2/2562
การมีสว่ นรว่ มของประชาชน
ในกระบวนการงบประมาณ
สํานกั งบประมาณของรฐั สภา
สาํ นกั งานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร
การมีสว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
คาํ นาํ
การศึกษาเร่ือง “การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ” เลมนี้ ผูศึกษาไดศึกษา
คนควา จดั ทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อศกึ ษาความสําคัญ หลกั การและแนวคิดเก่ยี วกบั การการมีสวนรวมของ
ประชาชนในกระบวนการงบประมาณ โดยไดศึกษาประเด็นการมีสวนรวมท่ีระบุไวในกฎหมายและระเบียบท่ี
เกี่ยวของ แนวทางของตางประเทศท่ีนํางบประมาณแบบมีสวนรวม (Participatory Budget) มาใชดําเนินการ
กระบวนการงบประมาณของประเทศไทย การมีสวนรวมของประชาชนและการรับฟงความคิดเห็นราง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2562-2563 รวมถึง ขอเสนอแนะ มาตรการ
หรือแนวทางท่ีจะสามารถนําไปประยุกตใชกับกระบวนการงบประมาณ เพื่อใหเกิดความคุมคาจากการใชจาย
งบประมาณรายจา ยประจําปมากยง่ิ ขน้ึ
สํานักงบประมาณของรัฐสภาหวังเปนอยางย่ิงวา รายงานฉบับน้ีจะเปนประโยชนตอสมาชิกรัฐสภา
กรรมาธิการฯ และผูสนใจ เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย
ประจําป
สํานกั งบประมาณของรฐั สภา
พฤษภาคม 2562
สํานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร ก สํานกั งบประมาณของรัฐสภา
การมีสว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
บทสรุปผบู ริหาร
เปาหมายที่สําคัญของการบริหารจัดการที่ดี (Good Governance) โดยเฉพาะภาครัฐท่ีจะตองมีการ
จัดทํานโยบายสาธารณะและจัดสรรทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุดตอชุมชนสังคมและ
ประเทศชาติ งบประมาณรายจายประจําปจึงเปนสะพานเช่ือมระหวางนโยบายสาธารณะกับประชาชน ปจจัย
สําคัญประการหนึ่งที่จะทําใหเกิดฉนั ทามติระหวางภาครัฐและประชาชนไดคือ “การมีสวนรว มในกระบวนการ
งบประมาณ” เพราะจะทําใหลดคาใชจายและความสูญเสียงบประมาณ การใชจายงบประมาณท่ีผานมามี
ตัวอยางโครงการจํานวนมากท่ี เกิดการสูญเสียงบประมาณจากการขาดการมีสวนรวมของประชาชนต้ังแตเร่ิ ม
โครงการ อยางไรก็ตาม กฎหมายและระเบียบตางๆไดกําหนดประเด็นการมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศไว
แตสวนใหญภาครัฐมักทําเพียง “การใหขอมูล หรือ รับฟงความคิดเห็น หรือ ประชาพิจารณ” ตามที่กฎหมาย
กําหนดไวเทานั้น สงผลการตอตาน และเกิดการเผชิญหนาระหวางภาครัฐกับประชาชน สงผลใหไมสามารถ
ดําเนนิ โครงการได
การนํา “ระบบงบประมาณแบบมีสวนรวม (Participatory Budgeting)” จะทําใหประชาชนมีสวน
รวมเก่ียวกับการใชจา ย ติดตาม ตรวจสอบ ทําใหการใชจ ายมเี หตผุ ล โปรง ใส ตรวจสอบได การศึกษาครั้งนี้ จึง
มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาการมีสวนรวมตามกรอบกฎหมาย การมีสวนรวมในกระบวนการงบประมาณของ
ประเทศไทยและตางประเทศ ปญหาและอุปสรรคดานการมีสวนรวมในกระบวนการงบประมาณ และ
ขอ เสนอแนะทีจ่ ะเปน ประโยชนตอ การจัดสรรงบประมาณรายจา ยประจาํ ป
การทบทวนวรรณกรรม ไดศึกษากระบวนการงบประมาณ ความหมาย หลักการและปจจัยที่สําคัญ
ของการมีสวนรวม ตัวแบบของการมีสวนรวม เทคนิคการมีสวนรวม งบประมาณแบบมีสวนรวมของ
ตางประเทศ กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมตางๆ งานวจิ ัย และตัวอยางเคร่อื งมือตางๆที่ใชใน
ตางประเทศ
ผลการศึกษา สามารถแบงออกไดเปน 4 ประเด็นคอื
1. ภาครัฐยังไมไดใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
มากนัก ท่ีผานมาดําเนินการเพียง “ระดับใหขอมูลขาวสาร หรือรวมแสดงความคิดเห็น” เพื่อใหเปนไปตาม
กรอบกฎหมายเทาน้ัน กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของสวนใหญสงเสริมใหประชาชนมีสวนรวมใน
กระบวนการนโยบายสาธารณะโดยไมไ ดระบแุ นวทางดําเนินการอยางชดั เจน และไมไดกาํ หนดประเดน็ “การมี
สวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ”ไว ทําใหถูกละเลยเรื่องงบประมาณ หากจําแนก
กระบวนการงบประมาณออกเปน 2 ระดับคือ ระดับรัฐบาล และ โดยท้ัง 2 ระดับอํานาจตัดสินใจสุดทายยัง
เปนของภาครฐั จึงทาํ ใหป ระชาชนไมส นใจทีจ่ ะมีสวนรวมในกระบวนการงบประมาณเทาท่ีควร
2. รูปแบบงบประมาณในตางประเทศมีความแตกตางกันตามกลุมประเทศ เชน หากเปน
ประเทศกําลังพัฒนาระดับของการมีสวนรวมจะอยูในระดับรวมรับฟง แตหากเปนประเทศที่พัฒนาแลว
ประชาชนจะตื่นตัวท่ีจะมีสวนรวมในกระบวนการงบประมาณมากกวา นอกจากนี้ดัชนีความโปรงใสของ
งบประมาณ (OBI) กาํ หนดใหการมีสวนรวมเปนหนงึ่ ในตวั ชว้ี ดั โดยเนนการวดั คณุ ภาพรายงานตางๆ ประเทศที่
ไดคะแนนสูงในเอเชียคือ เกาหลีใต และฟลิปปน ส จงึ นําเครื่องมอื และแนวทางตา งๆที่เปน Best Practice มา
ศึกษาเพ่ือประยุกตใชกับกระบวนการงบประมาณของไทย เชน ตัวอยางรายงานที่เก่ียวของกับการจัดทํา
อนมุ ัติ ติดตามและประเมินผลงบประมาณ
สํานกั งานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร ข สํานักงบประมาณของรฐั สภา
การมีสวนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
3. ขอคนพบอ่ืนๆท่ีเปนอุปสรรคดานการมีสวนรวมจากการจัดสรรงบประมาณ เชน
(1) งบประมาณที่จัดสรรลงพ้ืนที่เดียวกันมีอยูหลายแผนงานทําใหประชาชนไมทราบวงเงินงบประมาณและ
โครงการท้ังหมดท่ีลงพ้ืนท่ีของตนจึงไมมีชองทางการเขาไปมีสวนรวมแสดงความคิดเห็น (2) คาใชจายหรือ
โครงการตามแผนงานพ้ืนฐาน และแผนงานบูรณาการตามยุทธศาสตรสวนใหญดําเนินการโดยสวนราชการ
ไมไดเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมวางแผนหรือบริหาร ทําใหไมบรรลุวัตถุประสงคตามที่กําหนดไว
(3) งบประมาณที่จัดสรรใหทองถิ่นซึ่งตามทฤษฎีแลวเปนงบประมาณที่เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมสูง
ท่ีสุด แตกลับมีสัดสวนเพียงรอยละ 10 ของวงเงินงบประมาณเทานั้น ทั้งที่หากใหประชาชนในทองถิ่นมีสวน
รวมในกระบวนการงบประมาณจะกอใหเกิดความเหมาะสม คุมคา โปรงใส และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(4) การตัดสินใจสุดทายเปนของรัฐ แมวาจะมีการเปดรับฟงความคิดเห็นของประชาชน ทําใหประชาชน
เบื่อหนายไมอยากเขา มารวมแสดงความคิดเหน็ (5) การรับฟงความคดิ เห็นตามมาตรา 77 รฐั ธรรมนูญฯ ยังไม
ครอบคลมุ ผูมีสวนไดสวนเสีย สวนใหญรบั ฟงความคิดเห็นเฉพาะจากสวนราชการ สวนชองทางการเปดโอกาส
ใหป ระชาชนทั่วไปแสดงความคดิ เหน็ ยงั มีจาํ กดั
4. แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณท่ีเหมาะสมสําหรับการ
จัดสรรงบประมาณระดับขั้นต่ําสุดของการมีสวนรวมแตละข้ันตอนในกระบวนการงบประมาณ และนําเสนอ
เครื่องมือการจัดการงบประมาณแบบมีสวนรวมของตางประเทศท่ีควรนํามาประยุกตใชกับการบริหารจัดการ
งบประมาณของประเทศไทย เชน (1) ศูนยรายงานความสูญเสียทางงบประมาณของประเทศเกาหลีใต (2)
แนวคิดwheredasemymoneygo ของกลุมประเทศสหราชอาณาจักร เพื่อใหผูจา ยภาษีทราบการใชจายภาษี
ของตน (3) การจัดทาํ งบประมาณฉบบั ประชาชนทีเ่ ขาใจงาย เปน ตน
ขอ เสนอแนะของการศกึ ษา กําหนดไว 2 ระดับ ดังน้ี
1. ระดบั ผกู ําหนดนโยบาย จะตองดําเนินการเชิงนโยบาย เชน กําหนดกลไกการมีสวนรว มไว
ตั้งแตระดับการวางแผน กําหนดชองทางการเขาถึงขอมูลและผลการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนให
ประชาชนเขาถึงไดงาย การนําแนวคิด Open data – Open government มาปรับใช การพิจารณาตนทุน
ของการเปดใหมีสวนรวมตองเทียบระหวางประโยชน และตนทุนใหมีความเหมาะสม เชิงการปฏิบัติ เชน เรง
สรางบุคลากรภาครฐั ทน่ี ําที่ประชุมการมีสวนรว ม (Facilitator) ที่ตองใหประชาชนหรือภาคประชาสงั คมอยาก
มสี วนรวมในกระบวนการงบประมาณ สวนราชการควรจัดทําขอมูลและสรางเคร่อื งมือตางๆโดยใชเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมใหประชาชนเสนอโครงการ ติดตาม ตรวจสอบการดําเนินโครงการตางๆ รวมถึงเปดชองทางให
ประชาชนแจง รองเรียนการดําเนินการท่ผี ิดปกติ ท้ังนี้ เทคโนโลยีทีน่ ํามาใชจ ะตองใหประชาชนเขาถึงงาย เชน
สื่อออนไลน เว็บไซต และแอปพลิเคชั่นตางๆ การกําหนดปฏิทินงบประมาณใหระยะเวลาสอดคลอง และ
เพียงพอตอการดําเนินกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน หรืออาจจัดทํางบประมาณ 2 ป และกําหนดการ
จดั ทําแผนระยะกลางหรือยาวไวดว ย
2. ประชาชนและภาคประชาสังคม เชน เรงสรางจิตสํานึกตระหนักถึงการมีสวนรวมในการ
บริหารงานของรัฐ รวมกลุมประชาสังคมกําหนดความตองการ ติดตามและตรวจสอบการใชจายงบประมาณ
และตอ งมีความตอเนื่องแมวาโครงการจะมีระยะยาวกวา 5 ป ภาคประชาสังคมตอ งเรงสรางความรูค วามเขา ใจ
เก่ียวกับการมีสวนรวมในกระบวนการนโยบายสาธารณะท่ีเหมาะสมกับทองถ่ินหรือประเทศของตนเอง
เนือ่ งจากไมมรี ะบบงบประมาณแบบมีสวนรว มท่ีเปนสตู รสําเร็จทีจ่ ะนาํ ไปใชก ับทกุ พืน้ ที่ได
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร ค สํานักงบประมาณของรฐั สภา
การมสี ว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ หนา
ก
สารบัญ ข
ง
คาํ นาํ ฉ
บทสรุปผูบริหาร ช
สารบญั
สารบญั ตาราง 1
สารบญั ภาพประกอบ 2
บทที่ 2
2
1 บทนาํ 2
1.1 ความสําคัญของปญหา 3
1.2 วัตถปุ ระสงคการศึกษา
1.3 ขอบเขตการศึกษา 4
1.4 ประโยชนท ่ีคาดวาจะไดรับ 10
1.5 คําถามการศึกษา 13
1.6 นยิ ามศพั ท 31
31
2 การทบทวนวรรณกรรม 32
2.1 แนวคิด ทฤษฎี
2.2 กฎหมาย ระเบยี บท่เี ก่ียวขอ ง 33
2.3 งานวจิ ยั และผลงานอ่ืนๆท่เี กย่ี วของ 33
2.4 ขอ สรปุ ที่ไดจ ากการทบทวนวรรณกรรม 33
2.5 สมมตุ ิฐานการศึกษา 33
2.6 กรอบแนวคิดการศึกษา
35
3 วธิ ีการศึกษา 40
3.1 วิธดี าํ เนนิ การศกึ ษา
3.2 การเก็บรวบรวมขอมูล
3.3 ระยะเวลาการเก็บรวบรวมขอมูล
3.4 การวเิ คราะหขอ มลู
4 ผลการศกึ ษา
4.1 กฎหมาย ระเบียบ แนวทางการมสี วนรว มของประชาชนของประเทศไทย
4.2 งบประมาณแบบมีสว นรว มของประเทศตา งๆ
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร ง สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา
การมสี วนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ 55
57
สารบญั (ตอ)
4.3 ปญ หาและอปุ สรรคดานการมสี วนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ 62
4.4 ขอ เสนอแนะแนวทางการมสี ว นรว มของประชาชนท่ีเหมาะสมสาํ หรบั การจัดสรร 64
งบประมาณ 65
5 สรปุ ผลและขอเสนอแนะ
5.1 สรปุ ผล
5.2 ขอ เสนอแนะ
บรรณานุกรม
สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร จ สํานักงบประมาณของรฐั สภา
การมีสวนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
สารบญั ตาราง หนา
ตารางที่ 16
34
2.1 รายละเอียดผลการสํารวจการเปด เผยงบประมาณ 37
3.1 สรุปประเด็นและแหลง ขอมูลท่ีตองการศกึ ษา
4.1 เปรยี บเทยี บการมีสว นรว มของประชาชนกับหลักการมีสว นรวมตามมาตรฐานสากล 50
51
International Association for Public Participation 55
4.2 การเปรยี บเทยี บขอดีและขอจํากดั งบประมาณแบบมสี ว นรวม 58
4.3 คะแนนดชั นีการเปด เผยงบประมาณ
4.4 การจัดสรรงบประมาณตามกลมุ งบประมาณ พ.ศ.2560-2562
4.5 ระดบั ที่เปนมาตรฐานการมีสวนรว มข้ันตํา่ ที่ควรดาํ เนินการในกระบวนการงบประมาณ
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร ฉ สาํ นกั งบประมาณของรฐั สภา
การมีสว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
สารบัญภาพประกอบ หนา
ภาพที่ 7
8
2.1 ข้นั บนั ไดการมีสวนรวมของพลเมือง ของ Arnstien
2.2 ระดับการมสี ว นของของประชาชนของ IAP2 และตัวอยางเทคนิคการมีสวนรว ม 10
12
ของประชาชน 19
2.3 เปรยี บเทียบรูปแบบการมสี ว นรวมแบบเดมิ กับงบประมาณแบบมสี วนรวม
2.4 ขัน้ ตอนที่หนวยงานของรฐั จะตองดาํ เนนิ การเกี่ยวกบั การมีสว นรวมของประชาชน 20
2.5 การมสี ว นรว มของภาคประชาชนในกระบวนการงบประมาณ 21
22
และกรอบงบประมาณลวงหนาระยะปานกลางของประเทศเกาหลใี ต 24
2.6 รายงานงบประมาณฉบับประชาชนป 2018 ของประเทศฟลิปปนส 27
2.7 กระบวนการจดั ทาํ งบประมาณแบบลางข้นึ บนของประเทศฟลปิ ปน ส
2.8 ระบบติดตามงบประมาณผา นเวบ็ ไซตของรฐั บาล 29
2.9 รูปแบบงบประมาณแบบมสี วนรวม 30
2.10 เวบ็ ไซตข อง New York City Council ทเี่ ปด โอกาสใหประชาชนรว ม 42
43
แสดงความคดิ เห็น 44
2.11 การรับฟงความคิดเห็นของประชาชนตอรา งพระราชบัญญัติงบประมาณฯ 44
2.12 ขอมลู ที่ปรากฏบนเว็บไซต “ภาษีไปไหน?” 45
4.1 ชองทางการเผยแพรขอ มูลการประชุมของคณะกรรมาธกิ ารฯงบประมาณผานทางเวบ็ ไซต 45
4.2 ชอ งทางการเผยแพรเ อกสารงบประมาณผา นทางเวบ็ ไซต 46
4.3 ชองทางการเผยแพรผลการเบกิ จา ยงบประมาณผานทางเวบ็ ไซต 56
4.4 ชองทางการเผยแพรขอ มูลรายรับ-รายจายงบประมาณผานทางเวบ็ ไซต 59
4.5 ชอ งทางการเผยแพรร ายงานการตรวจสอบการใชจ า ยงบประมาณผานทางเว็บไซต 60
4.6 ชองทางการเผยแพรผลการประเมินการปฏิบตั ิงานหนวยงานผา นทางเวบ็ ไซต
4.7 ชองทางการเผยแพรผลการประเมินแผนพัฒนาฯผานทางเวบ็ ไซต 60
4.8 การบริหารจัดการแผนและงบประมาณระดับรฐั บาลตามกระบวนงบประมาณ 61
4.9 การใชเ งนิ ภาษขี องกลมุ ประเทศสหราชอาณาจักร
4.10 การเปดรบั ฟงความคิดเหน็ ตามโครงการงบประมาณแบบมสี ว นรวมของ
New York City Council
4.11 สถติ ิการรายงานของศนู ยรายงานความสูญเสยี ของงบประมาณของเกาหลีใต
4.12 งบประมาณฉบับประชาชนป 2018 ของประเทศฟล ิปปนส
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร ช สํานกั งบประมาณของรฐั สภา
การมสี วนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
บทท่ี 1 บทนํา
1.1 ความสําคัญของปญหา
การมีสวนรวมของประชาชนถือเปนสวนประกอบสําคัญสวนหนึ่งของธรรมาภิบาล ( Good
Governance) ซึ่งเปนแนวคิดสําคัญทั้งระดับประเทศและนานาประเทศเพราะ “กระบวนการมีสวนรวม”
จะทําใหการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดเกิดประโยชนสูงสุดตอชุมชน สังคม และประเทศชาติ
การมีสวนรวมเปนการสรา งฉันทามติระหวางประชาชนและภาครัฐท่ีจะทําใหการนํานโยบายไปปฏิบัติมีโอกาส
ประสบความสําเร็จ ลดคาใชจายและความสูญเสียงบประมาณ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 78
ระบุวา “รัฐพึงสงเสริมใหประชาชนและชุมชนมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเก่ียวกับการปกครองระบบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศดานตางๆ การ
จัดทําบริการสาธารณะทง้ั ในระดับชาติและระดับทองถ่ิน การตรวจสอบการใชอาํ นาจรฐั การตอ ตานการทุจริต
และประพฤติมิชอบ รวมตลอดท้ังการตัดสินใจทางการเมือง และการอ่ืนใดบรรดาที่อาจมีผลกระทบตอ
ประชาชนหรือชุมชน” นอกจากน้ี กฎหมายสําคัญอีกหลายฉบับ อาทิ พระราชบัญญัติยุทธศาสตรชาติ พ.ศ.
