั งประพรมนํ าพระพทุ ธมนต์
ขนาดวิหารกว้าง๒ วา ๒ ศอก ยาว ๖ ศอก อยู่ทางทิศใต้ของโบสถ์ ราคาประมาณ๑๐๐,๐๐๐ บาท สร้างเสร็จ
เมือเดือนมิถุนายน ๒๕๓๐
๓. อาคารพฒั น์พงศ์พานิช

เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั น ใช้เป็นทปี ฏิบัตธิ รรมของฆราวาส ขนาด๖ คูณ ๖ ตารางเมตร
อยูท่ างทิศใต้ของวัดใกล้โรงครัวคุณบุญยิง ลืออาํ รุง สร้างในนามสกุล “พฒั น์พงศ์พานิช” อุทศิ ให้ คุณพร
พฒั น์พงศ์พานิช ราคาประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท สร้างเสร็จเมอื เดือน ตลุ าคา ๒๕๓๐
๔. ศาลาเฉลมิ พระชนมายุ ๖๐ พรรษา

เป็นศาลาทรงไทย ใช้เป็นทตี ้อนรับปฏิสันถาร สาํ หรบั ผู้มาเยือนวัดอัมพวัน ขนาดกว้า๒ง เมตร ยาว
๓ เมตร อย่ทู างทิศตะวันตกหน้ากุฏิเจ้าอาวาส ราคาประมาณ๒๐,๐๐๐ บาท สร้างเสร็จเมือเดอื น ธนั วาคม
๒๕๓๐

ปี ๒๕๓๑ ได้มโี ครงการสร้างถาวรวัตถุ เพือใช้ในการบริหาร, บริการ และรับรองผู้มาศกึ ษา และ
ปฏิบัติธรรม เพิมเติมขึ นอีกจํานวน๑๐ รายการดงั นี
๑. กุฏ“ิ บุญถิน อตั ถากร รับรองพระเถระ”

เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ ชั น หลังคาทรงไทย ใช้เป็นทีรบั รองพระเถระและพระวิทยาการ
ทมี าให้การอบรม ขนาดกว้าง๓ วา ยาว ๓ วา ๒ ศอก อยู่ทางทิศตะวันตกริมแม่นํ าเจ้าพระยคาุณบุญถิน
ม.ร.ว. พรรณเรือง อตั ถาวร และ ดร.กงิ แก้ว อัตถาวร เป็นผู้บริจาค ราคา๔๐๐,๐๐๐ บาท สร้างเสร็จเมือ
มนี าคม ๒๕๓๑
๒. หอระฆัง หน้าวิหารสมเดจ็ พุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)

ใช้เป็นทีแขวนระฆังขนาดใหญ่ หล่อด้วยทองสัมฤทธิ หนัก๔๐๐ ก.ก. เส้นผ่านศูนย์กลาง๓๐ นิว
สูง ๓๔ นิว หลวงพ่อได้ไปทําพิธีหล่อทจี ังหวัดลําพูนเมอื เดอื นกุมภาพัน๒ธ์๕๓๑ ระฆังราคา๙๕,๐๐๐ บาท
หอระฆังราคา๑๐,๐๐๐ บาท
๓. ศาลาท่านํา “สุนีย์ พันธศุภร”

เป็นศาลาทรงไทย (สร้างแทนศาลาทา่ นํ าเดมิ ทรงปั นหยาซึงชําดรุมาก) ขนาดยาว ๓ วา กว้าง๗ ศอก
อยู่ทางทิศตะวันตกริมแม่นํ าเจ้าพระยคา ุณสุนีย์ พนั ธศุภร เป็นผู้บริจาคสร้างราคา ๑๒๐,๐๐๐ บาท สร้าง
เสร็จเมือเดือนพฤษภาคม ๒๕๓๑
๔. อาคารเนกขัมม์

เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ ชั น ใช้เป็นทีพักของผู้มาปฏิบัติธรรมฝ่ ายคฤหัสถ์ ขนาดกว้า๓ง
วา ๒ ศอก ยาว ๑๓ วา ๒ ศอก ติดกับหอฉนั ทางด้านใต้ ติดต่อกันอาคารพัฒน์พงศ์พานิช ทางด้านตะวันออก
มีห้องพัก๒๙ ห้อง ชั นลา่ งมหี ้องพัก๑๒ ห้อง ห้องนํ า๘ ห้อง, ชั นทีสอง มีห้องพัก๑๓ ห้อง ห้องนํ า๘ ห้อง,
ชั นทีสามมีห้องพัก๔ ห้อง ห้องนํ า๔ ห้อง และห้องโถงสาํ หรบั ปฏิบัตธิ รรม ขณะนีดําเนินการก่อสร้างไป
แล้ว ๒ ชั น ราคาประมาณ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
๕. อาคารหอสมุด

เป็นอาคามคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ ชั น ใช้เป็นหอสมุด และรบั รองพระภิกษุสงฆ์ทีมาอบรมปฏิบัติ
ธรรม ขนาดกว้าง๓ วา ๒ ศอก ยาว ๗ วา อยู่ทางทิศตะวันตกริมแม่นํ าเจ้าพระยาติดต่อกับก“ุฏบิ ญุ ถิน อัตถา
กร รับรองพระเถระ” ทางด้านใต้ ขณะนี กําลังดําเนินการก่อสร้างราคาประมาณ๖๐๐,๐๐๐ บาท
๖. กุฏิบุญยง-สาวิกา ว่องวานิช

เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั น หลังคาทรงไทย ใชเป้ ็นทีรับรองพระภกิ ษุสงฆ์ผู้มาปฏิบัติ
ธรรม ขนาดกว้าง๓ วา ๓ ศอก ยาว ๗ วา ๒ ศอก อยูท่ างทิศใต้ของกุฏิภาวนา-อ๋องคณา คุณบุญยง ว่องวานิช
เป็นผู้บริจาคสร้างอุทิศส่วนกุศลให้คุณสาวิกาว่องวานิช ภรรยาผู้ล่วงลับราคาประมาณ ๖๐๐,๐๐๐ บาท
ขณะนีกําลังดําเนินการกอ่ สร้าง
๗. หล่อพระประธาน

พระประธานปางสุโขทัยหน้าตัก๓๐ นิวเนือทองสัมฤทธิ หล่อเสร็จแล้วตั งบชู ากุฏิบุญยง-สาวิกา
ว่องวานิช ราคาประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท
๘. ห้องนํา

เพอื อํานวยความสะดวกให้แก่ผู้มาปฏิบัติธรรมในโอกาสทมี าพร้อมกันเป็นจํานวนมากหลวงพ่อจงึ
เตรียมสร้างห้องนํ าทางด้านใต้ของโรงเรียนวัดอัมพวจันํานวน๖ ห้องราคาประมาณ ๔๐,๐๐๐ บาท คาดว่า
จะดําเนินการให้เสร็จสนิ ภายในปี ๒๕๓๑
๙. ปรับพืนทีหน้าวัด

ดําเนินการถมดินในเขตจัดสรรผลประโยชน์ของสงฆ์พืนท๔ี ไร่ นอกกําแพงด้านเหนือติดทางเข้า
วัดให้สูงขึ นประมาณ๑ เมตรเทา่ กับระดับถนนขณะนี ได้ดําเนินการถมดนิ ไปแล้วพอควรมีผู้บริจาค
ค่าใช้จา่ ยในการถมดนิ ประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ บาท แตด่ ินยังไม่เตม็ พืนที
๑๐. กุฏิวสิ ุทธิ

เป็นกุฏิไม้ชั นเดียว ใช้เป็ นทบี ําเพ็ญภาวนาของพระภกิ ษสุ งฆ์ ผู้ปรารภความเพียรในทวี เิ วก ขนาด

กว้าง๒ วา ยาว ๖ ศอก จะดําเนินการก่อสร้างบนพืนทีในเขตจัดสรรผลประโยชนข์ องสงฆ์ หลังจากปรับ

ทดี ินเรียบร้อยแล้ว จํานวน๕ หลังๆละประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท

วทิ ยาลัยครูเทพสตรี กับวัดอัมพวัน

รศ. วิชัย สุธีรชานนท์๒

การพัฒนาคณุ ภาพชีวิต จะต้องเริ มต้นด้วยการพัฒนาคุณธรรมและความรู้ นักศึกษาครูเป็ นบคุ คลที

