The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ที่เทอม2 ปีการศึกษา 2566 ฝึกสอน รรพิบูลย์รักพิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Panadda Chaopracha, 2024-02-09 02:49:59

แผนการจัดการเรียนรู้ที่เทอม2 ปีการศึกษา 2566 ฝึกสอน รรพิบูลย์รักพิทยา

แผนการจัดการเรียนรู้ที่เทอม2 ปีการศึกษา 2566 ฝึกสอน รรพิบูลย์รักพิทยา

9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. ดินน้า มนั 2.จานกระดาษ แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกชนิดวัสดุต่าง ๆที่ สามารถใช้ในการปั้นได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการปั้นดินน้ำมันได้ได้(P) สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์โดยการ ปั้นดินน้ำมันตามจินตนาการ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 งานปั้นและงานสื่อผสม เวลา 2 ชั่วโมง เรื่อง ประติมากรรมจากเทคนิคเปเปอร์มาเช่ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา


1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกวิธีการประติมากรรมจากเทคนิคเปเปอร์มาเช่ได้(K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้ทิชชู่ในการท าเปเปอร์มาเช่ได้(P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด เปเปอร์มาเช่ ( PaperMache ) เปเปอร์มาเช่ เป็ นศิลปะการนา กระดาษที่ไม่ใชแ้ลว้มายอ่ยเป็นชิ้นเล็ก ๆ น าไปผสมกาว สร้างเป็ นผลงานศิลปะ รูปทรงต่าง ๆ ตามจินตนาการ ซึ่งเป็ นศิลปะในการสร้างสรรค์กระดาษที่ ไม่ใชแ้ลว้ให้กลบัมีคุณค่าข้ึนมาใหม่เป็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอยา่งคุม้ค่า โดยคุณสมบตัิของเปเปอร์มาเช่ สามารถยอ่ยสลายไดเ้องตามธรรมชาติช่วยลดปัญหาดา้นสิ่งแวดลอ้ม 4.สาระการเรียนรู้ 1. วิธีการน าอากระดาษที่ไม่ใช้แล้วน ากลับมาสร้างสรรค์ให้เกิดเป็ นมูลค่าโดยการน ามาท าผลงานศิลปะ 2.การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ โดยใช้กระดาษทิชชู่ 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P)


นักเรียนบอกวิธีการประติมากรรมจากเทคนิคเปเปอร์ มาเช่ได้ นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้ทิชชู่ในการ ท าเปเปอร์มาเช่ได้ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด 7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต


ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น ทิชชู่น้า กะละมัง กาว 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนโดยการร่างภาพตาม จินตนาการลงบนที่รองวาด หลงัจากน้นันา เอากระดาษทิชชู่ลงไปในน้า และทา ให้เกิดเป็นชิ้นเล็ก ๆ พกั ไว้ 5 นาทีนา ข้ึนมาโดยการบีบน้า ออกจากทชิชู่ให้หมาด ๆ แลว้เอาข้ึนมาใส่แกว้ปละผสมสีตามที่ ต้องการแล้วน ามาใส่กาวผสมให้เข้ากัน แล้วน ากระดาษทิชชู่ผสมกาวที่เตรียมไว้มาวางลงแผ่นรางวาดที่ เราร่างภาพไวโ้ดยใชไ้มจ้ิ้มฟันจิ้มเรื่อยๆจนให้มนัติดแผ่นรองวาด ทา ต่อไปเรื่อย ๆ จนเสร็จเมื่อเสร็จแล้ว ก็ให้นักเรียนลงมือท าลงบนกระดาษของนักเรียนได้เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการวาดภาพจากการสาธิตให้นกัเรียนไดเ้ขา้ใจแบบละเอียดและ ข้นัตอนวิธีการ วาดจุดและเส้นแต่ละข้นัตอนอยา่งละเอียดเมื่อนกัเรียนมีขอ้ สงสัยจึงอธิบายในส่วนน้นัอีกคร้ัง 2. การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 3 คน และเตรียมอุปกรณ์มาเพื่อแจกให้นักเรียนทุกกลุ่ม และให้ นักเรียนทุกคนสร้างสรรค์ผลงานเรื่องเปเปอร์มาเช่แสนสนุก ตามจินตนาการของนักเรียน 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ ครูให้นักเรียนลงมือท าเปเปอร์มาเช่ตามข้นัตอนที่ไดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้หรือมีนกัเรียน คนไหนที่มีข้อสงสัยครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนทุกกลุ่มเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามันยากหรือ ถ้าไม่เข้าใจ ก็จะได้สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูผู้สอนให้นักเรียนน าผลงานของตนเองมาแขวนไว้ที่จุดแสดงผลงานและสรุปข้นัตอนการลง มือปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้)


ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง ประติมากรรมจากเทคนิคเปเปอร์มาเช่ 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. ดินสอ 2.แผ่นรองวาด 3. ทิชชู่ 4.กาว 5.แก้ว 6.สี 7.สไลด์ความรู้ แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกวิธีการทำเปเปอร์ มาเช่ได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้ทิชชู่ในการทำเปเปอร์มาเช่ ได้(P) ประติมากรรมจากเทคนิคเปเปอร์ มาเช่ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 งานปั้นและงานสื่อผสม เวลา 2 ชั่วโมง เรื่อง โคมไฟเปเปอร์มาเช่ เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกวิธีการท าโคมไฟเปเปอร์มาเช่ได้(K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้กระดาษที่ไม่ใช้แล้วน ามาท าโคมไฟโดยใช้เทคนิคเปเปอร์มาเช่ ได้(P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A) 3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด เปเปอร์มาเช่ ( PaperMache ) เปเปอร์มาเช่ เป็ นศิลปะการนา กระดาษที่ไม่ใชแ้ลว้มายอ่ยเป็นชิ้นเล็ก ๆ น าไปผสมกาว สร้างเป็ นผลงานศิลปะ รูปทรงต่าง ๆ ตามจินตนาการ ซึ่งเป็ นศิลปะในการสร้างสรรค์กระดาษที่


ไม่ใชแ้ลว้ให้กลบัมีคุณค่าข้ึนมาใหม่เป็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอยา่งคุม้ค่า โดยคุณสมบตัิของเปเปอร์มาเช่ สามารถย่อยสลายไดเ้องตามธรรมชาติช่วยลดปัญหาดา้นสิ่งแวดลอ้ม 4.สาระการเรียนรู้ 1. วิธีการน าอากระดาษที่ไม่ใช้แล้วน ากลับมาสร้างสรรค์ให้เกิดเป็ นมูลค่าโดยการน ามาท าผลงานศิลปะ 2.การสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ โดยใช้กระดาษที่ไม่ใช้แล้ว 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นักเรียนบอกวิธีการท าโคมไฟเปเปอร์มาเช่ได้ นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้กระดาษที่ไม่ ใช้แล้วน ามาท าโคมไฟโดยใช้เทคนิคเปเปอร์มาเช่ได้ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด


ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง 7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น กระดาษที่ ไม่ใช้แล้วลูกโป่ ง น้า กะละมงักาว 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนโดยการเป่ าลูกโป่ งที่ เตรียมไว้ตามขนาดที่ต้องการ หลงัจากน้นั ให้เอาน้า ใส่กะละมงัให้เรียบร้อนแลว้ฉีกกระดาษไม่เล็ก เกินไปและไม่ใหญ่เกินไปในกะละมงัที่มีน้า อยู่ พักไว้ 5 นาทีนา ข้ึนมาโดยการบีบน้า ออกจากกระดาษ ให้หมาด ๆ แลว้เอาข้ึนมาผสมกาวและติดใส่ลูกโป่งที่เป่าไวก้่อนหนา้น้นัติดไปเรื่อยจนเสร็จ แลว้รอให้ แห้ง หลังจากแห้งสนิทให้น าเข็มมาเจาะลูกโป่ งให้แตกจะได้กระดาษผสมกาวที่อยู่ในรูปทรงคงตัวคล้าย ลูกโป่งและนา มาตดัแต่งให้เกิดรูปทรงที่สวยข้ึน นา ลวดมาใชเ้ป็นที่แขวน และนา เทียนหอมมาต้งัไว้ก็ จะได้โคมไฟจากเทคนิคเปเปอร์มาเช่ตามที่ต้องการ เมื่อเสร็จแล้วก็ให้นักเรียนลงมือท าลงท าของ นักเรียนได้เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการการท าโคมไฟจากเทคนิคเปเปอร์มาเช่จากการสาธิตให้นักเรียนได้เข้าใจ แบบละเอียดและ เมื่อนกัเรียนมีขอ้ สงสัยจึงอธิบายในส่วนน้นัอีกคร้ัง 2. การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ


ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 3 คน และเตรียมอุปกรณ์มาเพื่อแจกให้นักเรียนทุกกลุ่ม และให้ นักเรียนทุกคนสร้างสรรค์ผลงานเรื่องโคมไฟจากเทคนิคเปเปอร์มาเช่ 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ ครูให้นักเรียนลงมือท าโคมไฟจากเทคนิคเปเปอร์มาเช่ตามข้นัตอนทไี่ดส้าธิตไปแลว้ใน เบ้ืองตน้หรือมีนกัเรียนคนไหนที่มีขอ้ สงสัยครูผูส้อนจะเดินดูนกัเรียนทุกกลุ่มเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่า มันยากหรือ ถ้าไม่เข้าใจก็จะได้สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูผูส้อนให้นกัเรียนนา ผลงานของตนเองมาแขวนไวท้ี่จุดแสดงผลงานและสรุปข้นัตอนการลง มือปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง การท าโคมไฟจากเทคนิคเปเปอร์มาเช่ 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. ดินสอ 2.ลูกโป่ ง 3.ลวด 4.กาว 5.แก้ว 6. เทียนหอม 7.สไลด์ความรู้ แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน


10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกวิธีการทำโคมไฟเป เปอร์มาเช่ได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้กระดาษที่ไม่ใช้แล้วนำมาทำ โคมไฟโดยใช้เทคนิคเปเปอร์มาเช่ ได้(P) การทำโคมไฟจากเทคนิคเปเปอร์ มาเช่ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่6 งานปั้นและงานสื่อผสม เวลา 3 ชั่วโมง เรื่อง ปูนปลาสเตอร์หรรษา เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 4. นักเรียนบอกวิธีการหล่อปูนปลาสเตอร์ได้(K) 5. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการหล่อปูนปลาสเตอร์ได้(P) 6. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A)


3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด การหล่อ คือการน าเอาวัสดุที่เป็ นของเหลวเทลงไปในแม่พิมพ์ ให้วสัดุเหลวน้นัเกาะยึดผิวดา้นในของ แม่พิมพใ์ห้ทวั่เมื่อวสัดุน้นัจบัตวักนัเป็นของแข็ง แกะแม่พิมพอ์อก รูปที่ปรากฏให้เห็นจะมีความเหมือนกบัรูป ตน้แบบ แต่เป็นผลงานอีกชิ้นหน่ึง เราเรียกผลงานใหม่ว่า “รูปหล่อ” แม่พิมพ์ คือส่วนที่ถอดแบบออกมาจากรูปต้นแบบ ซึ่งอาจจะเป็ นวัสดุธรรมชาติ เช่น พืช สัตว์ และผลงานที่มนุษยส์ร้างข้ึนในรูปแบบ 3 มิติไดแ้ก่รูปป้ัน รูปกะสลกัเป็นตน้ โดยการนา เอาวสัดทุี่มีลกัษณะเป็น ของเหลวหุ้มรูปตน้แบบ เมื่อวสัดุน้นัแข็งตวัจึงนา เอารูปตน้แบบออก ก็จะไดส้ ่วนที่ลอกแบบรูปนอกของพ้ืนผิว รูปต้นแบบ ที่เรียกกันว่า “แม่พิมพ์” การหล่อ เป็นกระบวนการต่อเนื่องจากการป้ันรูปเพื่อตอ้งการให้รูปป้ันที่สร้างสรรคข์้ึนมาน้นั เป็ นวัสดุที่คงทนแข็งแรงกว่าเดิม หรือการท าแม่พิมพแ์ลว้หล่อให้รูปป้ันน้นัมีจา นวนมาก ๆ โดยมีรูปแบบ เหมือนกัน ในงานประติมากรรมที่ต้องการความคงทน ต้องท าแม่พิมพ์ด้วยวัสดุที่แข็งแรง แล้วหล่อด้วยโลหะ ชนิดต่าง ๆ ส่วนการหล่อในข้นัพ้ืนฐานเริ่มแรก ควรทา แม่พิมพแ์ละหล่อดว้ยวสัดุที่หาไดง้่าย และมีราคาไม่แพง นกั ไดแ้ก่การหล่อด้วยปูนปลาสเตอร์ 4.สาระการเรียนรู้ 1. ข้นัตอนและวิธีการหล่อปูนปลาสเตอร์ 2.คุณสมบัติของของปูนปลาสเตอร์ 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นักเรียนบอกวิธีการหล่อปูนปลาสเตอร์ได้ นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการหล่อปูน ปลาสเตอร์ได้ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A)


