PBO
สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
กำรวเิ ครำะห์แนวทำงกำรเพ่ิม
ประสทิ ธภิ ำพกำรจดั ทำงบประมำณ
ในลกั ษณะบูรณำกำรเชิงยทุ ธศำสตร์
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิม่ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณ
ในลักษณะบูรณาการเชิงยทุ ธศาสตร์
เร่ือง การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสิทธภิ าพการจัดทางบประมาณ
ฉบับที่ ในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
จดั พิมพค์ รั้งท่ี
จานวนหน้า 7/2563
จานวนพิมพ์
จดั ทาโดย 1/2563
ท่ปี รกึ ษา 103 หน้า
ผจู้ ัดทา
พิมพ์ท่ี 100 เลม่
สานักงบประมาณของรฐั สภา
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร
ถนนประดิพัทธ์ แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
นายนพรัตน์ ทวี ผู้บังคบั บัญชาสานักงบประมาณของรฐั สภา
นางณิชา รักจอ้ ย นกั วิเคราะหง์ บประมาณชานาญการพิเศษ
สานักการพิมพ์
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร
ถนนประดิพทั ธ์ แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400
โทรศัพท์ 0-2244-2116, 2117
โทรสาร 0-2244-2122
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิ่ม แบบสารวจความพงึ พอใจตอ่ เอกสารวชิ าการ
ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณ ของสานักงบประมาณของรฐั สภา (PBO)
ในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์ สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร
การวเิ คราะห์แนวทางเพม่ิ ประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
คำนำ
การจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการขับเคลื่อนแผน
ยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายรัฐบาลในประเด็นหรือเรื่องท่ีมีความจาเป็นเร่งด่วน และเกิดผลสัมฤทธ์ิ
ที่ประชาชนจะได้รับประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย และเป็นกลไกหนึ่ง
ท่ีใช้ในการเชื่อมโยงภารกิจ และการดาเนินงานของส่วนราชการและกระทรวงต่าง ๆ เพื่อช่วยให้การจัดสรร
ทรพั ยากรมปี ระสทิ ธภิ าพ ลดปัญหา ความซาซอ้ นและการสินเปลืองทรพั ยากร
สานักงบประมาณของรัฐสภา มีหน้าท่ีสนับสนุนการดาเนินงานด้านวิชาการให้กับ
ฝ่ายนิติบัญญัติ เพื่อให้การพิจารณาอนุมัติร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี มีประสิทธิภาพ
จึงได้จัดทารายงานการศึกษา เร่ือง “การวิเคราะห์แนวทางเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดทางบประมาณในลักษณะ
บูรณาการเชิงยุทธศาสตร์” ฉบับนีเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ซ่ึงผู้ศึกษาใช้วิธี
การศึกษาค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลในระดับทุติยภูมิ จากเอกสาร บทความ อินเตอร์เน็ต กฎหมาย/ระเบียบ/
คาสั่ง เอกสารวิชาการ รายงานประจาปี งานวิจัยของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับแผนงานบูรณาการโดยมี
วัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษา ขันตอนการจัดทางบประมาณในลักษณะแผนงานบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2564 ศึกษาผลการดาเนินงาน ปัญหา / อุปสรรค จากการดาเนินงานตามแผนงาน
บูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ และจัดทาข้อเสนอแนะ แนวทางเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดทางบประมาณในลักษณะ
บูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานวิชาการฉบับนีจะเป็นข้อมูลให้ฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่
คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี คณะกรรมาธิการสามญั ฯ และ
สมาชกิ รัฐสภาท่ีสนใจ นาขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชน์ประกอบการพจิ ารณางบประมาณรายจ่ายทเ่ี ก่ียวข้องกับการจัดทา
งบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชิงยุทธศาสตร์ตอ่ ไป
ณชิ า รกั จ้อย
สานักงบประมาณของรฐั สภา
มถิ ุนายน 2563
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ก สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
บทสรุปผู้บริหำร
กำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยบูรณำกำร เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตร์ชาติ
และนโยบายรัฐบาลในประเด็นหรือเร่ืองท่ีมีความจาเป็นเร่งด่วน และเกิดผลสัมฤทธ์ิท่ีประชาชนจะได้รับ
ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย และเป็นกลไกหนึ่งที่ใช้ในการเช่ือมโยง
ภารกิจ และการดาเนินงานของส่วนราชการและกระทรวงต่าง ๆ เพื่อช่วยให้การจัดสรรทรัพยากรมี
ประสิทธิภาพ ลดปัญหา ความซาซ้อนและการสินเปลืองทรัพยากร ดังนัน การจัดทางบประมาณในลักษณะ
บูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ จึงมีจุดมุ่งหมายเพ่ือใช้แผนงานบูรณาการเป็นกลไกขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติและ
นโยบายเร่ืองสาคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ให้บังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัด
คมุ้ ค่า และไม่ซาซอ้ น
แผนงำนบูรณำกำร หมายถึง งบประมาณรายจ่ายที่ตังไว้สาหรับแผนงานบูรณาการท่ีคณะรัฐมนตรีอนุมัติ
โดยมีหน่วยรับงบประมาณตังแต่ 2 หน่วยขึนไป (ต่างกระทรวง) ร่วมกันรับผิดชอบดาเนินการ ซึ่งประกอบด้วย
เป้าหมายร่วม วัตถุประสงค์ ระยะเวลาดาเนินการท่ีชัดเจน สามารถวัดผลสัมฤทธ์ิได้ รวมทังภารกิจของหน่วยรับ
งบประมาณที่เป็นเจ้าภาพหลักและหน่วยรับงบประมาณท่ีเก่ียวข้อง เพื่อเกิดความรวดเร็ว ประหยัด และ
ลดความซาซอ้ น ในลักษณะ Project Based
1. กำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยบูรณำกำร และมอบหมำยผู้มีอำนำจกำกับแผนงำนบูรณำกำรประจำปี
งบประมำณ พ.ศ. 2564
ตามระเบียบว่าด้วยการโอนงบประมาณรายจ่ายบูรณาการและงบประมาณรายจ่ายบุคลากร
ระหว่างหน่วยรับงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 31 กรกฎาคม 2562
และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันที่ 6 สิงหาคม 2562 เห็นชอบหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทางบประมาณ
รายจ่ายบูรณาการและแผนงานบูรณาการ ตามมาตรา 31 ของพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ
พ.ศ. 2561 เพื่อให้การจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการของหน่วยรับงบประมาณสามารถขับเคล่ือน
ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) แผนการปฏิรูปประเทศ เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน กรอบ
แนวคิดการพัฒนาประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 แผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติและนโยบาย
เร่งด่วนของรัฐบาล โดยมกี รอบแนวทางในการดาเนินงานท่ชี ดั เจน ดังนี
1.1 การจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงบประมาณได้
พิจารณาแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 23 ประเด็น กาหนดให้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 14 แผนงาน ประกอบด้วย 1) แผนงานต่อเนื่องจากปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 จานวน 13 แผนงานบูรณาการ 2) ปรับเปลี่ยนจากแผนงานบูรณาการเป็นแผนยุทธศาสตร์ จานวน
2 แผนงานบูรณาการ ได้แก่ แผนงานบูรณาการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ และแผนงาน
บูรณาการจดั การมลพิษและสิ่งแวดล้อม 3) แผนงานบูรณาการใหม่ จานวน 1 แผนงานบูรณาการ คือ แผนงาน
บูรณาการรัฐบาลดจิ ิทัล
1.2 มอบหมายผู้มีอานาจกากับแผนงานบูรณาการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เห็นสมควร
มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยให้มีคณะกรรมการ จานวนทังสิน 5 คณะ (จานวน 11 ชุดย่อย/13 แผนงาน) ซึ่งมี
หน้าท่ีและอานาจ กาหนดหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ ขอบเขตภารกิจ เป้าหมายร่วม แนวทางการดาเนินงาน
ตัวชีวัด หน่วยรับงบประมาณท่ีเป็นเจ้าภาพหลักในแต่ละเป้าหมาย และหน่วยรับงบประมาณที่เกี่ยวข้องให้
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร ข สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิ่มประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
ครอบคลุม ครบถ้วน สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการท่ีคณะรัฐมนตรีให้
ความเห็นชอบแล้ว พิจารณาโครงการ กิจกรรมและงบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ของแผนงานบูรณาการที่ได้รับมอบหมาย จัดทาข้อเสนอการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และแสดงผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ
ตามกรอบระยะเวลาของการดาเนินการ พร้อมจัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณสง่ สานัก
งบประมาณ ประสานหน่วยรับงบประมาณท่ีเกี่ยวข้องให้จัดทา เพ่ือให้การจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชน
เปน็ สาคญั
1.3 การจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยแผนงานบูรณาการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 – 2564
ปงี บประมาณ 2564 มกี ารจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยแผนงานบูรณาการ ตามยทุ ธศาสตร์ชาติ
จานวน 6 ยุทธศาสตร์ รวม 14 แผนงาน วงเงินทังสิน 257,877.8610 ล้านบาท เพิ่มขึนจากปีงบประมาณ 2563
(วงเงิน 230,058.4944 ล้านบาท) จานวน 27,819.3666 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 12.09 แผนงานบูรณาการ
ทไ่ี ดร้ บั การจัดสรรสูงสุด 5 แผนงาน ตามลาดบั ดังนี
1) แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ จานวน 109,023.7907 ล้านบาท
รอ้ ยละ 42.28
2) แผนงานบูรณาการบริหารจดั การทรัพยากรนา จานวน 66,738.2278 ล้านบาท ร้อยละ 25.88
3) แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก จานวน 22,712.6774 ล้านบาท ร้อยละ 8.81
4) แผนงานบรู ณาการเขตพฒั นาพนื ที่ระดบั ภาค จานวน 22,189.5131 ล้านบาท ร้อยละ 8.60
5) แผนงานบูรณาการขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ จานวน 9,371.6785
ล้านบาท คดิ เป็นสดั ส่วนรอ้ ยละ 3.77
2. ผลกำรเบิกจำ่ ยงบประมำณรำยจ่ำยแผนงำนบูรณำกำร ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2563
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 มีผลการเบกิ จ่ายงบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการตามแผนการเบิกจ่าย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2563 จานวน 44,895.9306 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 19.52
ซึ่งการเบิกจ่ายแผนงานบูรณาการส่วนใหญ่เบิกจ่ายไม่เป็นไปตามแผน สืบเนื่องจากการจัดทางบประมาณ
รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีความล่าช้า โดยแผนงานบูรณาการที่การเบิกจ่ายต่าสุด 5 แผนงาน
ตามลาดับ ดงั นี
1) แผนงานบูรณาการจัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อมได้รับจัดสรรงบประมาณ จานวน
405.5301 ลา้ นบาท เบิกจ่ายจานวน 13.1952 ลา้ นบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 3.25
2) แผนงานบูรณาการพัฒนาพืนท่ีระดับภาค ได้รับจัดสรรงบประมาณ จานวน 20,305.1198
ล้านบาท เบกิ จ่ายจานวน 2,150.4923 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 10.59
3) แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ได้รับจัดสรรงบประมาณ จานวน
3,018.4466 ลา้ นบาท เบกิ จา่ ยจานวน 463.2445 ลา้ นบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 15.35
4) แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ได้รับจัดสรรงบประมาณ จานวน
95,374.9769 ลา้ นบาท เบิกจ่ายจานวน 15,129.4058 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 15.86
5) แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนาได้รับจัดสรรงบประมาณ จานวน
58,796.2131 ล้านบาท เบิกจ่ายจานวน 9,619.9211 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.36
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ค สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
3. ปัญหำ อุปสรรคในกำรดำเนนิ งำนแผนงำนบูรณำกำร
3.1 ข้อจากัดของการบูรณาการในแนวดิ่ง (vertical integration) พบว่า ที่ผ่านมายุทธศาสตร์ของประเทศ
ยงั ไม่มีความชดั เจนที่จะใช้เปน็ พิมพ์เขียวให้หน่วยงานตา่ ง ๆ ใช้ในการดาเนินการเพ่ือการพัฒนาได้อย่างแทจ้ ริง แต่
ละหน่วยงานมีการตังเป้าหมายท่ีแตกต่างกัน และความสอดคล้อง (alignment) ระหว่างยุทธศาสตร์ของชาติกับ
ภารกิจของหน่วยงานยังมีข้อจากัด เป้าหมายหลักของกระทรวง กรมต่างๆ อาจไม่สอดคล้อง แต่รายละเอียดของ
ผลผลิต/โครงการ ยังคงเป็นภารกิจในลักษณะท่ีส่วนราชการเคยปฏิบัติมากกว่ามุ่งเน้นเชิงนโยบายของรัฐบาล
การจดั ทางบประมาณจึงไมส่ ามารถสะทอ้ นถึงภารกจิ ของชาตแิ ละภารกจิ ของหน่วยงานไดอ้ ย่างเต็มที่
3.2 ข้อจากัดการบูรณาการในแนวนอน (horizontal integration) การประสานงานระหว่าง
หน่วยงานกลางของภาครัฐ ขาดการเชื่อมโยงเพือ่ ขับเคลื่อนร่วมกันอย่างเป็นระบบ ยังไม่มีรปู แบบวิธีปฏิบัติ
ในการประสานงานระหว่างเจ้าภาพหลักกับหน่วยงานต่างๆ ขาดการวางแผนร่วมกนั ระหว่างหน่วยงาน
3.3 ข้อจากัดของโครงสร้างและสถานภาพของส่วนราชการ เน่ืองจากส่วนราชการมีความเป็น
นิติบุคคล และมีภารกิจหน้าท่ีความรับผิดชอบตามกฎหมายจัดตังโดยชัดเจน และโครงสร้างของส่วน
ราชการที่ใช้หลักการแบ่งตามหน้าท่ี (functional structure) ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการบูรณาการข้าม
กระทรวง ซ่ึงแต่ละส่วนราชการมุ่งเน้นการดาเนินงานในภารกิจในส่วนท่ีตนเองรับผิดชอบตามกฎหมาย
มากกว่าการให้ความสาคญั กับการนาสง่ ผลผลิต/ผลลพั ธร์ ว่ มกนั กับสว่ นราชการอื่น
3.4 ข้อจากัดของกลไกบริหารจัดการ ท่ีผ่านมา รัฐบาลได้แต่งตังให้มีรองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรี
ทาหน้าท่ีดูแลนโยบายแต่ละด้าน ซ่ึงรองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมายมีภารกิจที่ค่อนข้างมาก
และจากความไม่แน่นอนทางการเมือง จึงขาดความต่อเนื่องนอกจากนีการบริหารจัดการในรูปแบบ
คณะกรรมการ ทาให้เกิดข้อจากัดของกลไกการจัดการงบประมาณบูรณาการในเชิงปฏิบัติในขันตอนต่าง ๆ
ดงั นี
1) การจดั การงบประมาณเชิงบรู ณาการ เป็นการรวบรวมข้อมูลงบประมาณรายจ่ายจากคาขอ
งบประมาณของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเป็นเรื่องที่หน่วยงานสนใจมากกว่าที่จะบูรณาการการทางานให้เกิ ด
สมั ฤทธผ์ิ ลอย่างแทจ้ ริง
2) ตัวชีวัดที่แสดงในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี ยังไม่สามารถสะท้อน ประสิทธิผล
ความสาเร็จของงานไดอ้ ย่างแทจ้ ริง
3) ขาดการบูรณาการขาลง ภายหลงั จากทไ่ี ดร้ บั การจัดสรรงบประมาณแลว้
4) กลไกในการบริหารจัดการขาดความชัดเจน ส่วนใหญ่การจัดการงบประมาณเชิงบูรณาการ
มักจะเป็นรูปคณะกรรมการ ยังขาดการจัดวางระบบการบริหารจัดการรองรับ ตลอดจนความสนใจและ
ความจรงิ จงั ของหน่วยงานเจ้าภาพและผทู้ เ่ี ก่ยี วข้องอยใู่ นระดบั ไมส่ งู มากนกั
5) ยังไม่มีการประเมินผลงบประมาณเชิงบูรณาการเพ่ือนาข้อมูลมาใชใ้ นการจัดทางบประมาณ
ในปีต่อไป
4. ข้อเสนอแนะของ PBO
แนวทางการปรบั ปรุงการจัดการงบประมาณเชิงบรู ณาการจากปัญหาการจัดการงบประมาณเชงิ บรู ณาการ
ตามนโยบายสาคัญของรฐั บาลข้างต้น ผู้ศกึ ษาจงึ ได้วิเคราะห์ผลจากการถอดบทเรยี นจากเอกสารวชิ าการ ของสานัก
งบประมาณของรัฐสภา ทัง 9 เรื่อง และจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และการดูงานในพืนที่ และได้นาแนวทางและ
หลักเกณฑ์ การปรับปรุงการจัดการงบประมาณเชิงบูรณาการจากข้อเสนอในการสัมภาษณ์ เจ้าหน้าท่ีหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง นามาเป็นแนวทางการเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ดังนี
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร ง สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
1) การกาหนดประเด็นการบูรณาการเพ่ือจัดทาแผนงานงบประมาณ
1.1) การกาหนดประเด็นการจัดทางบประมาณแผนงานบูรณาการ ควรเป็นเรื่องที่มี
ความสาคัญจาเป็นเร่งด่วน และเกีย่ วข้องกับยทุ ธศาสตร์ของประเทศโดยตรง โดยเฉพาะประเด็นเร่งด่วนในช่วง
5 ปี แรกของยุทธศาสตร์ชาติ การขับเคลื่อนแผนแม่บทไปสู่การปฏิบัติในช่วง 5 ปีแรกของยุทธศาสตร์ชาติ
เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองสถานการณ์ความจาเป็นของประเทศ และความ
ตอ้ งการของประชาชน
1.2) ควรมีการจัดทาแผนบูรณาการในแต่ละด้านของประเด็นการจัดทางบประมาณแผนงาน
บูรณาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่มีความชัดเจน เพ่ือใช้สาหรับการจัดสรรงบประมาณแผนงานบูรณาการ
ซ่ึงประกอบด้วยวัตถุประสงค์ ภารกิจ เป้าหมายท่ีคาดหวังในเวลาท่ีกาหนดและหน้าที่ของแต่ละหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม ควรมีการปฏิรูปการจัดทาแผนของภาครัฐไม่ให้มีความซับซ้อนมากเกินไปด้วย
เพราะจะยากต่อการบรู ณาการ
1.3) การจัดการงบประมาณแผนงานบูรณาการ ควรมีการดาเนินการอย่างครบวงจรตังแต่
การจัดทางบประมาณเชิงบูรณาการ การบริหารงบประมาณเชิงบูรณาการ และการติดตามประเมินผล
งบประมาณเชิงบูรณาการ โดยมีกลไกกากับดูแลในแต่ละขันตอน ตลอดจนมีการติดตามประเมินผลและนาผล
การประเมินมาใชใ้ นการจดั ทางบประมาณเชงิ บรู ณาการในปตี ่อไป
1.4) การบูรณาการในระดับพืนที่ เพอื่ แสดงให้เห็นถึงพืนที่และกลุม่ เป้าหมายซง่ึ หน่วยงานตา่ ง ๆ
มีการดาเนินภารกิจอย่างชัดเจน อันจะเป็นการลดความซาซ้อนในการดาเนินงาน โดยมีการเปิดโอกาสให้
ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วมในกระบวนการงบประมาณระดับพนื ท่ีดว้ ย
1.5) การบูรณาการในการใช้ทรัพยากร ที่ผ่านมาจะเป็นการจัดทาเพียงเฉพาะงบประมาณท่ี
ได้รับการจัดสรรจากสานักงบประมาณเท่านันอย่างไรก็ตาม การดาเนินการดังกล่าวยังไม่ได้แสดงให้เห็น
งบประมาณจากแหล่งอื่น เช่น เงินรายได้ของหน่วยงาน การบริจาค และการกู้เงินเพ่ือมาดาเนินงาน ดังนัน หาก
จะทาให้เกิดการบูรณาการอย่างแท้จริง แผนการบูรณาการควรจะต้องมีการแสดงแหล่งท่ีมาของทรัพยากรของ
หนว่ ยงานต่าง ๆ ดว้ ย
1.6) การบูรณาการในมิติของเวลา ควรมีการกาหนดเป้าหมายและระยะเวลาดาเนินการให้
ชัดเจน และเพ่ือให้เกิดความต่อเน่ืองในการดาเนินงานจนบรรลุผลด้วยข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเป้าหมายการทา
งบประมาณเชิงบูรณาการประกอบด้วย 3 มิติคือ มิติของวาระ (agenda) มิติของหน้าท่ี (function) และมิติของ
พืนท่ี (area) ในแต่ละมิติ
2) การกาหนดเป้าหมาย ตัวชวี ัด และแนวทางการดาเนินงาน
2.1) หน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรร่วมกันพิจารณากาหนดเป้าหมาย
ผลลัพธ์และตัวชีวัดร่วมกัน (Joint KPIs) ของแผนงานบูรณาการ เพ่ือไม่ให้เกิดการทางานท่ีซาซ้อนและมี
การใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า รวมถึงเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนและภาคประชาสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมใน
การดาเนนิ งานเพอื่ ขบั เคลือ่ นใหแ้ ผนงานบูรณาการ ฯ เกดิ ผลสาเร็จอยา่ งแท้จริง
2.2) ตัวชีวัดแผนงานบูรณาการ ฯ ควรกาหนดให้สามารถแสดงถึงผลสาเร็จ / ผลลัพธ์ของการ
ดาเนินงานของหน่วยงานร่วมดาเนินงานของหน่วยงานร่วมดาเนินการภายใต้แผนงานบูรณาการ ฯ ทังในเชิง
ปรมิ าณและเชิงคุณภาพให้แสดงถงึ ผลสาเร็จ / ผลลัพธท์ ่เี กดิ จากการดาเนนิ
3) ควรให้ฝ่ายนิติบัญญัติตังคณะกรรมาธิการเพื่อติดตามผลการดาเนินงานและการใช้จ่าย
งบประมาณของแผนงานบูรณาการเป็นการเฉพาะ เพ่ือให้สามารถติดตาม ตรวจสอบการดาเนินงานให้บรรลุผล
สัมฤทธ์ิตามเปา้ หมายยุทธศาสตร์อย่างมปี ระสิทธภิ าพ คุ้มค่า และไม่ซาซ้อน
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร จ สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิม่ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
4) คณะกรรมกำรขับเคลื่อนแผนงำนบูรณำกำร
การใช้กลไกในรูปแบบคณะกรรมการซ่ึงมีรองนายกรัฐมนตรีมาเป็นประธาน นับเป็นกลไก
ที่สร้างเสริมความเข้มแข็งในการบูรณาการได้เป็นอย่างดี แต่ในขณะเดียวกันควรมีการสร้างกลไกการ
ประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เหมาะสม เช่น การจัดตังคณะกรรมการ/คณะทางานร่วมท่ีมีขนาดไม่ใหญ่นักใน
ทกุ ระดับเพ่ือเป็นหลักประกันของการทางานที่ยั่งยืน หรือในกรณีที่เกิดมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองจะได้ช่วย
ให้งานบูรณาการดาเนินตอ่ ไปได้ในการดาเนนิ งานแผนงานบูรณาการระหวา่ งหนว่ ยงาน ให้เกิดประสิทธภิ าพ ควร
มีการกาหนด และให้ความสาคัญกับทุกขันตอน ตังแต่ขันตอนการวางแผนการทางาน ขันตอนการบูรณาการ
ขอ้ มลู ขันตอนการบริหาร ตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการทางาน
จากอานาจหน้าท่ีข้างต้นจะเห็นได้ครอบคลุมการทางานในลักษณะบูรณาการแต่ในทางปฏิบัติ
ยังไม่ครอบคลุมการดาเนินงานตามอานาจหน้าท่ีในทุกประเด็น โดยเฉพาะในเร่ืองการแต่งตังคณะอนุกรรมการ
หรือคณะทางานในการปฏิบัติงานซึ่งยังไม่ได้มีการดาเนินการ เนื่องจากคณะกรรมการชุดใหญ่มีการมอบหมายให้
หน่วยงานเจ้าภาพไปดาเนินการ แล้วนาผลการดาเนินงานมาเสนอคณะกรรมการฯ เพื่อพิจารณา ซึ่งยังขาดกลไก
ในมิติกลยุทธ์ มิติอานาจหน้าที่ มิติการประสานงาน มิติการบริหารจัดการข้อมูล มิติด้านการบริหารบุคลากร
และมิติด้านการการเช่ือมโยงบูรณาการระหว่างแผนงานทังนี ในเร่ืองของการติดตามการดาเนินงานหน่วยงาน
เจ้าภาพยังไม่มีศักยภาพในการเชิญหน่วยงานเข้ามาให้ข้อมูลรายละเอียดข้อคิดเห็นหรือปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึน
ระหว่างดาเนินการ จึงทาให้มีความคลาดเคล่ือน ตลอดจนผลการดาเนินงานตามแผนบูรณาการมีความล่าช้า
ส่งผลต่อความสาเร็จของเป้าหมายดังนันเพื่อให้การจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์บรรลุ
วตั ถุประสงค์และเกิดการบูรณาการการทางานและงบประมาณให้เกิดขึนอย่างแท้จริง ผู้ศึกษำจึงมีควำมเห็นว่ำ
ควรให้มีกำรแต่งต้ังคณะอนุกรรมกำร หรือคณะทำงำนเพื่อเป็นกลไกในกำรขับเคลื่อนให้กำรดำเนินกำร
แผนงำนบูรณำกำรเป็นจริงตำมควำมประสงค์ของรัฐบำล โดยให้มีคณะอนุกรรมกำรภำยใต้คณะกรรมกำร
พจิ ำรณำกำรจดั ทำงบประมำณในลกั ษณะบูรณำกำรเชิงยุทธศำสตร์ คณะใหญ่ ดังนี
1) คณะอนุกรรมกำรจัดทำแผน กำหนดกรอบและแนวทำงกำรจัดทำงบประมำณใน
ลักษณะบูรณำกำรเชิงยุทธศำสตร์ ประกอบด้วย หัวหน้าหน่วยรับงบประมาณเจ้าภาพหลักเป็นประธาน
อนุกรรมการ มีผู้แทนหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเป็นกรรมการ
และผู้แทนหน่วยงานกลางได้แก่ สานักงบประมาณ สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบงาน และสภาความมั่นคงแห่งชาติ ทังนีฝ่ายเลขานุการฯ ให้ประธาน
อนกุ รรมการพิจารณาหน่วยงานในสงั กดั ตามความเหมาะสม โดยให้มอี านาจหน้าที่ ดังนี
(1) ทาการวางแผนการทางานเชิงบูรณาการระหว่างหน่วยงานตามแผนงานบูรณาการที่
รับมอบหมายทจ่ี ะนาไปสกู่ ารดาเนนิ ที่มปี ระสิทธิภาพ และบรรลุผลสาเร็จได้ตามท่ีกาหนดต่อไป
(2) วางแนวทาง หลักเกณฑ์ และวิธีการดาเนินการ จัดการประชุมเพื่อกาหนดโจทย์
/ งานท่ีต้องดาเนินการ / ปัญหาที่ต้องการแก้ไข ทบทวนบริบทแวดล้อมอย่างรอบด้านและกาหนดผลลัพธ์
สุดท้าย (End) ในการดาเนินงานท่ีชัดเจน ทังเป้าหมายระยะสันและระยะยาว ให้สามารถวัดได้อย่าง
ครอบคลุมเป้าหมายเชิงผลผลิต (Measure of Performance: MOP) และเป้าหมายเชิงผลลัพธ์สุดท้าย
(Measure of Effectiveness: MOE)
(3) กาหนดกรอบและแนวทางการดาเนินงาน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบเขตภารกิจ
และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับประเด็นการจัดทางบประมาณ ในลกั ษณะบูรณาการให้ครอบคลุมครบถ้วน โดยเน้น
เป้าหมายของแผนงานบูรณาการ และการทางานท่ีมีลักษณะเป็นเครือข่ายร่วมกัน เพ่ือให้การบูรณาการเป็นไป
อยา่ งมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สงู สุด
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ฉ สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพม่ิ ประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
(4) กาหนดตัวชีวัด เป้าหมายตามแนวทางของแผนงานบูรณาการฯ ให้สามารถแสดงถึง
ผลสาเร็จ/ ผลลัพธ์ และผลสัมฤทธ์ิของการดาเนินงานของหน่วยรับงบประมาณร่วม ทังในเชิงปริมาณและเชิง
คณุ ภาพอยา่ งชัดเจน
(5) มอบหมายหน่วยรับงบประมาณ ดาเนินการรับผิดชอบตัวชีวัดในแต่ละแนวทางโดย
แบ่งหน้าที่การทางานให้ชัดเจนเพ่ือไม่ให้เกิดการทางานที่ซาซ้อน รวมถึงวิธีการปฏิบัติ หรือแนวทางในการ
ทางาน / แกไ้ ขปัญหา อย่างละเอียดรอบดา้ นทุกขันตอน เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามที่กาหนด
(6) จัดการประชุม ชีแจง ถ่ายทอดภารกจิ เปา้ หมาย ตัวชีวัด ขันตอนกระบวนการทางาน
ตลอดถึงแนวทางการจัดทาคาของบประมาณ ใหก้ บั หนว่ ยงานปฏบิ ัติต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วข้อง
(7) ให้แต่งตังคณะทางาน ประกอบด้วย คณะทางานกล่ันกรองแผนงานโครงการตาม
แผนงานบูรณาการตามจานวนแนวทางของแผนบูรณาการ เพือ่ ทาหนา้ ทีก่ ล่ันกรองแผนงานโครงการกิจกรรมและ
งบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการ ตามแนวทางที่ได้รับมอบหมาย โดยพิจารณาเป้าหมายและตัวชีวัดของ
แผนงาน/โครงการ ให้สอดคล้องกบั เป้าหมายและตัวชีวดั ตามแนวทาง ตลอดจนความเหมาะสมของงบประมาณใน
แต่ละแผนงาน/โครงการ และจัดทาข้อเสนอการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ประจาปีประมาณ พ.ศ. ....
และแสดงผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณตามกรอบระยะเวลาของการ
ดาเนินการ พร้อมจัดทาแผนแม่บทระยะปานกลางและระยะยาว วัตถุประสงค์ แผนการปฏิบัติงานและแผนการ
ใช้จา่ ยงบประมาณ สง่ สานกั งบประมาณ
(8) คณะอนุกรรมการจัดทาแผน ฯ นี จะเสร็จสินภาระหน้าที่หลงั มีการรายงานผลสาเร็จ
/ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงเป็นที่เรยี บร้อย หรือตามที่รัฐบาลจะกาหนดเปน็ อย่างอื่นต่อไป
2) คณะอนุกรรมกำรบริหำรงบประมำณ ติดตำมและประเมินผล ทาหน้าที่บริหาร กากับ
ดูแลการปฏิบัติงาน ติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ และตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานบูรณาการ ให้
เป็นไปตามระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง ด้วยความโปรง่ ใสและถูกต้องปราศจากการทุจริต รวมทังบูรณาการการทางานใน
ทุกมิติ ทังในระดับพืนท่ีและหน่วยรับงบประมาณที่เกี่ยวข้องตามแผนงานบูรณาการ เพ่ือเกิดประสิทธิภาพและ
คุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ และเกิดผลสัมฤทธ์ิในการบริหารรายจ่ายบูรณาการให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์
ตามแผนงานบูรณาการประกอบด้วย หัวหน้าส่วนราชการเจ้าภาพหลักเป็นประธานอนุกรรมการ มีผู้แทน
หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับประเด็นการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการ เป็นกรรมการ ทังนีฝา่ ยเลขานุการฯ
ใหป้ ระธานอนุกรรมการพจิ ารณาหน่วยงานในสงั กัดตามความเหมาะสม โดยใหม้ ีอานาจหน้าท่ี ดงั นี
(1) จัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณของโครงการตามแผนงาน
บูรณาการ
(2) บริหาร กากับ ดูแลการปฏิบัติงานการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานบูรณการให้
เป็นไปตามระเบียบท่ีเก่ียวข้อง ด้วยความโปร่งใสและถูกต้องปราศจากการทุจริต รวมทังบูรณาการการทางานใน
ทุกมิติ ทังในระดับพืนที่และหน่วยรับงบประมาณที่เกี่ยวข้องตามแผนงานบูรณาการ เพ่ือเกิดประสิทธิภาพและ
คุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ และเกิดผลสัมฤทธ์ิในการบริหารรายจ่ายบูรณาการให้บรรลผุ ลตามวัตถุประสงค์
(3) ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของหน่วยดาเนินการ ซึ่งกาหนดรายละเอียด
ของข้อมูล รวมถึงรูปแบบ ระบบการติดตามและประเมินผล โดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับการติดตาม
ประเมินผลการดาเนินงานที่มีความเช่ือมโยงกันของข้อมูลและตัวชีวัดทุกระดับ ตังแต่ระดับผลผลิตผลลัพธ์ และ
ผลกระทบ หรือมีศูนย์กลางในการประสานและสั่งการ (War Room) เพ่ือให้เกิดเอกภาพในการพิจารณาส่ังการ
และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึนในระหว่างการดาเนินงาน โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งต้องมีการติดตาม
การทางานอย่างต่อเนื่องและจริงจังในการแก้ไขปัญหา
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร ช สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพม่ิ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
(4) กาหนดแนวทาง การรายงานผลการดาเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณอย่าง
เป็นระบบและอยู่ภายในเงื่อนไขเวลาท่ีกาหนด เพื่อให้มีการติดตามผลการดาเนินงานที่ถูกต้อง ครบถ้วน และ
สมบูรณ์มากย่ิงขึน เพื่อรายงานต่อหน่วยงานกลาง เช่น สานักงบประมาณ สานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ สานักงาน ก.พ.ร. เปน็ ตน้
(5) ให้แต่งตังคณะทางานบริหารงบประมาณ และติดตามและประเมินผล แผนงาน
โครงการตามแผนงานบูรณาการเพ่ือทาหน้าที่ประสาน จัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ
ให้สอดคล้องกับตัวชีวัด เป้าหมาย ตามแนวทางและระยะเวลาที่กาหนด ตลอดจนติดตามและประเมินผลการ
ดาเนินงานตามตวั ชีวดั และคา่ เปา้ หมายท่ีกาหนด
(6) รายงานผลสัมฤทธ์ิของการดาเนินงานตามแผนงานบูรณาการ ตลอดจนปัญหาและ
อปุ สรรคตอ่ คณะกรรมการพจิ ารณาการจัดทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชิงยุทธศาสตร
4.4 แนวทำงกำรบริหำรแผนงำนบูรณำกำรในมติ ิตำ่ งๆ
แผนงานบูรณาการที่มีฝ่ายบริหารกากับการดาเนินงานจะต้องมีเอกภาพในการพิจารณา
สั่งการ (Unity of Command) และกาหนดให้มีศูนย์กลางในการประสานงานและสั่งการ (War Room) โดยมี
การประชุมหารือระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องอย่างต่อเน่ืองและจริงจัง เพ่ือกาหนดเป้าหมาย แนวทาง
การดาเนินงาน และแผนการปฏิบัติงานร่วมกันว่าโครงการใดควรดาเนินการก่อนหลังเพ่ือให้การดาเนินงานมี
ความเชื่อมโยงกันทังต้นนา กลางนา ปลายนา โดยคานึงถงึ ศักยภาพของแตล่ ะหน่วยงาน ทังนี เจ้าภาพจะต้อง
ทาหน้าท่ีเป็นผู้ประสานงานเชิงยุทธศาสตร์กับฝ่ายบริหารท่ีกากับ ดูแล หน่วยงานกลาง และหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องภายใต้แผนงานบูรณาการ ตลอดจนกากับการดาเนินงานและติดตามประเมินผล เพื่อให้ทราบ
ความสาเร็จของแผนงาน โดยกาหนดห้วงระยะเวลาการประเมินผลที่ชัดเจน เช่น ระยะ 1 ปี 3 ปี หรือ 5 ปี
หากบรรลุผลสาเร็จแล้ว หรือมีรายได้เพียงพอท่ีจะดาเนินการได้ด้วยตนเอง จะได้นาเงินไปสนับสนุนโครงการ
สาคญั อ่ืน ๆ เพ่ือไม่เป็นภาระที่ภาครฐั จะต้องสนบั สนนุ งบประมาณตลอดไป ในการนีเห็นควรให้ฝ่ายนิติบัญญัติ
ตังคณะกรรมาธิการเพื่อติดตามผลการดาเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณของแผนงานบูรณาการเป็น
การเฉพาะ เพื่อให้สามารถติดตาม ตรวจสอบการดาเนินงานให้บรรลุผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมายยุทธศาสตร์อย่าง
มีประสิทธภิ าพ ค้มุ ค่า และไม่ซาซ้อน
4.5 แนวทำงกำรตดิ ตำม ประเมนิ ผลกำรดำเนินงำนแผนงำนบรู ณำกำร
สานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้กาหนดระเบียบว่าด้วยการติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผล การดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562
เพื่อเป็นการบูรณาการ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล นโยบาย แผนงาน โครงการภาครัฐ
(One Report) เห็นภาพรวมการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ตังแต่ระดับพืนที่ จนระดับนโยบายเป็น
เคร่ืองมือในการบริหารจัดการ นโยบาย (ทุกขันตอน Policy cycle) เป็นระบบฐานข้อมูลกลางท่ีสามารถ
เช่ือมโยงข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องได้อย่างเป็นบูรณาการ ลดขันตอนระหว่างหน่วยงาน ลดการใช้กระดาษ มุ่งสู่
Digital Government จึงไดน้ าระบบระบบตดิ ตามและประเมินผลแห่งชาติ (e-MENSCR) มาใช้ในการนี
การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นการดาเนินการตาม
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562 และระบบ
ติดตามและประเมินผล กาหนดให้หน่วยรับงบประมาณ และเจ้าภาพแผนงานบูรณาการ รายงาน
การปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณผ่านระบบฐานข้อมูลแผนผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่าย
งบประมาณ (BB EvMis) ตามระยะเวลาที่กาหนดอย่างเคร่งครัด แต่ในปัจจุบัน พบว่า มีหน่วยรับงบประมาณ
ดาเนินการไม่ครบถ้วน เห็นสมควรให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดหรือรัฐมนตรีซ่ึงกฎหมายกาหนดให้มีหน้าท่ีกากับหรือ
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร ซ สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิ่มประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
ควบคุมกิจการของหน่วยรับงบประมาณ หรือรองนายกรัฐมนตรีท่ีมีหน้าท่ี อานาจควบคุมกากับการจัดทา
แผนงานบูรณาการ หรือผู้มีอานาจกากับแผนงานบูรณาการ ที่มีหน้าท่ีกากับ ดูแลการปฏิบัติงาน ติดตาม
ประเมินผลสัมฤทธิ์ และตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานบูรณาการ ให้เป็นไปตามระเบียบท่ี
เก่ียวข้อง ด้วยความโปร่งใสและถูกต้องปราศจากการทุจริต รวมทังบูรณาการการทางานในทุกมิติ ทังในระดับ
พืนทแ่ี ละหน่วยรับงบประมาณท่ีเก่ียวข้องตามแผนงานบูรณาการ เพ่อื เกิดประสิทธภิ าพและคมุ้ ค่าในการใช้จา่ ย
งบประมาณ และเกิดผลสัมฤทธ์ิในการบริหารรายจ่ายบูรณาการให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ โดยเน้นกากับดู
ลการรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ รวมทังปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
ให้ครบถ้วนต่อไป
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร ฌ สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
สำรบญั
คานา ก
บทสรปุ ผบู้ ริหาร ข
สารบญั ฑ
สารบัญตาราง ญ
สารบัญภาพ ฎ
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา 1
1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา 3
1.3 ขอบเขตของการศึกษา 3
1.4 วธิ กี ารศึกษา 3
1.5 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 4
1.6 นิยามศัพท์ 4
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เก่ยี วข้อง 6
2.1 กฎหมายทเี่ ก่ียวข้อง 6
2.2 แนวคิด ทฤษฎที เ่ี กีย่ วข้องกับการบูรณาการ 9
2.3 แนวคดิ ทเี่ กย่ี วข้องกบั กระบวนการจดั ทางบประมาณ 18
บทที่ 3 ผลการดาเนินงานแผนงานบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์ 28
3.1 วิวัฒนาการแผนงานบูรณาการ 28
3.2 ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่าย
3.3 การจัดทางบประมาณรายจ่ายตามแผนงานบรู ณาการ 36
บทที่ 4 ผลการศกึ ษา 54
4.1 ผลการศกึ ษาและติดตามการจดั ทางบประมาณแผนงานบูรณาการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561 54
4.2 ผลการสารวจการดาเนินงานแผนงานบรู ณาการของสว่ นราชการ 58
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร ญ สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
สำรบัญ (ตอ่ )
บทท่ี 5 บทสรปุ และข้อเสนอแนะ 66
5.1 บทสรปุ 66
5.2 ข้อเสนอแนะ 69
80
บรรณานกุ รม
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร ฎ สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
สำรบัญตำรำง
ตำรำงท่ี 38
1 เปรยี บเทียบงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2564 39
2 ผลการดาเนนิ งานงบประมาณแผนงานบรู ณาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 44
3 โครงการสาคัญรองรบั ประเด็นเร่งด่วนในช่วง 5 ปี แรกของยทุ ธศาสตร์ 45
4 การจัดสรรงบประมาณตามแผนงานบรู ณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 -2563
5 ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการประจาปีงบประมาณ 46
พ.ศ. 2563 ไตรมาสที่ 2 48
6 แผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
7 รายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 48
ไตรมาสท่ี 2 (ไมร่ วมงบกลาง) 50
8 การโอนงบประมาณรายจ่ายบูรณาการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 53
9 งบประมาณรายจา่ ยบูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร ฏ สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
สำรบัญแผนภำพ
แผนภำพท่ี 25
1 องคป์ ระกอบของระบบงบประมาณแบบมุ่งเนน้ ผลงานตามยุทธศาสตร์ 37
2 กระบวนการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชิงยุทธศาสตร์ 38
3 เปรยี บเทียบงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2564 41
4 การขบั เคล่ือนแผนแมบ่ ทไปสกู่ ารปฏบิ ัติในชว่ ง 5 ปแี รก ของยุทธศาสตรช์ าติ
5 ความเชื่อมโยงการทางานของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ 76
ขับเคลอื่ นแผนงานบรู ณาการ 78
6 โครงสรา้ งระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (e-MENSCR)
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ฐ สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพมิ่ ประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปัญหำ
ยุทธศาสตร์เพ่ือการพัฒนาประเทศนับว่ามีความสาคัญยิ่ง เพราะเป็นการกาหนดทิศทางของประเทศ
ไทยในอนาคต ยุทธศาสตร์หลายเรื่องมักเป็นเรื่องใหญ่ที่มีความซับซ้อนที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลาย
หน่วยงาน ในหลายกระทรวงดาเนินการเพื่อให้บรรลุผลตามยุทธศาสตร์ที่กาหนด เช่น การลดปัญหาความ
ยากจน การจัดการนา การจัดการท่ี ดิน และการดาเนินการตามกรอบประชาคมอาเซียน และรัฐบาลมีนโยบาย
ให้ความสาคัญในการบูรณาการงบประมาณเพื่อขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายเรื่องสาคัญเร่งด่วนของ
รัฐบาล ให้บังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพ ประหยัดและไม่ซาซ้อน และเพ่ือให้กระบวนการจัดทา
งบประมาณเป็นเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด และกากับ ดูแล ติดตามการปฏิบัติภารกิจ
และส่งเสริมให้กระทรวงและหน่วยงานทางานร่วมกันในลักษณะประสานเชื่อมโยงแบบเครือข่ายที่นาไปสู่การ
บรรลุจุดมุ่งหมายทิศทางเดียวกันสามารถตอบสนองต่อนโยบายให้การใช้จ่ายงบประมาณประสิทธิภาพ และเกิด
ประโยชนส์ ูงสดุ
การจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการเป็นเครือ่ งมือสาคัญในการขับเคล่ือนแผนยุทธศาสตรช์ าติ และ
นโยบายรัฐบาลในประเด็นหรือเรื่องท่ีมีความจาเป็นเร่งด่วน และเกิดผลสัมฤทธิ์ที่ประชาชนจะได้รับประโยชน์
อย่างเป็นรูปธรรม สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมาย และเป็นกลไกหนึ่งท่ีใช้ในการเช่ือมโยงภารกิจ และ
การดาเนนิ งานของส่วนราชการและกระทรวงต่าง ๆ เพื่อชว่ ยให้การจัดสรรทรัพยากรมีประสทิ ธภิ าพ ลดปัญหา
ความซาซ้อนและการสินเปลืองทรัพยากร ดังนัน การจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีจุดมุ่งหมายเพ่ือใช้แผนงานบูรณาการเป็นกลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ
และนโยบายเร่ืองสาคัญเร่งด่วนของรัฐบาล ให้บังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม เป็นไปอย่างมีประสิทธิภ าพ
ประหยัด คุ้มค่า และไม่ซาซ้อน โดยได้กาหนดให้มีการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
จานวน 14 เร่ือง / แผนงาน (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีจานวน 15 เร่ือง/แผนงาน) ที่สอดคล้องกับกรอบ
ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ทงั 6 ยทุ ธศาสตร์ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 นโยบายความมนั่ คง
แห่งชาติ และนโยบายสาคัญของรัฐบาล เพื่อใช้แผนงานบูรณาการเป็นกลไกขับเคลื่อนการดาเนินงานของ
หน่วยงานให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ท่ีได้กาหนดไว้ โดยมีวัตถุประสงค์ของแผนงานเป็น
กรอบในการดาเนินงานมีจุดมุ่งหมายให้แผนงานบูรณาการทาหน้าที่เชื่อมโยงภารกิจและการดาเนินงานของ
หน่วยงานท่ีมีเปา้ หมายวตั ถุประสงค์และตัวชวี ดั ร่วมกนั
และจากข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สภาผู้แทนราษฎร “การจัดสรรงบประมาณ
รายจ่ายประเภทแผนงานบูรณาการ ขาดการกาหนดกระบวนการทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบระหว่าง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมาย ส่วนใหญ่ยังเป็นการมุ่งเน้นการทางานในภารกิจของตัวเอง
แผนงานโครงการเฉพาะของหน่วยงานที่ตนเองรับผิดชอบ ไม่ได้แสดงถึงกระบวนการทางานตังแต่ต้นนา กลางนา
และปลายนา อย่างชัดเจนตามหลักบูรณาการอย่างแท้จริง บางหน่วยงานท่ีร่วมดาเนินการไม่เข้าใจเป้าหมาย
ตัวชีวัด แนวทางการดาเนินงานของแผนงานบูรณาการ ทาให้การกาหนดแผนงาน โครงการ และกิจกรรมไม่มี
ความสอดคล้อง จึงไม่สามารถบรรลุเป้าหมายและตัวชีวัดที่กาหนดไว้ ขาดการประสานงานระหว่างผู้แทนของ
หน่วยงานกลางท่ียังไม่มีความเข้าใจในภารกิจของหน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานร่วมดาเนินการซึ่งเป็นเร่ือง
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 1 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
เทคนิคเฉพาะด้านของแต่ละหน่วยงานที่ ไม่สอดคล้องกัน ส่งผลต่อการกาหนดเป้าหมาย แนวทางการดาเนินงาน
และตัวชีวัดของแผนงานบูรณาการ รวมถึงการจัดสรรงบประมาณให้กับโครงการ / กิจกรรมของแต่ละหน่วยงาน
หน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานร่วมดาเนินการยังไม่มีความเข้าใจในหลักการบริหารราชการแบบบูรณาการ
โครงการ / กิจกรรมภายใต้แนวทางการดาเนินงานเท่าท่ีควร ทาให้โครงการ / กิจกรรมภายใตแ้ ผนงานบูรณาการ
ยังคงเป็นงานตามภารกิจเฉพาะที่แต่ละหน่วยงานรับผิดชอบตามพันธกิจท่ีกฎหมายกาหนดในลักษณะต่างคน
ต่างทา ดังนัน จะเห็นได้ว่า ตัวชีวัดแนวทางการดาเนินงานของแผนงานบูรณาการจึงมีเฉพาะตัวชีวัดเชิงปริมาณ
เท่านัน ซ่ึงไม่สามารถสะท้อนถึงภาพรวมการทางานของทุกหน่วยงานได้ รวมถึงการบริหารงบประมาณ ท่ีไม่
เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณท่ีกาหนดไว้ ซึ่งอาจมีผลกระทบมาจากระเบียบ
การบริหารงบประมาณรายจ่ายสาหรับแผนบูรณาการ พ.ศ. 2562 ในการเพ่ิมขันตอนการขออนุมัติดาเนินการ
กรณีท่ีไม่เป็นไปตามแผนปฏิบัติงานฯ ทาให้การดาเนินการและการเบิกจ่ายงบประมาณในแผนงานบูรณาการ
ล่าช้า จึงต้องสร้างความเข้าใจ และเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติท่ีชัดเจนต่อหน่วยงานที่เก่ียวข้องให้เป็นไปใน
ทิศทางเดยี วกัน เพ่อื ให้การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปอย่างถูกต้อง ทันเวลา และเกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสุด
จากปัญหาและข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สภาผู้แทนราษฎร และจากปัญหาของ
หน่วยงานเจ้าภาพหลักและหน่วยงานร่วมดาเนินการท่ีประสบปัญหา และจานวนแผนงานบูรณการเชิง
ยุทธศาสตร์มีจานวนมากและมีความซาซ้อนกัน บางบูรณาการซาซ้อนกับภารกิจพืนฐานของหน่วยงาน และบาง
บูรณการไม่มีการกาหนดระยะเวลาสินสุดที่ชัดเจน ทาให้โครงการท่ีดาเนินการเปรียบเสมือนภารกิจประจาท่ี
หน่วยงานต้องดาเนินการ และที่สาคัญคือ การสนับสนุนจากฝ่ายการสภานิติบัญญัติที่จะต้องเป็นตัวขับเคลื่อน
เพราะถอื เปน็ เครื่องมือในการแปลงยุทธศาสตร์ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ทิ ่ีเปน็ รูปธรรมมากท่ีสุด
ด้วยเหตุนี ผู้ศึกษาในฐานะนักวิเคราะห์งบประมาณในสังกัดสานักงบประมาณของรัฐสภา สานักงาน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ซ่งึ มหี น้าท่ีในการศึกษา วเิ คราะห์ วิจัย จดั ทารายงานดา้ นเศรษฐกิจ การเงินการ
คลัง และการงบประมาณ ติดตามตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณของรัฐบาลให้เป็นไปอย่างเหมาะสม และ
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบ จึงได้
ทาการศึกษาความเป็นมา แนวคิด ความเชื่อมโยงและการประสานแผนงานในลักษณะบูรณาการเชิง
ยุทธศาสตร์ ซ่ึงการดาเนินงานตามแผนงานบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์เป็นประเด็นที่ดาเนินการตามนโยบาย
สาคัญ เร่งด่วน ของรัฐบาล รวมทังกระบวนการ ขันตอนการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี
พ.ศ. 2563 – 2564 และผลการดาเนินงานท่ีผ่าน ปัญหา อุปสรรคของการดาเนินงานตามแผนงานบูรณาการ
เชิงยุทธศาสตร์โดยนาเอกสารรายงานวิชาการ “การศึกษาวิเคราะห์แผนงานบูรณาการปี 2560-2561” ของ
สานักงบประมาณของรัฐสภา จานวน 9 เรื่องมาศึกษา เพ่ือนาไปสู่การจัดทารายงานทางวิชาการ เรื่อง“กำร
วิเครำะห์แนวทำงเพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรจัดทำงบประมำณในลักษณะบูรณำกำรเชิงยุทธศำสตร์” ใน
การเสนอแนะและแนวทางให้การจัดทางบประมาณเป็นไปตามนโยบายสาคัญเร่งด่วน ให้บรรลุเป้าหมาย
ภารกิจ ตัวชีวดั ท่ีชัดเจน มีผลสัมฤทธ์ิที่เน้นประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด ทังนี เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนการ
พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปีของฝ่ายนิติบัญญัติ และเพื่อเปน็ ประโยชนต์ ่อบุคคล
ประชาชนทีส่ นใจตอ่ ไป
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 2 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่ิมประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
1.2 วตั ถุประสงคข์ องกำรศึกษำ
1.2.1 เพ่ือศึกษา ขันตอนการจัดทางบประมาณในลักษณะแผนงานบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563-2564
1.2.2 เพ่ือศึกษาผลการดาเนินงาน ปัญหา / อุปสรรค จากการดาเนินงานตามแผนงานบูรณาการเชิง
ยทุ ธศาสตร์
1.2.3 เพ่ือจัดทาข้อเสนอแนะ แนวทางเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดทางบประมาณในลักษณะ
บูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
1.3 ขอบเขตของกำรศกึ ษำ
1.3.1 ศึกษาขันตอนการจัดทางบประมาณในลักษณะแผนงานบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2564
1.3.2 ศกึ ษา ความหมาย และแนวคิด ความเช่ือมโยงและการประสานแผนงานในลักษณะบูรณาการ
เชิงยุทธศาสตร์
1.3.3 ศึกษาผลการดาเนินงาน ปัญหา / อุปสรรค จากการดาเนินงานและข้อจากัดของการ
ดาเนินงานตามแผนบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ โดยถอดบทเรยี นจากรายงานเอกสารวชิ าการ “การวิเคราะห์
แผนงานบูรณาการ ฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561” ท่ีผ่านมาของสานักงบประมาณของ
รฐั สภา จานวน 9 เร่อื ง
1.4 วธิ ีกำรศึกษำ
การศึกษา เรื่อง“กำรวิเครำะห์แนวทำงเพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรจัดทำงบประมำณในลักษณะ
บูรณำกำรเชิงยุทธศำสตร์” เป็นการศึกษาวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้วิธีศึกษาจาก