ต้องใช้ความรู้และอบรมคุณธรรมแกเ่ ยาวชน ความเจริญก้าวหน้าของชีวิตจะต้องอาศัยคุณธรรมเป็ นหลัก

และมีความรู้เป็นส่วนประกอบ ดังหลักความจริงทวี ่า

ฐานเจดีย์ ศรีสล้าง สร้างด้วยอิฐ

ย่อมสถิต ยืนยง ดํารงอยู่

ชีวิตมี คา่ ลํ า เพราะความรู้

ควบคุมอยู่ ด้วยธรรม น่าจําเริญ

สถาบันผลติ ครูจงึ พยายามหลอ่ หลอมนักศึกษาครูให้เป็นแมแ่ บบ แมพ่ ิมพ์กด็ ี แกเ่ ยาวชนของชาติ
วิทยาลัยครูเทพสตรีลพบรุ ีได้จัดโครงการอบรมเพือพัฒนาคุณธรรม สร้างวิญญาณครูให้เกิดขึ นแกน่ ักศกึ ษา
ครู ตั งแตป่ ีการศึกษา๒๕๒๕-๒๕๒๘ เป็นจํานวนถงึ ๒๓ รุ่น รุ่นละ ๓ วัน๓ คืน โดยได้รับความเมตตา
จากหลวงพ่อพระครูภาวนาวิสุทธิ วัดอัมพวันสิงห์บรุ ี หลวงพ่อรับโครงการนี ไว้ในความอปุ ถัมดภ้ว์ ยการ
จัดสัปปายะหั งด้านสถานทอี บรม ซึงมีหอประชุมภาวน-ากรศรีทิพาทกี ว้างขวาง และทีพัก หอ้ งนํ า ตลอดจน
ด้านอาหารการบริการสะดวกสบาย หลวงพ่อได้ให้คําสังสอนอบรมและสอนวิปัสสานกรรมฐานใหแ้ ก่
นักศึกษาทกุ รุ่น

เนือหาสาระของการอบรม มดี ังนี

 ความรู้พืนฐานทางพระพทุ ธศาสนา มุ่งให้เข้าใจเรืองกฎแหง่ กรรม
บรรยายโดย พันเอก(พิเศษ) ทองคํา ศรีโยธิน

 การสร้างวิญญาณให้แก่ครู ให้เข้าใจเรืองจุดมุ่งหมายแท้จริงของการศึกษา
บรรยายโดยพระธรรมญาณมุนี เจ้าคณะจังหวัดลพบุรี

 จริยธรรมของครูในพระพุทธศาสนา
บรรยายโดย พันเอก(พิเศษ) ทองคํา ศรีโยธิน

 นโยบายการพัฒนาจริยธรรมของกรมการฝึกหัดครู
บรรยายโดย อธิการวิทยาลัยครูเทพสตรี ลพบุรี

๒ อดีต ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หัวหน้าภาควิชาปรัชญาและศาสนา วิทยาลัยครูเทพสตรีลพบุรี ปัจจุบันเป็ นรองศาสตราจารย์
วิทยาลยั ครูเพชรบรุ ีวิทยาลงกรณ์

 ศาสนพิธีสําหรับครู และการฝึกจัดโตะ๊ หมู่บูชาพระ ฝึกมารยาทไทย ฝึกสวดมนต์
บรรยายและสาธิตโดย รศ. วิชัย สุธีรชานนท์

 ฝึกสมาธิบริหารจิต สอนให้เดนิ จงกรม ทําสมาธิ
โดยพระครูภาวนาวิสุทธิ เจ้าอาวาสวัดอัมพวัน

 ฝึกรอ้ งเพลงคติธรรม
โดยอาจารย์บัญชา ทัรัพย์ประเสริฐ ภาควิชาดนตรีวิทยาลัยครูเทพสตรี

จาํ นวนนักศึกษาทีเข้ารับการอบรม รุ่นละประมาณ ๗๐-๒๒๕ คน เข้ารับการอบรมตั งแต่เดอื นกรกฎาคม
๒๕๒๕ จนถงึ เดือนกันยายน ๒๕๒๘ ใช้เวลารุ่นละ ๓ วัน๓ คนื รวม ๒๓ รุ่น มจี ํานวนนักศึกษาวทิ ยาลัยครู
เทพสตรีได้รบั การอบรมตามโครงการนีทั งหมด๔,๐๑๔ คน

