กระทรวงการคลงั
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง หน้า
1
สารบญั
19
1. ภาพรวมกระทรวง
2. แผนงาน 23
2.1 แผนงานบรหิ ารจัดการหนภ้ี าครฐั 27
3. การวเิ คราะห์รายหน่วยงาน 30
3.1 สานักงานปลดั กระทรวงการคลัง 34
3.2 กรมธนารักษ์ 38
3.3 กรมบญั ชีกลาง 41
3.4 กรมศุลกากร 45
3.5 กรมสรรพสามิต 49
3.6 กรมสรรพากร 53
3.7 สานักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกิจ 57
3.8 สานักงานบรหิ ารหน้ีสาธารณะ 61
3.9 สานกั งานเศรษฐกจิ การคลงั 66
3.10 สานักงานความร่วมมอื พัฒนาเศรษฐกิจกบั ประเทศเพ่ือนบา้ น (องคก์ ารมหาชน) 71
3.11 ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 76
3.12 ธนาคารออมสิน 80
3.13 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มแห่งประเทศไทย 88
3.14 บรรษทั ประกันสินเชอ่ื อุตสาหกรรมขนาดยอ่ ม 94
3.15 บริษัทบรหิ ารสินทรพั ย์ ธนาคารอสิ ลามแหง่ ประเทศไทย จากัด 97
3.16 ธนาคารอาคารสงเคราะห์
3.17 กองทุนประชารัฐสวสั ดิการเพอ่ื เศรษฐกิจฐานรากและสงั คม
3.18 กองทนุ การออมแหง่ ชาติ
สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ ก
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
กระทรวงการคลงั
ส่วนที่ 1 ภาพรวมกระทรวง
1. วิสัยทัศน์ พันธกิจ อานาจหน้าท่ี
- วสิ ัยทศั น์
เสาหลักทางการคลังและเศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน
- พนั ธกจิ
1. เสนอแนะนโยบายการคลังและเศรษฐกจิ
2. บริหารการจัดเก็บรายได้ภาครฐั
3. บริหารการเงินแผ่นดนิ
4. บริหารจัดการทรัพย์สนิ ภาครัฐ
- ผลสมั ฤทธแิ์ ละประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ
กระทรวงการคลงั เสนอมาตรการการคลงั และเศรษฐกิจ จัดเกบ็ รายไดภ้ าครฐั บรหิ ารการเงนิ แผ่นดนิ
และบรหิ ารจดั การทรัพยส์ นิ ภาครัฐ บรหิ ารการเงินแผน่ ดนิ และบริหารจดั การทรัพยส์ นิ ภาครฐั เพื่อสนบั สนนุ
ศักยภาพและความสามารถในการแข่งขนั ลดความเหลื่อมลาํ้ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม และรักษาความย่งั ยนื
ทางการคลงั
หมายเหตุ : กระทรวงการคลังมลี กั ษณะพเิ ศษ ดงั นี้
1. มีหนว่ ยงานท้ังในสว่ นกลาง ส่วนภมู ิภาค และตา่ งประเทศ อย่างครบถ้วน
2. นอกเหนือจากหน้าทต่ี ามกฎหมายเปน็ การเฉพาะแลว้ ยงั มีลกั ษณะเป็นหนว่ ยงานกลางสาํ หรับการกาํ กับดูแลการ
ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีหน่วยงานอ่นื ของรัฐด้วย เช่น การเบิกจา่ ยงบประมาณ การจัดซอื้ จดั จ้างภาครฐั การพสั ดภุ าครัฐ การกาํ กบั ดแู ลทุน
หมนุ เวยี นและรัฐวสิ าหกิจ การบรหิ ารหนีส้ าธารณะ ฯลฯ
3. มหี น่วยงานอิสระทสี่ ําคญั ภายใต้การกํากบั ของรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงการคลงั ทไี่ มไ่ ดข้ อรับงบประมาณแผน่ ดิน
แต่มีบทบาทตอ่ การบรหิ ารเศรษฐกิจมหภาค รวมทง้ั การกํากับธุรกิจการเงนิ เพื่อให้มปี ระสทิ ธิภาพและการแข่งขันอย่างเป็น
ธรรมซึง่ ไดแ้ ก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย สํานกั งานคณะกรรมการกาํ กบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลักทรพั ย์ และสาํ นักงาน
คณะกรรมการกํากบั และส่งเสรมิ การประกอบธรุ กิจประกนั ภัย
4. เปน็ หน่วยงานทเี่ ก่ียวข้องกบั สารสนเทศและข้อมลู ขนาดใหญ่ (Big Data) ทง้ั ขอ้ มลู ดา้ นเศรษฐกจิ มหภาค การ
เบกิ จ่ายงบประมาณ ผ้เู สียภาษี การประเมนิ ราคาที่ดนิ รายแปลง ฯลฯ จึงอาจมีจําเป็นตอ่ การขอรบั การจัดสรรงบประมาณดา้ น
สารสนเทศค่อนข้างมาก
สํานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 1
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
2. สรปุ ภาพรวมงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และเงินนอกงบประมาณ
(จาแนกตามหนว่ ยงาน)
2.1 งบประมาณรายจา่ ยประจาปี
หนว่ ย : ลา้ นบาท
หน่วยงาน ปงี บประมาณ เพม่ิ /ลด
2563 2564 จานวน ร้อยละ
รวมทงั้ สน้ิ 392,956.3293 417,190.5949 24,234.2656 6.17
สว่ นราชการ 248,364.0258 268,118.5451 19,754.5193 7.95
สนง.ปลดั กระทรวงการคลงั 1,664.9305 1,591.4814 -73.4491 -4.41
กรมธนารักษ์ 3,769.7021 3,744.4879 -25.2142 -0.67
กรมบญั ชีกลาง 2,018.7857 1,621.1489 -397.6368 -19.70
กรมศลุ กากร 3,600.1545 3,978.2968 378.1423 10.50
กรมสรรพสามติ 2,420.7777 2,562.0517 141.2740 5.84
กรมสรรพากร 9,813.7260 10,130.8299 317.1039 3.23
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ 125.6961 175.8935 50.1974 39.94
สนง.บริหารหนสี้ าธารณะ 222,221.0059 243,299.3707 21,078.3648 9.49
สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั 2,729.2473 1,014.9843 -1,714.2630 -62.81
องคก์ ารมหาชน 837.3226 600.0536 -237.2690 -28.34
สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศ 837.3226 600.0536 -237.2690 -28.34
เพอ่ื นบ้าน (องคก์ ารมหาชน)
รฐั วิสาหกจิ 103,274.0514 98,365.3751 -4,908.6763 -4.75
ธ.พฒั นาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม 1,386.7491 666.7750 -719.9741 -51.92
แห่งประเทศไทย
ธ.เพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 89,819.7587 82,038.4934 -7,781.2653 -8.66
ธ.ออมสนิ 5,045.4393 5,498.2882 452.8489 8.98
ธ.อาคารสงเคราะห์ 148.3900 156.3705 7.9805 5.38
บรรษทั ประกนั สินเชอ่ื อตุ สาหกรรมขนาดย่อม 4,073.7143 7,034.4480 2,960.7337 72.68
บริษทั บริหารสินทรัพย์ ธ.อสิ ลามแหง่ ประเทศ 2,800.0000 2,971.0000 171.0000 6.11
ไทย จากดั
กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวียน 40,480.9295 50,106.6211 9,625.6916 23.78
กองทนุ การออมแห่งชาติ 480.9295 605.7869 124.8574 25.96
กองทุนประชารัฐสวัสดกิ ารเพอ่ื เศรษฐกจิ ฐาน 40,000.0000 49,500.8342 9,500.8342 23.75
รากและสงั คม
ทีม่ า : เอกสารงบประมาณ
สํานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 2
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
2.2 เงินนอกงบประมาณ
หนว่ ย : ล้านบาท
หนว่ ยงาน ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
งปม. เงินนอกฯ สดั สว่ น งปม. เงินนอกฯ สดั สว่ น งปม. เงินนอกฯ สดั สว่ น
รวมทง้ั สน้ิ 374,930.2877 10,800.3122 0.03 392,956.3293 11,415.2860 0.03 417,190.5949 10,547.9695 0.03
สว่ นราชการ 242,206.4166 6,082.5127 0.03 248,364.0258 7,167.0558 0.03 268,118.5451 7,150.0558 0.03
สนง.ปลัดกระทรวงการคลงั 1,377.6340 - - 1,664.9305 - - 1,591.4814 - -
กรมธนารักษ์ 3,713.1972 0.14 3,769.7021 0.16 3,744.4879 0.17
525.0000 585.0000 625.0000
กรมบญั ชีกลาง 1,834.2858 - - 2,018.7857 - - 1,621.1489 - -
กรมศลุ กากร 4,291.6851 411.7218 0.09 3,600.1545 549.7929 0.15 3,978.2968 649.7929 0.16
กรมสรรพสามติ 2,561.3275 2,407.5280 0.93 2,420.7777 3,138.0000 1.30 2,562.0517 3,173.0000 1.24
กรมสรรพากร 9,468.8138 2,700.0000 0.28 9,813.7260 2,856.0000 0.29 10,130.8299 2,664.0000 0.26
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ 147.8261 - - 125.6961 - - 175.8935 - -
สนง.บริหารหนสี้ าธารณะ - - 222,221.0059 - - 243,299.3707 - -
216,661.6171
สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั 2,150.0300 38.2629 0.01 2,729.2473 38.2629 0.01 1,014.9843 38.2629 0.04
องคก์ ารมหาชน 741.5759 675.1314 0.91 837.3226 800.1496 0.96 600.0536 1,360.6726 2.27
สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศ 741.5759 675.1314 0.91 837.3226 800.1496 0.96 600.0536 1,360.6726
เพอื่ นบ้าน (องคก์ ารมหาชน) 91,682.6712 4,042.6681 0.04 103,274.0514 3,448.0806 0.03 98,365.3751 2,037.2411 0.02
รัฐวิสาหกจิ 492.5153 - - 1,386.7491 --
ธ.พฒั นาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม -- 666.7750
แหง่ ประเทศไทย 79,595.3954 - - 89,819.7587 - - 82,038.4934 --
ธ.เพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร
ธ.ออมสนิ 5,931.1108 - - 5,045.4393 - - 5,498.2882 --
ธ.อาคารสงเคราะห์ - -- 148.3900 -- 156.3705 --
บรรษทั ประกนั สนิ เชอ่ื อตุ สาหกรรมขนาดย่อม 4,888.4797 4,042.6681 0.82 4,073.7143 3,448.0806 0.85 7,034.4480 2,037.2411 0.29
บริษทั บริหารสนิ ทรัพย์ ธ.อสิ ลามแห่งประเทศ 775.1700 - - 2,800.0000 - - 2,971.0000 --
ไทย จากดั 40,299.6240 - - 40,480.9295 - - 50,106.6211 --
กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวียน
กองทุนการออมแห่งชาติ 299.6240 -- 480.9295 -- 605.7869 --
40,000.0000 --
กองทนุ ประชารัฐสวสั ดกิ ารเพอื่ เศรษฐกจิ ฐาน - - 40,000.0000 - - 49,500.8342
รากและสังคม
ทีม่ า : เอกสารงบประมาณ
สํานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 3
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
2.3 การโอนงบประมาณงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามร่าง
พระราชบญั ญัติโอนงบประมาณรายจา่ ย พ.ศ. 2563
หน่วย : ล้านบาท
ท่มี า : เอกสารงบประมาณ
สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 4
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
3. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (จาแนกตามงบรายจา่ ย)
หนว่ ย : ล้านบาท
หน่วยงาน งบบคุ ลากร งบดาเนนิ การ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนนุ งบรายจา่ ยอนื่ เงินนอก งปม. รวม
รวมทงั้ สนิ้ 12,988.1926 6,628.5569 3,591.5864 613.2392 393,369.0198 10,547.9695 427,738.5644
สว่ นราชการ 12,988.1926 6,628.5569 3,591.5864 11.3544 244,898.8548 7,150.0558 275,268.6009
สนง.ปลัดกระทรวงการคลงั
กรมธนารักษ์ 121.4526 212.3024 842.4458 - 415.2806 - 1,591.4814
กรมบญั ชีกลาง 703.0828 2,806.6218 234.7833 - - 625.0000 4,369.4879
กรมศลุ กากร 926.0915 314.6381 181.7019 - 1,621.1489
กรมสรรพสามติ 1,963.0248 1,007.5583 1,006.3593 1.3544 198.7174 - 4,628.0897
กรมสรรพากร 1,521.6043 261.7716 382.4664 10.0000 - 649.7929 5,735.0517
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ 7,463.6880 1,899.3782 742.7637 - 3,173.0000 12,794.8299
สนง.บริหารหนสี้ าธารณะ 70.7785 49.3761 - 386.2094 2,664.0000 175.8935
สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั 71.3271 40.3322 - 25.0000 243,299.3707
องคก์ ารมหาชน 147.1430 27.3875 8.6847 - 15.4067 - 1,053.2472
สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศ 58.5668 143.0052 600.0536 243,191.9714 - 1,960.7262
เพอ่ื นบา้ น (องคก์ ารมหาชน) - 600.0536 666.2693 38.2629 1,960.7262
รฐั วิสาหกจิ - - - 1,360.6726
ธ.พฒั นาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม - - - 1,360.6726
แหง่ ประเทศไทย - -
ธ.เพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร - - -
ธ.ออมสิน - - 1.8312 98,363.5439 2,037.2411 100,402.6162
ธ.อาคารสงเคราะห์ -
บรรษทั ประกนั สินเช่ืออตุ สาหกรรมขนาดย่อม - - - - 666.7750 - 666.7750
บริษทั บริหารสนิ ทรัพย์ ธ.อสิ ลามแห่งประเทศ - - -
ไทย จากดั - - - 1.8312 82,036.6622 - 82,038.4934
กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวียน - - - - 5,498.2882 - 5,498.2882
กองทนุ การออมแหง่ ชาติ - - - 156.3705 - 156.3705
กองทุนประชารัฐสวัสดกิ ารเพอื่ เศรษฐกจิ ฐาน - - 7,034.4480 2,037.2411 9,071.6891
รากและสงั คม - - - - 2,971.0000 - 2,971.0000
- - -
ท่มี า : เอกสารงบประมาณ - - - 50,106.6211 - 50,106.6211
- 605.7869 - 605.7869
- 49,500.8342 - 49,500.8342
สํานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 5
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
4. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 (จาแนกตามแผนงาน)
หน่วย : ลา้ นบาท
หนว่ ยงาน แผนงานบคุ ลากร แผนงานพน้ื ฐาน แผนงาน แผนงานบรู ณาการ แผนงานบรหิ าร รวม รวม (ยกเว้น
ภาครัฐ ยทุ ธศาสตร์ จดั การหนภ้ี าครฐั แผนงาน
รวมทงั้ สน้ิ 2,441.2093
สว่ นราชการ 13,133.9862 2,441.2093 129,523.8010 222.1324 271,869.4660 417,190.5949 404,056.6087
สนง.ปลัดกระทรวงการคลัง 13,133.9862
กรมธนารักษ์ 936.7311 9,140.0176 222.1324 243,181.1996 268,118.5451 254,984.5589
กรมบัญชกี ลาง 122.5785 497.5678
กรมศลุ กากร 716.9553 532.1718 - - 1,591.4814 1,468.9029
กรมสรรพสามติ 931.5707 -
กรมสรรพากร 1,985.4055 - 2,529.9648 - - 3,744.4879 3,027.5326