เอกสาร (Documentary Research) จากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ประกอบด้วย แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ.2561 -2580) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) นโยบายและแผน
ระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ.2560 – 2564) นโยบายสาคัญเร่งด่วนของรัฐบาล กฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคับ หลักการแนวคิด บทความ รายงานประจาปี รายงานผลการดาเนินงาน และข้อมูลเชิงสถิติที่เก่ียวข้อง
ประกอบกับข้อมูลภาคสนาม (Field Data) ท่ีได้จากการสัมภาษณ์ผลการดาเนินงานจากหน่วยงานต่างๆ ที่
เก่ียวข้อง เพือ่ นาไปสู่การวิเคราะหแ์ ละจัดทาข้อเสนอแนะ โดยมขี ันตอนการดาเนินการ ดังนี
1) ศึกษาข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสาร / แนวคิด ที่เกี่ยวข้อง เช่น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี หลักเกณฑแ์ ละแนว
ทางการจัดทางบประมาณแบบบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ เอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี เอกสารต่าง ๆ
ของหน่วยงาน รวมทังกฎหมายและระเบียบท่ีเกย่ี วข้อง
2) ศึกษาข้อมูลปฐมภูมิ จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่หน่วยงานท่ีเป็นเจ้าภาพหลัก และหน่วยงาน
สนับสนุน จานวน 7 หน่วยงาน ประกอบด้วย สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย สานักงานปลัดกระทรวง
กลาโหม สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กรม
ทรัพยากรนา สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ และสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย โดยกาหนดประเดน็ การสัมภาษณ์ ดงั นี
- หน่วยงานท่านเป็นหนว่ ยงานเจา้ ภาพหลัก/หนว่ ยงานสนับสนุน
- ทา่ นไดม้ ีส่วนรว่ มในการกาหนดเป้าหมาย ตวั ชวี ดั ในแผนงานบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ท่เี กย่ี วข้องหรือไม่ อย่างไร
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 3 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพมิ่ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
- หน่วยงานทา่ นดาเนินการแผนงานบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตรอ์ ะไรบา้ ง และมผี ลการดาเนินงาน
ปญั หา อุปสรรคและแนวทางแกไ้ ขอยา่ งไร
- ท่านมขี ้อเสนอและในการพิจารณาการดาเนนิ งานตามแผนงานบรู ณาการเชิงยุทธศาสตร์
อยา่ งไร
- ท่านคิดว่าควรมีแนวทางการบูรณาการข้อมูลที่เชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
การประเมนิ ผลการดาเนนิ การแผนงานบรู ณาการเชิงยทุ ธศาสตร์อย่างไร
3) วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา เพื่อวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน ปัญหา / อุปสรรค
จากการดาเนินงานตามแผนบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
4) จัดทาข้อเสนอแนะ และแนวทางเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณา
การเชิงยุทธศาสตร์ และพัฒนาการขบั เคล่อื นการดาเนนิ งานตามแผนงานบรู ณาการเชิงยทุ ธศาสตร์
1.5 ประโยชนท์ ค่ี ำดวำ่ จะไดร้ ับ
1) ทราบผลการดาเนินงานแผนบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ว่ามีความเหมาะสม สอดคล้องกับ
แนวทาง เป้าหมาย ตัวชีวัด และเกิดผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ ฯ หรือไม่ อย่างไร รวมทังปัญหา
อปุ สรรคและข้อจากัดในการดาเนินงานตามแผนบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ เพ่ือนาไปสู่แนวทางแก้ไขปัญหา
ในการดาเนินงานตามนโยบายดงั กลา่ วของรัฐบาลในโอกาสตอ่ ไป
2) ข้อเสนอแนะ แนวทางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิง
ยทุ ธศาสตร์ และพฒั นาการขบั เคล่ือนการดาเนินงานตามแผนงานบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
3) การจัดทาแผนงานบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์สามารถดาเนนิ การตามนโยบายสาคัญเร่งด่วนให้บรรลุ
เป้าหมาย ภารกจิ ตวั ชีวดั ทีช่ ดั เจน มีผลสมั ฤทธ์ทิ เ่ี นน้ ประเทศชาติและประชาชนไดร้ บั ประโยชนส์ ูงสดุ
1.6 นยิ ำมศัพท์
กำรบูรณำกำร (Integration) หมายถึง การประสานกลมกลืนกันของแผน กระบวนการ
สารสนเทศ การจัดสรรทรัพยากร การปฏิบัติการ ผลลัพธ์ และการวิเคราะห์ เพื่อสนับสนุนเป้าประสงค์ที่
สาคัญขององค์กร การบูรณาการท่ีมีประสิทธิผล เป็นมากกว่าความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน
(Alignment) และจะสาเร็จได้ก็ต่อเมื่อการดาเนินการของแต่ละองค์ประกอบภายในระบบการจัดการ
ผลการดาเนินการมีความเช่ือมโยงกันเป็นหน่ึงเดียวอย่างสมบูรณ์ หมายถึง แผนงานท่ีต้องดาเนินการให้
สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ หรือยุทธศาสตร์สาคัญที่คณะรัฐมนตรีกาหนดให้หน่วยงานรับงบประมาณ
ตงั แต่ 2 หนว่ ยงานขนึ ไป รว่ มกนั วางแผนกาหนดเป้าหมาย ตัวชวี ัด และแผนการปฏิบตั งิ าน และการใชจ้ ่าย
งบประมาณ เพื่อลดความซาซ้อน มีความประหยัดและคุ้มค่า สามารถบรรลุเป้าหมายและเกิดผลสัมฤทธ์ิ
ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องแผนงานบรู ณาการ
ยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี หมายถึง เป้าหมายระยะยาวในการพัฒนาประเทศ เพื่อใช้เป็นกรอบในการ
กาหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของคณะรัฐมนตรีก่อนท่ีจะเข้ามาบริหารประเทศ และก่อนท่ีจะมีการ
จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติและแผน
ระดับอ่ืน ๆ รวมทังการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน
ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง (2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (3)
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (4) ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาส
และความเสมอภาคทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับ
สงิ่ แวดลอ้ ม และ (6) ยุทธศาสตรช์ าติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 4 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิ่มประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
ยุทธศำสตร์ หมายถึง ทิศทาง นโยบาย และกระบวนการที่องค์การตัดสินใจเลือก เก่ียวกับการ
บริหารจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดเพื่อตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วน
เกยี่ วข้อง โดยมอี นาคตเป็นตัวกาหนด”
นโยบำยรัฐบำลหรือนโยบำยสำธำรณะ หมายถึง แนวทางกิจกรรม การกระทา หรือการเลือก
ตัดสินใจของรัฐบาล ซ่ึงรัฐบาลได้ทาการตัดสินใจและกาหนดไว้ล่วงหน้า เพ่ือชีนาให้มีกิจกรรมหรือการ
กระทาต่าง ๆ เกิดขึน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีได้กาหนดไว้ โดยมีการวางแผน การจัดทาโครงการ วิธีการ
บริหารหรือกระบวนการดาเนินงาน ให้บรรลุวัตถุประสงค์ในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง ด้วยวิธีปฏิบัติงานที่ถูกต้อง
เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง และความต้องการของประชาชน ผู้ใช้บริการในแต่ละเร่ือง
(องั กฤษ : public policy)
แผนงำนบูรณำกำร หมายถึง แผนงานที่ต้องดาเนินการให้สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ หรือ
ยุทธศาสตร์สาคัญที่คณะรฐั มนตรีกาหนดให้หน่วยรับงบประมาณตังแต่สองหน่วยงานขึนไปร่วมกันวางแผน
กาหนดเปา้ หมาย ตัวชีวัด และแผนการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณร่วมกันเพ่ือลดความซาซ้อน มี
ความประหยัดและคุม้ คา่ สามารถบรรลุเปา้ หมาย เกิดผลสัมฤทธติ์ ามวตั ถุประสงค์ของแผนงานบูรณาการ
หน่วยงำนเจำ้ ภำพ หมายถงึ หนว่ ยงานเจา้ ภาพหลักของแผนงานบรู ณาการ
หน่วยงำนร่วมดำเนินกำร หมายถึง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐท่ีร่วม
ดาเนนิ การในแผนงานบูรณาการ
หน่วยรับงบประมำณ หมายถึง ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐที่ได้รับจัดสรร
เงินงบประมาณในแผนงานบรู ณาการ
หน่วยงำนกลำง หมายถึง สานักงบประมาณ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สงั คมแห่งชาติ สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และสานักงานสภาความมนั่ คงแหง่ ชาติ
รองนำยกรัฐมนตรี หมายถึง รองนายกรฐั มนตรีที่ไดร้ บั มอบหมายให้กากับดูแลแผนงานบรู ณาการ
รัฐมนตรี หมายถึง รัฐมนตรีท่ีได้รับมอบหมายให้กากับดูแลแผนงานบูรณาการ
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 5 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมท่เี กี่ยวข้อง
การศึกษาวิเคราะห์แนวทางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิง
ยทุ ธศาสตร์ ใช้แนวคิด ทฤษฎี และกฎหมายท่เี ก่ียวข้องในการศึกษาดงั นี
2.1 กฎหมำยทีเ่ กย่ี วข้อง
2.1.1 รฐั ธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจกั รไทย พ.ศ. 2560 (รำชกิจำนุเบกษำ, 2561, น. 20 และ น. 41)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 65 บัญญัติไว้ รัฐพึงจัดให้มี
ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพ่ือใช้เป็นกรอบใน
การจัดทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน อันจะก่อให้เกิดเป็นพลังผลักดนั ร่วมกันไปสเู่ ป้าหมาย
ภายในระยะเวลา 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
มำตรำ 77 วรรคสอง กาหนดให้ก่อนกาตรากฎหมายทุกฉบับมรฐั พึงจัดให้มีการรับฟังความ
คดิ เหน็ ของผทู้ ่เี กย่ี วขอ้ ง วิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึนจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทัง
เปิดเผยผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์นันต่อประชาชน และนามาประกอบการพิจารณาใน
กระบวนการตรากฎหมายทุกขันตอนเมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้แล้ว รัฐพึงจัดให้มีการประเมินผลสัมฤทธ์ิ
ของกฎหมายทุกรอบระยะเวลาที่กาหนด โดยรับฟังความคิดเห็นของผู้เก่ียวข้องประกอบด้วย เพื่อพัฒนา
กฎหมายทุกฉบบั ใหส้ อดคล้องและเหมาะสมกับบริบทตา่ ง ๆ ท่เี ปลย่ี นแปลงไป
มำตรำ 140 การจ่ายเงินแผ่นดิน จะกระทาได้เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วย
งบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือกฎหมายเกี่ยวด้วยการโอนงบประมาณ
กฎหมายว่าด้วยการเงินการคลัง หรือกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ เว้นแต่ในกรณีจาเป็น
รบี ด่วนจะจ่ายไปก่อนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีเช่นวา่ นี ต้อง
ตังงบประมาณรายจ่ายชดใช้ในพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่าย หรือพระราชบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายเพ่ิมเตมิ หรอื พระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณถัดไป
มำตรำ 141 งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินให้ทาเป็นพระราชบัญญัติ ถ้าพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณออกไม่ทันปีงบประมาณใหม่ ให้ใช้กฎหมายว่าด้วยงบประมาณ
รายจ่ายในปงี บประมาณปกี ่อนนันไปพลางก่อน
รฐั ต้องจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอกับการปฏิบัติหน้าที่โดยอิสระของรัฐสภา ศาล องค์กร
อิสระและองค์กรอัยการ ทังนี ตามหลักเกณฑ์ท่ีบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐใน
กรณีท่ีเห็นว่างบประมาณท่ีได้รบั จัดสรรอาจไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติหน้าที่ รัฐสภา ศาล องค์กรอิสระ หรือ
องคก์ รอยั การจะยนื่ คาขอแปรญัตตติ ่อคณะกรรมาธิการโดยตรงก็ได้
มำตรำ 142 ในการเสนอร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณต้อง
แสดงแหล่งท่ีมาและประมาณการรายได้ ผลสัมฤทธ์ิหรือประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการจ่ายเงินและ
ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาต่าง ๆ ทังนี ตามหลักเกณฑ์ท่ีบัญญัติไว้ในกฎหมายว่า
ด้วยวนิ ยั การเงนิ การคลังของรัฐ
ม ำต รำ 143 ร่างพ ระราช บั ญ ญั ติงบ ป ระม าณ รายจ่ายป ระจาปี งบ ป ระมาณ
ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม และร่างพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่าย สภา
ผ้แู ทนราษฎรจะตอ้ งพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในหนึง่ ร้อยห้าวันนับแต่วนั ทีร่ ่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมาถึง
สภาผู้แทนราษฎร
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 6 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
ถ้าสภาผู้แทนราษฎรพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินันไม่แล้วเสร็จภายในกาหนดเวลาตาม
วรรคหนึ่งให้ถือว่าสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบกับร่างพระราชบัญญัตินัน และให้เสนอร่างพระราชบัญญั ติ
ดงั กล่าวต่อวฒุ สิ ภาเพื่อพจิ ารณา
ในการพิจารณาของวุฒิสภา วุฒิสภาจะต้องใหค้ วามเหน็ ชอบหรือไม่ให้ความเหน็ ชอบภายใน
ยี่สิบวันนับแต่วันที่ร่างพระราชบัญญัตินันมาถึงวุฒิสภา โดยจะแก้ไขเพิ่มเติมใด ๆ มิได้ ถ้าพ้นกาหนดเวลา
ดังกล่าวให้ถือว่าวุฒิสภาเห็นชอบกับร่างพระราชบัญญัตินัน ในกรณีเช่นนีและในกรณีท่ีวุฒิสภาให้ความ
เห็นชอบให้ดาเนนิ การตอ่ ไปตามมาตรา 81
ถ้าวุฒิสภาไม่เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว ให้นาความในมาตรา 138 วรรค
สอง มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม โดยใหส้ ภาผู้แทนราษฎรยกขนึ พิจารณาใหม่ไดท้ ันที
ระยะเวลาตามวรรคหน่ึงและวรรคสาม มิให้นับรวมระยะเวลาท่ีศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา
ตามมาตรา 144 วรรคสาม
มำตรำ 144 ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพ่ิมเติม และร่างพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่าย
สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรจะแปรญัตติเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขเพิ่มเตมิ รายการหรือจานวนในรายการมไิ ด้ แต่
อาจแปรญัตตใิ นทางลด หรือตัดทอนรายจ่ายซึง่ มใิ ชร่ ายจา่ ยตามขอ้ ผูกพนั อย่างใดอย่างหนง่ึ ดังต่อไปนี
(1) เงินสง่ ใชต้ ้นเงินกู้
(2) ดอกเบียเงินกู้
(3) เงนิ ท่ีกาหนดให้จ่าตามกฎหมาย
ในการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือคณะกรรมาธิการ การเสนอ การแปร
ญตั ติ หรือการกระทาด้วยประการใด ๆ ท่ีมีผลให้สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร สมาชิกวฒุ ิสภาหรอื กรรมาธกิ าร
มีสว่ นไม่วา่ โดยตรงหรอื ทางอ้อมในการใช้งบประมาณรายจา่ ย จะกระทามิได้
ในกรณีที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา มีจานวนไม่น้อยกว่าหน่ึงในสิบของ
จานวนสมาชิกทงั หมดเท่าท่ีมีอยู่ของแต่ละสภา เห็นว่ามกี ารกระทาทฝี่ ่าฝืนบทบัญญัตติ ามวรรคสองให้เสนอ
ความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญเพ่ือพิจารณา และศาลรัฐธรรมนูญต้องพิจารณาวินิจฉัยให้แล้วเสร็จภายในสิบ
ห้าวันนับแต่วันที่ได้รับความเห็นดังกล่าว ในกรณีท่ีศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ามีการกระทาท่ีฝ่าฝืน
บทบัญญัติตามวรรคสอง ให้การเสนอ การแปรญัตติ หรอื การกระทาดังกล่าวเป็นอันสินผล ถ้าผู้กระทาการ
ดังกล่าวเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา ให้ผู้กระทาการนันสินสุดสมาชิกสภาพนับแต่
วนั ท่ี ศาลรัฐธรรมนูญมีคาวนิ ิจฉัย และให้เพิกถอนสิทธิสมคั รรับเลือกตังของผู้นัน แต่ในกรณีท่ีคณะรฐั มนตรี
เป็นผู้กระทาการหรืออนุมัติให้กระทาการหรือรู้ว่ามีการกระทาการดังกล่าวแล้วแต่มิได้สั่งยับยัง ให้
คณะรัฐมนตรีพ้นจากตาแหน่งทังคณะนับแตว่ ันท่ีศาลรัฐธรรมนูญมีคาวินิจฉัย และให้เพิกถอนสทิ ธิสมัครรับ
เลือกตงั ของรัฐมนตรที พี่ ้นจากตาแหนง่ นัน เวน้ แต่จะพิสจู น์ได้วา่ ตนมิไดอ้ ยู่ในท่ปี ระชุมในขณะทม่ี มี ติ และให้
ผกู้ ระทาการดังกลา่ วต้องรับผดิ ชดใช้เงนิ นนั คืนพรอ้ มดว้ ยดอกเบีย
เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้ใดจัดทาโครงการหรืออนุมัติหรือจัดสรรเงินงบประมาณโดยรู้ว่ามีการ
ดาเนินการอันเปน็ การฝ่าฝนื บทบัญญตั ิตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง ถา้ ได้บนั ทกึ ขอ้ โต้แย้งไวเ้ ปน็ หนงั สือหรือ
มหี นังสอื แจง้ ให้คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาตทิ ราบ ให้พ้นจากความรับผดิ
การเรียกเงินคืนตามวรรคสามหรือวรรคสี่ ให้กระทาได้ภายในย่ีสิบปีนับแต่วันที่มีการ
จัดสรรงบประมาณนนั
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 7 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
ในกรณีที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติได้รับแจง้ ตามวรรคส่ีให้
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติดาเนินการสอบสวนเป็นทางลับโดยพลันหากเห็น
วา่ กรณีมีมูล ให้เสนอความเห็นต่อศาลรฐั ธรรมนูญเพ่ือดาเนินการต่อไปตามวรรคสาม และไม่ว่ากรณีจะเป็น
ประการใด คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและศาลรัฐธรรมนูญหรือบุคคลใดจะ
เปิดเผยขอ้ มลู เก่ียวกับผแู้ จ้งมไิ ด้
2.1.2 พระรำชบญั ญัตวิ ินัยกำรเงินกำรคลังของรฐั พ.ศ.2561
ในการดาเนินการของหน่วยงานของรัฐในการด้านกาหนดนโยบายหรือการปฏิบั ติในแต่ละ
เรอ่ื งตอ้ งพจิ ารณาตามกรออบวนิ ยั การเงนิ การคลังในกฎหมายฉบบั นีอย่างเคร่งครดั ดังต่อไปนี
มำตรำ 6 รัฐต้องดาเนินนโยบาบการคลัง การจัดทางบประมาณ การจัดหารายได้ การใช้
จ่าย การบริหารการเงินการคลัง และการก่อหนี อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใสและตรวจสอบได้ ทังนี ตาม
หลักการรักษาเสถียรภาพและการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างย่ังยืน และหลักความเป็นธรรมในสังคมและต้อง
รักษาวินยั การเงนิ การคลงั ตามท่บี ญั ญตั ใิ นพระราชบญั ญัตนิ ีและตามกฎหมายอนื่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งอย่างเครง่ ครัด
มำตรำ 9 วรรค 2 ในการพิจารณาเรื่องที่เกี่ยวกับนโยบายการคลัง การจัดทางบประมาณ
การจัดหารายได้ การใช้จ่าย การบริหารการเงินการคลัง และการก่อหนี คณะรัฐมนตรีต้องพิจารณา
ประโยชน์ท่ีรัฐหรือประชาชนจะได้รับ ความคุ้มค่า และภาระการเงินการคลังที่เกิดขึนแก่รัฐ รวมถึงความ
เสย่ี งและความเสียหายทีอ่ าจเกดิ ขึนแกก่ ารเงินการคลังของรัฐอยา่ งรอบคอบ
คณะรัฐมนตรีต้องไม่บริหารราชการแผ่นดินโดยมุ่งสร้างความนิยมทางการเมืองที่อาจ
กอ่ ใหเ้ กิดความเสยี หายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศและประชาชนในระยะยาว
มำตรำ 19 การเสนอกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่ายประจาปีให้เป็นไปตามกฎหมาย
ว่าด้วยวิธีการงบประมาณ โดยต้องแสดงแหล่งท่ีมาและประมาณการายได้ ผลสัมฤทธ์ิหรือประโยชน์ท่ีคาด
ว่าจะไดร้ ับจากการจ่ายเงนิ และความสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาตแิ ละแผนพฒั นาต่างๆ
2.1.3 พระรำชบญั ญัตวิ ิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561
มำตรำ 14 งบประมาณรายจ่ายที่กาหนดในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี หรือ
งบประมาณรายจา่ ยเพ่ิมเติม อาจจาแนกไดด้ ังต่อไปนี
(1) งบประมาณรายจา่ ยงบกลาง
(2) งบประมาณรายจา่ ยของหนว่ ยรับงบประมาณ
(3) งบประมาณรายจ่ายบูรณาการ
(4) งบประมาณรายจ่ายบุคลากร
(5) งบประมาณรายจ่ายสาหรับทุนหมุนเวียน
(6) งบประมาณรายจ่ายเพื่อการชาระหนีภาครฐั
(7) งบประมาณรายจ่ายเพ่ือชดใช้เงินคงคลงั
(8) งบประมาณรายจา่ ยเพื่อชดใชเ้ งินทุนสารองจ่าย
การจาแนกรายจ่ายใดเป็นงบประมาณรายจ่ายตามประเภทท่ีกาหนดในวรรคหน่ึง ให้เป็นไป
ตามทผ่ี ู้อานวยการกาหนด
มำตรำ 16 งบประมาณรายจ่ายแบบบูรณาการ ได้แก่ งบประมาณรายจ่ายที่ตังไว้สาหรับ
แผนงานบูรณาการท่ีคณะรัฐมนตรีอนุมัติ โดยมีหน่วยรับงบประมาณตังแต่สองหน่วยขึนไปร่มกันรับผิดชอบ
ดาเนินการงบประมาณรายจา่ ยทตี่ งั ไว้สาหรับแผนงานบรู ณาการตามวรรคหน่ึง ต้องสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 8 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่ิมประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
มำตรำ 23 การจัดทางบประมาณต้องคานึงถึงประมาณการรายรับและฐานะทางการคลังของ
ประเทศ ความจาเป็นในการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในและภายนอกประเทศ ความเป็นธรรมทางสังคม นโยบายรัฐบาลและภารกิจ
ของหน่วยรับงบประมาณ เพอื่ ใหเ้ กิดประสิทธิภาพและความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณและเกิดผลสัมฤทธ์ิ
ในการบรหิ ารจดั การภาครัฐ
มำตรำ 25 ภายใต้บังคับมาตรา 28 ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัด หรือรฐมนตรีซึ่กฎหมายกาหนดให้มี
หน้าท่ีกากับหรือควบคุมกิจการของหน่วยรับงบประมาณ หรือรัฐมนตรีผู้รักษาการตามกฎหมายมีหน้าที่
รบั ผิดชอบในการยื่นคาขอตังงบประมาณรายจ่ายของหน่วยรับงบประมาณนันต่อผู้อานวยการ ตามหลักเกณฑ์
วิธีการและระยะเวลาทผ่ี ู้อานวยการกาหนด
การยื่นคาขอตังงบประมาณรายจ่ายตามวรรคหน่ึง อย่างน้อยต้องแสดงวัตถุประสงค์แผนการ
ปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ และให้จัดส่งรายงานเก่ียวกับเงินนอกงบประมาณ ตามหลักเกณฑ์
และวิธกี ารทผ่ี ู้อานวยการกาหนดดว้ ย
มำตรำ 31 เพื่อประโยชน์ในการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ให้มีการจัดทาแผนงาน