การประเมนิ ผลการอบรม
ได้มีการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบทั งก่อนและหลังการอบรม ซึงมีการวัดทั งด้านความรู้และเจต

คติ ปรากฏว่านักศึกษาได้รับความรู้เพิมขึน และมีเจตคติทีดมี คี วามรู้สึกซาบซึ งมาก อยากให้มีจํานวนวัน
อบรมเพิมขึน และแสดงความเห็นว่าควรให้นักศึกษาทุกคนมาได้รับการอบรมเช่นนีด้วย

นักศึกษาผู้เข้ารับการอบรมตลอดจนครูอาจารย์ต่างก็ชืนชม มีความเคารพเลือมใสในหลวงพ่อเจ้า
อาวาส ภกิ ษุ สามเณร ตลอดจนเกิดความผูกพันกับวัดอัมพนวั และบรรดาศษิ ย์ของหลวงพ่อผู้ใหก้ ารต้อนรับ
อย่างยิง นับว่าโครงการนีประสบความสาํ เร็จอย่างงดงาม ทั งนีย่อมเป็นเพราะความเมตตาของหลวงพ่อทีมี
ตอ่ อาจารย์และนักศึกษาอย่างแท้จริง ดังคําธรรมสาธกกลา่ วไว้ว่า

เมอื วัดดี ศรีสงฆ์ ธํารงศาสน์
ประชาราษฎร์ เลอื มใส ได้สรรเสริญ
พระสงฆ์ดี ศรีศาสน์ ราษฎร์จําเริญ
เหมือนชวนเชิญ ให้ชืนชม นิยมกัน

ข้อแนะนํา
ระเบียบปฏบิ ัติสําหรับผู้ปฏิบัตกิ รรมฐาน

ณ สํานักปฏิบัติฝ่ ายคฤหัสถ์
วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี

ผู้ทีมาสมัครเข้ามาปฏิบัตกิ รรมฐาน ณ สํานักปฏิบัติฝ่ ายคฤหัสถ์ ควรทําคามวเขา้ ใจในระเบยี บปฏิบัติ
ดังต่อไปนี

๑.ผู้ปฏิบัติกรรมฐานจะต้องแจ้งความจํานงตอ่ อาจารย์ผู้ปกครอง ซึงคณะอาจารย์ผู้ปกครอง
ประกอบด้วย

๑.๑ อุบาสิกาสุ่ม ทองยิง (แม่ใหญ่) ทําหน้าทีอาจารย์ใหญ่
๑.๒อบุ าสิกาฉํ าชืน แสงฉาย ทําหนา้ ทเี ป็นผู้ต้อนรบั ปฏิสันถาร รับลงทะเบียนลแะดูแลอํานวย
ความสะดวกโดยทั วไป
๑.๓ อุบาสิกาสมคิด มาลหี อม หัวหน้าแม่ชีไทยวัดอัมพวัน ทําหน้าทเี ป็นผู้แนะนําการปฏิบัติ
กรรมฐานแกผ่ ู้มาใหม่
๒.เขียนใบสมัครให้ชัดเจน อา่ นง่ายและถกู ต้องตามความเป็นจริง
๓.เข้าทพี ักเปลียนเครืองแต่งกาย เป็นชดุ ปฏิบัตธิ รรมสีขาว แบบสุภพา เรียบร้อยไมม่ ลี วดลายหรือ
เครืองประดับ
๔.เตรียมดอกไม้ธูปเทยี น เพือทําพิธีจอศีลแปดจากพระภิกษุทกี ุฏิเจ้าอาวาส โดยอาจารย์ผู้ปกครอง
เป็นผู้นําไปเวลา๑๘.๐๐ น.
๕.การปฏิบัติกรรมฐานแบง่ ออกเป็น ๔ ช่วงในแต่ละวันดังนี