2560 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2560 ก็ยังเพ่ือเปดโอกาสใหประชาชนผูมีสวนไดสวนเสียจาก
การดําเนินการตางๆของภาครัฐไดรับรูขอมูลขาวสาร ไดแสดงความคิดเห็น แสดงความหวงกังวลตอแนว
ทางการดําเนินการของรัฐ รวมไปถึงการแลกเปล่ียนความคิดเห็น ขอมูล รวมตัดสินใจ รับผลการตัดสินใจ
รว มกนั ประเมินผล คา ใชจายดาํ เนนิ งานของรัฐตา งๆอกี ดวย
การมีสวนรวมของประชาชนที่ผานมาสวนใหญภาครัฐจะจัดใหมีเพียง “ประชาพิจารณ” ซึ่งเสมือน
เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวม แตในความเปนจริงเปนการรับฟงความคิดเห็นชวงทายของการตัดสินใจ
ทาํ ใหก ารดําเนินการบางอยางซ่ึงอาจกระทบความรูสึก ความเปน อยู หรือคณุ ภาพชวี ิตของประชาชนทาํ ใหเกิด
การแบงกลุมคัดคาน กลุมสนับสนุน เกิดการตอตานหรือเผชิญหนากันระหวางกลุมประชาชนและเจาหนาที่
ของรัฐ โครงการบางแหงไมสามารถเปดดาํ เนินการไดสงผลใหเ กิดความสูญเสียงบประมาณ ทั้งน้ี กระบวนการ
มีสวนรวมของประชาชนควรเรมิ่ ตน ตั้งแตวางแผนโครงการ การไดรบั ขอ มูลเพ่อื การตดั สนิ ใจ การสรา งฉันทามติ
รวมกันระหวางภาครฐั และประชาชนจะทาํ ใหเกดิ ผลลพั ธท ่กี าํ หนดไว
การมสี วนรว มในระบบงบประมาณไดมีพัฒนาการมาอยางตอเน่ือง ประชาชนบางสว นใหความสําคัญ
กับการมีสวนรวมเก่ียวกับการใชจาย ติดตาม ตรวจสอบ แตมีขอจํากัดของการเขาถึงขอมูล จึงไมสามารถรวม
ตัดสินใจโครงการต้ังแตขั้นวางแผน กอใหเกิดขอสงสัยตางๆ เชน ความโปรงใส ความเทาเทียมในการจัดสรร
ทรัพยากร การนําแนวคิด “ระบบงบประมาณแบบมีสวนรวม (Participatory Budgeting)” มาใชเพื่อแกไข
ขอจํากัดตางๆ จะสนับสนุนใหการใชจายมีเหตุผล เกิดความโปรงใส และตรวจสอบได ปจจุบันการมีสวนรวม
จะมุงเนนการดําเนินแผนงานและงบประมาณขององคกรปกครองสวนทองถ่ินเปนสวนใหญ ยังไมไดให
ความสําคัญกับการมีสวนรวมในกระบวนการงบประมาณในระดับรัฐบาลอยางเพียงพอ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
งบประมาณ รายจายกระทรวง/หนวยงาน (ไมรวมเงินอุดหนุนทองถิ่น) หรือท่ีรูจักกันวา “งบFunction” และ
กลุมงบประมาณรายจายบูรณาการ (Agenda) สงผลทําใหบางโครงการเกิดการตอตาน หรือสรางเสร็จแตไม
สามารถดําเนินการได หรือไมตรงกับความตองการของพ้ืนท่ีนั้นๆ กอใหเกิดความสูญเสียงบประมาณ ไมเกิด
ประโยชนและความคมุ คาจากการใชจ า ย
สํานกั งานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร 1 สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา
การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
อยางไรก็ตาม ยังไมมีการกําหนดวิธีวัดการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
ท่ีชัดเจน ทาํ ใหประชาชนและหนวยงานของรฐั ไมมมี าตรฐานการทํางานทีช่ ัดเจน ประชาชนยงั ไมมคี วามรูความ
เขา ใจการดาํ เนินงานของรัฐบาล และชองทางการเขาถึงขอมูลตางๆไมว าจะเปนระดับรัฐบาลหรือระดบั ทองถิ่น
ยงั เปนไปอยา งจํากัด
สาํ นักงบประมาณของรัฐสภา ตระหนกั ถงึ ความสําคัญของการมีสว นรวมของประชาชนท่ีเกย่ี วของกับ
การจัดสรรงบประมาณใหเกิดความเหมาะสม คุมคา และประหยัด จึงไดศึกษา “แนวทางการมีสวนรวมของ
ประชาชนในกระบวนการงบประมาณ” ข้นึ
1.2 วตั ถปุ ระสงคก ารศกึ ษา
1. เพ่อื ศกึ ษาการมีสว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณตามกรอบของกฎหมาย
2. เพื่อเปรียบเทียบการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณของประเทศไทยและ
ตา งประเทศ
3. เพ่อื ศึกษาปญหาและอปุ สรรคดานการมีสว นรว มของประชาชนในกระบวนการจดั สรรงบประมาณ
4. เพื่อเสนอแนะแนวทาง หรือรูปแบบการมีสวนรวมของประชาชนท่ีเหมาะสมสําหรับการจัดสรร
งบประมาณ
1.3 ขอบเขตการศกึ ษา
ขอบเขตดา นเนื้อหา
1. การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณโดยศึกษากระบวนการงบประมาณระดับ
รฐั บาล และระดับทองถ่นิ
2. การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณของประเทศไทยและตางประเทศ ใน
ประเดน็ โครงสรางตามกฎหมาย การตอบสนองของระบบราชการ การเผยแพรป ระชาสมั พนั ธ องคป ระกอบท่ี
เกี่ยวของกับความสําเรจ็
3. แนวทาง หรอื รูปแบบการมสี ว นรว มของประชาชนทเี่ หมาะสมสําหรับการจัดสรรงบประมาณ
1.4 ประโยชนทีค่ าดวาจะไดรบั
1. ทราบสภาพปจจุบันของการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณของประเทศไทย
และตวั อยางการใชร ะบบงบประมาณแบบมีสวนรวมของตา งประเทศ
2. มีความรู ความเขาใจกรณีศึกษาดานการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการจัดสรร
งบประมาณที่ผานมา และนําความรู ความเขาใจประยุกตใชกับงานหรือโครงการท่ีมีลักษณะเดียวกันหรือ
ใกลเคียงกัน
3. มีแนวทาง หรือรปู แบบแบบการมีสวนรวมของประชาชนท่ีเหมาะสมสําหรับการจดั สรรงบประมาณ
1.5 คาํ ถามการศึกษา
การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ ควรมีแนวทางและเครอ่ื งมอื อยา งไร
สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร 2 สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา
การมสี วนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
1.6 นิยามศัพท
นโยบายสาธารณะ หมายถึง แนวทางการดําเนินกิจกรรมของรัฐบาลท่ีใชเปนกรอบการดําเนินงาน
ของรัฐบาล เพอ่ื แกไ ขปญหาใหเ หมาะสม สอดคลอ งกับสภาพความเปนจริง และความตองการของประชาชน
กระบวนการงบประมาณ หมายถึง ขั้นตอนตางๆสําหรับบริหารจัดการงบประมาณ เริ่มจากการ
วางแผนงบประมาณ การอนุมัติ การตดิ ตามและประเมนิ ผล
การมีสวนรวมของประชาชน หมายถึง การที่กลุมประชาชน หรือสมาชิกของชุมชนรวมกันแสดงให
เห็นถึงความตองการรวม ความสนใจรวม มีความตองการที่จะบรรลุถึงเปาหมายรวมทางเศรษฐกิจและสังคม
หรือการเมือง หรือการดําเนินการรวมกันเพ่ือใหเกิดอิทธิพลตอรองอํานาจ ไมวาจะเปนทางตรงหรือทางออม
หรือการดําเนินการเพ่ือใหเกิดอิทธิพลตอรองอํานาจทางการเมือง เศรษฐกิจ การปรับปรุงสถานภาพทางสังคม
ในกลมุ ชุมชน
การมสี วนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ หมายถงึ การท่ีกลุม ประชาชน หรอื สมาชกิ
ของชุมชนที่กระทําการออกมาในลักษณะของการทํางานรวมกัน ที่จะแสดงใหเห็นถึงความตองการรวม ความ
สนใจรว ม มคี วามตอ งการการดาํ เนนิ การใดๆท่ีมผี ลตอการบรหิ ารงานของรฐั ท่ีเกยี่ วขอ งกบั งบประมาณรายจาย
ประจําป ทง้ั ในดานรายรับและรายจา ย
งบประมาณแบบมีสวนรวม (Participatory Budgeting) หมายถึง การเปดโอกาสใหประชาชน
หรือชุมชนเขารวมในกระบวนการงบประมาณ เพื่อใหเกิดการใชจายงบประมาณท่ีมีความโปรงใส เหมาะสม
และคุมคา
งบประมาณพื้นฐาน (Function) หมายถึง งบประมาณท่ีจัดสรรใหกับสวนราชการหรือหนวยงาน
เพ่ือดาํ เนนิ การภารกจิ พน้ื ฐาน
งบประมาณบูรณาการเชิงยุทธศาสตร (Agenda) หมายถึง งบประมาณท่ีจัดสรรตามนโยบายเรื่อง
สาํ คัญเรงดว นของรัฐบาลทีม่ ีหนวยงานตงั้ แต 2 หนวยงานขนึ้ ไปดาํ เนินการ โดยกําหนดเปนแผนงานบูรณาการ
แผนปฏิบัติงาน และแผนการใชจายงบประมาณของแตละหนวยงานใหมีเปาหมาย วัตถุประสงคใหมีความ
เชือ่ มโยง สอดคลอ ง สนบั สนนุ ซ่ึงกันและกัน
งบประมาณบูรณาการพื้นท่ี (Area) หมายถึง งบประมาณที่จัดสรรใหกับพ้ืนท่ี จังหวัด กลุมจังหวัด
หรอื องคกรปกครองสว นทองถ่นิ เพ่อื ใชดาํ เนินการตามแผนทก่ี าํ หนดไว
สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร 3 สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา
การมสี ว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
บทท่ี 2 การทบทวนวรรณกรรม
การทบทวนเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ ง จะทบทวนและสรปุ สาระสาํ คัญจากเอกสารตา งๆ ดังน้ี
2.1 แนวคิดทฤษฎีที่เก่ียวของกับกระบวนการงบประมาณ การมีสวนรวมของประชาชน ตัวแบบการ
มสี วนรวมของประชาชน รวมถงึ การจดั ทํางบประมาณแบบมีสวนรวมของตางประเทศ
2.2 กฎหมาย ระเบียบท่ีเกี่ยวของ ประกอบดวย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และกฎหมาย
สําคญั อ่ืนๆที่เกีย่ วของกบั การมสี วนรว มของประชาชน
2.3 งานวิจัยและผลงานอ่ืนๆที่เก่ียวของ ประกอบดวย งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมของ
ประชาชนท่ีประสบความสําเร็จในการแกไขปญหา การใชเทคโนโลยีเพ่ือใหเกิดการมีสวนรวมของประชาชน
ซ่งึ จะอธิบายแตล ะประเด็นดังตอไปน้ี
2.1 แนวคิด ทฤษฎี
2.1.1 กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณ (สํานักงบประมาณ, 2542 น.11-33) จะประกอบดวย 5 ขั้นตอน
ท่ีสําคญั คอื
1. การวางแผนงบประมาณ เปนการสรางความเชื่อมโยงระหวางภาพรวมเศรษฐกิจกับ
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนยุทธศาสตร แผนปฏบิ ัติการของกระทรวง และแผนอ่ืนท่เี กี่ยวของ
โดยจัดลําดับความสําคัญของรายจายและนโยบายการจัดสรรงบประมาณ การกําหนดวงเงินงบประมาณโดย
เรียงลําดับความสําคัญของรายจายและงบประมาณแตละกระทรวง นอกจากนี้ การวางแผนงบประมาณยัง
ครอบคลุมการจัดทํากรอบรายได เปาหมายการใชจาย และงบประมาณลวงหนาซึ่งสวนใหญจะเปนการ
ดําเนินการรวมกันหลายหนวยงาน เชน สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานัก
งบประมาณ
2. การจัดทํางบประมาณ จะมีหนวยงานที่เกี่ยวของประกอบดวย 1) สํานักงาน
คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2) สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง 3) สํานักงบประมาณ
4) ธนาคารแหง ประเทศไทย ทงั้ นตี้ องผา นความเหน็ ชอบจากคณะรัฐมนตรี คือ
- การจดั ทาํ ประมาณการทางเศรษฐกิจ และประมาณการรายไดรว มกนั
- การจดั ทาํ วงเงนิ งบประมาณรายจา ยประจําป จดั ทํางบประมาณใหกบั สวนราชการ
และหนว ยงานของรัฐ ทีผ่ า นมาจะจํากดั อยูเพยี งกจิ กรรมของรัฐบาลกลางเทานั้น กิจกรรมอืน่ ๆของรัฐบาล เชน
เงินกตู า งประเทศท่ดี าํ เนินการโดยธนาคารแหงประเทศไทยและรัฐวิสาหกิจ กจิ กรรมเงินนอกงบประมาณตางๆ
ไมไดอยูในกระบวนการจัดทํางบประมาณ อยางไรก็ตาม เม่ือรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ.2560 ประกาศใชทําให
เกดิ การเปลยี่ นแปลงบางประการ ซงึ่ จะกลาวในหวั ขอกฎหมายและระเบียบทเี่ ก่ียวของ
3. การอนุมัติงบประมาณ คณะรัฐมนตรีนําเสนอรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจาย
ประจําปตอรัฐสภา การพิจารณาประกอบดวย 3 วาระ คือ 1) การรับหลักการแหงรางพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจายประจําป รวมถึงการแตงตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา 2) การพิจารณาขั้น
กรรมาธิการฯ 3) การพจิ ารณาอนมุ ัติและนาํ ทูลเกลา ใชบ ังคบั เปนกฎหมาย
สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร 4 สํานกั งบประมาณของรฐั สภา
การมสี ว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
4. การบริหารงบประมาณ เม่ือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปใชบังคับแลว
สวนราชการจะทําแผนการดําเนินการและแผนการใชจายสงใหสํานักงบประมาณอนุมัติเงินประจํางวดเพื่อ
นาํ ไปเบิกจา ยท่กี รมบัญชีกลางใหสามารถใชจ ายไดภ ายในทันปงบประมาณ หรืออาจมีรายการโอนเปลี่ยนแปลง
รายการ หากใชจายงบประมาณไมทนั ภายในปง บประมาณจะตองดาํ เนินการกันเงนิ เหลอื่ มป
5. การประเมินผลการใชจายและการตรวจสอบ เปนการตรวจสอบวาการบริหาร