บูรณาการซึ่งประกอบด้วย เป้าหมายร่วม วัตถุประสงค์ งบประมาณรายจ่ายท่ีต้องใช้ในการดาเนินการ
ระยะเวลาการดาเนินการที่ชัดเจน สามารถวัดผลสัมฤทธ์ิได้ รวมทังภารกิจหน่วยรับงบประมาณที่เป็นเจ้าภาพ
หลักและหน่วยรับงบประมาณที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้เกิดความรวดเร็ว ประหยัด และลดความซาซ้อน ทังนี ตาม
หลักเกณฑ์และวธิ ีการท่ผี ู้อานวยการกาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี
มำตรำ 32 เม่ือคณะรัฐมนตรีอนุมัตแิ ผนงานบูรณาการแล้ว การจัดทางบประมาณรายจ่ายตาม
แผนงานบูรณาการ ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารทผ่ี อู้ านวยการกาหนด
2.2 แนวคิด ทฤษฎที ่ีเก่ียวข้องกับกำรบูรณำกำร
2.2.1 แนวคิดกำรบรหิ ำรแบบม่งุ เนน้ ผลสัมฤทธ์ิ (Results Based Management : RBM)
ในช่วงทศวรรษท่ี 1980 เป็นต้นมา รฐั บาลของประเทศที่พัฒนาทังในทวีปยโุ รป อเมริกา
เหนือ และออสเตรเลีย ได้เร่งปฏิรูประบบราชการทังนีเนื่องจากประเทศเหล่านันประสบปัญหาด้าน
เศรษฐกจิ ทังในเรอื่ งการแข่งขนั การค้าระหว่างประเทศ การใชจ้ า่ ยของรัฐทีม่ สี ัดส่วนสูงเมือ่ เทียบกบั รายจ่าย
รวมทังประเทศ ปัญหาการขาดดุลของงบประมาณภาครัฐและปัญหาเร่ืองความล่าช้าในการบริ การ
ประชาชน รัฐบาลของประเทศเหล่านันจึงต้องการที่จะปรับปรุงระบบการบริหารงานราชการให้มีความ
ทันสมัย ขจัดความไม่คล่องตัวทางการบริหารตลอดจนได้เปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์การบริหารแบบเดิมที่
มุ่งเน้นให้ความสาคัญต่อปัจจัยนาเข้าและกฎระเบียบมาใช้วิธีการบริหารแบบมุ่งผลสั มฤทธิ์ (Results
Based Management : RBM) เพื่อปรับเปล่ียนวิธีการบริหารรัฐกิจให้มีลักษณะเป็นอย่างภาคธุรกิจ
เอกชน (ทศพร ศิริสัมพันธ์, 2543 : 145) โดยมุ่งเน้นถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารงาน
กาหนดยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร พร้อมทังต้องสรา้ งตัวชีวัดความสาเร็จของการ
ดาเนินงานทชี่ ดั เจน และสามารถตรวจสอบได้
1) ควำมหมำยและแนวควำมคิดของกำรบรหิ ำรแบบมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ
ระบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิมักจะมีช่ือเรียกท่ีแตกต่างกันไป เช่น การบริหารงานโดย
ยึดวัตถุประสงค์ (Management by Objective : MBO) หรือการบริหารผลการดาเนินงาน (Performance
Management) ซึ่งมีแนวความคิดหลักเหมือนกัน แม้ว่าจะแตกต่างกันไปบ้างในราย ละเอียด การบริหารแบบ
มุ่งสมั ฤทธไิ์ ด้มีผู้ให้ความหมายไว้ดังต่อไปนี
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 9 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพมิ่ ประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
Canadian International Development Agency ; CIDA (1999) กล่าวว่า การบริหาร
แบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ เป็นวิธีการในการปรับปรุงการบริหารให้เกิดประสิทธิผล (Effectiveness) และโปร่งใส
สามารถตรวจสอบได้ (Accountability) โดยท่ีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย
ประเมินความเสี่ยง กากับติดตามกระบวนการดาเนินงานเพ่ือการบรรลุผลตามเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ รวมถงึ การ
มีส่วนรว่ มในการตดั สินใจทางบริหารและการรายงานผลการปฏิบัตงิ าน
ทศพร ศิริสัมพันธ์ (2543, น. 146) กล่าวว่า การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ เป็นการบริหารที่
เน้นการวางแผน การกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกลยุทธก์ ารดาเนินงานแบบมสี ว่ นรว่ ม ผบู้ ริหารในแต่
ละระดบั ขององค์การต้องยอมรับและคานงึ ถงึ ผลงาน รวมทังตอ้ งให้ความสาคญั กับการจัดวางระบบการตรวจสอบ
ผลงานและการใหร้ างวัลตอบแทนผลงาน (Performance Related)ทิพาวดี เมฆสวรรค์ (2543 : 12) ไดใ้ ห้ความ
หมาของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ ว่าเป็นการบริหารโดยมุ่งเน้นท่ีผลลัพธ์หรือความสัมฤทธ์ิผลเป็นหลัก ใช้
ระบบการประเมินผลงานท่ีอาศัยตัวบ่งชีเป็นตัวสะท้อนผลงานให้ออกมาเป็นรูปธรรม เพื่อการพัฒนาปรับปรุง
กระบวนการปฏบิ ัตงิ านให้ดยี ิง่ ขนึ และแสดงผลงานต่อสาธารณะ
จากท่ีกล่าวมาสามารถสรุปได้ว่า การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based
Management : RBM) เป็นการบริหารที่ให้ความสาคัญต่อผลการดาเนินงานและการตรวจวัดผลสาเร็จในการ
ดาเนินงานขององค์การ ทังในแง่ของปัจจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิตและผลลัพธ์ซ่ึงจะต้องมีการกาหนดตัว
บ่งชีวัดผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators : KPIs) รวมทังการกาหนดเป้าหมาย (Targets) และ
วตั ถุประสงค์ (Objectives) ไว้ล่วงหน้า โดยอาศัยการมีส่วนร่วมระหว่างผู้บริหาร สมาชิกขององค์การ และตลอด
ถงึ ผู้ท่ีมีสว่ นไดส้ ว่ นเสียกลุ่มต่าง ๆ (Stakeholders) ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการปฏบิ ัตงิ านขององค์การ
การบริหารงานของภาครัฐในอดีตจะเน้นท่ีการบริหารปัจจัยนาเข้า (Inputs) ซ่ึงได้แก่
ทรัพยากรต่าง ๆ ที่รัฐจะนามาใช้ในการปฏิบัติงาน คือ เงิน คน วัสดุ ครุภัณฑ์ต่าง ๆ โดยเน้นการทางานตาม กฎ
ระเบียบ และความถูกต้องตามกฎหมาย และมาตรฐาน แต่การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิจะเน้นที่ผลลัพธ์
(Outcomes) ของงาน โดยจะให้ความสาคัญท่ีการกาหนดพันธกิจและวัตถุประสงค์ของโครงการ / งาน
เป้าหมายท่ีชัดเจน การกาหนดผลผลิตและผลลัพธ์ที่ต้องการของทุกโครงการในองค์การให้สอดคล้องเป็นไป
ในทางเดียวกับภารกิจและวัตถุประสงค์ขององค์การ มีการกาหนดตัวบ่งชีวัดผลการทางานหลัก (Key
Performance Indicators - KPI) ไว้อย่างชัดเจน เป็นที่เข้าใจของทุกคนในองค์การ การวัดความก้าวหน้าของ
การปฏิบัติงานโดยใช้ตัวบ่งชีวัดดังกล่าว การยืดหยุ่นทางการบริหารและสนับสนุนทรัพยากรแก่ผู้บริหารระดับ
ล่างอย่างเหมาะสม การประเมินผลการปฏิบัติงานและการให้ค่าตอบแทนตามผลงาน ตลอดจนการปรับปรุง
พัฒนางานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึน เพื่อให้สามารถสนองตอบต่อปัญหาและความต้องการของ
ประชาชนในฐานะผู้รับบริการจากองค์กรของรัฐได้เป็นอย่างดี ปัจจัยหลักพืนฐานที่ทาให้การบริหารมุ่ง
ผลสัมฤทธ์ิประสบความสาเร็จคือ การมีระบบข้อมูลท่เี ที่ยงตรงเชื่อถือได้ ไม่ว่าจะเป็นระบบข้อมูลตัวชีวัดผลการ
ปฏิบัติงานเพ่ือให้ทราบความคืบหน้าของการปฏิบัติงาน หรือระบบการเงินและบัญชีท่ีสามารถให้ข้อมูลแยกราย
โครงการเพื่อให้ทราบต้นทุนค่าใช้จ่ายในแต่ละงาน การได้รับข้อมูลท่ีถูกต้องจะช่วยให้ผูบ้ ริหารทุกระดับตัดสินใจ
ได้อยา่ งถูกต้อง
สรุปได้ว่า การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (Results Based Management : RBM) จึง
เป็นการบริหารเพ่ือการจัดหาให้ได้ทรัพยากรการบริหารมาอย่างประหยัด (Economy) เน้นใช้ทรัพยากร
อย่างมีประสทิ ธิภาพ (Efficiency) และการได้ผลงานทีบ่ รรลุเป้าหมายขององค์การ (Effectiveness)
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 10 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่ิมประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
2) กระบวนกำรของกำรบริหำรแบบมุง่ ผลสัมฤทธิ์
การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิจะประกอบด้วยขันตอนที่สาคัญ ๆ 4 ขันตอน (อ้างถึงใน
วีระยทุ ธ ชาตะกาญจน์, 2547, น. 2-3) ซงึ่ มรี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี
2.1) การวางแผนกลยุทธ์ขององค์การ ซ่ึงองค์การจะต้องทาการกาหนดทิศทางโดยรวมว่า
ต้องการท่ีจะทาอะไรอย่างไร ซ่ึงเป็นเรื่องของการวางยุทธศาสตร์หรือวางแผนกลยุทธ์ เพื่อทาการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมทังภายนอกและภายในองค์การ (SWOT Analysis) และให้ได้มาซึ่งเป้าประสงค์สุดท้ายที่ต้องการของ
องค์การหรอื วิสัยทัศน์ (Vision) อันจะนาไปสู่การกาหนดพันธกิจ (Mission) วัตถุประสงค์ (Objective) เป้าหมาย
(Target) และกลยุทธ์การดาเนินงาน (Strategy) รวมทังพิจารณาถึงปัจจัยสาคัญแห่งความสาเร็จขององค์การ
(Critical Success Factors) และสร้างตวั บง่ ชีวัดผลการดาเนนิ งาน (Key Performance Indicators) ในดา้ นตา่ ง ๆ
2.2) การกาหนดรายละเอียดของตัวบ่งชีวัดผลการดาเนินงาน เมื่อผู้บริหารขององค์การ
ได้ทาการตกลงร่วมเก่ียวกับตัวบ่งชีวัดผลการดาเนินงานแล้ว จะเรม่ิ ดาเนินการสารวจเพื่อหาข้อมูลหลักฐาน
เกี่ยวกับสภาพในปัจจุบัน (Baseline Data) เพ่ือนามาช่วยในการกาหนดความชัดเจนของตัวบ่งชีดังกล่าว
ทังในเชิงปริมาณ (Quantity) คุณภาพ (Quality) เวลา (Time) และสถานที่หรือความครอบคลุม (Place)
อนั เป็นเปา้ หมายท่ีต้องการของแตล่ ะตวั บ่งชี
2.3) การวัดและการตรวจสอบผลการดาเนินงาน ผู้บริหารจะต้องจัดให้มีการตรวจสอบและ
รายงานผลการดาเนินงานของแต่ละตัวบ่งชีตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ เช่น รายเดือน รายไตรมาส รายปี เป็นต้น
เพื่อแสดงความก้าวหน้าและสัมฤทธ์ิผลของการดาเนินงานว่าเป็นไปตามเป้าหมายท่ีต้องการหรือไม่ อย่างไร
นอกจากนใี นบางกรณีอาจจะจัดให้มีคณะบุคคลเพ่ือทาการตรวจสอบผลการดาเนินงานเป็นเร่ือง ๆ ไปก็ได้
2.4) การให้รางวัลตอบแทน หลังจากที่ได้พิจารณาผลการดาเนินงานแล้ว ผู้บริหาร
จะต้องมกี ารใหร้ างวลั ตอบแทนตามระดับของผลงานที่ได้ตกลงกันไว้ นอกจากนีอาจจะมีการใหข้ ้อเสนอแนะ
หรอื กาหนดมาตรการบางประการเพ่อื ใหม้ ีการปรบั ปรุงผลงานใหเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมายท่กี าหนดไว้
3) ลกั ษณะขององค์กำรท่บี รหิ ำรงำนแบบมงุ่ เนน้ ผลสมั ฤทธิ์
องค์การที่ได้ใช้ระบบการบริหารงานแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์จะมีลักษณะท่ัว ๆ ไปดังต่อไปนี (ทิพาวดี เมฆสวรรค์,
2543, น. 20, 22)
3.1) มีพันธกิจ วัตถุประสงค์ขององค์การท่ีชัดเจน และมีเป้าหมายที่เป็นรูปธรรม โดยเน้นท่ี
ผลผลิตและผลลพั ธ์ ไม่เนน้ กิจกรรมหรือการทางานตามกฎระเบียบ
3.2) ผู้บริหารทุกระดับในองค์การต่างมีเป้าหมายของการทางานท่ีชัดเจน และเป้าหมาย
เหลา่ นันสันกระชับไม่คลุมเครือ และเปน็ เปา้ หมายท่ีมฐี านมาจากพันธกจิ ขององค์การนัน
3.3) เป้าหมายจะวัดได้อย่างเป็นรูปธรรมโดยมีตัวบ่งชีท่ีสามารถวัดได้ เพ่ือให้สามารถติดตาม
ผลการปฏิบตั งิ านได้ และสามารถเปรียบเทียบผลการปฏิบตั งิ านกบั องค์กรอ่ืนท่ีมลี กั ษณะงานท่ีเทียบเคียงกันได้
3.4) การตัดสินในการจัดสรรงบประมาณให้หน่วยงานหรือโครงการต่าง ๆจะพิจารณาจาก
ผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก ซึ่งจะสอดคล้องกับการให้ค่าตอบแทนสวัสดิการและรางวัลแก่เจ้าหน้าท่ีท่ีจะ
ประเมินจากผลการปฏิบัตงิ านเป็นหลัก
3.5) เจ้าหน้าที่ทุกคนรู้ว่างานที่องค์การคาดหวังคืออะไร คนในองค์การจะคิดเสมอว่างานท่ี
ตนทาอยู่นันเพ่ือให้เกิดผลอย่างไร ผลท่ีเกิดขึนจะช่วยให้บรรลุเป้าหมายของโครงการและองค์การอย่างไร และ
ทกุ คนรู้สกึ รบั ผิดชอบต่อผลงานที่ได้กาหนดไว้อย่างเหมาะสมกับกาลงั ความสามารถของแต่ละคน
3.6) มีการกระจายอานาจการตัดสินใจ การบริหารเงิน บริหารคน สู่หน่วยงานระดับล่าง
เพ่ือให้สามารถทางานบรรลุผลได้อย่างเหมาะสม เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้บริหารระดับต้นและระดับกลาง
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 11 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
ซ่ึงเข้าใจปัญหาเป็นอย่างดีได้เป็นผู้แก้ปัญหาและสะสมประสบการณ์เพ่ือก้าวสู่ผู้บริหารระดับที่สูงขึนไป ซ่ึง
นอกจากช่วยลดขันตอนในการทางาน แก้ปัญหาการทางานที่ ล่าช้าแล้ว ยังเป็นการเพิ่มความยืดหยุ่นและ
ประสทิ ธภิ าพในการทางานอีกด้วย
3.7) มีระบบสนับสนุนการทางาน ในเร่ืองระเบียบการทางาน สถานที่ อุปกรณ์ในการทางาน
เช่น มีระเบียบท่ีสันกระชับในเร่ืองที่จาเป็นเท่านัน มีสถานท่ีทางานท่ีสะอาด เป็นระเบียบ และมีเทคโนโลยี
สารสนเทศท่สี นับสนนุ ใหส้ ามารถตดั สินใจบนฐานขอ้ มูลทถี่ กู ต้องและให้บรกิ ารไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ทันเวลา
3.8) มีวัฒนธรรมและอุดมการณ์ร่วมกันเพ่ือการทางานท่ีสร้างสรรค์ เป็นองค์การที่มุ่งเน้นจะ
ทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ เป็นองค์การเอือการเรียนรู้ท่ีเปิดกว้างต่อความคิดและความรู้
ใหม่ ๆ สามารถปรับตวั ให้เขา้ กบั สถานการณต์ ่าง ๆ ไดด้ ี
3.9) เจ้าหน้าท่ีมีขวัญและกาลังใจดี เน่ืองจากมีโอกาสปรับปรุงงาน และได้ดุลยพินิจในการ
ทางานท่ีกว้างขวางขึน ทาให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจ ส่วนเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานเองก็จะได้การตอบแทน
ตามผลการประเมนิ จากผลสัมฤทธิ์ของงาน
สรุป การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) เป็นนวัตกรรม
ทางการบรหิ ารท่ีประเทศต่าง ๆ ทีพ่ ัฒนาแล้ว นามาใช้ในการปฏิรูประบบราชการใหเ้ กิดประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล
โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ซึ่งประเทศไทยโดยสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนก็กาลังจะใช้วิธีการ
บริหารรูปแบบใหม่นี ผสานกับเปลี่ยนแปลงระบบงบประมาณเป็นแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Based
Budgeting System : PBBS) ทาการปฏิรูปองค์การภาครัฐ ให้สามารถจัดบริการสาธารณะให้เป็นท่ีพึงพอใจของ
ประชาชนมากขนึ หวั ใจสาคัญของความสาเรจ็ ในการใชว้ ธิ กี ารบรหิ ารแบบมงุ่ ผลสัมฤทธ์ินนั อยู่ทีก่ ารสร้างตัวบง่ ชผี ล
การปฏิบัติงาน (Key Performance Indicators) ที่มีความตรงเป็นท่ียอมรับ และสะดวกในการนาไปใช้เพ่ือให้
ได้มาซง่ึ สารสนเทศสาหรับการกากบั ตดิ ตาม และรายงานผลการดาเนินงานขององคก์ าร
2.2.2 แนวคิดเกี่ยวกบั กำรบูรณำกำร
การจัดทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเป็นกลไกหนึ่งท่ีใชใ้ นการเชื่อมโยงการดาเนินงาน
ของส่วนราชการท่ีมีภารกจิ และเป้าหมายรว่ มกันหรือเกี่ยวข้องกัน โดยจะต้องมีการบูรณาการนโยบาย
งบประมาณ และบุคลากรรว่ มกันและมีเป้าหมายการดาเนนิ การเปน็ ส่ิงเดียวกนั ควรมีการดาเนนิ งานร่วมกันใน
ลกั ษณะประสานเช่ือมโยงแบบเครือข่าย มรี ูปแบบการบริหารจดั การแบบองคร์ วมทีม่ เี ป้าหมายร่วมกัน โดย
คานึงถึงหลักประหยดั และความคุ้มค่า ไม่ใหเ้ กดิ การทางานท่ีซาซ้อนสินเปลืองทรัพยากร เพื่อให้การใชจ้ ่าย
งบประมาณเกดิ ผลสัมฤทธิ์ มีประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและประเทศชาติ
1) ควำมหมำยการบริหารราชการแบบบูรณาการ คือ การบริหารท่ีทุกหน่วยงานทางานแบบ
มุ่งเน้นผลงาน (Result) ตามยุทธศาสตร์เป็นหลัก เป็นการทางานหลายหน่วยงานโดยอาศัยความเชี่ยวชาญและ
ความชานาญของแต่ละหน่วยงานที่แตกต่างกันเฉพาะด้าน ทางานภายใต้เป้าหมายและวัตถุประสงค์หลักของ
ยุทธศาสตร์เดียวกัน โดยร่วมกันคิดร่วมกันทางาน โดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน เพื่อก่อให้เกิดความประหยัด
เสริมสร้างประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนินงานเป็นหลัก มีลักษณะสาคัญ คือ เป็นระบบบริหาร
จัดการในแนวราบ (Horizontal Management) ท่ีใช้การบูรณาการทางานของทุกภาคส่วนในพืนที่ในลักษณะ
“พืนท่ี – พันธกิจ – การมีส่วนร่วม (Area – Function – Participation)” ในทุกขันตอนของการทางาน เพื่อ
สร้างความเป็นหุ้นส่วนทางการพัฒนา (Partnership) ในระดับจังหวัด ตลอดจนเพื่อสร้างการทางานในลักษณะ
เครอื ข่าย (Networking)
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 12 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
2) หลักกำรบูรณำกำรปัญหาวิกฤติของการประสานงาน (coordination crisis) เป็นอุปสรรค
สาคญั ตอ่ การวางแผนและการปฏบิ ตั งิ านทต่ี ้องเก่ียวข้องกับองคก์ ารอนื่ ในกิจกรรมเดียวกนั เนอ่ื งจากผู้ปฏบิ ัติงานมุ่ง
แต่ทางานเฉพาะหน้าที่ของตนเองเท่านัน ทาให้ละเลยการประสานงานกับหน่วยงานอ่ืน เป็นผลทาให้ภารกิจที่ต้อง
อาศัยหลายหน่วยงานร่วมกันดาเนินการไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้ จึงไม่เกิดการบูรณาการในการดาเนินงาน
แนวทางการบริหารจัดการเป็นแนวทางการบริหารงานภาครัฐที่มีการเปล่ียนแปลงจากแนวทางแบบราชการมาเป็น
รัฐบาลท่ีเน้นการประสานงานเช่ือมโยง (joined-up government) มองความสัมพันธ์ของสังคมมีความซับซ้อนมาก
ขนึ ในลักษณะเครือข่ายมากกว่าสายการบงั คับบัญชา (network-oriented polity) โดยบทบาทของรัฐจะเปลีย่ นจาก
ผู้กาหนดนโยบายมาเป็นผู้สนับสนุนให้ภาคส่วนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมกาหนดนโยบายและบทบาทของรัฐจะเน้น
การประสานงานและการกากับดูแลแนวทางการบริหารจัดการเป็นแนวทางที่สอดคลอ้ งกับแนวคิดบูรณาการ ซึ่งเน้น
การประสานมิติต่างๆ ระหว่างหน่วยงาน เพื่อช่วยให้เกิดการแลกเปล่ียนกันในการกาหนดแผนและดาเนินงานให้
บรรลุเปา้ หมายด้านนโยบาย (ทิพวรรณ หลอ่ สุวรรณรตั น์ และ สขุ ยืน เทพทอง, น 153-154)
2.1) การบูรณาการด้านนโยบาย (Policy Integration) ปัจจุบันผู้กาหนดนโยบายในหลาย
ประเทศมคี วามพยายามที่จะปฏริ ปู กระบวนการกาหนดนโยบายใหม่จากการประสานงานภายในหน่วยงานมาเป็น
ความร่วมมือกันทังหมดเพ่ือหลีกเล่ียงปัญหาความซาซ้อนหรือการมีเป้าหมายขัดแย้งกันในหน่วยงานต่างๆ
การบรู ณาการด้านนโยบายมี 3 มิติ คือ 1) ความครอบคลุมสมบรู ณ์ 2) ความสอดคล้องกนั 3) การรวมตัวกัน
โดยต้องมีกลไกสถาบนั ท่ีเก่ยี วข้อง อย่างนอ้ ย 4 ประการ คอื
(1) การบูรณาการหน่วยงาน (integrated departments) มีจุดมุ่งหมาย คือ การ
ปรับปรุงการติดต่อสื่อสารระหว่างหน่วยงานเพื่อลดปัญหาการประสานงานตามโครงสร้างสายการบังคับ
บัญชา และช่วยยกระดับความสาคัญของประเด็นนโยบายให้เป็นวาระสาคัญ การเรียนรู้ระดับนโยบายจะ
เกิดขึนตอ่ เมือ่ มกี ารบูรณาการหนว่ ยงาน
(2) กลไกการติดต่อสื่อสาร (communication mechanisms) ประเทศในกลุ่มสหภาพ
ยุโรปได้มีการปรับปรุงกลไกการส่ือสารแนวนอน (Horizontal communication) และความร่วมมือระหว่าง
สาขาต่างๆ โดยการจัดตังคณะทางานและคณะกรรมการข้ามกระทรวง กระบวนการปรึกษาหารือหรือการตังผู้
ประสานงานนโยบายในกระทรวงต่างๆ ตามสาขาของนโยบาย กลไกการประสานความร่วมมือแนวนอนจะช่วย
ทาให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตระหนักถึงความสาคัญของนโยบายนันๆ กลไกลการประสานงานส่วนใหญ่ไม่ค่อย
ช่วยในเรื่องการสร้างขีดความสามารถ แต่มุ่งบูรณาการความเช่ียวชาญในนโยบายสาขาหนึ่งไปยังสาขาอื่น
ประสิทธิผลของกลไกที่เป็นทางการดังกล่าวขึนอยูก่ ับความเต็มใจของสถาบันและตัวบุคคลท่ีเข้ามารว่ มมือกัน
(3) กลยุทธ์จากรัฐบาลกลาง การบรู ณาการจะได้รับการสนับสนุนโดยอาศัยนโยบาย
ทางการเมือง เพราะจะเป็นแรงผลักดันในการสนับสนุนให้นโยบายเป็นวาระแห่งชาติหรือวาระของรัฐบาล
ความร่วมมือระหวา่ งหนว่ ยงานจะมีมากขนึ
(4) กลยุทธ์การบูรณาการภายในสาขา (Sectoral Integration Strategies) ซ่ึงเป็นการบูร
ณาการ ในระดับย่อยลงมาเพอ่ื ช่วยในการนานโยบายไปปฏิบตั ิ
2.2) การบูรณาการด้านงบประมาณ ระบบงบประมาณทาหน้าท่ีสาคัญ 3 ประการ คือ
การควบคุม (control)การจัดการ(management) และการวางแผน (planning) (Allen Schick,1972) และมี
บทบาทในการแปลงแผนไปสู่การปฏบิ ัตเิ พอ่ื ให้เกดิ ผลท่เี ปน็ รปู ธรรม เพราะแผนงบประมาณเป็นแผนทางการเงินที่
จะทาให้นโยบายปรากฏเป็นจริงได้ การบูรณาการงบประมาณสามารถดาเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น
การบูรณาการงบประมาณ เพื่อการพัฒนาให้เข้ากับการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนทางการเงิน
(Sussman, 2003) การบูรณาการงบประมาณทุกแหล่งเพ่ือใช้ในการดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 13 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
(UN Woman, 2013) แผนงบประมาณเชิงบูรณาการเป็นแผนซ่ึงกาหนดมาจากนโยบายที่มีความสาคัญเร่งด่วน
ของรัฐบาลท่ีจาเป็นต้องมีการบูรณาการระหวา่ งหน่วยงานต่างๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งอนั จะทาให้เกิดการประสานกิจกรรม
ของหลายกระทรวงในการดาเนินงานร่วมกันเพื่อให้บรรลุภารกิจรว่ มกัน ดังนัน แผนงบประมาณเชิงบรู ณาการจึง
เป็นเคร่อื งมอื ที่กาหนดทิศทางการบูรณาการ ประเด็นการบูรณาการ เป้าหมายและตัวชีวดั หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง
และกลไกการดาเนินงาน
3) รูปแบบและแนวทำงของกำรบริหำรรำชกำรแบบบูรณำกำร
มอี งคป์ ระกอบท่สี าคัญทจ่ี ะต้องพจิ ารณา ดงั นี
3.1) โครงสร้างส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์การมหาชนส่วนใหญ่มลี ักษณะโครงสร้าง
ตาม function แต่ปัจจุบันภารกิจงานท่ีรับผิดชอบมีลักษณะมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ทาให้การดาเนินงาน
บางสว่ นตอ้ งมีการทางานร่วมกับหน่วยงานอ่นื ดงั นนั ส่วนราชการจึงจาเป็นตอ้ งนาหลกั การบริหารแบบบูรณาการ
มาใช้ในการทางานร่วมกันระหว่างกระทรวง ระหว่างหน่วยงานเพ่ือให้ภารกิจที่ต้องทาร่วมกันหรือต่อเนื่องกัน
สามารถบรรลุได้ตามวัตถุประสงค์ลักษณะองค์กรตามแนวคิดของการบริหารราชการแบบบูรณาการ
ควรมี 2 ระดับ คอื
3.1.1) องคก์ รในระดับบน ซ่งึ มีการทางานแบบยุทธศาสตร์ (agenda) ค่อนขา้ งสูง
3.1.2) องค์กรในระดับย่อยลงมา ยิ่งหน่วยย่อยลงมามากเท่าไหร่ การทางานตามสาย
งาน/โครงสร้าง (functional) จะค่อนข้างมาก การทางานตามยุทธศาสตร์ (agenda) จะมีเพียงบางส่วนที่ต้อง