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ 1,541.5283 -
สนง.บริหารหน้สี าธารณะ 7,537.7694 - 689.5782 - - 1,621.1489 689.5782
สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั 71.2106 104.6829
องคก์ ารมหาชน 71.4124 42.7987 1,770.7589 222.1324 - 3,978.2968 1,992.8913
สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศ 155.5555 859.4288
เพอ่ื นบ้าน (องคก์ ารมหาชน) - 1,020.5234 - - 2,562.0517 1,020.5234
รฐั วิสาหกจิ - -
ธ.พฒั นาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม - 2,593.0605 - - 10,130.8299 2,593.0605
แหง่ ประเทศไทย -
ธ.เพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร - - --- 175.8935 104.6829
ธ.ออมสนิ -
ธ.อาคารสงเคราะห์ - 3.9600 - 243,181.1996 243,299.3707 243,227.9583
บรรษทั ประกนั สินเช่อื อตุ สาหกรรมขนาดย่อม - -
บริษทั บริหารสินทรัพย์ ธ.อสิ ลามแห่งประเทศ - - --- 1,014.9843 859.4288
ไทย จากดั - -
กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวียน - - 600.0536 - - 600.0536 600.0536
กองทนุ การออมแห่งชาติ -
กองทุนประชารัฐสวสั ดกิ ารเพอ่ื เศรษฐกจิ ฐาน - 600.0536 - - 600.0536 600.0536
รากและสังคม - -
- - 69,677.1087 - 28,688.2664 98,365.3751 98,365.3751
ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ - 666.7750 -- 666.7750 666.7750
53,350.2270 - 28,688.2664 82,038.4934 82,038.4934
5,498.2882 -- 5,498.2882 5,498.2882
--
156.3705 -- 156.3705 156.3705
7,034.4480 -- 7,034.4480 7,034.4480
2,971.0000 2,971.0000 2,971.0000
50,106.6211 - - 50,106.6211 50,106.6211
605.7869 - - 605.7869 605.7869
- -
49,500.8342 49,500.8342 49,500.8342
สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 6
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
5. งบประมาณแผนงานบูรณาการ ปงี บประมาณ หนว่ ย : ล้านบาท
2563 2564
แผนงานบรู ณาการ เพม่ิ /ลด
แผนงานบูรณาการพฒั นาพน้ื ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ
จานวน รอ้ ยละ
- กรมศลุ กากร
214.8656 222.1324 7.2668 3.38
ทีม่ า : เอกสารงบประมาณ
6. รายการผกู พนั หน่วย : ลา้ นบาท
หน่วยงาน จานวนรายการ 2564 ปงี บประมาณ รวม เงนิ นอกฯ
2565 2566 2567-จบ
สว่ นราชการ
สนง.ปลดั กระทรวงการคลัง 45 4,496.1230 4,580.1144 3,012.5297 45,668.9347 57,757.7018 1,492.9703
กรมธนารักษ์
กรมบญั ชีกลาง 4 708.9162 578.4156 0.8856 1.9926 1,290.2100 -
กรมศลุ กากร
กรมสรรพสามติ 17 2,556.2171 2,615.7583 2,598.3486 45,367.5842 53,137.9082 -
กรมสรรพากร
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ 2 2.6128 2.6128 2.6128 - 7.8384 -
ท่ีมา : เอกสารงบประมาณ 8 676.0632 783.1622 278.4991 278.4991 2,016.2236 1,492.9703
5 133.1579 18.5260 18.5260 18.5260 188.7359 -
6 391.6380 580.6027 112.6208 - 1,084.8615 -
3 27.5178 1.0368 1.0368 2.3328 31.9242 -
สาํ นักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 7
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
7. โครงการ/รายการสาคัญ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กระทรวงการคลงั มีการดําเนนิ การท่สี าํ คญั ๆ ดงั น้ี
ชื่อโครงการ/รายการ หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ
แผนงานยุทธศาสตรเ์ พ่อื สนับสนนุ ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาค
ทางสังคม จาํ นวน 46,500.8342 ลา้ นบาท กองทุนประชารฐั สวัสดิการ
เพ่ือเศรษฐกจิ ฐานรากและ
ท่ีมา : เอกสารงบประมาณ สังคม
โดยการวิเคราะห์แสดงในเอกสารส่วนท่ี 3 ตามหนว่ ยงานรับผดิ ชอบตอ่ ไป
8. ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณประจาปงี บประมาณ 5 ปยี อ้ นหลัง (พ.ศ. 2559 – 2563)
หนว่ ย : ล้านบาท
หนว่ ยงาน ปี 2559 (ณ 30 ก.ย. 59) ปี 2560 (ณ 30 ก.ย. 60) ปี 2561 (ณ 30 ก.ย. 61) ปี 2562 (ณ 30 ก.ย. 62) ปี 2563 (ณ 31 พ.ค. 63)
งปม. หลงั โอน เบกิ จ่าย % งปม. หลังโอน เบิกจ่าย % งปม. หลังโอน เบิกจ่าย % งปม. หลงั โอน เบิกจ่าย % งปม. หลังโอน เบกิ จ่าย %
สว่ นราชการ
สนง.ปลดั กระทรวงการคลงั 977.18 713.29 73.0 711.62 646.51 90.9 975.81 846.80 86.8 1,377.58 1,113.89 80.9 1,664.93 616.74 37.0
กรมธนารักษ์ 3,693.40 3,573.31 96.7 3,474.89 3,395.22 97.7 3,427.22 3,393.06 99.0 3,749.29 3,683.88 98.3 3,769.70 3,184.02 84.5
กรมบญั ชีกลาง 1,389.09 1,316.07 94.7 1,419.40 1,297.22 91.4 1,484.33 1,449.52 97.7 1,861.82 1,514.01 81.3 2,637.94 742.41 28.1
กรมศลุ กากร 3,922.06 3,493.53 89.1 3,842.45 3,236.43 84.2 4,449.16 3,489.70 78.4 4,344.43 3,874.40 89.2 3,600.15 1,910.43 53.1
กรมสรรพสามติ 2,734.75 2,503.40 91.5 2,784.37 2,400.71 86.2 2,549.61 2,414.76 94.7 2,611.14 2,399.52 91.9 2,427.03 1,274.82 52.5
กรมสรรพากร 9,934.03 9,361.43 94.2 9,747.99 9,477.20 97.2 9,335.72 9,000.28 96.4 9,557.89 9,338.15 97.7 9,814.23 6,092.69 62.1
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกจิ 170.61 145.12 85.1 143.49 134.84 94.0 140.64 135.85 96.6 150.92 144.74 95.9 125.95 68.62 54.5
สนง.บริหารหน้สี าธารณะ 173,179.88 173,172.21 100.0 193,141.08 193,126.98 100.0 213,662.55 213,648.31 100.0 216,660.00 216,650.93 100.0 222,221.01 142,113.03 64.0
สานักงานเศรษฐกจิ การคลัง 431.63 406.08 94.1 2,318.09 2,290.18 98.8 2,247.18 2,221.73 98.9 2,139.56 2,096.96 98.0 2,729.25 2,583.07 94.6
องคก์ ารมหาชน
สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศ 928.87 928.87 100.0 227.35 227.35 100.0 78.06 78.06 100.0 741.58 741.58 100.0 837.32 837.32 100.0
เพอ่ื นบ้าน (องคก์ ารมหาชน)
รฐั วสิ าหกจิ
ธ.พฒั นาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม 494.77 494.77 100.0 180.29 180.29 100.0 162.98 162.98 100.0 492.52 492.52 100.0 1,386.75 1,386.75 100.0
แหง่ ประเทศไทย
ธ.เพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 66,821.36 66,821.36 100.0 66,019.35 66,019.35 100.0 72,254.42 72,254.42 100.0 79,595.40 79,595.40 100.0 89,819.76 89,219.76 99.3
ธ.ออมสิน 1,392.60 1,388.57 99.7 3,111.08 3,111.08 100.0 5,649.88 5,241.54 92.8 5,931.11 5,715.34 96.4 5,045.44 4,610.43 91.4
ธ.อาคารสงเคราะห์ - - - - - - - - - - - - 148.39 37.64 25.4
บรรษทั ประกนั สนิ เชื่ออตุ สาหกรรมขนาดย่อม 1,558.56 1,558.56 100.0 5,959.62 5,959.62 100.0 4,475.55 4,475.55 100.0 4,888.48 4,888.48 100.0 4,073.71 4,073.71 100.0
บริษทั บริหารสินทรัพย์ ธ.อสิ ลามแหง่ ประเทศ - -- - -- - - - 775.17 775.17 100.0 2,800.00 2,800.00 100.0
ไทย จากดั
กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวยี น
กองทุนการออมแห่งชาติ - - - 645.99 645.99 100.0 144.63 144.63 100.0 299.62 299.62 100.0 480.93 331.12 68.8
กองทนุ ประชารัฐสวสั ดกิ ารเพอื่ เศรษฐกจิ ฐาน - -- - - - 62,603.01 62,603.01 100.0 40,000.00 40,000.00 100.0 40,000.00 40,000.00 100.0
รากและสงั คม
ท่ีมา : กรมบัญชกี ลาง
สํานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 8
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
9. เงินกนั ไวเ้ บกิ เหลอ่ื มปแี ละขยายระยะเวลาเบิกจ่าย
หน่วย : ลา้ นบาท
เงินกนั ไวเ้ บกิ เหลอื่ มปี ณ 31 พ.ค. 63
คงเหลอื เงินกนั
รวมเงินกนั เบกิ จา่ ย
สะสม เงินกนั ฯ เงินกนั ฯ อยรู่ ะหว่าง
หนว่ ยงาน เหลอื่ มปี กรณมี ี กรณีไม่ ดาเนนิ การ
หนผ้ี กู พนั มีหนผ้ี กู พนั
รวม 1,696.72 939.00 651.81 1.33 104.58
สนง.ปลดั กระทรวงการคลงั 206.92 205.40 0.75 0.01 0.75
กรมธนารักษ์ 67.35 41.12 25.88 0.35 -
กรมบัญชกี ลาง 350.65 312.24 37.81 0.52 0.07
กรมศลุ กากร 501.67 427.45 71.56 - 2.66
กรมสรรพสามติ 231.66 151.84 79.73 0.09 -
กรมสรรพากร 273.13 199.93 72.21 0.99 -
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ 28.70 19.97 0.58 -
สนง.บริหารหน้ีสาธารณะ 6.95 8.15 1.12 0.03 -
สํานักงานเศรษฐกจิ การคลงั 29.70 5.81 4.59 --
25.11
สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศ - - - - -
เพอ่ื นบ้าน (องคก์ ารมหาชน)
ท่มี า : กรมบัญชีกลาง
สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 9
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
10. ประเดน็ ข้อสงั เกตของกรรมาธิการฯ ท่ีสาคญั ในปที ผ่ี ่านมา
สํานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจดั หมวดหมู่ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ าร
วิสามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สภาผแู้ ทนราษฎร
และข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาศกึ ษาร่างพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจา่ ยประจําปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 วฒุ สิ ภา พบวา่ มีประเดน็ ท่ีเก่ียวกับการดําเนนิ งานภายใตภ้ ารกิจของกระทรวงการคลัง
ซง่ึ คณะกรรมาธิการใหค้ วามสําคัญ ดงั นี้
สรุปประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการ ส.ส. ส.ว.
ประเดน็ ท่ี 1 : การดาเนนิ มาตรการภาครัฐและการสง่ เสริม
กระทรวงการคลังควรประเมินผลความคมุ้ ค่าทางเศรษฐกิจและผลลพั ธใ์ นระดับพนื้ ท่ีของ /
มาตรการภาครัฐ อาทิ บตั รสวสั ดกิ ารแหง่ รฐั และมาตรการชิมชอ้ ปใช้ เพื่อนําผลการประเมิน
ดงั กล่าวไปปรับปรงุ การดําเนินมาตรการในระยะต่อไป
กระทรวงการคลงั ควรผลักดนั มาตรการและแผนการใหค้ วามรพู้ ้ืนฐานทางการเงิน (Financial /
literacy) ทีร่ บั ผดิ ชอบให้เกดิ ผลอยา่ งเปน็ รูปธรรมโดยเร็ว ตัวอยา่ งหนึ่งของ Financial Literacy
ทีเ่ หน็ ไดช้ ดั คือ การดาํ เนนิ มาตรการชมิ ช้อปใช้ ประชาชนมากกวา่ 14 ลา้ นคน และร้านค้า
มากกว่า 1 แสนราย สามารถเรียนร้วู ิธกี ารใช้เทคโนโลยีทางการเงินผ่านโทรศัพท์มือถือในการ
ลงทะเบียนเขา้ รว่ มมาตรการ
มาตรการกระตุ้นเศรษฐกจิ ของกระทรวงการคลัง ควรคาํ นงึ ถงึ การใชว้ ัตถดุ บิ ในท้องถน่ิ (Local /
Content) ใหม้ ากขน้ึ เพื่อเป็นการกระตุน้ เศรษฐกิจฐานรากและต้องกาํ กบั ให้เม็ดเงนิ ลงสูร่ ะดบั
ฐานรากอยา่ งแทจ้ รงิ ไมต่ กอยู่กับคนกลาง ในส่วนการจัดซ้ือ/จัดจ้าง ของหน่วยงานของรัฐใน
โครงการขนาดเล็ก ควรเปดิ โอกาสให้ผู้ประกอบการ SMEs เข้ามาร่วมทําสญั ญากบั รัฐให้มากข้นึ
เพื่อจะมีส่วนชว่ ยกระจายรายได้ใหแ้ ก่แรงงานระดับฐานรากได้อกี ชอ่ งทางหนึ่ง
สถาบนั การเงินเฉพาะกจิ ของรฐั หรอื SFIs ที่ดาํ เนนิ การตามนโยบายภาครฐั เชน่ ธนาคารเพ่อื /
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารออมสนิ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารพัฒนา
วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มแห่งประเทศไทย เปน็ ต้น นอกจากจะให้ความร้ดู ้านการเงนิ
และนโยบายตา่ ง ๆ ของรฐั บาลทีเ่ กี่ยวขอ้ งแล้วยังควรท่จี ะพิจารณาลดกําไรสว่ นเกินออก
(Margin) ไปบา้ ง เพ่ือให้กลมุ่ ผูม้ ีรายไดน้ ้อยซึ่งเปน็ คนส่วนใหญข่ องประเทศไดร้ บั บรกิ ารท่ีสะดวก
โดยมตี น้ ทุนทเี่ หมาะสมกับรายได้
หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องควรบรู ณาการข้อมลู ในโครงการลงทะเบียนเพื่อสวสั ดกิ ารแหง่ รฐั และบตั ร /
สวัสดกิ ารของรฐั เช่น ข้อมลู ความจําเปน็ พนื้ ฐาน ข้อมูลทสี่ ะทอ้ นปญั หาในระดบั หมบู่ ้าน
ขอ้ มูลความพิการ ข้อมลู ทางการศกึ ษา เป็นตน้ เพ่ือนาํ มาวิเคราะห์และเสนอแนะนโยบายด้าน
สวัสดกิ ารที่เหมาะสมถูกฝาถกู ตวั สาํ หรบั แนวทางการชว่ ยเหลือทผ่ี ่านมาประกอบด้วย 2 สว่ น
สว่ นท่ี 1 คือ การบรรเทาภาระคา่ ครองชีพผ่านบัตรสวัสดิการแหง่ รฐั และสว่ นท่ี 2 คือ การ
พฒั นาอาชีพ เพ่ือให้ผ้มู รี ายได้นอ้ ยมีความสามารถในการหารายได้ได้มากขนึ้ นอกจากนี้
ฐานขอ้ มลู จากโครงการดังกล่าวควรไดร้ ับการต่อยอดเป็นข้อมูลขนาดใหญ่หรอื Big Data เพอื่ ให้
รัฐบาลมีเครอ่ื งมอื ทม่ี ีประสิทธิภาพในการค้นหาเปา้ หมายท่ีตอ้ งการชว่ ยเหลอื นอกจากน้ี ควรมี
ระบบการตดิ ตามประเมินผลเปน็ ระยะและดาํ เนนิ การอย่างต่อเนอ่ื ง เพื่อตดิ ตามวา่ มีผมู้ รี ายได้
นอ้ ยสามารถพน้ จากสภาวะความยากจน หรือสามารถชว่ ยเหลือตนเองไดจ้ าํ นวนเทา่ ไร รวมถงึ
สํานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 10
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
สรปุ ประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ าร ส.ส. ส.ว.