งบประมาณเปนไปตามเปาหมายหรือไม เพ่ือปรับปรุง หรือนําผลการประเมินไปใชเปนขอมูลประกอบการ
จดั สรรงบประมาณรายจายใหกับสว นราชการในปต อไป
การจัดกลุมการจดั สรรงบประมาณรายจายประจําป แบงเปน
1. งบกลาง
2. กลุม งบประมาณรายจา ย กระทรวง/หนว ยงาน
3. กลมุ งบประมาณรายจา ยบูรณาการ (Agenda)
4. กลุมงบประมาณรายจา ยพืน้ ที่ (Area)
5. กลมุ งบประมาณรายจา ยบริหารจัดการหนภ้ี าครัฐ
6. กลุมงบประมาณแผนงานบุคลากรภาครฐั
2.1.2 การมสี ว นรวม
ความหมายของการมสี ว นรวม
การมีสวนรวม หมายถึง กระบวนการท่ีประชาชนหรือผูมีสวนไดสวนเสีย ไดมีโอกาสแสดง
ทัศนะ แลกเปล่ียนขอมูลและความคิดเห็นเพื่อแสวงหาทางเลือก และการตัดสินใจตางๆเกี่ยวกับโครงการที่
เหมาะสม และเปนท่ียอมรับรวมกัน ดังนั้น ทุกฝายที่เก่ียวของจึงควรเขารวมกระบวนการนี้ ตั้งแตเริ่ม
จนกระท่ังถึงการติดตามและประเมินผล เพื่อใหเกิดความเขาใจและรับรู/เรียนรูรวมกัน หรือเกิดการ
ปรับเปล่ียนโครงการรวมกัน ซึ่งจะเปนประโยชนตอทุกฝาย โดยมีองคประกอบสําคัญของการมีสวนรวมของ
ประชาชน คือ 1) การมีสวนรวมของประชาชนเปนกระบวนการที่มีความตอเนื่อง มีการเรียนรูรวมกันของผูท่ี
เกี่ยวของทั้งฝายภาครัฐ องคกรเอกชน และประชาชนทั่วไป โดยเนนการสื่อสารสองทางทั้งชองทางท่ีเปน
ทางการและไมเปนทางการ ซึ่งไมใชการทําครั้งเดียวจบ 2) เปาหมายการมีสวนรวมไมใชเพียงการจัดใหมีการ
รับฟงความคิดเห็นตามกฎหมายหรือการทําใหไมมีความขัดแยง หากแตกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน
ควร มุงใหป ระชาชนเขา มามีสว นรว มอยางกวางขวางและเปน วธิ ีการเพื่อทาํ ใหการตัดสนิ ใจของรฐั ดีขึน้ และเปน
ทีย่ อมรบั (สํานักงาน ก.พ.ร..2560, น.4-5)
หลกั การมสี วนรวม ประกอบดว ย
1.การมสี วนรวมระดบั การใหข อมลู ประชาชน
2. ระดับการรบั ฟง ความคิดเหน็ และปรกึ ษาหารอื
3. ระดับวางแผน/ตัดสินใจ
4. ศกั ยภาพดานการสรางความเขาใจกับสาธารณชน (ปธาน สุวรรณมงคล, 2558 น.16-17)
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร 5 สํานักงบประมาณของรฐั สภา
การมสี วนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
เงอื่ นไขพืน้ ฐานของการมสี ว นรวมของประชาชน มี 3 ประการ คือ
1. การมีอิสรภาพในการเขารว ม หมายถึง การเขา รว มตองเปน ไปดวยความสมัครใจ
2. ความเสมอภาคในการเขา รวมกจิ กรรม หมายถงึ ทกุ คนท่เี ขารว มตอ งมีสิทธเิ ทา เทียมกัน
3. ผเู ขารว มตองมีความสามารถพอทจี่ ะเขารวมกจิ กรรม หมายถงึ มีความเขา ใจในเร่ืองนั้น ๆ
แตห ากกิจกรรมทกี่ ําหนดไวมีความซบั ซอนเกินความสามารถของกลมุ เปาหมาย ก็จะตอ งมกี ารพฒั นาศกั ยภาพ
ใหพ วกเขาสามารถเขา มามีสว นรวมได (ถวลิ วดี บุรกี ลุ .2550 น.16)
ประโยชนข องการมีสว นรวมของประชาชน
1. คุณภาพของการตดั สินใจดีข้ึน เน่อื งจากกระบวนการปรึกษาหารือกับสาธารณชนจะชวย
สรางความกระจางใหกับวัตถุประสงคและความตองการของโครงการหรือนโยบาย และบอยครั้งท่ีการมีสวน
รว มของประชาชนนาํ มาสกู ารพิจารณาทางเลอื กใหม ๆ ที่นา จะเปนคาํ ตอบทีม่ ปี ระสทิ ธิผลทีส่ ุดได
2. ใชตนทุนนอยและลดความลาชาลง แมวาการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมจะตอง
ใชเวลาและมีคาใชจายมากกวาการตัดสินใจฝายเดียว แตการตัดสินใจฝายเดียวท่ีไมคํานึงถึงความตองการ
แทจริงของประชาชนนั้น อาจนํามาซ่ึงการโตแยงคัดคานหรือการฟองรองกัน อันทําใหตองเสียคาใชจายสูงใน
ระยะยาว เกิดความลา ชา และความลมเหลวของโครงการไดในทส่ี ดุ
3. การสรางฉันทามติ การมีสวนรวมของประชาชนจะสรางขอตกลงและขอผูกพันอยาง
มั่นคงในระยะยาวระหวางกลุม ที่มีความแตกตางกัน ชวยสรา งความเขาใจระหวา งกลุมตาง ๆ ลดขอ โตแ ยงทาง
การเมอื งและชว ยใหเกิดความชอบธรรมตอการตัดสินใจของรัฐบาล
4. การนําไปปฏิบัติงายขึ้น การเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจทําใหประชาชนมีความรูสึก
ของการเปนเจาของการตัดสินใจน้ัน และทันทีท่ีการตัดสินใจไดเกิดข้ึน พวกเขาก็อยากเห็นมันเกิดผลในทาง
ปฏิบัติ และยังอาจเขา มาชวยกนั อยา งกระตือรอื รนอีกดว ย
5. การหลีกเล่ียงการเผชิญหนาที่เลวรายท่ีสุด เพราะการเปดโอกาสใหฝายตาง ๆ เขามา
แสดงความตอ งการและขอหวงกังวลต้งั แตเริ่มตนโครงการ จะชวยลดโอกาสของการโตแยง และการแบงฝาย ที่
จะเปนปจ จยั ใหเ กดิ การเผชิญหนา อยางรุนแรงได
6. การคงไวซ่ึงความนาเช่ือถือและความชอบธรรม เน่ืองจากกระบวนการตัดสินใจที่
โปรงใสและเปดโอกาสใหประชาชนเขามามสี วนรวม จะสรางความนาเช่ือถือตอสาธารณชนและเกิดความชอบ
ธรรมโดยเฉพาะเมื่อตอ งมกี ารตดั สินใจในเรือ่ งทม่ี ีการโตแยงกัน
7. การคาดการณความหวงกังวลและทัศนคติของสาธารณชน เพราะเม่ือเจาหนาที่ที่
เก่ียวของไดมาทํางานรวมกับสาธารณชนในกระบวนการมีสวนรวม พวกเขาจะไดรับรูถึงความหวงกังวล และ
มุมมองของสาธารณชนตอการทํางานขององคกร ซึ่งจะทําใหเจาหนาที่สามารถคาดการณปฏิกิริยาตอบสนอง
ของสาธารณชนตอ กระบวนการและการตัดสนิ ใจขององคก รได
8. การพฒั นาภาคประชาสังคม ประโยชนอยา งหนึ่งของการมสี ว นรว มของประชาชนคือ ทํา
ใหประชาชนมีความรูท้ังในสวนของเนื้อหาโครงการและกระบวนการตัดสินใจของรัฐ รวมทั้งเปนการฝกอบรม
สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร 6 สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา
การมีสว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
ผูนํา และทาํ ใหประชาชนไดเรยี นรูทักษะการทํางานรวมกันเพื่อแกป ญหาตาง ๆ อยา งมีประสิทธิภาพในอนาคต
(เจมส แอล. เครยตัน.2554 น. 21-25)
2.1.3 ตัวแบบการมีสวนรวม
การมสี ว นรว มมคี วามหมายกวา งและครอบคลุมหลายระดบั ซ่งึ นกั วชิ าการหลายทานไดเสนอ
ตัวแบบการมีสว นรว มไว เชน
ตัวแบบข้ันบันไดการมีสวนรวมของพลเมือง หรือ Ladder of Citizen Participation ของ
Arnstien แบง บนั ไดการมสี ว นรว มของประชาชนออกเปน 8 ขั้น
8 ขัน้ อํานาจพลเมือง (Citizen Control)
7 ขน้ั มอบหมายอาํ นาจ (Delegated Power)
6 ขั้นการเปน หุน สว น (Partnership)
5 ขน้ั การปรกึ ษาหารอื (Placation)
4 ขนั้ การรับฟงความคดิ เห็น (Consultation)
3 ขน้ั การใหขอ มลู (Informing)
2 ขนั้ การรกั ษา (Therapy)
1 ขั้นการควบคุม (Manipulation)
ภาพที่ 2.1 ขั้นบันไดการมีสวนรว มของพลเมือง ของ Arnstien
Arnstien เห็นวา ข้ันบันไดท่ี 1 และ 2 ถือวายังไมเกิดการมีสวนรวมของประชาชน หรือ
Nonparticipation ข้ันที่ 3-5 เรยี ก Tokenism หมายถงึ ประชาชนมีโอกาสในการใหขอมูลความคิดเห็นแตยัง
ไมม อี ํานาจตัดสนิ ใจ ขน้ั ที่ 6-8 ถือวาประชาชนมีอํานาจตดั สนิ ใจ หรอื Citizen Power จากตัวแบบนี้จะเห็นวา
การมสี วนรว มต้ังแตระดบั การเปน หุนสวนจงึ เปนจุดเริ่มตน ของบทบาทและอาํ นาจของประชาชนอยา งแทจริง
สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร 7 สาํ นักงบประมาณของรัฐสภา
การมีสว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
ตัวแบบระดบั การมีสวนรวมของประชาชน ของ IAP2
ตัวแบบนี้นําเสนอโดยสมาคมนานาชาติดานการมีสวนรวม (International Association of
Public Participation) ซ่ึงไดแบง ระดบั การมีสวนรวมของประชาชนเปน 5 ขัน้
เพิ่มระดับหรือบทบาทการมสี วนรว มของประชาชน
ขน้ั ใหขอมลู ขา วสาร ขน้ั รบั ฟงความคดิ เห็น ข้นั เขามามบี ทบาท ข้นั สรา งความรว มมอื ขน้ั เสรมิ อํานาจ
เปาหมาย
เพือ่ ใหข อ มลู ขา วสาร เพอ่ื ไดร บั ขอมลู และ เพอื่ รวมทาํ งานกบั เพ่ือเปน หุนสวนกบั เพ่ือใหประชาชน
แกประชาชน และ ความคิดเห็นจาก ประชาชน สรางความ ประชาชนในทกุ เปนผตู ดั สินใจ
เสรมิ สรา งความเขา ใจ ประชาชนท่ีเกี่ยวกบั มน่ั ใจกับประชาชนวา ขั้นตอนของการ
ของประชาชนเกีย่ วกบั สภาพปญหา ความคิดเหน็ และ ตัดสนิ ใจ ตง้ั แตการ
ประเดน็ ปญหา ทางเลือก และ ความตองการของ ระบปุ ญหา พฒั นา
ทางเลือก และ แนวทางแกไ ข ประชาชนจะไดรบั การ ทางเลือก และ
ทางแกไข พิจารณา แนวทางแกไ ข
สัญญาตอประชาชน
เราจะทําใหประชาชน เราจะใหข อ มลู เราะจะทาํ งานกับ เราจะรว มงานกับ เราจะปฏบิ ัตสิ ิ่งท่ี
ไดรบั ขอ มลู ขา วสาร ขา วสารแกประชาชน ประชาชนเพอ่ื ใหค วาม ประชาชนเพ่อื ใหได ประชาชนตัดสินใจ
และรับฟงความ คดิ เห็นและขอมลุ จาก ขอ เสนอแนะและ
คดิ เห็น รวมทัง้ ประชาชนสะทอ น ความคดิ ใหม รวมท้งั
ตระหนกั ถงึ ขอ มลู และ ทางเลือก นําขอ เสนอแนะของ
ความคิดเหน็ จาก ประชาชนมาเปนสว น
ประชาชนในการ หน่ึงของการตัดสินใจ
ตัดสินใจ ใหม ากท่สี ดุ เทาทีจ่ ะ
ทําได
ตวั อยางเทคนคิ การมีสวนรวมของประชาชน
- การประชาสมั พันธ - การลงพ้นื ที่ชุมชน - ศนู ยร บั เร่อื งรอ งทุกข - คณะกรรมการรวม - การแกไขความ
- การจดั ทาํ รายงาน ของเทศบาล เอกชน-ทองถ่นิ ดาน ขัดแยง โดย
ผลงานประจําป - การประเมนิ ผลการ ภาษี ประชาคม
- จดหมายขาว ดาํ เนนิ งาน - คณะกรรมการ -สภาเมือง
พฒั นา
ภาพที่ 2.2 ระดบั การมีสว นของของประชาชนของ IAP2 และตัวอยา งเทคนคิ การมสี วนรวมของประชาชน
1. การมีสว นรวมระดับเสรมิ อํานาจใหประชาชน เปน ขนั้ ท่ีใหบ ทบาทประชาชนในระดบั สูง
ท่สี ุด เพราะประชาชนเปนผตู ัดสนิ ใจดว ยตนเอง เชน การลงประชามติ หรอื สภาเมือง
2. การมีสว นรวมระดบั สรางความรว มมือ เปนการใหบ ทบาทของประชาชนในระดบั สงู ผล
การตัดสินใจที่ออกมาเปนผลการตัดสินใจรว มกัน เช่ือวานาจะนาํ ไปสูการเสรมิ สรางความสมานฉนั ทในสงั คม
เชน รปู แบบคณะกรรมการรวมภาครัฐและเอกชน คณะท่ปี รกึ ษาฝา ยประชาชน
สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร 8 สํานกั งบประมาณของรฐั สภา
การมสี ว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
3. การมีสวนรวมระดับเขามามีบทบาท คือการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมทํางาน
ตลอดกระบวนการตัดสนิ ใจ ซ่งึ ในขนั้ น้ีจะใกลเคยี งกับระดบั การรว มมอื แตการรว มมอื จะมลี ักษณะเปนรูปแบบ
ทถี่ าวร ตวั อยา งเทคนคิ นี้ เชน การประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ าร การต้งั คณะทาํ งานภาคประชาชน
4. การมีสวนรวมระดับรับฟงความคิดเห็น เปนการใหประชาชนมีสวนรวมใหขอ มูล
ขอเท็จจริงความรูสึก ความคิดเห็นประกอบการตัดสินใจ ดังน้ัน ประชาชนจึงมีบทบาทเฉพาะเปนผูใหขอมูล
สวนการตดั สนิ ใจเปน ของภาครฐั เทคนิคนี้ เชน การสาํ รวจความคดิ เห็น การประชมุ สาธารณะ
5. การมีสวนรวมระดับใหขอมูลขาวสาร เปนการมีสวนรวมในระดับต่ําที่สุด บทบาทของ
ประชาชนเพียงแตรับทราบวา เกิดอะไรท่ีไหน หากภาครัฐตัดสินใจเรื่องท่ีกระทบประชาชนและแจงให
ประชาชนทราบสะทอ นวาภาครฐั มีการบรหิ ารงานที่ลา สมยั
ไมวาการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมขั้นใด สิ่งสําคัญประการหน่ึงท่ีตองคํานึงถึงคือ
การใหขอมูลขาวสาร ซึ่งไมใชขอมูลขาวสารในลักษณะประชาสัมพันธโดยใหมองแตดานดีเทานั้น แตตองให
ขอเท็จจริง ครอบคลุม และเพียงพอที่จะทําใหประชาชนแสดงความคิดเห็นอยางมีคุณภาพ (อรทัย กกผล,
2552 น.19-26)
หลักการมีสวนรวมตามมาตรฐานสากล (สถาบันเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย, 2561 น. 4) กลาวถึง
หลักการสรางการมีสวนรวมของประชาชน ตาม International Association for Public Participation) ไว
5 ระดับ คอื
1) การใหขอมลู ขา วสาร