ทางานร่วมกับหน่วยงานอื่น ฉะนัน สิ่งท่ีสาคัญที่สุด คือ วิธีการท่ีจะทาให้แต่ละกระทรวง/กรม มีการทางาน
ต่อเน่ืองกันเป็นแบบยุทธศาสตร์ให้ได้ โดยหัวใจสาคัญคือการสร้างความเข้าใจสาหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานให้มี
ความเข้าใจว่าการทางานตามโครงสร้าง (function) กับการทางานตามยุทธศาสตร์ (agenda) นัน ไม่ใช่การเลือก
ทางานอันใดอันหนึ่ง แต่มันเป็นความต่อเนื่องที่ต้องเช่ือมต่อกันให้ได้ โดยอาจจะมีการปรับโครงสร้างการทางาน
ขององค์กรให้สอดคล้องตามภารกิจที่เปลีย่ นไป
3.2) ระบบการทางาน
3.2.1) การบูรณาการโครงสร้างหน่วยงาน ตามพระราชกฤษฎกี าว่าด้วยหลักเกณฑ์
และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 ได้ให้คาอธิบายการบูรณาการระหว่างส่วนราชการ
กาหนดว่า ในกรณีภารกิจใดมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่วนราชการหรือเป็นภารกิจที่ใกล้เคียงหรือ
ต่อเนื่องกัน ให้ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องนันกาหนดแนวทางการปฏิบัติราชการเพื่อให้เกิดการบริหารราชการ
แบบบูรณาการร่วมกนั โดยมกี ารบริหารจัดการทังในด้านการวางแผน การใช้ทรัพยากร และการดาเนินงาน
รว่ มกนั โดยม่งุ ให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์ในภารกจิ นนั เป็นเอกภาพเดยี วกันในการดาเนนิ งาน
3.2.2) การบูรณาการระบบบริหารจัดการ เป็นเร่ืองสาคัญที่จะต้องบูรณาการวิธีการ
บริหารราชการแนวใหม่ ให้สอดรับกับภารกิจงานของส่วนราชการในปัจจุบัน โดยเฉพาะลักษณะของการทางาน
แบบ agenda ท่ีจะต้องมีการทางานข้ามกระทรวง ต้องใช้หลายๆ หน่วยงาน (function) ในการทางานให้สาเร็จ
จึงมีความจาเป็นจะต้องมีวิธีการบริหารจัดการแนวใหม่ คือ การบริหารงานแบบบูรณาการ เพ่ือให้มีเจ้าภาพที่
ชัดเจนว่าประเด็นยุทธศาสตร์ (agenda) นีใครเป็นเจ้าของ (owner) ใครเป็นผู้รับผิดชอบ และใครจะทาหน้าที่
ประสานหน่วยงาน (function) ต่างๆ ให้เข้าดว้ ยกนั
3.2.3) การทางานแบบ network การทางานแบบบูรณาการเป็นการเชื่อมโยงการ
ทางานด้วยประเด็นยุทธศาสตร์ท่ีต้องทาร่วมกัน (common agenda) ในลักษณะของเครือข่าย (network) ที่
จาเป็นต้องใช้คนท่ีมีทัศนคติ (mindset) ที่ดีของการทางานแบบบูรณาการและต้องสามารถมองภาพแบบองค์
รวม (Holistic) เนื่องจากการทางานแบบบูรณาการจะมีวัตถุประสงค์ที่เป็นเป้าหมายหลักร่วมกัน โครงสร้างการ
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 14 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
ทางานจะเป็นการทางานแบบเครือข่ายหลายชันเชื่อมโยงกัน เรียกว่า Network group ซึ่งแต่ละกรุ๊ปจะมี ผู้มี
ส่วนได้เสีย (stakeholder) ท่ีเกี่ยวข้องแตกต่างกัน และแต่ละ stakeholder จะมีแต่ละหน่วยงาน (function) ที่
ทางานร่วมกันอยู่ และจะทางาน (contribute) ในส่วนท่ีเกี่ยวข้อง ดังนัน ในแต่ละ agenda จะมีกลุ่มของ
stakeholder group โดยเรียกลักษณะโครงสร้างแบบนวี ่า dynamic network
3.3) การปรับเปล่ียนวัฒนธรรมการทางานของคนเป็นสิ่งที่มีความสาคัญท่ีจะทาให้การ
ทางานขององค์กรบรรลุผลสาเร็จได้ตามวัตถุประสงค์ และเมื่อมีการเปล่ียนการบริหารราชการสมัยใหม่เป็นแบบ
บูรณาการ คนจึงจาเป็นต้องพยายามปรับเปล่ียนวัฒนธรรมการทางาน โดยเน้นให้ความสาคัญของการทางาน
แบบบรู ณาการ วฒั นธรรมท่คี วรจะสร้างให้เกิดขึนในระบบราชการ คือ
3.3.1) วิธีการทางานรูปแบบใหม่ โดยสร้างผลงานที่อยู่บนพืนฐานทางวัฒนธรรม
(performance based culture) คือ ทุกคนมุ่งความสาเร็จของงานเป็นหลัก เป้าหมายหลัก คือ ยึดประชาชน
เปน็ ศนู ยก์ ลาง การใหร้ างวัลและลงโทษจะขึนอย่กู ับผลงาน
3.3.2) วัฒนธรรมการทางานแบบไร้พรมแดน (boundary less culture) ต่าง
หน่วยงานต่างกรม ต่างกระทรวง ควรมีการทางานร่วมกันโดยยึดเป้าหมายการทางานเป็นหลัก ลดขอบเขต
บทบาทของหน่วยงานลง มีการใช้ทรพั ยากรรว่ มกนั ชว่ ยกนั คิดช่วยกนั ทา เพอ่ื ให้เกิดผลสาเรจ็ ของงาน
3.3.3) วัฒนธรรมการทางานแบบช่วยเหลือกันคนละไม้คนละมือ (execution
supporting culture) เพ่ือให้งานสาเร็จ โดยไม่ถือว่าไม่ใช่งานของตน เพราะหมายถึง “ประโยชน์สุขของ
ประชาชน”
2.2.3. แนวคิดงบประมำณแบบบรู ณำกำร : กำรบริหำรจดั กำรภำครัฐเพ่ือกำรพฒั นำ
คาว่า “บรู ณาการ” เปน็ แนวทางพนื ฐานท่สี าคญั ในการประสานความรว่ มมือระหว่างหน่วยงาน
ภาครัฐของประเทศไทย เน่ืองจากยุทธศาสตร์ของประเทศหลายเร่ืองมักเป็นเร่ืองใหญ่ท่ีมีความซับซ้อน ซ่ึงต้อง
อาศยั หลายหน่วยงานในหลายกระทรวงดาเนินการเพื่อให้บรรลุผลตามท่ีกาหนด อาทิ การลดปัญหาความยากจน
การจัดการนาการจดั การทดี่ ิน และการดาเนนิ การตามกรอบประชาคมอาเซียน ดังนัน การบูรณาการนโยบายและ
งบประมาณเพื่อไม่ให้เกิดการทางานท่ีซาซ้อนและสินเปลืองทรัพยากร จึงมีความสาคัญอย่างย่ิงในการท่ีจะทาให้
ยุทธศาสตร์ของประเทศบรรลุผลได้อย่างเป็นรูปธรรมงบประมาณเชิงบูรณาการในความหมายนีหมายถึง
“งบประมาณที่จัดสรรให้กับแผนงาน/โครงการที่หลายหน่วยงานท างานร่วมกัน โดยอาจเป็นงานตามมิติ
ยุทธศาสตร์ซึ่งกระทรวง และส่วนราชการมีการ บูรณาการภารกิจในเชิงกระบวนการท างานร่วมของหน่วยงาน
ระหว่างกระทรวง หรอื มิติงานตามยุทธศาสตรใ์ นระดบั พืนทซ่ี ่ึงมีการบูรณาการภารกจิ ที่ตอบสนองความต้องการใน
พืนท่ีและตามมิติยุทธศาสตร์ที่สาคัญ และทาให้ผลลัพธ์มีคุณค่าหรือมูลค่ามากกว่าให้ต่างหน่วยต่างทา” การ
บริหารงานภาครัฐท่ีเก่ียวข้องกับการบูรณาการมีสองแนวคิดท่ีสาคัญคือ แนวทางแบบราชการ (government
approach) กับแนวทางการบริหารจัดการ (governance approach) การบริหารงานตามแนวทางแบบราชการ
เป็นการบริหารจากบนลงล่าง (Top down approach) มีการใช้กฎระเบียบในการควบคุมและจัดระเบียบ
พฤติกรรมของบุคลากรและสถาบัน การทางานอาศัยโครงสร้างแบบราชการเป็นหลัก ซ่ึงเป็นการแบ่งโครงสร้าง
ตามหลักการแบ่งตามหน้าท่ีความรับผิดชอบ (functional classification) หรือตามภารกิจที่แต่ละหน่วยงาน
รับผิดชอบ โดยรับคาส่ังจากผู้บังคับบัญชาตามโครงสร้าง แต่ละส่วนราชการจะรับผิดชอบในการผลิต/จัดหา
ผลผลิตตามภารกิจของตนเป็นหลักแนวทางการบริหารจัดการเป็นแนวทางการบริหารงานภาครัฐที่มีการ
เปลี่ยนแปลงจากเดิมคือ จากการใช้อานาจครอบงามาเป็นการสร้างเสริมพลัง (empowerment) ซ่ึงถือเป็นการ
เปล่ียนแปลงจากแนวทางแบบราชการมาเป็นรัฐบาลที่เน้นการประสานงานเชื่อมโยง (joined-up government)
แนวทางการบริหารจัดการเป็นแนวทางที่มองความสัมพันธ์ของสังคมมีความซับซ้อนมากขึนในลักษณะเป็น
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 15 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิ่มประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
เครือข่ายมากกว่าสายการบังคับบัญชา (network-oriented polity) และมีอิทธิพลต่อกระบวนการกาหนด
นโยบายโดยบทบาทของรัฐจะเปลี่ยนไปจากผู้กาหนดนโยบายมาเป็นผู้สนับสนุนให้ภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามามีส่วน
ร่วมในการรว่ มกาหนดนโยบาย บทบาทของรัฐบาลเน้นในด้านการประสานงานและการกากับดูแล (coordination
and steering) มากกว่า โดยสรุป แนวทางการบริหารจัดการจึงเป็นแนวทางที่สอดคล้องกับแนวคิดการบูรณาการ
ซ่ึงเน้นการประสานมิติต่าง ๆ ระหว่างหน่วยงานเพื่อช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนกันในการกาหนดแผนและ
ดาเนินงานให้บรรลุเป้าหมายด้านนโยบายสาหรับงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานเชิงยุทธศาสตร์ ซึ่งเป็นระบบ
งบประมาณที่สานักงบประมาณใช้อยู่ในปัจจุบันเป็นระบบท่ีเน้นหน้าที่ในการวางแผนและการจัดการ ซ่ึงมี
จุดมุ่งหมายเพ่ือทาให้ทรัพยากรท่ีใช้ในการดาเนินงานตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมต่าง ๆสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร/์ นโยบายทร่ี ฐั บาลกาหนดอย่างมปี ระสิทธิภาพ และประสิทธผิ ล และเนอ่ื งจากการบรหิ ารงานภาครฐั ใน
ปัจจุบันมีความจาเป็นต้องอาศัยการบูรณาการ หน่วยงานภาครัฐและภาคส่วนต่าง ๆ เพ่ือระดมความรู้และ
ทรัพยากรมาใช้ในการแก้ปัญหาและวิกฤติให้ทันกับเวลาหรือใช้สาหรับการพัฒนา การบริหารงานเชิงบูรณาการ
จาเป็นต้องอาศัยการบูรณาการด้านแผนงานในระดับต่าง ๆ จากระดับประเทศลงสู่ระดับหน่วยงาน ทังในระดับ
แนวด่ิงและแนวราบ โดยมีงบประมาณเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะทาให้แผนงานเหล่านีเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
งบประมาณจะมบี ทบาทชว่ ยในการบรู ณาการโดยผา่ นแผนงบประมาณเชิงบรู ณาการ
แผนงบประมาณเชิงบูรณาการเป็นแผนท่ีกาหนดมาจากนโยบายท่ีมีความสาคัญเร่งด่วนของ
รฐั บาลท่ีจาเป็นจะต้องมีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องอันจะทาให้เกิดการประสานกิจกรรม
ของหลายกระทรวงในการดาเนินการร่วมกนั เพื่อให้บรรลุภารกิจร่วมกัน ดังนัน แผนงบประมาณเชิงบูรณาการจึง
เป็นเคร่ืองมอื ท่ีกาหนดทิศทางการบูรณาการ ประเด็นการบูรณาการ เป้าหมายและตัวชีวดั หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง
และกลไกการดาเนินงาน
2.2.4 ปัจจยั แห่งควำมสำเรจ็ ในกำรบรู ณำกำร
ปัจจัยความสาเร็จในการบูรณาการงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ ต้องเริ่มจากการวางแผนที่มี
เป้าหมาย และตัวชีวัดที่ชัดเจน เพ่ือถ่ายทอดให้กับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเข้าใจว่าต้องดาเนินการอย่างไร และ
ต้องดาเนินการให้สาเร็จเม่ือใด เมื่อหน่วยงานปฏิบัติดาเนินการตามแผนงานเสร็จสินแล้ว หน่วยปฏิบัติจะมี
หน้าที่รายงานผลการปฏิบัติงานผ่านระบบท่ีกาหนดไว้ ซึ่งเป็นการรายงานเพียงครังเดียว เพ่ือลดความซาซ้อน
ในการรายงาน การรายงานในลักษณะดังกล่าวทาให้ผู้รายงานผลจะต้องรับผิดชอบต่อข้อมูลที่ได้รายงาน
จากนัน ผลการปฏิบัติจะถูกติดตาม ตรวจสอบประเมินผลว่าได้บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้หรือไม่ จะมี
ความสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 เกี่ยวกับการติดตาม
การขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ ดังนันการดาเนินงานบูรณาการต้องดาเนินการ
ตามขบวนการขันตอนดังนี
1) กำรวำงแผน (Planning) โดยกระบวนการวางแผนเป็นขันตอนท่ีมีความสาคัญอย่างย่ิง
ควรเร่ิมตังแต่รัฐบาล / ผู้บริหารระดับสูงจะต้องมีความเข้าใจสถานการณ์ และการทางานทังระบบก่อน
รวมทังจะต้องกาหนดนโยบายท่ีมีผลลัพธ์สุดท้ายท่ีชัดเจน และจัดตังทีมงานบูรณาการเพื่อทาหน้าที่จัดทา
แนวทางการดาเนินงาน (Line of Operation) ท่ีแสดงถึงความสอดคล้องของงานทังหมดและกาหนดเวลา
ปฏิบัติงานที่ชัดเจน จากนันทีมงานบูรณาการจะต้องถ่ายทอดภารกิจ เป้าหมาย และตัวชวี ัดให้กับหน่วยงาน
ทเี่ กี่ยวข้อง โดยสามารถอธบิ ายกระบวนการท่ีทาให้ทุกหน่วยงานที่เกย่ี วข้องทราบชดั เจน และทกุ หน่วยงาน
ที่เก่ียวข้อง ทราบชัดเจนว่าต้องทาอะไร ทาให้สาเร็จเมื่อใด และทาอย่างไร เพื่อให้การปฏิบัติงานมี
การบูรณาการอย่างประสานสอดคล้องและไม่ซาซ้อนกัน และการบริหารงบประมาณแผ่นดินเกิดความ
คุ้มค่า โปรง่ ใส
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 16 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
2) กำรจัดกำรองค์กำร / กำรต้ังทีมบูรณำกำร เพ่ือถ่ำยทอดภำรกิจ เป้ำหมำย ตัวช้ีวัด
(Organizing) แนวทางหรือหลักปฏิบัติเพื่อให้เกิดการบูรณาการนัน ต้องพิจารณาถึงโครงสร้างของหน่วยงาน
ยงั คงเปน็ นิติบุคคล นอกจากนียังมี (1) ด้านกฎหมายหรือระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ (2) ระบบข้อมูลทจ่ี ะต้องเป็นไป
ในรูปแบบของดิจิทัล (3) ความหลากหลายหรือข้อแตกต่างของแต่ละหน่วยงาน (4) พฤติกรรมและวัฒนธรรม
องค์กรท่ีต้องปรับให้มีเป้าหมายร่วมกัน ตัวอย่างโครงการที่เกิดจากการบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่ประสบ
ความสาเร็จ คือ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดาริทัง 6 แห่ง อันเป็นโครงการท่ีดาเนินการตาม
แนวพระราชดาริ รัชกาลที่ 9 ซ่ึงทุกหน่วยงานที่เก่ียวข้องเข้าใจร่วมมือกันและมีเป้าหมายร่วมกัน เข้าใจ
กระบวนการทังระบบและในระดับของตนเองที่ต้องรับผิดชอบอย่างชัดเจนว่าต้องทาอะไรให้สาเร็จเมื่อใด โดย
จะต้องให้อานาจท่ีแท้จริงในการส่ังการและการประสานกับหน่วยงานเจ้าภาพ เช่น ภารกิจ เป้าหมาย ตัวชีวัด
ในระดบั ของตนเอง ท่ีตอ้ งรับผดิ ชอบอย่างชัดเจนวา่ ต้องทาอะไรใหส้ าเร็จเม่ือใด
3) กำรนำหรือกำรสั่งกำรโดยผ่ำนระบบข้อมูล (Leading) ที่เป็นระบบดิจิทัลโดยเริ่มต้นจาก
การค้นคว้าความต้องการ เป้าหมาย ความสาเร็จ แนวทางที่ต้องการ จากนันสร้างระบบท่ีเป็นมาตรฐานเดียวกัน
โดย นาระบบดิจิทัลมาสนับสนุน เชื่อมโยงให้มีมาตรฐานเป็นระบบเดียวกัน ส่วนราชการและประชาชนได้ใช้
ประโยชน์ รฐั บาลและองค์กรกากับดูแล สามารถติดตามผลการปฏบิ ัติงานได้อย่างถูกต้อง รวดเรว็
4) กำรกำกบั ควบคุม ติดตำม ตรวจสอบ และประเมินผล (Controlling) โดยระบบการ
กับดูแล ติดตาม และประเมินผลจะต้องสามารถเชื่อมโยงเป็นระบบเดียวกันทังประเทศ มีผลประจักษ์
หน่วยงานจะต้องมีภาระรับผิดชอบต่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความคุ้มค่าในผลการปฏิบัติงาน
รวมทังจะต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบการดาเนินการภาครัฐตาม
รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยดว้ ย
2.2.5 ทบทวนวรรณกรรมทเ่ี ก่ียวข้อง
(1) กำรบูรณำกำรนวัตกรรมอยำ่ งเปน็ ระบบสู่วิธีปฏบิ ตั ทิ เี่ ป็นเลิศในเครือข่ำยโรงเรียนสุขภำวะ
การวิจัยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อศกึ ษา1) บริบทและสภาพการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะของ
เครือข่ายโรงเรียนสขุ ภาวะ 2) พัฒนารูปแบบการบรู ณาการนวัตกรรมเชงิ ระบบของเครือขา่ ยโรงเรียนสุขภาวะ
3) ศึกษาผลการบูรณาการนวัตกรรมเชิงระบบ ของเครือข่ายโรงเรียนสุขภาวะในรูปแบบวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
การดาเนินการวิจัยมี 3 ระยะคือ ระยะท่ี 1 ศึกษาบริบท และสภาพการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะของ
เครือข่ายโรงเรียนสุขภาวะ ระยะท่ี 2พัฒนารูปแบบการบูรณาการนวัตกรรมเชิงระบบของเครือข่ายโรงเรียน
สุขภาวะ ระยะที่ 3 ศึกษาผลการบูรณาการนวัตกรรมเชิงระบบของเครือข่ายโรงเรียนสุขภาวะในรูปแบบวิธี
ปฏิบัติที่เป็นเลิศ ผลการวิจัย พบว่า บริบทและสภาพการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะของเครือข่ายโรงเรียน
สขุ ภาวะ ด้านสังคมและอารมณ์พบจุดเด่นเรื่องการรกั ษาศลิ ปวัฒนธรรมท้องถิ่นทังมโนราห์เพลงบอก การชน
ววั ซึ่งเปน็ วัฒนธรรมที่ฝังตดิ กับท้องถ่ินมานาน พฤติกรรมการกระทาผิดวินัย กฎระเบียบของโรงเรียนน้อย ไม่
มีการใช้ ความรุนแรง วัฒนธรรมบางอย่างส่งผลให้มีความเส่ียงต่อการมีพฤติกรรมการพนัน ด้านสุขอนามัย
พบว่านักเรียนในเครือข่ายโรงเรียนฯ มีภาวะโภชนาการในระดับปกติ โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการ
รกั ษาสุขภาพ หลีกเล่ียงสารเสพติด พฤติกรรมชู้สาวดา้ นการศึกษา และสติปัญญา อยู่ในระดบั ปานกลางแต่มี
บางโรงเรียนที่มีผลการเรียนจัดอยู่ในระดับดีเย่ียมการบริหารจัดการยังติดอยู่กับเนือหาเร่ืองสุขอนามัยขาด
การประสานความร่วมมือกับผู้เกี่ยวข้อง การดาเนินงานเป็นไปในลักษณะการส่ังการ ขาดอิสรภาพในการ
ออกแบบทังเป้าหมาย และกระบวนการทางาน รูปแบบการบูรณาการนวัตกรรม เป็นการผสมผสาน
นวัตกรรม การจัดกาความรู้ การจัดการชันเรียน การพัฒนาสมาธิ สติในองค์กร การพัฒนาโรงเรียน
มาตรฐานสากลและอื่นๆ เพ่ือการศึกษาบริบทความต้องการ การออกแบบกิจกรรม การลงมือปฏิบัติ
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 17 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
แลกเปล่ียนเรียนรู้ การประเมินทบทวน และการปรับปรุงระบบ การดาเนินการดังกล่าวใช้วิธีการเชิงระบบ
คือมีการแบ่งงานของโรงเรียนเป็นสามระบบหลักคือระบบเรียนรู้ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบ
กิจกรรมนักเรียน แต่ละระบบมีคู่มือระบบที่กาหนดตัวชีวัดที่สะท้อนผลลัพธ์ด้านสุขภาวะของนักเรียนและมี
การดาเนนิ การอยา่ งครบวงจรคุณภาพ PDCA (ไกรเดช ไกรสกุล,2560)
(2) ตัวแบบกำรบูรณำกำรงำนป้องกันและแก้ไขกำรตั้งครรภ์ในวัยรุ่น : ควำมหมำยและ
กำรดำเนนิ งำน
การวจิ ัยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อค้นหาความหมายของการบูรณาการตามการรับรู้ของคณะทางาน
ในจังหวัด และระบุตัวแบบการดาเนินงานเชิงบูรณาการ ผลการวิจัย พบว่า ความหมายของการบูรณาการ คือ
การเร่ิมจากการเปิดใจ เรียนรู้กัน และทางานร่วมกันเป็นเครือข่าย ส่วนตัวแบบการดาเนินงานเชิงบูรณาการมี 4
ตวั แบบ คือ 1) ประชุมร่วม แยกกันรับผิดชอบ 2) รับทราบแผน แยกปฏิบัติ 3) ร่วมคิด รวมงาน รวมคน รวมเงิน
และ 4) รว่ มคดิ ร่วมปฏิบัติ (ศิรพิ ร จริ วัฒนก์ ลุ , และคณะ2560)
จากผลงานวจิ ยั สรปุ ไดว้ ่า ปจั จยั ความสาเรจ็ ของการดาเนนิ งานแบบบูรณาการนันจะต้อง
1) มีการวางแผน มีความเข้าใจ วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ ทาความเข้าใจ จัดลาดับ
ความสาคญั เปา้ หมายท่ีชัดเจน
2) ร่วมกันกาหนดแผน ออกแบบกิจกรรม ทาความเข้าใจร่วมกัน การถ่ายทอด ภารกิจ
เป้าหมาย ตัวชีวัด
3) การลงมือปฏิบัติ แลกเปล่ียนเรียนรู้ ร่วมคิด ร่วมทา โดยนาทรัพยากรท่ีมีอยู่มาร่วม
ดาเนินการ
4) การรายงานผลการดาเนินงาน ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล ทบทวน ปรับปรุงให้มี
ประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิผลและความคุ้มค่าในผลการปฏิบัติงาน
2.3 แนวคิดทเ่ี กี่ยวข้องกับกระบวนกำรจัดทำงบประมำณ
2.3.1 ยทุ ธศำสตร์ชำติ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 65 บัญญัติไว้ รัฐพึงจัดให้มี
ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อใช้เป็นกรอบใน
การจัดทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน อันจะก่อให้เกิดเป็นพลังผลักดนั ร่วมกันไปสเู่ ป้าหมาย
ภายในระยะเวลา 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ซึ่งจากเงื่อนไขโครงสร้างประชากร โครงสร้างเศรษฐกิจ
สภาพสังคม สภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม และปัจจัยการพัฒนาต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องข้างต้น จะเห็นได้ว่า
การพัฒนาประเทศจึงจาเป็นต้องมียุทธศาสตร์การพัฒนาระดับชาติที่ครอบคลุมทุกมิติและทุกด้านการ
พฒั นาท่ีเก่ียวข้อง มคี วามร่วมมือในลักษณะประชารัฐจากภาคส่วนต่างๆ ในรูปแบบของหุน้ สว่ นการพัฒนาท่ี
เป็นการดาเนินงานอยา่ งบูรณาการ เน่อื งจากทุกมิตกิ ารพฒั นามีความเกี่ยวขอ้ งซ่ึงกนั และกัน โดยจาเปน็ ตอ้ ง
มุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม รวมทังปัจจัยขับเคลื่อนและ
ปัจจัยสนับสนุนการพัฒนาท่ีครอบคลุมทุกมิติ ส่งผลให้เกิดการกาหนดยุทธศาสตร์ชาติทังหมด 6 ด้าน
ประกอบด้วย (1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง (2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการ
แข่งขัน (3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ (4) ยุทธศาสตร์ชาติ
ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (5) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพ
ชีวิตที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และ (6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภาครัฐ โดยแต่ละยุทธศาสตร์ชาติ ได้กาหนดให้มีแผนแม่บท เพื่อเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือน
ยุทธศาสตร์ชาติให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีวางไว้ในปี 2580 ซึ่งจะมีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เก่ียวข้องที่
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 18 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่ิมประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนัน รวมทังการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณต้องสอดคล้องกับ
แผนแมบ่ ทดว้ ย
2.3.2 แผนแม่บทภำยใตย้ ทุ ธศำสตร์ชำติ
แผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน มีจานวนรวมทังสิน 23 ฉบับ ประกอบด้วย (1)
ความมั่นคง (2) การต่างประเทศ (3) การเกษตร (4) อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต (5) การท่องเที่ยว (6)
พืนที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ (7) โครงสร้างพืนฐาน ระบบโลจิสติกส์และดิจิทัล (8) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่ (9) เขตเศรษฐกิจพิเศษ (10) การปรับเปล่ียนค่านิยม และวัฒนธรรม (11)
ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต (12) การพัฒนาการเรียนรู้(13) การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี (14) ศักยภาพ
การกีฬา (15) พลังทางสังคม (16) เศรษฐกิจฐานราก (17) ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม (18) การ
เติบโตอย่างยั่งยืน (19) การบริหารจัดการนาทังระบบ (20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ (21)
การต่อต้านการทุจรติ และประพฤติมิชอบ (22) กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม และ (23) การวิจัยและพัฒนา
นวตั กรรม
2.3.3 แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564 (ประกาศ ณ วันที่
29 ธนั วาคม 2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยึดกรอบแนวคิดและ
หลักการในการวางแผนท่ีสาคัญ ได้แก่ เป้าหมายอนาคตประเทศไทย 20 ปี 1) การน้อมนาและประยุกต์ใช้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา อย่างมีส่วนร่วม 3) หลักการสนับสนุนและ