6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด 7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น ปูน ปลาสเตอร์แม่พิมพห์ล่อปูนปลาสเตอร์ชอ้น แกว้น้า 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนโดยการนา น้า ที่เตรียม มาเทลงแก้วน้า ในสัดส่วนที่พอดีกบัแม่พิมพห์ลงัจากน้นั ให้นา ปูนปลาสเตอร์มาร่อนใส่ลงแกว้ใน อัตราส่วน ปูนปลาสเตอร์:น้า เป็น 1:1 โดยให้ร่อนปูนปลาสเตอร์ให้ปริ่มน้า ในแกว้พอดีไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป พักไว้ประมาณ 1-2 นาทีเพื่อให้ปูนปลาสเตอร์อิ่มน้า ก่อนผิวปูนจะไดล้ะเอียด หลงัจากน้นั


ให้ใชช้อ้นที่เตรียมมาค่อย ๆ คนให้ปูนปลาสเตอร์กบัน้า ผสมเขา้ดว้ยกนัไดอ้ยา่งละเอียดและไม่เป็นกอ้น ใช้เวลาในการคนประมาณ 2-3 นาทีแล้วก็เทลงบนแม่พิมพ์ที่เตรียมไว้ และปล่อนให้ปูนปลาสเตอร์ แข็งตัวประมาณ 10-15นาที หรือเมื่อใช้มือสัมผัสปูนแล้วรู้สึกร้อนจึงแกะออก เมื่อสาธิตเสร็จแล้วก็ให้ นักเรียนลงมือปฏิบัติของนักเรียนได้เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการหล่อปูนปลาสเตอร์จากการสาธิตให้นักเรียนได้เข้าใจแบบละเอียดและ ข้นัตอนวิธีการหล่อปูนปลาสเตอร์แต่ละข้นัตอนอยา่งละเอียดเมื่อนกัเรียนมีขอ้ สงสัยจึงอธิบายในส่วน น้นัอีกคร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ 5 คนแล้วมารับอุปกรณ์ที่ครูเตรียมไว้ให้ 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบติั ครูให้นักเรียนลงมือหล่อปูนปลาสเตอร์ตามข้นัตอนที่ไดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้หรือมี นักเรียนคนไหนที่มีข้อสงสัยครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนทุกกลุ่มเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามันยากหรือ ถ้า ไม่เข้าใจก็จะได้สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูผู้สอนให้นักเรียนน าผลงานของแต่ละกลุ่มมาแสดงหนา้ช้นัเรียนและสรุปข้นัตอนการลงมอื ปฏิบตัิร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง ปูนปลาสเตอร์สร้างสรรค์ 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. ปูนปลาสเตอร์


2. น้า 3.แก้ว 4. ช้อน 5.แม่พิมพ์ แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ นักเรียนบอกวิธีการหล่อปูน ปลาสเตอร์ได้ (K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยการหล่อปูนปลาสเตอร์ได้(P) ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง การหล่อปูน ปลาสเตอร์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป นักเรียนส่งงานตามเวลาที่กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหัสวิชา ศ 21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่6 งานปั้นและงานสื่อผสม เวลา 3 ชั่วโมง เรื่อง สื่อผสมแสนสนุก เวลา 1 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปนัดดา ชาวประชา โรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา 1.มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 1.1 สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 1.2 ตวัช้ีวดั ศ 1.1 ม.1/1 บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์ และ สิ่งแวดลอ้ม โดยใชค้วามรู้เรื่องทศันธาตุ ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิ กอื่น ๆ ในการน าเสนอความคิดและ ข้อมูล 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนบอกความหมายของงานสื่อผสมได้(K) 2. นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้เทคนิคสื่อผสมได้(P) 3. นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด (A)


3.สาระส าคัญ / ความคิดรวบยอด ศิลปะสื่อผสม (MIXED MEDIA ART) ในทางทัศนศิลป์ หมายถึงผลงานที่เกิดจากการสร้างสรรค์ด้วย การใชส้ื่อวสัดุต่างชนิด และกลวิธีการสร้างต้งัแต่2 ชนิดข้ึนไป เขา้มาผสมผสานกนั ในผลงานชิ้นน้นั ให้เกิดเป็น องค์ประกอบภาพสวยงามกลมกลืน 4.สาระการเรียนรู้ 1. ข้นัตอนและวิธีการทา สื่อผสม 2. เทคนิคของสื่อผสม 5.ความรู้และทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด ความรู้(K) ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด(P) นักเรียนบอกความหมายของงานสื่อผสมได้ นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้เทคนิค สื่อผสมได้ 6.สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์(A) 6.1 ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถใน การรับและส่งสาร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมท้งัการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับและมี รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 6.2 ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็ น นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ก าหนด


ระบบ เพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ความรู้เพื่อการ ตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.3 ความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถ ในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้อง 7.การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.วิธีการสอนแบบสาธิต ( Demonstration Method ) 1. การเตรียมการสาธิต ครูจดัเตรียมอุปกรณ์ที่ตอ้งใชเ้ป็นสื่อการเรียนการสอนให้พร้อมก่อนเริ่มสาธิต เช่น วัสดุต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นกระดุม กาวใบไม้ดอกไม้สีลงั ไมจ้ิ้มพนัพู่กนักระดาษ 100 ปอนด์หรือกระดาษแข็ง เป็ น ต้น 2.การด าเนินการสอนแบบสาธิต ครูเริ่มแนะนา อุปกรณ์ให้นกัเรียนไดท้ราบว่ามีอะไรบา้ง เริ่มตน้ข้นัตอนโดยการวาดภาพตามใจ ชอบ 1 ภาพ แล้วน าอุปกรณ์ที่เตรียมมา มาใช้สร้างสรรค์ผลงาน ไม่ว่าจะเป็ นการแรเงาภาพที่วาด การลง สีและการนา เอาวสัดุต่าง ๆ มาติดให้นกัเรียนดูหนา้ช้นัเรียนพร้อมอธิบายอยา่งละเอียดให้นกัเรียนเขา้ใจ เรื่องสื่อผสม เมื่อสาธิตเสร็จแล้วก็ให้นักเรียนลงมือปฏิบัติของนักเรียนได้เลย 3.การสรุปและประเมินผล ครูสรุปข้นัตอนการสร้างสรรค์ผลงานสื่อผสมจากการสาธิตให้นักเรียนได้เข้าใจแบบละเอียด และ ข้นัตอนวิธีการสื่อผสมแต่ละข้นัตอนอยา่งละเอียดเมื่อนกัเรียนมีขอ้ สงสัยจึงอธิบายในส่วนน้นัอีก คร้ัง 2.การเรียนรู้แบบลงมือท า(ปฏิบัติ) (Active Learning) 1.ข้นัตอนการเตรียมการ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มละ 2 คนแลว้มารับอุปกรณ์ที่ครูเตรียมไวใ้ห้หลงัจากน้นั ให้ เวลานักเรียน 5 นาทีเพื่อลงไปหาวสัดุเพิ่มเติมภายในโรงเรียน 2.ข้นัตอนการลงมอืปฏิบตัิ


