แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาศิลปศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่1 เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรม เห็น คุณค่าทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล 1.2 ตัวชี้วัด ศ 1.2 ม.1/1 ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น ตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบัน 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกความหมายของศิลปะและทัศนศิลป์ได้อย่างชัดเจน (K) 2. นักเรียนเขียนประเภทของทัศนศิลป์ได้ (P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่กำหนด (A) 3.สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด ศิลปะทางด้านทัศนศิลป์นับว่าเป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยพัฒนาตัวเราให้มีความสุขสมบูรณ์ พร้อมทั้งทางการ จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ทั้งนี้งานทัศนศิลป์จะเป็นผลงานที่เราสัมผัสซึ่งความงามได้จากการมองเห็น โดยงานทัศนศิลป์จะเป็นผลงานที่เราสัมผัสซึ่งความงามได้จากการมองเห็นโดยงานทัศนศิลป์จะจำแนกแยกย่อยได้ อีกหลายประเภท ดังนั้น ก่อนที่จะเรียนรู้เทคนิควิธีและลงมือสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์แต่ละประเภท จึงควร ศึกษาเรื่องราวเบื้องต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์เป็นการปูพื้นฐานไว้ก่อน
4.สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของศิลปะและทัศนศิลป์ 2. ประเภทของงานทัศนศิลป์ 3. ประเภทของประติมากรรม 4. ความหมายของสถาปัตยกรรม 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นักเรียนบอกความหมายของศิลปะและทัศนศิลป์ได้ อย่างชัดเจน นักเรียนเขียนประเภทของทัศนศิลป์ได้ 6.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง และสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมีรับข้อมูล ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการ เลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึง ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็น ระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง นักเรียนส่งงานตามเวลาที่กำหนด
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1. ครูชักชวนนักเรียนพูดคุยเรื่องศิลปะว่านักเรียนรู้พื้นฐานของศิลปะและทัศนศิลป์มากน้อยเพียงใด 2. นักเรียนร่วมกันบอกความหมายของศิลปะตามความเข้าใจ ขั้นจัดการเรียนการสอน 3. นักเรียนศึกษาความหมายของศิลปะและทัศนศิลป์ผ่านสไลด์ความรู้และซักถามแลกเปลี่ยนความรู้กับครู 4. นักเรียนศึกษาประเภทของทัศนศิลป์ผ่านสไลด์ความรู้และซักถามแลกเปลี่ยนความรู้กับครู 5. นักเรียนศึกษาความหมายและประเภทของประติมากรรมผ่านสไลด์ความรู้และซักถามแลกเปลี่ยนความรู้ กับครู 6. นักเรียนศึกษาเรื่องสถาปัตยกรรมผ่านสไลด์ความรู้และซักถามแลกเปลี่ยนความรู้กับครู 7. นักเรียนทำใบงานที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์โดยครูกำหนดเวลาส่ง ขั้นสรุป 8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้โดยการเล่นเกม Kahoot 8.ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ใบงาน เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์ ส่งในชั่วโมง 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. สไลด์ความรู้ 2. หนังสือเรียนทัศนศิลป์ ม.1 3. ใบงาน เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์ 4. เกม Kahoot แหล่งการเรียนรู้ 1. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
10. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกความหมายของ ศิลปะได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.นักเรียนเขียนความหมายของ ทัศนศิลป์ได้ (P) แบบประเมิน ใบงานเรื่อง ความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาศิลปะศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทัศนธาตุ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง จุด เส้น เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกลักษณะของจุดและเส้นได้อย่างชัดเจน (K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้จุดและเส้นได้ (P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด จุด เป็นส่วนสา คญั ในงานศิลปะที่มีขนาดเล็กที่สุด เมื่อนา จุดจา นวนมากมาเรียงกนัต่อเนื่องกนัและทา ซ้า ๆ กัน ก็จะท าให้เกิดเป็ นเส้น ถ้าจัดรวมกลุ่มกันจะกลายเป็ นรูปร่าง รูปทรงต่าง ๆ เส้น เป็นทศันธาตุที่สา คญั ในงานศิลปะ กล่าวว่าเส้นเป็นจุดเริ่มตน้ของการออกแบบทางทัศนศิลป์ ทุก ชนิด เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม เป็ นต้น
4.สาระการเรียนรู้ 1. ลักษณะของจุด 2.ลักษณะของเส้น 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นักเรียนบอกลักษณะของจุดและเส้นได้อย่างชัดเจน นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้จุดและเส้น ได้ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด
7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น กระดาษ ดินสอ ยางลบ 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนโดยการตีตารางแบ่ง ช่องให้ได้ 6 ช่องเท่า ๆกนัแลว้นา จุดและเส้นมาสร้างสรรคผ์ลงานตามจินตนาการท้งั 6 ช่องโดยไม่ซ้า กัน เมื่อเสร็จแล้วก็ให้นักเรียนลงมือท าลงบนกระดาษของนักเรียนได้เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการวาดภาพจากการสาธิตให้นกัเรียนไดเ้ขา้ใจแบบละเอียดและ ข้นัตอนวิธีการ วาดจุดและเส้นแต่ละข้นัตอนอยา่งละเอียดเมื่อนกัเรียนมีขอ้ สงสัยจึงอธิบายในส่วนน้นัอีกคร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ครูเตรียมอุปกรณ์มาเพื่อแจกให้นักเรียนทุกคน และให้นักเรียนทุกคนสร้างสรรค์ผลงานเรื่องจุด และเส้นตามจินตนาการของนักเรียน 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ ครูให้นกัเรียนลงมือวาดภาพตามข้นัตอนที่ไดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้หรือมีนกัเรียนคนไหน ที่มีข้อสงสัยครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนทุกคนเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามันยากหรือ ถ้าไม่เข้าใจก็จะได้ สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูผูส้อนให้นกัเรียนนา ผลงานของตนเองมาแขวนไวท้ี่จุดแสดงผลงานและสรุปข้นัตอนการลง มือปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้)
ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง จุดและเส้น ตามจินตนาการ ส่งภายในชวั่โมง 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. ดินสอ 2. หนังสือเรียนทัศนศิลป์ ม.1 3.กระดาษ 4.ยางลบ 5.ไม้บรรทัด แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกลักษณะของจุดและ เส้นได้อย่างชัดเจน (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้จุดและเส้นได้ (P) ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง จุดและเส้น ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาศิลปศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทัศนธาตุ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง รูปร่าง-รูปทรงกับค่าน้ำหนักอ่อนแก่ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกลักษณะของรูปร่างและรูปทรงได้อย่างชัดเจน (K) 2. นกัเรียนบอกความสา คญัของค่าน้า หนกัอ่อนแก่ได(้K) 3. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้ค่าน้า หนกัอ่อนแก่ไดอ้ยา่งถูกตอ้งและสวยงาม (P) 4. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด รูปร่าง มีลักษณะ 2 มิติมีเพียงดา้นกวา้งกบัดา้นยาวเท่าน้นั ไม่มีความลึกความหนา ส่วนรูปทรงมีลกัษณะ 3 มิติมีดา้นกวา้ง ดา้นยาวและมีความลึก ต้ืน หนา บาง
ค่าน้า หนกัออ่นแก่ มีความส าคัญเป็ นอย่างมากในทางทัศนศิลป์ เพราะท าให้ผลงานศิลปะเกิดมิติที่ เสมือนจริงมากยิ่งข้ึนและทา ให้ภาพน้นัมาความสมบูรณ์มากยิ่งข้ึนอกีดว้ย 4.สาระการเรียนรู้ 1. ลักษณะของรูปร่าง-รูปทรง 2.ความสา คญัของค่าน้า หนกัออ่น-แก่ 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) 1.นักเรียนบอกลักษณะของรูปร่างและรูปทรงได้ อย่างชัดเจน 2.นกัเรียนบอกความสา คญัของค่าน้า หนกัออ่นแก่ได้ นกัเรียนสร้างสรรคง์านทศันศิลป์โดยใชค้ ่าน้า หนกั อ่อนแกไ่ดอ้ยา่งถกูตอ้งและสวยงาม 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด
ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง 7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น กระดาษ ดินสอ ยางลบ ไม้บรรทัด 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนโดยการขีดช่อง 7 ช่อง เพื่อทา ค่าน้า หนกัความอ่อนแก่ 7 ระดบัจากระดบัอ่อนที่สุดไปถึงเขม้ที่สุด หลงัจากน้นั ให้วาดรูปร่าง วงกลมแลว้ให้นา ค่าน้า หนกัอ่อนแก่7ระดับมาท าให้รูปร่างวงกลมกลายเป็ นรูปทรงกลมโดยการก าหนด ทิศทางของแสงและเงาและไลน่้า หนกัตามทิศทางแสงและเงาที่ควรจะเป็นลงบนกระดาษ เมื่อครูสาธิต เสร็จจึงให้นักเรียนลงมือท าลงบนกระดาษของนักเรียนได้เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการวาดภาพจากการสาธิตให้นกัเรียนไดเ้ขา้ใจแบบละเอียดและ ข้นัตอนวิธีการ ลงค่าน้า หนกัอ่อน-แก่ทา รูปร่างวงกลมให้เกิดเป็นรูปทรงกลมแต่ละข้นัตอนอยา่งละเอียดเมื่อนักเรียนมี ขอ้ สงสัยจึงอธิบายในส่วนน้นัอีกคร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ครูเตรียมอุปกรณ์มาเพื่อแจกให้นักเรียนทุกคน และให้นักเรียนทุกคนสร้างสรรค์ผลงานเรื่องจุด และเส้นตามจินตนาการของนักเรียน 2.ข้นตอนการลงมือปฏิบัติ ั
ครูให้นกัเรียนลงมือวาดภาพตามข้นัตอนที่ไดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้หรือมีนกัเรียนคนไหน ที่มีข้อสงสัยครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนทุกคนเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามันยากหรือ ถ้าไม่เข้าใจก็จะได้ สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูผูส้อนให้นกัเรียนนา ผลงานของตนเองมาแขวนไวท้ี่จุดแสดงผลงานและสรุปข้นัตอนการลง มือปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง รูปร่าง-รูปทรงกบัน้า หนกัความอ่อน-แก่ส่งภายในชวั่โมง 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. ดินสอ 2. หนังสือเรียนทัศนศิลป์ ม.1 3.กระดาษ 4.ยางลบ 5.ไม้บรรทัด แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกลักษณะของรูปร่าง และรูปทรงได้อย่างชัดเจน (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.นักเรียนบอกความสำคัญของค่า น้ำหนักอ่อนแก่ได้(K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
