The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ann milaela, 2024-01-30 22:03:34

แผนการจัดการเรียนรู้

ครูสุพรรณี2

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ บทที่ ๙ เกือบไป นางสุวรรณี สพานทอง ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านบางขนุน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต ๒ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


คำอธิบายรายวิชา รายวิชาภาษาไทย ท 11101 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เวลา 200 ชั่วโมง ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ บอกความหมายของคำและข้อความ ตอบคำถาม เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ นำเสนอเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน มีมารยาทในการอ่านฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ มี มารยาทในการเขียน ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆและปฏิบัติตาม ตอบคำถาม เล่าเรื่อง พูด แสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์ เน้นมารยาทในการ ฟัง การดูและการพูด ฝึกทักษะในการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอก ความหมายของคำ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ ต่อคำคล้องจองง่ายๆ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก ฝึก ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดู และการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และ ตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัด ท 1.1 ป.1/1 ,ป.1/2 ,ป.1/3 ,ป.1/4 ,ป.1/5 ,ป.1/6 ,ป.1/7 ,ป.1/8 ท 2.1 ป.1/1 ,ป.1/2 ,ป.1/3 ท 3.1 ป.1/1 ,ป.1/2 ,ป.1/3 ,ป.1/4 ,ป.1/5 ท 4.1 ป.1/1 ,ป.1/2 ,ป.1/3 ,ป.1/4 ท 5.1 ป.1/1 ,ป.1/2 (รวม 22 ตัวชี้วัด)


ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ เกือบไป เวลา ๑๐ ชั่วโมง จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ เวลา ๑๐ ช.ม ๑. นักเรียนอ่านแจกลูกสะกดคำได้ ๒. นักเรียนบอกความหมายของคำได้ ๓. นักเรียนอ่านบทอ่านได้ ๔. นักเรียนประสมคำได้ ๕. นักเรียนอ่านวิเคราะห์คำได้ ๖. นักเรียนบอกชื่อพยัญชนะได้ ๗. บอกพยัญชนะที่เป็นอักษรสูงและต่ำได้ ๘. อ่านและประสมคำได้ ๙. นักเรียนผันวรรณยุกต์ได้ ๑๐. อ่านคำง่ายๆได้ ๑๑. ร้องและแสดงท่าทางประกอบได้ ๑๒. พูดในสิ่งที่กำหนดให้ได้ ๑๓. บอกความหมายสำนวนไทยได้ ๑๔. ประสมพยัญชนะและสระเป็นคำได้ ๑๕. เขียนคำง่ายๆในภาษาไทยได้ • รู้จักคำ นำเรื่อง • การอ่าน บทอ่าน • การอ่านวิเคราะห์คำ • การอ่านพยัญชนะ สระ • การผันวรรณยุกต์ • การอ่านสะกดคำ • อ่านคล่องร้องเล่น • ชวนทำ ชวนคิด • การอ่านทบทวน • ฝึกเขียน ๑๐ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑


สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติ ของชาติ ๑. สาระสำคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การเรียนรู้คำ ผู้เรียนต้องเรียนรู้ทั้งในด้านองค์ประกอบ หลักการอ่านแจกลูกสะกดคำ ความหมายและหลักการใช้จึงจะสามารถนำคำไปใช้ได้ถูกต้องตามสถานการณ์ ๑.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการอ่านสะกดคำ - ความสามารถในการเรียนรู้ความหมายของคำ ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑ / ๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑ / ๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนอ่านแจกลูกสะกดคำได้ ๓.๒ นักเรียนบอกความหมายของคำได้ ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ กล้าแสดงออก ๔.๒ ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ๔.๓ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ ๔.๔ มีทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย ๔.๕ ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดภาษาพาที แผนที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ บทที่ ๙ เกือบไป เวลา ๑๐ ชั่วโมง หัวข้อเรื่อง รู้จักคำ นำเรื่อง เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่ .......................................


๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๏ การสะกดคำ การแจกลูก และการอ่านเป็นคำ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ รู้จักคำ นำเรื่อง ๏ ความหมายของคำ ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ การทำแบบทดสอบก่อนเรียน ๖.๒ การทำใบงาน ๖.๓ แบบบันทึกผลการประเมินผลงานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๖.๔ แบบบันทึกผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ให้นักเรียนเล่นเกม “ คนสมองไว” วิธีเล่นคือ ครูกำหนดคำ ๑ คำ ให้นักเรียนแข่งขัน กันคิดหาคำที่ขึ้นต้นพยัญชนะเดียวกันกับคำที่ครูกำหนดให้ ให้ได้เร็วที่สุด ๓ คำ อาจเป็นคำที่เคยเรียน มาแล้วหรือยังไม่เคยก็ได้ แต่ต้องเป็นคำที่มีความหมาย ใครคิดได้เร็วที่สุด คือบุคคลสมองไว ครู กำหนดคำไปเรื่อยๆตามเห็นสมควร ๗.2 นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนประจำ บทที่ ๙ เกือบไป ( ท้ายแผน ) จำนวน ๑๕ ข้อ เสร็จแล้วครูตรวจสอบและประกาศผลเป็นคะแนนตามจำนวนข้อที่ทำถูก โดยที่ยังไม่ต้องเฉลย ๗.3 พานักเรียนอ่านและฝึกออกเสียงคำ ในหนังสือเรียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ชุด ภาษาพาที หน้า ๙๒ – ๙๓ จากนั้นให้นักเรียนฝึกอ่านเองพร้อมกัน ครูสุ่มให้อ่านที่ละคน ๓ – ๔ คน ๗.4 ครูใช้บัตรภาพที่ตรงกับคำว่า เกาะ ขวาง ขี่ ต้นไม้ แผ่แม่เบี้ย ฝน ป่า ตก แกว่ง ถนน ลาก ชูบัตรภาพขึ้นให้นักเรียนบอกคำที่ตรงกับภาพพร้อมกัน แล้วให้บอกคำที่ตรงกับภาพ ทีละคน ๗.5 นักเรียนฝึกอ่านแจกลูกสะกดคำ คำว่า เกาะ ขวาง ขี่ ต้นไม้ แผ่แม่เบี้ย ฝน ป่า ตก แกว่ง ถนน ลาก ให้นักเรียนฝึกประสม พยัญชนะและ สระ ที่ใช้ประสมคำเหล่านี้จนคล่อง จากนั้นครูพานักเรียนอ่านคำทั้งหมดในหนังสือเรียนหน้า ๙๓ ให้นักเรียนฝึกอ่านเองพร้อมกัน ๗.6 นักเรียนทำใบงานที่ ๑ ( ท้ายแผน ) ชุด จับคู่รูปภาพและคำ จากนั้นนำส่งครู ครูเฉลย และตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. เกม “ คนสมองไว” ๒. แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. รูปภาพ