2) การปรกึ ษาหารือหรอื รับฟงความคดิ เห็น
3) การมีสว นรว มในการตดั สนิ ใจหรือเสนอแนะแนวทาง
4) การมสี ว นรว มในการดาํ เนินงาน
5) การใหอาํ นาจแกป ระชาชนเปน ผตู ดั สนิ ใจทัง้ หมด
2.1.4 งบประมาณแบบมสี ว นรวมของตางประเทศ
การศึกษางบประมาณแบบมีสวนรวมของตางประเทศจะศึกษาความแตกตางระหวางประเทศท่ีมี
ภูมิภาคแตกตางกัน ไดแก (1) บราซิล (2) โบลิเวีย กัวเตมาลา นิคารากัว เปรู (3) กลุมประเทศในเอเชีย
(4) กลุมประเทศในยุโรป (5) อเมริกาเหนือ เพื่อเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตาง ประเด็นตางๆ
ไดแก การกําหนดโครงสรางที่เปนทางการ (มีกฎหมายรองรับ) การตอบสนองของระบบราชการ การเผยแพร
ประชาสัมพันธงานโครงการตางๆของภาครัฐ องคประกอบท่ีเก่ียวของกับความสําเร็จ เชน ชาติพันธ จํานวน
ประชากร ระดับงบประมาณ คุณลักษณะพรรคการเมือง ตนทุนทางสังคม ความเขมแข็งของภาคเอกชน
ประชาสงั คม (ทิพวรรณ หลอ สุวรรณรัตน, 2556 น.89-115)
สาํ นกั งานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร 9 สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา
การมสี ว นรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
ภาพที่ 2.3 เปรียบเทียบรปู แบบการมสี ว นรวมแบบเดิมกบั งบประมาณแบบมีสว นรว ม
2.2 กฎหมาย ระเบยี บทีเ่ กย่ี วของ
2.2.1 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 (ราชกิจจานุเบกษา เลม 134 ตอนที่ 40 ก. 6
เมษายน 2560) ไดกําหนดสิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย หนาท่ีของรัฐ แนวนโยบายแหงรัฐ ท่ีเก่ียวของกับ
การมสี ว นรว มของประชาชนและสิทธขิ องชมุ ชน สรุปดังน้ี
หมวด 3 สทิ ธเิ สรีภาพของปวงชนชาวไทย
มาตรา 25 และ มาตรา 34 บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการคุมครอง รวมถึงเสรีภาพในการแสดง
ความคิดเห็นดวยวิธีตางๆ มาตรา 41 และ 43 บุคคลและชุมชนมีสิทธิรวมตัวกันเปนสมาคม หรือหมูคณะเพ่ือ
ไดรับขาวสารสาธารณะในความครอบครองของหนวยงานของรัฐตามท่ีกฎหมายกําหนดไว และสามารถเสนอ
เร่ืองราวรองทุกขท่ีเก่ียวของกับการกระทําหรือละเวนการกระทําของเจาหนาทีรัฐในสวนที่เกี่ยวของกับการ
อนรุ กั ษ ฟนฟู จัดการบาํ รุงรักษาวฒั นธรรมและทรัพยากรธรรมชาติได
หมวด 5 หนาที่ของรฐั
มาตรา 58 การดําเนินการของรัฐหรือท่ีรัฐอนุญาตหากกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติ
คุณภาพส่ิงแวดลอม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิต หรือสวนไดสวนเสียอ่ืนใดอยางรุนแรง รัฐตองมีการ
ประเมินผลกระทบและจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นกอนการดําเนินการซ่ึงบุคคลหรือชุมชนมีสิทธิท่ีจะไดรับ
ขอ มูลคําชแ้ี จงจากหนวยงานของรฐั กอนการดําเนินการ ทง้ั น้ีมาตรา 59 ยังไดร ะบอุ กี วา รัฐตองเปด เผยขอมูลท่ี
ไมไดเกี่ยวของกับความม่ันคงหรือความลับใหประชาชนเขาถึงไดโดยสะดวก มาตรา 63 รัฐตองสงเสริม
สนับสนุน สรา งกลไกใหความรกู บั ประชาชนเพอื่ ปองกนั การทจุ ริต
หมวด 6 แนวนโยบายแหงรฐั
มาตรา 77 กอนการตรากฎหมายทุกฉบับ รัฐตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของผูที่
เก่ียวของ วิเคราะหผลกระทบท่ีเกิดขึ้นอยางรอบดานและเปนระบบ รวมถึงเปดเผยผลการรับฟงความคิดเห็น
และการวิเคราะห รวมถึงประเมินผลสัมฤทธ์ิทางกฎหมายตามระยะเวลาที่กําหนด โดยฟงความคิดเห็นของผทู ี่
เกย่ี วขอ งประกอบดว ย มาตรา 78 รฐั พึงสงเสริมใหป ระชาชนและชุมชนมีสว นรว มในการพัฒนาประเทศ ทั้งใน
ระดับชาตแิ ละทองถิ่น
สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร 10 สาํ นักงบประมาณของรัฐสภา
การมีสว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
หมวด 14 การปกครองสวนทอ งถน่ิ
มาตรา 525 ผูบริหารทองถิ่นตองคํานึงถึงการมีสวนรว มของประชาชนดวย มาตรา 253 การ
ดําเนินการของทองถ่ินตองเปดเผยขอมูลและรายงานผลการดําเนินงานใหประชาชน และตองมีกลไกให
ประชาชนในทอ งถิน่ มสี วนรวมตามหลักเกณฑท ่ีกฎหมายกําหนดไว
หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ
มาตรา 257 (3) และ 258 (1) กําหนดใหการมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศและการ
ปกครองเปน 1 ใน 3 เปาหมายท่ีกําหนดไว และการมีสวนรวมทางการเมืองกําหนใหประชาชนมีสวนรวม
ทางการเอง รวมทั้งตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ ดานการบริหารราชการแผนดิน กําหนดใหนําเทคโนโลยีมาใช
ใหม กี ารบูรณาการขอ มลู ของหนว ยงานรัฐเขา ดว ยกนั
2.2.2 พระราชบัญญัติการจัดทํายุทธศาสตรชาติ พ.ศ.2560 (ราชกิจจานุเบกษา เลม 134 ตอนที่
79 ก 31 กรกฎาคม 2560) กลา วถึงการมสี วนรว มของประชาชนในการกาํ หนดยทุ ธศาสตรชาติ โดยสรุป คือ
หมวด 1 ยุทธศาสตรช าติ
มาตรา 7 และ 8 ใหประชาชนทุกภาคสวนมีสวนรวมในการกําหนดเปาหมาย การจัดทํา
ยุทธศาสตรชาติ รวมท้ังสรางการรับรู และเขาใจโดยใหคณะกรรมการจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นซึ่งตองใช
วิธกี ารท่ีประชาชนสามารถเขาถึงสะดวกและท่วั ถงึ
หมวด 3 การติดตาม การตรวจสอบ และการประเมนิ ผล
มาตรา 27 ใหสํานักงานเผยแพรรายงานท่ีไดรับจากหนวยงานของรัฐ และรายงาน ให
ประชาชนทราบทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสํานักงาน เพ่ือประโยชนในการมีสวนรวมของประชาชน
ซึง่ หากประชาชนพบวาการดําเนินการไมสอดคลองกับยุทธศาสตรชาตจิ ะไดแจงเหตุดงั กลาวใหสาํ นักงานทราบ
อยา งสะดวกและทนั ทว งที
2.2.3 พระราชบัญญัติวธิ ีการงบประมาณ พ.ศ.2561 (ราชกิจจานุเบกษา เลม 135 ตอนที่ 92 ก 11
พฤศจกิ ายน 2561 สรุปแนวทางการจดั ทํางบประมาณ ไดด ังนี้
หมวด 4 การจดั ทํางบประมาณ
มาตรา 23 การจัดทํางบประมาณจะตองคํานึงถึงประมาณการรายรับ ฐานะการคลัง
ยุทธศาสตรชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ความเปนธรรม นโยบาย
และภารกิจ เพอื่ ใหเ กดิ ประสิทธภิ าพ ความคุมคา และผลสัมฤทธใ์ิ นการบรหิ ารจดั การภาครฐั
มาตรา 27 – 29 และมาตรา 31 จะกลาวถึงแนวทางและผูมีอํานาจการจัดทําคําขอตั้ง
งบประมาณรายจายท้ังที่เปนสวนของงบประมาณของหนวยงานและงบประมาณบู รณาการเพ่ือจัดสงใหกับ
สํานักงบประมาณ
หมวด 5 การบรหิ ารงบประมาณ
มาตรา 34 หนวยรบั งบประมาณจะตอ งจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั งิ านและแผนการใชจาย
สาํ นักงานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร 11 สํานกั งบประมาณของรัฐสภา
การมสี ว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
หมวด 7 การประเมนิ ผลและการรายงาน
มาตรา 47 หนวยรับงบประมาณจัดใหมีระบบการติดตามและประเมินผลอยางตอเน่ือง โดย
ตองเปด เผยตอสาธารณชนดว ย
2.2.4 รางพระราชบัญญัติการมสี วนรว มของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ พ.ศ. ....
รางพระราชบัญญัติฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือรองรับสิทธิในการมีสวนรวมของประชาชนใน
กระบวนการนโยบายสาธารณะ ท้ังในดานการใหและการรับรูขอมูลขาวสาร การแสดงความคิดเห็นหรือให
ขอเสนอแนะ การมีสวนรวมในการตัดสินใจ ตั้งแตข้ันตอนการเริ่มนโยบาย การจัดทําแผนงาน โครงการ หรือ
กิจกรรมท่อี าจมผี ลกระทบตอคุณภาพชวี ติ และสิง่ แวดลอม การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การจัดการ
สิง่ แวดลอ มทรพั ยากรธรรมชาติ รวมทง้ั การปฏบิ ัติ และการตดิ ตามประเมินผลตามนโยบาย แผนงาน โครงการ
หรอื กจิ กรรมนั้น นอกจากน้ี ยังไดกาํ หนดขั้นตอนที่ประชาชนสามารถมีสวนรว มในกิจกรรมชองรฐั ไดทุกระดับ
ตั้งแตรวมวางแผน รับรู เขาถึงขอมูล รวมปฏิบัติ รวมจัดสรรผลประโยชน และรวมติดตามประเมินผล ซ่ึงได
กําหนดใหประชาชนมีสวนรวมในกระบวนการนโยบายสาธารณะ 3 ขั้นตอนหลัก ไดแก กอนอนุมัติ ระหวาง
ดําเนินนโยบาย และภายหลงั ดาํ เนินนโยบาย
กอนอนมุ ตั ิ ระหวา งดาํ เนินนโยบาย ภายหลังดาํ เนินนโยบาย
หนวยงานของรฐั ตอ ง หนวยงานของรัฐตอ ง หนว ยงานของรัฐตอง
-เปด เผยและชี้แจงขอ มลู -จัดทาํ รายงานความกา วหนา -จัดรบั ฟง ความคดิ เหน็
-จัดรับฟงความคดิ เห็นและ เผยแพรไ มนอ ยกวา 1 ครง้ั ตอ ป -อาจจัดใหป ระชาชนรว มตดิ ตาม
ปรกึ ษาผมู สี วนไดส วนเสีย -จัดใหป ระชาชน เสนอ แกไข ประเมินผล
-นําผลการรับฟง ฯมาพจิ ารณา เปลย่ี นแปลงตามความเหมาะสม หากประชาชนไดร บั ผลกระทบจาก
รว มในการตดั สินใจดาํ เนนิ ผเู กย่ี วขอ งอาจยน่ื คํารองตอ หนา ย นโยบายก็สามารถรองขอใหแ ตงตัง้
กิจกรรมทีจ่ ะกระทบตอ งานของรฐั ใหท บทวนหรอื ยกเลิก เจาหนาท่ีคุมครองฯ และชวย
สิ่งแวดลอ ม สขุ ภาพ และ กิจกรรมที่ไมด ําเนนิ การอยาง ดาํ เนินคดีได
คณุ ภาพชีวติ ถูกตองเหมาะสม -เยยี วยาและชดเชย
ภาพที่ 2.4 ขนั้ ตอนทหี่ นว ยงานของรัฐจะตอ งดาํ เนนิ การเกี่ยวกับการมีสว นรว มของประชาชน
รางพระราชบัญญัติฉบับนี้กําหนดใหมีคณะกรรมการการมีสวนรวมซึ่งเปนตัวแทนจากภาครัฐ 8 คน
ภาควิชาการ 5 คน และภาคประชาชน 5 คน โดยมีนายกรัฐมนตรี หรือรองนายกรัฐมนตรีท่ีไดรับมอบหมาย
เปนประธาน โดยมอี ํานาจหนา ที่ เชน สนับสนุนใหความรู สงเสรมิ การมีสวนรวมของประชาชนทัง้ ในระดับชาติ
และทองถ่ิน กําหนดขอบเขต ประเภท ชนิด และลักษณะของนโยบายสาธารณะตามกฎหมายนี้ ใหคําปรึกษา
หรือใหความชวยเหลือประชาชนในการใชสิทธิเพ่ือดําเนินคดีทางศาล นอกจากนี้ยังไดกําหนดบทลงโทษของ
การไมดําเนินการ บิดเบือนกระบวนการมีสวนรวม หรือไมปฏิบัติตามคําสั่งคณะกรรมการฯไวอีกดวย
(คณะกรรมาธิการขบั เคลือ่ นการปฏิรูปประเทศ, 2559, น.23-25)
สํานกั งานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร 12 สํานกั งบประมาณของรฐั สภา
การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
2.3 งานวิจยั และผลงานอืน่ ๆทีเ่ ก่ยี วของ
2.3.1 Participatory Budgeting
ธนาคารโลกไดสรุปหลักการและเง่ือนไขของงบประมาณแบบมีสวนรวมท่ีจะประสบ
ความสําเร็จไวตองประกอบดวย 1) ผูบริหารตองเปนกลาง 2) ผูนําฝายคานในองคกรการเมืองระดับทองถิ่น
ตองไมมี หรือออนแอ 3) ความพรอมทางการเงิน การชวยเหลือดานเทคนิคจากระดับชาติ หรือนานาชาติ
4) มีงบประมาณจากรายรับเพยี งพอ 5) ปลอดการเมอื งระหวา งกลมุ ตา งๆภายในคณะผบู รหิ าร
ตัวอยา งการจัดทาํ งบประมาณแบบมสี วนรวม เชน
กลุมประเทศลาตินอเมริกัน ประกอบดวย ประเทศโบลิเวีย ประเทศบราซิล ประเทศ
กัวเตมาลา ประเทศนิคารากวั ประเทศเปรู ขอสรปุ ทคี่ ลา ยกันทไ่ี ดจ ากประเทศเหลาน้ี ประกอบดว ย
1) การใชงบประมาณแบบมีสวนรวมระดับทองถ่ินไมไดประสบความสําเร็จในวง
กวางทั้งประเทศ เนื่องจากภาครัฐไมสามารถกระตุนใหเกิดการมีสวนรว มของประชาชน ยังมีขอจํากัดเก่ียวกับ
ความโปรงใสทางการคลัง และการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพของรัฐบาล เน่ืองจาก การออกกฎหมาย
ระดับชาตมิ เี ปา หมายอื่นและพรรคการเมืองไมเ ขมแขง็ พอนาํ มาซึ่งความออนแอทางการคลงั และการบริหาร
2) เงื่อนไขความสําเร็จที่เกิดขึ้นในทองถ่ินขนาดเล็กประกอบดวย การบริหารของ
นายกเทศมนตรีที่เปนกลาง ความพรอมทางการเงินท่ีไดรบั การสนับสนุน และการปลอดการเมืองระหวางกลุม
3) การใชจ ายภาครฐั จําเปนตองมคี วามโปรงใสและการมีสวนรวมทางตรง
4) บทบาทขององคก รเอกชน (NGOs)
สําหรับแนวทางของการศึกษาน้ียังไดกลาวถึงระบบงบประมาณแบบมีสวนรวมในประเทศ