3.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้ค่าน้ำหนักอ่อนแก่ได้อย่าง ถูกต้องและสวยงาม (P) ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง รูปร่างรูปทรงกับน้ำหนักความอ่อน-แก่ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 4.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทัศนธาตุ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง พื้นผิว เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกลกัษณะของพ้ืนผิวต่าง ๆได้(K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการฝนกระดาษทาบกบัพ้ืนผิวของวสัดุต่าง ๆ ภายในโรงเรียนได้ (P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด พ้ืนผิว(Texture) เป็นการแสดงลกัษณะพ้ืนผิวของรูปร่าง หรือรูปทรงต่าง ๆ ท้งัที่มีอยใู่นธรรมชาติและที่ มนุษย์สร้างข้ึน ซ่ึงผิวนอกของสิ่งต่าง ๆที่มีลกัษณะต่างกนั ไม่ว่าจะเป็นลกัษณะผิวหยาบ ผิวขรุขระผิวดา้น ผิว ละเอียด หรือผิวมัน เป็ นต้น
4.สาระการเรียนรู้ ลกัษณะของพ้ืนผิวต่าง ๆ 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นักเรียนบอกลักษณะของพ้ืนผิวต่าง ๆได้ นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการฝนกระดาษ ทาบกบัพ้ืนผิวของวสัดุต่าง ๆ ภายในโรงเรียนได้ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด
7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น กระดาษ ดินสอ ยางลบ 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มตน้ข้นัตอนโดยการที่ครูถามนกัเรียนว่าในชีวิตประจา วนัรู้จกัพ้ืนผิวอะไรบา้ง แลว้จึง แนะน าอุปกรณ์ให้นักเรียนได้ทราบว่ามีอะไรบ้าง หลงัจากน้นัก็สาธิตโดยการเอากระดาษ A4 ไปทาบ กบัระดานและนา ดินสอดา มาระบายลงตรงช่อง ที่เขียนว่าผิวเรียบ หลงัจากน้นัก็นา กระดาษแผ่นเดิมมา ทาบกบัพ้ืนกระเบ้ืองแล้วเอาดินสอด ามาระบายตรงช่องที่เขียนว่าผิวขรุขระ หลังจากที่สาธิตแล้ว ครูให้ นักเรียนมารับกระดาษกับครูแล้วให้เวลา 20 นาทีให้นกัเรียนออกจากห้องเรียนเพื่อไปหาพ้ืนผิวต่าง ๆ โดยทา ตามที่ครูสาธิตไปขา้งตน้เสร็จแลว้ให้กลบัข้ึนห้อง แลว้สุ่มนกัเรียนมาหนา้ช้นัเรียนจ านวน 3 คน เพื่อถามว่าไดพ้ ้ืนผิวอะไรมาบา้งและไดพ้ ้นืผิวดงักล่าวจากวสัดุใดในโรงเรียน 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปเรื่องพ้ืนผิวอยา่งละเอียดเมื่อนกัเรียนมีขอ้สงสัยจึงอธิบายในส่วนน้นัอีกคร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นั ตอนการเตรียมการ ให้นักเรียนรับระดาษใบงาน A4 จากครู และดูครูสาธิตการระบายดินสอด าและทาบการดาษลง พ้ืนผิวต่าง ๆ ให้เกิดพ้ืนผิวบนกระดาษ A4 ที่แจกให้ 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ นักเรียนออกไปนอกห้องภายในบริเวณโรงเรียนเพื่อหาวสัดุที่มีพ้ืนผิวต่างกนัและลงมอื สร้างสรรค์ผลงานตามข้นัตอนที่ไดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้ ครูจะเดินอยู่บริเวณโรงเรียนตรงที่มี นกัเรียนภายในช้นัเรียนน้นัหากมีนักเรียนคนไหนที่มีข้อสงสัยครูจะเดินดูนักเรียนทุกคนเพื่อไม่ให้ นักเรียนรู้สึกว่ามันยากหรือ ถ้าไม่เข้าใจก็จะได้สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นตอนการสรุป ั
ครูผูส้อนให้นกัเรียนนา ผลงานของตนเองมาแขวนไวท้ี่จุดแสดงผลงานและสรุปข้นัตอนการลง มือปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นกัเรียนสร้างสรรคผ์ลงานทศันศิลป์เรื่อง พ้ืนผิว โดยใชก้ระดาษ A4 ที่ครูแจกให้น าไปทาบลงบน พ้ืนผิวของวสัดุต่าง ๆแลว้นา ดินสอดา มาระบายให้เกิดเป็นพ้ืนผิวตามช่องที่กา หนด 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. ดินสอ 2. หนังสือเรียนทัศนศิลป์ ม.1 3.กระดาษ 4.ยางลบ แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. บริเวณโรงเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกลักษณะของพื้นผิว ต่าง ๆได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2. นักเรียนสร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์โดยการฝนกระดาษทาบ กับพื้นผิวของวัสดุต่าง ๆ ภายใน โรงเรียนได้(P) ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง พื้นผิว ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทัศนธาตุ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง การฉลุกระดาษพื้นที่ว่าง เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกความหมายของพ้ืนที่ว่างไดอ้ยา่งถูกตอ้ง (K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการฉลุกระดาษให้เกิดเป็นพ้ืนที่ว่างไดอ้ยา่งสวยงาม(P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด พ้ืนที่ว่าง (Visual Space) พ้ืนที่ว่าง หมายถึงส่วนใด ๆในภาพที่มีความว่างเปล่า อาจจะหมายถึงช่องว่าง ระหว่างพ้ืนที่ผิว ส่วนคนั่ระหว่างสีหรืออาณาบริเวณท้งัหมดที่ไม่เกี่ยวขอ้งกบัวตัถุในภาพน้นั ในกรณีของ ภาพถ่าย พ้ืนที่ปรากฏในแบบ 2 มิติแต่สามารถให้ความรู้สึกแบบ 3 มิติไดด้ว้ยจินตนาการ 4.สาระการเรียนรู้
ลกัษณะของพ้ืนที่ว่าง 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นกัเรียนบอกความหมายของพ้ืนที่ว่างไดอ้ยา่งถูกตอ้ง นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการฉลุกระดาษ ให้เกิดเป็นพ้ืนที่ว่างไดอ้ยา่งสวยงาม 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจัด และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด 7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method )