ช่วงแรก ๔.๐๐-๖.๐๐ น.
ช่วงทสี อง ๘.๐๐-๑๑.๐๐ น.
ช่วงทสี าม ๑๔.๐๐-๑๗.๐๐ น.
ช่วงทสี ี ๑๙.๐๐-๒๑.๓๐ น.
๖.สถานทีปฏิบัติกรรมฐานผูป้ ฏิบัตติ ้องมาพพร้อมกันทีศาลาปฏิบัตของสาํ นักตามเวลาทีกําหนดโดย
ใช้ศาลาเป็ นทีนั งกรรมฐานและบริเวณนอกศาลาเป็ นทีเดินจงกรม
๗.สาํ หรับผู้ทีปฏิบัติดีแล้วบางราย ทางสาํ นักอาจอนญุ าตให้ปฏิบัตเอิ ง ณ หอ้ งพักตามแต่กรณี ทั งนี
อยูใ่ นดุลพนิ ิจของอาจารย์ผู้ปกครอง
๘.ขั นตอนการปฏิบัติ เมือผู้ปฏบิ ัตมิ าพร้อมกันตามเวลา ในการปฏิบัติชาวงแรก ณ ศาลาปฏิบัติ
หัวหน้าจดุ เทยี นบชู าพระรัตนตรัย นําสวดมนต์ กราบพระพทุ ธรูปและพระพรหมแล้ว จึงเริมปฏิบัตธิ รรม
โดยการเดนิ จงกรมก่อน ๓๐ นาที แล้วเปลียนอริ ิยาบถเข้ามานังกรรมฐาน๓๐ นาที สลับกันไป จนถงึ เวลาพัก

สาํ หรับเวลา ๓๐ นาที ทีกําหนดใหน้ ี ผู้ปฏิบัติอาจปรบั ให้มากหรือน้อยกว๓่า ๐ นาที ตามความเหมาะสมของ
สภาวะอารมณ์

๙.กอ่ นถงึ เวลาพักทุกช่วง ผู้ปฏิบัติควรปฏิบัตธิ รรมอยู่ในอริ ิยาบถนกังรรมฐาน ทั งนีเพราะเมอื สิ นสุด
การปฏบิ ัติแต่ละช่วงจะได้แผ่เมตตาตอ่ ไปได้โดยไม่เสียสมาธิจิต

๑๐.เมือแผ่เมตตา (สัพเพสัตตา...) เสร็จแล้ว นังพับเพียบประนมมืออุทศิ บุญในการปฏิบัติธรรมแก่
บดิ ามารดา ญาตพิ ีน้องเทวดาและเปรต(อิทังโน มาตาปิ ตุนัง โหต.ุ..) จากนั นลุกขนึ นังคกุ เข่าสวดมนต์ บชู า
พระรัตนตรยั (อรหัง สัมมา สัมพุทโธ ภควา...) กราพระพุทธรูปและพระพรหม

ขั นตอนในการปฏิบัติจะเป็นเช่นเดยี วกันในทุกช่วง เว้นแต่การจดุ ธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ในช่วง
ที ๒-๓-๔ ไม่มี เพราะได้บูชาแล้วในชว่ งแรก

๑๑.การให้ความรู้ สาํ หรับผู้มาใหม่ อาจารย์หรือหัวหน้าผู้ได้รับมอบหมายจะเป็นผู้ให้คําแนะนําการ
กําหนดลมหายใจ และคําภาวนาในการปฏิบัติเบืองต้น ส่วนการทดสอบอารมณ์ตลอดจนความรู้ทีละเอยี ดขึ น
อาจารย์ใหญ่ (แม่ใหญ่) จะเป็ นผู้ให้ความรู้หลังจากปฏิบัติธรรมช่วงแรก เสร็จเวลาประมาณ๖.๐๐ น. ผู้
ปฏบิ ัตธิ รรมทไี ม่เข้าใจ มีข้อสงสัยใดๆ อาจใช้ช่วงเวลานี สอบถามขอความรู้

๑๒.การรบั ประทานอาหาร มี ๒ เวลา และดืมนํ าปานะ๑ เวลา ดังนี
๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๑๑.๐๕ น. รับประทานอาหารกลางวัน
๑๗.๐๕ น. ดืมนํ าปานะ

๑๓.การรบั ประทานอาหารและดมื นํ าปานะทกุ ครั ง ผู้ปฏิบตธิั รรมต้องมารบั ประทานพร้อมกันที
อาคารภาวนา ๑ ตรงตามเวลาทีกําหนด