กําลังพัฒนานี้วา 1) การมีกฎหมายเก่ียวกับการจัดทํางบประมาณแบบมีสวนรวมไมสามารถยืนยันถึง
ความสาํ เร็จได แตข นึ้ อยกู ับปจจยั ตา งๆเก่ยี วกับเงอ่ื นไขท่จี ําเปน เชน ความเปน กลางของนายกเทศมนตรี ความ
แข็งแรงของพรรคฝายคาน เงินสนับสนุนจากองคกรภายนอกทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 2) ไมมีแนวทางที่
เปนบรรทัดฐานอยางชัดเจนสําหรับการจัดทํางบประมาณแบบมีสวนรวม ท้ังนี้ขึ้นกับความเขมแข็งของภาค
ประชาชนและกลุมสงั คม
กลุมยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ประกอบดวย ประเทศอัลบาเนีย ประเทศอาเมเนีย
ประเทศบัลกาเรยี ประเทศรัสเซีย
กลไกการจัดทํางบประมาณแบบมีสวนรวมในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกพัฒนามาจาก
การดําเนินการในทองถิ่น การจัดสรรงบประมาณขององคการระหวา งประเทศท่ีใหงบประมาณสนับสนนุ ซึ่งถกู
มองวาอาจมีผลกระทบตอความย่ังยืน ความเปนอิสระของรัฐบาลทองถ่ินและความพรอมของทรัพยากร
สําหรบั กลไกการจัดทํางบประมาณแบบมสี วนรว มจะตองคํานึงถึงวารัฐบาลตองมีการเพ่ิมขีดความสามารถของ
ประชาชนเพ่ือใหประชาชนมีความสามารถมีสวนรวมในการตัดสินใจ การจัดทํางบประมาณแบบมีสวนรวมจะ
เปนจุดเร่ิมตนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการสรางระบบธรรมาภิบาลระดับชาติ ระดับการตรวจสอบของ
ประชาชนในกระบวนการงบประมาณแบบมีสว นรวม และการมสี วนรว มจะตองทาํ ใหเกิดความย่ังยนื
สํานักงานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร 13 สํานกั งบประมาณของรฐั สภา
การมสี วนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
กลมุ ประเทศในเอเชยี
การจัดทํางบประมาณแบบมีสวนรวมของประเทศบังคลาเทศ อินเดีย อินโดนีเซีย ฟลิปปนส
และไทย พบวา บางประเทศเร่ิมตนจากองคกรเอกชน (NGOs.) หรือบุคคลท่ี 3 เพ่ือเปาหมายใหเกิดความ
โปรงใสและตรวจสอบได บางประเทศการมีสวนรวมเร่ิมขั้นการกอตัวของงบประมาณ ในขณะท่ีอีกหลาย
ประเทศมีเพียงระดับการติดตามและตรวจสอบ ขอดีของการมีสวนรวมคือ ประชาชนในพ้ืนท่ีจะทราบสภาพ
พน้ื ที่ ขอจํากดั รวมถึงความตอ งการของตนเอง ทําใหเ พม่ิ การตรวจสอบได ปจ จยั ทกี่ ําหนดระดบั ของการมีสวน
รวม ประกอบดวย ความคิดริเริ่มของประชาชนในพื้นที่ ความสมบูรณของระบบการเมือง และลักษณะทาง
วัฒนธรรมทางการเมืองในประเทศ หรือของพื้นท่ีทองถิ่นนั้นๆ ดังน้ัน การออกแบบระบบงบประมาณแบบมี
สวนรวมจึงตองใหภาคประชาสังคมเขาถึงและมีสวนรวมการตัดสินใจสาธารณะ กรณีศึกษาตางๆจะพบวา
โครงการท่ีประชาชนในพื้นท่ีไมไดมีสวนรวมอยางแทจริงแมจะประสบความสําเร็จในระยะส้ัน แตไมกอใหเกิด
ความยั่งยนื ในระยะยาว
กลุมประเทศ Sub-Saharan Africa
ประเทศในกลุมน้ี ประกอบดวย เคนยา โมแซมบกิ แอฟรกิ าใต แทนซาเนีย อูกันดา แซมเบีย
และซมิ บับเว แตละประเทศมีความทาทายท่ีคลา ยกนั ในเร่ือง ขาดความสามารถ ความเขาใจบทบาทและความ
รับผิดชอบ ขอบเขตการมีสวนรวมจํากัด ขอจํากัดทางกฎหมาย การติดตามและตรวจสอบยังไมเพียงพอ ขาด
ความโปรง ใสและความไววางใจระหวางกัน ปญ หาดานการส่ือสาร และการขาดแคลนทรัพยากร การเมืองและ
ความแตกตางในสังคม งบประมาณแบบมีสวนรวมสวนใหญจะดําเนินการในระดับทองถ่ิน ซ่ึงมีบทบาทสําคัญ
ในการสรางกลไกตางๆ เชน โครงสรางคณะกรรมการ กระบวนการมีสวนรวม การประชุมงบประมาณ
กระบวนการปรึกษาหารอื การจดั ทาํ จดหมายขาว และความจํากดั ของทรัพยากร
ถึงแมวาการดําเนินการงบประมาณแบบมีสวนรวมจะมีขอจํากัดหลายๆประการ แตจํานวน
ทองถ่ินที่ใชงบประมาณแบบมีสวนรวมยังคงเพิ่มข้ึน เพราะงบประมาณแบบมีสวนรวมจะเกี่ยวของกับการ
พฒั นาความสัมพนั ธร ะหวา งประชาชนและการบริหารทองถน่ิ สงผลตอ การเพิ่มความโปรง ใสและความไวว างใจ
(ธนาคารโลก, Edited by Anwar Shah,2005, น.127-222)
2.3.2 การประเมินความโปรงใสทางงบประมาณตามหลักสากล เพ่ือสงเสริมความย่ังยืนทางการ
คลงั ของประเทศไทย
รายงานการวิจัยครั้งนี้ไดกลาวถึง ความสําคัญของการมีสวนรวมของประชาชนเปน
องคป ระกอบสําคัญของการดาํ เนินนโยบายการคลังท่มี ีประสทิ ธิภาพ การบริหารงานของรัฐจะเกดิ ความโปรงใส
และรับผิดชอบ งานศึกษาน้ีไดศึกษาแนวทางการประเมินความโปรงใสทางการคลังที่เกี่ยวของกับระบบ
งบประมาณระดับสากล พบวาเอกสารงบประมาณเปนเครื่องมือส่ือสารที่สําคัญที่จะเชื่อมตอกระบวนการ
งบประมาณกับประชาชนใหไดรูขอมูลครบถวนภายในระยะเวลาท่ีเหมาะสม สําหรับแนวทางการประเมิน
ความโปรง ใสทางงบประมาณตามหลกั สากล เชน
2.3.2.1 กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF) กําหนดหลักปฏิบัติท่ีดีดานความโปรงใส
ทางการคลงั ไว 4 ดา นคือ
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร 14 สํานักงบประมาณของรฐั สภา
การมีสว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
1) รายงานทางการคลัง โดยใหความสําคัญกับรายงานที่มคี วามครอบคลุม เช่ือถือได
ในเวลาทเ่ี หมาะสม
2) การจดั ทาํ งบประมาณการทางการคลังและการงบประมาณ ตอ งระบวุ ัตถุประสงค
การดําเนินนโยบายท่ชี ัดเจน รวมถงึ การคาดการณท่คี รอบคลมุ เชอ่ื ถือได ในเวลาที่เหมาะสม
3) การวิเคราะหและการบริหารความเส่ียงทางการคลัง โดยใหความสําคัญกับการ
เปดเผยขอ มูลและการวเิ คราะหความเสี่ยงทางการคลังท่ีอาจเกิดขน้ึ โดยรวมถึงการบรหิ ารจดั การ
4) การบริหารจัดการรายไดจากทรัพยากรธรรมชาติ โดยใหความสําคัญกับความ
โปรง ใส
2.3.2.2 องคการเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ไดใหคําแนะนํา
เร่ืองธรรมาภิบาลการงบประมาณ (Budgetary Governance) กําหนดหลักปฏิบัติที่ดีไว 10 ประการ โดย
หลักการสําคัญคือ เนนการเปดเผยเอกสารงบประมาณและขอมูลอยางโปรงใส เขาถึงงาย มีความชัดเจน
ผานกระบวนการตามกฎหมาย โดยสามารถใชประโยชนตั้งแตข้ันตอนการพิจารณางบประมาณ การนํา
นโยบายไปปฏบิ ัติ การประเมินนโยบาย และการสรา งความรับผดิ ชอบของรัฐบาล
2.3.2.3 องคก ารความรวมมอื ทางดา นงบประมาณระหวางประเทศ (IBP) มสี มมุตฐิ านการ
ทํางานที่สําคัญคือ ความเขาใจและการมีสวนรวมในเร่ืองงบประมาณของภาคประชาชน ซึ่งไดกลาวถึง การ
เขาถึงขอมูลและโอกาสในการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการจัดทํางบประมาณ รัฐมีความ
รับผิดชอบจะตองเปดเผยขอมลู เกี่ยวกับงบประมาณท่ีมคี วามครอบคลุมและทนั ทวงที รวมถึงเปดโอกาสให
ประชาชนมีสวนรวมในกระบวนการงบประมาณ IBP ไดใหหลักการไววา ความรับผิดชอบทางงบประมาณ
ประกอบดว ย 3 ดาน คือ
1) ความโปรงใสทางงบประมาณ (Budget Transparency) เกย่ี วของกบั การเปด เผย
ขอมลู ดานงบประมาณที่ครบถวน
2) การมสี ว นรวมของภาคประชาชน (Public Participation)
3) การควบคมุ ดแู ล (Oversight)
หากงบประมาณมีความโปรงใส ประชาชนมีสวนรวมในการจัดทํางบประมาณ
รวมถึงมีหนวยงานท่ีควบคุมดูแลการดําเนินการของฝายบริหาร จะทําใหการจัดสรรงบประมาณเปนไปอยางมี
ประสิทธิภาพ ตรงตอความตองการของประชาชน สรางความนาเชื่อถือ ลดปญหาคอรรัปช่ัน รักษาวินัยการ
คลัง ทั้งนี้ IBP ไดออกรายงานการสํารวจการเปดเผยงบประมาณ (Open Budget Survey) จะมีแบบสํารวจ
ดัชนีการเปดเผยงบประมาณ (Open Budget Index, OBI) มีคะแนนระหวาง 0 ถึง 100 ซึ่งคําถามหรือ
ตวั ชี้วดั จะครอบคลุมมิติการมสี วนรวมดว ย คาํ ถามทั้งหมดจะประกอบดวย 8 ประเภท ซึ่งประเทศไทยมีผลการ
ประเมินป 2558 จําแนกตามประเภทไดด งั นี้
สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร 15 สาํ นักงบประมาณของรัฐสภา
การมสี วนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
ตารางท่ี 2.1 รายละเอียดผลการสํารวจการเปด เผยงบประมาณ
เอกสาร เนอื้ หา และระยะเวลาเผยแพร
1. คําแถลงประกอบ -นําเสนอสมมุติฐานทางเศรษฐกิจตางๆท่ีใชในการประมาณ -มีการจ
งบประมาณลวงหนา การรายรบั รายจา ยของรัฐบาล -วงเงนิ
Pre-Budget -เผยแพรลวงหนาอยางนอย 1 เดือน กอนตีพิมพขอเสนอ
Statement) งบประมาณและเอกสารท่ีเกีย่ วขอ ง
2. ขอเสนองบประมาณ -นําเสนอ(ราง)ประมาณการรายรับและแผนการใชจาย -มีการจ
และเอกสารท่ีเก่ียวของ งบประมาณของรฐั บาล -รา ง พ
ห รื อ ร า ง เ อ ก ส า ร -เผยแพรล วงหนา อยางนอ ย 3 เดอื นกอนขึ้นปง บประมาณ -เอกส
งบประมาณ ประจํา
( Executive Budget -งบประ
Proposal and -คาํ แถล
Supporting
document)
3. เอกสารงบประมาณ -นําเสนอประมาณการรายรับและแผนการใชงบประมาณ -มีการจ
(ตามพ.ร.บ.) (Enacted ของรัฐบาลที่ผานการพิจารณาจากฝายนติ บิ ญั ญตั ิ -พ.ร.บ
Budget) -เผยแพรทนั ทีท่ีออกพระราชบญั ญัติ
4. เอกสารงบประมาณ -นําเสนองบประมาณท่ปี ระชาชนโดยท่วั ไปเขา ใจโดยงา ย -มีการจ
ฉ บั บ ป ร ะ ช า ช น -เผยแพรค วบคูไปกบั ขอเสนองบประมาณ ขอ 2 และ 3 -เว็บไ
(Citizen Budget) สํานักง
สาํ นักงานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร 1
มกี ารจดั ทาํ หรอื ไม? / ผลการประเมิน ตัวอยาง
ช่อื เอกสาร การขาดขอมลู
เพียงพอ
จัดทํา (Substantial) -
นงบประมาณรายจา ยประจาํ ป
จดั ทาํ จาํ กัด -ขาดการนําเสนอขอมูลรายรับ
พรบ.งบประมาณรายจายประจาํ ป (Limited) รายจายยอนหลังและไปขางหนา
ารประกอบรายจายงบประมาณ อีก 2 ป
าป -ขาดการนําเสนอผลกระทบทางการ
ะมาณโดยสงั เขป (ฉบบั ราง) คลงั จากนโยบายใหม
ลงงบประมาณรายจา ยประจาํ ป
จัดทํา เพยี งพออยา งมาก -
บ.งบประมาณรายจายประจําป (Extensive)
จัดทาํ จํากดั ข า ด เ อ ก ส า ร เ ผ ย แ พ ร ข้ั น ต อ น
ซต People’s Watch จัดทําโดย (Limited) ระหวางกระบวนการงบประมาณ
งบประมาณ จะเผยแพรในขั้นตอนการบริหาร
เทา นั้น
16 สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา
การมีสว นรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
ตารางท่ี 2.1 รายละเอียดผลการสํารวจการเปดเผยงบประมาณ
เอกสาร เนื้อหา และระยะเวลาเผยแพร
5. ร า ย งา น ก า ร ค ลั ง -นําเสนอรายงานความกาวหนาของการใชจายงบประมาณ -มกี ารจ
ภ า ย ใ น ป (In-Year รายรบั หนีส้ าธารณะ -รายง
Report) -เผยแพรเ ปน รายเดือน รายไตรมาส โดยเผยแพรภายใน 30 ประจํา
วนั หรอื ไมเ กนิ 6 สัปดาหน บั แตวันส้ินสุดชว งเวลา
6. รายงานการคลัง -นาํ เสนอความกา วหนาของการใชจ า ยนําประมาณ -ไมมีกา
ก ล า ง ป ( Mid-Year -เผยแพรภายใน 30 วัน หรือไมเกิน 6 สัปดาหนับจากวัน
Review) ครงึ่ ปงบประมาณ
7. รายงานการคลังส้ิน -นําเสนอการเปรียบเทียบระหวางแผนรายรับและรายจาย -ไมม ีกา
ป (Year-End Report) ของรัฐบาล กบั ผลทเ่ี กิดข้ึนจริง
-เผยแพรภายใน 6 เดือนหรือไมเกิน 1 ป นับจากวันส้ินสุด
ปงบประมาณ
8 . ร า ย ง า น ผ ล กา ร -นําเสนอผลการตรวจสอบการใชจายงบประมาณวาเปนไป -ไมม กี า
ตรวจสอบงบประมาณ ตามกฎหมายหรือไม รวมถึงขอ แนะนําตา งๆ
(Audit Report) -เผยแพรภายใน 6 เดือนหรือไมเกิน 1 ปนับจากวันส้ินสุด
ปง บประมาณ
หมายเหตุ - งบประมาณรายจายประจําป หมายถึง งบประมาณรายจายประจาํ ปงบปร
ทม่ี าขอมูล : การประเมินความโปรง ใสทางงบประมาณตามหลกั สากลเพ่ือสง เสริมความ
สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร 1
มกี ารจดั ทําหรอื ไม? / ผลการประเมิน ตวั อยา ง
การขาดขอ มลู
ชอ่ื เอกสาร ขาดการรายงานการใชจายระดับ
โครงการ
จดั ทาํ จํากัด
งา น ภ า ว ะ เ ศ ร ษ ฐ กิจ ก า ร ค ลั ง (Limited)
าเดือน (จดั ทาํ โดย สศค.)