1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น กระดาษ 100 ปอนด์ คัตเตอร์ ดินสอ ยางลบ และภาพกระดาษ 100 ปอนด์ที่ฉลุมาแล้วให้นักเรียนเห็นภาพส าเร็จ ก่อนที่จะเริ่มสาธิต 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มตน้ข้นัตอนโดยการที่ครูถามนักเรียนว่าได้น าคัตเตอร์และกระดาษ 100 ปอนด์มาหรือไม่ หลงัจากน้นัแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนรู้ว่ามีอะไรบา้ง และนา สื่อการสอนสา เร็จมาให้นกัเรียนดูเป็น ตวัอยา่งก่อนที่จะเริ่มสาธิต โดยการวาดภาพที่ตอ้งการลงไปในกระดาษ 100 ปอนด์ และใช้คัตเตอร์ฉลุ กระดาษในส่วนที่ไม่ต้องการออกเพื่อให้เกิดเป็ นที่ว่าง พอสาธิตเสร็จก็ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติให้เสร็จ ภายในชวั่โมง หลงัจากนกัเรียนทา เสร็จครูสุ่มนกัเรียนออกมาหนา้ช้นัเรียน 2 คน มาน าเสนอผลงานที่ตน สร้างสรรคข์้ึน 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปเรื่องพ้ืนที่ว่างอยา่งละเอียดเมื่อนกัเรียนมีขอ้ สงสัยจึงอธิบายในส่วนน้นัอีกคร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ครูถามถึงอุปกรณ์ที่ให้นักเรียนเตรียมมา คือ กระดาษ 100 ปอนดแ์ละคตัเตอร์จากน้นัครูเอาสื่อ การสอนที่ฉลุกระดาษเรียบร้อยแล้วมาให้นักเรียนดูเป็ นตัวอย่างเพื่อให้นักเรียนเห็นภาพมากข้ึน 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ ครูน ากระดาษมาวาดภาพตามที่ต้องการโดยการอธิบายไปด้วยพร้อมกับสาธิตไปด้วยหลังจาก วาดเสร็จก็นา คตัเตอร์มาฉลุส่วนที่ไม่ตอ้งการออก พอสาธิตเสร็จจึงให้นกัเรียนลงมือปฏิบตัิตามข้นัตอน ที่ครูสาธิตให้ดูได้เลย หากมีนักเรียนคนไหนที่มีข้อสงสัยครูจะเดินดูนักเรียนทุกคนเพื่อไม่ให้นักเรียน รู้สึกว่ามันยากหรือ ถ้าไม่เข้าใจก็จะได้สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูผูส้อนให้นกัเรียนนา ผลงานของตนเองมาแขวนไวท้ี่จุดแสดงผลงานและสรุปข้นัตอนการลง มือปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี
8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นกัเรียนสร้างสรรคผ์ลงานทศันศิลป์เรื่องการฉลุกระดาษพ้ืนที่ว่าง โดยการฉลุกระดาษ 100 ปอนด์ที่ ไม่ต้องการออดให้เกิดที่ว่าง 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. ดินสอ 2. หนังสือเรียนทัศนศิลป์ ม.1 3.กระดาษ 100 ปอนด์ 4.ยางลบ 5. คัตเตอร์ แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 3. สื่อการสอนฉลุกระดาษ 100 ปอนด์ 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกความหมายของ พื้นที่ว่างได้อย่างถูกต้อง (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการฉลุกระดาษให้เกิดเป็นพื้นที่ ว่างได้อย่างสวยงาม(P) ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง การฉลุ กระดาษพื้นที่ว่าง ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ทัศนธาตุ เวลา 5 ชั่วโมง เรื่อง สีน่ารู้ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 4. นักเรียนบอกสีที่เป็ นแม่สีได้(K) 5. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้สีได้อย่างสวยงามและสร้างสรรค์(P) 6. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด สี เป็ นทัศนธาตุที่ส าคัญมากอีกอย่างหนึ่งของงานทัศนศิลป์ เป็นองคป์ระกอบในการมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ของมนุษย์ ใช้สร้างสรรค์บรรยากาศให้สมจริง น่าสนใจ และสร้างสรรค์งานศิลปะเพื่อให้เกิดความสวยงาม ใช้ สื่อความหมาย เช่น สัญลักษณ์ในการบอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ใช้ในการจัดกลุ่ม พวก ด้วยการใช้สีต่าง ๆ
4.สาระการเรียนรู้ 1. ชนิดของสี 2.คุณสมบัติของสีต่าง ๆ 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นักเรียนบอกสีที่เป็ นแม่สีได้ นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้สีได้อย่าง สวยงามและสร้างสรรค์ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด
7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น กระดาษ ดินสอ ยางลบ มีไม้ 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนโดยการเขียนวงกลม และขีดออกเป็ น 12 ช่อง เพื่อท าเป็ นวงจรสี และเขียนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 3 รูป เพื่อระบายแม่สีหลงัจากน้นั ก็ใช้สีไม้ระบาย วงจรสีและแม่สีเมื่อสาธิตเสร็จแล้วก็ให้นักเรียนลงมือท าลงบนกระดาษของนักเรียนได้ เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการวาดภาพจากการสาธิตให้นกัเรียนไดเ้ขา้ใจแบบละเอียดและ ข้นัตอนวิธีการ ท าวงจรสีและแม่สีแต่ละข้นัตอนอยา่งละเอียดเมื่อนกัเรียนมีขอ้ สงสัยจึงอธิบายในส่วนน้นัอีกคร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ 5 คนแล้วสร้างสรรค์ผลงานเรื่องสี โดยให้ท าวงจรสีและ กลุ่มแม่สีโดยใช้สีไม้ 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ ครูให้นกัเรียนลงมือวาดภาพตามข้นัตอนที่ไดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้หรือมีนกัเรียนคนไหน ที่มีข้อสงสัยครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนทุกกลุ่มเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามันยากหรือ ถ้าไม่เข้าใจก็จะได้ สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูผูส้อนให้นกัเรียนนา ผลงานของตนเองมาแขวนไวท้ี่จุดแสดงผลงานและสรุปข้นัตอนการลง มือปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้)
ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง วงจรสีสร้างสรรค์ 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. ดินสอ 2. หนังสือเรียนทัศนศิลป์ ม.1 3.กระดาษ 4.ยางลบ 5.ไม้บรรทัด 6.สีไม้ แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกสีที่เป็นแม่สีได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้สีได้อย่างสวยงามและ สร้างสรรค์(P) ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง วงจรสี สร้างสรรค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการระบายสี เวลา 3 ชั่วโมง เรื่อง การผสมขั้นของสีโดยใบไม้หลากสี เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกสีข้นัต่าง ๆ ได้(K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการนา ใบไมม้าทา เป็นสีแต่ละข้นัได้(P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด ในทางศิลปะสี คือ ทัศนธาตุอย่างหนึ่งที่เป็ นองค์ประกอบส าคัญของงานศิลปะและใช้ในการสร้างงาน ศิลปะโดยจะท าให้ผลงานมีความสวยงามช่วยสร้างบรรยากาศ มีความสมจริงเด่นชดัและน่าสนใจมากข้ึน สีเป็ นองค์ประกอบส าคัญอย่างหนึ่งของงานศิลปะ และเป็ นองค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึกอารมณ์ และ จิตใจได้มากกว่าองค์ประกอบอื่น ๆในชีวิตของมนุษย์มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสีต่าง ๆอย่างแยกไม่ออก
4.สาระการเรียนรู้ สีข้นัที่1 ไดแ้ก่สีแดง สีเหลือง สีน้า เงิน สีข้นัที่2 ไดแ้ก่สีเขียว สีส้ม สีม่วง สีข้นัที่3 ไดแ้ก่สีส้มเหลือง สีส้มแดง สีม่วงแดง สีม่วงน้า เงิน สีน้า เงินเขียว สีเขียวเหลือง 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นกัเรียนสามารถบอกสีข้นัต่าง ๆ ได้ นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการน าใบไม้มา ทา เป็นสีแต่ละข้นัได้ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด
6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง 7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น ใบไม้สี ใกลเ้คียงกบัข้นัสีแต่ละข้นักระดาษ 100 ปอนด์ กาว 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนโดยการวาดรูปวงกลม เต็มกระดาษ 100 ปอนด์และวาดช่องในวงกลมให้ได้ 12 ช่อง เมื่อวาดเสร็จให้น าใบไม้สีต่าง ๆ ที่เตรียม มามาติดเรียงจาก สีเหลือง ส้มเหลือง ส้ม แดงส้ม แดง ม่วงแดง ม่วง ม่วงน้า เงิน น้า เงิน น้า เงินเขียวเขียว เขียวเหลือง ตามล าดับ โดยใช้กาวในการติด เมื่อสาธิตเสร็จแล้วก็ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติของนักเรียนได้ เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการทา ข้นัของสี 3 ข้นั จากการสาธิตให้นักเรียนได้เข้าใจแบบละเอียดและ ข้นัตอนวิธีการทา ข้นัสี3 ข้นัแต่ละข้นัตอนอยา่งละเอียดเมื่อนกัเรียนมีขอ้ สงสัยจึงอธิบายในส่วนน้นัอีก คร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ครูถามนักเรียนถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ให้นักเรียนเตรียมมาเช่น กระกาษ 100 ปอนด์ และให้นักเรียน แบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ 3 คนหลงัจากน้นัมารับอุปกรณ์ที่ครูเตรียมไวใ้ห้เช่น สีกาว 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกไปนอกห้องเรียน บริเวณโรงเรียนเพื่อไปหาใบไม้สีใกล้เคียงกับสี แต่ละข้นัและนา มาติดใส่กระดาษให้เรียบร้อยสวยงามตามข้นัตอนทไี่ดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้หรือมี
นักเรียนคนไหนที่มีข้อสงสัยครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนทุกกลุ่มเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามันยากหรือ ถ้า ไม่เข้าใจก็จะได้สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูผู้สอนให้นักเรียนน าผลงานของแต่ละคนมาแสดงหน้าช้นัเรียนและสรุปข้นัตอนการลงมอื ปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง การผสมข้นัของสีโดยใบไมห้ลากสี 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1.กระดาษ 100 ปอนด์ 2.กาว 3.กรรไกร แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. บริเวณโรงเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1. นักเรียนสามารถบอกสีขั้นต่าง ๆ ได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2. นักเรียนสร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์โดยการนำใบไม้มาทำเป็น สีแต่ละขั้นได้ (P) ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง การผสมขั้น ของสีโดยใบไม้หลากสี ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการระบายสี เวลา 3 ชั่วโมง เรื่อง การออกแบบตัวการ์ตูนโดยใช้เทคนิคการเป่าสีน้ำ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวัด ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 4. นักเรียนสามารถบอกอุปกรณ์การเป่ าสีได้(K) 5. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการออกแบบตวัการ์ตูนตามจินตนาการโดยใชเ้ทคนิคการเป่าสีน้า ได้ (P) 6. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด สีน้า (Water color) เป็นสีซ่ึงใชผ้ สมกบัน้า แล้วน ามาวาดภาพ สีน้า มีลักษณะเป็ นสีโปร่งใส สามารถน้าไป ใชผ้ สมสารละลายบางอยา่งไดอ้ยา่งดีเช่น น้า หรือสีประเภทเดียวกันหรือสีที่มีคุณสมบัติ ใกล้เคียงกัน นอกจากน้นัอาจยงัใชส้ีขาวผสมในสีน้า ท าให้เป็นสีประเภททึบไดอ้ีกดว้ยเราเรียกสีชนิดน้ีว่า “สีน้า ทึบ”
การเป่ าสี คือการน าสีน้า หรือสีโปสเตอร์ผสมกบัน้า ให้สีข้นพอสมควร โดยการหยดสีลงบนกระดาษ ใช้ หลอด จ่อปลายหลอดที่สี แล้วเป่ าให้สีกระจาย จะได้ภาพสวยงามหลายหลากสี 4.สาระการเรียนรู้ 1. ข้นัตอนและวิธีการหล่อปูนปลาสเตอร์ 2.คุณสมบัติของของปูนปลาสเตอร์ 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นักเรียนสามารถบอกอุปกรณ์การเป่ าสีได้ นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการออกแบบ ตวัการ์ตูนตามจินตนาการโดยใชเ้ทคนิคการเป่าสีน้า ได้ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด
ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง 7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น กระดาษ 100 ปอนด์ปากกาดา สีน้า จานสีหลอด พู่กนั 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนโดยการผสมสีน้า ใส่ จานสีตามที่ต้องการ พอเสร็จให้ใชพู้่กนัหยดสีน้า สงในกระดาษ 100 ปอนด์แล้วใช้หลอดที่เตรียมไว้จ่อสี น้า บนกระดาษที่เราหยดแลว้ใชป้ากคาบหลอดเป่าให้เกิดรูปร่างอิสระและรอให้แห้ง หลงัจากสีแห้งแลว้ ให้นา ปากกาดา มาวาดออกแบบตวัการ์ตูนตามจินตนาการไปตามรูปร่างของสีน้า เมื่อสาธิตเสร็จแล้วก็ ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติของนักเรียนได้เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการออกแบบตวัการ์ตูนโดยการเป่าสีน้า จากการสาธิตให้นักเรียนได้เข้าใจแบบ ละเอียดและ ข้นัตอนวิธีการออกแบบตวัการ์ตูนโดยการเป่าสีน้า แต่ละข้นัตอนอยา่งละเอียดเมื่อนกัเรียน มีข้อสงสัยจึงอธิบายในส่วนน้นัอีกคร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ครูถามนักเรียนถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ให้นักเรียนเตรียมมาเช่น กระกาษ 100 ปอนด์ พู่กัน และให้ นกัเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อใชส้ีน้า ที่ครูเตรียมไวใ้ห้ดว้ยกนักลุ่มละ 5 คนหลงัจากน้นัมารับอุปกรณ์ที่ครูเตรียม ไว้ให้เช่น สีน้า หลอด จานสี
2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ ครูให้นักเรียนลงมือออกแบบตวัการ์ตูนสีน้า ตามข้นัตอนที่ไดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้หรือมี นักเรียนคนไหนที่มีข้อสงสัยครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนทุกกลุ่มเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามันยากหรือ ถ้า ไม่เข้าใจก็จะได้สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูผู้สอนให้นักเรียนน าผลงานของแต่ละคนมาแสดงหนา้ช้นัเรียนและสรุปข้นัตอนการลงมอื ปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นกัเรียนสร้างสรรคผ์ลงานทศันศิลป์เรื่องการออกแบบตวัการ์ตูนโดยการเป่าสีน้า 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1.กระดาษ 100 ปอนด์ 2. น้า 3. หลอด 4. สีน้า 5.จานสี แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนสามารถบอกอุปกรณ์การ เป่าสีได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
2.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการออกแบบตัวการ์ตูนตาม จินตนาการโดยใช้เทคนิคการเป่าสี น้ำได้ (P) ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง การ ออกแบบตัวการ์ตูนโดยการเป่าสีน้ำ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวาดภาพระบายสี เวลา 3 ชั่วโมง เรื่อง การขูดหรือขีดสี เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกเทคนิคการขูดสีได้ (K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้เทคนิคการขูดสีได้(P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด การขูดสีเป็ นการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ อย่างหนึ่ง โดยใช้เทคนิคการขูดหรือขีดให้เกิดเป็ นร่องรอย ตามความต้องการและจินตนาการของผู้สร้างสรรค์ 4.สาระการเรียนรู้
1. การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการขูดหรือขีดให้เกิดเป็ นร่องรอยตามจินตนาการของผู้สร้างสรรค์ 2.การเลือกใช้สีในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้สีเทียนและสีโปสเตอร์ 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นักเรียนบอกเทคนิคการขูดสีได้ นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้เทคนิคการ ขูดหรือขีดสี 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด
7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น กระดาษ 100 ปอนด์สีเทียน สีโปสเตอร์ไมจ้ิ้มฟัน 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนโดยการเลือกสีเทียน ตามใจชอบมาระบายตามความต้องการ เสร็จแล้วให้น าสีโปสเตอร์มาทาทับสีเทียนจนไม่เห็นสีเทียน รอ ให้แห้งแลว้นา ไมจ้ิ้มฟันมาขูดหรือขีดบริเวณที่ทาสีให้เกิดเป็นร่องรอยที่ตอ้งการเมื่อสาธิตเสร็จแล้วก็ให้ นักเรียนลงมือท าลงบนกระดาษของนักเรียนได้เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์จากการสาธิตให้นักเรียนได้เข้าใจแบบละเอียด และ ข้นัตอนวิธีการใช้เทคนิคการขูดหรือขีดสีแต่ละข้นัตอนอยา่งละเอียดเมื่อนกัเรียนมีขอ้ สงสัยจึง อธิบายในส่วนน้นัอีกคร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ครูเตรียมอุปกรณ์มาเพื่อแจกให้นักเรียนทุกคน และให้นักเรียนทุกคนสร้างสรรค์ผลงานตาม จินตนาการของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการขูดหรือขีดสี 2.ข้นัตอนการลงมอปฏิบัติ ื ครูให้นกัเรียนลงมือวาดภาพตามข้นัตอนที่ไดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้หรือมีนกัเรียนคนไหน ที่มีข้อสงสัยครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนทุกคนเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามันยากหรือ ถ้าไม่เข้าใจก็จะได้ สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูผู้สอนให้นกัเรียนนา ผลงานของตนเองมาแขวนไวท้ี่จุดแสดงผลงานและสรุปข้นัตอนการลง มือปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี
8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการขูดหรือขีดสี เทียน ส่งภายในชั่วโมง 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. สีเทียน 2. สีโปสเตอร์ 3.กระดาษ 100 ปอนด์ 4. พู่กัน 5.ไมจ้ิ้มฟัน แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกเทคนิคการขูดสีได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้เทคนิคการขูดหรือสีได้ (P) ผลงานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ นักเรียนโดยใช้เทคนิคการขูดหรือ ขีดสี ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่5 ทัศนียภาพ เวลา 1 ชั่วโมง เรื่อง ทัศนียภาพ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนอธิบายลักษณะของเส้นระดับสายตาและจุดรวมสายตาได้(K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ในหัวข้อทัศนียภาพโดยใช้เส้นระดับสายตาและจุดรวมสายตาได้(P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด ทัศนียภาพ (Perspective) คือ การวาดภาพแบบเหมือนจริง แสดงระยะใกล้ ไกล แบบสามมิติ เช่น ถนน และต้นไม้ที่อยู่ใกล้จะมี ขนาดเท่าจริง แต่ไกลออกไปจะมีขนาดเล็กลงตามลาดับ จนไปรวมกัน ที่เส้นขอบฟ้า เป็ นวิธีที่ช่วยให้วาดภาพทิวทัศน์ดูเหมือนจริงมากและน าไปใชว้าดภาพแสดงภาพงานออกแบบตกแต่งท้งัภายใน และ ภายนอก
เส้นระดับสายตา (Horizon Line) เป็ นเส้นระดับแนวนอน หรือแนวระดบัน้า จะข้ึน-ลง สูง-ต ่า อยู่ใน ระดบัสายตา ซ่ึงจะเป็นเส้นที่สา คญั ในการกา หนดของการมองวตัถุหรือ สิ่งก่อสร้างท้งัหมด จุดรวมสายตา (Vanishing point ) จะเป็ นจุดรวมสายตาที่อยู่ในเส้นระดับสายตา เป็ นต าแหน่งที่ลากเส้น สิ่งของต่าง ๆ ไปรวมกนัมีต้งัแต่1 จุดข้ึนไป แล้วแต่ต าแหน่งของวัตถุที่จัดวาง หรือ ต้องการวาดให้มีความ หลากหลายซับซ้อน 4.สาระการเรียนรู้ 1. การวาดภาพทัศนียภาพโดยใช้เส้นระดับสายตา 2.การวาดภาพทัศนียภาพโดยใช้จุดรวมสวยตา 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นักเรียนอธิบายลักษณะของเส้นระดับสายตาและจุด รวมสายตาได้ นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ในหัวข้อทัศนียภาพ โดยใช้เส้นระดับสายตาและจุดรวมสายตาได้ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง 7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น สไลด์ ความรู้เรื่องทัศนียภาพ จุดรวมสายตาและเส้นรวมสายตา กระดาษใบงานเรื่องทัศนียภาพ ดินสอ 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มต้นด้วยการสอนในสไลด์เรื่องทัศนียภาพ จุดรวมสายตาและเส้นระดับสายตา ที่เตรียมมา หลงัจากสอนเสร็จครูเริ่มแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนโดยการเอา กระดาษใบงานที่เตรียมมาข้ึนมา แลว้เริ่มสเก็ตภาพทศันียภาพโดยใช้เส้นระดบัสายตาและจุดรวมสายตา ให้นักเรียนดูเป็ นตัวอย่าง เมื่อสาธิตเสร็จแล้วก็ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติของนักเรียนได้เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการวาดภาพทัศนียภาพโดยใช้เส้นระดับสายตาและการวาดภาพทัศนียภาพโดย ใช้จุดรวมสายตาจากการสาธิตให้นักเรียนได้เข้าใจแบบละเอียด เมื่อนักเรียนมีข้อสงสัยจึงอธิบายในส่วน น้นัอีกคร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ครูถามนักเรียนว่าน าอุปกรณ์การวาดภาพ เช่น ดินสอ ปากกา มาหรือไม่ หลักจากสอบถาม นักเรียนเสร็จ ครูให้นักเรียนมารับใบงานจากครูคนละแผ่น 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ
ครูให้นักเรียนลงมือการวาดภาพทัศนียภาพโดยใช้เส้นระดับสายตาและการวาดภาพทัศนียภาพ โดยใช้จุดรวมสายตาตามข้นัตอนที่ไดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้ หรือมี นักเรียนคนไหนที่มีข้อสงสัย ครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนแต่ละคนเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามันยากหรือถ้าไม่เข้าใจก็จะได้สอบถาม ครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูผู้สอนให้นักเรียนน าผลงานของแต่ละคนมาแสดงหนา้ช้นัเรียนและสรุปข้นัตอนการลงมอื ปฏิบัติร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง การวาดภาพทัศนียภาพโดยใช้เส้นระดับสายตาและการ วาดภาพทัศนียภาพโดยใช้จุดรวมสายตา 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. ใบงาน เรื่อง การวาดภาพทัศนียภาพโดยใช้เส้นระดับสายตาและการวาดภาพทัศนียภาพโดย ใช้จุดรวมสายตา 2. ดินสอ 3.ยางลบ แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนอธิบายลักษณะของ เส้นระดับสายตาและจุดรวมสายตา ได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
2.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ในหัวข้อทัศนียภาพโดยใช้ เส้นระดับสายตาและจุดรวมสายตา ได้(P) ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง การวาด ภาพทัศนียภาพโดยใช้เส้นระดับ สายตาและการวาดภาพทัศนียภาพ โดยใช้จุดรวมสายตา ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21102 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่6 งานปั้นและงานสื่อผสม เวลา 3 ชั่วโมง เรื่อง ภาพพิมพ์ฟองสบู่ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกความหมายของภาพพิมพ์ได้(K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยท าภาพพิมพ์โดยใช้เทคนิคการเป่ าฟองสบู่(P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด ภาพพิมพ์เป็ นผลงานการถ่ายทอดด้วยการพิมพ์จากแม่พิมพ์งานภาพพิมพ์เกี่ยวข้องกับ การวาดเส้น สร้างสรรค์ เพราะมีลักษณะแสดงคุณค่าความงามของเส้น และค่าน้าหนักเช่นเดียวกับ งานวาดเส้นสร้างสรรค์ กลวิธีการสร้างงานภาพพิมพ์มี 4 วิธีคือการพิมพผ์ิวนูน การพิมพร์่องลึกการพิมพพ์ ้ืนราบ และการพิมพ์ฉลุ