๔. ใบงาน ชุดที่ ๑ ๕. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล ๖. แบบกรอกคะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมินผล • ด้านความรู้ความเข้าใจ - การทำแบบทดสอบก่อนเรียน - การตอบคำถาม - การทำใบงาน - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน - แบบทดสอบก่อนเรียน - ใบงาน ชุดที่ ๑ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - สังเกตพฤติกรรมขณะร่วม กิจกรรม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่วมสนทนา - ประเมินการร่วมสนทนา แบบประเมินผลงานรายบุคคล ๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการทำใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการทำแบบทดสอบก่อนเรียนมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๑๒ – ๑๕ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๘ – ๑๑ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๗ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๘ ขึ้นไป


การประเมิน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้ระดับคะแนน ดี(๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง (๐) กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้า แสดงออก กล้าแสดง ความคิดเห็นและกล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่ค่อยกล้า แสดงความคิดเห็นและ ไม่ค่อยกล้าโต้แย้งในสิ่ง ที่ถูกต้อง ไม่กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่กล้าแสดง ความคิดเห็นและไม่กล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ให้ความสามัคคีและ ร่วมมือในการทำงานกับ เพื่อนอย่างดี ไม่ค่อยให้ความสามัคคี ในขณะปฏิบัติงาน ไม่ให้สามัคคี แตกแยก ทะเลาะกับผู้เพื่อนเป็น ประจำ มีทัศนคติที่ดีต่อ ภาษาไทย สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเป็นบางครั้ง ประหยัดและอยู่อย่าง พอเพียง ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง คุ้มค่าใช้จนหมดแล้ว ค่อยซื้อใหม่ ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้จนหมด ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้ไม่ หมดแล้วซื้อใหม่ ๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………….……………………………………………………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………


คำชี้แจง ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย ทับตัวอักษรหน้าข้อที่ถูกต้อง ๑. รูปภาพนี้ตรงกับคำใด ก. หมอบ ข. จ้องตา ค. แผ่แม่เบี้ย ๒. รูปภาพนี้ตรงกับคำใด ก. ลูบ ข. เกาะ ค. คู้เข่า ๓. ก + เ-ือ + บ จะได้คำใด ก. เกือบ ข. เลียบ ค. เกียก ๔. ฝ + โ-ะ + น จะได้คำใด ก. ฝน ข. คน ค. ฝัน ๕. พ่อของภูผาพาช้างไปที่ไหน ก. ไปลากต้นไม้ที่ล้มขวางทางอยู่ ข. ไปลากซุงรับจ้าง ค. ไปเล่นสงกรานต์ ๖. ช้างตัวใหญ่ของพ่อชื่ออะไร ก. ใบโบก ข. ใบบัว ค. มะปิน ๗. คำว่า “ เกือบ” อ่านแจกลูกสะกดคำอย่างไร ก. กอ – เ-ือ – บอ – เกือบ ข. กอ – เ-ีย – บอ – เกือบ ค. กอ – เ-ีย – บอ – ไม้เอก – เกือบ แบบทดสอบก่อนเรียน


๘. ค + โ-ะ+น + ไม้โท จะได้คำใด ก. โป่ง ข. คน ค. ค้น ๙. มอ – อา – มา – ถอ – เออะ – เถอะ จะได้คำใด ก. มาเถอะ ข. มาซิ ค. มาไป ๑๐. คำใดคล้องจองกับคำว่า “ เจองู” ก. ไปดู ข. ไปเห็น ค. ชูคอ ๑๑. คำใดคล้องจองกับคำว่า “ แม่เบี้ย” ก. แม่งู ข. พ่องู ค. เลียลิ้น ๑๒. สัตว์ชนิดใดที่แสดงอาการแผ่แม่เบี้ย ก. งู ข. ช้าง ค. วัว ๑๓. คำใดประสมด้วยสระ โ- ะ ก. จัน ข. จน ค. เกิด ๑๔. รูปภาพใดหมายถึง “ ขี่” ก. ข. ค. ๑๕. ภาพนี้ตรงกับคำใด ก. คลอง ข. ขวาง ค. น้ำ


๑. ค ๒. ข ๓. ก ๔. ก ๕. ก ๖. ค ๗. ก ๘. ค ๙. ก ๑๐. ค ๑๑. ค ๑๒. ก ๑๓. ข ๑๔. ก ๑๕. ข เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน


คำชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่รูปภาพและคำที่ตรงกันด้วยการโยงเส้น ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ใบงาน ชุดที่ ๑ ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น............... ขี่ ขวาง ถนน แผ่แม่เบี้ย เกาะ ต้นไม้


แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ เกือบไป แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ รู้จักคำ นำเรื่อง เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้านคุณลักษณะ ฯ ด้านผลงาน รวม ผ่าน /ไม่ผ่าน กล้าแสดงออก ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ มีทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง การทำแบบทดสอบก่อนเรียน การทำใบงาน ชุดที่ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๑๕ ๑๐ ๓๕ ๑ ด.ช.กันพัฒน์ รักกะเปา ๒ ด.ช.มนตรี ท้วมไทย ๓ ด.ญ.จันทรรัตน์ ชูเมือง ๔ ด.ญ.จุฑามณี จิตราภิรมย์ ๕ ด.ญ.วรรษมน เชี่ยวชาญ ๖ ด.ญ.สุกัญญา ชนะสงคราม ๗ เด็กชายยียี่ ๘ ด.ญ.วิลัยรัต วิจิตร ๙ ด.ช.สันศิฬา คงคชวรรณ์ ๑๐ ด.ญ.จิรกาญจน์ สวนกุล ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒ หมายถึง พอใช้ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑ หมายถึง ปรับปรุง ๑๐ – ๑๙ = ๑ เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน ๑ ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน (นางสุวรรณี สพานทอง) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ


สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ๑. สาระสำคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การอ่านเป็นพฤติกรรมในการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เริ่มเรียน การอ่าน ออกเสียงผู้อ่านต้องรู้ที่มาและองค์ประกอบของคำ จึงจะทำให้อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการอ่านสะกดคำ - ความสามารถในการตอบคำถาม ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑ / ๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนอ่านบทอ่านได้ ๓.๒ นักเรียนตอบคำถามจากบทอ่านได้ ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ กล้าแสดงออก ๔.๒ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ ๔.๓ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ๔.๔ มีทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย ๔.๕ ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง และข้อความ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ การอ่านข้อความ “ เกือบไป” แผนการจัดการเรียนรู้ชุดภาษาพาที แผนที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ บทที่ ๙ เกือบไป เวลา ๑๐ ชั่วโมง หัวข้อเรื่อง การอ่าน บทอ่าน เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่ .......................................


๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบบันทึกการอ่าน ๖.๒ การทำใบงาน ๖.๓ แบบบันทึกการประเมินผลงานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ทบทวนความเดิมที่เรียนในชั่วโมงที่แล้วด้วยการให้นักเรียนอ่านคำใน“ รู้จักคำ นำเรื่อง ” ในหนังสือเรียนหน้า ๙๒ – ๙๓ พร้อมกันอีกครั้ง ครูแก้ไขข้อผิดพลาด ๗.2 ครูนำนักเรียนอ่าน บทอ่าน ในหนังสือเรียน ภาษาไทย ชั้น ป.๑ ชุดภาษาพาที หน้า ๘๑ – ๘๒ จากนั้นให้นักเรียนอ่านเองพร้อมกัน ๗.3 ครูใช้บัตรคำ พานักเรียนออกเสียงคำใน “ รู้จักคำ นำเรื่อง” ที่มีในบทอ่านจากนั้นฝึก ประสมคำกับพยัญชนะที่เรียนมาแล้ว ๗.4 ครูสุ่มนักเรียน ๒ – ๓ คน อ่านออกเสียง บทอ่าน “ เกือบไป” จากนั้นอ่านพร้อมกัน และอ่านทีละคน ๗.5 นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔ – ๕ จัดประกวดการอ่าน โดยให้อ่านข้อความในบทอ่าน “ เกือบไป” กลุ่มที่อ่านได้ดีผิดพลาดน้อย ร่วมกันชมเชย ๗.6 นักเรียนทำใบงานที่ ๒ ( ท้ายแผน ) ชุดเขียนคำจากการแจกลูกที่กำหนดให้ จากนั้น นำส่งครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๗.7 นักเรียนทำใบงานที่ ๓ ( ท้ายแผน ) ชุดตอบคำถามจากบทอ่าน จากนั้นนำส่งครู ครู เฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. บัตรคำ ๒. บทอ่าน ๓. รูปภาพ ๓. ใบงาน ชุดที่ ๒ – ๓ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล ๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมินผล • ด้านความรู้ความเข้าใจ - การอ่านออกเสียง - การตอบคำถาม - การทำใบงาน - สำรวจความพร้อม - สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน - บทอ่าน - ใบงาน ชุดที่ ๒ – ๓ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกตพฤติกรรมขณะร่วมกิจกรรม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่วมสนทนา - ประเมินการร่วมสนทนา แบบประเมินผลงานรายบุคคล


๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการทำใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการอ่านมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี อ่านแจกลูกสะกดคำได้ถูกต้องทุกคำ เสียงดังฟังชัดเจนดีมาก ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ อ่านแจกลูกสะกดคำผิด ๑ คำ เสียงดังฟังชัดเจนปานกลาง ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง อ่านแจกลูกสะกดคำผิด ๒ คำขึ้นไป เสียงอ่านไม่ค่อยราบรื่น เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๘ ขึ้นไป


การประเมิน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้ระดับคะแนน ดี(๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง (๐) กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้า แสดงออก กล้าแสดง ความคิดเห็นและกล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่ค่อยกล้า แสดงความคิดเห็นและ ไม่ค่อยกล้าโต้แย้งในสิ่ง ที่ถูกต้อง ไม่กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่กล้าแสดง ความคิดเห็นและไม่กล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ให้ความสามัคคีและ ร่วมมือในการทำงานกับ เพื่อนอย่างดี ไม่ค่อยให้ความสามัคคี ในขณะปฏิบัติงาน ไม่ให้สามัคคี แตกแยก ทะเลาะกับผู้เพื่อนเป็น ประจำ มีทัศนคติที่ดีต่อ ภาษาไทย สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเป็นบางครั้ง ประหยัดและอยู่อย่าง พอเพียง ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง คุ้มค่าใช้จนหมดแล้ว ค่อยซื้อใหม่ ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้จนหมด ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้ไม่ หมดแล้วซื้อใหม่ ๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………….……………………………………………………………………………………………… ….……………………………………………………………………………………………………………………………………………..