ครูให้นักเรียนลงมือท าสื่อผสมตามข้นัตอนทไี่ดส้าธิตไปแลว้ในเบ้ืองตน้หรือมีนกัเรียนคน ไหนที่มีข้อสงสัยครูผู้สอนจะเดินดูนักเรียนทุกกลุ่มเพื่อไม่ให้นักเรียนรู้สึกว่ามันยากหรือ ถ้าไม่เข้าใจก็ จะได้สอบถามครูผู้สอนได้ทันที 3.ข้นัตอนการสรุป ครูสุ่มนักเรียนน าผลงานของแต่ละกลุ่มมาแสดงหนา้ช้นัเรียนและสรุปข้นั ตอนการลงมือปฏิบัติ ร่วมกนัเป็นอนัเสร็จสิ้นการเรียนการสอนในชวั่โมงน้ี 8. ชิ้นงานหรือภาระงาน(หลักฐานร่องรอยแสดงความรู้) ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง สื่อผสมแสนสนุก 9.สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1. ปูนปลาสเตอร์ 2. น้า 3.แก้ว 4. ช้อน 5.แม่พิมพ์ แหล่งการเรียนรู้ 1.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. ห้องเรียน 10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ เครื่องมือ / วิธีการวัด เกณฑ์ความสำเร็จ 1.นักเรียนบอกความหมายของงาน สื่อผสมได้(K) แบบสังเกตพฤติกรรมการตอบ คำถาม ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2.นักเรียนสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้เทคนิคสื่อผสมได้(P) ผลงานทัศนศิลป์ เรื่อง สื่อผสมแสน สนุก ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3.นักเรียนส่งงานตามเวลาที่ กำหนด (A) แบบสังเกตพฤติกรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป


11.บันทึกหลังสอน บันทึกความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของครูพี่เลี้ยง 1.ได้ท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง สามารถน าไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ ควรปรับปรุงก่อนนา ไปใช้ 2.ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………. (นายจิณณ์ จันทร์หอม) ตา แหน่งครูพี่เล้ียง วันที่……..เดือน……………พ.ศ……... ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของครูพี่เลี้ยง 1.ได้ท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง สามารถน าไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ ควรปรับปรุงก่อนนา ไปใช้ 2.ข้อเสนอแนะ


…………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………. (นางอภิญญา เที่ยงธรรม) ต าแหน่งรองผู้อ านวยการโรงเรียนพิบูลย์รักษ์พิทยา วันที่……..เดือน……………พ.ศ……... บันทึกผลหลงการสอน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/1 วันที่………………………………………. ผลการจัดการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางการแก้ไขปัญหา …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. (นางสาวปนัดดา ชาวประชา) นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา วันที่…….เดือน…………..พ.ศ………….


บันทึกผลหลงการสอน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/2 วันที่………………………………………. ผลการจัดการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางการแก้ไขปัญหา …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. (นางสาวปนัดดา ชาวประชา) นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา วันที่…….เดือน…………..พ.ศ………….


บันทึกผลหลงการสอน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/3 วันที่………………………………………. ผลการจัดการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางการแก้ไขปัญหา …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. (นางสาวปนัดดา ชาวประชา) นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา วันที่…….เดือน…………..พ.ศ………….


บันทึกผลหลงการสอน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1/4 วันที่………………………………………. ผลการจัดการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางการแก้ไขปัญหา …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………….. (นางสาวปนัดดา ชาวประชา) นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา วันที่…….เดือน…………..พ.ศ………….


แบบประเมินผลงาน คา ช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานของนักเรียน แล้วขีด √ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ล าดับที่ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 3 2 1 หมายเหตุ 1 การคิดวิเคราะห์ 2 การเขียนสื่อความ 3 มีความคิดสร้างสรรค์ 4 ประโยชน์ของการน าข้อมูลไปใช้ รวม รวมทั้งสิ้น ลงชื่อ…………………………………….. (นางสาวปนัดดา ชาวประชา) นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา วันที่…….เดือน…………..พ.ศ………….


Click to View FlipBook Version