ส่งเสริมแนวคิดการปฏิรูปประเทศการปฏิบัติให้เกิดสัมฤทธ์ิอย่างจริงจัง และ 4) หลักการเติบโตทางเศรษฐกิจท่ี
ลดความเหล่ือมลาบนพืนฐานการใชภ้ มู ปิ ัญญาและนวัตกรรม
ยุทธศาสตร์ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 มีทังหมด 10 ยุทธศาสตร์ โดยมี 6 ยุทธศาสตร์ตาม
กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปแี ละอีก 4 ยทุ ธศาสตรท์ ่เี ปน็ ปจั จัยสนับสนุน ดงั นี
1) กำรเสริมสร้ำงและพัฒนำศักยภำพทุนมนุษย์ คนไทยใฝ่ดี มีวินัย สร้างสรรค์นวัตกรรม
พ่ึงพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ยกระดับกระบวนการเรียนรู้เด็กไทยด้วยการสอนท่ีมุ่งเน้นให้พัฒนาทักษะด้าน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศิลปะ (STEMA) สร้างคนไทยวัยแรงงานให้ “ผลิตได้
ขายเป็น ส่งเสริม Smart SMEs” เกษตรกรไทยเป็น “Smart Farmers” ผู้สูงวัยได้รับการดูแลในระยะยาวงด้วย
การเพิ่มสวสั ดกิ ารเพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ิตผ้สู งู อายุไทย
แนวทางการพัฒนาทส่ี าคญั ประกอบดว้ ย (1) ปรบั เปล่ยี นค่านยิ มคนไทยให้มีคณุ ธรรม จริยธรรม
มวี ินัย จิตสาธารณะ และพฤตกิ รรมที่พึงประสงค์ (2) พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะ ความรู้ และความสามารถใน
การดารงชีวิตอย่างมีคุณค่า (3) ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (4) ลดปัจจัยเสี่ยงด้าน
สุขภาพและให้ทุกภาคส่วนคานึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพ (5) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบสุขภาพ
ภาครัฐและปรับระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (6) พัฒนาระบบการดูแลและสรา้ งสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม
กับสงั คมสงู วยั (7) ผลกั ดนั ใหส้ ถาบันทางสังคมมสี ว่ นร่วมพัฒนาประเทศอย่างเข้มแข็ง
2) ยุทธศำสตร์กำรสร้ำงควำมเป็นธรรมและลดควำมเหลื่อมล้ำในสังคม แนวทางการพัฒนา
สาคัญ ประกอบด้วย (1) การเพิ่มโอกาสให้กับกลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ 40 ท่ีมีรายได้ต่าสุดสามารถ
เข้าถงึ บริการทม่ี ีคณุ ภาพของรัฐและมีอาชีพ (2) การกระจายการให้บริการภาครัฐทังด้านการศึกษา สาธารณสุข
และสวัสดิการที่มีคุณภาพให้ครอบคลุมและท่ัวถึง (3) เสริมสร้างศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
และการสร้างความเข้มแข็งการเงนิ ฐานรากตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้ชุมชนสามารถพ่ึงพา
ตนเองได้ มีสิทธิในการจดั การทุนท่ดี นิ และทรัพยากรภายในชมุ ชน
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 19 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
3) ยุทธศำสตร์กำรสร้ำงควำมเข้มแข็งทำงเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่ำงย่ังยืน แนวทางการ
พัฒนาที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) การบริหารจัดการเศรษฐกิจ ส่วนรวม ทังในด้านการคลัง อาทิ เพ่ิม
ประสิทธิภาพการจัดแผนงานโครงการ การจัดสรรงบประมาณ การบริหาร และการตรวจสอบกระบวนการ
งบประมาณ และด้านการเงิน (2) การเสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิต
และบริการ มุ่งเน้นการสร้างความเชื่อมโยงของห่วงโซ่มูลค่าระหว่างภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ และ
การคา้ การลงทนุ เพ่อื ยกระดบั ศกั ยภาพในการแขง่ ขันของประเทศ
4) ยุทธศำสตร์กำรเติบโตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพื่อกำรพัฒนำที่ยั่งยืน แนวทางการพัฒนา
สาคัญ ประกอบด้วย (1) การรักษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สร้างสมดุลของการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่าง
ย่ังยืนและเป็นธรรม (2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรนาเพื่อให้เกิดความมั่นคง สมดุล และ
ย่ังยืน (3) การแก้ไขปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อม (4) ส่งเสริมการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม (5)
สนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพ่ิมขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพ
ภมู ิอากาศ (6) การบรหิ ารจัดการเพอ่ื ลดความเส่ียงด้านภัยพิบตั ิ (7) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการและกลไก
แก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ (8) การพัฒนาความร่วมมือด้าน
สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ
5) ยุทธศำสตร์กำรเสริมสร้ำงควำมมั่นคงแห่งชำติเพื่อกำรพัฒนำประเทศสู่ควำมม่ังค่ัง แนว
ทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบด้วย (1) การรักษาความมั่นคงภายใน เพ่ือให้เกิดความสงบในสังคมและธารงไว้ซ่ึง
สถาบันหลักของชาติ (2) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการป้องกันประเทศเพ่ือเตรียมความพร้อมในการรับมือ
ภัยคุกคามทังการทหารและภัยคุกคามอื่นๆ (3) การส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศด้านความมั่นคง เพื่อ
บรู ณาการความร่วมมอื กับมิตรประเทศเพ่ือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม และการป้องกันภัยคุกคามข้ามชาติ
(4) การรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์ของชาติทางทะเลเพ่ือคงไว้ซ่ึงอานาจอธิปไตยและสิทธิอธิปไตยในเขต
ทะเล และ (5) การบริหารจัดการความมั่นคงเพื่อการพัฒนา เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกันระหว่างแผนงานที่
เกีย่ วขอ้ งกบั ความมน่ั คงการพฒั นาภายใต้การมีสว่ นรว่ มของภาคประชาชน
6) ยุทธศำสตร์กำรบริหำรจัดกำรในภำครัฐ กำรป้องกันกำรทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมำภิบำล
ในสังคมไทย แนวทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบด้วย (1) ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน บทบาท ภารกิจ และ
คุณภาพบุคลากรภาครัฐ ให้มีความโปร่งใส ทันสมัย คล่องตัว มีขนาดที่เหมาะสม เกิดความคุ้มค่า (2) ปรับปรุง
กระบวนการงบประมาณ และสร้างกลไกในการตดิ ตามตรวจสอบการเงนิ การคลงั ภาครฐั เพือ่ ให้การจดั สรรและการ
ใช้จ่ายมีประสิทธิภาพ (3) เพ่ิมประสิทธิภาพและยกระดับการให้บริการสาธารณะให้ได้มาตรฐานสากล เพ่ือให้
ประชาชนและภาคธุรกิจได้รับบริการท่ีมีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และอานวยความสะดวก ตรงตามความต้องการ
(4) เพ่ิมประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น เพื่อใหป้ ระชาชนไดร้ บั การบรกิ ารอยา่ งมี
ประสิทธภิ าพและท่ัวถึง (5) ป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ เพือ่ ให้สงั คมไทยมีวนิ ัย โปรง่ ใส
และยุติธรรม และ (6) ปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมให้มีความทันสมัย เป็นธรรม และสอดคล้องกับ
ข้อบงั คบั สากลหรือขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ
7) ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำโครงสร้ำงพ้ืนฐำนและระบบโลจิสติกส์ โครงสร้างพืนฐานก้าวไกล
พัฒนาไทยสู่ทศวรรษหน้า แนวทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบด้วย (1) พัฒนาโครงสร้างพืนฐานด้านขนส่ง อาทิ
พัฒนาระบบรถไฟให้เป็นโครงข่ายหลักในการเดินทางและขนส่งของประเทศ พัฒนาโครงข่ายถนน พัฒนาระบบ
ขนส่งทางอากาศ และพัฒนาระบบขนส่งทางนา (2) การสนับสนุนการพัฒนาระบบขนส่ง อาทิ การพัฒนา
อุตสาหกรรมต่อเน่ืองที่เกิดจากการลงทุนด้านโครงสร้างพืนฐาน และพัฒนาการบริหารจัดการในสาขาขนส่ง (3)
พัฒนาระบบโลจิสติกส์ อาทิ พัฒนาและยกระดับมาตรฐานระบบการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานให้
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 20 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
ได้มาตรฐานสากล และพัฒนาและยกระดับมาตรฐานการอานวยความสะดวกทางการค้า (4) พัฒนาด้านพลังงาน
อาทิ จัดหาพลังงานให้เพียงพอและสร้างความมั่นคงในการผลิตพลังงาน เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการ
การผลิต และการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานสะอาด (5) พัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล อาทิ พัฒนาและปรับปรุง
โครงสร้างพืนฐานโทรคมนาคมของประเทศให้ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลใน
การสร้างมูลค่าเพ่ิมทางธุรกิจ และ (6) พัฒนาระบบนาประปา อาทิ พัฒนาระบบนาประปาให้ครอบคลุมและ
ท่วั ถงึ และการบริหารจัดการการใช้นาอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและการสร้างนวัตกรรม
8) ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม รุกไปข้างหน้าด้วย
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม การพัฒนาจึงเน้นในเร่ืองการเพิ่มความเข้มแข็ง และการเพ่ิม
ความสามารถในการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ แนวทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบด้วย
(1) เร่งส่งเสริมการลงทุนวิจัยและพัฒนาและผลักดันสู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิ ชย์และเชิง (2) พัฒนา
ผู้ประกอบการให้เป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี (3) พัฒนาสภาวะแวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ด้านบุคลากรวิจัย อาทิ การเร่งการผลิตบุคลากรสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่ีมีคุณภาพและสอดคล้องกับความต้องการโดยเฉพาะในสาขา STEM และพัฒนาศักยภาพนักวิจัยให้มีทังความรู้
และความเข้าใจในเทคโนโลยี
9) ยุทธศำสตร์กำรพัฒนำภำค เมือง และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ กระจายความเจริญสู่ภูมิภาคอย่าง
สมดุล และยกระดับรายได้ของประชาชนโดยการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองน่าอยู่และมีศักยภาพในการรองรับ
การค้าการลงทุน ไปสู่ภูมิภาค แนวทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบด้วย (1) การพัฒนาภาคเพ่ือสร้างโอกาสทาง
เศรษฐกิจให้กระจายตัวอย่างท่ัวถึง พัฒนาภาคเหนือให้เป็นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง พัฒนาภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือให้หลุดพ้นจากความยากจนสู่เป้าหมายการพ่ึงตนเอง พัฒนาภาคกลางเป็นฐานเศรษฐกิจ
ชันนา พัฒนาภาคใต้เป็นฐานการสร้างรายได้ท่ีหลากหลาย (2) การพัฒนาเมือง อาทิ พัฒนาสภาพแวดล้อมเมือง
ศูนย์กลางของจังหวัดให้เป็นเมืองน่าอยู่ ส่งเสริมการจัดการส่ิงแวดล้อมเมืองอย่างมีบูรณาการภายใต้
การมีส่วนร่วมของส่วนกลาง ส่วนท้องถิ่น ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน พัฒนาระบบขนส่งสาธารณะใน
เขตเมือง และ (3) การพัฒนาพืนท่ีเศรษฐกิจ อาทิ พัฒนาฟ้ืนฟูพืนที่บริเวณชายฝ่ังทะเลตะวันออกให้เป็นฐานการ
ผลิตอุตสาหกรรมหลักของประเทศที่ขยายตัวอย่างมีสมดุล มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับศักยภาพของพืนท่ี
พัฒนาพืนท่ีเศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดนเป็นประตูเศรษฐกิจเช่ือมโยงกับประเทศเพ่ือนบ้านใหเ้ จริญเติบโตอย่าง
ยง่ั ยนื และเกดิ ผลที่เปน็ รูปธรรม
10) ยุทธศำสตร์ควำมรว่ มมือระหว่ำงประเทศเพื่อกำรพัฒนำ ใช้จุดเดน่ ให้ประโยชน์โดยมงุ่ เน้น
การพัฒนาและขยายความรว่ มมือทังด้านเศรษฐกิจ สังคม ความมนั่ คง และอืน่ ๆ กับมิตรประเทศ ให้เข้มข้นเพือ่ ให้
เกิดผลต่อการพัฒนาอย่างเต็มที่ แนวทางการพัฒนาสาคัญ ประกอบด้วย (1) ขยายความร่วมมือทางการค้าและ
การลงทุนกับมิตรประเทศ และแสวงหาตลาดใหม่สาหรบั สินคา้ และบรกิ ารของไทย (2) พัฒนาความเชอ่ื มโยงด้าน
การคมนาคมขนส่ง โลจิสติกส์ และโทรคมนาคมในกรอบความร่วมมืออนุภูมภิ าคภายใต้แผนงาน GMS, ACMECS,
IMT-GT, BIMSTEC ,และ JDS และภูมิภาคอาเซียนเพ่ืออานวยความสะดวกและลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ (3)
พัฒนาและส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของการประกอบธุรกิจ การบริการ และการลงทุนที่โดดเด่นในภูมิภาค
(4) ส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศของผู้ประกอบการไทย (5) เปิดประตูการค้าและพัฒนาความร่วมมือกับ
ประเทศเพ่ือนบ้านในลักษณะหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ทังในระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาคท่ีมีความเสมอภาคกัน
(6) สร้างความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับประเทศในอนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาประเทศ (7) เข้าร่วมเป็นภาคี
ความร่วมมือระหว่างประเทศโดยมีบทบาทที่สรา้ งสรรค์ (8) ส่งเสริมความร่วมมอื กับภูมิภาคและนานาชาติในการ
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 21 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิม่ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
สร้างความมั่นคงในทุกด้านที่เก่ียวกับเรื่องความอยู่ดีมีสุขของประชาชน (9) บูรณาการภารกิจด้านความร่วมมือ
ระหวา่ งประเทศและดา้ นการตา่ งประเทศ และ (10) สง่ เสรมิ ให้เกิดการปรบั ตัวภายในประเทศที่สาคัญ
2.3.4 กระบวนกำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำย
1) กระบวนกำรงบประมำณแผ่นดิน (Budget Process) หมายถึง กระบวนการที่เป็น
ลาดับขันตอนเก่ียวกับการกาหนดแผนความต้องการในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี เร่ิมตังแต่
การทบทวนผลการดาเนินงานของหน่วยงานที่ผ่านมา การจัดทากรอบวงเงินระดับมหภาคการเสนอขอ
งบประมาณรายจ่ายของหน่วยงานต่าง ๆ ไปจนถึงการแถลงของรัฐบาลต่อรัฐสภาเพ่ือเสนอให้รัฐสภา
พิจารณาอนุมัติและตราเป็นพระราชบัญญัติประกาศใช้เป็นกรอบในการติดตามประเมินผลงบประมาณ
รายจ่ายประจาปี กระบวนการงบประมาณแผ่นดินประกอบด้วยขันตอนหลักท่ีสาคัญ 4 ขันตอน (สานัก
งบประมาณ, 2558, น.1-3) ดังนี
1.1) การจัดทางบประมาณ (Budget Preparation) การจัดทางบประมาณต้องคานึงถึง
ประมาณการรายรับและฐานะทางการคลังของประเทศ ความจาเป็นในการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในและภายนอกประเทศ ความเป็นธรรม
ทางสังคม นโยบายรัฐบาลและภารกจิ ของหน่วยรับงบประมาณ เพอ่ื ใหเ้ กิดประสิทธิภาพและความคุ้มคา่ ในการ
ใช้จ่ายงบประมาณและเกิดผลสัมฤทธ์ิในการบริหารจัดการภาครัฐ โดยเตรียมการจัดทางบประมาณแต่ละปี
เร่ิมตังแต่ 4 หน่วยงานกลาง ได้แก่ สานักงบประมาณเป็นหน่วยงานหลัก ร่วมกับสานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักงานเศรษฐกิจการคลัง และธนาคารแห่งประเทศไทย เพ่ือ
ดาเนินการ กาหนดนโยบายงบประมาณประจาปี ประมาณการรายได้ วงเงินงบประมาณรายจ่ายจัดทา
ประมาณการทางเศรษฐกิจและประมาณการรายได้ กาหนดกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่าย และโครงสรา้ ง
งบประมาณรายจ่าย ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณทสี่ อดคล้องกับแผนการบริหารราชการแผ่นดินแล้ว
นาเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ หลังจากนัน สานักงบประมาณจะแจ้งให้ส่วนราชการ
รับทราบแนวทางการดาเนนิ งานในการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยใหม้ กี ระบวนการที่สาคัญ คือ
การทบทวน การวางแผน และการจัดทารายละเอียดวงเงินและคาของบประมาณส่งให้สานักงบประมาณ
พิจารณาก่อนเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบเพ่ือจัดพิมพ์ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีและเอกสารประกอบเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบและจัดทาเอกสาร
งบประมาณเสนอตอ่ รฐั สภา
1.2 ) ก ารอ นุ มั ติ งบ ป ระ ม าณ (Budget Approval) เป็ น ก ระ บ ว น ก ารน าร่าง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีและเอกสารประกอบที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบส่งให้
รัฐสภาพิจารณา ซ่ึงประกอบด้วยการพิจารณาของ สภาผู้แทนราษฎรและการพิจารณาของวุฒิสภาเพื่อให้
ความเห็นชอบก่อนประกาศใช้เป็นกฎหมายในการ พิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรจะต้องพิจารณาให้แล้ว
เสรจ็ ภายใน 105 วัน นบั แตว่ นั ที่รา่ งพระราชบัญญัติฯ มาถึงสภาผ้แู ทนราษฎร โดยพิจารณา 3 วาระ คอื
- วาระท่ี 1 เป็นการพิจารณาว่าจะรับหรือไม่รับหลักการของร่างพระราชบัญญัติฯ
ที่รัฐบาลเสนอ หากพิจารณาแล้วมีมติไม่รับหลักการ ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวก็เป็นอันตกไป และหาก
พิจารณาแล้วมีมตริ ับหลกั การกจ็ ะนาเข้าสกู่ ารพิจารณาในวาระท่ี 2
- วาระที่ 2 ซงึ่ เป็นขันกรรมาธกิ าร โดยจะตังกรรมาธิการขึนคณะหน่งึ เพอ่ื ทาหน้าที่
พิจารณารายละเอียดของร่างพระราชบัญญัติฯ โดยเรียงตามมาตรา ทังนีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะขอ
แก้ไขเพิ่มเติมถ้อยคา หรือขอแปรญัตติในทางลดหรือตัดทอนรายจ่ายซึ่งมิใช่รายจา่ ยตามข้อผกู พันอันได้แก่
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 22 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
เงินส่งใช้ต้นเงินกู้ ดอกเบียเงินกู้ และเงินท่ีกาหนดให้จ่ายตามกฎหมายได้ แต่จะแปรญัตติเพ่ิมรายการหรือ
จานวนในรายการมไิ ด้
- วาระท่ี 3 เพื่อพิจารณารับหรือไม่รับร่างพระราชบัญญัติฯ ทังฉบับหากสภา
ผแู้ ทนราษฎรพิจารณาแล้วไม่รับร่างพระราชบัญญัติฯ ก็เป็นอันตกไป แต่ถ้าหากสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบ
รับรา่ งพระราชบญั ญตั ิฯ ก็จะถูกนาเขา้ สกู่ ารพจิ ารณาของวุฒสิ ภาตอ่ ไป
สาหรับการพิจารณาของวุฒิสภาจะต้องพิจารณาให้แล้วเสรจ็ ภายใน 20 วัน นับแต่วันท่ี
ร่างพระราชบัญญัติฯ มาถึงวุฒิสภา โดยจะแก้ไขเพิ่มเติมใด ๆ มิได้ ถ้าพ้นกาหนดเวลาดังกล่าว ถือว่า
วฒุ ิสภาให้ความเห็นชอบในทางปฏิบัติ เมื่อสภาผู้แทนราษฎรรับหลักการร่างพระราชบัญญัติฯ ในวาระที่ 1
แล้ว วุฒิสภาจะตังกรรมาธิการวิสามัญขึนพิจารณาใน 2 กรณี คือ เห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ หากวุฒิสภา
พิจารณาแล้วไม่ให้ความเห็นชอบ สภาผู้แทนราษฎรอาจยกร่างพระราชบัญญัติฯ ขึนพิจารณาใหม่ได้ทันที
และเม่ือสภาผู้แทนราษฎรยืนยันร่างเดิมด้วยคะแนนเสียงมากกว่าก่ึงหนึ่งของจานวนสมาชิกทังหมดเท่าท่ีมี
อยู่ของสภาผู้แทนราษฎร ให้ถือว่าได้รับความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรแล้ว สาหรับร่าง
พระราชบัญญตั ฯิ ทว่ี ฒุ ิสภาพิจารณาแล้วให้ความเห็นชอบ นายกรัฐมนตรีจะนาขึนทูลเกล้าฯ ภายใน 20 วัน
นับแต่วันท่ีได้รับร่างพระราชบัญญัติฯจากรัฐสภา เพื่อให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยและ
ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาบังคบั ใชเ้ ป็นกฎหมายต่อไป
1.3) การบริหารงบประมาณ (Budget Execution) คือ ขันตอนท่ีมีการประกาศใช้
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดยให้ ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอ่ืน จัดทา
แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ เพ่ือให้มีการเบิกจ่ายและดาเนินการใช้จ่ายงบประมาณ
ที่ได้รับจัดสรรสอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการกระทรวง ผลผลิต/โครงการ ตามวงเงินงบประมาณ
รายจ่ายที่ระบุไว้ในเอกสารงบประมาณประกอบพระราชบัญญตั ิ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี
1.4) การควบคุม ติดตาม ประเมินผลงบประมาณ (Budget Control and Budget
Evaluation) คือ การควบคุม ติดตามการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณของส่วนราชการหรือ
หน่วยงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลผลิตท่ีกาหนดไว้รวมทังการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการ
ดาเนินการโดยใช้หน่วยงานกลาง คือ สานักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
และโดยภายในส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานอ่ืนเอง เพื่อให้การใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปตาม
เป้าหมายและอยู่ในขอบเขตแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อนาผลการประเมินไปปรับใช้ในการจัดทา
งบประมาณครงั ตอ่ ไป โดยคานงึ ถงึ ความคมุ้ คา่ ของการใช้งบประมาณ (value for money) เปน็ สาคญั
2.3.5 แนวคิดระบบงบประมำณแบบมุง่ เนน้ ผลงำนตำมยุทธศำสตร์
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ เน้นการใช้ยุทธศาสตร์ชาติและ
นโยบายรฐั บาลเป็นหลักในการพัฒนาการจัดการทรัพยากรให้เกิดประสิทธิผล คุ้มคา่ และสอดคลอ้ งกันตาม
ความต้องการของประชาชน โดยเพ่ิมบทบาทและความรับผิดชอบของกระทรวง ทบวง กรม ในการบริหาร
จดั การงบประมาณ และคานึงถึงความโปร่งใส่ ตรวจสอบได้ แบ่งตามลักษณะของงบประมาณในเชงิ มิตแิ ล้ว
สามารถแบ่งได้เป็น 3 มิติ คือ มิตินโยบาย (Agenda) มิติโครสร้างหน้าท่ี (Function) และมิติพืนท่ี (Area)
ซ่ึงในแต่ละมิติ นันมีความเก่ียวข้องสอดคล้องและทับซ้อนกันอยู่โดยมียุทธศาสตร์ระดับชาติเป็นเป้าหมาย
สาคัญในการจัดการงบประมาณ
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 23 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิ่มประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
องคป์ ระกอบสาคญั ของระบบงบประมาณแบบมงุ่ เน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย
1) ม่งุ เนน้ ผลสาเรจ็ ตามเปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์จะให้ความสาคัญกับความสาเร็จ