.................. .................. .................. .................. .................. .................. .................. .................. .................. .................. คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคำที่เกิดจากการลูกสะกดคำ ด้วยพยัญชนะและสระที่ กำหนดให้ต่อไปนี้ ตัวอย่าง ก + เ-าะ เกาะ ๑. ขว + า + ง ๒. ห + -ะ + น ๓. ส + อ + ง ๔. ก + เ-ือ + บ ๕. ง + เ-ีย + บ ๖. ย + -ื + น ๗. ฝ + โ-ะ + น ๘. ช่ + -ัว + ย ๙. กว่ + แ + ง ๑๐. ร + เ-ะ + ว ใบงาน ชุดที่ ๒ ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............


คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้โดยใช้คำตอบที่กำหนดให้ ใบงาน ชุดที่ ๓ ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น............... คำถาม ๑. พ่อของภูผาพาช้างไปที่ไหน ๒. ใครไปกับพ่อของภูผาบ้าง ๓. ทำไมภูผาจึงรู้ว่ามีเพื่อนเดินตามมา ๔. อะไรขวางทาง ใบโบกและใบบัว ๕. ช้างตัวใหญ่ชื่ออะไร คำตอบ ก. ภูผา ใบโบก และใบบัว ข. ไปลากต้นไม้ที่ล้มขวางทางอยู่ ค. พลายมะปิน ง. มีเสียงกระดึงและกระพรวนดัง จ. เจองูแผ่แม่เบี้ย กระดาษคำตอบ ๑. ……………………………………………. ๒. ……………………………………………. ๓. ……………………………………………. ๔. ……………………………………………. ๕. …………………………………………….


แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ เกือบไป แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ การอ่าน บทอ่าน เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้านคุณลักษณะ ฯ ด้านผลงาน รวม ผ่าน /ไม่ผ่าน กล้าแสดงออก ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ มีทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง การทำใบงาน ชุดที่ ๒ การทำใบงาน ชุดที่ ๓ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐ ๑ ด.ช.กันพัฒน์ รักกะเปา ๒ ด.ช.มนตรี ท้วมไทย ๓ ด.ญ.จันทรรัตน์ ชูเมือง ๔ ด.ญ.จุฑามณี จิตราภิรมย์ ๕ ด.ญ.วรรษมน เชี่ยวชาญ ๖ ด.ญ.สุกัญญา ชนะสงคราม ๗ เด็กชายยียี่ ๘ ด.ญ.วิลัยรัต วิจิตร ๙ ด.ช.สันศิฬา คงคชวรรณ์ ๑๐ ด.ญ.จิรกาญจน์ สวนกุล ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๓๐ – ๓๕ = ๓ ๒ หมายถึง พอใช้ ๒๐ – ๒๙ = ๒ ๑ หมายถึง ปรับปรุง ๑๐ – ๑๙ = ๑ เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน ๑ ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน (นางสุวรรณี สพานทอง) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ


สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน ๑. สาระสำคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การอ่านเป็นพฤติกรรมในการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เริ่มเรียน การอ่าน ออกเสียงผู้อ่านต้องรู้ที่มาและองค์ประกอบของคำ จึงจะทำให้อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการอ่านสะกดคำ - ความสามารถในการวิเคราะห์คำ ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑ / ๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนอ่านแจกลูกสะกดคำได้ ๓.๒ นักเรียนวิเคราะห์คำที่อ่านได้ ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ กล้าแสดงออก ๔.๒ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ ๔.๓ ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ๔.๔ มีทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย ๔.๕ ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง และข้อความ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ การอ่านข้อความ “ เกือบไป” แผนการจัดการเรียนรู้ชุดภาษาพาที แผนที่ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ บทที่ ๙ เกือบไป เวลา ๑๐ ชั่วโมง หัวข้อเรื่อง การอ่านวิเคราะห์คำ เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่ .......................................


๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบบันทึกการอ่าน ๖.๒ การทำใบงาน ๖.๓ แบบบันทึกการประเมินผลงานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.1 ครูเล่านิทานเรื่อง “ ชาวนากับงูเห่า” ให้นักเรียนฟัง ร่วมกันสนทนาสรุป เกี่ยวกับเนื้อหา และอันตรายจากสัตว์มีพิษ ไม่ควรไว้วางใจกับพวกสัตว์ต่างๆเพราะอาจเกิดอันตรายขึ้น ได้ ๗.๒ ครูนำนักเรียนอ่านข้อความในหนังสือเรียนภาษาไทย ชุดภาษาพาทีชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ หน้า ๙๔ – ๙๕ แล้วให้นักเรียนอ่านเองพร้อมกันและอ่านทีละคน ครูแก้ไขแนะนำข้อผิดพลาด ให้แต่ละคน ๗.๓ ให้นักเรียนแต่ละคนเลือกคำจากบทอ่าน “ เกือบไป” คนละ ๓ คำมาวิเคราะห์คำโดย การแจกลูกสะกดคำ จากนั้นอ่านการแจกลูกสะกดคำให้เพื่อนฟัง ๗.๔ นักเรียนทำใบงานที่ ๔ ( ท้ายแผน ) ชุดเขียนแจกลูกสะกดคำ จากนั้นนำส่งครู ครู เฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง แล้วให้จับคู่กันผลัดกันอ่านการแจกลูกสะกดคำที่ถูกต้องแล้ว ๗.๕ นักเรียนทำใบงานที่ ๕ ( ท้ายแผน ) ชุดแยกส่วนประกอบของคำที่กำหนดให้ จากนั้น นำส่งครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. นิทานเรื่อง “ ชาวนากับงูเห่า” ๒.รูปภาพ ๓. ใบงาน ชุดที่ ๔ – ๕ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล ๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมินผล • ด้านความรู้ความเข้าใจ - การอ่านแจกลูกสะกดคำ - การตอบคำถาม - การทำใบงาน - สำรวจความพร้อม - สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน - บทอ่าน - ใบงาน ชุดที่ ๔ – ๕ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - สังเกตพฤติกรรมขณะร่วม กิจกรรม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่วมสนทนา - ประเมินการร่วมสนทนา แบบประเมินผลงานรายบุคคล


๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการทำใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการอ่านมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี อ่านแจกลูกสะกดคำได้ถูกต้องทุกคำ เสียงดังฟังชัดเจนดีมาก ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ อ่านแจกลูกสะกดคำผิด ๑ คำ เสียงดังฟังชัดเจนปานกลาง ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง อ่านแจกลูกสะกดคำผิด ๒ คำขึ้นไป เสียงอ่านไม่ค่อยราบรื่น เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๘ ขึ้นไป


การประเมิน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้ระดับคะแนน ดี(๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง (๐) กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้า แสดงออก กล้าแสดง ความคิดเห็นและกล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่ค่อยกล้า แสดงความคิดเห็นและ ไม่ค่อยกล้าโต้แย้งในสิ่ง ที่ถูกต้อง ไม่กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่กล้าแสดง ความคิดเห็นและไม่กล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ให้ความสามัคคีและ ร่วมมือในการทำงานกับ เพื่อนอย่างดี ไม่ค่อยให้ความสามัคคี ในขณะปฏิบัติงาน ไม่ให้สามัคคี แตกแยก ทะเลาะกับผู้เพื่อนเป็น ประจำ มีทัศนคติที่ดีต่อ ภาษาไทย สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเป็นบางครั้ง ประหยัดและอยู่อย่าง พอเพียง ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง คุ้มค่าใช้จนหมดแล้ว ค่อยซื้อใหม่ ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้จนหมด ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้ไม่ หมดแล้วซื้อใหม่ ๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………….……………………………………………………………………………………………… ….………………………………………………………………………………………………………………………………………………


คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแจกลูกจากกสระแลพยัญชนะที่กำหนดให้ต่อไปนี้ แล้ว อ่านให้เพื่อนฟัง ก ข ค ง จ ฉ ช ส คำชี้แจง ให้นักเรียนแยกส่วนประกอบของคำที่ กำหนดให้ต่อไปนี้ คำ พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด เกือบ เพื่อน เงียบ กลัว เกาะ ขวาง เบี้ย ต้น หนัก ใบงาน ชุดที่ ๔ ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น............... ใบงาน ชุดท ี่๕ เ-อะ เกอะ


เลื้อย แกว่ง แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ เกือบไป แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ การอ่านวิเคราะห์คำ เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้านคุณลักษณะ ฯ ด้านผลงาน รวม ผ่าน /ไม่ผ่าน กล้าแสดงออก ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ มีทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง การทำใบงาน ชุดที่ ๔ การทำใบงาน ชุดที่ ๕ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............


๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕


ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๓ ๒ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๒ ๑ หมายถึง ปรับปรุง ๑๐ – ๑๗ = ๑ เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน ๑ ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. ) สาระที่ ๑ การอ่าน สาระที่ ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียน เรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ๑. สาระสำคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด การอ่านและการเขียน เป็นพฤติกรรมในการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เริ่มเรียน การอ่าน ออกเสียงและการเขียนผู้อ่านต้องรู้ที่มาและองค์ประกอบของคำ จึงจะทำให้อ่านและเขียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพและปลูกฝังให้มีนิสัยรักการอ่าน ๑.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการอ่านพยัญชนะและสระ - ความสามารถในการประสมคำ แผนการจัดการเรียนรู้ชุดภาษาพาที แผนที่ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ บทที่ ๙ เกือบไป เวลา ๑๐ ชั่วโมง หัวข้อเรื่อง การอ่านเขียนพยัญชนะและสระ เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่ ....................................... ผู้ใช้แผน ................................


๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑ / ๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๑ / ๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนบอกชื่อพยัญชนะและสระได้ ๓.๒ นักเรียนเขียนพยัญชนะและสระได้ถูกต้อง ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ กล้าแสดงออก ๔.๒ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ ๔.๓ ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ๔.๔ มีทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย ๔.๕ ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง และข้อความ ๏ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ การอ่าน เขียนพยัญชนะ ๏ การอ่าน เขียนสระ ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบบันทึกการอ่าน ๖.๒ การทำใบงาน ๖.๓ แบบบันทึกการประเมินผลงานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ครูทบทวนเรื่องพยัญชนะกลุ่มต่างๆที่เรียนในชั่วโมงที่แล้ว ครูใช้บัตรพยัญชนะหรือ เขียนบนกระดานดำ ซักถามนักเรียนให้นักเรียนบอกชื่อพยัญชนะทีละคน คนละ ๕ ตัวอักษร ๗.๒ ครูนำนักเรียนอ่านชื่อพยัญชนะในหนังสือเรียนภาษาไทย ภาษาพาที หน้า ๘๓ ครูอธิบายเรื่องระดับเสียงของพยัญชนะเหล่านั้นว่าเป็นพยัญชนะที่มีระดับเสียงจัดอยู่ในกลุ่ม เดียวกัน พยัญชนะไทยแบ่งตามระดับเสียงมี ๓ ระดับ คือ สูง กลาง ต่ำ


๗.๓ ให้นักเรียนดูรูปสระ โ-ะ, เ-าะ , -อ , เ-อะ, เ-อ , เ-ือ ให้นักเรียนฝึกอ่านสระเหล่านี้ แล้วครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า สระ โ- ะ ถ้าอยู่ในคำที่มีตัวสะกด สระ โ- ะ จะลดรูปรูปเป็น เช่นคำ ว่า ต้น แจกลูกสะกดคำคือ ต + โ-ะ + น - ตน ไม้โท = ต้น เป็นต้น ๗.๕ นักเรียนทำใบงานที่ ๖ ( ท้ายแผน ) ชุด แจกลูกสะกดคำ จากนั้นนำส่งครู ครูเฉลย และตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๔ นักเรียนทำใบงานที่ ๗ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนคำที่เกิดจากการประสมคำ จากนั้นนำส่ง ครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. บัตรตัวอักษร ๒.รูปภาพ ๓. ใบงาน ชุดที่ ๖ – ๗ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล ๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมินผล • ด้านความรู้ความเข้าใจ - การอ่านบอกชื่อพยัญชนะ - การตอบคำถาม - การทำใบงาน - สำรวจความพร้อม - สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน - แผนภูมิตัวอักษร - ใบงาน ชุดที่ ๖ – ๗ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - สังเกตพฤติกรรมขณะร่วม กิจกรรม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่วมสนทนา - ประเมินการร่วมสนทนา แบบประเมินผลงานรายบุคคล


๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการทำใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการอ่านมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี บอกชื่อพยัญชนะได้ถูกทุกตัว ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ บอกชื่อพยัญชนะผิด ๑ คำ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง บอกชื่อพยัญชนะผิด ๑ คำ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป


การประเมิน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้ระดับคะแนน ดี(๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง (๐) กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้า แสดงออก กล้าแสดง ความคิดเห็นและกล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่ค่อยกล้า แสดงความคิดเห็นและ ไม่ค่อยกล้าโต้แย้งในสิ่ง ที่ถูกต้อง ไม่กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่กล้าแสดง ความคิดเห็นและไม่กล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ให้ความสามัคคีและ ร่วมมือในการทำงานกับ เพื่อนอย่างดี ไม่ค่อยให้ความสามัคคี ในขณะปฏิบัติงาน ไม่ให้สามัคคี แตกแยก ทะเลาะกับผู้เพื่อนเป็น ประจำ มีทัศนคติที่ดีต่อ ภาษาไทย สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเป็นบางครั้ง ประหยัดและอยู่อย่าง พอเพียง ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง คุ้มค่าใช้จนหมดแล้ว ค่อยซื้อใหม่ ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้จนหมด ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้ไม่ หมดแล้วซื้อใหม่ ๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ


………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………….……………………………………………………………………………………………… ….…………………………………………………………………………… ๑๑. บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………….……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………….……………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. ( ............................................ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน............................. วันที่……เดือน……………..พ.ศ………. ๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………….…………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………… ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………….…………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………….…………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………


ลงชื่อ…………………………………….. ( ............................................... ) ตำแหน่ง ครู ........................................... วันที่……เดือน……………..พ.ศ………. คำชี้แจง นักเรียนเขียนคำที่เกิดจากการแจกลูกสะกดคำ ต่อไปนี้ ก กน ข ค ง จ ห ม ร คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคำที่เกิดจากประสมคำ ต่อไปนี้ ใบงาน ชุดท ี่๖ ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น............... ใบงาน ชุดท ี่๗ โ-ะ น ตัวอย่าง ร+ เ-ื อ+ น = เร อน


๑. พ + เ-ือ + น + ไม้เอก = ๒ ล+ เ-อะ = ๓. ห + โ-ะ+น = ๔. ค + โ-ะ+น + ไม้โท = ๕. จ + เ-อ = ๖. ข + เ-ือ = ๗. ป + โ-ะ + ด = ๘. ง + เ-าะ = แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ เกือบไป แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ การอ่านพยัญชนะและสระ เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้านคุณลักษณะ ฯ ด้านผลงาน รวม ผ่าน /ไม่ผ่าน กล้าแสดงออก ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ มีทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง การทำใบงาน ชุดที่ ๖ การทำใบงาน ชุดที่ ๗ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............


๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑


๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๓ ๒ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๒ ๑ หมายถึง ปรับปรุง ๑๐ – ๑๗ = ๑ เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน ๑ ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. ) สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติ ของชาติ ๑. สาระสำคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด แผนการจัดการเรียนรู้ชุดภาษาพาที แผนที่ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ บทที่ ๙ เกือบไป เวลา ๑๐ ชั่วโมง หัวข้อเรื่อง การผันวรรณยุกต์ เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่ ....................................... ผู้ใช้แผน ................................


วรรณยุกต์ เป็นสิ่งกำหนดระดับเสียงของคำในภาษาไทย วรรณยุกต์มี ๔ รูปและมี เสียงห้าเสียงคือ เอก โท ตรี และจัตวา ๑.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการอ่านคำ - ความสามารถในการผันวรรณยุกต์ ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑ / ๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑ / ๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนอ่านและประสมคำได้ ๓.๒ นักเรียนผันวรรณยุกต์ได้ ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ กล้าแสดงออก ๔.๒ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ ๔.๓ ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ๔.๔ มีทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย ๔.๕ ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง และข้อความ ๏ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ การอ่านคำ ๏ การผันวรรณยุกต์ ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบบันทึกการอ่าน ๖.๒ การทำใบงาน ๖.๓ แบบบันทึกการประเมินผลงานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ทบทวนเรื่อง การผันวรรณยุกต์ โดยครูกำหนดคำในหมดอักษรกลางที่สามารถผัน วรรณยุกต์ได้ครบ ๔ รูป ๕ เสียงให้นักเรียนร่วมกันผันวรรณยุกต์


๗.๒ ครูอธิบายสรุปเกี่ยวกับ รูป เสียง และการผันวรรณยุกต์ ว่า วรรณยุกต์มีทั้งหมด ๔ รูป มีเสียง ๕ เสียง เสียงที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์เรียกว่า เสียงสามัญ ๗.๓ ครูพานักเรียนอ่านสะกดคำ ในหนังสือเรียนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๑ ชุด ภาษาพาที หน้า ๙๗ – ๙๙ จากนั้นอ่านบทฝึกอ่านในหนังสือเรียนหน้าเดียวกัน ฝึก พร้อมกันและฝึกทีละคน ครูแนะนำแก้ไขข้อผิดพลาด ๗.๔ นักเรียนทำใบงานที่ ๘ ( ท้ายแผน ) ชุด ผันคำด้วยวรรณยุกต์ที่กำหนดให้จากนั้นนำส่ง ครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๕ นักเรียนทำใบงานที่ ๙ ( ท้ายแผน ) ชุดเลือกคำที่มีเสียงวรรณยุกต์เดียวกันกับคำที่ กำหนดให้จากนั้นนำส่งครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. บัตรคำ ๒.รูปภาพ ๓. ใบงาน ชุดที่ ๘ – ๙ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล ๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมินผล • ด้านความรู้ความเข้าใจ - การผันวรรณยุกต์ - การตอบคำถาม - การทำใบงาน - สำรวจความพร้อม - สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน - แผนภูมิรูปวรรณยุกต์ - ใบงาน ชุดที่ ๘ – ๙ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - สังเกตพฤติกรรมขณะร่วม กิจกรรม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่วมสนทนา - ประเมินการร่วมสนทนา แบบประเมินผลงานรายบุคคล ๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙


ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการทำใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการผันวรรณยุกต์มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ผันวรรณยุกต์ได้ครบ ทุกคำ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ผันวรรณยุกต์ผิด ๑ คำ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ผันวรรณยุกต์ผิด ๒ คำขึ้นไป เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป การประเมิน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้ระดับคะแนน ดี(๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง (๐) กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้า แสดงออก กล้าแสดง ความคิดเห็นและกล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่ค่อยกล้า แสดงความคิดเห็นและ ไม่ค่อยกล้าโต้แย้งในสิ่ง ที่ถูกต้อง ไม่กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่กล้าแสดง ความคิดเห็นและไม่กล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าแสดงออก


ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ให้ความสามัคคีและ ร่วมมือในการทำงานกับ เพื่อนอย่างดี ไม่ค่อยให้ความสามัคคี ในขณะปฏิบัติงาน ไม่ให้สามัคคี แตกแยก ทะเลาะกับผู้เพื่อนเป็น ประจำ มีทัศนคติที่ดีต่อ ภาษาไทย สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเป็นบางครั้ง ประหยัดและอยู่อย่าง พอเพียง ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง คุ้มค่าใช้จนหมดแล้ว ค่อยซื้อใหม่ ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้จนหมด ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้ไม่ หมดแล้วซื้อใหม่ ๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………….……………………………………………………………………………………………… ….…………………………………………………………………………… ๑๑. บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………….……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………….……………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. ( ............................................ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน............................. วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….


๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………….…………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………… ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………….…………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………….…………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. ( ............................................... ) ตำแหน่ง ครู ........................................... วันที่……เดือน……………..พ.ศ………. คำชี้แจง ให้นักเรียนนำคำต่อไปนี้ไปผันวรรณยุกต์ให้ ได้ครบ ๔ รูป ตัวอย่าง โบ บอ – โอ – โบ – ไม้เอก – โบ่ บอ – โอ – โบ – ไม้โท – โบ้ บอ – โอ – โบ – ไม้ตรี – โบ๊ บอ – โอ – โบ – ไม้จัตวา – โบ๋ ใบงาน ชุดท ี่๘


คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนการแจกลูกสะกดคำของคำ ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น............... ใบงาน ชุดท ี่๙ ๑. ปู = ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ๒. เจอ = ……………………………… ……………………………… ……………………………… ……………………………… ๓. แจ = ……………………………… ……………………………… ……………………………… ………………………………


ที่กำหนดให้ต่อไปนี้ ตัวอย่าง เปีย = ปอ – เอีย – เปีย – ไม้โท – เปี้ย ๑. ส่าง = ๒. ฝน = ๓. ลาก = ๔. ตก = ๕. ขวาง = แบบบันทึกผลการประเมินการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ชุดภาษาพาที บทที่ ๙ เกือบไป แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ รูปและเสียงวรรณยุกต์ เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้านคุณลักษณะ ฯ ด้านผลงาน รวม ผ่าน /ไม่ผ่าน กล้าแสดงออก ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ มีทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง การทำใบงาน ชุดที่ ๘ การทำใบงาน ชุดที่ ๙ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๓๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ชื่อ..............................................................เลขที่ ..................... ชั้น...............


๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒


๔๓ ๔๔ ๔๕ ความหมายระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๒๕ – ๓๐ = ๓ ๒ หมายถึง พอใช้ ๑๘ – ๒๔ = ๒ ๑ หมายถึง ปรับปรุง ๑๐ – ๑๗ = ๑ เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน ๑ ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. ) สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา ในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติ ของชาติ ๑. สาระสำคัญ ๑.๑ ความคิดรวบยอด แผนการจัดการเรียนรู้ชุดภาษาพาที แผนที่ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ บทที่ ๙ เกือบไป เวลา ๑๐ ชั่วโมง หัวข้อเรื่อง การอ่านสะกดค า เวลา ๑ ชั่วโมง วันที่ ....................................... ผู้ใช้แผน ................................


การอ่านเป็นพฤติกรรมในการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เริ่มเรียน การอ่าน ออกเสียงผู้อ่านต้องรู้ที่มาและองค์ประกอบของคำ จึงจะทำให้อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ และปลูกฝังให้มีนิสัยรักการอ่าน ๑.๒ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน - ความสามารถในการอ่านแจกลูกสะกดคำ - ความสามารถในการประสมคำ ๒. ตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๑ / ๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๑ / ๑ บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ นักเรียนประสมพยัญชนะและสระเป็นคำได้ ๓.๒ นักเรียนอ่านแจกลูกสะกดคำได้ ๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔.๑ กล้าแสดงออก ๔.๒ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ ๔.๓ ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ๔.๔ มีทัศนคติที่ดีต่อภาษาไทย ๔.๕ ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง ๕. สาระการเรียนรู้ ๕.๑ สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๏ การอ่านออกเสียงและบอกความหมายของคำ คำคล้องจอง และข้อความ ๏ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ ๕.๒ สาระการเรียนรู้ย่อย ๏ การอ่านแจกลูกสะกดคำ ๖. ชิ้นงาน / หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้ ๖.๑ แบบบันทึกการอ่าน ๖.๒ การทำใบงาน ๖.๓ แบบบันทึกการประเมินผลงานและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ๗.๑ ครูใช้บัตรพยัญชนะ และสระที่เรียนมาแล้วชูขึ้นให้นักเรียนอ่านออกเสียง