ควรมีการวางมาตรการเพอื่ ป้องกนั ไม่ใหผ้ ้มู รี ายได้น้อยท่ีพ้นเสน้ ความยากจนแลว้ กลบั สู่สภาวะ
ความยากจนอีกครง้ั อนั จะสะท้อนวา่ มาตรการดังกลา่ วประสบผลสัมฤทธ์ิอยา่ งย่งั ยืน
ประเดน็ ท่ี 2 : การบรหิ ารท่ีราชพัสดุ
กรมธนารกั ษ์ควรนําแนวทางของกรมทด่ี นิ เกย่ี วกบั การจัดการความขัดแยง้ กบั ประชาชนในพื้นท่ี /
มาใชใ้ นการบรหิ ารท่ีราชพัสดุ และควรร่วมมอื กบั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ในการพัฒนาท่รี าช
พัสดเุ พ่ือสาธารณะประโยชน์
ประเดน็ ที่ 3 : การจัดเกบ็ ภาษี
กรมสรรพสามิตควรศึกษาผลกระทบการข้ึนอตั ราภาษบี หุ รี่ทีม่ ตี ่อเกษตรกรผปู้ ลกู ยาสูบอยา่ ง /
รอบคอบ เนื่องจากอาจทําให้ราคาบหุ ร่ีไทยเพ่มิ สงู ขน้ึ และสญู เสียความสามารถในการแข่งขันกบั
บหุ รี่ต่างประเทศ ในขณะเดียวกัน ควรพิจารณาแนวทางการส่งเสริมการผลติ สรุ าพืน้ บ้านภายใต้
กรอบของกฎหมายท่ีมีอยเู่ พ่อื สง่ เสริมอาชพี และการจ้างงาน
กรมสรรพากรควรรว่ มมอื ประสานขอ้ มลู กับสถาบนั การเงนิ ต่าง ๆ ในการเตรียมความพร้อมของ /
ระบบรองรบั การรายงานผลการโอนเงนิ ให้มคี วามสมบูรณ์ เนื่องจากประมวลรษั ฎากรเกี่ยวกบั
การจดั เกบ็ ภาษีการขายสนิ ค้าออนไลนอ์ าจสง่ ผลถึงประชาชนทีม่ ีการฝากหรือโอนเงินผ่านบัญชี
จํานวน 400 ครัง้ ต่อปี และมีมูลคา่ ตง้ั แต่ 2 ลา้ นบาทขนึ้ ไป โดยสถาบนั การเงนิ จะต้องรายงานผล
การโอนเงินผา่ นบญั ชีให้กรมสรรพากรทราบเพ่ือประกอบการพจิ ารณาร่วมกับข้อมูลอ่นื ๆ ต่อไป
นอกจากน้ัน ควรมีการประชาสัมพันธเ์ ชิงลึกให้ผบู้ ริโภคเข้าใจถึงความจาํ เป็นของการจัดเก็บภาษี
สินคา้ ออนไลน์รวมถงึ ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติต่าง ๆ ใหช้ ัดเจน
ประเด็นที่ 4 : การช่วยเหลือเกษตรกร
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตรควรจัดทํามาตรการลดภาระดอกเบยี้ แก่ /
เกษตรกร เพ่อื บรรเทาภาระทางการเงินภายใต้ภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบนั ท่ชี ะลอตวั
ประเดน็ ท่ี 5 : การจดั ซือ้ จัดจา้ ง ประกวดราคา และเบกิ จา่ ยงบประมาณ
กรมบัญชีกลางควรมมี าตรการปอ้ งกันการร่ัวไหลของข้อมูลเกยี่ วกับการประกวดราคา /
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-bidding) เพือ่ ป้องกันการสมยอมกันระหว่างผู้ประกวดราคา และควรมี
มาตรการในการแกไ้ ขปญั หาผู้ทป่ี ระมลู งานไดแ้ ล้วท้งิ งาน เชน่ การขึน้ บญั ชดี าํ (Blacklist) เป็น
ตน้ เพ่ือเปน็ ฐานขอ้ มลู ในการตรวจสอบ รวมท้ังควรปรบั ปรุงหลักเกณฑ์การข้ึนทะเบยี น
ผูป้ ระกอบการงานก่อสรา้ งในแต่ละชัน้ โดยเฉพาะชนั้ พิเศษ เพื่อให้เกิดการแขง่ ขันอย่างเสรแี ละ
เปน็ ธรรม รวมทงั้ ประหยัดงบประมาณและควรมีแนวทางหรือมาตรการตรวจสอบงานโครงการ
ลงทนุ ขนาดใหญ่ดว้ ย
การทร่ี า่ งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ประกาศใชล้ า่ ช้า /
สง่ ผลให้ส่วนราชการท้งั ส่วนกลาง สว่ นภมู ิภาค ส่วนทอ้ งถิ่น จงั หวดั และรัฐวสิ าหกจิ มรี ะยะ
เวลาในการเบิกจา่ ยงบประมาณนอ้ ยลง การทาํ สญั ญาที่เป็นการผกู พนั งบประมาณอาจทําได้ไม่
เตม็ ที่ ซง่ึ จะทาํ ให้การใชจ้ ่ายงบประมาณในปี 2563 ไม่เปน็ ไปตามเปา้ หมายท่ีกาํ หนดไว้ ดังนัน้
หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องจะต้องเรง่ หาวธิ กี ารหรอื แนวทางให้ส่วนราชการท้ังส่วนกลาง สว่ นภมู ิภาค
ส่วนท้องถ่ิน จงั หวัด และรัฐวิสาหกจิ สามารถเร่ิมดําเนนิ กระบวนการจดั ซ้ือ/จัดจา้ งไปก่อนได้
โดยท่ีไมต่ ้องรอให้พระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีผลใช้
บงั คบั ท้งั น้ี เพอื่ ให้มีเมด็ เงนิ สามารถเบิกจา่ ยลงสรู่ ะบบเศรษฐกิจได้โดยเรว็ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง
สาํ นกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 11
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
สรปุ ประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ าร ส.ส. ส.ว.
รายจา่ ยลงทนุ ซ่ึงส่งผลต่อการขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ อยา่ งมีนยั สําคญั
ระบบการจดั ซ้ือจัดจา้ งควรพัฒนาให้มปี ระสิทธิภาพและควรประชาสมั พันธด์ า้ นความโปร่งใส /
ของระบบให้มากขึ้น ความลา่ ชา้ ของการจดั ซ้อื จัดจ้างตามระบบ e-bidding ส่วนหนง่ึ มาจาก
การอทุ ธรณ์ทไี่ มส่ ุจริต จงึ ควรปรบั ปรงุ กฎหมายและระเบียบทเี่ กี่ยวข้องเพื่อให้การอุทธรณ์
เปน็ ไปโดยสุจรติ มากข้นึ สาํ หรบั ดา้ นความโปรง่ ใสของระบบน้ัน ควรเชญิ ผู้แทนจากสาํ นักงาน
คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ และสื่อมวลชน เข้าร่วมสังเกตการณ์และตรวจสอบระบบดว้ ย เพื่อให้ทกุ
ภาคส่วนไดร้ ับทราบถึงความโปร่งใสในกระบวนการจดั ซ้ือจัดจา้ งด้วย เพ่อื ใหเ้ กิดการแข่งขนั
อยา่ งเป็นธรรม
ประเดน็ ท่ี 6 : การชว่ ยเหลือผปู้ ระกอบการ
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแหง่ ประเทศไทยควรลดอตั ราดอกเบ้ยี ให้ /
ผู้ประกอบการให้สอดคล้องกับนโยบายรฐั บาลในการช่วยเหลอื ผูป้ ระกอบการ โดยอาจขอความ
ร่วมมือกบั หนว่ ยงานอน่ื เช่น ธนาคารออมสนิ ในการดาํ เนินงานดังกลา่ ว ทงั้ น้ี หากรฐั บาล
ตอ้ งการกระตุ้นเศรษฐกิจควรมีหลักเกณฑ์พเิ ศษสําหรบั ผปู้ ระกอบการรายย่อยใหส้ ามารถเติบโต
ได้ รวมถงึ สนับสนนุ ใหน้ ักศกึ ษาที่จบใหม่เข้าถึงแหล่งเงนิ ทุนหากตอ้ งการประกอบธรุ กจิ ใน
อนาคต นอกจากนี้ ในขัน้ ตอนการขอสนิ เชื่อของผูป้ ระกอบการ ธนาคารควรพิจารณาอนมุ ัติให้
แลว้ เสร็จภายใน 15 วนั เพ่อื ไมใ่ ห้ผูป้ ระกอบการเสียโอกาสทางธรุ กิจ
บรรษทั ประกนั สินเช่ืออุตสาหกรรมขนาดย่อมควรเพ่ิมจํานวนเป้าหมายการให้บริการค้ําประกัน /
สนิ เชือ่ เพือ่ ใหว้ ิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมเข้าถึงการบริการจากบรรษัทฯ และได้รับการ
พจิ ารณาสินเช่อื จากธนาคารพาณิชย์และสถาบนั การเงนิ เฉพาะกจิ ของรัฐมากข้ึน
ประเดน็ ที่ 7 : การผลกั ดันรา่ งกฎหมายเศรษฐกิจ
กระทรวงการคลังควรเรง่ รดั ผลักดันกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของหนว่ ยงานในสงั กดั /
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงกฎหมายที่ส่งผลประโยชนต์ อ่ ความเป็นอยขู่ องประชาชน และยงั อยใู่ น
ข้ันตอนการพจิ ารณา เชน่ กองทนุ บําเหน็จบาํ นาญแห่งชาติ รา่ งพระราชบญั ญัติเพ่ือการบริหาร
จดั การทรัพย์สนิ สว่ นบคุ คล พ.ศ. .... เปน็ ตน้
ประเดน็ ท่ี 8 : การบริหารหน้ีสาธารณะ
การบริหารหน้สี าธารณะท่ีดีต้องมองภาพขา้ งหนา้ ใหช้ ัดภายใต้สถานการณ์การแข็งคา่ ของเงนิ /
บาทในปัจจบุ นั การบรหิ ารหนีส้ าธารณะเชงิ รกุ ควรต้องเร่งเจรจากับเจา้ หนเ้ี พอ่ื ขอชาํ ระหน้ี
กอ่ นกาํ หนด เพื่อลดภาระการชาํ ระหน้ีในอนาคต นอกจากนี้ โครงการของภาครัฐทใี่ ช้เงินกู้ ควร
จะตอ้ งมกี ารประเมินผลสัมฤทธิใ์ ห้ครบทุกโครงการ โดยอาจขอความร่วมมือ จากหนว่ ยงานของ
รัฐอ่นื ๆ หรอื พจิ ารณาจา้ งเอกชนที่มีความเป็นมืออาชพี ให้เป็นผูด้ ําเนินการแทน ซ่ึงจะทําให้การ
จัดทาํ โครงการและการบริหารเงินก้มู ีประสิทธภิ าพมากขนึ้
ประเดน็ ท่ี 9 : การขนส่งสินคา้ ผ่านแดน
กรมศลุ กากรควรแกไ้ ขปญั หาการลักลอบนาํ เขา้ ผลผลติ ทางการเกษตรจากประเทศเพ่ือนบา้ น /
อย่างเร่งดว่ น เนอ่ื งจากทาํ ให้ราคาผลผลติ ในไทยตกตํ่าซง่ึ ส่งผลกระทบต่อรายได้ของเกษตรกร
กรมศุลกากรควรรว่ มมือกบั หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องแกไ้ ขปญั หาการนําเข้าสินคา้ ที่เปน็ ขยะ /
อเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ รือสินค้าไม่ปลอดภัย เนอื่ งจากสนิ ค้าดงั กล่าวเมือ่ นาํ เข้ามาแลว้ ก่อใหเ้ กดิ มลพิษ
สํานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 12
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
สรปุ ประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการ ส.ส. ส.ว.
ตอ่ ประเทศไทยจากกระบวนการจัดเก็บหรือทาํ ลายไมถ่ กู ตอ้ ง สารพิษที่เกิดจากขยะดังกล่าวจะ
ไหลลงสู่แหลง่ นํา้ กระทบกับสิ่งแวดล้อมก่อใหเ้ กดิ มลภาวะต่อประชาชน ดงั น้นั จงึ ควร
ประสานงานกบั หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง เช่น กรมโรงงานอตุ สาหกรรมในการเขา้ ไปตรวจสอบ
อย่างใกล้ชิด
ในปจั จบุ ันมลู ค่าการค้าชายแดนและการคา้ ผ่านแดนกับประเทศเพ่ือนบ้านของไทยมีมลู คา่ /
ค่อนข้างสูง โดยในปี 2561 การคา้ ชายแดน (มาเลเซีย เมยี นมา สปป.ลาว และกมั พชู า) และ
การค้าผ่านแดน (สิงคโปร์ จนี ตอนใต้ เวยี ดนาม) มีมูลคา่ รวมประมาณ 1.38 ล้านล้านบาท หรอื
คิดเป็นสัดสว่ นประมาณร้อยละ 6 ของ GDP ซ่งึ มผี ลต่อเศรษฐกิจของประเทศค่อนข้างมาก
ซ่ึงหากมีการลักลอบการนาํ เข้าและสง่ ออกสนิ ค้าบริเวณชายแดน โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ การลกั ลอบ
นําสนิ ค้าเกษตรขา้ มแดนเขา้ มาในประเทศไทย อาจสง่ ผลกระทบต่อราคาสนิ ค้าภายในประเทศ
ดงั น้นั กรมศุลกากรควรเพ่ิมมาตรการหรือกําหนดนโยบายท่ีเคร่งครดั ในการตรวจสอบจับกุม
ผูล้ ักลอบนาํ เขา้ สนิ คา้ บรเิ วณชายแดนประเทศเพื่อนบา้ นให้เขม้ งวดย่งิ ขน้ึ ไมว่ า่ จะมาตรการ
ทางตรงหรอื ทางออ้ ม เพ่ือลดผลกระทบต่อราคาสินค้าในประเทศไทยและการสูญเสียรายได้จาก
สถานการณด์ ังกล่าว
กรมศุลกากรควรนาํ เทคโนโลยสี มยั ใหม่มาใชส้ าํ หรบั การตรวจสอบการสําแดงสินค้าบรเิ วณท่า /
เทยี บเรือทั้งของรัฐและเอกชน และการนําผา่ นสนิ ค้าผ่านแดน เชน่ การใช้ระบบ X-Ray การใช้
ระบบ e-Lock เป็นตน้ ใหเ้ ข้มขน้ กว่าท่เี ปน็ อยใู่ นปจั จุบนั ท้ังนี้ เพ่ือให้การตรวจสอบสินค้ามี
ประสทิ ธิภาพสงู อันจะเปน็ การป้องกันหรือลดการสูญเสยี รายได้
สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 13
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
11. ความคิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะของ PBO
11.1 การจัดเกบ็ รายได้ของรัฐบาลในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2564 ภายใต้การแพร่ระบาดของ
ไวรสั COVID-19
สํานักงบประมาณของรฐั สภาไดจ้ ดั ทาํ ประมาณการรายได้ของรฐั บาลในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 –
2564 ตามรายงานการวิเคราะห์ที่ 3/2563 เรอ่ื ง การจัดเก็บและประมาณการรายได้ของรัฐบาล รายละเอยี ด
ปรากฏตาม QR Code ทแี่ นบ ผลการศกึ ษา พบวา่ ประมาณการรายได้สทุ ธิหลงั หกั จดั สรร ซึ่งเป็นแหล่งท่มี า
ของวงเงนิ งบประมาณรายจา่ ยประจําปี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เท่ากบั
2,351,051 ล้านบาท และปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เทา่ กับ 2,428,636 ล้านบาท
ทงั้ น้ี การประมาณการรายได้ดงั กล่าว ยงั ไม่รวมผลจากการออกพระราชกําหนดให้
อํานาจกระทรวงการคลงั กูเ้ งนิ เพ่อื แก้ไขปญั หา เยยี วยา และฟน้ื ฟูเศรษฐกิจและ
สังคม ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา
2019 พ.ศ. 2563 กรอบวงเงินก้ไู ม่เกนิ 1,000,000 ล้านบาท
สํานักงบประมาณของรฐั สภาพิจารณาแลว้ เห็นวา่ พระราชกาํ หนดให้อํานาจกระทรวงการคลงั กู้เงิน
เพ่ือแก้ไขปญั หา เยยี วยา และฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคมฯ จะกําหนดให้ภาครฐั ใหค้ วามช่วยเหลอื และเยยี วยา
ประชาชน เกษตรกร และผูป้ ระกอบการ แก้ไขปัญหาการแพรร่ ะบาด สนับสนนุ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
รวมท้งั ดูแลสนบั สนนุ เศรษฐกิจในพน้ื ที่ สร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจชมุ ชน และพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานใน
ระดบั พื้นท่ี ทงั้ น้ี ภายใต้สถานการณ์ปจั จบุ ัน ที่กลุ่มเปา้ หมาย ได้รบั ผลกระทบจากไวรสั COVID-19 ซึง่ ทาํ ให้
ขาดโอกาสในการประกอบอาชพี และรายได้ ดังน้ัน เมื่อได้รับเงินชว่ ยเหลือเยียวยาจากรัฐบาลภายใตพ้ ระราช
กาํ หนดดงั กลา่ ว พิจารณาแล้ว เห็นวา่ กลุ่มเป้าหมายดงั กล่าว จะนําเงินชว่ ยเหลือทไี่ ดร้ ับ ไปทาํ การจับจ่ายใช้
สอยสินค้าและบรกิ ารทีจ่ าํ เป็นท้ังจํานวน โดยไมน่ ําไปเกบ็ ออมหรอื ชาํ ระหน้ี ในขณะเดียวกัน หากรฐั บาลมีการ
จดั ซอ้ื จัดจ้างอปุ กรณแ์ ละครภุ ัณฑ์ทางการแพทย์ รวมทั้งการจัดทําโครงสร้างพ้นื ฐาน ที่ให้ความสาํ คญั กบั สนิ คา้
และบรกิ ารทผี่ ลิตและใชช้ ้นิ ส่วนภายในประเทศเปน็ หลัก ยอ่ มจะทาํ ให้การเบกิ จ่ายเงนิ กู้ภายใตพ้ ระราชกาํ หนด
สามารถกระตนุ้ เศรษฐกิจไทยไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยจะสง่ ผลทางตรงให้ GDP เพิ่มข้ึนทันที และรฐั บาลมี
รายไดส้ ุทธิหลงั หกั จดั สรรเพ่ิมขึ้น ประมาณ 149,400 ลา้ นบาท และหากเงินกู้ทเ่ี บกิ จ่ายในชนั้ ตน้ มกี าร
หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจต่อเน่ือง ย่อมจะทําให้ GDP และการจัดเกบ็ รายได้ภาครฐั เพิ่มขนึ้ ตอ่ ไป แตภ่ ายใต้
สถานการณป์ จั จบุ ัน ท่ีมีความไม่แนน่ อนสงู เก่ยี วกับการควบคุมการแพร่ระบาดของไวรสั ความเชอื่ มน่ั ของ
ประชาชนและภาคเอกชนต่อภาวะเศรษฐกิจในอนาคต และศกั ยภาพของรัฐบาลในการใชจ้ ่ายและดาํ เนิน
โครงการประเภทต่าง ๆ อาจทําให้การเบิกจ่ายเงนิ กภู้ ายใต้พระราชกําหนดไม่เป็นไปตามเปา้ หมายทีค่ าดการณ์
ไว้ ประชาชนและภาคเอกชนบางส่วนอาจชะลอการใชจ้ า่ ยและการลงทนุ เหตกุ ารณ์ดังกลา่ ว จะทาํ ให้ผลของ
เงนิ กภู้ ายใต้พระราชกําหนดที่มีต่อ GDP และการจัดเกบ็ รายได้ภาครัฐลดลง
ท้ังนี้ การท่ีเศรษฐกจิ ไทยถดถอยจะทําให้รายได้สทุ ธิหลงั หกั จดั สรรของรฐั บาลมีค่าต่ํากว่าท่คี าดการณ์
ไว้เดมิ และอาจสง่ ผลกระทบต่อกระแสเงินสดของรัฐบาลหรอื เงนิ คงคลงั ซงึ่ เปน็ แหล่งเงินสนับสนนุ การเบิกจ่าย
งบประมาณแผ่นดนิ เพ่อื ดําเนินภารกจิ ของหนว่ ยงานภาครัฐ และแม้วา่ รัฐบาลจะมีนโยบายเพอื่ แก้ไขปัญหา
เยยี วยา และฟน้ื ฟเู ศรษฐกิจและสงั คมจากการแพรร่ ะบาดของไวรสั COVID-19 โดยการออกพระราชกําหนดให้
อาํ นาจกระทรวงการคลงั กเู้ งนิ จาํ นวน 1 ลา้ นลา้ นบาท ซึง่ การเบิกจา่ ยเงินกู้ดงั กลา่ ว จะทําให้มีเม็ดเงนิ