ตามเป้าหมายในทุกระดับตังแต่เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติจนถึงเป้าหมายการให้บริการของ
กระทรวงและหนว่ ยงาน
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ เป็นผลลัพธ์ท่ีรัฐบาลคาดหวังจะให้เกิดประโยชน์
สูงสุดแกป่ ระชาชนและประเทศชาติ รฐั บาลท่ีเข้ามาบริหารประเทศจะมกี รอบนโยบาย เป็นแนวทางในการ
บริหารจัดการประเทศ โดยใช้งบประมาณรายจ่ายประจาปีเป็นเคร่ืองมือที่สาคัญในการขับเคล่ือนนโยบาย
ให้บรรลุผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายและกรอบเวลาที่กาหนด ทังนเี ป้าหมายเชงิ ยุทธศาสตร์ระดับชาตขิ องรัฐบาล
เป็นการกาหนดเป้าหมายในช่วงอายุของแต่ละรัฐบาล และสามารถกาหนดเป้าหมายเป็นรายปีได้ สานัก
งบประมาณจึงมีบทบาทสาคัญในการถ่ายทอดเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติให้เป็นเป้าหมายเชิง
ยทุ ธศาสตร์ประจาปี และแปลงเปน็ ยทุ ธศาสตร์จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี เพื่อเป็นแนวทางในการ
จดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี
เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง จะต้องเชื่อมโยงและคานึงถึงผลสาเร็จตาม
เป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ ซ่ึงเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติอาจดาเนินการโดยกระทรวงหนึ่งหรือ
ต้องรว่ มกันดาเนนิ การโดยหลายกระทรวงในลักษณะบรู ณาการ
เป้าหมายการให้บริการของหน่วยงาน จะต้องสอดคล้องกับเป้าหมายการให้บรกิ ารของ
กระทรวงโดยมกี ารกาหนดผลผลติ ของหน่วยงาน ซงึ่ อาจเปน็ บรกิ ารหรอื สงิ่ ของที่ให้บริการแก่ประชาชนและ
มตี ัวชีวดั ผลสาเรจ็ ท่แี สดงในหลายมิติทังในเชงิ ปรมิ าณ คุณภาพ เวลา และคา่ ใชจ้ ่าย
ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546
กาหนดให้รัฐบาลต้องจัดทาแผนบริหารราชการแผ่นดินเป็นแผน 4 ปี โดนนานโยบายของรัฐบาลท่ีแถลงต่อ
รัฐสภามาพิจารณาดาเนินการให้สอดคล้องกับแนวนโยบายพืนฐานแห่งรัฐตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทยทัง 5 ด้าน (ด้านความมั่นคงแห่งชาติ ด้านการบริหารและอานวยความยุติธรรมแก่ประชาชน
ด้านการเมือง การปกครอง ด้านศาสนา สังคม การศึกษาและด้านเศรษฐกิจ) และแผนพัฒนาประเทศต่าง ๆ ท่ี
เก่ียวข้อง และกาหนดให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ที่สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการ
แผน่ ดิน โดยแตล่ ะปีงบประมาณ ให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี
2) เน้นหลักการธรรมาภิบาล เป็นระบบท่ีเน้นหลักการธรรมาภิบาลหรือหลักการบริหาร
จัดการท่ีดี โดยมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละระดับที่ชัดเจน เริ่มตังแต่จากระดับรัฐบาลหรือ
คณะรัฐมนตรรี ับผิดชอบตอ่ ผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ เพราะรัฐบาลเป็นผ้บู รหิ ารและ
ผู้กาหนดนโยบายสูงสุดของประเทศสู่ระดับกระทรวงหรือรัฐมนตรที ี่รับผดิ ชอบต่อสาเรจ็ ของผลผลิตที่ส่งผล
โดยตรงต่อประชาชน
3) การมอบอานาจการบริหารจัดการงบประมาณ เพ่ือเป็นการสนับสนุนให้กระทรวงและ
หน่วยงาน สามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายและยุทธศาสตร์ ในการให้บริการที่มีความเช่ือมโยงและ
สอดคล้องกันในแต่ละระดับ จึงได้มีการมอบอานาจการบริหารจัดการงบประมาณให้กับกระทรวงและ
หน่วยงานมากขึน พร้อมทังผ่อนคลายกฎหมายระเบียบต่าง ๆ ให้มีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ
งบประมาณมากขนึ ดว้ ย
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 24 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
4) การเพิม่ ขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ การจัดทางบประมาณรายจา่ ยที่ผ่าน
มามีขอบเขตจากัดอยู่เพียงค่าใช้จ่ายของกิจกรรมที่ใช้จ่ายจากเงินงบประมาณแผ่นดินเท่านัน ไม่รวม
กจิ กรรมที่ใช้เงินนอกงบประมาณมาพิจารณา ร่วมกันกับงบประมาณรายจ่ายประจาปี จะทาให้แผนการเงิน
โดยรวมของภาครัฐมีความสมบูรณ์ ครอบคลุมและสามารถใช้ประโยชน์ในการวางแผนทางการเงนิ และการ
คลงั ไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสมย่งิ ขนึ
5) การวางแผนการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการวางแผนงบประมาณ
รายจ่าย 3 ปีล่วงหน้า จากค่าใช้จ่ายที่หน่วยงานได้รับอนุมัติในปัจจุบัน ภายใต้สมมติฐานไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงนโยบาย สาหรับแผนงานต่าง ๆ เหล่านัน ซึ่งจะทาให้ม่ันใจได้ว่าสัดส่วนของค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึน
ในอนาคตนันสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาประเทศในแต่ละด้าน การประมาณการวงเงินงบประมาณ
รายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (Medium Term Expenditure Framework – MTEF) จะดาเนินการทัง
แบบ Top – Down จะเป็นการประมาณการรายจ่ายจากระดับนโยบาย โดยพิจารณาจากสมมติฐาน
ทางการเศรษฐกิจและนโยบายการคลังของรัฐบาล ส่วนการประมาณการแบบ Bottom Up จะเป็นการ
ประมาณการรายจ่ายจากระดับหน่วยงาน ภายใต้สมมติฐานว่าจะไม่มนี โยบายใหมใ่ นระยะเวลา 1+3 ปี ซึ่ง
MTEF ทัง 2 แบบ ทาให้สานักงบประมาณและรัฐบาล ทราบถึงตัวเลขพืนฐานของงบประมาณในแต่ละปี
นอกจากนยี งั ชว่ ยใหก้ ารวางแผนการจัดทรพั ยากรมีประสทิ ธภิ าพและรกั ษาวินยั ทางการคลงั
6) การติดตามและประเมินผลความสาเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ การรายงานผล
การดาเนินงานท่ีโปร่งใส ตรวจสอบได้เพ่ือเป็นการตรวจสอบผลการดาเนินงานของทุกหน่วยงานว่า ได้
บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ท่ีกาหนดไว้หรือไม่ โดยมีตัวชีวัดผลสาเร็จในทุกมิติทังปริมาณ
คณุ ภาพ เวลา และคา่ ใช้จ่าย ตลอดจนเป็นการแสดงความรบั ผิดชอบของหน่วยงานต่อผลสาเรจ็ ของงาน
แผนภำพท่ี 1 องค์ประกอบของระบบงบประมาณแบบมุ่งเนน้ ผลงานตามยทุ ธศาสตร์
ทมี่ ำ : สานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี 25 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
จัดทำโดย : สานกั งบประมาณของรฐั สภา
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
2.3.6 หลักเกณฑแ์ ละวธิ ีกำรจดั ทำงบประมำณรำยจำ่ ยบรู ณำกำร
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561ได้บัญญัติข้อกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดทา
งบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ตามมาตรา 16 มาตรา 31 และมาตรา 32 มีสาระสาคัญกลา่ วคือ งบประมาณ
รายจา่ ยท่ีตังไวส้ าหรับแผนงานบูรณาการที่คณะรัฐมนตรอี นุมัติ ต้องสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ มหี นว่ ยรับ
งบประมาณตังแต่ 2 หน่วยขึนไปร่วมกันรบั ผิดชอบดาเนินการ โดยในการจัดทางบประมาณรายจา่ ยบูรณากร
ให้มีการจัดทาแผนงานบูรณาการซึ่งประกอบด้วย เป้าหมายร่วม วัตถุประสงค์ งบประมาณรายจ่ายที่ต้องใช้
ในการดาเนินการ ระยะเวลาการดาเนินการท่ีชัดเจน สามารถวัดผลสัมฤทธ์ิได้ รวมทังภารกิจของหน่วยรับ
งบประมาณทเ่ี ป็นเจ้าภาพหลกั และหน่วยรับงบประมาณท่ีเก่ียวขอ้ ง เพื่อให้เกิดความรวดเรว็ ประหยัดและลด
ความซาซ้อน จึงกาหนดหลักเกณฑ์และวธิ กี ารจัดทางบประมาณรายจา่ ยบูรณาการ ดังนี
1) หลักเกณฑ์กำรกำหนดแผนงำนบูรณำกำร เพ่ือให้การจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณา
การสอดคล้องกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 และให้เกิดผลสัมฤทธ์ิที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม
จึงไดจ้ ัดทาหลกั เกณฑ์การกาหนดแผนงานบูรณาการ ดงั นี
1.1) เป็นการดาเนินการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
(พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ.2560 – 2564) แผนการปฏิรูปประเทศ เป้าหมายการพัฒนาที่ยัง่ ยนื กรอบแนวคิดการพัฒนาประเทศไปสู่
ประเทศไทย 4.0 แผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ และนโยบายรัฐบาลในประเด็น/เรื่อง (Agenda)
หรือการพัฒนาในระดับพืนท่ี (Area) ท่ีรัฐบาลต้องการขับเคล่ือนให้เกิดผลสัมฤทธ์ิอย่างเป็นรูปธรรม มีความ
เร่งด่วน มีกรอบระยะเวลาทช่ี ดั เจน และมีความสาคญั ในระดบั วาระแห่งชาติ (National Agenda)
1.2) เป็นการดาเนินการรองรับนโยบาย / เรื่องท่ีรัฐบาลจาเป็นต้องมีการวางแผนและ
บริหารจัดการในภาพรวมของทงั ประเทศรว่ มกนั ซ่ึงรัฐบาลให้ความสาคญั ระดับสงู โดยอาศัยโครงสร้างของ
แผนงานบูรณาการเพื่อเช่อื มโยงการทางานอย่างเปน็ ระบบ
1.3) มีหน่วยรับงบประมาณตังแต่ 2 หน่วยขึนไป ซ่ึงไม่อยู่ในกระทรวงเดียวกัน ร่วมกัน
รับผดิ ชอบดาเนนิ การเพ่อื สนบั สนุนการดาเนินการในแต่ละเปา้ หมายของแผนงานบูรณาการ
2) วิธีกำรจัดทำแผนงำนบูรณำกำร เพื่อให้การจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการ
สอดคล้องกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีการดาเนินการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึง
กาหนดวิธีการจัดทาแผนงานบรู ณาการ ดงั นี
2.1) การจัดทาแผนงานบูรณาการ ต้องมีองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ เป้าหมายร่วม
วัตถุประสงค์ งบประมาณรายจ่ายที่ต้องใช้ในการดาเนินการ ระยะเวลาการดาเนินการท่ีชัดเจน สามารถวัด
ผลสัมฤทธไ์ิ ด้ รวมทังภารกจิ ของหน่วยรบั งบประมาณทเ่ี จ้าภาพหลกั และหนว่ ยรับงบประมาณท่ีเกี่ยวข้อง
2.2) การกาหนดระยะเวลาดาเนินการของแผนงานบูรณาการ ต้องมีระยะเวลาในการ
ดาเนินการที่ชัดเจน ระหว่าง 3-5 ปี หรือตามกรอบระยะเวลาท่ีรัฐบาลต้องการดาเนินการให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ
และในกรณีที่เป็นประเด็นตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) แผนการปฏิรูปประเทศ เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน
กรอบแนวคิดการพัฒนาประเทศไปสู่ประเทศไทย 4.0 แผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ แผน
ระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ ควรกาหนดระยะเวลาการดาเนินงานของแผนงานบูรณาการให้
สอดคล้องกบั ระยะเวลาของแผนงานข้างตน้
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 26 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่ิมประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
2.3) ควรมกี ารกาหนดเปา้ หมายและตัวชวี ดั ดังนี
(1) ควรกาหนดเป้าหมายและตัวชีวัดในภาพรวมของแผนงานบูรณาการให้สอดคล้อง
กับระยะเวลาการดาเนนิ งานของแผนงาน รวมทังแสดงเป้าหมายและตัวชีวดั รายปีให้ชดั เจน
(2) ภายใต้เป้าหมายแผนงานบูรณาการ ในแต่ละเป้าหมายต้องมีหน่วยรับงบประมาณ
ตังแต่ 2 หน่วยขึนไป ซ่ึงไม่อยู่ในกระทรวงเดียวกัน ร่วมกันรับผิดชอบดาเนินการ และต้องมีการกาหนดหน่วยรับ
งบประมาณที่เปน็ เจ้าภาพของแต่ละเป้าหมาย รวมทังจดั ทาแนวทางการดาเนินการของแต่ละเป้าหมายให้มีความ
สอดคล้องและเชื่อมโยงกนั ในลักษณะหว่ งโซค่ ณุ คา่ (Value chain) ตังแต่ต้นนา กลางนา ปลายนา
(3) การกาหนดเป้าหมายและตัวชีวัดของแผนงานบูรณาการ ต้องมีการกาหนดตัวชีวัดใน
ลักษณะของตัวชีวัดร่วมระหว่างกระทรวงท่ีมีเป้าหมายร่วมกัน (Joint KPIs) และในกรณีท่ีตัวชีวัดมีการอ้างอิงกับ
ตัวชีวดั ตามมาตรฐานสากลจะต้องกาหนดการดาเนนิ งานและตวั ชวี ัดใหส้ อดคลอ้ งกบั ตัวชวี ัดสากลดังกล่าว
2.4) งบประมาณรายจ่ายท่ีต้องใช้ในการดาเนินโครงการ / กิจกรรมของแผนงานบูรณาการ
ต้องเป็นงบประมาณท่ีนาส่งผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของแผนงานบูรณาการ โดยไม่นาค่าใช้จ่ายท่ีมีลักษณะเป็น
งานประจาและ/หรือ ภารกิจพืนฐานของหน่วยงานมากาหนดไว้ และต้องแสดงให้ครอบคลุมทุกแหล่งเงิน
2.5) หน่วยงานเจ้าภาพหลักของแผนงานบูรณาการจะต้องร่วมกับเจ้าภาพในแต่ละ
เป้าหมายจัดทารายงานผลการดาเนินงานและผลสัมฤทธิ์ของเป้าหมายและตัวชีวัดท่ีกาหนดไว้ในแต่ละปี เพ่ือ
ประกอบการทบทวนและวางแผนจัดทางบประมาณในปีต่อไป และจัดทารายงานเม่ือสินสุดระยะเวลาของ
แผนงานบรู ณาการนนั ๆ
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 27 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
บทท่ี 3
ผลกำรดำเนินงำนแผนงำนบรู ณำกำรเชงิ ยทุ ธศำสตร์
3.1 ววิ ฒั นำกำรแผนงำนบูรณำกำร
งบประมาณเชิงบูรณาการเปน็ กลไกหนึ่งท่ีใช้ในการเช่ือมโยงภารกิจ และการดาเนินงานของสว่ นราชการ
และกระทรวงต่าง ๆ เพื่อช่วยให้การจัดสรรทรัพยากรมีประสิทธิภาพ ลดปัญหาความซาซ้อนและการสินเปลือง
ทรัพยากร รวมทังเพ่ือให้การบูรณาการนโยบายสาคัญ เร่งด่วนของรัฐบาลสามารถบรรลุผลสาเร็จด้วยดี มีความ
ต่อเน่ือง การจัดการงบประมาณเชิงบูรณาการท่ีผ่านมามีการพัฒนาแบ่งได้เป็น 3 ระยะ ดังนี (งบประมาณเชิง
บูรณาการเพื่อการพัฒนา : กลไกการบูรณาการยุทธศาสตร์ของ 5 กระทรวงหลักด้านเศรษฐกิจ โดย ทิพวรรณ
หล่อสวุ รรณรัตนแ์ ละคณะ ,2552)
3.1.1 ระยะที่ 1 กำรจดั กำรงบประมำณเชงิ บูรณำกำรแบบรวมศูนย์
ความพยายามในการจัดทางบประมาณเชิงบูรณาการที่เป็นรูปธรรมเกิดขึนในปี พ.ศ.2529 เมื่อ
สานักงบประมาณได้จัดตังคณะกรรมการพิจารณางบประมาณสาหรับบูรณาการ เร่ืองนาบาดาล เน่ืองจากมี
หน่วยงานซึ่งมีภารกิจเกยี่ วข้อง 4 หนว่ ยงานคอื สานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท (รพช.) กรมโยธาธิการ กรมอนามัย
และกรมทรัพยากรธรณี ต่อมาสานักงบประมาณได้มีการจัดการงบประมาณเชิงบูรณาการ 4-5 เรื่องในแต่ละ
ปีงบประมาณ โดยเป็นการจัดตังคณะกรรมการภายในสานักงบประมาณและมุ่งเน้นการแก้ปัญหาความซาซ้อน
เป็นหลัก ซึ่งการบูรณาการในลักษณะดังกล่าวถือเป็นการจัดการงบประมาณเชิงบูรณาการแบบรวมศูนย์ โดย
สานักงบประมาณในฐานะหน่วยงานในการจัดสรรงบประมาณได้ริเริ่มใช้กลไกคณะกรรมการภายในสาหรับ
แผนงาน / โครงการท่ีมีขนาดใหญ่และมีหน่วยงานที่มีภารกิจเหมือนกันโดยให้มีการพิจารณาร่วมกันในการ
จดั สรรงบประมาณ เพื่อลดความซาซ้อนและสินเปลอื งในการใชท้ รัพยากร ในระยะแรกนี ต่อมา ได้มีการขยายผล
การจดั ทางบประมาณบูรณาการในเร่ืองโรคเอดสแ์ ละยาเสพติดดว้ ย
3.1.2 ระยะที่ 2 กำรจดั กำรงบประมำณเชงิ บูรณำกำรระดับพ้นื ท่ี
ในระยะนีเป็นการให้ความสาคัญกับการบูรณาการในระดับพืนท่ี ทังในระดับจังหวัดและใน
ต่างประเทศมากขึน กล่าวคือ ในปี พ.ศ. 2544 มีการจัดโครงการจังหวัดทดลองแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนา
(ผู้ว่าฯ ซีอีโอ) โครงการนีมีการทดลองหรือนาร่องในปีงบประมาณ พ.ศ. 2545 หลังจากนัน คณะรัฐมนตรีมี
มติเม่ือวันท่ี 28 เมษายน 2546 เห็นชอบให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) เป็น
ผู้บริหารสูงสุดของจังหวัด ให้ใช้แนวทางการบริหารงานแบบบูรณาการ เช่นเดียวกับจังหวัดนาร่อง ตังแต่วันท่ี 1
ตุลาคม พ.ศ. 2546 เป็นต้นไป โดยให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องได้เตรียมการด้านองค์การ แผนงาน งบประมาณ
บุคลากรและกฎหมายท่ีเกยี่ วข้องเพอื่ รองรบั การขยายผลการบรหิ ารงานแบบบูรณาการใหค้ รบทุกจังหวัด สาหรับ
การบูรณาการ ด้านงบประมาณในเชิงพืนท่ีของจังหวัดแบบบูรณาการมีลักษณะเป็นการมอบอานาจตามระเบียบ
ว่าด้วยการบริหารงบประมาณ อาทิ การโอนงบประมาณระหว่างงาน / โครงการและหมวดรายจ่าย การ
เปลย่ี นแปลงรูปแบบการก่อสร้างโดยไม่เพิ่มวงเงนิ การมอบอานาจตามหลกั เกณฑ์วิธีปฏิบัติตามโครงการถา่ ยโอน
งาน / กิจกรรม รวมทังการใช้งบประมาณเหลือจ่ายซ่ึงให้หัวหน้าส่วนราชการมอบอานาจให้แก่ผู้ว่าราชการ
จังหวัด คณะรัฐมนตรีมีมติ เม่ือวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2545 และวันท่ี 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 ให้ใช้หลักการ
การบริหารงานแบบบูรณาการสาหรับหน่วยงานในต่างประเทศ โดยให้มีการประสานเชื่อมโยงกันอย่างมีเอกภาพ
มีเจ้าภาพรับผิดชอบชัดเจน มีการทางานเป็นทีม มีการจัดตังคณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านต่างประเทศใน
ระดับชาติ มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน และคณะอนุกรรมการอีก 3 คณะ เพ่ือรับผิดชอบเร่ืองแผนบูรณาการ
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 28 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพมิ่ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
งบประมาณบูรณาการ และบุคลากรในต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้อานวยการ
สานักงบประมาณและรัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงต่างประเทศเป็นประธานอนุกรรมการคนละชดุ ตามลาดับ
เร่ืองรูปแบบการจัดการงบประมาณสาหรับการบริหารราชการในต่างประเทศแบบบูรณาการ
พบว่า รูปแบบการจัดการงบประมาณสาหรับการบรหิ ารราชการในต่างประเทศแบบบูรณาการของประเทศไทยมี
การวางแผนผ่านกลไกคณะกรรมการยุทธศาสตร์ด้านต่างประเทศในระดับชาติและคณะกรรมการบริหารราชการ
สถานเอกอัครราชฑูต แต่การเสนอขอตังงบประมาณรายจ่ายประจาปี การบริหารงบประมาณ การรายงานทาง
การเงินและผลการดาเนินงาน และการติดตามประเมินผลยังคงมีรูปแบบที่ไม่แตกต่างจากเดิม มีลักษณะการ
จัดการผ่านหน่วยงานต้นสังกัด ถึงแม้จะมีการร่วมคิดวางแผนกันมากขึน แต่ยังมีปัญหาการจัดการงบประมาณ
เชิงบูรณาการเพื่อสนับสนุนการทางานร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่มีภารกิจในต่างประเทศ และยังขาดระบบ
ราย งาน ท างก ารเงิ น แล ะผ ล การด าเนิ น งาน ตล อดจ น ระบ บ ก ารติ ด ตามป ระเมิ น ผ ล อย่ างเป็ น รู ป ธรรม
(นิรมล พานิชพงษ์พันธ์ุ และคณะศึกษา , 2006)
ในระยะนีมีการตราพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546 มาตรา 10 วรรค 1 ได้กาหนดว่า “ในกรณีท่ีภารกิจใดมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่วนราชการหรือเป็น
ภารกิจท่ีใกล้เคียงหรือต่อเน่ืองกันให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องนันกาหนดแนวทางปฏิบัติราชการ เพื่อให้เกิดการ
บริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ” นอกจากนี พระราชกฤษฎีกา
ดังกล่าวในมาตรา 10 วรรค 2 ได้กาหนดว่า “ให้ส่วนราชการมีหน้าท่ีสนับสนุนการปฏิบัติราชการของผู้ว่า
ราชการจังหวัดหรือหัวหน้าส่วนราชการจังหวัดหรือหัวหน้าคณะผู้แทนในต่างประเทศเพื่อให้การบริหารราชการ
แบบบูรณาการในจังหวัดและในต่างประเทศแล้วแต่กรณี สามารถใช้อานาจตามกฎหมายได้ครบถ้วนตามความ
จาเป็นและบรหิ ารราชการได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ”
ปี พ.ศ. 2548 มีการจัดทาแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการประจาปีงบประมาณเป็นครังแรก
โดยมีแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการทังสิน 13 แผน อาทิ แผนงบประมาณเพ่ือการพัฒนาลุ่มนาทะเลสาบ
สงขลา แผนงานงบประมาณการพัฒนาสนามบินสุวรรณภูมิ แผนงบประมาณการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด การจัดทาแผนงบประมาณในเชิงบูรณาการประจาปีได้ดาเนินการต่อเน่ืองถึงปี พ.ศ. 2549 โดยมี
แผนการบรู ณาการทังสนิ 15 แผน บางเรอ่ื งเปน็ แผนฯ ท่ีตอ่ เนอ่ื งจากปี พ.ศ. 2548 แตบ่ างเรอ่ื งเปน็ แผนฯใหม่
3.1.3 ระยะท่ี 3 กำรจดั กำรงบประมำณเชิงบรู ณำกำรเพ่ือตอบสนองยุทธศำสตร์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 – 2552 สานักงบประมาณได้กาหนดหลักการจัดทางบประมาณ
ในมิติการบูรณาการ โดยไดน้ านโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผน่ ดินท่ีเป็นเรือ่ งด่วน มกี ารบูรณาการ
และมีมติคณะรัฐมนตรีรองรับ กาหนดให้รองนายกรัฐมนตรีรับผิดชอบในงานแต่ละด้าน รวมทังมีการให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกาหนดแผนและเป้าหมายร่วมกัน ก่อนมาของบประมาณจากสานักงบประมาณ
กาหนดให้มีแผนงานการบูรณาการขึนมา เพ่ือให้สอดคล้องกับการดาเนินงานตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล
และลดความซาซ้อนของผลผลิต/โครงการและงบประมาณในการดาเนินการ สานักงบประมาณได้กาหนด
แผนงานการบูรณาการในครังนีเหลือเพียง 8 แผนงาน เช่น งานวิจัย การจัดการนาปัญหาชายแดนภาคใต้
ยาเสพติด ความปลอดภัยบนท้องถนน การท่องเที่ยว เป็นต้น และในปีงบประมาณ พ.ศ.2553 เหลือเพียง
6 แผน คอื งานวิจยั ทอ่ งเท่ียว ทะเลสาบสงขลา ชายแดนภาคใต้ การจดั การนา และงานวจิ ยั
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 มกี ารกาหนดงบประมาณในลักษณะบรู ณาการแตกตา่ งจากปีกอ่ น ๆ
โดยมีการนาประเด็นจาแนกตามยุทธศาสตรป์ ระเทศและนโยบายสาคัญของรฐั บาลและแบ่งเป็น 4 เรื่อง ได้แก่
1) การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยมีประเด็นย่อยอีก 9 เร่ือง เชน่ ด้าน
เกษตร ด้านอตุ สาหกรรม ด้านการทอ่ งเที่ยวและบริการ ด้านโครงสร้างพนื ฐาน เปน็ ต้น
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 29 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
2) การลดความเหลื่อมลามีประเด็นย่อยอีก 8 เร่ือง เช่น การพัฒนาคุณภาพการศึกษา การ
ยกระดับการบริการสาธารณสุข การจัดสวัสดิการดูแลผสู้ ูงอายุ เดก็ สตรี และผู้ดอ้ ยโอกาส
3) การเติบโตที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม มีประเด็นย่อย 5 เร่ือง เช่น การพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชงิ นิเวศน์ การลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก นโยบายการคลังเพอื่ ส่ิงแวดล้อม และ
4) การบริหารราชการแผ่นดิน มีประเด็นย่อย 8 เรื่อง อาทิ การปฏิรูปกฎหมาย การปรับ
โครงสร้างระบบราชการ การพัฒนากาลังคนภาครัฐ และการปรับโครงสร้างภาษี เน่ืองจากปีนีมีประเด็นใน