๑๔.เมือตักอาหารใส่ภาชนะแล้ว ให้เข้านังประจําทีของแต่ละคน รอจนพร้อมเพรียงกันดีแล้ว
หัวหน้าจะกล่าวนําขออนุญาตรับประทานอาหาร

๑๕.ขณะนังรอและรบั ประทานอาหาร ผู้ปฏิบัติธรรมไมค่ วรคุยกัน หรือแสดงอาการใดๆ ทีไม่
สํารวม

๑๖.เมอื รับประทานอาหารเสร็จแล้ว ให้นั งรออยทู่ ีเดมิ จนทกุ คนรับประทานอาหารเสร็จให้ประนม
มือ หัวหน้าจะพรผู้บริจาคอาหาร(สพั พ.ี ..) ผู้ปฏิบัติธรรมสวดรบั โดยพร้อมเพรียงกัน

๑๗.เมือเสร็จจากการรับประทานอาหาร ให้ผู้ปฏิบัตธิ ธรมช่วยกันเกบ็ กวาดสถานทที ําความสะอาด
ภาชนะ จัดโตะ๊ เก้าอี ให้เรียบร้อย

๑๘.ผู้ปฏิบัติธรรมไมค่ วรพูดคุยกัน หรือซักถามกันด้วยเรืองทางโลกย์ เพราะจะทําให้จิตใจฟุ ้ งซ่าน
หากมีปัญหาหรือต้องการความรู้ในการปฏิบัติให้เรียนถามจากอาจารย์ผู้สอนโดยตรง ไม่ควรถามหรือ
วิพากษ์วิจารณ์กันเอง เพราะอาจจะทําให้เข้าใจผิดและหลงผิดในการปฏิบัติได้

๑๙.เมือผู้ปฏิบัติธรรมพบปะกัน ควรแสดงคารวธรรมตอ่ กันด้วยการไหว้ หรือการยิม หรืออาการ
อืนๆ ซึงเป็นโดยสํารวมหรือกล่าวทักทายตามสมควร