หมนุ เวียนในระบบเศรษฐกิจ และทาํ ใหร้ ฐั บาลจดั เกบ็ รายไดม้ ากขึ้น แต่รายได้ท่ีเพิ่มขึน้ ดังกล่าว อาจไม่สามารถ
ชดเชยกบั รายได้ทีล่ ดลงจากภาวะเศรษฐกจิ ท่ถี ดถอยได้ ซึ่งหากสถานการณด์ งั กล่าว ยังคงเปน็ ไปอย่างต่อเนอ่ื ง
สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 14
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
จะส่งผลกระทบต่อเงนิ คงคลังต่อไป ทั้งน้ี เพ่ือใหเ้ งินคงคลังมสี ภาพคล่องเพียงพอ สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา
ขอเสนอแนวทางในการบริหารรายได้ รายจ่าย และการกู้เงินของรฐั บาล ดงั น้ี
1) ทบทวนรายการงบประมาณท่ไี มจ่ าํ เปน็ และไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั และไม่ให้มีการ
เบกิ จ่ายงบประมาณในรายการดังกล่าว เพื่อเปน็ การประหยัดการใชเ้ งินจากเงนิ คงคลัง
2) หากการจัดเก็บรายไดข้ องรฐั ยังคงตํ่ากวา่ ท่ีคาด อาจพิจารณาให้รฐั บาลกู้เงนิ เพ่มิ เติมภายใต้กรอบ
กฎหมายทีม่ ีอยเู่ ดิม อาทิ 1. กรอบการกูเ้ งินเพ่อื ชดเชยการขาดดุลงบประมาณภายใต้มาตรา 21 ของ
พระราชบญั ญัติการบริหารหนีส้ าธารณะ พ.ศ. 2548 และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเติม ซึ่งมีคา่ ไมเ่ กินรอ้ ยละ 20 ของ
งบประมาณรายจ่ายประจําปีทใี่ ชบ้ งั คับอยใู่ นขณะน้ันและงบประมาณรายจา่ ยเพิ่มเติม และรอ้ ยละ 80 ของ
งบประมาณรายจ่ายท่ีต้ังไวส้ าํ หรับชําระคนื เงนิ ต้น และ 2. กรอบการกเู้ งินเพื่อบริหารสภาพคล่องของเงนิ คง
คลงั ภายใตม้ าตรา 21/1 ของพระราชบญั ญัติดงั กล่าว ซ่งึ มีคา่ ไม่เกนิ ร้อยละ 3 ของงบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปี
ทใี่ ช้บงั คบั อยใู่ นขณะน้ันและงบประมาณรายจา่ ยเพิ่มเตมิ
3) หากการกู้เงินภายใต้กรอบกฎหมายท่ีมีอยู่เดมิ ไมเ่ พียงพอ รัฐบาลสามารถออกพระราชกาํ หนดให้
อาํ นาจกระทรวงการคลังก้เู งนิ เพ่ือเสรมิ สภาพคล่องของเงินคงคลงั เป็นกรณีพิเศษ โดยมีข้ันตอนการดําเนนิ การ
ในลกั ษณะเดียวกบั การออกพระราชกําหนดให้อาํ นาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแกไ้ ขปัญหา เยียวยา และ
ฟื้นฟเู ศรษฐกิจและสังคมฯ
สาํ นักงบประมาณของรฐั สภาพจิ ารณาแลว้ เห็นว่า การจดั เกบ็ รายได้ของรัฐบาลในระหว่าง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564 จะเปน็ ไปอยา่ งยากลาํ บาก เมอื่ เทยี บกบั ที่ผ่านมา เนื่องจากกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจทงั้ หลายอยูใ่ นภาวะชะงกั งันอนั เน่อื งมาจากการแพรร่ ะบาดของไวรัส COVID-19 และแมว้ ่ารฐั บาล
จะสามารถควบคุมการระบาดไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ กิจกรรมทางเศรษฐกิจจะฟืน้ ตวั ได้เพียงระดับหนง่ึ เท่านนั้
เน่อื งจากประเทศไทยมีระบบเศรษฐกิจท่ีพ่งึ พาการส่งออกและการท่องเทยี่ วจากต่างประเทศเป็นหลัก
หากประเทศในภูมภิ าคตา่ ง ๆ ยงั คงไมส่ ามารถควบคุมการระบาดของไวรัสดังกล่าวได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ย่อมสง่ ผลต่ออุตสาหกรรมการทอ่ งเทย่ี วโลกให้ไมส่ ามารถกลับเข้าสู่ระดับเดิมก่อนเกิดวิกฤติได้ ซ่ึงจะส่งผลตอ่
ภาคการท่องเท่ียวและภาคบริการท่ีเกี่ยวเนื่องของไทยรวมทั้งการจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลในทส่ี ุด ดงั นั้น
รัฐบาลจําเปน็ ต้องมีมาตรการดูแล ควบคุม และบริหารการเบิกจ่ายงบประมาณของรัฐ การจดั เก็บรายได้
และการก้เู งินอยา่ งรอบคอบและบรู ณาการ เพื่อรกั ษาระดบั เงนิ คงคลงั ของรฐั บาลให้อยใู่ นระดบั ที่เหมาะสม
เพ่อื เปน็ แหล่งเงนิ ในการสนับสนนุ ภารกิจการนําส่งบริการสาธารณะของหนว่ ยงานภาครัฐตา่ ง ๆ ตอ่ ไป
สํานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 15
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
11.2 การโอนเปลย่ี นแปลงรายจา่ ยลงทุน
สาํ นักงบประมาณของรัฐสภาได้รวบรวมข้อมลู การเบิกจ่ายลงทุนของหน่วยงานภายใต้กระทรวง
การคลังจากระบบ GFMIS ของกรมบญั ชกี ลาง โดยข้อมลู รายปงี บประมาณทจี่ ัดเก็บได้ลา่ สุด คือ ปงี บประมาณ
พ.ศ. 2562 มรี ายละเอียด ดังนี้
หนว่ ย : ล้านบาท
รายจา่ ยลงทนุ
หนว่ ยงาน พรบ. งบฯ หลังโอน/ปป. เบกิ จา่ ยทงั้ สน้ิ
ทงั้ สน้ิ
รวมกระทรวงการคลงั 6,172.140 6,136.461 5,041.557
สนง.ปลัดกระทรวงการคลัง 541.763 541.776 386.433
กรมธนารักษ์ 206.885 205.846 163.461
กรมบญั ชกี ลาง 529.257 520.997 281.651
กรมศลุ กากร
กรมสรรพสามติ 1,553.717 1,545.255 1,130.384
กรมสรรพากร 470.513 426.670 275.061
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ 221.050 218.315 158.436
สนง.บรหิ ารหนส้ี าธารณะ 26.336 26.389 25.905
สนง.เศรษฐกจิ การคลงั 7.882 8.401 4.771
สานักงานความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กับประเทศเพอ่ื นบา้ น
1,873.162 1,901.239 1,873.879
ทม่ี า : กรมบัญชกี ลาง 741.576 741.576 741.576
ขอ้ มลู จากตามตาราง พบวา่ ส่วนราชการและองคก์ ารมหาชนในสังกดั กระทรวงการคลัง ได้รับการ
จัดสรรงบประมาณรายจ่ายลงทุนในปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จาํ นวน 6,172.140 ล้านบาท และในระหว่างปี
งบ ประมาณ มกี ารโอนเปลี่ยนแปลงรายจ่ายลงทนุ ไปเป็นรายจ่ายประเภทอืน่ จํานวน 35.679 ล้านบาท ทําให้
รายจ่ายลงทุนภายหลังการโอนเปล่ยี นแปลงงบประมาณมีค่าลดลงและเท่ากับ 6,136.461 ลา้ นบาท ท้งั น้ี
หนว่ ยงานทมี่ ีการโอนเปล่ียนแปลงสูงสดุ คอื กรมสรรพสามิต กรมบัญชกี ลาง กรมศลุ กากร และกรมสรรพากร
ตามลําดบั ทัง้ นี้ สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา พจิ ารณาแลว้ เห็นว่า การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณดังกล่าว
ทที่ ําใหร้ ายจ่ายลดลง อาจสง่ ผลกระทบและสะท้อนข้อมูลบางอย่าง ดังน้ี
รายจา่ ยลงทุนที่ลดลง ทาํ ใหป้ ระเทศขาดโอกาสในการดําเนินโครงการทีส่ ง่ เสรมิ ความสามารถ
ในการแข่งขนั ของประเทศ เนื่องจากรายจ่ายลงทุนเปน็ รายจ่ายที่ใชแ้ ลว้ ไมห่ มดไป มีอรรถประโยชนใ์ ช้สอย
และสง่ ผลกระทบเชงิ บวกต่อเศรษฐกจิ หลายรอบ
การโอนเปลีย่ นแปลงรายจ่ายลงทุนไปเป็นรายจา่ ยประเภทอืน่ ดงั กล่าว อาจเกดิ จากการที่
หน่วยงานเจ้าของโครงการดําเนินโครงการลงทุนแลว้ เสร็จ และมีงบประมาณเหลือจา่ ยจากการดําเนนิ โครงการ
ดงั กล่าว ทบ่ี รรลุวัตถปุ ระสงค์แล้ว จึงทําการโอนเปล่ียนแปลงภายใต้กฎหมายและระเบยี บทมี่ ีอยู่ต่อไป อย่างไร
กต็ าม การทม่ี ีงบประมาณเหลือจ่ายจํานวนมาก อาจสะท้อนถงึ ความเพยี งพอในการคาดการณแ์ ละประมาณ
การคา่ ใช้จ่ายในการจัดทาํ คําขอและพจิ ารณาจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยโดยหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง
สํานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 16
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
11.3 ภาระงบประมาณค้างจา่ ยกจิ กรรมกึ่งการคลงั ของสถาบันการเงินเฉพาะกจิ
สถาบันการเงินเฉพาะกิจ หมายถงึ สถาบนั การเงนิ ของรฐั ที่มีกฎหมายเฉพาะจดั ต้ังข้นึ เพื่อดาํ เนนิ การ
ตามนโยบายของรฐั ในการพฒั นาสง่ เสรมิ เศรษฐกจิ และสนบั สนนุ การลงทนุ ต่าง ๆ โดยอยู่ภายใต้การกํากบั ดแู ล
ของกระทรวงการคลัง ซ่ึงได้มอบหมายให้ธนาคารแหง่ ประเทศไทยทําหนา้ ที่ตรวจสอบผลการดาํ เนนิ งานและ
ความเสย่ี ง และรายงานผลการตรวจสอบไปยังรัฐมนตรวี ่าการกระทรวง การคลงั ได้แก่ ธนาคารออมสนิ
ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารอสิ ลามแห่งประเทศ
ไทย ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาํ เข้าแห่งประเทศไทย ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มแหง่
ประเทศไทย บรรษัทประกนั สินเช่อื อตุ สาหกรรมขนาดย่อม และบรรษัทตลาดรองสินเช่ือทอ่ี ยู่อาศัย
โดยสถาบันการเงนิ เฉพาะกจิ ดังกลา่ ว จะมเี งินทุนของหน่วยงาน เพอื่ ดําเนนิ ภารกจิ ตามทีร่ ะบไุ วใ้ นกฎหมาย
จดั ตัง้ ทงั้ นี้ หากผลการดําเนินงานในแต่ละปีมกี าํ ไร สถาบันการเงนิ เฉพาะกิจดงั กล่าว จะนาํ ส่งกําไรเขา้ คลงั
เพ่ือเปน็ รายได้แผน่ ดนิ ในอัตราที่ได้มีการกําหนดไว้ต่อไป
ทีผ่ ่านมา สถาบนั การเงินเฉพาะกิจจะขอรับจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจาํ ปี เพื่อวัตถปุ ระสงค์
2 ข้อ คือ 1. เพ่ิมทนุ ในการดาํ เนินงาน และ 2. สนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยโครงการตามนโยบายรัฐ โดยโครงการตาม
นโยบายรฐั เป็นงานเฉพาะกิจท่คี ณะรฐั มนตรีมีมตอิ นุมัติให้สถาบนั การเงนิ เฉพาะกจิ รับผิดชอบดําเนินการ และ
ขอรบั การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจําปี เพื่อสนับสนุนตอ่ ไป ทั้งนี้ ตัวอย่างโครงการตามนโยบายรัฐ
ดังกล่าว อาทิ
โครงการประกนั ภยั ข้าวนาปี รับผิดชอบโดยธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์
การเกษตร และรฐั บาลชดเชยค่าเบยี้ ประกันภัยบางส่วน
โครงการสนิ เช่ือชะลอการขายขา้ วเปลือกนาปี รับผดิ ชอบโดยธนาคารเพื่อการเกษตร
และสหกรณ์การเกษตร และรัฐบาลชดเชยส่วนตา่ งอัตราดอกเบย้ี
สํานักงบประมาณของรัฐสภาไดต้ ดิ ตามข้อมูลในประเดน็ ดังกล่าว พบวา่ สถาบนั การเงินเฉพาะกิจจะ
ดาํ เนินโครงการตามนโยบายรฐั ตามทค่ี ณะรฐั มนตรีได้อนุมตั ิแลว้ ในช้นั ตน้ โดยใช้เงนิ ทนุ ของหนว่ ยงานสํารอง
จา่ ยไปก่อน ต่อมา จงึ จดั ทําคําของบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปี เพ่ือชดเชยผลการดําเนินงานท่เี กิดขน้ึ จริงตาม
รายละเอียดและอตั ราค่าใช้จ่ายท่คี ณะรฐั มนตรีกาํ หนด แตว่ งเงนิ งบประมาณรายจ่ายทมี่ ีอย่างจํากดั และต้อง
จดั สรรเพอื่ สนบั สนนุ ภารกจิ ภาครัฐอน่ื ๆ ทาํ ให้การจัดสรรงบประมาณไมส่ ามารถชดเชยค่าใชจ้ ่ายโครงการตาม
นโยบายรัฐไดอ้ ยา่ งเต็มประสิทธิภาพ ทําให้เกิดภาระงบประมาณคา้ งจ่ายของโครงการตามนโยบายรฐั ที่รฐั บาล
ต้องจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยเพื่อชดเชยแกส่ ถาบันการเงินเฉพาะกิจจาํ นวนมาก สํานกั งบประมาณของ
รฐั สภาไดร้ วบรวมประมาณการงบประมาณรายจา่ ยล่วงหนา้ ในระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2567
ของโครงการตามนโยบายรฐั ของสถาบันการเงินเฉพาะกจิ ที่ดําเนนิ การในปัจจุบนั และไม่รวมโครงการใน
อนาคต ตามเอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เล่มท่ี 14
ทง้ั นี้ พบวา่ การดําเนนิ โครงการตามนโยบายรัฐทผี่ ่านมา เพือ่ ช่วยเหลอื ผู้มีรายได้น้อย เกษตรกร และวิสาหกจิ
ขนาดลางและขนาดย่อม เปน็ ภาระงบประมาณจํานวนมาก โดยรัฐบาลจะต้องจัดสรรงบประมาณชดเชยผลการ
ดาํ เนนิ งาน จาํ นวน 95,394.3751 ลา้ นบาท ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ จาํ นวน 359,249.3981
ลา้ นบาท ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 – 2567 ทั้งน้ี หากมีการอนุมัตใิ ห้ดาํ เนนิ โครงการใหมเ่ พิ่มเติม จะทําให้
ภาระงบประมาณเพ่มิ ขน้ึ จากเดิม ดงั น้นั หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้องจึงควรคาํ นึงถงึ ภาระงบ ประมาณดงั กล่าวก่อน
พิจารณานาํ เสนอโครงการใหม่ต่อไป
สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 17
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
หน่วย : ลา้ นบาท
หน่วยงาน ประมาณการงบประมาณรายจา่ ยลว่ งหนา้ รวมทงั้ สน้ิ
ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567
ธ.พฒั นาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาด 666.7750 1,448.2139 346.7007 76.3492 2,538.0388
ย่อมแห่งประเทศไทย
ธ.เพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 82,038.4934 108,308.2398 102,804.3550 91,954.7292 385,105.8174
ธ.ออมสนิ 5,498.2882 7,093.1525 3,230.7766 2,265.3916 18,087.6089
ธ.อาคารสงเคราะห์ 156.3705 1,249.5243 1,179.7944 3,114.4154 5,700.1046
บรรษทั ประกนั สนิ เชอ่ื อตุ สาหกรรมขนาด 7,034.4480 18,508.0554 11,952.2911 5,717.4090 43,212.2035
ย่อม
รวมทงั้ สน้ิ 95,394.3751 136,607.1859 119,513.9178 103,128.2944 454,643.7732
ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เล่มที่ 14
สํานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 18
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
สว่ นที่ 2 แผนงานบริหารจัดการหนภี้ าครัฐ
การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยภายใตแ้ ผนงานน้ี มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อชาํ ระต้นเงินกู้ ดอกเบ้ีย และ
ค่าธรรมเนยี มที่เกย่ี วขอ้ งกับหนี้สาธารณะ ทงั้ ในสว่ นท่ีกระทรวงการคลังก้โู ดยตรง และรัฐวสิ าหกจิ กู้โดยรัฐบาล
ชําระคืนเงนิ ตน้ และดอกเบ้ยี ทง้ั น้ี การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แก่หน่วย
รับงบประมาณตา่ ง ๆ มีรายละเอียด ดังนี้
หนว่ ยงาน งบประมาณ หนว่ ย : ล้านบาท
1. สานักงานบริหารหนสี้ าธารณะ ปี 2563 ปี 2564 เพมิ่ /ลด
2. การรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนแหง่ ประเทศไทย จานวน รอ้ ยละ
3. การรถไฟแหง่ ประเทศไทย 221,823.3421 243,181.1996 21,357.8575 9.6
4. ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร
5. องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ 9,031.3269 9,900.3750 869.0481 9.6
992.3148 12.4
รวมทง้ั สน้ิ 8,033.5342 9,025.8490 -1,478.1104 -4.9
-413.9274 100.0
ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ 30,166.3768 28,688.2664 21,327.1826 7.8
3,072.5542 2,658.6268
272,127.1342 293,454.3168
สานกั งานบรหิ ารหนส้ี าธารณะ รัฐวิสาหกจิ รวม หนว่ ย : ล้านบาท
ปงี บประมาณ ตน้ เงินกู้ ดอกเบย้ี ตน้ เงินกู้ ดอกเบย้ี ตน้ เงินกู้ ดอกเบย้ี รวมทงั้ สนิ้
และคา่ ธรรมเนียม และคา่ ธรรมเนยี ม และคา่ ธรรมเนียม
183,271
2558 39,680 121,967 16,020 5,604 55,700 127,571 201,033
243,882
2559 40,639 134,026 21,353 5,015 61,992 139,041 260,819
259,610