การบรู ณาการจานวนมาก งบประมาณบรู ณาการในปนี จี ึงสูงถึง จานวน 759,113 ลา้ นบาท
ในขณะท่ีงบประมาณบูรณาการในปี พ.ศ. 2556 มีจานวน 524,123 ล้านบาท และ
ปี พ.ศ. 2558 มีจานวน 486,682 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2557 ได้มีการกาหนดขันตอนการจัดทางบประมาณใน
ลักษณะบูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 อย่างเป็นระบบเพ่ือให้ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์มากขึน
โดยเริ่มในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2557 คณะรัฐมนตรีได้มีความเห็นชอบหลักการและแนวทางการจัดทา
งบประมาณในลักษณะบูรณาการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 และต่อมาเมื่อวันท่ี 20 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2557 นายกรัฐมนตรีได้แต่งตังคณะกรรมการพิจารณาการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการ โดยมี
รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีท่ีได้รับมอบหมายเป็นประธาน หลังจากนันให้คณะกรรมการเชิญหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุมเพื่อพิจารณาจัดทาข้อเสนองบประมาณที่เหมาะสมเสนอต่อสานักงบประมาณ เม่ือ
สานักงบประมาณพิจารณาเบืองต้นแล้วจะเสนอต่อคณะกรรมการฯ ต่อไป หลังจากนัน คณะกรรมการฯ
จะเสนอต่อนายกรัฐมนตรีเพ่ือส่งสานักงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ได้มีการกาหนดประเด็น
การบรู ณาการไว้ 19 เรือ่ ง เป็นงบประมาณทังสิน 378,577 ลา้ นบาท
3.2 ข้อสังเกตของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
พ.ศ. 2562 – 2563
3.2.1 ข้อสงั เกต ปงี บประมำณ พ.ศ. 2562
1) แผนงานบูรณาการเป็นการดาเนินการที่หน่วยงานใดหน่วยงานหน่ึงไม่สามารถ
ดาเนินการให้เกิดผลสัมฤทธ์ิได้เพียงหน่วยงานเดียว ต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจะ
สามารถดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายได้ ทังนี การบูรณาการควรมีลักษณะเป็นโครงการสาคัญที่มีความ
จาเปน็ เร่งด่วน เพ่ือแก้ไขปญั หาหรือพัฒนาในช่วงเวลาหน่งึ (Special Project / Special Job/Temporary
Problem) โดยมีเป้าหมายร่วมและตัวชีวัดที่ตอบเป้าหมายร่วมนัน รวมทังมีกรอบระยะเวลาดาเนินการที่
ชดั เจน จึงจะเป็นการบูรณาการกันและควรทบทวนหลักเกณฑ์การกาหนดแผนงานบูรณาการให้มีจานวนท่ี
เหมาะสมและเป็นการบูรณาการอยา่ งแทจ้ รงิ
2) ควรกาหนดเป้าหมายและตัวชีวัดของกิจกรรมของแต่ละหน่วยงาน และภาพรวมของ
แผนงานบูรณาการ แนวทางการดาเนินงานและตัวชีวัดของหน่วยงานให้สอดคล้องเช่ือมโยงกันและ
ตอบเป้าหมายของแผน รวมทังกาหนดหน่วยงานเจ้าภาพในแต่ละแนวทางเพ่ือกากับดูแลการดาเนินงานให้
เกิดผลลพั ธต์ ามเป้าหมายท่กี าหนดไว้
3) แผนงานบูรณาการ ควรนาไปสู่การ ลดเวลา ลดความซาซ้อน ลดค่าใช้จ่ายและมี
ผลสัมฤทธิ์สูง โดยมกี ารแสดงใหเ้ ห็นขนั ตอนการดาเนินงานตังแตต่ ้นนา กลางนา และปลายนา ภายใต้กรอบ
เวลาและวัดผลได้ เพื่อนาผลสัมฤทธ์ิ ปัญหา อุปสรรคและข้อค้นพบจากการดาเนินงานในปีงบประมาณท่ี
ผา่ นมาไปทบทวนแก้ไขหรือปรับปรงุ การดาเนินงานในปีถดั ไป
4) ควรกาหนดเป้าหมายการดาเนินงานและตัวชีวัด ทังตัวชีวัดเชิงปริมาณและตัวชีวัดเชิง
คณุ ภาพใหม้ ีความชัดเจน และมคี วามท้าทายมากขึน สามารถวดั ผลสัมฤทธ์ิของการปฏิบัติงานได้อย่างแทจ้ ริง
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 30 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
5) ควรสร้างกลไกเพื่อปลูกฝังจิตสานึกให้กับเด็ก เยาวชน ภาคเอกชน และภาครัฐให้
ตระหนักถึงความสาคัญและความเสียหายที่เกิดจากการทุจริต โดยกาหนดมาตรการและ แนวทางการ
ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเข้มงวด และควรมีการประชาสัมพันธไ์ ปสู่ประชาชน อย่างสม่าเสมอ
ท่ัวถึง ผ่านส่ือรูปแบบต่าง ๆ ทังภาครัฐและเอกชน รวมทังให้กระทรวงศึกษาธิการ สรา้ งหลักสูตรการเรียน
การสอนเก่ยี วกับหลกั ธรรมาภบิ าล ตังแต่ในระดบั ชันประถมศึกษาไปจนถึงระดบั อุดมศกึ ษา
6) การป้องกันการทุจริตทุกหน่วยงานควรดาเนินการให้เป็นภารกิจประจา ควรคัดเลือก
จากกลุ่มหน่วยงานที่ทาหน้าท่ีอานวยการในการปราบปรามการทุจริต หน่วยงานท่ีมีข้อมูลว่ามีปัญหาการ
ทุจรติ อยู่ในลาดบั ต้น ๆ และหนว่ ยงานที่ทาหนา้ ท่ีในการปลกู ฝงั เยาวชนในการปอ้ งกันการทจุ รติ
7) งบประมาณท่ีเสนอขอตังในเรอ่ื งของ อินเตอร์เน็ตและค่าบริการ ของหน่วยงานต่าง ๆ มี
จานวนค่อนข้างมาก อาทิเช่น กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงศึกษาธกิ าร จงึ ควรพิจารณาโครงการและคา่ ใชจ้ ่ายในเรอื่ งดังกลา่ ว โดยคานึงถึงพืนทก่ี ารให้บริการ
ของเน็ตประชารัฐ ชุมชน และพืนที่ชายขอบ ทังท่ีดาเนินการแล้ว และยังอยู่ระหว่างดาเนินการของ
หน่วยงานต่าง ๆ รวมถึงภาระค่าบริการท่จี ะเกดิ ขึนตอ่ ไปด้วย
8) การจัดทาระบบสารสนเทศของแตล่ ะหน่วยงาน ควรกาหนดแนวทางการพัฒนาระบบให้
สามารถเช่ือมโยงข้อมูลของทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้ เข้มงวดเกี่ยวกับความปลอดภัยของข้อมูล มีระบบ
สนบั สนนุ การทางานของแต่ละหน่วยงานให้สมบูรณ์ และพัฒนาระบบสารสนเทศการวางแผนทรัพยากรของ
องค์กร (Enterprise Resource Planning : ERP) และถ่ายโอนข้อมูลเข้าสู่ระบบกลาง สาหรับโครงการ
ระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น ระบบฐานข้อมูลวิศวกรรม ระบบภูมิสารสนเทศ (GIS) ควรให้กระทรวง
ดิจทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมจดั ทาโครงสร้างพืนฐานของระบบ เพื่อใชเ้ ปน็ มาตรฐาน
9) การเร่งรัดโครงการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงท่ีเข้าถึงระดับหมู่บ้าน จะช่วยลดความ
เหล่ือมลาได้ แต่ควรมีการวางแผนพัฒนากาลังคนอย่างเป็นระบบ การพัฒนาโปรแกรมสาหรับ การเรียน
การสอนทางไกล และประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชนอย่างทั่วถึง เพ่ือให้สามารถนา
โครงขา่ ยที่มีความกวา้ งขวางไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า ทังนี รายจ่ายประจาท่ีเกี่ยวข้องจะต้องลดลง
อยา่ งตอ่ เนือ่ งทกุ ปี
10) หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ควรร่วมมือกันป้องกัน ปราบปราม และฟืน้ ฟผู ้ตู ดิ ยาเสพตดิ
ให้เกิดผลสัมฤทธ์ิเป็นรูปธรรม ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้มีประสิทธิภาพมากขึน จึงมีความจาเป็นต้อง
ร่วมมือกับประเทศเพ่ือนบ้าน เช่น จีน พม่า ลาว เป็นต้น เพ่ือการสกัดกันต้นทางของยาเสพติด และควรใช้
มาตรการยึดทรัพย์ให้มากยิ่งขึน เพื่อทาลายแหล่งทุนของกลุ่มผู้ค้ายาเสพติด ซึ่งการดาเนินการดังกล่าวจะ
ทาให้ยาเสพติดที่เข้าสู่ประเทศไทยลดลง และควรกาหนดเป้าหมายให้ครอบคลุมทังในเชิงปริมาณและเชิง
คณุ ภาพที่สะท้อนผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรม โดยไม่เน้นเป้าหมายเชิงปริมาณซ่ึงเป็นข้อมูลตัวเลขเชิงสถิติ
เพียงอย่างเดียว และกาหนดให้มีเจ้าภาพหลักรับผิดชอบทังการป้องกัน ปราบปราม และบาบัดรักษาอย่าง
ชัดเจน รวมทังพัฒนาศูนย์ข้อมูล (Data Center) สาหรับใช้ในการทางานเชิงเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกัน
ระหวา่ งหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพื่อส่งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพในการดาเนนิ งานใหม้ ากย่งิ ขึน
11) โครงการวิจัยและนวัตกรรม ที่มีลักษณะเป็นโครงการวิจัยต่อเนื่อง และเป้าหมาย
แผนการปฏิบัติงานท่ีชัดเจน และมีระยะเวลาดาเนินการมากกว่า 1 ปี ควรแสดงภาพรวมของระยะเวลา
และวงเงินงบประมาณด้วย เพื่อให้การดาเนินงานมีความต่อเนื่องและเกิดผลสัมฤทธิ์ สามารถนามาใช้
พัฒนางาน และต่อยอดเชิงพาณิชย์ได้ ควรจัดประเภทของงานวิจัย เช่น การวิจัยพืนฐาน การวิจัย
ประยุกต์และนวัตกรรม การวิจัยเพื่อพัฒนาต่อยอด การวิจัยด้านโครงสร้างพืนฐาน เป็นต้น เพื่อให้มี
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 31 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่ิมประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
ข้อมูลด้านการวิจัยที่ครบถ้วนและครอบคลุมทุกหมวดหมู่ของการวิจัย ทังนี เพื่อนาไปกาหนดแนว
ทางการส่งเสริมด้านการวิจัยให้ถูกต้องเหมาะสมและสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศต่อไป การ
จัดทาโครงการวิจัยของสถาบันการศึกษา ควรมีการวิจัยให้ครอบคลุม ทุกกระบวนการตังแต่ต้นทาง
จนถึงปลายทางโดยมีการบูรณาการร่วมกับพืนที่ทังภาคเอกชนและชุมชนท้องถิ่น โดยให้ความสาคัญกับ
การวิจัยที่สามารถต่อยอดได้ในเชิงพาณิชย์ และสามารถผลิตเป็นสินค้าหรือบริการเพื่อการส่งออกที่เกิด
ประโยชน์ต่อประเทศในการเพมิ่ มูลค่าสินค้าและบริการอยา่ งแท้จริง หน่วยงานเจ้าภาพควรกลั่นกรองและ
จัดลาดับความสาคัญของโครงการลดความซาซ้อนของโครงการวิจัยท่ีเสนอขอตังงบประมาณ โดยเฉพาะ
โครงการวิจัยรายย่อยและมีลักษณะเทียบเคียงกับโครงการที่เคยวิจัยแล้วและไม่ได้นาไปสู่การใช้งานจริง
และมกี ารติดตามผลการดาเนินงานท่ีได้รบั จากการทาโครงการวจิ ยั ร่วมกับต่างประเทศ
12) การบูรณาการพัฒนาพืนที่ระดับภาค ควรส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงพาณิชย์ โดยวิธี
กระตุ้นการท่องเที่ยว แล้วจึงส่งเสริมการใช้จ่าย ซือสินค้า บริการ โดยเน้นการจัดงานแสดงสินค้าในพืนที่
มากกว่าการจัดแสดงสินค้าในห้างสรรพสินค้า และการจัดงานแสดงสินค้าต่าง ๆ เช่น การจัดงานแสดง
สินค้าในระดบั ภาค ควรมีนวัตกรรมและไม่ซาซ้อนกัน ควรกาหนดวัตถุประสงคแ์ ละกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน
สอดคล้องกับภารกิจของโครงการกจิ กรรมและสนิ คา้ บริการ และเนอื หาที่จะประชาสมั พันธม์ กี ารบูรณาการ
ร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในส่ือประชาสัมพันธ์ วางแผนระยะเวลาการดาเนินงานล่วงหน้าและ
ต่อเน่ืองในการโฆษณาประชาสมั พันธ์ และควรศกึ ษารูปแบบรายการและกลุม่ เป้าหมาย เพ่ือการวางแผนซือ
ส่ือโฆษณา เช่น การซือส่ือโฆษณาแบบ Package ซึ่งมีหลากหลายแบบให้เลือก รวมทังมีค่าใช้จ่ายในการ
โฆษณาและผลตอบแทนส่อื ที่ไม่สูงมาก ควรบูรณาการการดาเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณ เพ่ือให้เกิด
การใช้จ่ายงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพและความคุ้ม พร้อมทบทวนภารกิจท่ีซาซ้อนกับหน่วยงานอ่ืน
ควรมีการติดตามผลการดาเนินงาน เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงาน การมีเป้าหมายร่วม
เพียงเป้าหมายเดียว และแนวทางตัวชีวัดของแผนงานบูรณาการมีลักษณะเช่นเดียวกันทุกภาคแผนงาน
บูรณาการพัฒนาพืนที่ระดับภาค ไม่น่าจะสอดคล้องกับความเป็นจริง ซึ่งแต่ละภาคควรจะมีจุดเน้นท่ี
แตกต่างกัน เนื่องจากแต่ละภาคมีสภาพปัญหาและบริบทของพืนท่ีที่แตกต่างกัน ควรปรับปรุงเพื่อให้
สอดคล้องกับความต้องการของพืนท่ีอย่างแท้จริงและทบทวนโครงการ กิจกรรมไม่ให้ซาซ้อนกับหน่วยงาน
หรอื ในแผนงานบูรณาการอื่น ๆ
13) โครงสรา้ งพืนฐานและระบบโลจิสติกส์เป็นการลงทุนเพื่ออนาคต จึงตอ้ งกาหนดแผนให้
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยคานึงถึงความเชื่อมโยงของระบบคมนาคมทังทางบก ทางราง ทาง
นา และทางอากาศ รวมทังเช่ือมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้เกิดการขยายตัวทางการค้าและการลงทุน
ตลอดจนมีการบูรณาการกันอย่างจริงจัง เพื่อให้การดาเนินงานของแต่ละหน่วยงานมีความสอดคล้องและ
เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เป้าหมายของแผนงานบูรณาการนีจานวนมากและเข้าใจยากไม่ได้เป็นแผนงาน
บูรณาการอย่างแท้จริง เป็นการรวมภารกิจปกติและส่วนใหญ่เป็นงบประมาณของกระทรวงคมนาคมมี
หน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องน้อย การลดต้นทุนการเดินทางและค่าขนส่งสินค้า ควรกาหนดให้ชัดเจนว่า
หน่วยงานใดต้องดาเนินการอะไร หน่วยงานใดมีส่วนเกี่ยวข้องบ้าง ต้องดาเนินการเม่ือใด เพื่อให้มีความ
เช่ือมโยงทังต้นนา กลางนา และปลายนา การดาเนนิ การที่เน้นการขนส่งสินคา้ ผ่านด่านทางบกเปน็ หลักไม่มี
ด่านทางนา หรือทางอากาศ โดยเฉพาะด่านทางนายังขาดการควบคุม ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลทาให้มีการ
ลักลอบนาสินค้าเข้ามาโดยไม่ถูกต้อง จึงควรมีการบูรณาการร่วมกนั ระหว่างหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง เช่น กรม
เจ้าท่า การท่าเรือแห่งประเทศไทย กรมท่าอากาศยาน เพื่อให้ครอบคลุมครบวงจร ควรเร่งรัดและแก้ไข
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 32 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
ปัญหาการออกบัตรโดยสารร่วม ให้สามารถใช้ได้โดยเร็ว รวมทังพิจารณาอัตราค่าโดยสารสาหรับผู้มีรายได้
น้อย เพ่ือเพิ่มจานวนผูโ้ ดยสารลดปัญหาการขาดทนุ ในบางเส้นทาง
14) การส่งเสริมด้านการท่องเที่ยวจะต้องคานึงถึงขีดความสามารถในการรองรับของพืนท่ี
(Carrying Capacity) ด้วย เพ่ือป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึนกับแหล่งท่องเท่ียว ซึง่ จานวนนักท่องเที่ยวที่
สมดุลกับศักยภาพของพืนที่จึงมีความสาคัญมากในการส่งเสริมการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน ทังนี การ
ดาเนินการดังกล่าว สามารถช่วยลดงบประมาณด้านการฟ้ืนฟูแหล่งท่องเที่ยวได้มากขึนอีกด้วย ควรมีการ
จดั ทาฐานข้อมูลด้านการทอ่ งเท่ียวให้มีความถกู ต้อง ครบถ้วน และทนั สมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อมูลพืนฐาน
เช่น จานวนนักท่องเที่ยว ท่ีมาของนักท่องเที่ยว การใช้จ่ายเงินในประเทศไทย เป็นต้น เพื่อใช้ในการ
วางแผนในการส่งเสริมการท่องเท่ียว เพ่ือผลักดันให้เกิดการกระจายรายได้ด้านการท่องเที่ยวให้ครอบคลุม
ในพืนที่ต่าง ๆ ของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพตอ่ ไป และควรเพ่ิมหน่วยงานสนับสนุนมาร่วมดาเนินการ
ด้านการท่องเท่ียว เช่น สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น หากมีหนว่ ยงานดงั กล่าวอาจ
ทาให้การดาเนินงานโครงการต่าง ๆ ของแผนบรรลุผลสัมฤทธิ์ชัดเจนย่ิงขึน รวมทังพิจารณาทบทวนยกเลิก
หน่วยงานที่ไม่เก่ียวข้องกับภารกิจของแผนงาน ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลการท่องเท่ียวและการเช่ือมโยง
ฐานข้อมูลกับหน่วยงานอื่น นาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ มีข้อมูลการท่องเท่ียวที่น่าสนใจและในรูปแบบ
หลายภาษา เขจ้าถึงง่าย จัดให้มีส่ิงอานวยความสะดวกการท่องเที่ยวเพ่ือคนทังมวล (Tourism for all)
โดยเฉพาะผสู้ ูงอายุและคนพกิ าร
15) การดาเนินการของหน่วยงานตามแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนาเป็นการ
ดาเนินการแบบแยกส่วนหรือต่างคนต่างทา ไม่มีการประสานงานกันอย่างเป็นระบบ ขาดความเชื่อมโยงในการ
ปฏิบัติงาน ทาให้ไม่เป็นการบูรณาการดันอย่างแท้จริง และหลายหน่วยงานท่ีขอรับการจัดสรรงบประมาณตาม
แผนงานการบูรณาการเพ่ือดาเนินการตามภารกจิ ปกติท่หี นว่ ยงานจะต้องดาเนินการอยู่แล้ว ดังนัน หน่วยงานท่ีมี
ลักษณะดังกล่าวจึงไม่ควรอยู่ในแผนงานการบูรณาการนีในปีถัดไป นอกจากนีสานักงานทรัพยากรนาแห่งชาติ
ควรแบ่งแยกภารกจิ ใหช้ ดั เจน เนอ่ื งจากมคี วามซาซอ้ นในการดาเนนิ งานระหว่างหนว่ ยงาน
3.2.2 ข้อสังเกต ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563
1) คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงานบูรณาการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวนไม่น้อย มีลักษณะเป็นการ
รวมแผนงานเข้าด้วยกัน แต่ไม่ได้มีการวางแผนเพ่ือกาหนดภารกิจร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
ดังนัน แผนงานบูรณาการจึงไม่มีการบูรณาการอย่างแท้จริง แต่เป็นเพียงการรวมแผนเข้าด้วยกัน เพื่อ
ประโยชน์ในการโอนงบประมาณเท่านัน ในการนี มีข้อสังเกตว่า การดาเนินงานของแผนงานบูรณาการท่ีมี
หน่วยงาน หลายหน่วยงานร่วมกันดาเนินการมากกว่า 2 หน่วยงาน จะต้องมีเจ้าภาพหลักให้ชัดเจน หรือมี
เจ้าภาพหลัก (Core Center) ในการเป็นหน่วยประสานงาน เพ่ือจัดการประชุมร่วม เป้าหมายร่วม
ยุทธศาสตร์ แผนงานและผลผลิต (ความสาเร็จของภาพรวม) ให้ชัดเจน มากกว่าที่จะบูรณาการเพียง
ประเด็นเนือหา แต่ต้องบูรณาการในแง่กระบวนการดาเนินงาน และเป้าหมายผลลัพธ์ร่วมด้วยตามแผน
แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561-2580) ประเด็นมั่นคง เกีย่ วกบั การปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาความ
ไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้นัน มีการกาหนด เป้าหมายและตัวชีวัด “จานวนงบประมาณด้านความ
ม่ันคงในการแก้ไขปัญหาความรุนแรง ในพืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ลดลง” โดยในปี พ.ศ. 2561-2570
ลดลงร้อยละ10 ต่อปี อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาในรายละเอียด จะพบว่า มีการจัดสรรงบประมาณ ใน
แผนงานพืนฐานและแผนงานยุทธศาสตร์ที่ใช้ในภารกิจชายแดนภาคใต้ แต่มีการตังรายการงบประมาณไว้
อยู่นอกแผนงานบูรณาการการขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซ่ึงเมื่อนางบประมาณ
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 33 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
เหล่านัน มารวมกันจะพบว่า งบประมาณ ด้านความม่ันคงท่ีใช้ในพืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่ได้มีการ
ลดลง ตามท่ีตัวชีวัดกาหนดไว้ยกตัวอย่างเช่น กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจัก ร
(กอ.รมน.) มีแผนงานยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ผ่านกิจกรรม ท่ีมีช่ือ
ว่า “งานรักษาความม่ันคงภายในราชอาณาจักร” ซ่ึงมีงบประมาณ รวม 5,833 ล้านบาท ทังนี ภายใต้
กิจกรรมดังกล่าว มีรายการค่าใช้จ่ายที่ช่ือว่า “การกาลังพลและการดาเนินงาน” โดยมีงบประมาณ จานวน
4,195 ล้านบาท เมื่อสอบถามกบั ผชู้ แี จงจาก กอ.รมน. ได้รบั คาตอบวา่ เป็นเบยี เลียงสาหรับผู้ทีป่ ฏิบัตหิ น้าที่
ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จากคาชีแจงดังกล่าวจะเห็นว่า งบประมาณสาหรับการป้องกันและแก้ไข
ปัญหา ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่ได้จัดสรรอยู่ในแผนงานบูรณาการขับเคล่ือน การแก้ไข
ปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ เท่านัน แตย่ ังได้รบั จัดสรรอยูใ่ นแผนงานพืนฐานและแผนงานยทุ ธศาสตร์ของ
แต่ละหนว่ ยงานอีกด้วย ดังนัน ควรบรู ณาการการดาเนินการและงบประมาณในภาพรวมของทกุ หน่วยงาน
ทเ่ี กยี่ วขอ้ งให้สอดคล้องกันอย่างสมบูรณ์ มปี ระสิทธภิ าพสูงสุด และเป็นไปตามทีแ่ ผนแม่บท กาหนดไว้ ศูนย์
อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ควรมีส่วนร่วม ในการพิจารณาและจัดทางบประมาณ
ตามแผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไข ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ทุกขันตอน เช่น การกาหนด
แผนงาน การกาหนดตัวชีวัด และการกาหนดเป้าหมาย เปน็ ต้น เพอ่ื ใหต้ วั ชีวัด และผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ต่าง ๆ มีความสัมพันธ์สอดคล้องกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ และครุภัณฑ์ ต่าง ๆ
หากมีการหารือและตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง จะทาให้การขับเคลื่อน ภารกิจในการแก้ไข
ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความเป็นเอกภาพ ก่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ ในการดาเนินโครงการอย่างมี
ประสิทธิภาพ
2) คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาศกึ ษารา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่าย ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 วฒุ ิสภา
ภำพรวม
การจัดทาแผนงานบูรณาการ พบว่า หน่วยงานของรัฐบางหน่วย ยังขาดความเข้าใจถึง
แนวทางการบรู ณาการแผนงานและงบประมาณที่ถกู ต้องโดยมีลกั ษณะของปญั หา 3 ประเด็น ได้แก่
(1) ปัญหาการบูรณาการ เนื่องจากแผนงานบูรณาการ บางแผนมีหลายหน่วยงาน ที่เข้า
มาร่วมบรู ณาการมาก และไม่ได้นาแผนงานโครงการของหน่วยงานต่าง ๆ มาบูรณาการกนั ให้ผสม กลมกลืน
เข้าเป็นแผนงานเดียวกัน หลายหน่วยงานท่ีเข้ามาร่วมยังคงกาหนดโครงการตามทิศทางที่ หน่วยงานนัน ๆ
ตอ้ งการ ขาดการแลกเปลยี่ นขอ้ มูลซง่ึ กนั และกัน
(2) ขาดการประเมินผลสัมฤทธ์ิ (Result) ของการบูรณาการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการที่
ต้องมุ่งเน้นไปท่ีผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact) จากการขับเคลื่อนงานร่วมกนั ของหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องกับแผนงานบูรณาการ นัน ๆ ส่วนหนึ่งเกิดจากรูปแบบการบริหารราชการแผ่นดินท่ีมีการบูรณา
การแผนงานร่วมกันมคี วามสลบั ซับซอ้ นมากกว่ารปู แบบการทางานปกติ และ
(3) งบประมาณรายจ่ายท่ีกาหนดไว้มุ่งเน้น การตอบสนองต่อผลผลิตบางรายการมีความ
ซาซ้อนกัน ดงั นัน จงึ จาเป็นตอ้ งเรง่ สรา้ งความร้คู วามเข้าใจ ใหก้ บั หน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องทุกระดับ เพ่อื ใหก้ ารจดั ทา
งบประมาณแบบบรู ณาการเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ ท่ตี ้องการลดความซาซ้อนของภารกิจงานใหเ้ กดิ การบรู ณาการ
งานร่วมกันโดยมหี น่วยงาน ท่เี ป็นเจ้าภาพหลักทีต่ ้องมีหนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบกากบั ดแู ลทงั การบรหิ ารแผนงานและการ
บริหารงบประมาณ อันจะทาใหก้ ารใช้จ่ายเงินงบประมาณเกดิ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 34 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