4.สาระการเรียนรู้ ข้นัตอนและวิธีการทา ภาพพิมพโ์ดยการเป่ าฟองสบู่ 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นักเรียนบอกความหมายของภาพพิมพ์ได้ นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยท าภาพพิมพ์ โดยใช้เทคนิคการเป่ าฟองสบู่ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด
7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น แก้ว พลาสติก หลอด น้า ซลัไลต์สีผสมอาหาร 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มต้นด้วยการแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนในการ สาธิตโดยการเอาน้า เปล่าเทลงแกว้พลาสติกที่เตรียมไวแ้ลว้นา ซลัไลตม์าผสมแลว้คนดว้ยหลอด หลงัจากน้นันา สีผสมอาหารเทลงไปเลือกสีตามใจชอบและนา หลอดมาเป่าเพื่อให้เกิดฟอง เมื่อสาธิต เสร็จแล้วก็ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติของนักเรียนได้เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการท าภาพพิมพ์โดยการแกะยางลบจากการสาธิตให้นักเรียนได้เข้าใจแบบ ละเอียด เมื่อนกัเรียนมีขอ้ สงสัยจึงอธิบายในส่วนน้นัอีกคร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ครูสอบถามนักเรียนว่าได้น าอุปกรณ์ที่ครูบอกให้เอามาหรือไม่ เช่น ยางลบ ดินสอ คัตเตอร์ และ ให้นกัเรียนมารับกระดาษและหมึกปั๊มตราประทบักบัครู 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ ครูให้นักเรียนลงมือท าภาพพิมพ์โดยการแกะยางลบตามข้นัตอนที่ไดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองต้น หรือมี นักเรียนคนไหนที่มีข้อสงสัยครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนแต่ละคนเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามันยาก หรือถ้าไม่เข้าใจก็จะได้สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูให้นักเรียนน าผลงานของแต่ละคนมาแสดงหนา้ช้นัเรียนและสรุปข้นัตอนการลงมือปฏิบตัิ ร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี
8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ โดยการท าภาพพิมพ์โดยใช้เทคนิคการแกะยางลบ 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1.ยางลบ 2.คัตเตอร์ 3. ดินสอ 4. หมึกส าหรับตราประทับ 5. กระดาษ แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกความหมายของภาพ พิมพ์ได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยทำภาพพิมพ์โดยใช้เทคนิคการ แกะยางลบได้(P) สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์โดยการ ทำภาพพิมพ์โดยใช้เทคนิคการแกะ ยางลบ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่6 งานปั้นและงานสื่อผสม เวลา 1 ชั่วโมง
เรื่อง งานปั้น ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกชนิดวัสดุต่าง ๆที่สามารถใชใ้นการป้ันได้(K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยการป้ันดินน้า มนัไดไ้ด(้P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด การป้ันเป็ นกระบวนการหนึ่งในงานประติมากรรมที่มีลักษณะเป็ น 3 มิติ คือ มีความกว้าง ความยาว และความ หนา ผู้ชมสามารถจับต้องหรือสัมผัสได้ท้งัน้ีการป้ันจะกระทา ไดโ้ดยนา ส่วนยอ่ยพอกเพิ่มเขา้ไปในส่วนรวมเพื่อให้เกิด รูปทรงตามต้องการ 4.สาระการเรียนรู้ 1.วสัดุที่สามารถนา มาใชใ้นงานป้ัน เช่น ดินเหนียว ดินน้า มนัข้ีผ้ึง เป็นตน้ 2. คุณสมบตัิของวสัดุที่ใชน้า มาทา ผลงานป้ัน
3. หลกัการและวิธีการป้ันให้เกิดเป็นรูปทรงต่าง ๆ 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นกัเรียนบอกชนิดวสัดุต่าง ๆที่สามารถใชใ้นการป้ัน ได้ นกัเรียนสร้างสรรคง์านทศันศิลป์โดยการป้ันดิน น้า มนัไดไ้ด้ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด 7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น ดินน้า มนั จานกระดาษ 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มต้นด้วยการแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนในการ สาธิตโดยการเอาดินน้า มนัมาป้ันให้เกิดรูปทรงตามจินตนาการซ่ึงใชจ้านกระดาษรองผลงาน เมื่อสาธิต เสร็จแล้วก็ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติของนักเรียนได้เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการป้ันจากการสาธิตให้นักเรียนได้เข้าใจแบบละเอียด เมื่อนักเรียนมีข้อสงสัย จึงอธิบายในส่วนน้นัอีกคร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3คน โดยให้นา ดินน้า มนัมาตามสีที่ตอ้งการและให้นักเรียนแต่ละ กลุ่มมารับจานกระดาษที่ครูเตรียมไว้ให้ 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ ครูให้นักเรียนลงมือป้ันดินน้า มนัตามจินตนาการตามข้นัตอนที่ไดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้ หรือมี นักเรียนคนไหนที่มีข้อสงสัยครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนแต่ละกลุ่มเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามัน ยากหรือถ้าไม่เข้าใจก็จะได้สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูให้นักเรียนน าผลงานของแต่ละกลุ่มมาแสดงผลงานหนา้ช้นัเรียนและสรุปข้นัตอนการลงมอื ปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นกัเรียนสร้างสรรคผ์ลงานทศันศิลป์โดยการป้ันดินน้า มนัตามจินตนาการ