2560 48,868 142,152 32,318 20,544 81,186 162,696 272,127
293,454
2561 57,073 155,168 29,869 18,709 86,942 173,877
2562 49,083 166,156 29,122 15,249 78,205 181,405
2563 56,892 164,932 32,279 18,025 89,170 182,957
2564 66,970 176,212 32,030 18,243 99,000 194,454
ทีม่ า : เอกสารงบประมาณ
สํานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 19
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
ข้อสังเกต/ความเห็นของ PBO
1. ขอ้ มูลสดั สว่ นหนีส้ าธารณะต่อ GDP
ขอ้ มลู สดั สว่ นหนส้ี าธารณะต่อ GDP ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 - 2563 ปรากฏตามแผนภาพต่อไปน้ี
(ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 – 2566 เปน็ ประมาณการ) ทั้งนี้ พบวา่ สัดส่วนดงั กลา่ ว ณ วันท่ี 30 เมษายน 2563
มีคา่ เท่ากบั รอ้ ยละ 42.88 ซึ่งต่าํ กว่าค่าท่ีกําหนดไว้ตามกรอบความย่งั ยืนทางการคลงั ร้อยละ 60
ท่ีมา : สํานกั งานบริหารหนส้ี าธารณะ กระทรวงการคลัง หนา้ 20
สํานักงบประมาณของรฐั สภา
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
2. การกู้เงนิ เพ่อื ชดเชยการขาดดลุ งบประมาณมแี นวโน้มสูงกว่าท่ีคาดการณ์ไว้ งบประมาณสําหรับ
ภาระดอกเบี้ยหนี้สาธารณะ มีเพียงพอรองรับสถานการณ์ดงั กล่าวหรือไม่
ข้อมลู โครงสรา้ งงบประมาณประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ตามตารางต่อไปนี้ ทําให้สามารถ
คาํ นวณได้ว่า กรอบการกู้เงินเพือ่ ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ เท่ากบั 739,200 ลา้ นบาท (หรือเทา่ กบั
ร้อยละ 20 ของงบประมาณรายจา่ ย + ร้อยละ 80 ของรายจา่ ยชําระคนื ตน้ เงินกู้ ตามท่ีกําหนดไว้โดยกฎหมาย
ว่าด้วยการบริหารหนส้ี าธารณะ) ทัง้ น้ี รัฐบาลมนี โยบายการกูเ้ งนิ เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณใน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เท่ากบั 623,000 ลา้ นบาท ซ่งึ ต่ํากว่ากรอบการกู้เงนิ กฎหมายกาํ หนด
ท่มี า : เอกสารงบประมาณ
เม่อื พิจารณาการจัดเกบ็ รายไดข้ องรัฐบาลในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากตารางโครงสรา้ ง
งบประมาณ พบวา่ รายได้ จาํ นวน 2.677 ล้านล้านบาท จดั ทําขึ้นบนฐานผลติ ภัณฑม์ วลรวมภายในประเทศ
(GDP) เทา่ กับ 16.824 ลา้ นล้านบาท อยา่ งไรก็ดี สํานกั งบประมาณของรฐั สภาไดต้ รวจสอบข้อมลู การจดั เก็บ
รายไดแ้ ละ GDP จากสาํ นกั งานเศรษฐกิจการคลงั กระทรวงการคลัง พบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ซึง่ มี GDP เทา่ กบั 16.879 ล้านลา้ นบาท รัฐบาลกลับสามารถจดั เก็บรายได้เพียง 2.566 ล้านล้านบาท
นอกจากน้ี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ยงั ไม่มกี ารแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ประชาชนสามารถเดนิ ทาง
และท่องเท่ียวไดโ้ ดยสะดวก ในขณะท่ี ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 คาดวา่ การแพรร่ ะบาดของไวรัส COVID-19
สํานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 21
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
อาจยังคงอยู่ ซ่ึงจะส่งผลกระทบเชิงลบตอ่ อุตสาหกรรมการบินและการท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะทเ่ี กยี่ วข้องกับ
นกั ท่องเท่ียวตา่ งประเทศ ดังนนั้ สํานกั งบประมาณของรฐั สภา จึงคาดวา่ การจดั เกบ็ รายไดข้ องรัฐบาลใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 อาจไมเ่ ป็นไปตามคา่ เป้าหมาย จํานวน 2.677 ลา้ นบาท ที่กาํ หนดไว้ตามโครงสร้าง
งบประมาณ
หน่วย: ล้านบาท 2560 2561 2562
รวมรายได้สุทธหิ ลังหักจดั สรร 2,355,663 2,536,945 2,566,116
GDP (ปี ปฏิทนิ ) 15,486,551 16,365,572 16,879,027
ที่มา : สํานกั งานเศรษฐกจิ การคลงั กระทรวงการคลัง
ทั้งนี้ หากกําหนดให้ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จัดเก็บรายไดเ้ ท่ากับปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 จํานวน
2.566 ลา้ นบาท จะส่งผลให้การกเู้ งนิ เพ่ือชดเชยการขาดดุลงบประมาณเพ่ิมข้นึ มากเปน็ 733,884 ลา้ นบาท
ซ่ึงมีคา่ ใกลเ้ คียงกบั กรอบการก้เู งนิ เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณทก่ี าํ หนดไว้ตามกฎหมาย และสูงกว่า
งบประมาณรายจา่ ยลงทนุ ดังนัน้ หากสถานการณ์ดงั กลา่ วเกิดข้นึ สํานกั งานบรหิ ารหนี้สาธารณะ จะมีแนว
ทางการบริหารงบประมาณเพื่อรองรับภาระดอกเบ้ยี จากการกู้เงนิ ทม่ี ีแนวโน้มเพิ่มข้ึนอย่างไร
สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 22
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
สว่ นที่ 3 การวิเคราะหร์ ายหนว่ ยงาน (ส่วนราชการ องค์การมหาชน รฐั วสิ าหกจิ กองทนุ และ
เงนิ ทนุ หมุนเวียน)
สานักงานปลัดกระทรวงการคลัง (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับที่ 3 เล่มที่ 2 หนา้ 7)
1. วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ อานาจหน้าที่
- วิสยั ทัศน์
เปน็ ศนู ย์กลางการบริหารงานของกระทรวงการคลังทม่ี ีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
- พนั ธกจิ
1. กําหนดนโยบาย เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวง
2. พฒั นายทุ ธศาสตร์การบริหารของกระทรวงรวมทงั้ การแปลงนโยบายเปน็ แนวทางและแผนการ
ปฏบิ ตั ิราชการ
3. ดําเนนิ การเกี่ยวกบั การบริหารและพัฒนาบุคลากรของกระทรวง รวมถึงการกาํ หนดนโยบาย
และวางแผนเพื่อบริหารและพัฒนาบุคลากรของกระทรวง
4. ดําเนนิ การเกี่ยวกบั กฎหมายและระเบียบที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงและกฎหมาย
อื่นทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
5. ดําเนนิ การเกี่ยวกบั การตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัตริ าชการและเรื่องราวรอ้ งทุกข์ของ
ส่วนราชการในสังกัดกระทรวง
6. เผยแพรข่ ้อมลู สารสนเทศด้านการคลงั แกส่ าธารณชนเพ่ือเสริมสร้างความเช่ือมน่ั ต่อระบบ
เศรษฐกจิ ของประเทศ
7. เป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศของกระทรวงตลอดจนใหค้ ําแนะนาํ เกยี่ วกบั นโยบายและแผนการ
พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้งการใช้ประโยชน์ของข้อมลู ของหนว่ ยงานในสังกัด
กระทรวง
8. บูรณาการและขับเคล่ือนแผนการป้องกนั และปราบปรามทุจรติ และการส่งเสริมคมุ้ ครองจริยธรรม
ในกระทรวง
2. ความเช่ือมโยงกบั ยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัดแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพฒั นา
เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ นโยบายสาคัญ
สํานกั งบประมาณของรัฐสภาไดพ้ จิ ารณาข้อเสนอการจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564 ของหน่วยรบั งบประมาณนี้แล้ว พบว่า มคี วามสอดคล้องกับวตั ถุประสงคข์ องแผนงานงบประมาณ
ภายใตย้ ุทธศาสตรก์ ารจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รวมท้ังแผนพฒั นา
เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ
สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 23
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
3. สรุปภาพรวมงบประมาณ
3.1 งบประมาณตามแผนงาน
งบประมาณปี 2564 สาํ นักงานปลัดกระทรวงการคลังไดร้ บั จัดสรรทง้ั ส้นิ จาํ นวน 1,591.4814
ลา้ นบาท ลดลงจากปีงบประมาณ 2563 จํานวน 73.4491 ลา้ นบาท คิดเปน็ ร้อยละ -4.4 โดยงบประมาณ
จําแนกตามแผนงานต่างๆ ดงั นี้
หนว่ ย : ลา้ นบาท
แผนงาน งบประมาณ ร้อยละ
รวมทั้งสิ้น 1,591.4814 100
1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ 122.5785 7.7
2. แผนงานพื้นฐาน
2.1 แผนงานพืน้ ฐานด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั 936.7311 58.9
3. แผนงานยทุ ธศาสตร์
3.1 แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาบรกิ ารประชาชนและการพัฒนา 532.1718 33.4
ประสิทธิภาพภาครฐั
ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ
3.2 งบประมาณตามงบรายจ่าย
หน่วย : ลา้ นบาท
แผนงาน / ผลผลติ หรือโครงการ งบบคุ ลากร งบดาเนินการ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนนุ งบรายจา่ ยอนื่ เงินนอก งปม. รวม
รวมทงั้ สนิ้ 121.4526 212.3024 842.4458 - 415.2806 - 1,591.4814
แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ 121.4526 1.1259 - - - - 122.5785
แผนงานพนื้ ฐานดา้ นการสร้างความสามารถ - - 936.7311
ในการแข่งขัน - 211.1765 708.2520 17.3026
ผลผลิตท่ี 1 การบริหารจัดการ การตดิ ตาม
และการประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการของ - 211.1765 708.2520 - 17.3026 - 936.7311
หน่วยงานในกากบั
แผนงานยทุ ธศาสตร์พฒั นาบริการประชาชน -- 134.1938 - 397.9780 - 532.1718
และการพฒั นาประสทิ ธภิ าพภาครัฐ
โครงการท่ี 1 โครงการระบบสารสนเทศ - - - - 397.9780 - 397.9780
การเงนิ การคลังภาครัฐ (GFMIS)
โครงการท่ี 2 โครงการการบริหารจัดการ - - 134.1938 - - - 134.1938
ดา้ นเทคโนโลยีดจิ ิทลั ของกระทรวงการคลัง
ที่มา : เอกสารงบประมาณ
สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 24
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
4. ข้อมลู รายงานการเงนิ
การแสดงฐานะการเงนิ 2561 2562 เพิ่ม (ลด) หนว่ ย : ล้านบาท
564.0507
สนิ ทรพั ย์ 2,856.5213 3,420.5720 -168.9786 ร้อยละ
733.0294 19.7
หนสี้ นิ 403.2343 234.2557 -41.9
เพม่ิ (ลด) 29.9
ทุน 2,453.2869 3,186.3163 25,701.9859
25,148.5268 หนว่ ย : ล้านบาท
ที่มา : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สืบคน้ ข้อมูลเมือ่ วนั ท่ี 3 ก.ค. 2563
553.4591 รอ้ ยละ
การแสดงผลการดาํ เนินงาน 2561 2562 39.9
39.2
รายได้ 64,369.5720 90,071.5579 351.1
คา่ ใช้จา่ ย 64,211.9163 89,360.4431
รายไดส้ งู กวา่ ค่าใช้จา่ ยสุทธิ 157.6557 711.1148
ทมี่ า : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สืบค้นขอ้ มลู เมือ่ วันที่ 3 ก.ค. 2563
5. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 3 ปียอ้ นหลัง (พ.ศ. 2561 - 2563)
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561
งปม. หลงั โอนฯ (ลา้ นบาท) เบกิ จ่าย (ล้านบาท)
ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
701.254 274.557 975.811 632.773 90.23 214.028 77.95 846.801 86.77
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
งปม. หลงั โอนฯ (ลา้ นบาท) เบกิ จ่าย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
835.803 541.776 1,377.579 727.457 87.03 386.432 71.32 1,113.889 80.85
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ วนั ท่ี 31 พ.ค. 2563
งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบกิ จา่ ย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
764.187 900.743 1,664.930 139.140 18.20 477.598 53.02 616.738 37.04
ที่มา : กรมบัญชีกลาง
ประสิทธภิ าพการเบกิ จ่ายมีแนวโนม้ ลดลง โดยเฉพาะรายจ่ายประจํา
สํานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 25
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
6. ขอ้ สังเกต/ความเห็นของ PBO
6.1 ความสอดคล้องระหวา่ งแผนงาน ผลผลิต และกจิ กรรม
สํานกั งบประมาณของรัฐสภาไดต้ รวจสอบเอกสารงบประมาณเอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบบั ท่ี 3
เลม่ ท่ี 2 หน้า 14 พบว่า กิจกรรมการขยายฐานลงทนุ จากต่างประเทศ (Roadshow) จาํ นวน 1.6391 ล้านบาท
อาจไม่สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของผลผลติ การบริหารจัดการ การติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ของหนว่ ยงานในกํากับ” ภายใตแ้ ผนงานพื้นฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน รายละเอียดตามรูป
ทัง้ น้ี พิจารณาแล้ว เหน็ ว่า กิจกรรมการขยายการลงทนุ จากตา่ งประเทศ (Roadshow) เปน็ การเชญิ
ชวนนักลงทุนจากต่างประเทศให้มาลงทนุ ในประเทศไทย และส่งเสริมการจบั คู่ธุรกิจทางการคา้ ระหว่าง
ผู้ประกอบการไทยและต่างประเทศ อันจะเป็นการยกระดับขีดความสามารถทางการค้าและการลงทุนของ
ประเทศไทย ดังนั้น เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณเปน็ ไปอยา่ งถกู ต้องตามวตั ถุประสงค์ของแผนงานในระดบั
ตา่ ง ๆ จงึ เหน็ ควรใหย้ กระดับกจิ กรรมการขยายการลงทุนจากตา่ งประเทศ (Roadshow) ให้อยู่ภายใต้แผนงาน
ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน ซึ่งแผนงานยทุ ธศาสตร์ดงั กลา่ ว มี
วตั ถุประสงคด์ ังน้ี “เพ่ือให้ประเทศไทย มีเศรษฐกจิ เตบิ โตอย่างมเี สถียรภาพ และย่ังยืน โดยการยกระดับ
ศกั ยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ ท้ังด้านเศรษฐกิจ อตั ลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี ีวิต และ
ทรพั ยากรธรรมชาติ รวมทั้งความไดเ้ ปรียบเชิงเปรียบเทียบ ของประเทศในด้านอน่ื ๆ ผสมผสานกบั เทคโนโลยี
และนวตั กรรม เพือ่ ให้สอดรบั กบั บริบทของ เศรษฐกิจและสงั คมโลกสมยั ใหม่ พฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานของ
ประเทศในมิตติ า่ ง ๆ ท้ังโครงขา่ ย ระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละ
ดิจิทัล และการปรับ สภาพแวดล้อม เพ่ิมศักยภาพของผ้ปู ระกอบการ พฒั นาช่องทางการตลาด ยกระดับ ขีด
ความสามารถในการแขง่ ขันทางการคา้ ระหว่างประเทศ ส่งเสรมิ การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ ศลิ ปหตั ถกรรมไทย
สนบั สนุนและยกระดบั การสร้างมูลค่าเพ่ิมของภาคการผลติ บริการ การคา้ และการลงทุน”
สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 26
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
กรมธนารกั ษ์ (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 2 หนา้ 23)
1. วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ อานาจหน้าที่
- วิสัยทัศน์