เพื่อทบทวนความรู้ จากนั้นครูเขียนพยัญชนะ และสระ บนกระดานดำให้นักเรียนฝึกอ่านแจกลูกสะกด คำพร้อมกันและอ่านทีละคน ๗.๒ นักเรียนฝึกอ่านแจกลูกสะกดคำ ในหนังสือเรียนภาษาไทย ชั้น ป.๑ ชุดภาษาพาที หน้า ๑๐๐ – ๑๐๒ โดยอ่านพร้อมกันและอ่านทีละคน ๗.๓ ครูกำหนดพยัญชนะในหมวดอักษรต่ำ ให้นักเรียนคนละ ๑ ตัว โดยพยายามไม่ให้ซ้ำ กัน จากนั้นให้แต่ละคนนำสระ โ-ะ, เ-าะ , -อ , เ-อะ, เ-อ , เ-ือ มาประสมแล้วอ่านแจกลูกสะกดคำทีละ คน ๗.๕ นักเรียนทำใบงานที่ ๑๐ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนแจกลูกให้เป็นคำ เสร็จแล้วครูเฉลย และตรวจสอบความถูกต้อง ๗.๔ นักเรียนทำใบงานที่ ๑๑ ( ท้ายแผน ) ชุด เขียนคำอ่านของการสะกดคำที่กำหนดให้ จากนั้นนำส่งครู ครูเฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง ๘. สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. บัตรคำ พยัญชนะ สระ ๒.รูปภาพ ๓. ใบงาน ชุดที่ ๑๐ – ๑๑ ๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์และผลงานรายบุคคล ๙. วัดผลประเมินผล รายการประเมิน วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมินผล • ด้านความรู้ความเข้าใจ - การอ่านแจกลูกสะกดคำ - การตอบคำถาม - การทำใบงาน - สำรวจความพร้อม - สังเกต - ซักถาม - ตรวจใบงาน - บัตรคำ - ใบงาน ชุดที่ ๑๐ – ๑๑ - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - สังเกตพฤติกรรมขณะร่วม กิจกรรม - แบบประเมินผลงานรายบุคคล • ด้านทักษะกระบวนการคิด การร่วมสนทนา - ประเมินการร่วมสนทนา แบบประเมินผลงานรายบุคคล ๑๐. เกณฑ์ในการวัดผลและประเมินผล ๑) เกณฑ์ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลมีคะแนน ๓ ระดับ คือ


ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ได้คะแนน ๒๐ – ๒๔ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๒๓ – ๑๙ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๑๒ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๙ ขึ้นไป ๒) เกณฑ์การประเมินการทำใบงาน มีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี ทำได้ถูก ๘ – ๑๐ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ ได้คะแนน ๕ – ๗ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง ได้คะแนน ๑ – ๕ เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไปหรือได้คะแนน ๕ ขึ้นไป ๓) เกณฑ์การประเมินการอ่านแจกลูกสะกดคำมีคะแนน ๓ ระดับ ดังนี้ ระดับคุณภาพ ๓ หมายถึง ดี อ่านได้ถูกทุกคำ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถึง พอใช้ อ่านเลขไทยผิด ๑ คำ ระดับคุณภาพ ๑ หมายถึง ควรปรับปรุง อ่านแจกลูกผิด ๒ คำขึ้นไป เกณฑ์การผ่านต้องได้ระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป การประเมิน ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้ระดับคะแนน ดี(๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง (๐) กล้าแสดงออก กล้าซักถามกล้า แสดงออก กล้าแสดง ความคิดเห็นและกล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่ค่อยกล้า แสดงความคิดเห็นและ ไม่ค่อยกล้าโต้แย้งในสิ่ง ที่ถูกต้อง ไม่กล้าซักถามกล้า แสดงออก ไม่กล้าแสดง ความคิดเห็นและไม่กล้า โต้แย้งในสิ่งที่ถูกต้อง มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง กล้าซักถามกล้าพูดกล้า แสดงความคิดเห็นและ โต้แย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง


กล้าแสดงออก กล้าแสดงออก กล้าแสดงออก ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ให้ความสามัคคีและ ร่วมมือในการทำงานกับ เพื่อนอย่างดี ไม่ค่อยให้ความสามัคคี ในขณะปฏิบัติงาน ไม่ให้สามัคคี แตกแยก ทะเลาะกับผู้เพื่อนเป็น ประจำ มีทัศนคติที่ดีต่อ ภาษาไทย สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเกือบ ตลอดเวลา สนใจและตั้งใจร่วม กิจกรรมการเรียน ภาษาไทยอย่าง สนุกสนานและมี ความสุขเป็นบางครั้ง ประหยัดและอยู่อย่าง พอเพียง ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาถูกและใช้อย่าง คุ้มค่าใช้จนหมดแล้ว ค่อยซื้อใหม่ ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้จนหมด ใช้วัสดุอุปกรณ์การเรียน ที่ราคาค่อนข้างแพงและ ใช้อย่างคุ้มค่าใช้ไม่ หมดแล้วซื้อใหม่ ๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………….……………………………………………………………………………………………… ….…………………………………………………………………………… ๑๑. บันทึกข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ……………………………………………………………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………….……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………….……………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. ( ............................................ ) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียน............................. วันที่……เดือน……………..พ.ศ……….


๑๒. บันทึกผลหลังกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………….…………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………… ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………….…………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………….…………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. ( ............................................... ) ตำแหน่ง ครู ........................................... วันที่……เดือน……………..พ.ศ………. คำชี้แจง นักเรียนเขียนคำที่เกิดจากการแจกลูกต่อไปนี้ ก ต ข ใบงาน ชุดท ี่๑๐ โกะ เก อ


Click to View FlipBook Version