๒๐.การออกนอกบริเวณสาํ นักไม่ควรกระทํา หากมีกิจจําเป็นให้ขออนุญาตอาจารย์ผู้ปกครอง
๒๑.การออกนอกบริเวณสาํ นักโดยการพิธีทกุ ครั ง อาจารย์ผู้ปกครองจะเป็นผู้นําทั งไปและกลับ ให้
เดินเป็นแถวตอนเรียงหนึงตามลําดับอาวุโส ด้วยอาการสาํ รวม
๒๒.เมือถงึ บริเวณพิธี ให้คอยสงั เกตสญั ญาณการนัง การกราบจากอาจารย์ผู้นํา ทั งนี เพือความพร้อม
เพรียง เป็นระเบียบและเจริญตาผู้พบเห็น
๒๓.การพักอาศัยในห้องทพี ัก ควรดแู ลรักษาความสะอาดทีพัก เครืองนอน ตลอดจนความเป็น
ระเบียบต่างๆ ภายในห้องพักใหเ้ รียบร้อย
๒๔.ไมค่ วรเปิ ดนํ าไฟฟ้ าและพัดลมทิงไว้เมอื ไม่อยใู่ นห้องพัก
๒๕.เวลาว่างตอนเช้า ระหว่างเวลา๖.๐๐-๖.๔๕ น. ผู้ปฏิธรรมอาจใช้เวลาว่างทําความสะอาดกวาด
ลานสํานักและบริเวณทีพัก เพอื ความสะอาดของสถานทีและเจริญสุขภาพกาย สุขภาพจิตของผู้ปฏิบัติ
๒๖.ทกุ วันอุโบสถ(วันพระ) ในช่วงบา่ ยให้ผู้ปฏิบัตธิ รรมเข้าปฏิบัตใิ นอโุ บสถ โดยมาพร้อมกัน ณ
กฏุ ิอาจารย์ใหญ่ เวลา ๑๓.๓๐ น. อาจารย์ใหญ่จะเป็นผู้นําไป และเริมปฏิบัติทพี ระอุโบสถ เวลา ๑๔.๐๐-
๑๗.๐๐ น. หลังจากนั นหลวงพอ่ พระครูภาวนาวิสุทธิ จะประกอบพิธีให้กรรมฐานแก่ผู้ปฏิบัติธรรมทีมาใหม่
และแสงธรรมกรรมฐาน
ช่วงเวลากลางคืนผู้ปฏิบัติธรรมเข้าปฏิบัติในพระอุโบสถเหมอื นช่วงบา่ ยโดยเริมตังแต่เวล๑า๙.๓๐-
๒๑.๓๐ น. ในการปฏิบัตกิ ลางคืนทพี ระอุโบสถนี มรี ะเบยี บกําหนดให้ผู้ปฏิบัติทกุ คนจะต้องเดินจงกรม๑
ชัวโมง และนังกรรมฐาน๑ ชัวโมง โดยพรอ้ มเพรียงกัน
๒๗.การเข้านังในพระอุโบสถ ให้ผู้ปฏิบัติธรรมนั งหันหน้าไปทางพระประธาน โดยสังเกตการนั ง
ให้เป็ นแนวขนานไปกั บพระสงฆ์
๒๘.การลา เมือผู้ปฏิบัติธรรมไดป้ ฏบิ ัตคิ รบตามกําหนดทีได้แจ้งความจํานงไว้แล้วนั น ให้เตรียม
ดอกไม้ ธูปเทียน หรือเครืองสงั ฆทานตามกําลัง เพือทําพธิ ีลาศีลต่อพระภิกษุสงฆ์ ณ กุฏิเจ้าอาวาส โดย
อาจารย์ผู้ปกครองเป็ นผู้นําไป
ในกรณีทีมีความจําเป็นต้องลากลับก่อนกําหนดนั น ผู้ปฏิบัติธรรมต้องแจ้งให้อาจาผรู้ปย์กครอง
ทราบสาเหตุหรือความจําเป็นไม่ควรหนกี ลับไปโดยพลการ เพราะจะเป็นผลเสียต่อผู้ปฏิบัติเอง
๒๙.ผู้ปฏิธรรมโปรดสํานกึ ตระหนักเสมอว่า ท่านมาปฏบิ ัตธิ รรมด้วยจิตศรัทธา เพือเป็ นบุญกุศลแก่
ชีวิต มิได้มาเพือความสนกุ หรือมาพักผ่อน หรือการแก้บนทีขาดปัญญา ดังนั นขอใหป้ผฏู้ ิบัติธรรมทุกทา่ น จง
มคี วามอดทน มจี ิตใจทเี ข้มแขง็ มีความเพียร ประหยัดกาย วาจา ใจ มงุ่ ปฏิบัติให้สาํ เร็จประโยชน์แก่ตนให้ได้
ซึงทา่ นย่อมประสบความสําเร็จได้ด้วยตัวทา่ นเอง
๓๐.ข้อแนะนํานี เป็นคูม่ ือให้รายละเอียดแนวทางการปฏิบัติ เพือความเป็นระเบยี บของสํานักปฏิ
ธรรมแห่งนี ผู้ทีมาปฏิบัติธรรมจะได้เข้าใจ สบายใจในการอยู่อาศัยและปฏิบัติธรรมย่อมประหยัดการพดู
โอกาสทีท่านจะถามข้อระเบียบ หรือโอกาสทจี ะมีผู้มาอธิบายแนะนําแก่ทา่ นมีน้อย คู่มือนี จะช่วยท่านได้เนป็
อย่างดี

มาถึงวัดเห็นดินและต้นไม้
ยังมิใช่เห็นวัดดังคําขาน
คนเหน็ วัดต้องเห็นธรรมสัมมาญาณ
เพ่งสังขารรู้ชัดเหน็ วัดจริง

เราพดู อยู่เสมอถึงคําว่า
สติ ปัญญา

เราใช้ปัญญาอยู่เสมอ ก็จริง
แต่สตนิ ั น แท้จริงแล้ว
เรานําออกใช้น้อยนัก

ทั งทีสตินั นมคี ุณค่าแก่ชีวิต
มีคุณคา่ อย่างเหลือที
จะประมาณได้

พระราชสุทธิญาณมงคล


Click to View FlipBook Version