บริหารทรัพย์สินของแผน่ ดินอย่างมืออาชพี ด้วยหลักธรรมาภิบาลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคมทส่ี มดลุ
และยง่ั ยืน
- พนั ธกิจ
1. บริหารจัดการทร่ี าชพัสดุให้เกดิ ประสิทธิภาพสูงสดุ ทั้งในเชิงเศรษฐกจิ สังคม และส่ิงแวดล้อม
2. ประเมนิ ราคาอสังหาริมทรัพย์ให้ได้มาตรฐานสากล
3. ผลิตและบริหารจัดการเหรียญกษาปณใ์ ห้เพียงพอต่อความตอ้ งการใช้ในระบบเศรษฐกิจ
4. จัดแสดง เผยแพร่ และดูแลรกั ษาทรัพย์สินมีค่าของรัฐตามหลักวิชาการเพื่อสืบทอดมรดกทาง
วฒั นธรรมของชาติ
2. ความเช่ือมโยงกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ เปา้ หมาย ตัวชี้วัดแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพฒั นา
เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ นโยบายสาคัญ
สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภาไดพ้ ิจารณาข้อเสนอการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ของหน่วยรบั งบประมาณนี้แลว้ พบว่า มีความสอดคล้องกบั วัตถุประสงคข์ องแผนงานงบประมาณ
ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวมท้ังแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ
3. สรปุ ภาพรวมงบประมาณ
3.1 งบประมาณตามแผนงาน
งบประมาณปี 2564 กรมธนารกั ษ์ได้รับจัดสรรทัง้ สิน้ จํานวน 3,744.4879 ล้านบาท ลดลงจาก
ปงี บประมาณ 2563 จํานวน 25.2142 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ -0.67 โดยงบประมาณจําแนกตามแผนงาน
ตา่ งๆ ดงั นี้
หน่วย : ล้านบาท
แผนงาน งบประมาณ รอ้ ยละ
รวมท้ังสนิ้ 3,744.4879 100
1. แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ 716.9553 19.1
2. แผนงานพนื้ ฐาน
2.1 แผนงานพืน้ ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั 497.5678 13.3
3. แผนงานยทุ ธศาสตร์
3.1 แผนงานยทุ ธศาสตร์พัฒนาบริการประชาชนและการพัฒนา 2,529.9648 67.6
ประสทิ ธภิ าพภาครฐั
ทมี่ า : เอกสารงบประมาณ
สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 27
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
3.2 งบประมาณตามงบรายจา่ ย
หนว่ ย : ลา้ นบาท
แผนงาน / ผลผลติ หรือโครงการ งบบคุ ลากร งบดาเนนิ การ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนุน งบรายจา่ ยอนื่ เงินนอก งปม. รวม
รวมทง้ั สน้ิ 703.0828 2,806.6218 234.7833 - - 625.0000 4,369.4879
แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 703.0828 13.8725 - - - 205.0000 921.9553
แผนงานพน้ื ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถ 262.7845 - - 420.0000 917.5678
ในการแข่งขัน - 234.7833
ผลผลติ ที่ 1 การบริหารทรี่ าชพสั ดุ
ผลผลิตท่ี 2 การบริหารเหรียญกษาปน์ - 134.7365 183.7833 - - 420.0000 738.5198
ผลผลติ ที่ 3 ทรัพย์สนิ มคี า่ ของแผน่ ดนิ ไดร้ ับ - 78.5099 - - - - 78.5099
การดแู ลตามหลกั การอนุรักษ์ - 12.0878 - - - 32.0878
ผลผลิตท่ี 4 ราคาประเมนิ อสังหาริมทรัพย์ 20.0000
แผนงานยทุ ธศาสตร์พฒั นาบริการประชาชน
และการพฒั นาประสทิ ธภิ าพภาครัฐ - 37.4503 31.0000 - - - 68.4503
- 2,529.9648
- - - - 2,529.9648
โครงการท่ี 1 โครงการเชา่ พน้ื ทบี่ ริเวณศนู ย์ - 2,529.9648 - - - - 2,529.9648
ราชการเฉลิมพระเกยี รติ 80 พรรษา 5
ธนั วาคม 2550
ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ
4. ขอ้ มลู รายงานการเงิน
หนว่ ย : ล้านบาท
การแสดงฐานะการเงิน 2561 2562 เพิม่ (ลด) รอ้ ยละ
สนิ ทรัพย์ 4,573,528.0289 4,726,130.1889 152,602.1600 3.3
หนส้ี ิน 24,106.6950 22,710.6543 -1396.0407 -5.8
ทนุ 4,549,421.3339 4,703,419.5346 153,998.2007 3.4
ทมี่ า : ระบบ CFS กรมบญั ชีกลาง สืบคน้ ขอ้ มูลเมอ่ื วนั ท่ี 3 ก.ค. 2563
หน่วย : ล้านบาท
การแสดงผลการดาํ เนินงาน 2561 2562 เพิ่ม (ลด) รอ้ ยละ
รายได้ 6,102.2084 7,400.4363 1,298.2279 21.3
คา่ ใชจ้ ่าย 6,256.4741 7,714.8825 1,458.4084 23.3
รายได้สงู กวา่ ค่าใชจ้ า่ ยสุทธิ -154.2656 -314.4462 -160.1806 103.8
ท่ีมา : ระบบ CFS กรมบญั ชีกลาง สบื คน้ ขอ้ มลู เมอื่ วนั ที่ 3 ก.ค. 2563
สาํ นักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 28
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
5. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 3 ปียอ้ นหลัง (พ.ศ. 2561 - 2563)
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561
งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบิกจ่าย (ล้านบาท)
ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
3,353.091 74.128 3,427.219 3,332.513 99.38 60.548 81.68 3,393.061 99.00
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
งปม. หลังโอนฯ (ลา้ นบาท) เบกิ จา่ ย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
3,543.441 205.846 3,749.287 3,520.419 99.35 163.461 79.40 3,683.880 98.25
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ วนั ท่ี 31 พ.ค. 2563
งปม. หลังโอนฯ (ล้านบาท) เบกิ จา่ ย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
3,525.838 243.863 3,769.702 3,183.993 90.30 0.022 0.00 3,184.016 84.46
ท่มี า : กรมบญั ชกี ลาง
ประสทิ ธิภาพการเบกิ จา่ ยรายจา่ ยลงทนุ มแี นวโนม้ ลดลงมาก
สํานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 29
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
กรมบัญชีกลาง (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 2 หนา้ 47)
1. วิสัยทศั น์ พันธกจิ อานาจหนา้ ท่ี
- วสิ ัยทศั น์
กาํ กบั ดแู ลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด
- พันธกจิ
1. กาํ หนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ แนวปฏบิ ตั ิด้านกฎหมายการคลงั การบัญชี การจดั ซอ้ื จัดจ้างภาครัฐ
และการบริหารพัสดภาครัฐ การตรวจสอบภายใน ค่าตอบแทนและสวัสดิการ เงนิ นอกงบประมาณ ลูกจา้ งและ
ความรับผิดทางละเมดิ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐใหัสอดคล้องกับการรักษาวินยั และความยั่งยืนทางการคลัง
2. บริหารเงินสดภาครัฐ บริหารการรับ - จ่ายเงิน ให้เป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยใช้ระบบ
เทคโนโลยีทท่ี นั สมยั
3. สนับสนุนการบริหารเศรษฐกจิ การคลังในส่วนภูมิภาค
4. พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐทางด้านการบริหารการเงินภาครฐั
5. เป็นศนู ย์ข้อมูลสารสนเทศทางการคลงั
2. ความเชื่อมโยงกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ เปา้ หมาย ตัวชี้วัดแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพฒั นา
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ นโยบายสาคญั
สํานกั งบประมาณของรฐั สภาไดพ้ ิจารณาข้อเสนอการจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ของหน่วยรับงบประมาณนี้แลว้ พบว่า มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนงานงบประมาณ
ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์การจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รวมทั้งแผนพฒั นา
เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ
3. สรุปภาพรวมงบประมาณ
3.1 งบประมาณตามแผนงาน
งบประมาณปี 2564 กรมบัญชีกลางไดร้ ับจัดสรรท้งั สน้ิ จาํ นวน 1,621.1489 ล้านบาท ลดลงจาก
ปีงบประมาณ 2563 จาํ นวน 397.6368 ลา้ นบาท คิดเปน็ ร้อยละ -19.7 โดยงบประมาณจําแนกตามแผนงาน
ต่างๆ ดังนี้
หนว่ ย : ล้านบาท
แผนงาน งบประมาณ รอ้ ยละ
รวมท้ังส้ิน 1,621.1489 100
1. แผนงานบุคลากรภาครฐั 931.5707 57.5
2. แผนงานยทุ ธศาสตร์
2.1 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาบรกิ ารประชาชนและการพัฒนา 689.5782 42.5
ประสิทธภิ าพภาครัฐ
ท่ีมา : เอกสารงบประมาณ
สาํ นกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 30
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
3.2 งบประมาณตามงบรายจ่าย
หนว่ ย : ล้านบาท
แผนงาน / ผลผลติ หรอื โครงการ งบบคุ ลากร งบดาเนนิ การ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนุน งบรายจา่ ยอนื่ เงินนอก งปม. รวม
รวมทง้ั สน้ิ 926.0915 314.6381 181.7019 - 198.7174 - 1,621.1489
แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 926.0915 5.4792 - - - - 931.5707
แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาบรกิ ารประชาชน - - 689.5782
และการพัฒนาประสทิ ธภิ าพภาครัฐ - 309.1589 181.7019 198.7174
ผลผลติ ท่ี 1 การบริหารและกากบั ดแู ลดา้ น - 309.1589 181.7019 - 198.7174 - 689.5782
รายขา่ ยภาครัฐ
ที่มา : เอกสารงบประมาณ
4. ข้อมูลรายงานการเงิน
หน่วย : ลา้ นบาท
การแสดงฐานะการเงิน 2561 2562 เพมิ่ (ลด) ร้อยละ
สนิ ทรัพย์ 7,703.9228 17,324.6980 9,620.7752 124.9
หน้ีสนิ 5,564.1101 4,772.4772 -791.6329 -14.2
ทุน 2,139.8126 12,552.2207 10,412.4081 486.6
ทม่ี า : ระบบ CFS กรมบญั ชีกลาง สบื ค้นข้อมลู เมอ่ื วันท่ี 3 ก.ค. 2563
หน่วย : ลา้ นบาท
การแสดงผลการดําเนินงาน 2561 2562 เพิม่ (ลด) รอ้ ยละ
รายได้ 83,085.2079 60,517.2300 -22,567.9779 -27.2
ค่าใช้จ่าย 82,879.8881 50,052.4167 -32,827.4714 -39.6
รายไดส้ ูงกว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 205.3198 10,464.8133 10,259.4935 4996.8
ทีม่ า : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สบื คน้ ขอ้ มลู เมอื่ วนั ท่ี 3 ก.ค. 2563
สํานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 31
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
5. ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณประจาปีงบประมาณ 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ. 2561 – 2563)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
งปม. หลังโอนฯ (ลา้ นบาท) เบิกจา่ ย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
1,188.197 296.134 1,484.331 1,171.854 98.62 277.664 93.76 1,449.517 97.65
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
งปม. หลังโอนฯ (ล้านบาท) เบิกจ่าย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทนุ รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
1,340.828 520.996 1,861.824 1,232.360 91.91 281.650 54.05 1,514.011 81.31
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ณ วันท่ี 31 พ.ค. 2563
งปม. หลงั โอนฯ (ลา้ นบาท) เบิกจา่ ย (ล้านบาท)
ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
2,081.185 556.750 2,637.935 724.787 34.82 17.626 3.16 742.414 28.14
ท่มี า : กรมบญั ชีกลาง
ประสทิ ธิภาพการเบิกจา่ ยลดลงมาก
6. ข้อสงั เกต/ความเห็นของ PBO
6.1 งบกลางภายใตก้ ารดูแลของกรมบัญชีกลาง
กรมบญั ชีกลางมีอาํ นาจหน้าท่ีในการควบคุมและอนุมัติการเบิกจา่ ยงบกลางจํานวนหน่ึง ซงึ่ เกย่ี วขอ้ ง
กบั การบริหารงานบคุ คลและสวสั ดิการรกั ษาพยาบาลของข้าราชการ ซง่ึ จะมีการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ย
ประจําปเี ป็นรายการเฉพาะ ดังนน้ั วงเงินงบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ของ
กรมบัญชีกลาง จาํ นวน 2,032.7857 ลา้ นบาท จงึ ไมร่ วมวงเงินงบกลางดังกล่าว ทั้งน้ี รายการตามงบกลางท่ีอยู่
ในความรบั ผดิ ชอบของกรมบัญชกี ลางและวงเงนิ งบประมาณท่ีเก่ยี วข้อง อาทิ
รายการ พรบ. 2563 รา่ ง พรบ. 2564
1. คา่ ใชจ้ า่ ยในการรักษาพยาบาลขา้ ราชการ ลูกจ้าง และพนกั งานของรัฐ 71,200.0000 74,000.0000
2. เงินเบี้ยหวัด บาํ เหนจ็ บาํ นาญ 256,716.3180 300,435.5140
3. เงนิ ชว่ ยเหลอื ขา้ ราชการ ลูกจา้ ง และพนกั งานของรัฐ 4,940.0000 5,008.0000
4. เงินเล่ือนเงนิ เดือนและเงนิ ปรบั วฒุ ิข้าราชการ 10,464.6000 15,500.0000
5. เงินสาํ รอง เงนิ สมทบ และเงนิ ชดเชยของข้าราชการ 62,780.0000 69,707.1028
6. เงนิ สมทบของลกู จา้ งประจาํ 670.0000 640.0000
7. ค่าใชจ้ ่ายชดใช้เงนิ ทดรองราชการเพือ่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั กิ รณีฉุกเฉิน 3,000.0000 6,000.0000
ท่ีมา : เอกสารงบประมาณ
หมายเหตุ : พ้ืนท่ีระบายสเี หลือง หมายถงึ วงเงินงบประมาณเพมิ่ ขึ้นมาก
สํานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 32
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
6.2 การบริหารการเบกิ จ่ายเงินคงคลงั
พระราชบญั ญัติวินัยการเงนิ การคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561 มาตรา 20 กําหนดให้การต้งั งบประมาณ
รายจา่ ยลงทุนตอ้ งมีจาํ นวนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละยส่ี ิบของงบประมาณรายจ่ายประจาํ ปี และตอ้ งไมน่ ้อยกว่าวงเงิน
สว่ นท่ขี าดดลุ ของงบประมาณประจาํ ปนี ้ัน ดงั น้นั จึงอาจอนุมานไดว้ ่า เงินที่ไดจ้ ากการกู้เงินเพ่อื ชดเชยการขาด
ดลุ งบประมาณ ควรนาํ ไปสนับสนุนรายจา่ ยลงทนุ เพื่อส่งเสรมิ ความยง่ั ยืนทางการคลงั และไม่ควรนําไป
สนับสนุนรายจ่ายประจาํ อาทิ เงนิ เดอื นข้าราชการและเจ้าหนา้ ทีภ่ าครัฐ
นอกจากน้ี สาํ นักงบประมาณของรัฐสภาไดต้ ดิ ตามข้อมูลดุลการคลังตามระบบกระแสเงินสด และเงนิ
คงคลงั ปลายปี (ขอ้ มลู ปรากฏตามตาราง) ซึ่งการบรหิ ารสภาพคล่องของเงินคงคลงั ใหอ้ ยูใ่ นระดับทเี่ หมาะสม
เป็นความรบั ผิดชอบของกรมบญั ชกี ลาง ทงั้ นี้ พบว่า การกู้เงินเพื่อชดเชยจะเป็นไปเพื่อรกั ษาระดับสภาพคลอ่ ง
ของเงินคงคลงั ให้มคี วามเหมาะสม โดยไม่มีการจาํ แนกว่า เงินทไี่ ดจ้ ากการกู้เงินเพอ่ื ชดเชยการขาดดลุ
งบประมาณดงั กล่าว มีการนาํ ไปใชส้ นับสนุนงบประมาณรายจ่ายประเภทใด (รายจา่ ยประจาํ หรอื ลงทนุ )
ในวงเงินจํานวนเทา่ ใด
หนว่ ย: ลา้ นบาท
ปี งบประมาณ 2560 2561 2562 2563 (5
เดอื น)
1. รายไดน้ าสง่ คลงั (Revenue) 2,354,032 2,524,249 2,540,218 1,015,148
3,007,203 3,043,177 1,213,483