ารจัดทํา --
ารจัดทํา --
ารจดั ทํา --
ระมาณ พ.ศ. 2557
มยั่งยืนทางการคลังของประเทศไทย ,2560 . น.33-38
17 สํานกั งบประมาณของรฐั สภา
การมสี วนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
จากผลการสาํ รวจทพี่ บวาขอมูลการมีสวนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณยังไม
เพียงพอและอยูใ นระดบั จํากดั น้นั ตัวอยา งปญหาตางๆของรัฐบาล เชน
1) ขาดการนําเสนอขอมูลเปาหมายของโครงการในชวงกระบวนการบริหาร
งบประมาณ
2) ขาดชอ งทางหรอื รายงานอยา งเปนทางการท่ีไดจากความคิดเหน็ ของประชาชนมา
ใชในการวางแผนหรอื ปรบั ปรุงการบรหิ ารงบประมาณ
3) คณะกรรมาธิการของฝายนิติบัญญัติยังไมเปดโอกาสใหประชาชนแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับมหภาค โครงสรา งทางการคลงั การจัดสรรงบประมาณระดับกระทรวงและหนว ยงาน สรปุ ผลท่ี
ไดร บั จากการทาํ ประชาพิจารณ ขาดกลไกท่ีใหประชาชนเขา รว มตรวจสอบการใชจายไดอ ยางเปนทางการ
อยางไรก็ตาม ผลคะแนนการสํารวจป 2559 ประเทศเกาหลีใตมีคะแนนการเปดเผย
งบประมาณ (Open Budget Index, OBI) เทากับ 83 คะแนน แนวทางการจัดทํางบประมาณของประเทศ
เกาหลีใต ไดค ะแนนประเด็นการมสี วนรวมสูงถงึ 83 คะแนน และประเทศฟลปิ ปน สได 67 คะแนน จึงนา สนใจ
ท่จี ะศกึ ษาแนวทางการดาํ เนินงานของแตล ะประเทศ
กรณศี กึ ษา : ประเทศเกาหลใี ต
ประเทศเกาหลีใต มีแนวทางการปฏิรูปกระบวนการบริหารการเงินการคลังสาธารณะ โดย
สรุป คือ สํานักงบประมาณจะใหความสําคัญกับการนําเสนอแผนการบริหารการคลังแหงชาติ (National
Fiscal Management Plan, NFMP) ซ่ึงมีสาระคือ ภาพรวมการบริหารการคลัง และ กรอบงบประมาณ
ลวงหนา (Medium-Term Expenditure Framework, MTEF) ระยะ 5 ป โดยมีขั้นตอนการเปดโอกาสให
ประชาชนมีส ว น รวมในโครงการ รัฐ ห ล า ย ๆโ ค ร ง ก า ร ซา ง อาจ ต องการข อ คิดเห็ นจา กผู มีส ว น ไดส ว น เ สี ย
ผูเช่ียวชาญดานงบประมาณ นักวิชาการ และภาคเอกชนซ่ึงเปนการเป ดอภิปรายสาธารณะ (Open
Discussion for the Public) สวนใหญเปนโครงการที่มีตนทุนการดําเนินการสูงและมีผลกระทบโดยตรงตอ
คุณภาพชีวิตของประชาชน แตการดําเนินการนี้ก็ยังมีขอจํากัดอยูบาง เชน ผูเขารวมอภิปรายอาจไมใช
ผูเช่ียวชาญเรื่องงบประมาณ การจัดสรรงบประมาณควรพิจารณาเปนภาพรวมท้ังหมดและจัดลําดับ
ความสาํ คัญตามการพัฒนาประเทศ การอภปิ รายไมส ามารถครอบคลุมทุกโครงการอยา งทว่ั ถึง
นอกจากการเปดใหอภิปรายโครงการตางๆแลว กระบวนการจัดทํารางงบประมาณของ
รัฐบาลกลางยังมีการจัดประชุมรวมกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินในลักษณะการไปทัศนศึกษา เพื่อใหทราบ
ความตองการท่ีแทจริงของทองถ่ิน และสถานะโครงการที่ดาํ เนินการอยูของทองถ่ิน เกิดการแลกเปล่ียนขอ มูล
ภายหลังจากการทัศนศึกษาจะรวบรวมขอมูลท่ีได และอาจนําไปนําเสนอที่ประชุมท่ีปรึกษาดานการคลัง เพื่อ
หารือเรื่องงบประมาณและกรอบงบประมาณลวงหนาระยะปานกลาง และสงตอใหกับฝายนิติบัญญัติ
คณะกรรมการพิเศษดา นงบประมาณจะเปดใหมีการประชาพิจารณร ับฟงความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญดานการ
คลัง เพอื่ ใหค วามเห็นเก่ียวกับการประเมินภาพรวมเศรษฐกจิ การคาดการณการจัดเก็บรายได สถานะทางการ
คลัง ความจาํ เปนในการแกไขโครงการรายจายตางๆ หากมีความจําเปน อาจมีการปรับรางงบประมาณรายจาย
ระยะเวลาของเกาหลใี ตใ นการทาํ งบประมาณรายจายจะจดั ทําประมาณ 1 ปก อ นปงบประมาณใหม
สํานักงานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร 18 สํานกั งบประมาณของรฐั สภา
การมสี วนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
แนวทางอีกประการของเกาหลีใตคือ เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมการบริหาร
งบประมาณ คือ การจัดตั้ง “ศูนยรายงานความสูญเสียทางงบประมาณ (Budget Waste Report
Center)” ของกระทรวงยุทธศาสตรและการคลัง (Minister of Strategy and Finance) มีวัตถุประสงคให
ประชาชนสามารถแจงหรือรองเรยี นหากพบเห็นการใชงบประมาณท่ีอาจเกิดความสูญเปลาทั้งในระดับรฐั บาล
กลางและรัฐบาลทองถ่ิน หรือแนะนําทางเลือกตางๆท่ีสามารถประหยัดงบประมาณรายจายได หากการ
รายงานพสิ ูจนว า เปนความจริงและนําไปสูการประหยดั งบประมาณหรือเพิ่มรายไดใ หกับรฐั บาลได ประชาชนท่ี
รายงานจะไดรับผลตอบแทนจากการรายงาน ในชวงป 1998-2013 มีผูรายงานมากกวา 1,922 เร่ือง ทําให
รัฐบาลมีรายไดเพิ่มขึ้น 12,000 ลานเหรียญดอลลารสหรัฐ และประหยัดงบประมาณรายจาย 2,000 ลาน
เหรียญ โดยจา ยเงินรางวัลรวมทง้ั ส้นิ 30 ลา นเหรยี ญดอลลารส หรัฐ
กลไกการตรวจสอบอยางเปนทางการของเกาหลใี ต คือ สํานักงานคณะกรรมการตรวจสอบ
(Board of Audit and Inspection, BAI) ทําหนาท่ีในการตรวจสอบการทํางานของสถาบันภาครฐั และ
อํานวยความสะดวกใหประชาชนเขามามีสวนรวมผานชองทางตางๆ เชน เว็บไซต และจัดทําโครงการ
สงเสริมการรวมกลุมเพื่อใหเกิดภาคประชาสังคมตรวจสอบ นอกจากน้ี ไดจัดต้ังหนวยงาน National
Assembly Budget Office (NABO) เพ่ือสนับสนุนดานขอมูลใหกับสมาชิกนิติบัญญัติในการตัดสินใจ
ทางงบประมาณ
ที่มา : Worldbank
ภาพที่ 2.5 การมีสวนรว มของภาคประชาชนในกระบวนการงบประมาณและกรอบงบประมาณลวงหนา
ระยะปานกลางของประเทศเกาหลใี ต
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร 19 สํานกั งบประมาณของรัฐสภา
การมีสว นรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
กรณีศึกษา : ประเทศฟลปิ ปนส
ประเทศฟลิปปนสเปนอีกประเทศท่ีไดรับการยอมรับเรื่องการปฏิรูปทางการคลังใหมีความ
โปรงใสมากยิ่งขนึ้ โดยใชกลไกการมีสวนรวมของภาคประชาชนในกระบวนการงบประมาณ ทงั้ ในระดับทองถ่ิน
และระดับประเทศ เปาหมายคือ ยุติปญหาคอรรัปชั่นและปญหาความยากจน แนวทางท่ีดําเนินการท่ี
นาสนใจ เชน
1) จัดต้ัง The Cabinet Cluster on Good Governance and Anti-Corruption
(CGAC) ที่ประกอบดวยประธานาธิบดี รัฐมนตรีกระทรวงที่เกี่ยวของ ท่ีปรึกษากฎหมาย และสํานักงานนิติ
บัญญัติ เพื่อสงเสริมใหเกิดการมีสวนรวม ความโปรงใส สรางความไววางใจและความเชื่อม่ันตอรัฐบาลผาน
กลไกทใ่ี หประชาชนมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและการตรวจสอบการทํางานของภาครฐั
2) จัดทํา “งบประมาณฉบับประชาชน (Citizens’ Budget) นําเสนอขอมูล
พ้นื ฐานงบประมาณใหประชาชนทสี่ นใจ และเขา ถึงไดโ ดยงา ย
3) เปด โอกาสใหประชาชนมสี ว นรวมในกระบวนการกาํ หนดนโยบายของประเทศ
4) สนับสนุนใหป ระชาชนมสี ว นรวมไดโดยตรงในระดบั ทอ งถนิ่
เคร่อื งมอื สําคญั สําหรับการปฏิรปู เชน
1) การติด “ตราความโปรงใส (Transparency Seal)” บนเว็บไซตทางการของ
หนว ยงาน ซ่งึ กําหนดใหเผยแพรขอมลู หนา ที่ความรับผิดชอบของหนวยงาน ขอ มูลการติดตอ รายงานประจําป
ของหนวยงานยอนหลัง 3 ป งบประมาณที่ไดรับอนุมัติและเปาหมายท่ีไดกําหนดไว โครงการสําคัญของ
หนวยงาน ผูรบั ประโยชนจ ากโครงการ สถานะของโครงการและการประเมนิ ผล แผนจัดซื้อจดั จางประจาํ ปและ
รายช่ือผรู บั จา ง
2) รายงานงบประมาณฉบับประชาชน เพ่ือชวยใหประชาชนเขาใจขอมูล
งบประมาณไดงา ยย่ิงข้ึน โดยเผยแพรใ นรูปแบบเอกสาร และเวบ็ ไซต
1
ทมี่ า : Department of Budget and Management, Philippines
ภาพท่ี 2.6 รายงานงบประมาณฉบบั ประชาชนป 2018 ของประเทศฟลปิ ปน ส
1 https://www.dbm.gov.ph/index.php/budget-documents/2018/2018-people-s-budget
สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร 20 สาํ นักงบประมาณของรัฐสภา
การมสี วนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
3) นโยบายการเปดเผยขอมูล (Full Disclosure Policy, FTP) กําหนดใหทุก
จังหวัด อําเภอ และเทศบาล เผยแพรขอมูลทางการเงินแกประชาชน ใหประชาชนทราบวางบประมาณไดถูก
นํามาใชอ ยางไร โดยตองแสดงในสถานท่ีที่ประชาชนเขา ถึงไดอยางนอ ย 3 แหง และแสดงบนเวบ็ ไซตทางการ
4) การติด “ตราการจัดการท่ีดี (Seal of Good Housekeeping, SGH) เปน
โครงการทีส่ รา งแรงจูงใจใหแ กหนว ยงานหรือรฐั บาลทองถิ่นทีแ่ สดงใหเห็นถงึ ความโปรงใส มคี วามรบั ผิดชอบ มี
สวนรวมและผลการดําเนินงานโดยรวมดี ซ่ึงหนวยงานทองถ่ินจะไดรับตราสัญลักษณน้ีก็ตอเมื่อ มีการบริหาร
จัดการทางการคลังท่ีดี เชน ผานการรับรองจากสํานักงานตรวจเงินแผน ดิน และไดปฏิบัติตามนโยบายเปดเผย
ขอ มลู ขา งตน
5 ) ข อ ต ก ล ง ก า ร มี ส ว น ร ว ม ท า ง ง บ ป ร ะ ม า ณ ( Budget Partnership
Agreements) กําหนดใหองคกรทางประชาสังคมเขามามีสวนรวมในข้ันตอนการจัดทําขอเสนองบประมาณ
และการติดตามการใชจายงบประมาณ ท้ังน้ีภาคประชาสังคมจะมีโอกาสเขารวมพิจารณาขอเสนอและ
จดั ลาํ ดับความสาํ คญั ของโครงการ
6) การจัดทํางบประมาณแบบมีสวนรวมระดับรากหญา (Grassroots
Participatory Budgeting) ซึ่งเปนการจัดทํางบประมาณแบบลางขึ้นบน (Bottom-up Budgeting) ของ
รฐั บาลทองถน่ิ โดยมีวงจรงบประมาณ 9 ขั้นตอน อยา งไรก็ตามสามารถสรปุ ได ดงั นี้
ท่มี า : OPENBUB.GOV.PH
ภาพที่ 2.7 กระบวนการจดั ทํางบประมาณแบบลางข้นึ บนของประเทศฟล ิปปน ส
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร 21 สํานักงบประมาณของรัฐสภา
การมีสว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
ที่มา : OPENBUB.GOV.PH
ภาพที่ 2.8 ระบบตดิ ตามงบประมาณผา นเว็บไซตของรัฐบาล
7) โครงการตรวจสอบแบบประชาชนมสี วนรว ม (Citizen Participatory Audit
Project) เปน การตรวจสอบรวมกันระหวางเจาหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบเงินแผนดิน และประชาชน
องคกรประชาสังคมกลุมที่สนใจ อาจจัดตั้งแบบเปนทางการ ซึ่งประชาชนจะมีบทบาทและความรับผิดชอบ
ทุกข้ันตอนการตรวจสอบ และไดรับขอมูลระดับเดียวกับท่ีเจาหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบเงิน
แผนดินอีกดวย เม่ือการตรวจสอบส้ินสุดจะจัดทํารายงานติดตามผล และติดตามผลการปฏิบัติการแกไขของ
หนว ยงานท่ถี ูกตรวจสอบ
จากกรณีศึกษาของประเทศเกาหลีใตและฟลิปปนส พบวา ปจจัยสําคัญท่ีทําใหแนวทางการ
นํากลไกการมีสวนรวมของประชาชนเขามาอยูในกระบวนการงบประมาณ ตั้งแตข้ันจัดทํางบประมาณจนถึง
การติดตามตรวจสอบการใชจ า ย ประกอบดวย
1) ความจริงใจและแรงผลักดันจากรัฐบาลท่ีใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของ
ประชาชนเปนวาระแหงชาติ และเปนแนวทางท่ีชวยเพิ่มความไววางใจของประชาชนที่มีตอรัฐบาล ชวย
แกปญ หาคอรรัปชนั่ อีกดวย
2) องคกรภาคประชาสังคมที่มีความเขมแข็ง มีความรู ความสามารถ และสามารถ
เขา ถงึ ขอ มูลทเ่ี กี่ยวขอ งกบั งบประมาณไดโ ดยงาย
3) สมรรถนะของรัฐ (State Capacity) รฐั ท่ีมสี มรรถนะทส่ี ูงกวา จะมแี นวโนมใหเกิด
การมสี วนรว มระดบั ทสี่ งู และลกึ กวา
สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร 22 สํานกั งบประมาณของรัฐสภา
การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
4) ความชัดเจนของทิศทางของการปฏิรูป วาจะปฏิรูปจากบนลงลางคลายกับ
ประเทศเกาหลี หรือจากลางข้ึนบนคลายกบั ประเทศฟลิปปนส (ศาสตรา สดุ สวาท และ ฐิติมา ชูเชิด, 2560 น.