2. รายจา่ ย (Expenditure) 2,890,545 2,792,105 2,788,323 1,090,302
- ปีปัจจบุ นั (Current Year) 2,686,592 215,098 254,854 123,181
(482,954) (502,959) (198,335)
- ปีกอ่ น (Carry Over) 203,953
92,274 33,500 (55,079)
3. ดลุ เงนิ งบประมาณ (Budgetary Balance) (536,512) (390,680) (469,459) (253,414)
500,358 348,978
4. ดลุ เงนิ นอกงบประมาณ (Non Budgetary Balance) 66,048 109,678 (120,481) 82,895
523,758 633,436 (170,519)
5. ดลุ เงนิ สดกอ่ นกู ้ (Cash Balance Before Financing) (470,464) 633,436 512,955 512,955
342,436
6. กเู ้ พ่ือชดเชยการขาดดลุ (Financing) 552,922
7. ดลุ เงนิ สดหลงั กู ้ (Cash Balance After Financing) 82,458
8. เงนิ คงคลงั ตน้ ปี (Opening Treasury Reserve) 441,300
9. เงนิ คงคลงั ปลายปี (Closing Treasury Reserve) 523,758
ทมี่ า: กรมบญั ชกี ลางและสานักงานเศรษฐกจิ การคลงั
จดั ทาโดย: สานักนโยบายการคลงั สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั
ผรู ้ บั ผดิ ชอบขอ้ มลู : นางสาวสายทพิ ย์ คาพุฒ
ปรบั ปรงุ ครงั้ สดุ ทา้ ยวนั ท:่ี 16 มนี าคม 2563
สํานกั งบประมาณของรัฐสภา พจิ ารณาแล้วเหน็ ว่า เพ่ือใหก้ ารบรหิ ารการจัดเกบ็ รายได้ของรฐั การกู้
เงิน การเบิกจา่ ย และเงนิ คงคลัง เป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพและสง่ เสรมิ การดําเนนิ การตามนยั ของ
พระราชบัญญัตวิ นิ ยั การเงนิ การคลัง กรมบัญชกี ลางควรกาํ หนดแหล่งเงนิ สนับสนุนงบประมาณรายจ่ายของ
ภาครัฐในประเภทตา่ งๆ ให้มีความเหมาะสม ได้แก่
1) งบประมาณรายจา่ ยประจํา ใหใ้ ชร้ ายไดน้ าํ สง่ คลังเป็นแหล่งเงินสนบั สนนุ เท่าน้นั
2) งบประมาณรายจ่ายลงทุน ให้ใชร้ ายได้นําสง่ คลงั และเงินก้เู พ่ือชดเชยการขาดดุลงบประมาณ เป็น
แหล่งเงนิ สนับสนนุ
ทัง้ นี้ การดาํ เนนิ การดงั กลา่ วจะเปน็ การส่งเสรมิ และรักษาวินยั การเงนิ การคลังให้มปี ระสิทธิภาพย่งิ ขนึ้ และจะ
เปน็ การกระตนุ้ ให้กรมจดั เก็บเพม่ิ ศักยภาพในการจัดเกบ็ รายไดน้ าํ สง่ คลงั ให้มากข้ึนต่อไป
สาํ นักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 33
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
กรมศุลกากร (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบบั ที่ 3 เลม่ ที่ 2 หนา้ 59)
1. วิสัยทัศน์ พันธกิจ อานาจหนา้ ที่
- วิสัยทศั น์
องคก์ รทม่ี ่งุ ม่ันให้บริการศลุ กากรเป็นเลิศ เพ่ือการพัฒนาทย่ี ั่งยืนของเศรษฐกิจไทยและเช่ือมโยง
การคา้ โลก
- พนั ธกจิ
1. อาํ นวยความสะดวกทางการคา้ และสง่ เสริมระบบโลจิสติกส์ของประเทศ
2. สง่ เสรมเศรษฐกิจของประเทศด้วยมาตรการทางศลุ กากรและข้อมลู การค้าระหว่างประเทศ
3. ปกป้องสงคมให้ปลอดภัยด้วยระบบควบคุมทางศุลกากร
4. จัดเกบ็ ภาษีอย่างเป็นธรรม โปร่งใส และมปี ระสทธิภาพ
2. ความเชื่อมโยงกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ เป้าหมาย ตวั ช้ีวดั แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ นโยบายสาคัญ
สํานกั งบประมาณของรัฐสภาได้พิจารณาข้อเสนอการจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจําปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564 ของหนว่ ยรบั งบประมาณน้ีแลว้ พบว่า มีความสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ของแผนงานงบประมาณ
ภายใต้ยุทธศาสตร์การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รวมทั้งแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ
3. สรุปภาพรวมงบประมาณ
3.1 งบประมาณตามแผนงาน
งบประมาณปี 2564 กรมศุลกากรไดร้ ับจดั สรรท้ังส้นิ จาํ นวน 3,978.2968 ล้านบาท เพมิ่ ขน้ึ จาก
ปงี บประมาณ 2563 จํานวน 378.1423 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 10.5 โดยงบประมาณจําแนกตามแผนงาน
ต่างๆ ดังน้ี
หน่วย : ลา้ นบาท
แผนงาน งบประมาณ รอ้ ยละ
รวมทั้งส้ิน 3,978.2968 100
1. แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 1,985.4055 49.9
2. แผนงานยทุ ธศาสตร์
2.1 แผนงานยทุ ธศาสตร์พัฒนาบรกิ ารประชาชนและการพัฒนา 1,770.7589 44.5
ประสทิ ธภิ าพภาครฐั
3. แผนงานบรู ณาการ
3.1 แผนงานบรู ณาการพฒั นาพื้นท่เี ขตเศรษฐกจิ พิเศษ 222.1324 5.9
ที่มา : เอกสารงบประมาณ
สํานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 34
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
3.2 งบประมาณตามงบรายจ่าย
หน่วย : ล้านบาท
แผนงาน / ผลผลติ หรือโครงการ งบบคุ ลากร งบดาเนนิ การ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนุน งบรายจา่ ยอน่ื เงินนอก งปม. รวม
รวมทงั้ สน้ิ 1,963.0248 1,007.5583 1,006.3593 1.3544 - 649.7929 4,628.0897
แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 1,963.0248 22.3807 - - - 115.5993 2,101.0048
แผนงานยทุ ธศาสตร์พฒั นาบริการประชาชน 985.1776 - 534.1936 2,304.9525
และการพัฒนาประสทิ ธภิ าพภาครัฐ - 784.2269 1.3544
ผลผลิตที่ 1 การจัดเกบ็ ภาษศี ลุ กากร - 955.9679 690.6701 1.3544 - 520.0086 2,168.0010
ผลผลติ ท่ี 2 การให้สทิ ธปิ ระโยชน์ทางภาษี - - 5.3484
ศลุ กากร - 5.3484 - -
ผลผลติ ท่ี 3 ปอ้ งกนั และปราบปรามการ - 14.1850 131.6031
กระทาความผิดทางศลุ กากร - 23.8613 93.5568 -
แผนงานบรู ณาการพัฒนาพนื้ ทเี่ ขตเศรษฐกจิ - - 222.1324
พเิ ศษ - - 222.1324 -
โครงการท่ี 1 โครงการพฒั นาดา่ นศลุ กากร - - 222.1324
พน้ื ทเ่ี ศรษฐกจิ พเิ ศษ - - 222.1324 -
ที่มา : เอกสารงบประมาณ
4. ขอ้ มูลรายงานการเงิน
หน่วย : ลา้ นบาท
การแสดงฐานะการเงิน 2561 2562 เพิ่ม (ลด) รอ้ ยละ
สินทรพั ย์ 27,973.4821 30,065.9374 2,092.4553 7.5
หน้ีสนิ 26,214.5950 24,780.2912 -1,434.3038 -5.5
ทุน 1,758.8870 5,285.6462 3,526.7592 200.5
ท่ีมา : ระบบ CFS กรมบญั ชีกลาง สบื คน้ ขอ้ มูลเมื่อวนั ที่ 3 ก.ค. 2563
หนว่ ย : ลา้ นบาท
การแสดงผลการดําเนินงาน 2561 2562 เพ่ิม (ลด) รอ้ ยละ
รายได้ 32,176.2309 32,615.2190 438.9881 1.4
ค่าใชจ้ ่าย 38,631.7672 29,470.7176 -9,161.0496 -23.7
รายไดส้ ูงกว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ -6,455.5363 3,144.5013 9,600.0376 -148.7
ท่มี า : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สบื ค้นขอ้ มูลเม่ือวันที่ 3 ก.ค. 2563
สํานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 35
วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
5. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ. 2561 – 2563)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
งปม. หลงั โอนฯ (ลา้ นบาท) เบกิ จ่าย (ล้านบาท)
ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
2,764.408 1,684.752 4,449.160 2,713.120 98.14 776.582 46.09 3,489.702 78.43
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
งปม. หลังโอนฯ (ลา้ นบาท) เบกิ จา่ ย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
2,799.178 1,545.254 4,344.432 2,744.015 98.02 1,130.383 73.15 3,874.399 89.18
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ วันที่ 31 พ.ค. 2563
งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบิกจา่ ย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทนุ รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
2,987.429 612.725 3,600.154 1,718.943 57.53 191.483 31.25 1,910.427 53.06
ทมี่ า : กรมบญั ชกี ลาง
ประสิทธิภาพการเบกิ จ่ายรายจ่ายลงทุนอยูใ่ นระดับต่ําอยา่ งต่อเนือ่ ง
6. ขอ้ สงั เกต/ความเห็นของ PBO
6.1 รายงานสถานะและแผนการใช้จา่ ยเงนิ นอกงบประมาณ
สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภาไดต้ รวจสอบรายงานสถานะและแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ นอกงบประมาณ
(เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับที่ 3 เล่มที่ 2 หน้าที่ 81) พบว่า รายไดป้ ระเภทเงินนอกงบประมาณใน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 – 2567 ปรบั ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 อยา่ งมีนยั สําคัญ และเม่อื นําไป
สมทบกับเงนิ งบประมาณแลว้ ทําใหไ้ ม่มีเงนิ นอกงบประมาณคงเหลอื ในระยะเวลาดังกล่าว ดงั น้นั จึงขอตง้ั
ข้อสังเกตเก่ียวกบั การประมาณการรายไดน้ อกงบประมาณดังกลา่ ว ทงั้ นี้ หากประมาณการรายได้นอก
งบประมาณสามารถปรบั เพิ่มขึ้น ย่อมสามารถนําไปสนบั สนุนโครงการอนื่ ๆ ของกรมศุลกากร เพื่อประหยัด
ภาระงบประมาณเพมิ่ ขน้ึ ได้ต่อไป
สํานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 36
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 37
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
กรมสรรพสามติ (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับท่ี 3 เล่มท่ี 2 หนา้ 83)
1. วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ อานาจหน้าที่
- วิสยั ทัศน์
ผูน้ ําการจัดเกบ็ ภาษีเพ่ือสังคม สิ่งแวดล้อม และพลังงาน
- พันธกิจ
1. นํานวตั กรรมและฐานขอ้ มูลมาใช้เพื่อการจัดเก็บภาษีอยา่ งย่ังยืน
2. ผลกั ดนั มาตรการภาษเี พ่ือความผาสกุ ของประชาชน
3. พฒั นาองค์กรแบบพลวตั ตามระบบราชการ 4.0
2. ความเช่ือมโยงกบั ยุทธศาสตรช์ าติ เปา้ หมาย ตัวชี้วัดแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ นโยบายสาคญั
สํานกั งบประมาณของรฐั สภาไดพ้ จิ ารณาข้อเสนอการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564 ของหน่วยรับงบประมาณนี้แล้ว พบว่า มีความสอดคล้องกบั วัตถุประสงคข์ องแผนงานงบประมาณ
ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รวมทั้งแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ และยทุ ธศาสตรช์ าติ
3. สรปุ ภาพรวมงบประมาณ
3.1 งบประมาณตามแผนงาน
งบประมาณปี 2564 กรมสรรพสามติ ได้รบั จัดสรรทงั้ ส้นิ จํานวน 2,562.0517 ลา้ นบาท เพ่มิ ข้ึนจาก
ปีงบประมาณ 2563 จาํ นวน 141.2740 ลา้ นบาท คิดเปน็ ร้อยละ 5.84 โดยงบประมาณจาํ แนกตามแผนงาน
ต่างๆ ดงั นี้
หนว่ ย : ลา้ นบาท
แผนงาน งบประมาณ รอ้ ยละ
รวมทั้งสิน้ 2,562.0517 100
1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ 1,541.5283 60.2
2. แผนงานยุทธศาสตร์
2.1 แผนงานยทุ ธศาสตร์พัฒนาบริการประชาชนและการพัฒนา 1,020.5234 39.2
ประสิทธภิ าพภาครัฐ
ทมี่ า : เอกสารงบประมาณ
สํานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 38
วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
3.2 งบประมาณตามงบรายจ่าย
หนว่ ย : ลา้ นบาท
แผนงาน / ผลผลติ หรอื โครงการ งบบคุ ลากร งบดาเนินการ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนุน งบรายจา่ ยอนื่ เงินนอก งปม. รวม
รวมทงั้ สนิ้ 1,521.6043 261.7716 382.4664 10.0000 386.2094 3,173.0000 5,735.0517
แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ 1,521.6043 19.9240 - - - 422.8000 1,964.3283
แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาบรกิ ารประชาชน 241.8476 3,770.7234
และการพฒั นาประสทิ ธภิ าพภาครัฐ - 382.4664 10.0000 386.2094 2,750.2000
ผลผลิตท่ี 1 การจัดเกบ็ ภาษสี รรพสามติ - 241.8476 382.4664 10.0000 386.2094 2,750.2000 3,770.7234
ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ
เงนิ นอกงบประมาณมีสดั สว่ นสูงเม่อื เทียบกับเงินงบประมาณ
4. ข้อมูลรายงานการเงิน
หนว่ ย : ล้านบาท
การแสดงฐานะการเงิน 2561 2562 เพมิ่ (ลด) รอ้ ยละ
สินทรัพย์ 31,683.1611 15,125.5467 -16,557.6144 -52.3
หนส้ี ิน 21,540.8357 3,975.9809 -17,564.8548 -81.5
ทุน 10,142.3253 11,149.5657 1,007.2404 9.9
ทม่ี า : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สืบค้นข้อมูลเมอื่ วนั ท่ี 3 ก.ค. 2563
หน่วย : ล้านบาท
การแสดงผลการดาํ เนนิ งาน 2561 2562 เพมิ่ (ลด) รอ้ ยละ
รายได้ 7,386.3825 7,227.8334 -158.5491 -2.1
ค่าใช้จ่าย 7,634.9680 6,226.2957 -1,408.6723 -18.5
รายได้สูงกว่าค่าใชจ้ า่ ยสทุ ธิ -248.5855 1,001.5376 1,250.1231 -502.9
ท่ีมา : ระบบ CFS กรมบญั ชีกลาง สืบคน้ ขอ้ มลู เม่ือวนั ที่ 3 ก.ค. 2563
สาํ นักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 39
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
5. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ. 2561 – 2563)
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561
งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบิกจ่าย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
2,120.318 429.293 2,549.611 2,064.946 97.38 349.818 81.48 2,414.764 94.71
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
งปม. หลังโอนฯ (ล้านบาท) เบิกจ่าย (ล้านบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทนุ รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
2,184.471 426.669 2,611.141 2,124.463 97.25 275.061 64.46 2,399.524 91.89
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ณ วนั ท่ี 31 พ.ค. 2563
งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบกิ จ่าย (ล้านบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทนุ รวม
จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
2,162.874 264.153 2,427.027 1,274.400 58.90 0.417 0.15 1,274.818 52.52
ที่มา : กรมบญั ชกี ลาง
ประสทิ ธภิ าพการเบกิ จ่ายรายจา่ ยลงทนุ มแี นวโน้มลดลงมาก
สาํ นักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 40
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
กรมสรรพากร (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับที่ 3 เล่มที่ 2 หนา้ 95)
1. วิสัยทัศน์ พันธกิจ อานาจหนา้ ที่
- วิสยั ทัศน์
จดั เก็บภาษที นั สมัย ใส่ใจบริการ ยดึ มนั่ ธรรมาภิบาล เพื่อพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมไทย
- พนั ธกจิ
1. จัดเกบ็ ภาษีอากรให้ได้ตามประมาณการ
2. ยกระดับการให้บริการและสร้างความสมัครใจในการเสียภาษี
3. เสนอแนะนโยบายภาษีอากรตอ่ กระทรวงการคลัง
2. ความเชื่อมโยงกับยทุ ธศาสตรช์ าติ เป้าหมาย ตวั ชีว้ ดั แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ แผนพฒั นา
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ นโยบายสาคัญ
สาํ นกั งบประมาณของรฐั สภาได้พจิ ารณาข้อเสนอการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564 ของหนว่ ยรบั งบประมาณน้ีแลว้ พบวา่ มคี วามสอดคล้องกับวัตถุประสงคข์ องแผนงานงบประมาณ
ภายใตย้ ทุ ธศาสตรก์ ารจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวมทั้งแผนพฒั นา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ
3. สรปุ ภาพรวมงบประมาณ
3.1 งบประมาณตามแผนงาน
งบประมาณปี 2564 กรมสรรพากรได้รบั จดั สรรท้ังสิน้ จํานวน 10,130.8299 ล้านบาท เพม่ิ ขึ้นจาก
ปงี บประมาณ 2563 จํานวน 317.1039 ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ 3.23 โดยงบประมาณจาํ แนกตามแผนงาน
ต่างๆ ดงั น้ี
หนว่ ย : ลา้ นบาท
แผนงาน งบประมาณ รอ้ ยละ
รวมท้ังสนิ้ 10,130.8299 100
1. แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 7,537.7694 74.4
2. แผนงานยทุ ธศาสตร์
2.1 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาบริการประชาชนและการพัฒนา 2,593.0605 25.6
ประสทิ ธภิ าพภาครัฐ
ท่ีมา : เอกสารงบประมาณ
สํานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 41
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
3.2 งบประมาณตามงบรายจา่ ย
หน่วย : ลา้ นบาท
แผนงาน / ผลผลติ หรอื โครงการ งบบคุ ลากร งบดาเนนิ การ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนนุ งบรายจา่ ยอน่ื เงินนอก งปม. รวม
รวมทง้ั สน้ิ 7,463.6880 1,899.3782 742.7637 - 25.0000 2,664.0000 12,794.8299
แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ 7,463.6880 74.0814 - - - 587.0000 8,124.7694
แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาบริการประชาชน - 4,670.0605
และการพฒั นาประสทิ ธภิ าพภาครัฐ - 1,825.2968 742.7637 25.0000 2,077.0000
ผลผลิตท่ี 1 การจัดเกบ็ ภาษสี รรพากร - 1,825.2968 742.7637 - 25.0000 2,077.0000 4,670.0605
ท่มี า : เอกสารงบประมาณ
4. ข้อมลู รายงานการเงิน
การแสดงฐานะการเงนิ 2561 2562 เพิม่ (ลด) หน่วย : ลา้ นบาท
80,199.3379
สินทรัพย์ 108,141.7638 188,341.1017 41,244.7509 รอ้ ยละ
38,954.5870 74.2
หน้ีสิน 96,480.0757 137,724.8266 42.7
เพ่มิ (ลด) 334.0
ทุน 11,661.6881 50,616.2751 1,428.5444
หนว่ ย : ลา้ นบาท
ทม่ี า : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สบื คน้ ขอ้ มูลเมอ่ื วันท่ี 3 ก.ค. 2563 534.7578
893.7866 รอ้ ยละ
การแสดงผลการดําเนินงาน 2561 2562 9.3
3.5
รายได้ 15,282.8172 16,711.3616
-831.2
คา่ ใชจ้ า่ ย 15,390.3409 15,925.0987
รายได้สงู กว่าค่าใชจ้ ่ายสทุ ธิ -107.5237 786.2629
ท่ีมา : ระบบ CFS กรมบญั ชีกลาง สืบคน้ ขอ้ มูลเม่ือวนั ที่ 3 ก.ค. 2563
สํานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 42
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
5. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ. 2561 – 2563)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
งปม. หลังโอนฯ (ล้านบาท) เบกิ จ่าย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทนุ รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
9,135.887 199.836 9,335.723 8,887.452 97.28 112.824 56.45 9,000.276 96.40
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
งปม. หลังโอนฯ (ล้านบาท) เบิกจา่ ย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
9,339.580 218.314 9,557.894 9,179.709 98.28 158.436 72.57 9,338.145 97.70
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ วนั ที่ 31 พ.ค. 2563
งปม. หลังโอนฯ (ลา้ นบาท) เบกิ จ่าย (ล้านบาท)
ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทนุ รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ
9,410.031 404.194 9,814.226 6,007.347 63.83 85.344 21.11 6,092.691 62.08
ท่ีมา : กรมบญั ชกี ลาง
ประสทิ ธภิ าพการเบิกจ่ายรายจา่ ยลงทุนลดลง
6. ขอ้ สงั เกต/ความเหน็ ของ PBO
6.1 การกาหนดตัวช้ีวดั
สํานักงบประมาณของรัฐสภาได้ตรวจสอบการกาํ หนดตวั ชว้ี ดั ของแผนงานยทุ ธศาสตร์พฒั นาบริการ
ประชาชนและการพัฒนาประสิทธภิ าพภาครฐั ผลผลติ การจัดเกบ็ ภาษีอากร (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง
ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 2 หน้า 101) ทัง้ นี้ วัตถุประสงคข์ องผลผลติ ดังกล่าว คือ “สร้างความยั่งยืนทางการคลังและ
บรหิ ารจัดเกบ็ ภาษีอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ” และตวั ช้ีวัด คือ “ผลการจัดเกบ็ ภาษีอากร” และ “การจัดเก็บภาษี
เปน็ ไปตามเป้าหมายท่ีกาํ หนด” รายละเอยี ดปรากฏตามรูป
สํานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 43
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
ทั้งน้ี สํานักงบประมาณของรัฐสภา พจิ ารณาแล้วเห็นวา่ การใชต้ วั ชว้ี ดั ดงั กลา่ ว อาจไม่สามารถบ่งชี้
ประสิทธิภาพการจดั เกบ็ ภาษีของกรมสรรพากรได้ในช่วงท่ีภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า เน่ืองจากในช่วงภาวะเศรษฐกจิ
ตกตํา่ GDP ลดลง ประชาชนจะมีรายได้ลดลง นําไปสู่การปรบั ลดการบรโิ ภคสินค้าและบริการ ซ่งึ จะส่งผล
กระทบตอ่ การจัดเกบ็ รายได้ของกรมสรรพากรให้ไมส่ ามารถบรรลตุ ามเป้าหมายไดแ้ ม้วา่ ศักยภาพของเจ้าหนา้ ที่
กรมสรรพากรในการดาํ เนินการจะไมล่ ดลงก็ตาม ดังน้ัน สํานักงบประมาณของรฐั สภาจงึ เสนอให้ใชต้ วั แปร
สดั สว่ นรายได้ทกี่ รมสรรพากรจดั เกบ็ ตอ่ GDP เป็นตัวชว้ี ัดประสทิ ธิภาพในการจัดเก็บเพมิ่ เติม ซ่ึงจะช่วยให้การ
ประเมนิ ผลการดําเนนิ งานของกรมสรรพากรเปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพและเท่ยี งตรงมากขึน้ และสอดคล้อง
กับหน่วยงานตา่ งประเทศ อาทิ กองทุนการเงนิ ระหว่างประเทศและธนาคารโลก ท่ใี ชต้ ัวแปรสดั สว่ นรายได้ต่อ
GDP ในการวดั ประสทิ ธิภาพการจัดเก็บรายได้ หรอื อาจใช้ตัวแปรจาํ นวนผ้เู สยี รายใหมท่ เี่ ข้าสู่ระบบภาษี
ในแต่ละปีงบประมาณ เพื่อสะทอ้ นถึงความสามารถในการขยายฐานภาษีของกรม
สาํ นักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 44
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
สานักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกิจ (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับท่ี 3 เล่มท่ี 2
หนา้ 109)
1. วิสัยทัศน์ พันธกิจ อานาจหนา้ ที่
- วสิ ยั ทัศน์
เปน็ เสาหลักดา้ นรัฐวิสาหกจิ หลักทรัพย์ของรัฐ และการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน
เพอื่ การพัฒนาอย่างยั่งยืน
- พันธกิจ
1. เสนอแนะนโยบาย แผน กฎหมาย ระเบียบ และมาตรการทเ่ี กยี่ วกบั การบริหารและพัฒนา
รฐั วิสาหกจิ และหลักทรัพย์ของรัฐ
2. กํากบั ดูแล ตดิ ตาม ประเมินผล และพฒั นารัฐวิสาหกิจใหม้ กี ารดาํ เนินงานท่ีสอดคล้องกับนโยบาย
แผน กฎหมาย และมาตรการเกี่ยวกบั การบริหารและพัฒนารัฐวิสาหกจิ
3. ใหค้ าํ ปรกึ ษา เสนอแนะ และให้ความชว่ ยเหลือด้านวิชาการของการบริหารและพัฒนาองค์กร
แกร่ ฐั วิสาหกจิ
4. ดําเนินการบริหารหลักทรัพย์ของรัฐในรัฐวิสาหกจิ และกจิ การทรี่ ฐั ถือหุ้นต่าํ กว่ารอยละห้าสิบของ
ทุนทงั้ หมด
5. ดาํ เนนิ การเกี่ยวกบั การให้เอกชนร่วมลงทนในกิจการของรฐั
6. ปฏบิ ัตกิ ารอ่ืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเ้ ปน็ อํานาจหน้าทขี่ องสาํ นักงาน หรือตามทก่ี ระทรวง
หรอื คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
2. ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตรช์ าติ เป้าหมาย ตัวชว้ี ดั แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ นโยบายสาคญั
สาํ นกั งบประมาณของรฐั สภาได้พิจารณาข้อเสนอการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจําปงี บประมาณ
พ.ศ. 2564 ของหนว่ ยรับงบประมาณน้ีแล้ว พบว่า มคี วามสอดคล้องกบั วัตถุประสงคข์ องแผนงานงบประมาณ
ภายใต้ยุทธศาสตรก์ ารจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รวมทั้งแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ และยทุ ธศาสตรช์ าติ
3. สรปุ ภาพรวมงบประมาณ
3.1 งบประมาณตามแผนงาน
งบประมาณปี 2564 สาํ นกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกจิ ได้รบั จดั สรรทงั้ สิน้ จาํ นวน
175.8935 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจากปงี บประมาณ 2563 จาํ นวน 50.1974 ลา้ นบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 39.94
โดยงบประมาณจําแนกตามแผนงานตา่ งๆ ดังน้ี
สํานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 45
วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
แผนงาน หน่วย : ลา้ นบาท
รวมท้ังสิ้น
1. แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ งบประมาณ ร้อยละ
2. แผนงานพ้ืนฐาน 175.8935 100
71.2106 40.5
2.1 แผนงานพน้ื ฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั
104.6829 59.5
ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 1 (ขาวคาดส้ม) ปี 2563
3.2 งบประมาณตามงบรายจา่ ย
หน่วย : ลา้ นบาท
แผนงาน / ผลผลติ หรอื โครงการ งบบคุ ลากร งบดาเนินการ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนุน งบรายจา่ ยอน่ื เงินนอก งปม. รวม
รวมทง้ั สน้ิ 70.7785 40.3322 49.3761 - 15.4067 - 175.8935
แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ 70.7785 0.4321 - - - 71.2106
แผนงานพน้ื ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถ 39.9001 -
ในการแข่งขัน - 49.3761 15.4067 - 104.6829
ผลผลิตท่ี 1 การพฒั นารัฐวิสาหกจิ
หลักทรัพย์ของรัฐและการร่วมลงทุนระหว่าง - 39.9001 49.3761 - 15.4067 104.6829
ภาครัฐและเอกชน
ที่มา : เอกสารงบประมาณ
4. ข้อมูลรายงานการเงนิ
หนว่ ย : ลา้ นบาท
การแสดงฐานะการเงนิ 2561 2562 เพม่ิ (ลด) รอ้ ยละ
สินทรัพย์ 2,277,747.1603 2,246,802.3187 -30,944.8416 -1.4
หนส้ี ิน 3,447.7605 3,576.6163 128.8558 3.7
ทุน 2,274,299.3997 2,243,225.7023 -31,073.6974 -1.4
ที่มา : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สืบคน้ ขอ้ มลู เมอื่ วันท่ี 3 ก.ค. 2563
การแสดงผลการดําเนินงาน 2561 2562 เพิม่ (ลด) หน่วย : ล้านบาท
18,741.8133
รายได้ 670.8994 19,412.7127 ร้อยละ
-171.7838 2,793.5
คา่ ใช้จา่ ย 604.9815 433.1977 18,913.5972 -28.4
28,692.7
รายได้สูงกวา่ ค่าใชจ้ า่ ยสทุ ธิ 65.9178 18,979.5150
ทมี่ า : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สบื คน้ ข้อมูลเมอ่ื วันท่ี 3 ก.ค. 2563
สาํ นักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 46
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลงั
5. ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณประจาปงี บประมาณ 3 ปียอ้ นหลัง (พ.ศ. 2561 – 2563)
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบิกจ่าย (ลา้ นบาท)
ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทุน รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
132.797 7.847 140.644 128.679 96.89 7.167 91.33 135.846 96.58
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
งปม. หลงั โอนฯ (ลา้ นบาท) เบิกจ่าย (ล้านบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทนุ รวม
จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
124.531 26.388 150.920 118.833 95.42 25.905 17.16 144.738 95.90
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ วันที่ 31 พ.ค. 2563
งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบิกจ่าย (ล้านบาท)
ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทนุ รวม
จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
114.261 11.685 125.946 68.622 60.05 - - 68.622 54.48
ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง
ประสทิ ธภิ าพการเบิกจ่ายรายจา่ ยลงทุนลดตํา่ ลงมาก
6. ขอ้ สังเกต/ความเห็นของ PBO
6.1 งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เพม่ิ ขนึ้ จากปกี ่อนหนา้ จานวนมาก
สํานกั งบประมาณของรฐั สภาไดต้ รวจสอบวงเงนิ งบประมาณรายจ่ายประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสาํ นักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกจิ พบวา่ ได้รับจดั สรร จํานวน 175.8935 ล้านบาท เพมิ่ ขึ้นจาก
ปีกอ่ นหน้า ร้อยละ 39.94 โดยงบประมาณทเ่ี พมิ่ ข้ึนโดยสว่ นใหญ่มาจากแผนงานพน้ื ฐานดา้ นการสรา้ ง
ความสามารถในการแขง่ ขัน ผลผลิตการพฒั นารัฐวิสาหกิจ หลักทรัพยข์ องรฐั และการรว่ มลงทุนระหว่างภาครัฐ
และเอกชน รายการงบลงทุน ดงั น้ี (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบบั ท่ี 3 เลม่ ท่ี 2 หน้า 116)
สํานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 47
วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 : กระทรวงการคลัง
ดังน้ัน จงึ มีความจําเป็นอยา่ งยิ่งท่ีจะต้องตรวจสอบเกย่ี วกับรายการภายใต้งบลงทนุ ดังกล่าววา่ มคี วาม
จาํ เปน็ หรือไม่ อยา่ งไร มีความซํา้ ซอ้ นกับการดําเนินการอ่ืนหรอื ไม่ อย่างไร เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณ
รายจา่ ยเปน็ ไปอยา่ งประหยัดและมปี ระสิทธภิ าพต่อไป
สาํ นกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 48