22-65)
2.3.3 การจดั การงบประมาณแบบมีสว นรวม (Participatory Budgeting)
รายงานการศึกษาฉบับน้ีไดศึกษาขอเสนอแนะรูปแบบและกระบวนการจัดการงบประมาณ
แบบมีสว นรว มตามประเดน็ หลกั ๆ ดงั น้ี
หลักการสําคญั ที่งบประมาณแบบมีสว นรวมจะประสบความสาํ เร็จจะตองประกอบดว ย
1) การทําใหประชาชนทุกระดับเขามามีสวนรวม โดยเฉพาะอยางยิ่งประชาชนใน
ระดับลา ง
2) กระบวนการงบประมาณจะตองมีความโปรงใส มีหลักเกณฑที่แนชัด เปดโอกาส
ใหผ ูเสียภาษตี รวจสอบการใชจ า ยได
3) ประชาชนทุกคนมีสทิ ธิในการตัดสินใจอยา งเทา เทยี มกนั
4) สมาชิกในชุมชนทุกคนและทุกกลุมมีสิทธิในการเขารวมกระบวนการงบประมาณ
แบบมสี ว นรว ม
5) ใหป ระชาชนมอี ํานาจการตัดสินใจอยางแทจริง
การจัดรูปแบบโดยใชเกณฑบทบาทของกลุมประชาสังคมและฝายรัฐบาลสามารถแบง
รูปแบบงบประมาณแบบมีสว นรว มไดเปน 4 รปู แบบคอื
1) รวมรบั ฟง (Inform)
เปนรูปแบบท่ีควบคุมโดยรัฐ ประชาชนเขารวมกระบวนการรับฟงและรับทราบ
เทาน้ัน ไมมีการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ประชาชนไมมีอํานาจในการตัดสินใจเรื่องงบประมาณ ไมมีการลงมติ
เพือ่ ตัดสนิ ใจ ภาครัฐจะจัดทาํ ขอ เสนอ อนุมตั ิ และดาํ เนินโครงการเองท้งั หมด
2) รว มหารอื (Consult)
เปนรูปแบบที่ภาครัฐจะเผยแพรขอมูลงบประมาณผานส่ือตางๆ และเปดโอกาสให
ประชาชนทสี่ นใจเขา รวมแสดงความคิดเห็น โดยฝา ยรฐั จะรวบรวมความคิดเหน็ ตางๆใหกบั ภาครัฐตามชอ งทาง
ท่ีเตรียมไว สําหรับขั้นตอนของการจัดทําขอเสนอ อนุมัติ และบริหารโครงการยังคงอยูท่ีภาครัฐ ซ่ึงแบบที่ (1)
และ (2) น้ี เรยี กวา “การมีสวนรวมเชงิ สัญลักษณ”
3) รว มเจรจา (Negotiate)
เปนรูปแบบท่ีมีตัวแทนจากภาคสวนตางๆมีบทบาทรวมตัดสินใจโดยไดรับเงินทุนมา
จากสวนอ่ืนท่ไี มใชภ าครฐั หรืออาจมเี งนิ ทุนจากภาครฐั สมทบเพ่อื นาํ มาลงทนุ ดานตางๆ สภาทองถิ่นจะไมใชผูมี
อํานาจตดั สนิ ใจ แตจะเปน ไปในรูปแบบ “คณะกรรมการ” ซึง่ ประกอบดว ยตวั แทนจากหลายสวนท่ีเกี่ยวของท่ี
จะมบี ทบาทรว มตัดสินใจดา นการเงนิ และทองถนิ่ จะเปนผูร ับผดิ ชอบนําโครงการไปปฏบิ ัติ
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร 23 สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา
การมสี ว นรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
4) รวมตดั สนิ ใจ (Decision)
เปนรูปแบบท่ีพัฒนามาจากตนแบบ Porto Agegre ประเทศบราซิล ประชาชนจะ
พดู คยุ ถกเถยี งกนั เพ่ือเลือกตัวแทนเขารวมประชุมสภา และจัดทําขอ เสนอโครงการเพื่อเสนอใหกบั ตัวแทนพ้ืนที่
ไปพัฒนาขอเสนอและจัดอันดับโครงการไปบรรจุรวมกับแผนงานและงบประมาณของจังหวัดหรือหนวยงาน
เมื่องบประมาณไดรับการอนุมัติจะมีการตั้งคณะกรรมการติดตามผลซ่ึงประกอบดวยภาครัฐและประชาชน
รูปแบบน้จี ึงเปน รูปแบบท่ีเปด โอกาสใหป ระชาชนไดเ ขารว มอยางเต็มท่ี ไมว าจะเปน การใหขอคดิ เห็น จดั ลําดับ
ความสําคัญ และตดั สนิ ใจ
ดังน้ัน สรุปรูปแบบงบประมาณแบบมีสวนรวมไดเปน 4 รูปแบบ ตามบทบาทของ
ภาคประชาชนและภาครัฐไดตามแผนภาพไดดงั น้ี
สนับสนุนมาก รว มหารอื รวมตดั สินใจ
บทบาทของประชาชน Consult Decision
สนบั สนุนนอย รวมรับฟง รวมเจรจา
Inform Negotiate
ผูควบคมุ ผสู นับสนุน
บทบาทของรฐั
ภาพที่ 2.9 รูปแบบงบประมาณแบบมสี ว นรว ม
อยางไรก็ตาม ปจจัยที่พิจารณาเลือกรูปแบบงบประมาณแบบมีสวนรวมของแตละประเทศมี
ความแตกตา งกันตามบรบิ ททางสังคม วฒั นธรรม ทง้ั น้ี ตัวอยางปจจัยมีผลตอ การเลอื กรปู แบบที่เหมาะสม เชน
1) ความเปน อสิ ระทางการเงิน พืน้ ท่นี ั้นควรมีความเปน อิสระทางการเงนิ ระดับหน่ึง
ซึ่งอาจมีรายไดของทองถ่ินเอง ซ่ึงจะทําใหมีสิทธิและความสามารถของรัฐบาลทองถิ่นในการใชจายทรัพยากร
สาธารณะเพื่อตอบสนองตอความตองการของทอ งถิ่นนนั้
2) วัฒนธรรมทางการเมือง ประชาชนมีความพรอมและเต็มใจที่จะเขารวม
กระบวนการงบประมาณแบบมีสวนรวม ผูนําจะตองมีเจตจํานงใหประชาชนเขารวมโดยไมรูสึกวาสูญเสีย
อํานาจการตัดสินใจไปสวนหน่ึง กรณีของประเทศไทย หลายพื้นท่ีไดมีการจัดทําแผนชุมชนตางๆ ไมวาจะเปน
การจดั การนํา้ ขยะ หรือโครงการอ่ืนๆ ซึ่งประสบการณเหลานีจ้ ะทําใหประชาชนมีความเขาใจและตระหนักถึง
ความสําคัญของการมีสว นรวม
3) ลักษณะของทองถิ่น เชน ขนาดของเมือง เมืองใหญอาจตองมีการคัดเลือก
ตัวแทนหลายระดับมากกวาเมืองเล็ก ความแตกตางของประชากร เชน อุดมการณ ศาสนา วฒั นธรรม เชื้อชาติ
และภาษา อาจเปนตัวแปรสาํ คัญตอวธิ ีการคัดเลือกผูเขารว มเพื่อเปนตัวแทนของกลุมอยางแทจรงิ นอกจากน้ี
ความเจริญของทอ งถ่ินก็เปนปจจยั ทส่ี ําคญั ตอการเลอื กรปู แบบงบประมาณแบบมีสวนรว ม
สํานกั งานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร 24 สาํ นกั งบประมาณของรฐั สภา
การมีสวนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
4) ขอบเขตการดําเนินงาน ประกอบดวย ความชัดเจนของพ้ืนท่ี กลุมเปาหมาย
และการดําเนินงาน ซ่ึงหากปจจัยขางตนชัดจะเหมาะสมกับรูปแบบเจรจาหรือรวมตัดสินใจ หากไมสามารถ
ระบุผลกระทบตอกลมุ เปาหมาย หรอื กลมุ เปาหมายกระจัดกระจาย กจ็ ะเหมาะกับรปู แบบใหประชาชนมารวม
รบั ฟงหรือรวมหารอื
งานวิจัยฉบับน้ียังไดใหขอเสนอแนะข้ันตอนการจัดการงบประมาณแบบมีสวนรวมของ
ประเทศไทย โดยควรกําหนดเปน 2 ระดบั คอื
1) รปู แบบงบประมาณแบบมสี ว นรว มระดับกรม / เทยี บเทา
สวนใหญการบรหิ ารงานสวนกลางจะใชห ลกั การรวมอํานาจซึ่งไมเปดโอกาสใหมีสวน
รวมทางตรง แตจะเปนนโยบายและโครงการท่ีริเร่ิมจากรัฐบาล การมีสวนรวมในกระบวนการงบประมาณ
ระดบั นอี้ าจกาํ หนดไดเ พยี ง “รปู แบบการรวมรบั ฟง หรือรวมหารอื ” เทา นัน้ เนอ่ื งจาก ภารกิจของหนว ยงานมุง
ตอบสนองตอความตองการของประชาชนทั่วไปซึ่งการกําหนดขอบเขตของกลุมผูมีสวนเกี่ยวของจึงยากท่ีจะ
ระบุใหชัดเจนได อยางไรก็ตาม หากสามารถระบุกลุมผูมีสวนเกี่ยวของไดชัดเจนอาจกําหนดรูปแบบการมสี ว น
รวมอื่นๆได เชน โครงการที่กอใหเกิดความเสียหายแกชมุ ชนหรอื สังคม อาจใชกระบวนการประชาพิจารณโดย
กาํ หนดรูปแบบการรับฟงความคิดเห็นท่ีหลากหลายยิง่ ขน้ึ เชน การสนทนากลมุ ยอย การประชมุ เชิงปฏิบัติการ
หรอื การประชุมผมู ีสวนไดเสีย หรอื อาจจัดใหมีการประชามติเพือ่ หาขอยตุ ิ ซ่งึ ขอดีของการทาํ ประชามติคือ การ
เปด โอกาสใหมีการเสนอความคดิ เหน็ ตอ เร่อื งที่ทําประชามติอยางกวา งขวาง แตขอเสยี คอื คา ใชจา ยและตน ทุน
ดา นระยะเวลาอยา งไรก็ตาม หากกรมหรอื หนว ยงานใดมีแผนงานที่มีขอบเขตพื้นท่ี และกลมุ ผูมสี ว นไดส วนเสีย
ท่ีชัดเจนก็สามารถใช “รูปแบบการรวมเจรจาหรือรวมตดั สินใจ”ได
2) รูปแบบงบประมาณแบบมีสวนรวมระดบั ทองถนิ่
งบประมาณของทองถิ่นจะจัดสรรตามโครงการที่บรรจุไวในแผนพัฒนาทองถ่ินที่
ประกอบดวย โครงการพัฒนาท่ีจะดําเนินการจัดทําบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะเพื่อใหบรรลุ
วิสัยทัศนที่กําหนดไว ขั้นตอนที่เก่ียวของกับการมีสวนรวมของประชาชน ประกอบดวย (1) การสํารวจความ
ตอ งการของประชาชนแลว จัดทําแผนพัฒนาเสนอผูบริหารทองถ่ินเพื่อใหความเห็นชอบแลวปด ประกาศแจงให
ประชาชนทราบโดยเปดเผยไมนอยกวา 30 วันพรอมท้ังแจงสภาทองถิ่น อําเภอ และจังหวัด (2) เมื่อได
ดําเนินการแลวเสร็จจะตองจัดทํารายงานผลและเสนอความเห็นซึ่งไดจากการติดตามและประเมินผล
แผนพัฒนาทองถ่ินตอผูบริหารทองถ่ิน สภาทองถิ่นและปดประกาศในท่ีที่เปดเผยภายใน 15 วันนับจากวันที่
รายงานผล และปดประกาศไวเปนระยะเวลาไมนอยกวา 30 วันโดยอยางนอยปละหน่ึงคร้ังภายในเดือน
ธันวาคมของทกุ ป
อยางไรก็ตามปญหาและอุปสรรคการดําเนินการเก่ียวกับการมีสวนรวมของประชาชนใน
กระบวนการงบประมาณปจ จบุ ัน พบวา
1) ไมส ามารถจาํ แนก ระบุ ผมู ีสว นไดเสีย ผมู สี ว นเกยี่ วขอ ง
2) หนวยงานที่เก่ียวของกับดานการมีสวนรวมเปนหนวยงานภายในไมมีอํานาจ
เพียงพอ
สํานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร 25 สาํ นกั งบประมาณของรฐั สภา
การมสี วนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
3) การรับฟง ความคิดเหน็ จะดาํ เนนิ การกรณีสง ผลกระทบอยางกวา งขวาง แตหากไม
รุนแรงไมตองรับฟงความคิดเห็น หนวยงานผูรับผิดชอบเปนผูพิจารณาระดับผลกระทบและระดับการมีสวน
รว ม ดังนน้ั จงึ เปน ดลุ ยพินิจของหนว ยงานผูรบั ผดิ ชอบ
4) ภาคประชาชนยังขาดความพรอ ม ความรคู วามเขา ใจ เชน ภาษาท่ีเปนทางเทคนิค
ประชาชนไมเขา ใจ
สําหรบั แนวทางแกไขปญหาทตี่ องการ คือ ขน้ั ตอน แนวทางปฏิบัตทิ ชี่ ดั เจน และ ทักษะ และ
จํานวนบุคลากรไมเพียงพอ และเจตคติของบุคลากรท่ีตองยอมรับเรื่องการมีสวนรวม (ศูนยบริการวิชาการ
สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร, 2555. น.269-300)
2.3.4 การศึกษากระบวนการและผลลัพธของการจัดทํานโยบายและงบประมาณโดยการมีสวน
รวมของประชาชน : กรณีศึกษาสภาเมอื งขอนแกน เทศบาลนครขอนแกน
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษากระบวนการและผลลัพธของการจัดทํานโยบายและงบประมาณ
โดยการมีสว นรว มของประชาชน ผลการวจิ ัยพบวา เทศบาลนครขอนแกน มคี วามโดดเดน เรื่องของการบริหาร
จัดการบานเมืองอยางเปนเครือขาย ซ่ึงสามารถนําหนวยงาน ภาคสวนตางๆ ในพ้ืนท่ีเขามารวมกันในการ
พัฒนาและทําใหเกิดคุณประโยชนแกนครขอนแกน ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงความเขมแข็งของสังคมเมือง โดยได
เปดพื้นที่ และสนับสนุนเชื่อมโยงใหภาคสวนตางๆ ทั้งกลุมคน ชมรม ชุมชน สถานศึกษา องคกรตางๆ ไดมี
โอกาสเขา มารวมคิด รว มทํา รวมสรา งสรรคใ นกระบวนการจัดทําแผนและงบประมาณใหข อนแกนใหเ ปน เมือง
ที่นา อยูอยา งย่ังยืน ทาํ ใหเทศบาลนครขอนแกน ไดร บั รางวัลตา งๆมากมาย (ธชั เฉลิม สุทธพิ งษป ระชา, 2559)
2.3.5 กระบวนการจัดทาํ งบประมาณแบบมสี วนรวมยุคใหม
นวัตกรรมการส่ือสารที่เปลี่ยนแปลงไปทําใหวิธีคิดและเคร่ืองมือการทํางานรวมกันระหวาง
ภาครัฐและประชาชนมีความสะดวกมากย่ิงข้ึน การฟนฟูเมืองหรือการจัดการเมืองที่มีประสิทธภิ าพจําเปนตอง
ใชงบประมาณเขามาเกี่ยวของ จึงเกิดแนวคิดมิติ “การฟนฟูและบริหารจัดการเมือง (Urban Regeneration
and Governance)” ข้ึน งบประมาณท่ีรัฐนํามาฟนฟูและบริหารจัดการเมืองก็มาจากภาษีประชาชน
ผูจายภาษีจึงควรมีสิทธิรับทราบวารัฐไดนําไปใชจายอยางไร ดังนั้น การเปดใหประชาชนเขาถึงขอมูลและ
ประเภทการใชจายจะทําใหการบริหารจัดการมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน กระบวนการนี้จึงเปนสวนหนึ่งของ
กระบวนการจดั ทํางบประมาณแบบมีสวนรวม (Participatory Budgeting, PB) ซง่ึ ไดถ กู นาํ กลับมาใชหลังจาก
ใชคร้ังแรกท่ีเหมือง ปอรตู อาเลเกร ประเทศบราซิล ที่ทําใหประชาชนมีสวนรวมทางการเมืองมากข้ึน และผูมี
รายไดนอยในเมืองน้ีมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จากโครงการตางๆ เชน การพัฒนาที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอย
ทําใหคนจนไดอยูในเมืองมากข้ึน มีระบบนํ้าประปาท่ีครอบคลุมมากข้ึน มีการกอสรางโรงเรียน มีการจัดสรร
งบประมาณดานสขุ ภาพและการศึกษาเพิม่ มากข้ึน
ในอดีตอาจมีขอจํากัดเกี่ยวกับการเขาถึงขอมูล แตในปจจุบันอินเตอรเน็ตสามารถเขาถึง
ประชาชนอยางกวางขวางจึงไดนําแนวคิด electronic-PB หรือ ePB คือการนําระบบออนไลนมาประยุกต
ซ่ึงจะทําใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการไดมากข้ึน กลุมคนมีความหลายมากขึ้น และท่ีสําคัญ
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ ทนราษฎร 26 สํานักงบประมาณของรัฐสภา
การมสี ว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
คอื ประหยัดงบประมาณและรนระยะเวลาการสาํ รวจความคดิ เห็นประชาชนลงไดมาก สําหรับตัวอยา งการเปด
โอกาสใหประชาชนมสี ว นรว มในกระบวนการงบประมาณแบบมีสว นรวมยุคใหม เชน
1) New York City Council เปดใหประชาชนในเมืองสงแนวคิดและความคิดเห็น
ในการใชงบประมาณผานเว็บไซตของเมืองภายใตแนวคิด “Real Money-Real Project-Real Power” โดย
ประชาชนจะตองลงทะเบียนแสดงความเปน ตัวตน และแสดงแนวคิดที่ระบุตําแหนงและรายละเอียดคราวๆวา
ตองการใหน าํ เงินไปใชทาํ อะไรบาง โดยจะแบงเปนหมวดตางๆ เชน การศกึ ษา สาธารณสุข สง่ิ แวดลอ ม สูงอายุ
ถนนและทางเทา ประชาชนท่ีไมมีแนวคิดของตนเอง อาจรวมสนับสนุนแนวคิดของคนอ่ืนที่ตนเองชอบหรือ
อยากสนบั สนนุ ไดอีกดวย
ภาพที่ 2.10 เว็บไซตของ New York City Council ท่เี ปดโอกาสใหประชาชนรวมแสดงความคิดเหน็
2) Open Knowledge Foundation ไดจัดทําเว็บไซต Wheredoesmymoneygo
ข้ึน เพ่ือแสดงใหเห็นวา รัฐของกลุมประเทศสหราชอาณาจักร ใชภาษีอยางไร โดยเปนเว็บไซตท่ีประชาชน
สามารถเขาใจไดงาย งานเขียนนี้ยังไดสรุปวา การจัดทํางบประมาณแบบมีสวนรวมจะเปนเคร่ืองมีอท่ีสําคัญ
ระหวา งประชาชนกบั การบริหารจดั การเมืองโดยผานงบประมาณไดโ ดยตรง (สฤณี อาชวานนั ทกลุ ,2558)
2.3.6 การปฏิรูประบบขอ มลู โดยระบบการบริหารผลการปฏบิ ตั ิงานภาครฐั : นวตั กรรมการบรหิ าร
ราชการแผนดนิ แบบประชาชนมสี วนรวม”
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2561 ใหสํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล หรือ สพร.
เปนหนวยงานกลางท่ีทําหนาที่สํารวจการจัดทําระบบขอมูลและขอมูลกลาง สอดคลองกับขอสั่งการของ
นายกรัฐมนตรี เม่ือ 28 สิงหาคม 2561 เร่ืองแนวทางการใชประโยชนจากขอมูลขนาดใหญ (Big Data) และ
การจัดต้ังศูนยขอมูลภาครัฐ ใหมีความเช่ือมโยงกับแผนทุกระดับท่ีจะแสดงขอมูลที่สามารถนําไปตัดสินใจ
ติดตามประเมินผล ปจจุบันขอมูลของภาครัฐสวนใหญไมไดเปนระดับผลลัพธ ทําใหไมสามารถวัด
ประสิทธิภาพการทํางานท้ังระดับบุคคลและองคกรได ในอนาคตระบบขอมูลนี้จะตองมีการจัดประเภทหรือ
ชนิดขอ มูลที่จําเปน ตอการเผยแพรใหป ระชาชนทราบโดยเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรว มกับระบบขอมูลการ
บริหารราชการแผนดินแบบประชารัฐ และระบบบริหารผลการปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐ (สํานักงาน
เลขาธกิ ารวุฒสิ ภา, 2561 น.10-20)
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร 27 สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา
การมสี วนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
2.3.7 ผลการดําเนินการรับฟงความคิดเห็นรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป
งบประมาณ พ.ศ.2561
การดําเนินการนี้เกิดข้ึนภายใตบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 มาตรา 77
วรรค 2 ซึง่ สํานกั งบประมาณไดดําเนนิ การดังนี้ (สาํ นกั งบประมาณ, 2561 น.35) รายงานประจําป
1) วันท่ี 26 เมษายน 2560 ไดเชิญปลัดกระทรวง หัวหนาสวนราชการ ผูวาราชการจังหวัด
เขา รว มประชมุ เพ่อื รับฟงความคิดเห็น การจัดทาํ รา งพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจาํ ปง บประมาณ
พ.ศ.2661 โดยมีผูเขารวมประชุมทั้งระดับผูบริหารระดับสูงและเจาหนาท่ีจากหนวยงาน 285 หนวยงาน 733
คน
2) ระหวางวันที่ 26 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2560 สํานักงบประมาณไดจัดการประชุมเพื่อ
รับฟงความคิดเห็นเกี่ยวกับรายละเอียดงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2561 รวมกับผูบริหาร
ระดบั สงู และเจาหนาท่ี รวม 408 หนว ยงาน จํานวน 1,499 คน
3) สํานักงบประมาณไดนําผลการรับฟงความคิดเห็นมาประกอบการจัดทําราง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2561 และเผยแพรผลการรับฟงความคิดเห็น
ทางเว็บไซตส าํ นักงบประมาณ
วิธกี ารรบั ฟงความคิดเหน็
1) สํานักงบประมาณเปดรับฟงความคิดเห็นและขอเสนอแนะตอรางพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ.2562 โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ และผานทางเว็บไซตของ
สํานักงบประมาณ (www.bb.go.th) โดยไดเวียนแจงบันทึกขอความของสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ดวน
ทีส่ ดุ ที่ นร 0505/10704 ลงวันท่ี 11 เมษายน 2561 และ ภาคผนวกการจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป
งบประมาณ พ.ศ. 2562 จําแนกตามสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอ่ืน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน
จาํ แนกตามแผนงาน โดยท่ไี มไดระบุผลผลติ โครงการ กจิ กรรม
2) การจดั ประชมุ สวนราชการเพือ่ รับฟง ความคดิ เห็น จํานวน 3 ครั้ง ประกอบดวย
คร้งั ท่ี 1 ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ
เมือ่ วันที่ 10 เมษายน 2561 เชญิ หัวหนา หนวยงานและเจาหนา ทเี่ ขา รวมประชมุ จาก
20 กระทรวง 243 หนวยงาน รวม 577 คน และ ระหวางวันที่ 11-25 เมษายน 2561 จัดใหมีการประชุม
รวมกับรฐั มนตรี หัวหนาสว นราชการ ขาราชการและเจา หนาที่ จาก 19 กระทรวง 323 หนวยงาน รวม 1,334
คน สําหรับจังหวัดและกลุมจังหวัดมีการรับฟงความเห็นผานระบบวิดิทัศนทางไกลในคราวประชุมรวมกับ
กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงดจิ ิทลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมไดสงหนังสือตอบใหกับสํานกั งบประมาณ
ครั้งที่ 2 การรับฟงความคิดเห็นผานเว็บไซตสํานักงบประมาณ ระหวางวันที่ 11 –
25 เมษายน 2561
สํานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร 28 สํานักงบประมาณของรฐั สภา
การมสี ว นรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
ครั้งท่ี 3 การรับฟงความคิดเห็นผานทางเว็บไซตสํานักงบประมาณระหวางวันที่
10-24 พฤษภาคม 2561 ผลการรับฟงความคิดเห็นสรุปไดวา สวนราชการไมขัดของและภาคประชาชนมี
คําถามจาํ นวนนอ ยและสาํ นกั งบประมาณไดชี้แจงผานหนา เว็บไซตแลว
สําหรับการดําเนินการรับฟงความคิดเห็นรางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป
งบประมาณ พ.ศ.2563 จัดขึ้นเพ่ือใหเปนไปตามรัฐธรรมนูญท่ีเก่ียวของกับการงบประมาณ พระราชบัญญัติ
วิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 และ พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลัง พ.ศ.2561 โดยไดเชิญผูแทนสวน
ราชการท่ีเกย่ี วของตามหนงั สอื สํานักงบประมาณ ดว นท่ีสุด ที่ นร 0728/ว127 ลงวนั ที่ 2 กนั ยายน 2562 เพื่อ
เขารวมประชุมรับฟงความคิดเห็นการจัดทํารางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป ในวันท่ี 4
กนั ยายน 2562 โดยตวั อยา งเอกสารประกอบการสัมมนา ดงั นี้
ภาพท่ี 2.11 การรบั ฟง ความคิดเห็นของประชาชนตอ รางพระราชบัญญตั งิ บประมาณฯ ทางเวบ็ ไซด
สาํ นกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร 29 สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา
การมีสวนรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
2.3.8 ระบบขอ มูลขาวสารดา นอเิ ลคทรอนิกส
1) ระบบขอมูลการใชจายภาครฐั หรือ “ภาษไี ปไหน”
มตคิ ณะรฐั มนตรี ไดมอบใหสาํ นักงานพัฒนารฐั บาลดิจิทัล (องคการมหาชน) (สพร.) ดาํ เนินการพัฒนา
“ระบบขอมูลการใชจายภาครัฐ” หรือ “ภาษีไปไหน?” หรือ “ภาษีมาจากไหน?” เพ่ือเผยแพรขอมูลภาพรวม
รายได การจัดเก็บของรัฐบาล จากกรมสรรพากร กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร และสํานักงานเศรษฐกิจการ
คลัง ภาพรวมรายไดของทองถิ่น การเปดเผยขอมูลดานการใชรายรบั -รายจายของประเทศ ขอมูลงบประมาณ
ตามพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจา ยประจาํ ป ขอมูลการเบกิ จา ย และขอ มูลการจดั ซือ้ จัดจางภาครฐั รวมกับ
สํานักงบประมาณ และกรมบัญชีกลางในลักษณะภาพรวมสถิติตางๆ การจัดอันดับ การแสดงขอมูลในรูปแบบ
แผนที่ประเทศไทย รายละเอียดแตละจังหวัด เพื่อใหประชาชนเขาใจไดงายขึ้น นอกจากนี้ ยังมีชองทาง
รองเรียน รองทุกขเพื่อแจงเบาะแสโครงการท่ีพบเบาะแสการทุจริต เพ่ือใหประชาชนไดมีสวนรวมในการ
ตดิ ตามตรวจสอบ ตอ ตานการทจุ ริตตอ ไป (สาํ นกั งานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั , 2561)
ภาพที่ 2.12 ขอมูลท่ปี รากฏบนเว็บไซต “ภาษีไปไหน?”
สาํ นักงานเลขาธิการสภาผแู ทนราษฎร 30 สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา
การมสี วนรวมของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
2) การดาํ เนินการดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศของสาํ นักงบประมาณ
สํานักงบประมาณไดปรับปรุงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือรองรับการปฏิบัติงานใน
ปง บประมาณ พ.ศ. 2560 ไดด าํ เนนิ การจดั ทํา
(1) ระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส (e-Budgeting) และระบบ
สารสนเทศเพื่อการจัดทําแผน/ผลการปฏิบัติงานและการใชจายงบประมาณ (BB EvMIS) และระบบรายงาน/
สารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ ตา งๆ (ผศู ึกษา : ระบบนี้ไมไ ดเ ปดใหป ระชาชนเขาถึงขอมูล)
(2) ระบบแลกเปล่ียนขอมูลสารสนเทศระหวางหนวยงาน เชนการจัดทําขอมูลตาม
พระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจายประจําปแ ละรหสั ตา งๆท่ีเกี่ยวของกบั e-Budgeting ใหม ีรปู แบบสอดคลอง
กบั การเชอ่ื มโยงขอ มลู ระบบ GFMIS ของกรมบญั ชีกลาง
(3) ระบบเผยแพรขอมูล/สารสนเทศบนเว็บไซตสํานักงบประมาณ โดยไดปรับปรุง
เทคนิคการนําเสนอเพ่ือใหผูใชงานเขาใจงายยิ่งข้ึน เชน แผนภูมิ แผนที่ อินโฟกราฟฟก (สํานักงบประมาณ,
2561 น.37)
2.4 ขอสรุปทไี่ ดจ ากการทบทวนวรรณกรรม
1. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย และกฎหมายสําคัญหลายฉบับไดใหความสําคัญกับการมีสวน
รว มของประชาชนในการบริหารราชการของรัฐ และกระบวนการงบประมาณ
2. ความหมาย ความสาํ คญั และตัวแบบการมีสว นรวมของประชาชน
3. ปจ จัยทส่ี ง ผลตอความสําเรจ็ ของการมสี ว นรว มของประชาชนในระดับสากลและระดบั ทองถน่ิ
4. การดําเนินงานเก่ียวกับการเปดเผยขอมูลของหนวยราชการ เชน สํานักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
(องคก ารมหาชน), (สพร.) และสาํ นักงบประมาณ ซึ่งพบวา ท่ผี านมาการเปด โอกาสใหม ีสว นรว มในกระบวนการ
งบประมาณยังอยูในวงจํากัด ไมวาจะเปนข้ันตอนการจัดทําและอนุมัติงบประมาณ สวนขั้นตอนการบริหาร
ติดตามและประเมนิ ผลงบประมาณยงั ไมไดเปดเผยขอมูลเชิงลึกอยางเพียงพอ
5. รูปแบบ แนวทางการใชงบประมาณแบบมีสวนรวมของตางประเทศ และดัชนีการวัดความโปรงใส
ของงบประมาณ
6. แนวคิดกระบวนการจัดทํางบประมาณแบบมีสวนรวมยุคใหมท่ีสอดคลองกับเทคโนโลยีท่ีมีการ
พฒั นาขึ้น ไมว าจะเปน เรือ่ งการรับรขู อมลู ขา วสาร หรอื การแสดงความคิดเห็นระหวา งประชาชนกับภาครัฐ
7. งานวิจัยที่เก่ียวกับการมีสวนรวมของประชาชนระดับทองถิ่น และสิทธิชุมชน จะทําใหทราบ
กระบวนการและเงื่อนไขความสาํ เร็จแตล ะพื้นท่ีเพื่อนาํ มากาํ หนดเปนประเดน็ การศึกษา
2.5 สมมตุ ิฐานการศกึ ษา
ตัวแบบระดับการมีสวนรวมของประชาชนขึ้นอยูกับการเลือกเทคนิคที่เหมาะสม จะทําใหเกิดการใช
จา ยงบประมาณทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ เหมาะสม โปรงใส ตรวจสอบได
สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ ทนราษฎร 31 สํานกั งบประมาณของรฐั สภา
การมีสว นรว มของประชาชนในกระบวนการงบประมาณ
2.6 กรอบแนวคดิ การศึกษา
กฎหมายตางๆท่ีเกย่ี วของ ปญ หา / สถานการณการมสี วน ประสทิ ธิภาพการใชจาย
- รัฐธรรมนญู 2560 รวมของประเทศไทยที่ผา นมา งบประมาณ ดา น : สงั คม
- พรบ.ยทุ ธศาสตรชาติ
- พรบ.ขอมูลขา วสาร การเลอื กเทคนคิ - สอดคลอ งกับความตองการ
- กลุม ประชาสมั พนั ธให ของประชาชน / แกป ญ หา
กระบวนการงบประมาณ ขอ มูลกบั ประชาชน หรือไมกอ ใหเ กิดปญหา
(พรบ.วิธกี ารงบประมาณฯ) - กลุมรับฟงขอคิดเห็น - ไมม กี ารคัดคาน/ตอ ตา น
- การวางแผน - กลมุ แลกเปลย่ี นความ - ความโปรง ใส ตรวจสอบการ
- การจดั ทํา คดิ เหน็ ใชจา ยงบประมาณได
- การอนุมตั ิ - ความเชอ่ื มโยงระหวาง
- การบรหิ าร ตวั แบบระดับของการมีสวน งบประมาณประจําปและ
- การตดิ ตามประเมนิ ผล รวม งบประมาณระยะปานกลาง
- การใหข อ มลู ท่ีเก่ียวของ
หลักของงบประมาณ แตไมเปดใหแ สดงความเหน็ ปจ จยั ท่สี งผลสําเร็จ
แบบมสี วนรว ม - การเปด รบั ฟง ความคิดเห็น - การสรา งความรูค วาม
- ประชาชนระดบั ลา ง - การปรึกษาหารืออยางเปน เขา ใจของประชาชน
- ความโปรง ใส ทางการระหวางประชาชน - สิทธชิ มุ ชน + เครือขา ย
- ความเทาเทยี ม และ -การพัฒนากลไกการมีสว น
- การรวมกลมุ ทางสงั คม เจาของโครงการ รว ม (องคกร/ความไววางใจ/
- อํานาจการตดั สนิ ใจที่แทจรงิ - การวางแผนรวมกนั ผูน ํา/การเชอ่ื มโยงเครือขาย/
- การรวมปฏบิ ตั งิ านรวมกนั - การสอ่ื สารประเด็น
- การติดตาม ตรวจสอบ สาธารณะ
- การเขาถงึ ขอ มูล
- การประชาสัมพนั ธ
- เทคโนโลยี
สาํ นักงานเลขาธกิ ารสภาผูแทนราษฎร 32 สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา