การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
แผนงำนบูรณำกำรขบั เคล่ือนกำรแกไ้ ขปัญหำจงั หวัดชำยแดนภำคใต้
(1) แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดน ภาคใต้นอกจากการ
จัดหายุทโธปกรณ์แล้ว ส่ิงที่ควรให้ความสาคัญประการหน่ึง คือ การให้ความสาคัญกับสภาพจิตใจของ
ประชาชนในพนื ทแี่ ละทาใหป้ ระชาชนมีความเชื่อมนั่ ตอ่ เจ้าหน้าท่ีท่ปี ฏิบัตหิ น้าท่ี ในพนื ทดี่ ้วย
(2) แผนงานบูรณาการขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ควรกาหนด
เป้าหมายในเชิงปริมาณมากขึน โดยการรวบรวมข้อมูลด้านพืนที่ที่ได้รับผลกระทบ กลุ่มผู้ก่อความรุนแรง
ลักษณะของความรุนแรงท่ีเกิดขึน รวมถึงผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (gross domestic product: GDP) ของ
พืนที่ โดยนามาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับพืนท่ีในจังหวัดใกล้เคียง เพื่อหาแนวทางในการลดช่องว่างในด้านต่าง ๆ
ของประชาชนในพืนที่ดังกล่าวให้ลดลง ดังนัน การใช้ข้อมูลท่ีถูกต้องแม่นยาจึงมีความสาคัญมาก ประกอบกับ
การขจัดการสร้างมาตรฐาน ในการดาเนินการต่าง ๆ ที่ไม่ถูกต้องหรือไม่เที่ยงธรรมของเจ้าหน้าที่รัฐให้หมดไป
พืนที่ดังกลา่ ว อาจสง่ ผลใหก้ ารแก้ไขปัญหา 3 จงั หวัดชายแดนภาคใต้มปี ระสิทธภิ าพมากขึนต่อไป
แผนงำนบูรณำกำรเตรียมควำมพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย งบประมาณที่ใช้ในแผนงาน
บูรณาการเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับสังคมสูงวัยส่วนใหญ่ เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดอบรมสัมมนา ค่าตอบแทน
บุคลากร ค่าที่พัก และค่าจ้างเหมาบริการ โดยท่ีไม่อาจกาหนดได้แน่นอนว่าจะเป็นการช่วยเหลือผู้สูงอายุได้
อย่างไร ดังนัน เพื่อให้การดาเนินการ ตามแผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัยได้ผลเป็น
รูปธรรม ควรสร้างอาชีพให้กับ ผู้สูงอายุด้วยการส่งเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องคอยช่วยเหลือในลักษณะเป็นพี่เลียง
สง่ เสริมอาชีพ ให้ความรู้ ดา้ นการตลาด เพอื่ ใหผ้ สู้ ูงอายุได้มีอาชีพและรายได้ท่ีเหมาะสม
แผนงำนบรู ณำกำรพฒั นำด้ำนคมนำคมและระบบโลจสิ ติกส์
(1) แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์มีการดาเนินการ
ติดต่อกันมาแล้วหลายปีงบประมาณ จึงควรมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน รับทราบถึงผลการ
ดาเนินงานและชีให้เห็นถึงความสาคัญของโครงการที่ได้ดาเนินการสาเร็จแล้ว เช่น โครงการยกระดับความ
ปลอดภยั บริเวณทางแยกขนาดใหญ่ท่ไี ด้ดาเนินการปรบั ปรุงทางแยกไป จานวน 57 แหง่ สามารถลดอบุ ตั เิ หตุ
ได้อย่างไร การก่อสร้างถนนลาดยางและถนนคอนกรีต จานวน 570.22 กิโลเมตรเพื่อยกระดับมาตรฐาน
เสน้ ทางได้จดั ทาในพืนทใ่ี ด ประชาชนในพืนทไ่ี ด้รับประโยชน์ อยา่ งไร เป็นตน้
(2) โครงการและกิจกรรมของแผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคม และระบบ
โลจิสติกส์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ทังในส่วนเป้าหมายที่ 1 โครงข่ายคมนาคมขนส่ง มีความสะดวก
รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงทั่วถึงทังภายในประเทศและต่างประเทศ ( Hard
Infrastructure) และเป้าหมายท่ี 2 การบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน และการอานวยความ
สะดวกทางการค้าให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานสากล (Soft Infrastructure) ให้ความสาคัญกับ
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันเป็นหลัก ในปีงบประมาณต่อไป การตังงบประมาณ
ของแผนงานบรู ณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ควรให้นาหนัก กบั ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ ง
โอกาสความเสมอภาคและเทา่ เทยี มทางสังคมควบคู่กันดว้ ย
(3) แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ เป้าหมายที่ 1 โครงข่าย
คมนาคมขนส่งมีความสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สามารถเช่ือมโยง ท่ัวถึงทังภายในประเทศและ
ต่างประเทศ (Hard Infrastructure) แนวทางท่ี 1.1 พัฒนาเชื่อมโยง โครงสร้างพืนฐานเพ่ือความสะดวก
ปลอดภัย และประหยดั เวลาเดนิ ทาง ในสว่ นของกรมทางหลวง มโี ครงการพัฒนาถนนผังเมอื ง ดงั นนั ในการ
จัดทาโครงการควรจะต้องประสานความร่วมมือกับ กรมโยธาธิการและผังเมืองด้วย เนื่องจากในอดีตถนน
ผงั เมอื งบางเสน้ ไมม่ ีการใชง้ านหรือกอ่ สรา้ งแลว้ ไม่เชือ่ มตอ่ กับเส้นทางอนื่ ๆ
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 35 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
แผนงำนบูรณำกำรพัฒนำและส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก ควรให้ความสาคัญกับเกษตรกร
เป็นลาดับแรก เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ แต่ในการพิจารณาจะเห็นว่า แผนงานบูรณาการพัฒนาและ
ส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานรากให้ความสาคัญกบั ผู้ประกอบการเกษตร และประชาชนผ้มู ีรายได้น้อยเป็นหลัก
แผนงำนบูรณำกำรพฒั นำอุตสำหกรรมและบริกำรแห่งอนำคต ควรครอบคลุมถึงการบรู ณา
การ ดา้ นการพัฒนาทุนมนุษย์ (Human Capital) เพ่ือรองรับ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายด้วยเพราะการจะพัฒนา
อุตสาหกรรมเป้าหมาย เช่น อุตสาหกรรมอาหาร แห่งอนาคตและชีวภาพ อุตสาหกรรมยานยนต์ไปสู่ยานยนต์
สมัยใหม่ ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพนัน ทักษะ ความรู้ ความสามารถของมนุษย์ถือเป็นสิง่ สาคัญท่จี ะนาไปสูเ่ ป้าหมาย
แผนงำนบรู ณำกำรสรำ้ งรำยได้จำกกำรทอ่ งเทยี่ ว
(1) งบประมาณเกี่ยวกับการพัฒนาและบารุงรักษาแหล่งท่องเท่ียว กระจายในหลาย
ส่วนราชการ กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬาจะต้องเป็นศูนย์กลางดาเนินการเพื่อให้ การใช้งบประมาณดังกล่าว
ตรงตามเป้าหมายที่กาหนด และเกิดผลสัมฤทธ์ิที่เป็นรูปธรรม นอกจากนัน การสร้างเส้นทางเช่ือมโยงกับแหล่ง
ท่องเทยี่ วของประเทศเพื่อนบ้านจะเปน็ อีกทางหนง่ึ ทจี่ ะกระตนุ้ การท่องเทย่ี วและเพ่ิมรายได้ให้แก่ประเทศ
(2) การดาเนินการตามแผนงานบูรณาการสร้างรายได้จากการ ท่องเที่ยว กระทรวงการ
ทอ่ งเทีย่ วและกีฬาในฐานะหน่วยงานเจา้ ภาพหลักจะต้องร่วมกบั หนว่ ยงาน ที่เก่ียวข้องจัดทาฐานข้อมูลสถิติ
นักท่องเท่ียวต่างชาติที่เข้ามาในประเทศไทยในแต่ละปี โดยฐานข้อมูล สถิติจะต้องลงลึกในระดับสัญชาติ
ของนักท่องเท่ียว จานวนวันที่เขา้ มา และสถานท่ีท่องเท่ยี ว เพื่อให้ สามารถวิเคราะห์ได้ว่าสถานที่ท่องเที่ยว
ใดเป็นท่ีนิยมในกลุ่มนักท่องเที่ยวสัญชาติใด และสามารถ เตรียมการสาหรับที่พัก อาหาร รวมทังส่ิงอานวย
ความสะดวกอนื่ ๆ ใหเ้ หมาะสมกับนักทอ่ งเทย่ี วชาตติ ่าง ๆ ทเี่ ขา้ มา
3.3 กำรจดั ทำงบประมำณรำยจ่ำยตำมแผนงำนบรู ณำกำร
3.3.1 กำรจัดทำงบประมำณรำยจำ่ ยบรู ณำกำรประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564
เพื่อให้การจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการของหน่วยรับงบประมาณสามารถขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ และนโยบายเร่งด่วนของ
รฐั บาล โดยมีกรอบแนวทางในการดาเนินงานท่ชี ัดเจน สานักงบประมาณได้พิจารณา การจดั ทางบประมาณ
รายจ่ายบรู ณาการ และมอบหมายผู้มอี านาจกากบั แผนงานบรู ณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี
1) มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานคณะกรรมการจัดทางบประมาณรายจ่าย
บูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยให้มีคณะกรรมการ จานวนทังสิน 5 คณะ (จานวน 11 ชุด
ย่อย/13 แผนงาน)
1.1) องค์ประกอบและหนา้ ที่และอานาจของคณะกรรมการประกอบด้วย
(1) องค์ประกอบของคณะกรรมการดังนี
- ประธานกรรมการ : รองนายกรัฐมนตรีท่ีกากับดูแลหน่วยงานเจ้าภาพหรือ
รองนายกรัฐมนตรี หรือคณะรฐั มนตรมี อบหมาย
- รองประธานกรรมการ : รฐั มนตรที ีก่ ากบั ดแู ลหน่วยงานเจา้ ภาพ
- กรรมการ : ปลดั กระทรวงของหนว่ ยงานทเ่ี จา้ ภาพหลกั และหวั หน้าของ
หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง ผู้อานวยการสานักงบประมาณ เลขาธกิ ารสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
เลขาธิการสภาความม่นั คงแห่งชาติ เลขาธกิ ารสภาความม่ันคงแห่งชาติ
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 36 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
- กรรมการและเลขานุการร่วม : หัวหน้า / ผู้แทนหน่วยงานเจ้าภาพ ผู้แทน
สานักงบประมาณ ผู้แทนสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผู้แทนสานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
(2) หนา้ ทแ่ี ละอานาจ คณะกรรมการ มหี น้าทแ่ี ละอานาจ ดังนี
- กาหนดหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ ขอบเขตภารกิจ เป้าหมายร่วมแนวทางการ
ดาเนินงาน ตัวชีวัด หน่วยรับงบประมาณท่ีเป็นเจ้าภาพหลักในแต่ละเป้าหมาย และหน่วยรับงบประมาณท่ี
เก่ียวข้องให้ครอบคลุม ครบถ้วน สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการที่
ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ให้ ค ว าม เห็ น ช อ บ แ ล้ ว เพื่ อ ให้ ก าร จั ด ท างบ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย บู ร ณ า ก าร เป็ น ไป อ ย่ า งมี
ประสิทธภิ าพสงู สุด
- ประสานหน่วยรับงบประมาณที่เกี่ยวข้องให้จัดทาโครงการ กิจกรรมและ
งบประมาณรายจ่ายที่จะต้องใช้ในการดาเนินการงบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ตามความจาเป็นและเหมาะสม
- พิจารณาโครงการ กิจกรรมและงบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของแผนงานบรู ณาการทไ่ี ด้รับมอบหมาย
- จัดทาข้อเสนอการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 และแสดงผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ ตามกรอบ
ระยะเวลาของการดาเนินการ พร้อมจัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณส่งสานัก
งบประมาณ
แผนภำพท่ี 2 กระบวนการจัดทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชิงยทุ ธศาสตร์
ที่มำ : มตคิ ณะรฐั มนตรี เม่ือวนั ที่ 11 ธนั วาคม 2562
จดั ทำโดย : สานกั งบประมาณของรฐั สภา
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 37 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่มิ ประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
3.3.2 เปรียบเทียบงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 –2564
ตำรำงท่ี 1 เปรยี บเทยี บงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2564
หหนนว่ ่วย : ล้านบาท
ประจำปงี บประมำณ เปำ้ หมำย (แผน) งบประมำณ
แผนงานบูรณาการประจาปี 2560 25 704,197.5
แผนงานบูรณาการประจาปี 2561 29 942,805.6
แผนงานบูรณาการประจาปี 2562 24 806,244.7
แผนงานบูรณาการประจาปี 2563 15 235,091.0
แผนงานบูรณาการประจาปี 2564 14 257,877.9
ทมี่ ำ : ร่างพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงบประมาณ สานกั นายกรัฐมนตรี
จดั ทำโดย : สานกั งบประมาณของรฐั สภา
แผนภำพที่ 3 เปรียบเทยี บงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2564
หน่วย : ล้านบาท
ทม่ี ำ : รา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี
จดั ทำโดย : สานกั งบประมาณของรัฐสภา
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 38 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพม่ิ ประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
3.3.3 ผลกำรดำเนินงำนงบประมำณแผนงำนบูรณำกำร ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562
ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้กาหนดวงเงิน
งบประมาณรายจ่าย จานวนทังสิน 3,000,000.0000 ล้านบาท มีงบประมาณรายจ่ายในลักษณะแผนบูรณาการ
จานวนทังสิน 24 แผนงาน วงเงินรวม 806,244.7270 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 26.87 ของงบประมาณรายจ่าย
ประจาปี โดยมีรายละเอียดแผนงานบูรณาการที่ได้รับการจัดสรรสูงสุด 3 อันดับ ดังนี 1) แผนงานบูรณาการ
ส่งเสริมการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 276,055.1627 ล้านบาท คิดเป็นร้อย
ละ 34.24 2) แผนงานบูรณาการพฒั นาระบบประกันสขุ ภาพ จานวน 223,933.0855 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ย
ละ 27.77 และ 3) แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ จานวน 98,808.3637
ลา้ นบาท คิดเปน็ ร้อยละ 12.26
ตำรำงท่ี 2 ผลการดาเนินงานงบประมาณแผนงานบรู ณาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
หนว่ ย :ล้าน
ปี 2562
แผนงำนบรู ณำกำร ( ณ 30 กนั ยำยน 2562) ร้อยละ
รวมทงั้ สนิ้ พ.ร.บ. สดั สว่ น เบกิ จำ่ ยทงั้ สน้ิ 90.14
806,244.7270 100.00 728,553.2152
แผนงานบูรณาการขับเคลือ่ นการแกไ้ ขปญั หาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 11,924.2663 1.48 10,159.0442 85.20
แผนงานบรู ณาการจัดการปญั หาแรงงานตา่ งดา้ วและการคา้ มนุษย์ 643.2843 0.08 610.0433 94.83
แผนงานบูรณาการป้องกนั ปราบปราม และบาบดั รักษาผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 5,256.3731 0.65 5,104.7848 97.12
แผนงานบูรณาการพฒั นาอตุ สาหกรรมศกั ยภาพ 1,442.1532 0.18 1,274.1066 88.35
แผนงานบูรณาการสร้างรายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ ว กฬี า และวฒั นธรรม 8,560.2699 1.06 7,508.9880 87.72
แผนงานบูรณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคการเกษตร 7,779.8636 0.96 7,143.5475 91.82
แผนงานบรู ณาการพฒั นาผูป้ ระกอบการ เศรษฐกจิ ชุมชน และวสิ าหกจิ ขนาดย่อม 3,328.3689 0.41 3,270.1186 98.25
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพนื้ ทเี่ ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 8,757.9813 1.09 6,091.9412 69.56
แผนงานบรู ณาการขบั เคล่อื นเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก 14,842.6146 1.84 10,186.4264 68.63
แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 98,808.3637 12.26 70,093.6639 70.94
แผนงานบูรณาการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมดจิ ิทัล 3,044.8213 0.38 2,432.7261 79.90
แผนงานบูรณาการวจิ ัยและนวตั กรรม 15,778.1970 1.96 15,621.5656 99.01
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพน้ื ทรี่ ะดบั ภาค 20,083.4994 2.49 14,724.2131 73.31
แผนงานบรู ณาการพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวติ 9,447.7336 1.17 9,429.3559 99.81
แผนงานบูรณาการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู้ใหม้ คี ณุ ภาพ 2,564.1969 0.32 1,783.1123 69.65
แผนงานบูรณาการพฒั นาระบบประกนั สุขภาพ 223,933.0855 27.77 228,710.9647 101.23
แผนงานบรู ณาการสร้างความเสมอภาคเพอื่ รองรับสงั คมผสู้ ูงอายุ 847.9489 0.11 843.1268 99.43
แผนงานบรู ณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 62,831.5915 7.79 49,228.6673 78.35
แผนงานบรู ณาการพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ และการจัดการมลพษิ 535.4467 0.07 486.0297 90.78
แผนงานบูรณาการส่งเสริมการกระจายอานาจใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ 276,055.1627 34.24 264,153.0108 95.69
แผนงานบูรณาการส่งเสริมการพฒั นาจังหวดั และกลมุ่ จังหวดั แบบบูรณาการ 27,579.6011 3.42 18,321.7322 66.43
แผนงานบูรณาการตอ่ ตา้ นการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ 883.9831 0.11 852.4158 96.45
แผนงานบรู ณาการปฏิรูปกฎหมายและพฒั นากระบวนการยุตธิ รรม 1,098.8196 0.14 427.5996 38.91
แผนงานบูรณาการพฒั นาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ 217.1008 0.03 96.0307 44.23
ที่มำ : GFMIS กรมบัญชกี ลาง
จัดทำโดย : สานกั งบประมาณของรฐั สภา
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 39 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพม่ิ ประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 งบประมาณแผนงานบูรณาการ จานวน 806,244.7270 ล้านบาท
มีผลการเบิกจ่าย จานวน 728,553.2152 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 90.14 ซึ่งการเบิกจ่ายแผนงานบูรณาการ
ส่วนใหญ่เป็นไปตามแผน แต่ก็ยังมีบางแผนงานบูรณาการท่ีไม่สามารถเบิกจ่ายได้ตามแผนท่ีกาหนดไว้และ
มผี ลการเบิกจ่ายตา่ สุด 5 แผนงาน ตามลาดับ ดังนี
1) แผนงานบูรณาการปฏิรูปกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรม ได้รับจัดสรร
งบประมาณ จานวน 1,098.8196 ล้านบาท เบิกจา่ ยจานวน 427.5996 ลา้ นบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 38.91
2) แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐได้รับ
จัดสรรงบประมาณ จานวน 217.1008 ล้านบาท เบิกจา่ ยจานวน 96.0307 ลา้ นบาท คิดเปน็ ร้อยละ 44.23
3) แผนงานบูรณาการส่งเสริมการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการได้รับจัดสรร
งบประมาณ จานวน 27,579.6011 ล้านบาท เบิกจ่ายจานวน 18,321.7322 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 66.43
4) แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ได้รับจัดสรรงบประมาณ
จานวน 14,842.6146 ลา้ นบาท เบกิ จ่ายจานวน 10,186.4264 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 68.63
5) แผนงานบูรณาการพัฒนาพืนท่ีเขตเศรษฐกิจพิเศษ ได้รับจัดสรรงบประมาณ จานวน
8,757.9813ลา้ นบาท เบิกจา่ ยจานวน 6,091.9412 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 69.56
3.3.4 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยแผนงำนบูรณำกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
จากการขับเคลอื่ นแผนแม่บทไปสู่การปฏิบัติในช่วง 5 ปีแรก ของยุทธศาสตร์ชาติ จะต้องกาหนด
แผนงาน / โครงการท่ีสาคัญ โดยครอบคลุมภารกิจทังในเชิงภารกิจหน้าท่ี ยุทธศาสตร์ พืนท่ี ทังนี เพ่ือให้การ
ดาเนินการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองต่อสถานการณ์ความจาเป็นของประเทศ และความต้องการ
ประชาชน ดังที่สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จดั ลาดับความสาคัญของแผนงาน / โครงการต่าง
ๆ เป็น 3 ลักษณะได้แก่ 1) แผนงาน / โครงการทังหมดที่รองรับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 2) แผนงาน /
โครงการที่มีความสาคัญ และ 3) แผนงาน / โครงการท่เี ป็นประเด็นเร่งด่วนที่ต้องดาเนินการในชว่ ง 5 ปี แรกของ
ยุทธศาสตร์ชาติ จากแผนงาน / โครงการทังหมดท่ีมีความสอดคล้องและสนับสนุนการดาเนินการตามเป้าหมาย
ของแผนแม่บทภายใต้ยุทะศาสตร์ชาติ ทัง 23 แผน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ในด้านต่าง ๆ ของ 5 ปี
แรกได้สาเรจ็ ประกอบด้วย 15 เรือ่ ง ซึง่ สามารถแบง่ เปน็ 4 กลุม่ ได้แก่
1) การแก้ไขพืนฐานของประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยมีความเข้มแข็งในเชิงโครงสร้างและการ
บริหารจดั การ รวมทงั สามารถต่อยอดการพัฒนาในด้านตา่ ง ๆ
2) การดแู ลยกระดบั คุณภาพชีวติ ของประชาชน เพ่อื ใหป้ ระชาชนมคี วามเสมอภาคเทา่ เทยี มกนั ใน
ดา้ นตา่ ง ๆ มีความพอเพียงและสามารถพึง่ พาตนเองได้
3) การรองรับการเจริญเติบโตอย่างเป็นระบบและยั่งยืน เพื่อพัฒนาโครงสร้างพืนฐานและพืนที่
เศรษฐกจิ เปา้ หมายอย่างเป็นระบบ ดงึ ดดู และรองรบั การเจริญเติบโตให้กบั ประเทศ
4) การสร้างรายได้ให้กับประเทศ เพ่ือขับเคล่ือนภาคเศรษฐกิจที่สาคัญบนฐานรากการพัฒนา
อยา่ งยั่งยืน
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 40 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพม่ิ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
แผนภำพที่ 4 การขับเคลอ่ื นแผนแม่บทไปสู่การปฏบิ ตั ิในช่วง 5 ปีแรก ของยุทธศาสตรช์ าติ
ทม่ี ำ : สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
จำกแผนภำพจะมีประเด็นย่อย ดังน้ี
1) กำรแกไ้ ขปญั หำพ้นื ฐำนของประเทศ ประกอบดว้ ย 5 ประเดน็ ได้แก่
1.1) ตำบลมั่นคง มง่ั ค่ัง ยั่งยนื มุ่งเน้นบรู ณาการการป้องกนั และแก้ไขปัญหาในชีวิตและ
ทรัพย์สินที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง ด้วยการสร้างงาน สร้างอาชีพ และรายได้ ป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด สร้างความปลอดภัยบนท้องถ่ิน ป้องกันและแก้ไขปัญหาอาชญากรรม การป้องกันและบรรเทาสา
ธารณภัย และการสร้างความรักความสามัคคีปรองดองของคนในตาบล ซ่ึงรวมถึงการปลูกจิตสานึกในการรัก
และหวงแหนสถาบันหลักของชาติ ความภูมิใจในความเป็นไทย และการสรา้ งความมั่นคงของพุทธศาสนา อาทิ
แผนงานตาบลม่นั คง ม่ังค่ัง ยง่ั ยืน ซึ่งมงุ่ เน้นการแกไ้ ขปัญหาสาคญั ในระดับตาบลในด้านต่าง ๆ ผ่านการบรู ณาการ
ระหว่างหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง
1.2) กำรแก้ไขปัญหำควำมม่ันคงเร่งด่วน เป็นการเร่งดาเนินการแก้ไขปัญหาความมั่นคง
ที่สาคัญให้หมดไป หรือลดระดับความรุนแรงลงจนไม่ส่งผลกระทบต่อการบริหารประเทศ ซ่ึงจะส่งผลให้เกิด
ความสงบในชาติ ประชาชนมีความสุข เกิดการพัฒนาอย่างราบร่ืน อาทิ โครงการด้านการป้องกันและ
ปราบปรามยาเสพติด โครงการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงทางไซเบอร์ โครงการด้านการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการรักษาความมั่นคงและผลประโยชน์แห่งชาติ การ
บริหารจดั การอุทกภัยและภัยพิบัติอ่นื
1.3) กำรแก้ปัญหำทุจริต คอร์รัปชั่น สร้างวิธีการหรือนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการป้องกัน
ต่อต้าน และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างเป็นรูปธรรม จากการดาเนินงานระหวา่ งหน่วยงาน
อย่างบูรณาการ อาทิ แผนงานการสร้างนวัตกรรมการต่อต้านการทุจริตแบบมี ส่วนร่วม เพ่ือก่อให้เกิดการ
พัฒนาระบบงานและโครงสร้างองค์กรท่ีเอือต่อการลดการใช้ดุลพินิจ การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนโดยเฉพาะการเข้าถึงข้อมลู ข่าวสารเพ่ือเพ่มิ ความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งาน
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 41 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
1.4) กำรบริหำรจัดกำรน้ำและมลพิษทั้งระบบ การบริหารจัดการนาทังระบบโดยให้
ความสาคัญกับการพัฒนาการจัดการน้าเชิงลุ่มนาทังระบบเพื่อเพ่ิมความม่ันคงด้านนาของประเทศ ซ่ึง
ดาเนินการในกรอบลุ่มนาเป็นระบบ หลายมิติ หลายภาคส่วน เพ่ือให้เกิดความสมดุลทังในด้านการจัดหา การ
ใช้ และการอนุรักษ์ สาหรับการจัดการมลพิษท่ีแหล่งกาเนิดโดยคานึงถึง ขีดความสามารถในการรองรับของ
พืนท่ี และจัดทาระบบการอนุญาตการระบายมลพิษ ซ่ึงจะทาให้มลพิษตา่ งๆ เชน่ ขยะ นาเสีย และคราบนามัน
เป็นต้น ได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทังระบบ ทาให้สภาพสิ่งแวดล้อมได้รับการฟื้นฟู
และมีคุณภาพ ดีขึน รวมทังเกิดความย่ังยืน และประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึน โดยการดาเนินแผนงาน อาทิ
แผนงานการจัดการมลพิษท่ีมผี ลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม และสารเคมที ังระบบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล และ
แผนงานการลดก๊าซเรือนกระจกในระยะยาว
1.5) ระบบกำรทำงำนของภำครัฐ ปรับกระบวนการให้บริการภาครัฐให้เป็นดิจิทัล เพื่อให้
เกดิ ความสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส เป็นธรรม และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนทกุ ภาคสว่ น อาทิ แผนงาน
พัฒนาระบบอานวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจอย่างครบวงจร พัฒนาระบบอานวยความสะดวกในการ
ประกอบธุรกิจแบบครบวงจรซง่ึ เป็นพฒั นาแพลตฟอรม์ บริการพืนฐาน ในการเชอ่ื มโยงกระบวนการของหน่วยงาน
ภาครัฐท่ผี ปู้ ระกอบการใชใ้ นการตดิ ต่อขอหนังสอื รับรอง ใบอนญุ าต และเอกสารต่าง ๆ จากภาครฐั ทเ่ี กีย่ วข้อง
2) กำรดแู ลยกระดบั คุณภำพชวี ิตของประชำชนให้สูงขึน้ ประกอบดว้ ย 6 ประเด็น ไดแ้ ก่
2.1) สภำพแวดล้อมของรัฐ ปรับสภาพแวดล้อมและปัจจัยสนับสนุนต่าง ๆ ของระบบ
การทางานของภาครัฐให้สามารถเอือต่อการดารงชีวิตของประชาชนและการพัฒนาประเทศ อาทิ โครงการ
เชื่อมโยงระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติกับระบบงบประมาณและระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐ
แบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเช่ือมโยงการบูรณาการการทางานของภาครัฐ โครงการทบทวนกฎหมายท่ีเป็นอุปสรรค
ต่อการพัฒนาประเทศ เพ่ือทบทวน ปรับปรุง แก้ไข และ/หรือยกเลิกกฎหมายท่ีไม่สอดคล้องต่อบริบท หรือการ
พฒั นาประเทศ
2.2) สังคมสูงวัย มุ่งรณรงค์สร้างความเข้าใจเพ่ือเตรียมความพร้อมในด้านสุขภาพ
เศรษฐกจิ สังคม และสภาพแวดลอ้ ม ก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ ส่งเสริมการออมทังในรูปท่ีเปน็ ตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน
ส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุทังภาครัฐและเอกชน ส่งเสริมและพัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลงสามวัยในท้องถิ่น
และพัฒนาต้นแบบเมืองเพอ่ื รองรบั สงั คมสงู วัย
2.3) คนและกำรศึกษำ พัฒนาและยกระดับทรัพยากรมนษุ ย์ในทุกมิตแิ ละในทุกช่วงวัยให้
มีความพร้อมทังใจ กาย สติปัญญา มีพัฒนาการรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดี ด้วยการส่งเสริมให้สถาบันทางสังคม
บูรณาการร่วมระหว่าง “ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา สื่อ และภาคเอกชน” ในการหล่อหลอม ปลูกฝัง
คา่ นิยม วัฒนธรรมใหค้ นไทยดาเนินชวี ิตท่ียึดม่ันในคุณธรรม จรยิ ธรรม มีวินัย มีจิตสาธารณะ และจิตอาสาและมี
ความรบั ผิดชอบต่อส่วนรวม มีความเป็นพลเมืองท่ีดี ยึดม่ันในสถาบันหลัก มีความรักชาติและความภาคภูมิใจใน
ความเป็นชาติ รวมทังแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้เต็มตามศักยภาพ
โดยมีโครงการสาคัญ ได้แก่ แผนงานบูรณาการการปลูกฝังค่านิยม วัฒนธรรม ความซ่ือสัตย์ วินัย คุณธรรม
จรยิ ธรรม และส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะ และแผนงานบรู ณาการการปรับเปล่ียนระบบการเรียนรใู้ หเ้ อือต่อ
การพฒั นาทกั ษะสาหรับศตวรรษท่ี 21
2.4) เศรษฐกิจฐำนรำก พัฒนาศักยภาพของเกษตรกรเพ่ือเตรียมไปสู่การเป็น
ผูป้ ระกอบการในอนาคต พัฒนาผู้ประกอบการเกษตรและผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรจากฐานทรัพยากรชีวภาพ เพ่ิม
ประสิทธิภาพการบริหารกองทุนเพื่อเกษตรกรและแหล่งสินเช่ือการเกษตรในภาครัฐเพ่ือการเข้าถึงของเกษตรกร
รายยอ่ ย ส่งเสริมและพัฒนากลไกใหเ้ กดิ การเติบโตและหมุนเวยี นของเศรษฐกิจฐานรากภายในพืนที่ พัฒนาระบบ
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 42 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่ิมประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
ตลาดสาหรับสินค้าเกษตรและการสร้างกติกาการค้าที่เป็นธรรม และพัฒนาระบบการประกันภัยผลผลิตทาง
การเกษตร
2.5) กำรยกระดับบริกำรสำธำรณสุข พัฒนาคุณภาพบริการสุขภาพอนามัยแบบบูรณาการ
ร่วมกับชุมชน รวมทังส่งเสริมการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะ ด้วยการพัฒนาองค์ความรู้และการสื่อสารด้านสุข
ภาวะที่ถูกต้อง เพ่ิมศักยภาพในการจัดการสุขภาวะตนเองของประชาชน การป้องกันและควบคุมปัจจัยเส่ยี งที่คุกคาม
สขุ ภาวะ การสร้างสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อือตอ่ การมี สขุ ภาวะทีด่ โี ดยใช้ชุมชนเป็นฐานในการสรา้ งสขุ ภาวะท่ดี ใี นทุกพนื ที่
2.6) กำรกระจำยศูนย์กลำงควำมเจริญ เน้นการพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองอัจฉริยะ ควบคู่
กับการเป็นเมืองน่าอยู่ท่ีสามารถรองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เป็นที่อยู่อาศัย ลดความเหล่ือมลา และยกระดับ
คณุ ภาพชวี ติ ของประชาชนในพนื ท่ที กุ กลุ่ม โดยการพฒั นาเหล่านเี ปน็ ไปเพือ่ อานวยความสะดวกแก่ผู้ประกอบการ
จะมโี อกาสในการประกอบธรุ กิจท่ีหลากหลายมากขนึ รวมทังไดร้ ับความสะดวกในการประกอบธุรกจิ มากขึนทังใน
การติดต่อสื่อสาร การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร เลือกงานที่เหมาะสมมากขึนและมีรายได้สูงขึน มีระบบสาธารณสุข
การศึกษา ความปลอดภัย และการอนุรักษ์และฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ตัวอย่างโครงการ อาทิ
พฒั นา สง่ิ อานวยความสะดวกและความปลอดภัยในพนื ท่เี มืองใหร้ องรบั ความต้องการของคนทกุ กลุ่ม
3) กำรรองรับกำรเจริญเติบโตอยำ่ งเปน็ ระบบและยง่ั ยนื ประกอบดว้ ย 2 ประเด็น ไดแ้ ก่
3.1) กำรพัฒนำเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก และเขตเศรษฐกิจพิเศษ พัฒนาพืนท่ี
เพ่ือเป็นต้นแบบการพัฒนาเชิงพืนที่ท่ีสมบูรณ์แบบเป็นเมืองใหม่อัจฉริยะน่าอยู่ กาหนด 10 อุตสาหกรรม
เป้าหมายท่ีใช้เทคโนโลยีชันสูง ให้ได้รับการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการลงทุนอย่างเป็นรูปธรรม สนับสนุนการลงทุน
โครงสร้างพืนฐานและระบบสาธารณูปโภค เพ่ือเพิ่มศักยภาพรองรบั การลงทุน และยกระดับการท่องเที่ยวในพืนที่
ตลอดจนพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจและการอานวยความสะดวกต่างๆ ในพืนท่ี รวมทังการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ การศึกษา การวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม รองรับระบบเศรษฐกิจดิจิทัล โดยมีโครงการสาคัญ อาทิ
แผนงานการพฒั นาเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก
3.2) กำรพัฒนำระบบโลจิสติกส์ พัฒนาระบบขนส่งสาธารณะในเขตกรุงเทพฯ และ
ปริมณฑล รวมทังเมอื งหลกั ในภมู ภิ าค พรอ้ มทังพฒั นาการเช่อื มโยงระบบการคมนาคม บรู ณาการระบบฐานข้อมลู
การเดินทางและขนส่งทุกรปู แบบนาไปสู่การควบคุมสง่ั การและบรหิ ารจดั การจราจรอัจฉริยะทังในระดับพนื ท่ีและ
ระดับประเทศ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน บรรเทาปัญหาการจราจรติดขัดในเขตเมือง และลด
ระยะเวลาการเดินทางของประชาชน รวมทังก่อให้เกิดการใช้พลังงานในภาคขนส่งที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการปฏิรูปองค์กร ปรับโครงสร้างการกากับดูแล และปรับปรุงกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องให้มี
ความทันสมัยและสามารถตอบสนองต่อการพัฒนาคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ของประเทศให้มีมาตรฐานใน
ระดบั สากล อาทิ แผนงานการพัฒนาและปรบั ปรุงระบบคมนาคมขนส่งทางราง โดยปรับปรุงและพฒั นาโครงสร้าง
พืนฐานทางราง อนั ได้แก่ รถไฟฟ้า 1 เมตร และรถไฟความเร็วสูง และโครงการพฒั นาทา่ อากาศยานสวุ รรณภมู ิ
4) กำรสร้ำงรำยได้ใหก้ ับประเทศ ประกอบด้วย 2 ประเด็น ไดแ้ ก่
4.1) กำรท่องเที่ยว ให้ความสาคัญกับการสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง
วางรากฐานด้านการท่องเที่ยวที่เน้นมาตรฐานและคุณภาพระดับสากล การสร้างความเชื่อม่ันในเร่ืองความ
ปลอดภัยให้แก่นักท่องเท่ียว การบังคับใช้กฎหมายให้เกิดความปลอดภัย และไม่ให้นักท่องเที่ยวถูกเอารัดเอา
เปรียบ แล้วจึงกระจายการท่องเท่ียวทังในมิติของพืนที่ และรายได้สู่ชุมชน ตลอดจนการให้ความสาคัญกับการ
พฒั นาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน มีโครงการรองรับ อาทิ โครงการยกระดบั ความปลอดภัยด้านนักทอ่ งเที่ยว พัฒนา
ต้นแบบแหล่งท่องเท่ียวโดยชุมชนและเมืองแห่งศิลปะเชิงสร้างสรรค์ โดยเน้นการส่งเสริมกระบวนการบริหาร
จดั การท่องเทีย่ วโดยชมุ ชนแบบมสี ่วนรว่ ม
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 43 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
4.2) กำรพัฒนำอุตสำหกรรมท่ีมีศักยภำพ สร้างและยกระดับอุตสาหกรรมท่ีมีศักยภาพ
ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยี สรา้ งประโยชนจ์ ากความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อต่อยอดจากภาคเกษตรไทยและ
มุ่งสู่อุตสาหกรรมบนฐานชีวภาพท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทังส่งเสริมการลงทุนท่ีเน้นการวิจัย พัฒนา และ
สร้างนวัตกรรม การถ่ายทอดเทคโนโลยี และสร้างสภาพแวดลอ้ มท่ีเอืออานวยต่อการพัฒนาของอุตสาหกรรม ทัง
ด้านบุคลากร สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์กับภาคเกษตรกรให้มีรายได้
สูงขึน กลุ่มผู้ประกอบการทุกระดับสามารถปรับรูปแบบการประกอบการให้สอดคล้องความต้องการของตลาด มี
การจ้างงานในภาคแรงงานการผลิตและบรกิ าร และประชาชนมีโอกาสในการสรา้ งรายได้ไปสชู่ ุมชมุ อยา่ งทว่ั ถงึ โดย
จะดาเนินโครงการ อาทิ พัฒนาและยกระดับอุตสาหกรรมชีวภาพ ด้วยการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมามาใช้
สร้างมูลค่าผลผลติ โครงกำรสำคญั รองรับประเดน็ เร่งดว่ นในช่วง 5 ปี แรกของยทุ ธศำสตรช์ ำติ
ต1ำ5รำปรงะทเดี่ น็ 3เรโ่งคดว่ รนงใกนชาว่ รงส5าปคี ัญแรรกขอองงรยบัุทธปศารสะตเรด์ มน็ ี แเรผน่งดงา่วนน/ใโนครชง่วกางร5ทส่ี ปาคี แญั รทกต่ี ขอ้ งอจงัดยสรทุ รธทรศัพายสากตรรเพ์ อื่ ใหด้ าเนินการไดอ้ ย่างเปน็ รูปธรรม ดงั น้ี
หนห่วนย่วย: ล: ล้า้านนบบาาทท
ลำดบั ท่ี ประเดน็ จำนวน จำนวน วงเงินรวม งบประมำณ เงินกู้ เงินอนื่ ๆ
โครงกำรหลกั โครงกำรยอ่ ย (ลำ้ นบำท)
1 ตาบลมน่ั คง มง่ั คงั่ ยั่งยืน 1 8 6,443 6,443
2 การแกไ้ ขปญั หาความมนั่ คงเร่งดว่ น 5 6 2,534 2,534
3 การแกป้ ัญหาทุจริต คอร์รัปชัน่ 1 - 750 750
4 การบริหารจัดการมลพษิ ทง้ั ระบบ 5 10 3,075 3,075
5 ระบบการทางานของภาครัฐ 1 - 30 30
6 สภาพแวดล้อมของรัฐ 5 3 413 368 45
7 สงั คมสูงวยั 7 8 335 335
8 คนและการศกึ ษา 8 3 1,675 1,675
9 เศรษฐกจิ ฐานราก 9 14 520 520
10 การยกระดบั บริการสาธารณสขุ 2 - 447 447
11 การกระจายศนู ยก์ ลางความเจริญ 2 5 477 477
12 - 869,500 804,655
12 การพฒั นาเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออกและ 5 17 461,566 79,243 359,904 64,812
เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 22,418
13 การพฒั นาระบบโลจิสตกิ ส์
14 การทอ่ งเทย่ี ว 9 13 1,287 -
15 การพฒั นาอตุ สาหกรรมทม่ี ศี กั ยภาพ 9 14 3,717 -
รวมทงั้ สน้ิ 81 101 1,352,769 900,552 359,949 87,230
ททม่ี าำ::สาสนาักนงากั นงสาภนาสพภฒั านพาเศัฒรนษฐากเจิศแรลษะสฐังกคิจมแแหล่งะชสาตังิคมแหง่ ชาติ
จากบริบทประเด็นเร่งด่วนในช่วง 5 ปี แรกของยุทธศาสตร์ชาติ ท่ีสานักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติและสานักงบประมาณ กาหนดเป็นแผนงานบูรณาการได้ 15 ประเด็นในการจัดทางบประมาณแผนงาน
บรู ณาการปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ดงั นี
จากตารางที่ 3 การจัดสรรงบประมาณตามแผนงานบูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2563 จานวน 15 แผนบูรณาการ วงเงินทังสิน 230,058.5 ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
จานวน 24 แผนบูรณาการ วงเงิน 806,244.7 ล้านบาท เป็นเงิน 576,186.2 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
71.46 และจากตารางจะเห็นได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงานบูรณาการท่ีได้รับการจัดสรร
งบประมาณสงู สุด 5 ลาดับ ดงั นี
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 44 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่มิ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
1) แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ จานวน 95,374.9769 ล้านบาท
คดิ เป็นร้อยละ 41.46
2) แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา จานวน 58,796.2131 ล้านบาท คิดเป็น
รอ้ ยละ 25.56
3) แผนงานบูรณาการพัฒนาพืนทีร่ ะดบั ภาค จานวน 20,305.1198 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 8.83
4) แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จานวน 16,036.5147 ล้านบาท คิด
เป็นร้อยละ 6.97
5) แผนงานบูรณ าการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ จานวน
10,641.9103 ลา้ นบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.63
ตำรำงที่ 4 การจัดสรรงบประมาณตามแผนงานบูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 -2563
ลำดบั ปี 2562 ป2ี 563 เพมิ่ / ลด
แผนงำนบรู ณำกำร งบประมำณ สดั สว่ น งบประมำณ สดั สว่ น จำนวน ร้อยละ
รวมทง้ั สนิ้ 806,244.7270 100.00 230,058.4944 100.00 -576,186.2326 -71.47
1 การขับเคลือ่ นการแกไ้ ขปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 11,924.2663 1.48 10,641.9103 4.63 -1,282.3560 -10.75
2 การขับเคลื่อนเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก 14,842.6146 1.84 16,036.5147 6.97 1,193.9001 8.04
3 การพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ และการจัดการมลพษิ 535.4467 0.07 405.5301 0.18 -129.9166 -24.26
4 การตอ่ ตา้ นการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ 883.9831 0.11 957.0451 0.42 73.0620 8.27
5 การสร้างความเสมอภาคเพอ่ื รองรับสังคมผสู้ ูงอายุ 847.9489 0.11 863.8468 0.38 15.8979 1.87
6 การบริหารจัดการทรัพยากรน้า 62,831.5915 7.79 58,796.2131 25.56 -4,035.3784 -6.42
7 การปอ้ งกนั ปราบปราม และบาบดั รักษาผู้ตดิ ยาเสพตดิ 5,256.3731 0.65 5,299.5912 2.30 43.2181 0.82
8 การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู้ให้มคี ณุ ภาพ 2,564.1969 0.32 1,305.2514 0.57 -1,258.9455 -49.10
9 การพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 98,808.3637 12.26 95,374.9769 41.46 -3,433.3868 -3.47
10 การพฒั นาผูป้ ระกอบการ และวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม 3,328.3689 0.41 1,738.0448 0.76 -1,590.3241 -47.78
11 การพฒั นาพน้ื ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 8,757.9813 1.09 6,920.9089 3.01 -1,837.0724 -20.98
12 การพฒั นาพน้ื ทรี่ ะดบั ภาค 20,083.4994 2.49 20,305.1198 8.83 221.6204 1.10
13 การพฒั นาและส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานราก 7,779.8636 0.96 3,018.4466 1.31 -4,761.4170 -61.20
14 การพฒั นาอตุ สาหกรรมศกั ยภาพและบริการแห่งอนาคต 1,442.1532 0.18 1,172.6635 0.51 -269.4897 -18.69
15 การสร้างรายไดจ้ ากการท่องเทย่ี ว กฬี า และวฒั นธรรม 8,560.2699 1.06 7,222.4312 3.14 -1,337.8387 -15.63
16 การจัดการปัญหาแรงงานตา่ งดา้ วและการคา้ มนุษย์ 643.2843 0.08
17 การพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมดจิ ิทัล 3,044.8213 0.38
18 การวจิ ัยและนวตั กรรม 15,778.1970 1.96
19 การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชวี ติ 9,447.7336 1.17
20 การพฒั นาระบบประกนั สุขภาพ 223,933.0855 27.77
21 การสง่ เสริมการกระจายอานาจให้แกอ่ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น 276,055.1627 34.24
22 การสง่ เสริมการพฒั นาจังหวดั และกลมุ่ จังหวดั แบบบรู ณาการ 27,579.6011 3.42
23 การปฏิรูปกฎหมายและพฒั นากระบวนการยตุ ธิ รรม 1,098.8196 0.14
24 การพฒั นาระบบการใหบ้ ริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ 217.1008 0.03
ทม่ี ำ : เอกสารงบประมาณฉบับท่ี 3 งบประมาณรายจา่ ย ฉบับปรบั ปรุงประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เลม่ ท่ี 18 (1) หนา้ ท่ี 1-13
จัดทำโดย : สานกั งบประมาณของรฐั สภา (PBO)
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 45 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่ิมประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
จะเห็นได้ว่าการจัดสรรงบประมาณจานวน 15 ประเด็นเร่งด่วนในช่วง 5 ปี แรกของ
ยทุ ธศาสตร์ชาติมีแผนงาน / โครงการที่สาคญั ท่ีต้องจัดสรรทรพั ยากรเพื่อให้ดาเนนิ การได้อย่างเป็นรปู ธรรม
จาก 15 ประเด็นมีโครงการหลัก 81 โครงการ โครงการย่อย 101 โครงการ วงเงินตามประมาณการ
1,352,769 ล้านบาท ซ่ึงในช่วงระยะ 1 ปแี รก งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2563 มกี ารจัดสรรงบประมาณ
แผนงานบูรณาการทังสิน 15 แผนงาน วงเงินงบประมาณ 230,058.5 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ
17.00 ของวงเงินตามประมาณการ 5 ปีแรกซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รัฐบาลให้ความสาคัญในการ
พัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์โครงสร้างพืนฐาน ท่ีสัดส่วนร้อยละ 41.46 การบริหารจัดการ
ทรัพยากรนาสัดส่วนร้อยละ 25.56 เป็นอันดับสอง การพัฒนาพืนท่ีระดับภาค ท่ีสัดส่วนร้อยละ 8.83
เปน็ อันดับสาม
ตำรำงท่ี 5 ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณรายจ่ายแผนงานบรู ณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ไตรมาสที่ 2
พ.ร.บ.63 สดั สว่ น พรบ.โอน 63 เบกิ จำ่ ย 63 รอ้ ยละ คงเหลอื 63 ร่ำง พ.ร.บ. 64 สดั สว่ น
แผนงำนบรู ณำกำร (ตค. - มีค. ทงั้ สน้ิ
63)
รวมแผนงำนบรู ณำกำร 230,058.49 100.00 13,256.49 44,895.94 19.52 171,906.06 257,877.90 100.00
ตอ่ ตา้ นการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ 957.05 0.42 61.95 513.04 53.61 382.06 609.10 0.24
สร้างรายไดจ้ ากการท่องเทย่ี ว 7,222.43 3.14 203.14 3,385.85 46.88 3,633.44 6,967.90 2.70
พฒั นาผู้ประกอบการ เศรษฐกจิ ชมุ ชน และวสิ าหกจิ ขนาดยอ่ ม 1,738.04 0.76 27.38 700.75 40.32 1,009.92 1,260.80 0.49
ป้องกนั ปราบปราม และบาบดั รักษาผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 5,299.59 2.30 406.77 1,929.74 36.41 2,963.08 6,286.40 2.44
ขับเคลอ่ื นเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก 16,036.51 6.97 980.60 5,692.21 35.50 9,363.70 22,712.70 8.81
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู้ 1,305.25 -
0.57 166.67 436.19 33.42 702.39 -
สร้างความเสมอภาคเพอื่ รองรับสังคมผู้สงู อายุ 863.85 0.38 147.90 246.69 28.56 469.26 944.30 0.37
ขบั เคลื่อนการแกไ้ ขปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 10641.91 4.63 724.04 2896.93 27.22 7020.94 9731.70 3.77
พฒั นาอตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 1,172.66 0.51 51.26 308.92 26.34 812.48 931.00 0.36
พฒั นาพน้ื ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 6,920.91 3.01 527.01 1,409.36 20.36 4,984.54 5,790.20 2.25
บริหารจัดการทรัพยากรน้า 58,796.21 25.56 2,084.74 9,619.92 16.36 47,091.55 66,738.20 25.88
พฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 95,374.98 41.46 6,129.72 15,129.41 15.86 74,115.85 109,023.80 42.28
พฒั นาและสง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานราก 3,018.45 1.31 532.11 463.24 15.35 2,023.09 2,688.90 1.04
พฒั นาพนื้ ทรี่ ะดบั ภาค 20,305.12 8.83 1,198.11 2,150.49 8.60
จัดการมลพษิ และสิ่งแวดลอ้ ม 0.18 15.10 13.20 10.59 16,956.52 22,189.50 -
405.53
3.25 377.24 -
รัฐบาลดจิ ิทัล - - 2,003.40 0.78
ท่มี ำ : 1) เอกสารงบประมาณฉบบั ที่ 3 งบประมาณรายจา่ ย ฉบบั ปรับปรงุ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 เลม่ ท่ี 18(1) หนา้ ที่ 1-13
2) ตามหนงั สานักงบประมาณ ด่วนทส่ี ดุ นร 0729.1/480 ลงวันที่ 20 เมษายน 2563 เร่ือง รายงานผลการ
ปฏิบัติงานและผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณรายจา่ ยของหนว่ ยรับงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (ไตรมาส ท่ื 2)
จดั ทำโดย : สานักงบประมาณของรฐั สภา
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 46 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
ผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ไตรมาสที่ 2
(ต.ค. 62- ม.ี ค.63) แผนงานบูรณาการท่ีมีผลการเบกิ จ่ายสูงสดุ 5 อันดบั แรก ประกอบด้วย
1) แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ จานวน 957.0451 ล้านบาท
เบกิ จา่ ย จานวน 513.0382 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 53.61
2) แผนงานบูรณาการสร้างรายได้จากการท่องเท่ียว จานวน 7,222.4312 ล้านบาท
เบิกจา่ ย จานวน 3,385.8534 ล้านบาท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 46.88
3) แผนงานบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลาง ฯ จานวน
1,738.0448 ล้านบาท เบกิ จ่าย จานวน 700.7497 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 40.32
4) แผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปราม และบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด จานวน
5,299.5912 ล้านบาท เบิกจ่าย จานวน 1,929.7429 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 36.41
5) แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จานวน 16,036.5147 ล้านบาท
เบกิ จา่ ย จานวน 5,692.2010 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 35.50
และผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
แผนงานบูรณาการที่มผี ลการเบิกจ่ายตา่ สดุ 5 อนั ดบั แรก ประกอบด้วย
1) แผนงานบูรณาการจัดการมลพิษและส่ิงแวดล้อม จานวน 405,5301 ล้านบาท เบิกจ่าย
จานวน 13.1952 ล้านบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.25
2) แผนงานบูรณาการพัฒนาพืนท่ีระดับภาค จานวน 20,305.1198 ล้านบาท เบิกจ่าย จานวน
2,150.4923 ลา้ นบาท คดิ เป็นร้อยละ 10.59
3) แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก จานวน 3,018.4466 ล้านบาท
เบิกจ่าย จานวน 463.2445 ลา้ นบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 15.35
4) แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบดลจิสติกส์ จานวน 95,374.9769
ล้านบาท เบกิ จา่ ย จานวน 15,129.4058 ลา้ นบาท คิดเปน็ รอ้ ยละ 15.86
5) แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา จานวน 58,796.2131 ล้านบาท เบิกจ่าย
จานวน 9,619.9211 ล้านบาท คิดเป็นรอ้ ยละ 16.36
สืบเนื่องจากพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 หมวด 7 การประเมินผลและการรายงาน
กาหนดให้มีการควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณเป็นไปอย่างโปร่งใสและตรวจสอบได้ โดยมีการติดตาม ตรวจสอบ
และประเมินผลการดาเนินงาน เพื่อให้การใช้จ่ายงบประมาณเกิดผลสัมฤทธ์ิสูงสุด เพื่อวัดผลสัมฤทธ์ิหรือ
ประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2563
เห็นชอบมาตรการเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยกาหนดเป้าหมาย
การใช้จ่ายงบประมาณเป็นรายไตรมาส เพื่อให้หน่วยรับงบประมาณใช้จ่ายงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ
เหมาะสมกับสถานการณ์ และดาเนินการก่อหนีผูกพันได้ทันท่ีเมื่อพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563 ประกาศใชบ้ ังคับดังนี
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 47 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
ตำรำงท่ี 6 แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
แผนฯ ไตรมำสท่ี 1 ไตรมำสที่ 2 ไตรมำสท่ี 3 ไตรมำสที่ 4
ภำพรวม ร้อยละ 23 รอ้ ยละ 54 รอ้ ยละ 77 ร้อยละ 100
รายจ่ายประจา ร้อยละ 28 ร้อยละ 58 ร้อยละ 80 ร้อยละ 100
รายจ่ายลงทุน ร้อยละ 8 ร้อยละ 40 ร้อยละ 65 ร้อยละ 100
ทม่ี ำ : มตคิ ณะรฐั มนตรี เม่อื วันท่ี 14 มกราคม 2563
ตำรำงท่ี 7 รายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ไตรมาสท่ี 2
(ไม่รวมงบกลาง)
งบประมำณ พ.ร.บ 63 เปำ้ หมำยตำม รอ้ ยละ เบกิ จำ่ ย /กอ่ หนี้ ร้อยละ สูง/ตำ่ รอ้ ยละ
(ไม่รวมงบกลำง) มติ ค.ร.ม. กวำ่ เปำ้ หมำย
ภำพรวม 2,618,519.62
- เบกิ จำ่ ย 1,415,263.75 54.05 943,971.37 36.05 - 471,292.38 - 18.00
- กอ่ หนผี้ กู พนั 1,415,263.75 54.05 1,015,352.58 38.78 - 399,911.17 - 15.27
รำยจำ่ ยประจำ 2,043,643.92
- เบิกจ่าย 1,185,313.47 58.00 878,530.81 42.99 - 306,782.66 - 15.01
- กอ่ หนผ้ี ูกพนั 1,185,313.47 58.00 893,220.86 43.71 - 292,092.61 - 14.29
รำยจำ่ ยลงทนุ 574,875.70
- เบิกจ่าย 229,950.28 40.00 65,440.56 11.38 - 164,509.72 - 28.62
- กอ่ หนผ้ี กู พนั 229,950.28 40.00 122,131.72 21.24 - 107,818.56 - 18.76
ท่มี ำ : ตามหนงั สานักงบประมาณ ดว่ นทสี่ ุด นร 0729.1/480 ลงวันท่ี 20 เมษายน 2563 เรอื่ ง รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน
และผลการใชจ้ ่ายงบประมาณรายจ่ายของหน่วยรบั งบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 (ไตรมาส ท่ื 2)
เม่ือพิจารณาจากรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยรับงบประมาณ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ไตรมาสท่ี 2 พบว่า ผลการใช้จ่ายงบประมาณในภาพรวมต่ากว่าเป้าหมายท่ี
กาหนดไว้ ซึง่ คาดวา่ น่าจะมีผลมาจาก
1) พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีผลบังคับใช้ล่าช้า (บังคับใช้
เม่ือวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563) ทาให้การจัดซือจัดจ้างและการใช้จ่ายเงินงบประมาณของหน่วยรับงบประมาณ
ไมเ่ ป็นไปตามแผนเป้าหมายที่กาหนด
2) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID -19) ท่ีมีการแพร่ระบาด
ขยายวงกว้างไปทั่วโลก ส่งผลกระทบต่อประชาชนและเศรษฐกิจ จากเดิมท่ีสภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัว
เน่ืองจากสงครามการคา้ ปัญหาการเมืองของประเทศคู่ค้าสาคัญ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกจิ ของไทยอยู่ก่อนตงั แต่
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
3) ประกอบกับสถานการณ์ภัยธรรมชาติ เช่น สถานการณ์ภัยแล้งในหลายจังหวัด รวมทังไฟไหม้ป่า
ส่งผลต่อการดาเนินในพืนที่ ทาให้การดาเนินงานของหน่วยรับงบประมาณไม่เป็นไปตามเป้าหมายการให้บริการ
ท่ีกาหนดไว้ ทังมิติงบประมาณรายจ่ายของหน่วยรับงบประมาณ (Function) และงบประมาณรายจ่ายบูรณาการ
(Agenda) รวมทงั การเบิกจ่ายงบประมาณมีความล่าชา้ ออกไป
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 48 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
3.3.5 กำรโอนงประมำณรำยจำ่ ยบูรณำกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
หลักเกณฑ์และแนวทางการโอนงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมาณ 2563 คณะรัฐมนตรีมีมติ
เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2563 เห็นชอบการจัดทาพระราชบัญญัติเพ่ือโอนงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 ของหน่วยรับงบประมาณไปใช้จ่ายในการดาเนินการ แก้ไขปัญหาและเยียวยาผู้ท่ีได้รับผลกระทบ
จากการแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปัญหาภัยแล้ง และปัญหาภัยพิบัติอื่น ๆ ที่
อาจเกิดขึน ในชว่ งเวลาที่เหลือของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามที่สานักงบประมาณเสนอ โดยกาหนดเป้าหมาย
ให้หน่วยรับงบประมาณเสนอวงเงินการโอนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ของวงเงินคงเหลือท่ีไม่มีข้อผูกพัน
โดยใช้หลกั เกณฑ์และแนวทางการโอนงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังนี
1) รายการท่ีนางบประมาณรายจ่ายไปจัดทาร่างพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่าย พ.ศ.
.... 1.1) รายจ่ายประจาในทุกงบรายจ่าย ท่ียังไม่มีการเบิกจ่ายและไม่มีข้อผูกพัน หรือสามารถ
ชะลอข้อผกู พันได้ ณ วนั ที่ 7 เมษายน 2563
- ค่าใช้จ่ายในการสัมมนา ฝึกอบรม ประชาสัมพันธ์ ค่าจ้างที่ปรึกษา / ค่าใช้จ่ายในการ
เดินทางไปราชการต่างประเทศ (รวมที่อยู่ในหลักสูตรการฝึกอบรม) รวมทงั ค่าใชจ้ ่าย ทเี่ กยี่ วเนื่อง อาทิ คา่ เบียเลียง
คา่ เชา่ ที่พกั และคา่ พาหนะ / การดาเนนิ กิจกรรม (Event) ทมี่ กี ารจา้ งผจู้ ัดกิจกรรม (Organizer) หรือดาเนนิ การเอง
- รายการและงบประมาณท่ีสามารถชะลอการดาเนินการได้โดยไม่ก่อให้เกิดความ
เสียหายตอ่ ราชการ หรือไมส่ ามารถดาเนินการได้ทังหมดหรือบางส่วนในปีงบประมาณ พ.ศ.2563
1.2) รายจ่ายลงทุนในทุกงบรายจ่าย
- รายการปีเดียวที่ยังไม่ประกาศดาเนินการจัดซือจัดจ้างภายในวันท่ี 7 เมษายน 2563
และ/หรือไม่สามารถลงนามจัดซือจัดจ้างได้ภายใน 31 พฤษภาคม 2563 สาหรับ งบประมาณ ของจังหวัด/กลุ่ม
จังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สานักงบประมาณจะพิจารณาเป็นกรณีโดยคานึงถึงประโยชน์ของ
ประชาชนในพืนที่
- รายการผูกพันข้ามปีงบประมาณรายการใหม่ ที่ยังไม่สามารถก่อหนี ผูกพันได้ภายใน
วันท่ี 7 เมษายน 2563 ให้ได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีแรกลดลงร้อยละ 5 ซึ่งมีผลให้ต้อง ได้รับการยกเว้น
การปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 10 กุมภาพันธ์ 2552 ที่กาหนดให้ต้องได้รับการจัดสรร งบประมาณปี
แรกเป็นเงินไม่ต่ากว่าร้อยละ 20 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายส่วนท่ีเป็นงบประมาณทังสิน ของรายจ่ายลงทุน
นัน ๆ
- รายการและงบประมาณที่สามารถชะลอการดาเนินการได้โดยไม่ก่อให้เกิดความ
เสียหายตอ่ ราชการ หรือไม่สามารถดาเนินการไดท้ ันในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
1.3) หน่วยงานของรัฐสภา หน่วยงานของศาล องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์กรอัยการ
องค์การมหาชน และหน่วยงานของรัฐท่ีกฎหมายกาหนดให้ได้รับงบประมาณเป็นเงินอุดหนุน และทุนหมุนเวียน
ที่พิจารณาเห็นว่ารายการ/กิจกรรมที่ได้รับงบประมาณ ไม่สามารถดาเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ของการตัง
งบประมาณ หรือมีเงินรายได้/เงินรายได้สะสมคงเหลือเพียงพอต่อการดาเนินภารกิจของหน่วยงานทดแทนเงิน
งบประมาณท่ีได้รับ โดยใชห้ ลกั เกณฑ์และแนวทางตามข้อ 1) และ 2) โดยอนโุ ลม
2) การโอนงบประมาณรายจ่ายจาแนกตามแผนงาน ประกอบด้วย
2.1) แผนงานพืนฐาน จานวน 15,038.1619 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 14.98 ของวงเงินงบประมาณ
ทีโ่ อนทงั หมด
2.2) แผนงานยุทธศาสตร์ จานวน 34,507.8041 ล้านบาทหรือ ร้อยละ 34.37 ของวงเงิน
งบประมาณที่โอนทงั หมด
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 49 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
2.3) แผนงานบูรณาการ จานวน 13,256.4868 ล้านบาท หรือ ร้อยละ 14.18 ของวงเงิน
งบประมาณท่โี อนทังหมด
2.4) แผนงานบริหารหนีภาครัฐ จานวน 36,612.2329 ล้านบาทหรือ ร้อยละ 36.47 ของ
วงเงินงบประมาณท่ี โอนทังหมด เป็นงบประมาณรายจ่ายเพ่ือการชาระหนีภาครัฐ ประกอบด้วย รายจ่ายชาระ
คืนต้นเงินกู้ของรัฐบาลและหน่วยงานอ่ืนของรัฐ จานวน 35,693.0629 ล้านบาท และรายจ่ายชาระค่าดอกเบีย
เงินกู้ จานวน 919.170 ล้านบาท เป็นต้น
ตำรำงที่ 8 การโอนงบประมาณรายจ่ายบรู ณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
หน่วย : ล้านบาท
งบประมำณรำยจำ่ ยประจำปี 2563
ลาดบั แผนงำนบรู ณำกำร พ.ร.บ. สดั สว่ น เบิกจำ่ ยไตรมำส 2 รอ้ ยละ คงเหลือ พรบ.โอน รอ้ ยละ
( ตค. 62-มีค. 63) เบกิ จำ่ ย เบิกจ่ำย โอนออก
รวมแผนงำนบรู ณำกำรทงั้ สนิ้ 230,058.4944 100.00 44,895.9306 19.52 185,162.5638 13,256.4868 5.76
1 แผนงานบรู ณาการขบั เคลื่อนการแกไ้ ขปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 10,641.9103 4.63 2,896.9308 27.22 7,744.9795 724.0375 6.80
2 แผนงานบรู ณาการขบั เคลอ่ื นเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก 16,036.5147 6.97 5,692.2010 35.50 10,344.3137 980.5968 6.11
3 แผนงานบูรณาการจัดการมลพษิ และส่ิงแวดลอ้ ม 405.5301 0.18 13.1952 3.25 392.3349 15.0980 3.72
4 แผนงานบรู ณาการตอ่ ตา้ นการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ 957.0451 0.42 513.0382 53.61 444.0069 61.9529 6.47
5 แผนงานบูรณาการสร้างความเสมอภาคเพอ่ื รองรับสังคมผู้สงู วยั 863.8468 0.38 246.6851 28.56 617.1617 147.8978 17.12
6 แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 58,796.2131 25.56 9,619.9211 16.36 49,176.2920 2,084.7365 3.55
7 แผนงานบรู ณาการป้องกนั ปราบปราม และบาบัดรักษาผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 5,299.5912 2.30 1,929.7429 36.41 3,369.8483 406.7714 7.68
8 แผนงานบรู ณาการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู้ 1,305.2514 0.57 436.1891 33.42 869.0623 166.6679 12.77
9 แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 95,374.9769 41.46 15,129.4058 15.86 80,245.5711 6,129.7183 6.43
10 แผนงานบรู ณาการพฒั นาผู้ประกอบการ เศรษฐกจิ ชมุ ชน และวสิ าหกจิ ขนาดยอ่ ม 1,738.0448 0.76 700.7497 40.32 1,037.2951 27.3754 1.58
11 แผนงานบูรณาการพฒั นาพนื้ ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 6,920.9089 3.01 1,409.3585 20.36 5,511.5504 527.0107 7.61
12 แผนงานบรู ณาการพฒั นาพนื้ ทรี่ ะดบั ภาค 20,305.1198 8.83 2,150.4923 10.59 18,154.6275 1,198.1099 5.90
13 แผนงานบรู ณาการพฒั นาและส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานราก 3,018.4466 1.31 463.2445 15.35 2,555.2021 532.1066 17.63
14 แผนงานบรู ณาการพฒั นาอตุ สาหกรรมและบริการแหง่ อนาคต 1,172.6635 0.51 308.9230 26.34 863.7405 51.2638 4.37
15 แผนงานบูรณาการสร้างรายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ ว 7,222.4312 3.14 3,385.8534 46.88 3,836.5778 203.1433 2.81
ท่ีมำ : 1) เอกสารงบประมาณฉบบั ท่ี 3 งบประมาณรายจา่ ย ฉบบั ปรบั ปรุงประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 เลม่ ที่ 18 (1) หนา้ ที่ 1-13
2) ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมื่อวนั ที่ 21 เมษายน 2563 แจง้ ตามหนงั สือสานกั เลขาธกิ ารคระรัฐมนตรี ด่วนทส่ี ุด นร 0505/ ว 183 ลงวันที่
23 เมษายน 2563 เรอื่ ง การโอนงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
จดั ทำโดย : สานักงบประมาณของรฐั สภา (PBO)
การโอนงบประมาณรายจ่ายบูรณาการ (Agenda) จานวน 13,256.4868 ล้านบาท คิดเป็น
ร้อยละ 14.99 ของวงเงินงบประมาณที่โอนทังหมด หรือคิดเป็นร้อยละ 5.76 ของวงเงินงบประมาณแผนงาน
บูรณาการตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงานบูรณาการที่มีการ
โอนงบประมาณมากทส่ี ุด ได้แก่
แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ โอนงบประมาณ จานวน
6,129.7183 ล้านบาท (ร้อยละ 46.24 ของวงเงินงบประมาณ Agenda ที่โอนทังหมด) โดยส่วน ใหญ่เป็น
งบประมาณของกระทรวงคมนาคม หน่วยรับงบประมาณท่ีมีการโอนงบประมาณจานวนมาก เช่น กรมทางหลวง
จานวน 4,793.8470 ล้านบาท กรมทางหลวงชนบท จานวน 1,021.6235 ล้านบาท เป็นต้น ส่วนใหญ่รายจ่าย
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 50 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิม่ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
ลงทุนสาหรับก่อสร้าง ปรับปรุง ซ่อมบารุง ถนน สะพานทางข้าม จุดพักรถ รวมไปถึง ค่าใช้จ่ายในการสารวจ
ติดตาม ตรวจสอบคณุ ภาพส่ิงแวดล้อม และประเมินผลกระทบต่างๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา โอนงบประมาณ จานวน 2,084.7365
ล้านบาท (ร้อยละ 15.73 ของวงเงินงบประมาณ Agenda ท่ีโอนทังหมด) ส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายลงทุน โดย
หน่วยรับงบประมาณที่มีการโอนงบประมาณจานวนมาก เช่น กรมชลประทาน จานวน 1,039.4198 ล้านบาท
กรมโยธาธิการและผังเมือง จานวน 780.5424 ล้านบาท กรมทรัพยากรนา จานวน 183.0808 ล้านบาท
การประปาส่วนภูมิภาค จานวน 38.5906 ล้านบาท เป็นต้น โดยงบประมาณของกรมชลประทานเป็น
งบประมาณ สาหรบั การก่อสร้างคลองระบายนา คลองสง่ นา ปรับปรุงและเพ่ิมประสิทธิภาพ ระบบชลประทาน
ตลอดจนค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวข้องกับการศึกษาความเหมาะสมและประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมที่เก่ียวข้อง
แผนงานบูรณาการพัฒนาพืนที่ระดับภาค โอนงบประมาณ จานวน 1,198.1099 ล้านบาท
(ร้อยละ 9.04 ของวงเงินงบประมาณ Agenda ท่ีโอนทังหมด) โดยหน่วยรับงบประมาณที่มีการโอนงบประมาณ
จานวนมาก เช่น กรมทางหลวง จานวน 424.0000 ล้านบาท เป็นงบประมาณสาหรับการพัฒนาทางหลวง
8 จังหวัด กรมทางหลวงชนบท จานวน 178.7660 ล้านบาท เป็นงบประมาณสาหรับการบารุงถนนใน 5
จงั หวดั กรมโยธาธิการและผังเมือง จานวน 78.3884 ล้านบาท เปน็ ต้น
แผนงานบูรณาการเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก โอนงบประมาณ จานวน 980.5968
ล้านบาท (ร้อยละ 7.40 ของวงเงินงบประมาณ Agenda ท่ีโอนทังหมด) ส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายลงทุน โดยหน่วย
รับงบประมาณท่ีมีการโอนงบประมาณจานวนมาก เช่น กรมทางหลวง เป็นงบลงทุนสาหรับการก่อสร้าง
ปรับปรุงถนน ทางแยกในเส้นทางที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพืนท่ีพิเศษภาคตะวันออกรวมงบประมาณ 512.7
ล้านบาท กองทัพเรือ เป็นงบลงทุนสาหรับการก่อสร้างและควบคุมงานลานจอดของศูนย์ซ่อมบารุงอากาศยาน
MRO รวมงบประมาณ 189.0100 ล้านบาท สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นงบลงทุน สาหรับการ
ก่อสร้างอาคารอานวยการ อาคารอุบัติเหตุ อาคารผ่าตัด ของโรงพยาบาลในพืนภาคตะวันออก รวมงบประมาณ
103.0947 ล้านบาท เป็นต้น
แผนงานบูรณาการขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โอนงบประมาณ
จานวน 724.0375 ล้านบาท (ร้อยละ 5.46 ของวงเงินงบประมาณ Agenda ท่ีโอนทังหมด) ส่วนใหญ่เป็น
รายจ่ายลงทุน โดยหน่วยรับงบประมาณที่มีการโอนงบประมาณจานวนมาก เช่น ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ เป็นงบสาหรับเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบสืบเน่ืองจากเหตุการณ์ไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
โครงการส่งเสริมคนดีมีคุณธรรมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และโครงการต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการแก้ไขปัญหา
จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นงบประมาณรวม 229.9332 ล้านบาท กองอานวยการรักษาความม่ันคงภายใน
ราชอาณาจักร เป็นงบประมาณสาหรับ โครงการจัดหายุทโธปกรณ์พิเศษในการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน โครงการสร้างความเข้าใจ ประชาชนทังในและนอกจังหวัดชายแดนภาคใต้ และโครงการอื่นๆ ท่ี
เก่ียวข้อง เป็นงบประมาณรวม 168.8608 ล้านบาท กองทัพบก เป็นงบประมาณของกองทัพบก เพ่ือใช้สาหรับใน
การแกไ้ ขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นงบประมาณรวม 73.0400 ลา้ นบาท เปน็ ตน้
จากการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นการดาเนินการตาม
พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562 และระบบ
ติดตามและประเมินผล กาหนดให้หน่วยรับงบประมาณ และเจ้าภาพแผนงานบูรณาการ รายงานการปฏิบัติงาน
และผลการใช้จา่ ยงบประมาณผ่านระบบฐานขอ้ มูลแผนผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณ (BB EvMis)
ตามระยะเวลาท่ีกาหนดอย่างเคร่งครัด แต่ในปัจจุบัน พบว่า มีหน่วยรับงบประมาณดาเนินการไม่ครบถ้วน
เห็นสมควรให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดหรือรัฐมนตรีซ่ึงกฎหมายกาหนดให้มีหน้าที่กากับหรือ ควบคุมกิจการของหน่วย
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 51 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
รับงบประมาณ หรือรองนายกรัฐมนตรีท่ีมีหน้าท่ี อานาจควบคุมกากับการจัดทาแผนงานบูรณาการ หรือผู้มี
อานาจกากับแผนงานบูรณาการ ท่ีมีหน้าที่กากับ ดูแลการปฏิบัติงาน ติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์ และตรวจสอบ
การใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานบูรณาการ ให้เป็นไปตามระเบียบที่เก่ียวข้อง ด้วยความโปร่งใสและถูกต้อง
ปราศจากการทุจริต รวมทังบูรณาการการทางานในทุกมิติ ทังในระดับพืนที่และหน่วยรบั งบประมาณที่เก่ียวข้อง
ตามแผนงานบูรณาการ เพ่ือเกิดประสิทธิภาพและคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ และเกิดผลสัมฤทธ์ิในการ
บริหารรายจ่ายบูรณาการให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ โดยเน้นกากับดูลการรายงานผลการปฏิบัติงานและผล
การใชจ้ ่ายงบประมาณ รวมทังปญั หา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข ใหค้ รบถ้วนต่อไป
3.3.6 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยแผนงำนบรู ณำกำร ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564
ปีงบประมาณ 2564 มีการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการ ตามยุทธศาสตร์ชาติ
จานวน 6 ยุทธศาสตร์ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 23 ประเด็น กาหนดให้มีการจัดทางบประมาณ
รายจ่ายบูรณาการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 14 แผนงาน ประกอบด้วย 1) แผนงานต่อเนื่องจาก
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 13 แผนงานบรู ณาการ 2) ปรับเปลยี่ นจากแผนงานบรู ณาการเป็นแผนยทุ ธศาสตร์
จานวน 2 แผนงานบูรณาการ ได้แก่ แผนงานบูรณาการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ และแผนงาน
บูรณาการจัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อม 3) แผนงานบูรณาการใหม่ จานวน 1 แผนงานบูรณาการ คือ
แผนงานบูรณาการรัฐบาลดิจิทัล รวม 14 แผนงาน วงเงินทังสิน 257,877.8610 ล้านบาท เพิ่มขึนจาก
ปีงบประมาณ 2563 (วงเงิน 235,058.4944 ล้านบาท) จานวน 27,819.3666 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
12.09 แผนงานบูรณาการท่ีไดร้ บั การจดั สรรสงู สดุ 5 แผนงาน ตามลาดบั ดังนี
(1) แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ จานวน 109,023.7907 ล้าน
บาท คิดเปน็ สัดสว่ นร้อยละ 42.28
(2) แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา จานวน 66,738.2278 ล้านบาท
คิดเป็นสดั ส่วนรอ้ ยละ 25.88
(3) แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก จานวน 22,712.6774 ล้านบาท
คิดเป็นสดั ส่วนร้อยละ 8.81
(4) แผนงานบูรณาการเขตพัฒนาพืนที่ระดับภาค จานวน 22,189.5131 ล้านบาท
คิดเปน็ สัดสว่ นรอ้ ยละ 8.60
(5) แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ จานวน
9,731.6785 ล้านบาท คดิ เปน็ สัดสว่ นร้อยละ 3.77
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 52 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิ่มประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
ตำรำงที่ 9 งบประมาณรายจ่ายบูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
หน่วย : ลา้ นบาท
แผนงำนบรู ณำกำร พ.ร.บ.63 สดั สว่ น รำ่ ง พ.ร.บ. 64 สดั สว่ น เพมิ่ /ลด รอ้ ยละ
รวมแผนงำนบรู ณำกำร 230,058.4944 100.00 257,877.8610 100.00 27,819.3666 12.09
พฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ 95,374.9769 41.46 109,023.7907 42.28 13,648.8138 14.31
บริหารจัดการทรัพยากรน้า 58,796.2131 25.56 66,738.2278 25.88 7,942.0147 13.51
ขับเคลอื่ นเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก 16,036.5147 6.97 22,712.6774 8.81 6,676.1627 41.63
พฒั นาพน้ื ทรี่ ะดบั ภาค 20,305.1198 8.83 22,189.5131 8.60 1,884.3933 9.28
ขบั เคลื่อนการแกไ้ ขปญั หาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 10,641.9103 4.63 9,731.6785 3.77 - 910.2318 - 8.55
สร้างรายไดจ้ ากการท่องเทยี่ ว 7,222.4312 3.14 6,967.9378 2.70 - 254.4934 - 3.52
ป้องกนั ปราบปราม และบาบัดรักษาผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 5,299.5912 2.30 6,286.3921 2.44 986.8009 18.62
พฒั นาพน้ื ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 6,920.9089 3.01 5,790.1501 2.25 - 1,130.7588 - 16.34
พฒั นาและสง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานราก 3,018.4466 1.31 2,688.9055 1.04 - 329.5411 - 10.92
รัฐบาลดจิ ิทลั - - 2,003.3459 0.78 2,003.3459 100.00
พฒั นาผปู้ ระกอบการ และวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมสู่สากล 1,738.0448 0.76 1,260.8263 0.49 - 477.2185 - 27.46
เตรียมความพร้อมเพอื่ รองรับสังคมสูงวยั 863.8468 0.38 944.3147 0.37 80.4679 9.32
พฒั นาอตุ สาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 1,172.6635 0.51 931.0072 0.36 - 241.6563 - 20.61
ตอ่ ตา้ นการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ 957.0451 0.42 609.0939 0.24 - 347.9512 - 36.36
จัดการมลพษิ และส่ิงแวดลอ้ ม 405.5301 0.18 - - - 405.5301 - 100.00
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู้ 1,305.2514 0.57 - - - 1,305.2514 - 100.00
ท่มี ำ : รา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี
จัดทำโดย : สานักงบประมาณของรัฐสภา (PBO)
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 53 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
บทท่ี 4
ผลกำรศึกษำ
จุ ด มุ่ งห ม า ย ข อ ง ง บ ป ร ะ ม า ณ แ ผ น ง า น บู ร ณ า ก า ร เชิ ง ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ จั ด ท า ขึ น เพื่ อ เป็ น ห น่ึ ง
ในกลไกที่ใช้ในการเชื่อมโยงภารกิจ ส่งเสริมให้กระทรวงและหน่วยงานต่าง ๆ ทางานร่วมกันในลักษณะ
ประสานเช่ือมโยงแบบเครือข่าย โดยคานึงถึงหลักประหยัด มีความคุ้มค่า มุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการใช้จ่าย
งบประมาณช่วยให้การจัดสรรงบประมาณซึ่งเป็นทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สามารถลดปัญหาความซาซอ้ นและการสนิ เปลอื งทรัพยากร รวมทังเพ่ือใหก้ ารบรู ณาการนโยบายดา้ นต่าง ๆ
ของรัฐบาลสามารถบรรลุผลสาเร็จด้วยดีและมีความตอ่ เนอ่ื งนาไปสู่การบรรลุจดุ มุ่งหมายและตัวชีวดั ร่วมกัน
โดยมรี ปู แบบการบริหารจดั การแบบองคร์ วม และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและประเทศชาติ
ดังนัน การศึกษาในครังนี จึงมีวัตถุประสงค์สาคัญ คือ เพื่อศึกษาวิเคราะห์แนวทาง
การจัดสรรงบประมาณ และการดาเนินงานแผนงานบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ในอดีตท่ีผ่านมา อันนาไปสู่
การจัดทาข้อเสนอแนะ แนวทางเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิง
ยทุ ธศาสตรต์ ่อไป โดยการศึกษาและประมวลขอ้ มลู ในประเดน็ ดังนี
4.1 ผลกำรศกึ ษำและตดิ ตำมกำรจัดทำงบประมำณแผนงำนบูรณำกำร ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2560 – 2561
ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2560-2561 ท่ีผ่านมา สานักงบประมาณของรัฐสภา ได้ศึกษาและ
ติดตามการจัดทางบประมาณแผนงานบูรณาการ เพื่อนาเสนอข้อมูลเก่ียวกับกระบวนการจัดทางบประมาณ
การกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลสัมฤทธ์ิและตัวชีวัด การบริหารงบประมาณ ระบบการติดตาม
ประเมินผลการดาเนินงาน รวมทังปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงานตามแผนงานบูรณาการรวมทังสิน 9
เรอื่ ง ได้แก่
(1) แผนงานบูรณาการป้องกนั ปราบปราม และบาบดั รกั ษาผตู้ ิดยาเสพติด
(2) แผนงานบรู ณาการพฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั และสงั คมดิจทิ ัล
(3) แผนงานบูรณาการสง่ เสริมการวจิ ยั และพัฒนา
(4) แผนงานบรู ณาการพฒั นาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแขง็
(5) แผนงานบูรณาการป้องกนั ปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ
(6) แผนงานบูรณาการคมนาคมและโลจสิ ติกส์
(7) แผนงานบูรณาการสร้างรายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ยี ว
(8) แผนงานบูรณาการบริหารจดั การนา
(9) แผนงานบูรณาการในมติ ิเชิงพนื ท่ี (AREA) กรณศี กึ ษาพนื ทภ่ี าคตะวันออก
ผลจำกกำรศึกษำมีข้อคน้ พบ โดยสรปุ ดังน้ี
การจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 รัฐบาลได้ให้ความสาคัญกับการ
จัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อเป็นกลไกในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์และ
นโยบายสาคัญของรัฐบาล ลดความซาซ้อนในการทางาน และการใช้จ่ายงบประมาณ โดยกาหนดมีการ
จัดทางบประมาณตามแผนงานบูรณาการ จานวนทังสิน 25 แผนงานบูรณาการ ซ่ึงในการพิจารณาร่าง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้ให้
ความสาคัญกับการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณการเป็นอย่างมาก โดยมีข้อสังเกตในการจัดทา
งบประมาณบูรณาการ ว่าตอ้ งมีการจัดทาแผนงานบูรณาการให้เป็นไปตามหลกั การของการบรู ณาการอย่าง
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 54 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่ิมประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
แท้จริง จากวัตถุประสงค์ เพ่ือให้การจัดสรรงบประมาณตามนโยบายเร่ืองสาคญั เร่งด่วนของรัฐบาล ที่มีการ
ดาเนินงานหลายหน่วยงาน ตังแต่ 2 หน่วยงานขึนไป โดยกาหนดเป็นแผนงานบูรณาการ แผนการ
ปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณของแต่ละหน่วยงาน ให้มีเป้าหมายและวัตถุประสงค์การ
ดาเนินงานที่มีความเช่ือมโยง สอดคล้อง สนับสนุนซึ่งกันและกันเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และไม่
ซาซ้อนกัน รวมทังให้มีการจัดทาแผนแม่บทระยะปานกลางและระยะท่ีสอดคล้องกับแผนแม่บทของ
กระทรวง / หน่วยงาน และเพ่ือให้การจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ เป็นกลไก
ขบั เคล่ือนการดาเนินงานตามยทุ ธศาสตร์และนโยบายเรื่องสาคญั เร่งดว่ น ของรฐั บาลได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
โดยมีหน่วยงานเจ้าภาพหลักเป็นผู้รับผิดชอบ และมีรองนายกรัฐมนตรีท่ีได้รับมอบหมาย เป็นผู้กากับ ดูแล
ติดตามผลการดาเนินงานให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม มีความชัดเจนของขอบเขต เป้าหมาย ตัวชีวัด
แนวทางการดาเนินและหน่วยดาเนินงานตามกรอบระยะเวลาท่ีกาหนด โดยคานึงถึงหลักประหยัด มีความ
คุ้มค่า มุ่งให้เกิดผลสัมฤทธ์ิในการใช้จ่ายงบประมาณช่วยให้การจัดสรรงบประมาณซ่ึงเป็นทรัพยากร
ท่ีมีอยู่อย่างจากัดเกิดประสิทธิภาพ รวมทังเพ่ือให้การบูรณาการนโยบายด้านต่างๆ ของรัฐบาลสามารถ
บรรลุผลสาเร็จด้วยดีและมีความต่อเน่ืองนาไปสู่การบรรลุจุดมุ่งหมายและตัวชีวัดร่วมกันโดยมีรูปแบบการ
บริหารจัดการแบบองค์รวม และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและประเทศชาติ ในการนี นักวิเคราะห์
งบประมาณ สานักงบประมาณของรัฐสภา สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จึงมีความสนใจที่ศึกษา
การดาเนินงานตังแต่ การกาหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ กระบวนการจัดทางบประมาณ การบริหาร
งบประมาณและระบบการติดตามงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์เพ่ือเป็นข้อมูลให้
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ใช้ประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายในส่วนท่ี
เกีย่ วขอ้ งกบั แผนงานบูรณาการตอ่ ไป โดยสรปุ ผลจากการศกึ ษาสรปุ ไดด้ ังนี
4.1.1 ด้ำนกำรวำงแผน
(1) การกาหนดหลกั เกณฑ์ เป้าหมาย แนวทาง การดาเนินงาน และตัวชวี ัดของแผนงานบูรณาการ
ฯ ยังไม่สะท้อนถึงผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินงานตามแนวทางที่กาหนด ตัวชีวัดจะมีลักษณะเป็นภาพรวมกว้างๆ
ส่วนใหญ่เป็นตัวชีวัดเชงิ ปริมาณ ท่กี าหนดโดยหน่วยงานกลางและหน่วยงานเจา้ ภาพเป็นหลกั และหน่วยงานรว่ ม
ดาเนินการมีหน้าที่รับทราบหลักเกณฑ์และแนวทางแล้วนาไปจัดทาโครงการเพ่ือขอรับ งบประมาณแผนงาน
บูรณาการฯ เท่านัน ทาให้โครงการภายใต้แผนงานบูรณาการฯ เป็นการทางานในลักษณะต่างคนต่างทา
ตามภารกิจทก่ี ฎหมายกาหนด
(2) ถึงแม้ว่าแผนงานบูรณาการฯ มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงกับยุทธศาสตร์และนโยบาย
สาคัญ ทังในระดับเป้าหมายและแนวทางการดาเนินงาน แต่ยังไม่ครอบคลุมทุกเป้าหมาย ท่ีแผนกาหนดซ่ึงอาจ
ส่งผลต่อการบรรลุผลสัมฤทธ์ิของเป้าหมายดงั กล่าวได้
(3) ตัวชีวัดส่วนใหญ่เป็นตัวชีวัดเชิงปริมาณท่ีมาจากจานวนรายการที่หน่วยงานได้รับ
งบประมาณ ซ่ึงไม่สามารถแสดงถงึ ผลสาเร็จ / ผลลัพธข์ องการดาเนินงานภายใต้แผนงานบูรณาการฯในเชิง
คุณภาพได้ รวมทังไม่มีการแบ่งความรับผิดชอบ ในแต่ละตัวชีวัดให้แก่หน่วยงานภายใต้แนวทาง 1 ทาง
การดาเนนิ งานเดียวกนั อยา่ งชัดเจน
(4) การกาหนดตัวชีวัดแผนงานบูรณาการฯ ด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์โดยใช้ตัวชีวัด
“อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านโครงสร้างพืนฐาน (Quality of overall infrastructure) ของ WEF”
ยังไม่สอดคล้องและครอบคลุมตัวชีวัดเป้าหมายท่ีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 และแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย ฉบับท่ี 3 กาหนดไว้ คือ ตัวชีวัด “อันดับดัชนี
ความสามารถในการแข่งขนั ด้านโลจสิ ติกส์ (LPI) และประสิทธิภาพในการอานวยความสะดวกทางการค้า
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 55 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิม่ ประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
(5) ไม่มีแผนปฏิบัติการระยะ 3-5 ปี ที่ระบุโครงการ พืนท่ี ระยะเวลา และผู้รับผิดชอบ ซึ่งมี
ผลทาใหก้ ารดาเนนิ งานไมเ่ ชอื่ มโยง และไมส่ ามารถสง่ ต่อผลงานและภารกิจระหว่างกันได้
(6) ระยะเวลาการจัดทาและพิจารณางาน/โครงการต่างๆภายใต้แผนงานบูรณาการฯ มีน้อย
เกินไป คณะกรรมการฯ และหน่วยงานเจ้าภาพ ไม่มีเวลาพิจารณาเนือหาและความสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ ได้อย่างละเอยี ดถ่ถี ้วน
(7) ขาดการประสานงานระหว่างคณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ และ
คณะกรรมการบูรณาการฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ส่งผลให้งานการทางานภายใต้แผนงานบูรณาการฯ
เกิดความซาซ้อนในการดาเนินงานระหว่างหน่วยงานท่ีอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการฯ และหน่วยงานอ่ืน
เช่น งานสรา้ งรายได้ จาการท่องเท่ียวของชุมชน ซึ่งดาเนนิ การโดยกระทรวงมหาดไทย และองค์การพัฒนา
พืนทพี่ ิเศษเพ่อื การท่องเทย่ี วอย่างย่ังยืน (องคก์ ารมหาชน)
(8) ส่วนราชการหลักที่เก่ียวข้องกับการท่องเที่ยว พบว่า มีหน่วยงานบางแห่งท่ียังมีอานาจ
หน้าที่ตามกฎหมายท่ีใกล้เคียงกัน เช่น 1) ด้านการจัดเก็บข้อมูลด้านการท่องเท่ียว มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คือกรมการท่องเที่ยว และสานักงานปลัดกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา 2) ด้านการจัดการแหล่ง
ท่องเที่ยวและ การสง่ เสริมการตลาด มีหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง คือ การท่องเที่ยวแหลง่ ประเทศไทย กรมการ
ทอ่ งเทีย่ ว องค์การพฒั นาพืนท่พี เิ ศษเพ่ือการทอ่ งเท่ียวอยา่ งย่งั ยืน (องค์การมหาชน) เปน็ ต้น
(9) ขาดการกาหนดกระบวนการทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
เพ่ือขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมาย ส่วนใหญ่ยังเป็นการมุ่งเน้นการทางานในภารกิจของตัวเอง แผนงานโครงการ
เฉพาะของหน่วยงานท่ีตนเองรับผิดชอบ ไม่ได้แสดงถึงกระบวนการทางานตังแต่ต้นนา กลางนา และปลายนา
อย่างชัดเจนตามหลักบูรณการอย่างแทจ้ ริง
(10) หน่วยงานร่วมดาเนินการมีระยะเวลาจากัดในการทาการศึกษา ทาความเขา้ ใจเป้าหมาย
ตวั ชวี ัด แนวทางการดาเนนิ งานของแผนงานบูรณาการเพ่ือกาหนดแผนงาน โครงการ และกจิ กรรมท่ีมีความ
สอดคลอ้ ง สามารถบรรลุเป้าหมายและตัวชวี ดั ท่กี าหนดไว้
(11) แผนงานบูรณาการเพื่อการพัฒนาพืนที่เป็นการจัดทางบประมาณท่ีมุ่งสนองนโยบาย
และยทุ ธศาสตร์จากบนส่ลู ่าง (Top Down) เป็นสาคญั แตแ่ ผนงานบูรณาการส่งเสริมการพัฒนาจังหวดั และ
กลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ในส่วนงบประมาณของจังหวัดต่าง ๆ นัน จะเป็นการแก้ไขปัญหาและความ
ตอ้ งการของพนื ที่ จงึ มุ่งไปทกี่ ารจดั ทากิจกรรมโครงการตามความจาเป็นเร่งด่วนของพนื ทเี่ ป็นสว่ นใหญ่
(12) ความเชอ่ื มโยงห่วงโซ่คุณคา่ (Value Chain) ของการดาเนินกิจกรรมโครงการ จากการ
วิเคราะห์ความเชื่อมโยงในลักษณะห่วงโซ่คุณค่าของกิจกรรม/โครงการ พบว่าตามเอกสารงบประมาณ มี
การจัดโครงสรา้ งความเชือ่ มโยงของกิจกรรม/โครงการให้เห็นความสัมพนั ธ์ในลักษณะห่วงโซ่คุณค่าของการ
ดาเนินการอย่างมีระบบ แต่พบว่ากิจกรรม/โครงการ ที่ดาเนินการส่วนใหญ่มีความเป็นเอกเทศ ไม่สามารถ
ระบไุ ด้ว่ากิจกรรมต้นนากลางนา ปลายนา แต่ละ หนว่ ยงานดาเนนิ การมคี วามสมั พนั ธเ์ ชื่อมโยงท่ีจะสามารถ
สนบั สนนุ ส่งเสรมิ กจิ กรรมการท่องเท่ยี วในประเด็นใด เรือ่ งใด
4.1.2 ด้ำนกำรบรหิ ำรจดั กำร
(1) การจัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ยังไม่มีการจัดทาแผน
ร่วมกันระหว่างหน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานร่วมดาเนินการ ตามท่ีระเบียบกาหนด แต่ใช้การ
ติดต่อส่ือสารผ่านทางโทรศัพท์ e - mail และ Application Line เพื่ออานวยความสะดวก รวดเร็วในการ
บริหารจดั การแผนงานบูรณาการฯ
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 56 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่ิมประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
(2) ไม่มีการตังศูนย์กลางในการประสานและส่ังการ (War Room) เพื่อแก้ไขปัญหาที่
เกิดขึนในระหว่างการดาเนินงานของหน่วยงานร่วมดาเนินการ ส่วนใหญ่จะดาเนินการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึน
ภายในหน่วยงานตนเองก่อน และในบางกรณีหน่วยงานเจ้าภาพจะจัดให้มีการประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไข
ปญั หารว่ มกนั รวมถึงงบประมาณในการบรหิ ารจัดการประชุม
(3) หน่วยงานเจ้าภาพหลักและหน่วยงานร่วมดาเนินการ ยังไม่มีการบริหาร เชิงยุทธศาสตร์
ตามหลักการบูรณาการ โดยหน่วยงานเจ้าภาพหลัก ไม่มีบทบาทในการบริหารงบประมาณหรือแก้ไขปัญหาการ
ดาเนินงานท่ีล่าช้ากว่าแผนที่กาหนด ในภาพรวมของแผนงานบูรณาการฯ หน่วยงานท่ีดาเนินกิจกรรม/
โครงการเป็นผู้บริหารงบประมาณทังหมด หน่วยงานเจ้าภาพทาหน้าที่บรหิ ารในเชิงนโยบาย และดาเนินการใน
ลักษณะเชิงรับ เมื่อหน่วยงานรายงานผลการดาเนินการและผลการใช้จ่ายงบประมาณมาเพื่อทราบเป็นราย
เดอื นหรือรายไตรมาสเท่านนั และไม่สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึนจาก การบรหิ ารงบประมาณไดโ้ ดยตรง
(4) กิจกรรม/โครงการที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานของแผนบูรณาบางแผนมีความซาซ้อน เช่น
แผนงานบูรณาการเพ่ือพัฒนาพืนท่ีระดับภาค แผนงานบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม แผนงานบูรณาการบริหาร
จัดการทรัพยากรนา แผนงานบูรณาพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศและจัดการมลพิษและส่ิงแวดล้อม อาทิ
เช่น การประปาส่วนภูมิภาคมีการทางานร่วมกับกรมชลประทานตาม MOU เพื่อพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ใน
พืนที่ EEC โดยกรมชลประทานจะดาเนินการเพ่ิมขยายพืนที่ของอ่างเก็บนาเพ่ือเพ่ิมความจุในการกักเก็บนาและ
ให้ปริมาณนาต้นทุนมีเพียงพอ ส่วนการประปาส่วนภูมิภาคดาเนินการขยายระบบการประปาให้เพียงพอกับการ
พัฒนา EEC ในอนาคต แต่ในการขอสนับสนุนงบประมาณรายจ่าย พบว่า โครงการขยายระบบประปาของการ
ประปาส่วนภูมิภาค อยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวนั ออก แต่โครงการเพ่ิมความจุ
ของอ่างเก็บนา อยูใ่ นแผนงานบูรณาการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา
(5) บทบาทของผู้ว่าราชการจังหวัดในพืนท่ีการพัฒนา EEC จะทาหน้าท่ีประสานงานกับส่วน
ราชการท่ีขอรบั การสนับสนุนงบประมาณรายจ่ายสาหรับการดาเนินโครงการในพืนที่ และอานวยความสะดวกใน
การลงพืนท่ีจากส่วนกลาง/ระดับนโยบาย รวมถึงการตอบข้อซักถาม/รับฟังความคิดเห็น ของทุกภาคส่วน แต่ไม่
สามารถกากับดูแล ตรวจสอบการดาเนินโครงการของส่วนราชการในพืนท่ีได้โดยตรง เนื่องจากเป็นงบประมาณ
ของหน่วยงาน ไม่ใช่งบประมาณของจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด โดยจังหวัดใช้กลไกแต่งตังคณะทางานEEC เพ่ือ
รับทราบความก้าวหน้าของการดาเนินโครงการของหน่วยงานต่าง ๆ ในพืนทีและรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชนในพืนท่ี
(6) หน่วยงานภายใต้แผนงานบูรณาการฯ หรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาพืนที่ EEC เช่น
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด และอุตสาหกรรมจังหวัด ดาเนินงานในรูปแบบเชิงรับ ต้องรอนโยบายหรือข้อมูล
จาก สกรศ. และไม่มีช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลที่เป็นปัจจุบันของการดาเนินงาน EEC เพ่ือถ่ายทอดความ
คบื หนา้ หรือข้อมูลท่ถี ูกต้อง ครบถว้ น
4.1.3 กำรตดิ ตำมประเมนิ ผล
(1) หน่วยงานร่วมดาเนินการมีการรายงานผลการดาเนินงานแผนงานบูรณาการฯ ให้กับหลาย
หน่วยงาน ซึ่งแต่ละหน่วยงานต่างมีวัตถุประสงค์ รูปแบบของการรายงาน และรายละเอียดข้อมูลที่ต้องการ
แตกตา่ งกัน ซ่ึงเปน็ ภาระงานของหนว่ ยรับงบประมาณและอาจทาให้เกิดความคลาดเคลอ่ื นของขอ้ มูลที่รายงานได้
(2) การดาเนินโครงการแผนงานบูรณาการฯ ส่วนใหญ่ยังมีความล่าช้ากว่าแผนที่กาหนด
เน่ืองจากหน่วยงานพบปัญหาและอุปสรรคในการดาเนินงาน เช่น ปัญหาการจัดสรรกรรมสิทธิ์ ท่ีดินและการเข้า
ใช้พืนที่ ปัญหาการปรับ TOR ให้มีความเหมาะสม ปัญหาสภาพภูมิอากาศท่ีส่งผลกระทบต่อการดาเนินโครงการ
เปน็ ต้น ใหโ้ ครงการสว่ นใหญจ่ าเป็นต้องกนั เงินไว้เบิกเหล่ือมปีงบประมาณ กรณมี หี นผี กู พัน
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 57 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
(3) การติดตามเร่งรัดการดาเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณแผนงานบูรณาการฯ ให้
ความสาคัญกับโครงการท่ีไดร้ ับงบประมาณในปีปัจจบุ ันเป็นหลัก แต่ยังไม่ครอบคลุมถึงโครงการที่มีการกันเงินไว้
เบิกเหลอื่ มปีงบประมาณ
(4) หน่วยงานเจ้าภาพหลักยังคงให้หน่วยงานที่ได้รับงบประมาณ เป็นผู้รายงานผลการ
ดาเนินงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณให้สานักงบประมาณทราบโดยตรง และสาเนาส่งให้หน่วยงานเจ้าภาพ
หลกั ดว้ ย ซึ่งทาใหก้ ารติดตามประเมนิ ผลแผนงานบูรณาการฯ หนว่ ยงานเจ้าภาพหลกั มสี ว่ นร่วมน้อยมาก
(5) หน่วยงานกลาง เช่น สานกั งบประมาณ สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คม
แห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และคณะกรรมการท่ีเกี่ยวข้อง ยังไม่ได้ร่วมกับหน่วยงาน
เจ้าภาพ เพอื่ กาหนดแนวทาง ระบบ หรอื วิธีการประเมนิ ผลท่สี ามารถวัดผลลัพธแ์ ละผลกระทบไดอ้ ยา่ งชัดเจน
(6) หน่วยงานเจ้าภาพมีฐานะระดับกรมซึ่งไม่แตกต่างจากหน่วยงานปฏิบัติอ่ืน อาจส่งผลให้ไม่
สามารถเร่งรัด ติดตามการรายงานความสาเร็จตามแผนงานได้ทันเวลา ดังนัน ควรมีกลไกระดบั สูงและมีอานาจการ
สั่งการ เช่น คณะกรรมการชุดต่างๆ สั่งการให้หน่วยปฏิบัติจัดทารายงานผลการดาเนินงานและการใช้จ่าย
งบประมาณ ชดั เจนและให้อานาจแกห่ น่วยงานเจ้าภาพทีจ่ ะเป็นเคร่อื งมือในการทาหน้าทีด่ งั กล่าวได้สมบูรณย์ ิ่งขึน
4.2 ผลกำรสำรวจกำรดำเนนิ งำนแผนงำนบรู ณำกำรของสว่ นรำชกำร
ผลจากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆ ทังหน่วยงานที่เป็นเจ้าภาพหลักและ
หน่วยงานสนับสนุนของแผนงานบูรณาการ จานวน 7 หน่วยงาน ประกอบด้วย สานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
กรมชลประทาน กรมทรัพยากรนา สานักงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ และ
สถาบนั วจิ ัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ประเทศไทย โดยสรุปดังนี
1) หน่วยงานทา่ นเปน็ หน่วยงานเจา้ ภาพหลัก/หนว่ ยงานสนบั สนุน
2) ทา่ นไดม้ ีส่วนรว่ มในการกาหนดเปา้ หมาย ตัวชวี ัด ในแผนงานบรู ณาการท่ีเก่ียวข้องหรือไม่ อยา่ งไร
3) หนว่ ยงานทา่ นดาเนนิ การแผนงานบรู ณาการอะไรบา้ ง
4) และมผี ลการดาเนินงาน ปญั หา อุปสรรคและแนวทางแกไ้ ขอย่างไร
4.2.1 สำนักงำนปลัดกระทรวงมหำดไทย
สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยเจ้าภาพหลัก ของแผนงานบูรณาการส่งเสริม
การพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ ร่วมกับฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการบูรณาการ
นโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) ซ่ึงประกอบด้วย สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ สานักงบประมาณ และสานักงาน ก.พ.ร. กาหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการจัดทางบประมาณ
และประสานแผนในระดับต่าง ๆ เจ้าหน้าท่ีท่ีให้ข้อมูลมีความเห็นว่า แผนงานบูรณาการควรปรับปรุงการ
กาหนดเป้าหมายและตัวชีวัดให้เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มจังหวัดและจังหวัด โดยนาจุดแข็งของแต่ละกลุ่ม
จังหวดั และจงั หวัดมากาหนดเปน็ ยทุ ธศาสตรข์ องพืนทีน่ นั ๆ เพราะแตล่ ะจงั หวดั และกลุ่มจงั หวัด มศี ักยภาพ
และรายละเอียดเชิงพืนที่ท่ีแตกต่างกัน ไม่ควรกาหนดเป้าหมาย ตัวชีวัดเหมือนกัน การดาเนินงานของกลุ่ม
จังหวัดควรเป็นการบูรณาการการทางานร่วมกันของจังหวัดภายในกลุ่ม มีการวางแผนงานร่วมกัน เพื่อผล
การดาเนินงานท่ีก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันอย่างเป็นรูปธรรม แผนงานบูรณาการไม่ควรนาแผนงานปกติ
ของแตล่ ะจงั หวดั มารวมไวด้ ว้ ยกนั
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 58 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิ่มประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
จากการดาเนนิ งานของเจ้าหนา้ ที่หน่วยปฏิบตั มิ ีขอ้ เสนอแนะ ดงั นี
หลักเกณฑ์การจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปขี องกลุม่ จงั หวดั
(1) โครงการจะต้องมีความสอดคล้องและเช่ือมโยงกับแนวทางการพัฒนาจังหวัดและกลุ่ม
จังหวดั และคณะกรรมการบรหิ ารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.)/คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัด
แบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) ต้องเสนอโครงการโดยมีการจัดลาดับความสาคัญของโครงการ เพ่ือเสนอ
คณะอนุกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค (อ.ก.บ.ภ.) ที่กากับดูแลแต่ละภาคพิจารณา แล้วเสนอ
คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) พิจารณากล่ันกรอง และ
เสนอ คณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดย ก.บ.ภ.ก.น.จ. และ
อ.ก.บ.ภ. จะให้ความสาคัญและพิจารณาเห็นชอบโครงการท่ีจังหวัดและกลุ่มจังหวัดจัดทาเพ่ือสนับสนุนการ
ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ แผนระดับชาติ นโยบายรัฐบาล ทิศทางการพัฒนาภาค ศักยภาพและปัญหา/ความ
ตอ้ งการของประชาชนในพืนที่เปน็ สาคัญ
(2) แผนงานโครงการต้องมีความเช่ือมโยงตังแต่ต้นทาง-กลางทาง-ปลายทาง เพื่อแก้ไขปัญหา
ในจังหวัดและกลุ่มจังหวัดอย่างยั่งยืน หรือ สร้างคุณค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์และพัฒนาศักยภาพของจังหวัดและ
กลมุ่ จงั หวดั
(3) โครงการจะต้องมีความเหมาะสมและเป็นไปได้ทังด้านเทคนิค (วิธีการ หรือรูปแบบที่ใช้ใน
การดาเนินการ) ด้านกายภาพ (ความพร้อมของพืนท่ีดาเนินงาน บุคลากร การบริหารความเสี่ยงและการบริหาร
จัดการ) ด้านงบประมาณ (ความสมเหตุสมผลของวงเงินกับประโยชน์ที่ได้จากการดาเนินโครงการ)
ด้านระยะเวลาที่ดาเนินการได้แล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ รวมทังการวิเคราะห์ผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบ
ในการดาเนินโครงการ ซ่ึง ก.บ.ภ. ก.น.จ. และ อ.ก.บ.ภ. จะพิจารณาและให้ความเห็นชอบเฉพาะโครงการที่มี
ความพรอ้ มในการดาเนินโครงการเทา่ นัน
(4) โครงการจะต้องมีความคุ้มค่า ผลลัพธ์ หรือประโยชน์ของโครงการที่คาดว่าจะได้รับทัง
ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ความม่ันคง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อาทิ จานวนประชากร จานวน
เกษตรกร พนื ที่เพาะปลกู รายได้ ฯลฯ โดยเฉพาะในส่วนของผลประโยชน์ต่อประชาชนในพืนที่
(5) โครงการจะต้องมีความพร้อม การเตรียมการล่วงหน้าก่อนที่จะเสนอคาขอโครงการ เช่น
การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม (EIA) การศึกษา/ออกแบบสาหรับการจัดทาโครงการท่ีจะเกิดขึนใน
อนาคต เช่น เขียนแบบก่อสร้าง เป็นต้น เพื่อให้สามารถดาเนินการได้ภายในปีงบประมาณที่ได้รับอนุมัติ
งบประมาณ รายละเอียดข้อมูลท่ีครบถ้วนตามแบบฟอร์มท่ี ก.บ.ภ. กาหนดโดยกรณีที่เป็นโครงการก่อสร้าง
จะต้องระบุความพร้อมของพืนท่ีดาเนินงาน รวมทังรูปแบบรายการโดยสังเขปพร้อมด้วยเอกสารยืนยั นว่า
สามารถดาเนินโครงการได้ทันทีหลังจากผา่ นการพิจารณาของ ก.บ.ภ.
(6) โครงการที่เป็นงบลงทุนจะตอ้ งแสดงถงึ หน่วยงานที่พร้อมจะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายท่ีจะเกดิ ขึน
ในปีต่อไป รวมทังต้องมีร่างบันทึกข้อตกลงระหว่างจังหวัดและกลุ่มจังหวัดกับหน่วยงานดังกล่าวในการขอตัง
งบประมาณ และการโอนทรัพย์สินที่เกิดจากการดาเนินโครงการต่อไป โดยมีการจัดทาบันทึกข้อตกลงแนบมา
พร้อมกับคาขอโครงการ หากไมม่ เี อกสารบันทึกข้อตกลงแนบมา โครงการนนั จะไม่ไดร้ ับการพิจารณา
(7) โครงการท่ีต้องดาเนินการในพืนที่ท่ีต้องได้รับอนุมัติ/อนุญาต ต้องได้รับการอนุมัติ/
อนุญาตจากเจ้าของพืนที่/หน่วยงานเจ้าของพืนที่ก่อนที่จะเสนอขอโครงการ เช่น โครงการที่จะต้องเข้าไป
ดาเนินการในพนื ที่อทุ ยาน ปา่ ไม้ เป็นต้น รวมถงึ โครงการที่จะต้องประเมินผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดล้อม เพ่ือให้
สามารถดาเนินโครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณได้ภายในปีงบประมาณที่ได้รับอนุมัติ โดยย่ืนเอกสาร/
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 59 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
หลักฐานยืนยันการได้รับการอนุมัติ/อนุญาตจากเจ้าของพืนที่/หน่วยงานเจ้าของพืนที่ และ/หรือเอกสาร
ประเมนิ ผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ ม มาพรอ้ มกับคาขอโครงการ หากไมม่ ีเอกสาร/หลกั ฐานยืนยัน โครงการนัน
จะไม่ได้รับการพจิ ารณา
และแผนการดาเนินการ เพ่ือเป็นการปรับปรุงกระบวนการจัดทาแผน และประสาน
แผนพัฒนาในระดับพืนที่ เพื่อให้การใช้จ่ายงบประมาณเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย จะได้ร่วมกับฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการบูรณาการนโยบายพัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) ซึ่ง
ประกอบด้วย สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ สานักงบประมาณ สานักงาน
ก.พ.ร. ในการนาปัญหา อุปสรรคข้อเสนอแนะไปกาหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ วิธีการจัดทา และประสาน
แผนในระดับต่าง ๆ อย่างต่อเนอื่ งตอ่ ไป
4.3.2 สำนกั งำนปลดั กระทรวงศกึ ษำธิกำร
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ ในฐานะ เป็นหน่วยงานเจ้าภาพ แผนงานบูรณาการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561 (โดยปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560) มีสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เป็นหน่วยงานเจ้าภาพร่วมและแผนงานบูรณาการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพเท่าเทียมและทั่วถึง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 รับผิดชอบ
หลักในการยกร่างและจัดทากรอบแนวทางแผนงานบูรณาการ ฯ ในแต่ละปีงบประมาณ โดยวิเคราะห์จาก
ยทุ ธศาสตร์จดั สรรงบประมาณ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปพี .ศ. 2561-2580 แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 -2580 และข้อมูลทางวิชาการอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวข้อง
และประมวลประเด็นสาคัญเพื่อ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีควรผลักดันให้เป็นการดาเนินงานใน
ลักษณะบูรณาการ และจัดทาเป็นกรอบแนวทางแผนงานบูรณาการฯ ซ่ึงมีการกาหนดเป้าหมาย ตัวชีวัดหลัก
แนวทาง ตัวชีวัดแนวทาง ค่าเป้าหมาย ประเด็นข้อเสนอ ประเด็น Project base และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
เสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ (แต่ละปี) พิจารณา
ให้ความเห็นชอบ รวมทังได้ดาเนินการปรับทบทวนเป้าหมาย ตัวชีวัดหลัก ใน กรณีท่ีมี ไม่มีการเสนอแผนงาน
โครงการในประเด็นดังกล่าว หรือไม่มีแผนงาน โครงการท่ีผ่านการพิจารณาจากคณะอนุกรรมการกลั่นกรอง
โครงการฯ ในฐานะฝ่ายเลขานุการหน่วยงานเจ้าภาพแผนงานบูรณาการฯ ได้ดาเนินการจัดแผนงานบูรณาการ
เร่ือง การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561 และ
แผนงานบูรณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียมและท่ัวถึง ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2562 ตามขันตอนและกรอบระยะเวลาการจัดทางบประมาณฯในลักษณะบูรณาการเชิง
ยุทธศาสตร์ แตล่ ะปีจนเสรจ็ สินและครบกระบวนการจากการดาเนนิ งานเจา้ หนา้ ที่พบปัญหาและอปุ สรรคดงั นี
1) ระยะเวลาในการดาเนินงานตามแผนงานบูรณาการแต่ละขันตอนค่อนข้างกระชันชิด เพื่อให้
เป็นไปตามกาหนดของปฏิทินงบประมาณฯ จึงส่งผลให้ส่วนราชการและหน่วยงานไม่สามารถหารือ เพ่ือวางแผน
โครงการ ในลกั ษณะบูรณาการร่วมกันได้ครบถ้วน
2) ขบวนการ ขันตอนการดาเนินงานโครงการแผนงานบูรณาการ ยังไม่เป็นการบูรณาการ อย่าง
แท้จริง ทังนี แผนงานบูรณาการฯ ในแตล่ ะปีงบประมาณมีการกาหนดหลักการบูรณาการท่ีแตกตา่ งกัน หลักเกณฑ์
การพจิ ารณาการบรู ณาการในมิตขิ องกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเป็นโครงการบรู ณาการระหว่างหนว่ ยงานระดับกรม
3) ด้านบุคลากรที่รับผิดชอบ มีการปรับเปล่ียนท่ีขับเคลื่อนโครงการภายใต้แผนงานบูรณาการ
ยงั ขาดความรคู้ วามเข้าใจในการจดั ทาแผนงานบูรณาการทาให้การดาเนนิ งาน ขาดความต่อเน่ือง
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 60 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
4) การจัดสรรงบประมาณของหน่วยงาน มีขันตอนหลายขันตอนในการบริหารงบประมาณ
ส่งผลให้หน่วยงานปฏิบัติได้รับงบประมาณล่าช้า รวมทังกระบวนการจัดซือจัดจ้าง ทาให้การดาเนินการงาน
โครงการแผนงานบรู ณาการไมเ่ ป็นไปตามเปา้ หมายที่กาหนดไว้
5) เจา้ หน้าท่ีหนว่ ยงานเจา้ ของโครงการยังมคี วามเขา้ ใจคลาดเคลอื่ น ในวิธกี ารใชจ้ า่ ยงบประมาณ
ในลักษณะบรู ณาการ ตามระเบียบวา่ ดว้ ยการบริหารงบประมาณรายจ่ายสาหรบั แผนงานบูรณาการ พ.ศ. 2559
4.3.3 สำนกั งำนปลดั กระทรวงดจิ ทิ ลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม
สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นหน่วยงานสนับสนุนแผนงาน
บูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล มีส่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย ตัวชีวัด ในแผนงานบูรณาการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล รวมถึงประสบการณ์ในฐานะที่เคยเป็นหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการจัดทา
แผนงานบูรณาการด้านการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล โดยการนาผลการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึนจาก
การดาเนินงานในปีท่ีผ่านมา เข้าร่วมหารือในขันตอนการทบทวนเป้าหมาย ตัวชีวัด ของคณะกรรมการการ
แผนงานบูรณาการสานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ดาเนินการแผนงานบูรณาการเพียง
1 แผนงาน คือ แผนงานพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมดจิ ิทลั จานวน 2 แนวทาง ไดแ้ ก่
1) แนวทางท่ี 2: การบูรณาการการทางานและการบูรณาการของภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาล
ดจิ ทิ ัล ตัวชวี ดั ท่ี 2: ผลการจัดลาดบั Global Open Data Index ดีขนึ 2 อนั ดับ สาหรบั ดาเนินโครงการจ้าง
ทปี่ รกึ ษาพัฒนาระบบให้บริการขอ้ มูลกลางสาหรับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
2) แนวทางท่ี 4 : สร้างระบบนิเวศน์ที่เอืออานวยต่อการเติบโตของระบบเศรษฐกิจดิจิทัล
ตัวชีวัดที่ 3 : ผลการจัดอันดับ Global Cyber security Index โดย ITU อยู่ใน 20 อันดับแรก สาหรับ
ดาเนินโครงการศูนยข์ ้อมูล Big Data และวเิ คราะห์อาชญากรรมทางเทคโนโลยีเพื่อความสงบเรียบร้อยของ
ประชาชน สังคม และความมั่นคงของชาติ ทังนี ยังมีข้อสังเกตว่าโครงการดังกล่าวยังเป็นงานตามภารกิจ
พนื ฐานของหน่วยงาน แต่เนื่องจากข้อจากดั ของงบประมาณท่งี บประมาณส่วนกลางภายใตภ้ ารกจิ พืนฐานมี
จานวนจากัดไม่เพียงพอทุกส่วนราชการ จึงต้องโยกโครงการจากภารกิจพืนฐานไปเป็นภารกิจในแผนงาน
บูรณาการซึ่งอาจจะยังไม่ตอบสนองต่อเป้าหมายและแนวทางตลอดจนตัวชีวัดตามแผนงานบูรณาการได้
อย่างแทจ้ ริง
4.3.4 กรมชลประทำน
กรมชลประทานเป็นหน่วยงานสนับสนุน โดยมีแผนดาเนินการภายใต้แผนงานบูรณาการ
บริหารจัดการทรัพยากรนา โดยมีสานักงานทรัพยากรนาแห่งชาติ เป็นหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการกาหนด
เปา้ หมาย ตัวชีวดั ของบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา สานักงานทรัพยากรนาในฐานะหน่วยงานเจา้ ภาพ
หลัก ได้จัดการประชุมโดยเชิญหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง 18 หน่วยงาน เข้าร่วมประชุมเพ่ือกาหนดเป้าหมายและ
ตวั ชีวัดในภาพรวมให้สอดคล้องและเช่ือมโยงกับยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ แผนพฒั นา
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 แผนการปฏิรูปประเทศ และนโยบายว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ โดยมี
วัตถุประสงค์ให้ประเทศมีการบริหารจัดการทรัพยากรนาอย่างเป็นระบบและยั่งยืน โดยกรมชลประทานได้เข้า
ร่วมประชุมเพ่ือกาหนดเป้าหมาย ตัวชีวัด ของแผนงานบูรณาการดังกล่าวด้วย กรมชลประทานดาเนินการ
ภายใต้แผนบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา และแผนบูรณาการเพื่อพัฒนาพืนท่ีระดับภาค โดยจัดทา
แผนพัฒนาแหล่งนา บริหารจัดการนา และการป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากนา กระจายอยู่ท่ัวประเทศ
สาหรับการปฏิบัติงานของกรมชลประทานนัน มีการควบคุม กากับ ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานและ
การใช้จ่ายงบประมาณอย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ เพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ ปัญหาอุปสรรคใน
การดาเนนิ งาน ได้แก่
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 61 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่มิ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
1) ติดปัญหาที่ดิน เช่น ราษฎรเปล่ียนใจไม่ยินยอมให้ใช้พืนท่ี หรือราษฎรไม่ยอมรับค่าที่ดิน
หรือต้องออกพระราชกฤษฎีกาเวนคืนท่ีดิน เป็นต้น
2) มีการแก้ไขแบบก่อสร้าง/แก้ไขสัญญา เน่ืองจากสภาพแวดล้อมเปล่ียนไป หรือมีการ
เปล่ยี นแปลงการทาประโยชนใ์ นทดี่ นิ หรือเพ่อื ลดผลกระทบกบั ราษฎรในพนื ที่
3) ประสบปัญหาอุทกภัย เน่อื งจากฝนตกหนกั ทาให้นาท่วมบรเิ วณพืนท่ีกอ่ สร้าง
กรมชลประทำนได้กำหนดแนวทำงแกไ้ ขดงั น้ี
1) ปัญหาท่ีดิน กรมชลประทานได้มีการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจแก่ผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย รวมถึงจัดประชุมชีแจงรับฟังความคิดเห็นจากราษฎรในพืนที่และส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องก่อน
ดาเนนิ โครงการ เพ่ือให้เกิดการยอมรบั โครงการและยินยอมใหใ้ ช้ทดี่ ิน พร้อมทังประสานงานกับผนู้ าทอ้ งถิ่น
และกลมุ่ เกษตรกร เพื่อขอความรว่ มมอื ให้ความสะดวกในการดาเนนิ การกอ่ สรา้ ง
2) หน่วยงานเจ้าของโครงการมีการประสานงาน ติดตามเร่ืองแก้ไขแบบ/แก้ไขสัญญา กับ
หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งอยา่ งใกล้ชิด และดาเนินการแก้ไขภายในเวลาที่กาหนด
3) ควรปรับแผนงานก่อสรา้ งให้สอดคล้องกับระยะเวลากอ่ สรา้ งตามสญั ญา และเร่งรดั การ
ดาเนนิ งานใหแ้ ลว้ เสร็จตามแผนเมอื สนิ สดุ อทุ กภยั
เจ้าหน้าที่กรมชลประทานมีความเห็นว่า เจ้าภาพหลักและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ควร
จัดการประชุมหารือระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้องภายใต้แผนงานบูรณาการอย่างต่อเน่ือง เพื่อร่วมกัน
กาหนดเป้าหมาย ตัวชีวัด วัตถุประสงค์และแนวทางการดาเนินงานให้มีความชัดเจน รวมไปถึงสามารถ
กากับการดาเนินงาน ติดตามประเมินผล เพ่ือให้ทราบความสาเร็จของแผนงาน ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด
และสามารถบรรลตุ ามเป้าประสงค์ของแผนงานบรู ณาการร่วมกัน
สาหรับการติดตามประเมินผล ควรมีแนวทางการบูรณาการข้อมูลที่เชื่อมโยงกันระหว่าง
หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง ควรบูรณาการขอ้ มลู ผ่านระบบเชื่องโยงขอ้ มูลกลาง เพื่อให้สามารถแลกเปลย่ี นข้อมูล
ของทกุ หน่วยงานได้ในวงกว้าง โดยใช้ฐานข้อมูลแบบรวมศนู ยเ์ พียงฐานเดียว เพือ่ ลดความสูญเสียทรัพยากร
จากความซาซ้อนในการดาเนินงาน โดยผู้ปฏิบัติงานสามารถเรียกดูข้อมูลได้อย่างรวดเร็วง่ายในการปฏิบัติ
และสะดวกในการตดิ ตามประเมินผลความกา้ วหนา้ และผลสาเรจ็ ของโครงการ
4.3.5 กรมทรัพยำกรนำ้
เป็นหน่วยงานเจ้าภาพหลักแผนงานการบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา ตังแต่
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559-2560 (รวมถึงการจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561)
ก่อนคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 46/2560 เร่ือง การจัดตัง
สานักงานบริหารจัดการทรัพยากรนาแห่งชาติ ส่ัง ณ วันที่ 25 ตุลาคม 2560 ที่ได้ตัดโอนภารกิจเลขานุการ
คณะกรรมการทรัพยากรนาแห่งชาติ รวมถึงงานบูรณาการการบริหารจัดการทรัพยากรนาในภาพรวมของ
ประเทศ ให้สานักงานทรัพยากรนาแห่งชาติ และคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 2/2561 เรื่อง
การจัดสรรภารกิจและบุคลากรของสานักงานทรัพยากรนาแห่งชาติ สั่ง ณ วันท่ี 22 มกราคม 2561 ตัดโอน
ภารกิจกรมทรัพยากรนาให้สานักงานทรัพยากรนาแห่งชาติ ดังนี
1) งานศึกษา วิเคราะห์และกาหนดพืนท่ีเสี่ยงภัยเกี่ยวกับนาในภาพรวมของประเทศ และงาน
เสนอแนะแนวทาง แผนแมบ่ ท มาตรการ รวมทังประสานการนาแผนไปสู่การปฏบิ ัติและแก้ไขวิกฤตนา
2) งานเสนอแนะนโยบาย แผนแม่บท และมาตรการเก่ียวกับการบริหารจัดการทรัพยากรนาใน
ภาพรวมของประเทศ งานเสนอแนะแนวทาง กรอบแผนงาน และมาตรการในการจัดทาแผนปฏิบัติการจัดการ
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 62 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
ทรัพยากรนาของประเทศ รวมทังงานติดตามและประเมินผลการดาเนินการตามนโยบาย และแผนแมบ่ ทเกี่ยวกับ
การบริหารจดั การนาของประเทศ
3) การกาหนดกรอบ หลักเกณฑ์ เทคโนโลยี และแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรนาใน
ระดับข้ามลุ่มนา การสนับสนุนและให้คาปรึกษาแนะนาแก่คณะกรรมการลุ่มนา หน่วยงานของรัฐ และ
องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินเก่ียวกับการบริหารจดั การนาในระดบั ขา้ มล่มุ นา
4) งานเก่ียวกับการประสานความร่วมมือกับต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศด้าน
การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนา
5) งานเก่ียวกับการศึกษา วิจัย เทคโนโลยี เก่ียวกับการบริหารจัดการทรัพยากรนาใน
ภาพรวมของประเทศ และการวิเคราะห์ปริมาณนาการวางแผนและพัฒนาการบริหารจัดการทรัพยากรนา
ในภาพรวมของประเทศ
ที่ผ่านมาปัญหาของแผนงานบูรณาการ คือ การคัดเลือกและกลั่นกรองโครงการท่ีเป็น
ลักษณะโครงการเดี่ยว หรือชุดโครงการที่เน้นการดาเนินการตามภารกิจงานของหน่วยงานหน่ึงๆ เป็นหลัก
ไม่ได้บูรณาการ สอดรับระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้องอีกทังการประเมินและติดตามเป็นการประเมิน
ความสาเร็จของโครงการในด้านการดาเนินการก่อสร้างเชิงวิศวกรรมหรือติดตังระบบแล้วเสร็จตามแผน มี
รายการข้อมูลตามที่กาหนด แต่ขาดการประเมินผลการใช้งานข้อมูลและระบบในระดับปฏิบัติการ ความ
เช่อื มโยงกับโครงการอ่ืนๆ ทังระบบ รวมถึงการมีส่วนร่วมของหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้องในการบริหารจดั การ จึง
เกิดปัญหามีโครงการซาซ้อนในพืนท่ีเดียวกันหรือการแก้ปัญหาเชิงพืนที่ไม่สัมฤทธ์ิผลเพราะขาดหน่วยงาน
ดาเนินงาน ขาดการบูรณาการข้อมูลผลการวิเคราะห์และคาดการณ์ ทาให้ไม่สามารถใชง้ านข้อมูลได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ในการประกอบการตดั สนิ ใจ ทังในภาวะปกติ และการบริหารจดั การภัยพิบตั ิ
ดังนัน การกล่ันกรองแผนงานโครงการเพ่ือบรรจุในแผนงานบูรณาการการบริหารจัดการนา
จึงเป็นขันตอนท่ีมีความสาคัญ ควรมีความเชื่อมโยงสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้แผน
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการบริหารจัดการทรัพยากรนา และแผนปฏิรูปประเทศ สอดรับเช่ือมโยงมีการกระจาย
งบประมาณให้เหมาะสมเพ่ือแก้ไขปัญหาในเชิงพืนท่ีเขตชลประทาน พืนท่ีเกษตรนาฝน (นอกเขตชลประทาน)
โดยเฉพาะพืนที่เกษตรนาฝนที่ประชาชนส่วนใหญม่ ีรายไดต้ ่าเพื่อผลกั ดนั เป้าหมายตามแผนยุทธศาสตรช์ าติ ลด
การเหล่ือมลาของประชาชน รวมทังการพร้อมที่จะรองรับความไม่แน่นอนในอนาคตทังความเส่ียงภัยธรรมชาติ
สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ เกิดความคุ้มค่ากับการลงทุนทังเชิงสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบันและ
อนาคต โดยกลไกสาคัญคือให้หน่วยงานต่างๆ มีสว่ นร่วมในการกลั่นกรองโครงการที่มีลกั ษณะงานแบบเดียวกัน
ด้วยความรู้ความเช่ียวชาญเชิงเทคนิค และเห็นภาพรวมของโครงการทังหมด เพื่อให้เกิดการบูรณาการการ
ทางานอย่างแท้จริง โดยมีเป้าหมายให้ทุกโครงการเสริมและเช่ือมโยงกันไม่ซาซ้อนนาไปสู่การใช้ระบบข้อมูล
เพอ่ื สนับสนนุ การบริหารจดั การนาและลมุ่ นาอย่างมเี อกภาพ และมปี ระสทิ ธิภาพ
4.3.6 สำนกั งำนคณะกรรมกำรป้องกนั และปรำบปรำมกำรทจุ ริตแห่งชำติ
สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เป็นหน่วยงานเจ้าภาพหลัก
ในแผนบูรณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันที่ 27
ตุลาคม 2558 เห็นชอบการกาหนดแนวทางการจัดทางบประมาณและปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยกาหนดให้มีการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2560 ในรูปคณะกรรมการท่ีมีรองนายกรัฐมนตรีที่กากับดูแลรับผิดชอบหน่วยงานเจ้าภาพ
และมีคาส่ังสานักนายกรัฐมนตรี ที่ 339/2558 เรื่อง แต่งตังคณะกรรมการพิจารณาการจัดทางบประมาณใน
ลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 คณะที่ 6 ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุล
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 63 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยมีนายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ
มีอานาจหน้าท่ี ดงั นี
1) กาหนดหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ ขอบเขตภารกิจ เป้าหมาย แนวทางการดาเนินงาน
ตัวชีวัด หน่วยงานเจ้าภาพ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ครอบคลุม ครบถ้วน เพื่อให้การบูรณาการเชิง
ยุทธศาสตร์ เป็นไปอยา่ งมีประสิทธิ เกิดประโยชน์สงู สดุ
2) ประสานส่วนราชการที่เกี่ยวข้องจัดทาข้อเสนอโครงการ/กิจกรรม และงบประมาณท่ี
เหมาะสมท่ีจะดาเนินการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560
3) พิจารณากล่ันกรองข้อเสนอการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ของประเด็น การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (และ
ประเด็นอ่ืนอีก 4 ประเด็น ได้แก่ การปฏิรูปกฎหมายและพัฒนากระบวนการยุติธรรม การอานวยความสะดวก
ทางธุรกิจ การส่งเสริมการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และการส่งเสริมการพัฒนาจังหวัด
และกลุ่มจังหวดั แบบบูรณาการ)
4) จัดทาข้อเสนอการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2560 ส่งสานกั งบประมาณ
5) กากับ ดูแล ติดตาม และตรวจสอบการใช้จา่ ยงบประมาณ รวมทังบรู ณาการ
6) การทางานในทุกมิติ ทังในระดับพืนท่ี และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตามแผนงานบูรณาการ
เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ ตังแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป
7) แต่งตังคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานในการปฏิบัติงาน และเชิญส่วนราชการมาชีแจง
ให้ขอ้ มลู รายละเอียดข้อคิดเห็นได้ตามความจาเปน็
8) ดาเนินการอ่ืนตามท่ีนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีมอบหมาย การกาหนดเป้าหมาย แนว
ทางการดาเนินงาน ตัวชีวัด การจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประเด็นการป้องกัน
ปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 สานักงาน ป.ป.ช. ยึดแนวทางการขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556-2560)โดยสรุปขันตอนการ
จัดทาคาของบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ประเด็นการ
ป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ พบปัญหา อุปสรรค ในการดาเนินงาน ดงั นี
การจัดทาข้อเสนอโครงการ/กิจกรรมเพื่อขอรับจัดสรรงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2560 หน่วยงานรับผิดชอบโครงการมีการระบุรายละเอียดโครงการไม่ชัดเจน เช่น ขาดการระบุวัตถุประสงค์
ความสอดคล้องของโครงการกับยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 กลุ่มเป้าหมายไม่ชัดเจน นอกจากนีบางโครงการมี
การปรบั เปลย่ี นรายละเอียดการดาเนินการ แต่ไมม่ กี ารรายงานหรือชีแจงเหตุผล เป็นต้น
หน่วยงานเจ้าภาพไม่มีอานาจในการส่ังการให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเสนอโครงการ/กิจกรรมที่
สอดคล้องกับแนวทางตามกรอบแผนบูรณาการได้ขึนอยู่กับการเสนอของหน่วยงานนันๆ ทาให้การเสนอ
โครงการ/กิจกรรมไม่ครอบคลุมทุกมิติของแผนบูรณาการ
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 64 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่ิมประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
4.3.7 สถำบันวิจัยวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)
เป็นองค์กรรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การดาเนินงานในแผน
บูรณาการเป็นหน่วยงานสนับสนุน (หน่วยงานร่วมดาเนินงาน) การกาหนดเป้าหมาย ตัวชีวัด ในแผนบูรณาการ
นัน วว. ดาเนินการผ่านการส่งข้อเสนอโครงการฯ ประจาปีให้กับหน่วยงานเจ้าภาพหลัก โดยโครงการต้องมี
เป้าหมายและตัวชีวัดท่ีสอดคล้องกับเป้าหมายของแผน แนวทางการดาเนินงาน และตัวชีวัดตามแนวทางการ
ดาเนินงานของแผนบรู ณาการนันๆ (สอดคล้องตามแผนภูมิตน้ ไมแ้ ต่ละแผนบูรณาการ) และหลังจากนันเจ้าภาพ
หลักจะเชิญประชุมชีแจง และซักถามหน่วยงานร่วมดาเนินงาน เพ่ือพิจารณาโครงการว่ามีความสอดคล้องและ
รองรับเป้าหมายความสาเร็จของแผนบูรณาการหรือไม่อย่างไร พร้อมทังการพิจารณาถึงความเหมาะสมของ
โครงการ งบประมาณ เป้าหมายและตัวชีวัดในแต่ละโครงการร่วมกัน ผลการดาเนินการแผนบูรณาการ วว. มี
โครงการในแผนงานบูรณาการ จานวน 5 แผนงาน ดังนี
1) แผนงานบูรณาการส่งเสริมการวิจยั และพัฒนา
2) แผนบรู ณาการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ
3) แผนงานบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชนและพัฒนาวิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดย่อมสู่สากล
4) แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
5) แผนงานบูรณาการพืนทรี่ ะดบั ภาค
ผลการดาเนนิ งานในแตล่ ะแผนบรู ณาการ เป็นไปตามเปา้ หมายผลผลิตและผลลพั ธต์ ามเป้าหมาย
แผนบูรณาการท่ีกาหนด โดย วว. มีการรายงานผลการดาเนินงานแผนบูรณาการส่งเจ้าภาพหลักและสานัก
งบประมาณในแต่ละไตรมาส นอกจากนี วว. มีระบบการติดตามผลการดาเนินงานโครงการตามแผนบูรณาการ
ต่างๆ อย่างใกล้ชิด เน่ืองจากเป็นโครงการสาคัญตามยุทธศาสตร์ประเทศ เพ่ือให้โครงการบรรลุตามเป้าหมายที่
กาหนด ผ่านการประชุมติดตามการดาเนินงานของคณะกรรมการดาเนินงาน วว. ซง่ึ ประกอบดว้ ยผูบ้ ริหารระดับสูง
และผู้ทเี่ กี่ยวข้อง เพ่ือพิจารณาถงึ ความสาเร็จของการปฏบิ ัตงิ าน ตลอดจนข้อเสนอแนะและแนวทางการแกไ้ ข หาก
ผลการดาเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย แต่พบว่าในบางแผนบูรณาการมีการใช้งบประมาณไม่เป็นไปตาม
เป้าหมาย คือ แผนบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ โดยเป็นในส่วนขอลงทุน (ค่าก่อสร้าง)
เนื่องจากมีปัญหาในเรื่องของพืนท่ีดาเนินการ และหน่วยงานมีการติดตามเร่งรัดการดาเนินงานอย่างใกล้ชิดอยู่
ตลอด โดยเร่งรัดทาแผนงานกอ่ สร้างที่เหลือจนเสร็จสนิ และการเพ่ิมปริมาณแรงงานในการทางาน และส่วนงานอ่ืน
ทงั โครงการ แต่การใช้งบประมาณดงั กลา่ วไมก่ ระทบตอ่ การส่งตอ่ ผลผลิตใหก้ ับแผนบรู ณาการดงั กล่าว
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 65 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพม่ิ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
บทที่ 5
บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ
ตามหลักการของการบูรณาการหมายถึงการทางานร่วมกันตังแต่ 2 หน่วยงานขึนไป ทางานรว่ มกันใน
ลักษณะเช่ือมโยงแบบเครือข่าย เพ่ื อลดความซาซ้อน โดยคานึงถึงความประหยัด ความคุ้มค่า
มุ่งให้เกิดผลการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด ซึ่งหน่วยงานต่างๆ จะต้องกาหนด
เป้าหมายและตัวชีวัดในการทางานร่วมกัน และแบ่งความรับผิดชอบในแต่ละส่วนตามภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย
สอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงาน เป็นลักษณะของ Value Chain หรือต้นนา กลางนา ปลายนา ส่งผลท่ีได้ไป
ยังหน่วยงานกลางที่เป็นเจ้าภาพในการรวบรวมและวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิจากการดาเนินงาน และมีการประชุม
ร่วมกันเพื่อรับทราบผล และแก้ไขปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึน เพื่อพัฒนาและปรับปรุงงานอย่างต่อเน่ือง จนเกิดผล
ท่ีดีที่สุดของการบูรณาการในเร่ืองที่ต้องการแนวทางการบูรณาการที่เช่ือมโยงกันระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
กบั การประเมินผลการดาเนนิ การแผนงานบูรณการ
การทางานแบบบูรณาการควรมองภาพแบบองค์รวมหรอื เรียกว่าการบรหิ ารจดั การแบบบรู ณาการ โดย
มีการกาหนดโครงสร้างการทางานแบบเครือข่ายหลายชันเชื่อมโยงกัน มีการกาหนดกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ท่ีเก่ียวข้องในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย มีการกาหนดหน่วยงานต่างๆ ทางานร่วมกันตามภารกิจท่ีมีความเก่ียวข้อง
สอดคล้องและเช่ือมโยงกันมาทางานร่วมกันการประเมินผลควรมีระบบในการติดตาม โดยผ่านรูปแบบ
อิเล็กทรอนิกส์ตามท่ีสานักงบประมาณดาเนินการอยู่ แต่ควรเป็นระบบท่ีเข้าใจง่าย ทังในส่วนของผู้รายงาน และ
สว่ นของผูน้ าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ โดยควรสะท้อนภาพของการดาเนินงานมากขนึ ไมเ่ พยี งรายงานโดยเน้นในสว่ น
ของงบประมาณเทา่ นัน เนอื่ งจากหากในส่วนนีมีความครอบคลมุ แลว้ หนว่ ยงานเจ้าภาพกจ็ ะสามารถใชฐ้ านขอ้ มูล
เดียวกันนีได้ แต่ที่ผ่านมาข้อมูลด้านการดาเนินงานทังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพในส่วนนียังไม่สามารถให้
ข้อมูลได้ครบถ้วนเท่าท่ีควร ส่งผลใหห้ น่วยงานเจ้าภาพกม็ ีการติดตามและมีรปู แบบรายงานอกี แบบหน่ึง ส่งผลให้
เกดิ ภาระต่อหนว่ ยงานเจ้าของโครงการในการรายงานทงั สองส่วน หากสามารถพฒั นาระบบการรายงานให้สามารถ
เช่ือมโยงและใช้ประโยชนจ์ ากข้อมลู มากขนึ ก็จะสามารถสะทอ้ นการดาเนินงานได้ชดั เจนมากขึน
5.1 บทสรุป
สรุปข้อค้นพบจากผลการศึกษาและติดตามการจัดทางบประมาณแผนงานบูรณาการ ของสานัก
งบประมาณของรัฐสภา ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปี รวมทังผลการสารวจการดาเนินงานแผนงานบูรณาการของส่วนราชการการ พบว่า การจัดทา
งบประมาณบรู ณาการเชิงยุทธศาสตร์มีปัญหา และอุปสรรค ดงั นี
1. ข้อจากัดของการบูรณาการในแนวด่ิง (vertical integration) จากการถอดบทเรียนผลการศึกษา
ฯ และการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ได้สะท้อนความคิดเห็นว่า ที่ผ่านมา ยุทธศาสตร์ของ
ประเทศยังไม่มีความชัดเจนที่จะใช้เป็นพิมพ์เขียวให้หน่วยงานต่าง ๆ ใช้ในการดาเนินการเพื่อการพัฒนาได้อย่าง
แท้จริง ยังไม่มีการกาหนดเป้าหมายท่ีคาดหวังในแต่ละด้านตามระยะเวลาที่กาหนด การจัดทาแผนในภาครัฐเป็น
แบบบน ลงล่าง สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) น่าจะมีการกาหนดเป้าหมายหลัก
ไว้ มิเช่นนันจะท าให้ทุ กกระทรวงต้องไปกาหนดเป้ าหมายตามภาระหน้าที่ของตน ในปัจจุบั น
การแปลงนโยบายของรัฐบาลไปยังส่วนราชการเพื่อให้การปฏิบัติราชการมุ่งไปในทิศทางเดียวกันอาศัยกลไก
การส่งผ่านในแนวดิ่งคือ จากแผนการบริหารราชการแผ่นดินไปเป็นแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติ
ราชการประจาปีซึ่งผูกโยงกับการจัดทางบประมาณด้วย ในทางปฏิบัติพบว่า แต่ละหน่วยงานมีการตงั เป้าหมายที่
แตกต่างกัน และความสอดคล้อง (alignment) ระหว่างยุทธศาสตร์ของชาติกับภารกิจของหน่วยงานนันยังมี
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 66 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
ข้อจากัด เป้าหมายหลักของกระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ อาจไม่สอดคล้องกัน บางเป้าหมายเป็นเป้าหมายหลัก
ของหน่วยงานหน่ึงแต่กลายเป็นเป้าหมายรองของอีกหน่วยงานหน่ึงแม้ว่าการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ
ของส่วนราชการจะเป็นไปตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แต่เนื่องจากส่วนราชการเองมีหน้าที่ความ
รับผิดชอบตามกฎหมายท่ีจัดตังรวมทังมีวิสัยทัศน์และภารกิจเป็นของตนเอง นโยบายของรัฐบาลท่ีปรากฏใน
แผนปฏิบัติราชการจึงได้รับการกาหนดขึนมาเพ่ือให้เป็นไปตามข้อกาหนดของหน่วยงานกลาง แต่รายละเอียด
ของผลผลิต/โครงการ ยังคงเป็นภารกิจในลักษณะท่ีส่วนราชการเคยปฏิบัติมากกว่ามุ่งเน้นเชิงนโยบายของ
รัฐบาลอย่างแท้จริง การจัดทางบประมาณจึงไม่สามารถสะท้อนถึงภารกิจของชาติและภารกิจของหน่วยงานได้
อย่างเต็มท่ี
2. ข้อจากัดการบูรณาการในแนวนอน (horizontal integration) ปัญหาการประสานงานระหว่าง
หน่วยงานกลางของภาครัฐ ขาดการเช่ือมโยงเพื่อขับเคลื่อนร่วมกันอย่างเป็นระบบ แม้จะมีการกาหนดเจ้าภาพ
หรือหน่วยงานหลักในการเชื่อมยุทธศาสตรแ์ ล้วก็ตาม บางครังอาจไม่มีการกาหนดเจ้าภาพหลัก การบูรณาการใน
แนวนอนหรือข้ามหน่วยงานในปัจจุบันยังไม่มีรูปแบบวิธีปฏิบัติที่ชัดเจน หลักเกณฑ์ในการบูรณาการแผนและ
งบประมาณท่ีจัดทาขึนล้วนเป็นเพียงแนวทางกว้าง ๆ ยังไม่เห็นความเชอื่ มโยงของการดาเนินงานของกระทรวงที่
เก่ียวข้องกันได้อย่างเป็นรูปธรรม และมองไม่เห็นความเพียงพอหรือความซาซ้อนของทรัพยากร อันมีผลทาให้
การบูรณาการในมิติของวาระหรือยุทธศาสตร์มีข้อจากัด เมื่อมีแผนงานระดับชาติ ต่างหน่วยงานต่างก็ทาตาม
แผนระดับชาติ แต่อาจไม่ได้สัมพันธ์กันระหว่างกระทรวง ซ่ึงแต่ละกระทรวงก็ทาแต่ในงานภารกิจของตนเอง ไม่
มีการกาหนดแผนยุทธศาสตร์ให้ชัดเจนว่าจะมีเป้าหมายอย่างไร จะทาอย่างไร ไม่มีการวางแผนร่วมกันเพ่ือชี
บทบาทของหน่วยงานแต่ละแห่งว่า ขอบเขตงานของแต่ละแห่งคืออะไร ไม่มีการกาหนดว่าผู้ใดเป็นเจ้าภาพทา
ใหข้ าดคนรับผดิ ชอบ
3. ข้อจากัดของโครงสร้างและสถานภาพของส่วนราชการ ซ่ึงได้แก่ ความเป็นนิติบุคคล
ของส่วนราชการ อันเนื่องมาจากการจัดตังส่วนราชการจะมีกฎหมายรองรับและมีการระบุภารกิจหน้าที่ความ
รับผิดชอบในกฎหมายดังกล่าว และโครงสร้างของส่วนราชการที่ใช้หลักการแบ่งตามหน้าที่ (functional
structure) ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการบูรณาการข้ามกระทรวง เพราะจะทาให้แต่ละส่วนราชการมุ่งเน้นการ
ดาเนินงานในภารกิจในส่วนท่ีตนเองรับผิดชอบซึ่งได้ระบุไว้ในกฎหมายอย่างเป็นทางการ มากกว่าการให้
ความสาคัญกับการนาส่งผลผลิต/ผลลัพธ์ร่วมกันกับส่วนราชการอ่ืน การดาเนินงานของภาครัฐยังเป็นแบบไม่
สมบูรณ์ ยังเป็นแบบทางานตามหน้าท่ีอยู่ แต่ละหน่วยงานก็มียุทธศาสตร์ของตนซึ่งอาจไม่เคยนามาประสานกัน
เช่น ในกรณีเรื่องสินคา้ ประเภทข้าว ถ้ามีการบูรณาการในการส่งเสรมิ สนับสนุนกนั ก็จะไม่ทาให้เกิดความซาซ้อน
หากภาครัฐยังทางานแบบแยกส่วนกันอยู่ในอนาคตอาจดาเนินงานไปได้ แต่ไม่ประสบความสาเร็จมากนักและคิด
ว่าระเบียบบริหารราชการแผ่นดินก็ยังไม่มีรูปแบบใหม่ ๆ ในการประสานงานระหว่างหน่วยงาน นอกจากนี
โครงสร้างและขอบเขตอานาจหน้าท่ีของบางหน่วยงานไม่ชัดเจน ทาให้การปฏิบัติงานมีความซาซ้อนทังด้าน
ภารกิจ กลุ่มเปา้ หมาย และงบประมาณ ไมม่ ีประสิทธภิ าพ (Bureau of the Budget, 2008)
4. ความไม่ต่อเนื่องของงบประมาณเชิงบูรณาการ ท่ีผ่านมา ปัญหาด้านการเมืองมีผลต่อการ
จดั การงบประมาณเชิงบูรณาการ การเปลี่ยนแปลงรฐั บาลบอ่ ยส่งผลให้การจัดการงบประมาณเชิงบรู ณาการ
ไม่ต่อเน่ือง และทาให้เวลาจัดทางบประมาณมีจากัด แต่ในทางปฏิบัติเมื่อการเมืองไทยมีการเปลี่ยนแปลง
บ่อย ทาให้ต้องมีการเปล่ียนแปลงแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจาปีให้รองรับกับ
แผนการบริหารราชการแผ่นดินซึ่งจัดทาโดยรัฐบาลชุดใหม่ อันทาให้การจัดทางบประมาณท่ีเคยจัดทาไป
แล้วอาจต้องมีการปรับรือใหม่ และตอ้ งทาอย่างเรง่ รีบเพราะเงื่อนไขของเวลา การสรา้ งความเข้าใจระหว่าง
กระทรวงในการบูรณาการเปน็ ไปไดอ้ ย่างจากัด
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 67 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่ิมประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
5. ข้อจากัดของกลไกบริหารจัดการ ซึ่งได้แก่ ข้อจากัดของหน่วยงานเจ้าภาพที่ผ่านมา รัฐบาลได้
แต่งตังให้มีรองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีทาหน้าที่ดูแลนโยบายแต่ละด้าน แต่ปัญหาท่ีเกิดขึนก็คือ รอง
นายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมายมีภารกิจที่ค่อนข้างมาก อาจไม่มีเวลาสาหรับงานในส่วนของ
การบูรณาการ รวมทังมีการเปล่ียนแปลงตาแหน่งบ่อยเน่ืองจากความไม่แน่นอนทางการเมือง วิสัยทัศน์และ
ความรู้ของผู้กากับนโยบายในแต่ละด้าน จึงขาดความต่อเน่ือง และข้อจากัดของรูปแบบคณะกรรมการ กลไก
ด้านโครงสร้างที่นิยมใช้ในการบูรณาการรูปแบบหน่ึงคือ การจัดตังในรูปแบบคณะกรรมการ ซ่ึงประกอบด้วย
ตัวแทนจากกระทรวงหรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องร่วมเป็นกรรมการ เพ่ือเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการดาเนินการ
อย่างไรก็ตาม การจัดโครงสร้างองค์การในรูปแบบคณะกรรมการ มีข้อจากัดคือ ตัวแทนผู้มาประชุมมีการ
เปลี่ยนตัวบ่อยครังทาให้การรับรู้ไม่ต่อเน่ือง คณะกรรมการบางชุดมีขนาดใหญ่มากเกินไป ทาให้ไม่คล่องตัวใน
การประชุม นอกจากนี ยังมีลักษณะเป็นงานฝาก เพราะกรรมการจะเป็นผู้ท่ีมีงานประจาอยู่แล้ว การทุ่มเทกับ
การบรู ณาการอาจมีไม่มากเท่าท่ีควร
6. ข้อจากัดของกลไกการจัดการงบประมาณเชิงบูรณาการ
6.1) การจัดการงบประมาณเชิงบูรณาการเป็นการรวบรวมข้อมูลงบประมาณรายจ่ายจาก
คาของบประมาณของส่วนราชการ รัฐวิสาหกจิ และหน่วยงานอื่นของรัฐที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อเร่ืองท่ีสนใจมากกว่า
ท่จี ะบรู ณาการการทางานให้เกิดสัมฤทธ์ิผลอย่างแท้จรงิ
6.2) ตัวชีวัดท่ีแสดงในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปียังไม่สามารถสะท้อนประสิทธิผล
ความสาเร็จของงานได้อย่างแท้จริง ตัวชีวัดหลายตัวมีลักษณะเป็นนามธรรม บางตัวเป็นการแสดงภารกิจ
มากกว่าเป็นตวั ชวี ดั ไม่สามารถใชเ้ ปน็ ตวั ชีวดั ท่ดี ีได้
6.3) ขาดการบูรณาการขาลงภายหลังจากที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณแล้ว กล่าวคือ
ภายหลังจากการบูรณาการก่อนการจัดทางบประมาณ และเมื่อได้รับการจัดสรรงบประมาณไปแล้ว ในขันตอน
การบริหารงบประมาณ บางหน่วยงานไดม้ ีการเปล่ียนแปลงการจัดสรรงบประมาณใหม่เพ่ือวัตถุประสงค์อื่นทาให้
การบูรณาการไม่เป็นไปตามแผนท่ีกาหนดไว้ รวมทงั ขาดการติดตามประเมินผลของแผนงานบูรณาการดว้ ย
6.4) กลไกในการบริหารจัดการขาดความชัดเจนส่วนใหญ่ของการจัดการงบประมาณ
เชิงบูรณาการ มักจะเป็นรูปคณะกรรมการซึ่งมีการประชุมในช่วงการพิจารณาคาของบประมาณของ
คณะอนุกรรมการจัดการงบประมาณรายจ่ายฯ หรือคณะทางานภายใต้คณะอนุกรรมการดังกล่าวของสานัก
งบประมาณ เพ่ือจัดทาแผนบูรณาการ กาหนดเป้าหมาย และตัวชีวัดร่วมกันระหว่างสานักงบประมาณกับ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง แต่ยังขาดการจัดวางระบบการบริหารจัดการรองรับ ตลอดจนความสนใจและความ
จริงจังของหน่วยงานเจ้าภาพและผู้ท่ีเก่ียวข้องอยู่ในระดับไม่สูงมากนัก ยกเว้นหัวข้อการบูรณาการบางเรื่อง
เช่น การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ที่มีกลไกการทางานตามกฎหมายในรูปคณะกรรมการฯให้บูรณา
การการทางานกันอย่างเป็นระบบ
6.5) การประมวลข้อมูลงบประมาณในมิติการบูรณาการเป็นระบบท่ีแยกต่างหากจาก
ระบบงบประมาณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Budgeting) ซึ่งทาให้เกิดความยุ่งยากและใชเ้ วลาในการทาความเข้าใจ
แบบฟอรม์ และระบบโปรแกรมในการจัดทางบประมาณแบบบูรณาการ เพอ่ื ประมวลผลใหเ้ ห็นภาพรวมของ
งบประมาณที่ส่วนราชการหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องขอรับการจัดสรรงบประมาณเพื่อดาเนินการตาม
กจิ กรรมหรือรายการให้บรรลผุ ล
6.6) การบูรณาการยังไม่สอดคล้องกับปฏิทินงบประมาณ ยังไม่มีการบรรจุการจัดการ
งบประมาณเชิงบรู ณาการให้อยู่ในปฏิทินงบประมาณอยา่ งเป็นทางการ
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 68 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
6.7) ยังไม่มีการประเมินผลงบประมาณเชิงบูรณาการเพ่ือนาข้อมูลมาใช้ในการจัดทา
งบประมาณในปตี ่อไป
7. ความเขา้ ใจของบุคลากรเกีย่ วกับการบูรณาการมีอย่างจากัด ความเขา้ ใจเรื่องการบรู ณาการ
มีเฉพาะกลุ่มเท่านัน ยังไม่ได้กระจายไปยังกลุ่มท่ีเก่ียวข้องอย่างทั่วถึงบางส่วนเข้าใจว่า การบูรณาการก็คือ การ
นาแผนมารวมกันเท่านัน ในบางกรณีเจ้าหน้าท่ีหน่วยงานมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนว่า การบูรณาการเป็น
เง่ือนไขที่จะต้องได้รับงบประมาณท่ีมากขึนวัฒนธรรมด้านความร่วมมือ (collaborative action) เพื่อประโยชน์
ส่วนรวมยังมีน้อย แม้ว่า ในปัจจุบันความรว่ มมือระหว่างหน่วยงานจะมีมากขึน แต่หากเป็นเร่ืองที่เกี่ยวกับความ
ร่วมมือเพื่อการจัดสรรทรัพยากรยัง มีปัญหาอยู่ นอกจากนี แผนปฏิบัติราชการของแต่ละกระทรวงกล่าวถึง
ยทุ ธศาสตรโ์ ดยใช้ถ้อยคาท่ีแตกต่างกันออกไป เช่น นโยบาย (policy) ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์
8. ขอ้ จากดั ของระบบราชการไทยต่อการบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์
8.1) ด้านสถานภาพและโครงสร้างส่วนราชการ ความเป็นนิติบุคคลของส่วนราชการ
โครงสร้างมีขนาดใหญ่ ซับซอ้ น ไมย่ ืดหยุน่
8.2) ด้านการบรหิ ารงานของระบบราชการ การบริหารแบบบนลงลา่ ง (Top Down Approach)
แบ่งตามหน้าท่ีความรับผิดชอบ หรือตามภารกิจท่ีแต่ละหน่วยงานรับผิดชอบ ทางานภายใต้ขอบเขตที่กฎหมาย
กาหนด ซ่งึ ไมค่ รอบคลุมงานที่ตอ้ งบรู ณาการไม่มีการกาหนดเป้าหมาย ระยะเวลาท่ตี ้องดาเนินการรว่ มกัน
8.3) ด้านการมอบหมายหน่วยงานเจ้าภาพหลักในการบูรณาการ ไม่มีหน่วยงานกลางภาครัฐ
ขาดการเช่ือมโยงเพ่ือขับเคล่ือนร่วมกันอย่างเป็นระบบ หรอื มีเจ้าภาพหลักแล้วแต่ไม่มีอานาจสั่งการ
8.4) ด้านระบบงบประมาณ การวางแผนงานยังไม่บูรณาการอย่างแท้จริง การเสนอขอ
งบประมาณยังไมบ่ รู ณาการ
8.5) ด้านการจัดเก็บข้อมูลของหน่วยงาน ต่างคนต่างเก็บ ไม่เช่ือมโยงดว้ ยระบบเลก็ ทรอนิกส์
ไม่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ไม่มีเจ้าภาพหลักในการจัดทาระบบข้อมูล ขาดข้อมูลที่จาเป็นให้กับรัฐบาล
สว่ นราชการ องค์กรกากับ ดูแล และประชาชนใช้ประโยชน์ ในการกากบั ดแู ล ติดตาม ตรวจสอบประเมินผล
8.6) ด้านกรอบความคิดของบุคลากรและวัฒนธรรมองค์กร ทางานรูปแบบเดิมที่เคยชิน
ไม่ชอบการเปล่ียนแปลง ทาเฉพาะเร่ืองท่ีอยู่ในหน้าที่และอานาจของตน แข่งขันกันมากกว่าการร่วมมือกัน
ขาดความเข้าใจเร่อื งการบรู ณาการ
5.2 ข้อเสนอแนะ
หลักการจัดทาแผนงานบูรณาการท่ีดีควรเป็นแผนงานเฉพาะระดับชาติ และระดับกระทรวงตาม
นโยบายของรัฐบาลท่ีไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ โดยกระทรวงเดียว และต้องมีกรอบเวลาท่ีชัดเจน และเป็น
แผนงานระดับชาติ และระดับกระทรวงที่ต้องร่วมมือกันทังงานและงบประมาณ โดยมีเป้าหมายร่วมระดับชาติ
วัดผลสัมฤทธ์ิได้อย่างชัดเจนว่าสามารถลดความซาซ้อน และประหยัดงบประมาณในภาพรวมได้จริงรวมทังต้อง
ไม่เป็นแผนงานที่แต่ละกระทรวง / หน่วยงาน ดาเนินการเป็นปกติตามภารกิจ อานาจหน้าที่ โดยใช้งบปกติ
ดาเนินการได้ งบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ถือเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนการ
ดาเนินงานตามยุทธศาสตร์และนโยบายเรื่อสาคัญเร่งด่วนของรัฐบาลให้สามารถบรรลุผลตามวัตถุประสงค์
เป้าหมายภายในระยะเวลาท่ีกาหนดได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผลสูงสุด การจัดทางบประมาณและ
การบริหารงบประมาณสาหรับแผนงานบูรณาการจึงจาเป็นต้องคานึงหลักการประหยัดความคุ้มค่า มุ่งให้เกิดผล
สมั ฤทธใ์ิ นการใช้จ่ายงบประมาณ และเกิดประโยชนส์ งู สุด
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 69 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
แนวทางการปรับปรุงการจัดการงบประมาณเชิงบูรณาการจากปัญหาการจัดการงบประมาณเชิง
บูรณาการตามนโยบายสาคัญของรัฐบาลข้างต้น ผู้ศึกษาจึงได้วิเคราะห์ผลจากการถอดบทเรียนจากเอกสาร
วิชาการ ของสานักงบประมาณของรัฐสภา ทัง 9 เรื่อง และจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และการดูงานในพืนท่ี และ
ได้นาแนวทางและหลักเกณฑ์ การปรับปรุงการจัดการงบประมาณเชิงบูรณาการจากข้อเสนอในการสัมภาษณ์
เจ้าหน้าท่ีหน่วยงานที่เก่ียวข้อง นามาเป็นแนวทางการเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทางบประมาณในลักษณะ
บูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ดังนี
5.2.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบำย
1) กำรกำหนดประเดน็ กำรบูรณำกำรเพื่อจัดทำแผนงำนงบประมำณ
1.1) การกาหนดประเด็นการจัดทางบประมาณแผนงานบูรณาการ ควรเป็นเรื่องที่มี
ความสาคัญจาเป็นเร่งด่วน และเกย่ี วข้องกับยทุ ธศาสตร์ของประเทศโดยตรง โดยเฉพาะประเด็นเร่งด่วนในช่วง
5 ปี แรกของยุทธศาสตร์ชาติ การขับเคล่ือนแผนแม่บทไปสู่การปฏิบัติในช่วง 5 ปีแรกของยุทธศาสตร์ชาติ
จะต้องกาหนดแผนงาน / โครงการที่สาคัญ โดยครอบคลุมภารกิจทังในเชิงภารกิจหน้าที่ ยุทธศาสตร์ พืนท่ี
ทังนี เพ่ือให้การดาเนินการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองสถานการณ์ความจาเป็นของประเทศ และ
ความตอ้ งการของประชาชน
1.2) ควรมีการจัดทาแผนบูรณาการในแต่ละด้านของประเด็นการจัดทางบประมาณ
แผนงานบูรณาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่มีความชัดเจน เพ่ือใช้สาหรับการจัดสรรงบประมาณแผนงาน
บูรณาการซ่ึงประกอบด้วยวัตถุประสงค์ ภารกิจ เป้าหมายท่ีคาดหวังในเวลาที่กาหนดและหน้าท่ีของแต่ละ
หน่วยงานที่เก่ียวข้องอย่างเป็นรูปธรรม พืนที่ในการดาเนินภารกิจของแต่ละหน่วยงาน รวมทังแหล่งทรัพยากร
ทังหมดที่ใช้ เพ่ือให้แผนบูรณาการเป็นกรอบทิศทางให้แต่ละหน่วยงานดาเนินงานได้อย่างแท้จริง โดยแผนบูรณา
การนีจะสะท้อนยุทธศาสตร์ของประเทศและมีความสอดคล้องกับแผนและนโยบายในระดับต่าง ๆ ด้วย รวมทัง
แสดงการเช่ือมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กับหน้าท่ีภารกิจของหน่วยงาน ในการนี ควรมีการปฏิรูปการจัดทาแผน
ของภาครัฐไม่ให้มีความซบั ซ้อนมากเกินไปด้วย เพราะจะยากต่อการบูรณาการ
1.3) การจัดการงบประมาณแผนงานบูรณาการ ควรมีการดาเนินการอย่างครบวงจรตังแต่
การจัดทางบประมาณเชิงบูรณาการ การบริหารงบประมาณเชิงบูรณาการ และการติดตามประเมินผล
งบประมาณเชิงบูรณาการ โดยมีกลไกกากับดูแลในแต่ละขันตอน เพ่ือให้แน่ใจว่ามีการนางบประมาณไปใช้ใน
บริหารงานในลักษณะบูรณาการ ไม่ใช่โอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณไปทากิจกรรมอ่ืน ตลอดจนมีการติดตาม
ประเมนิ ผลและนาผลการประเมนิ มาใช้ในการจัดทางบประมาณเชิงบูรณาการในปีต่อไป
1.4) การบูรณาการในระดับพืนที่ เพ่ือแสดงให้เห็นถึงพืนที่และกลุ่มเป้าหมายซ่ึงหน่วยงาน
ต่าง ๆ มีการดาเนินภารกิจอย่างชัดเจน อันจะเป็นการลดความซาซ้อนในการดาเนินงาน โดยมีการเปิดโอกาสให้
ประชาชนเข้ามามสี ่วนร่วมในกระบวนการงบประมาณระดบั พนื ทด่ี ้วย
1.5) การบูรณาการในการใช้ทรัพยากร การจัดทางบประมาณเชิงบูรณาการที่ผ่านมาจะ
เป็นการจัดทาเพียงเฉพาะงบประมาณท่ีได้รับการจัดสรรจากสานักงบประมาณเท่านันอย่างไรก็ตาม การ
ดาเนินการดังกล่าวยังไม่ได้แสดงให้เห็นงบประมาณจากแหล่งอื่น เช่น เงินรายได้ของหน่วยงาน การบริจาค และ
การกู้เงินเพ่ือมาดาเนินงาน ดังนัน หากจะทาให้เกิดการบูรณาการอย่างแท้จริง แผนการบูรณาการควรจะต้องมี
การแสดงแหล่งท่ีมาของทรัพยากรของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในการดาเนนิ ภารกิจดว้ ย
1.6) การบรู ณาการในมิติของเวลา เน่อื งจากการกาหนดประเด็นในการจัดทางบประมาณ
เชิงบูรณาการบางเร่ืองได้มีการดาเนินการอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลามากกว่า 10 ปี แต่
ยังไม่มีการแสดงผลว่า การดาเนินการเหล่านันได้ผลเป็นอย่างไร และบรรลุเป้าหมายอะไรที่ชัดเจนในแต่ละ
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 70 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิ่มประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
ช่วงเวลา เช่น การบริหารจัดการนา ปัญหายาเสพติด การท่องเที่ยว และการวิจัยและพัฒนา ดังนัน ในการ
กาหนดประเด็นงบประมาณเชิงบูรณาการ ควรมีการกาหนดเป้าหมายและระยะเวลาดาเนินการให้ชัดเจน และ
เพ่ือให้เกิดความต่อเน่ืองในการดาเนินงานจนบรรลุผลด้วยข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเป้าหมายการทางบประมาณ
เชิงบูรณาการประกอบด้วย 3 มิติคือ มิติของวาระ (agenda) มิติของหน้าที่ (function) และมิติของพืนที่ (area)
ในแตล่ ะมติ ิ
2) กำรกำหนดเปำ้ หมำย ตวั ชี้วดั และแนวทำงกำรดำเนินงำน
2.1) หน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานที่เก่ียวข้องควรร่วมกันพิจารณากาหนดเป้าหมาย
ผลลัพธ์และตัวชีวัดร่วมกัน (Joint KPIs) ของแผนงานบูรณาการ โดยคานึงถึงความเหมาะสมและสามารถวัดผล
ได้อย่างเป็นรูปธรรม ทังตัวชีวัด เชิงปริมาณและตัวชีวัดเชิงคุณภาพ และต้องมีการแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบ
ของแต่ละหน่วยงานให้ชัดเจนเพื่อไม่ให้เกิดการทางานที่ซาซ้อนและมีการใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า รวมถึงเปิด
โอกาสให้ภาคเอกชนและภาคประชาสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงานเพ่ือขับเคลื่อนให้แผนงานบูรณา
การ ฯ เกดิ ผลสาเร็จอย่างแท้จรงิ
2.2) ตัวชีวัดแผนงานบูรณาการ ฯ ควรกาหนดให้สามารถแสดงถึงผลสาเร็จ / ผลลัพธ์ของ
การดาเนินงานของหน่วยงานร่วมดาเนินงานของหน่วยงานร่วมดาเนินการภายใต้แผนงานบูรณาการ ฯ ทังในเชิง
ปรมิ าณและเชิงคุณภาพให้แสดงถึงผลสาเร็จ / ผลลพั ธท์ ี่เกิดจากการดาเนิน
3) ควรให้ฝ่ำยนิติบัญญัติต้ังคณะกรรมำธิกำรเพ่ือติดตามผลการดาเนินงานและการใช้จ่าย
งบประมาณของแผนงานบูรณาการเป็นการเฉพาะ เพ่ือให้สามารถติดตาม ตรวจสอบการดาเนินงานให้บรรลุผล
สมั ฤทธิต์ ามเปา้ หมายยุทธศาสตร์อย่างมปี ระสิทธิภาพ คุ้มคา่ และไม่ซาซ้อน
5.2.2 ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบตั ิ
การบูรณาการในแนวนอนหรือการจัดการการบูรณาการ โดยให้มีการกาหนดเจ้าภาพหลัก และ
หน่วยงานสนบั สนนุ ในการดาเนินการ ทงั ในสว่ นกลางและในระดบั พนื ที่เพื่อทาหน้าท่เี ปน็ ตวั แกนในการบูรณาการ
ใช้หลักการทางานข้ามสายงาน (cross-function)โดยปรับกระบวนการทางานร่วมกันให้ชัดเจน โดยกาหนด
เป้าหมายและวิธีการดาเนินงานอย่างชัดเจน ก่อนจะจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมตามลาดับความสาคัญ
ระยะเวลา และแผนการดาเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง พิจารณาทบทวนบทบาท หน้าท่ี และปรับปรุง
โครงสร้างของกระทรวง กรม ในกรณีท่ีบทบาท หน้าท่ี และโครงสร้างยังไม่ชัดเจนหรือมีความซาซ้อน ซึ่งจะเป็น
อุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาการดาเนินงานแผนงานบูรณาการควรดาเนินการดังนี
1) หน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ต้องร่วมกันพิจารณากาหนดเป้าหมาย ผลลัพธ์
และตัวชีวัดร่วมกัน (Joint KPIs) ของแผนงานบูรณาการ โดยคานึงถึงความเหมาะสมและสามารถวัดผลได้อย่าง
เป็นรูปธรรม ทังตัวชีวัด เชิงปริมาณและตัวชีวัดเชิงคุณภาพ และต้องมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละ
หน่วยงานให้ชัดเจนเพ่ือไม่ให้เกิดการทางานที่ซาซ้อนและมีการใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่า รวมถึงเปิดโอกาสให้
ภาคเอกชนและภาคประชาสังคมได้เข้ามามีสว่ นรว่ มในการดาเนินงานเพื่อขับเคลื่อนให้แผนงานบูรณาการ ฯ เกิด
ผลสาเรจ็ อย่างแทจ้ ริง
2) ตัวชีวัดแผนงานบูรณาการ ฯ หน่วยงบประมาณท่ีเป็นเจ้าภาพหลักในแต่ละเป้าหมาย และ
หน่วยรับงบประมาณท่ีเก่ียวข้อง ต้องกาหนดให้สามารถแสดงถึงผลสาเร็จ / ผลลัพธ์ของการดาเนินงานของ
หน่วยงานร่วมดาเนินงานภายใต้แผนงานบูรณาการ ฯ ทังในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพให้แสดงถึงผลสาเร็จ /
ผลลัพธ์ที่เกิดจากการดาเนิน ให้ครอบคลุมครบถ้วน สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทางบประมาณ
รายจ่ายบูรณาการที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว เพ่ือให้การจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการ เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เกดิ ประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชนเปน็ สาคัญ
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 71 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
3) หน่วยงานสนับสนุน ควรมีการทบทวนโครงสร้างองค์การของส่วนราชการและกระทรวงต่าง ๆ
เพื่อลดความซาซ้อนของหน้าที่ลง และปรับโครงสร้างการกาหนดผลผลิตของหน่วยงานต่าง ๆ โดยแบ่งเป็นระดับ
ความสาคัญเชิงยุทธศาสตร์ การแบ่งแยกผลผลิตของหน่วยงานและผลผลิตตามยุทธศาสตร์จะช่วยทาให้
หน่วยงานสามารถแยกงานตามภารกิจและงานตามยุทธศาสตร์ได้อย่างชัดเจน และการประเมินผลก็จะมีความ
ชัดเจนมากยิ่งขึนมิติของพืนท่ี เป็นการบูรณาการเพื่อให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถดาเนินการเพ่ือตอบสนองต่อ
การพัฒนาท่ีมีความสาคัญหรือการแก้ไขปัญหาเร่งด่วนที่เกิดขึนในพืนที่ ซ่ึงเป็นพืนที่การพัฒนาเชิงยุทธศาสตร์
การบรู ณาการในลักษณะนีจะเป็นส่วนท่ีมีความใกลช้ ิดกบั ความต้องการของผรู้ ับบริการหรือประชาชนมากท่สี ดุ
5.2.3 คณะกรรมกำรขับเคล่ือนแผนงำนบูรณำกำร
การใช้กลไกในรูปแบบคณะกรรมการซ่ึงมีรองนายกรัฐมนตรีมาเป็นประธาน นับเป็นกลไก
ทสี่ ร้างเสริมความเข้มแข็งในการบูรณาการได้เป็นอย่างดี แตใ่ นขณะเดียวกันควรมีการสร้างเสริมกลไกการทางาน
ปกติที่เอือต่อการดาเนินงานแบบบูรณาการด้วย มีการสร้างกลไกการประสานงานระหว่างหน่วยงานท่ีเหมาะสม
เช่น การจัดตังคณะกรรมการ/คณะทางานร่วมท่ีมีขนาดไม่ใหญ่นักในทุกระดับเพ่ือเป็นหลักประกันของการ
ทางานท่ียั่งยืน หรือในกรณีที่เกิดมีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองจะได้ช่วยให้งานบูรณาการดาเนินต่อไปได้
ในการดาเนินงานแผนงานบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ให้เกิดประสิทธิภาพ ควรมีการกาหนด และให้
ความสาคัญกับทุกขันตอน ตังแต่ขันตอนการวางแผนการทางาน ขันตอนการบูรณาการข้อมูล ขันตอนการ
บรหิ าร ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการทางาน
และตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันท่ี 4 ธันวาคม 2561 เห็นชอบหลักเกณฑ์และวธิ ีการจัดทา
งบประมาณรายจ่ายบูรณาการประกอบกับเมื่อวันท่ี 13 ธันวาคม 2561 เห็นชอบยุทธศาสตร์การจัดสรร
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซ่ึงกาหนดให้มีการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการ
จานวน 14 แผนงานบูรณาการนัน และเพ่ือให้การจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการของหน่วยรับงบประมาณ
สามารถขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 แผนการปฏิรูปประเทศ และนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล
โดยมีกรอบแนวทางในการดาเนินที่ชัดเจน และสอดคล้องกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561
รวมทังหน่วยรับงบประมาณดาเนินการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการให้แล้วเสร็จตามปฏิทินงบประมาณ
รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยมีการตังคณะกรรมการพิจารณาการจัดทางบประมาณรายจ่าย
บูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน และมี
องค์ประกอบและอานาจหน้าท่ี ดังนี
1) คณะกรรมกำรพิจำรณำกำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยบูรณำกำรประจำปีงบประมำณ พ.ศ. ....
องคป์ ระกอบของคณะกรรมการพจิ ารณา ฯ
1.1) ประธานกรรมการ : รองนายกรัฐมนตรีที่กากับดูแลหน่วยรับงบประมาณที่เป็นเจ้าภาพ
หลัก หรือรองนายกรัฐมนตรที ี่คณะรฐั มนตรีมอบหมาย
1.2) รองประธานกรรมการ : รฐั มนตรที ีก่ ากบั ดลู หน่วยรับงบประมาณที่เป็นเจ้าภาพหลัก
1.3) กรรมการ : (1) ปลัดกระทรวงของหน่วยรับงบประมาณที่เป็นเจ้าภาพหลักและหัวหน้า
ส่วนราชการของหน่วยรับงบประมาณที่เกี่ยวข้อง (2) ผู้อานวยการสานักงบประมาณ (3) เลขาธิการสภา
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (4)เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
(5) เลขาธกิ ารสภาความม่ันคงแห่งชาติ
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 72 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิ่มประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
1.4) กรรมการและเลขานุการร่วม : (1) หัวหน้า / ผู้แทนหน่วยรับงบประมาณที่เป็น
เจ้าภาพหลัก (2) ผู้แทนสานักงบประมาณ (3) ผู้แทนสานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(4) ผู้แทนสานกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) มอี านาจหน้าท่ี ดงั นี
(1) กาหนดหลักเกณฑ์ วัตถุประสงค์ ขอบเขตภารกิจ เป้าหมายร่วม แนวทางการ
ดาเนินงาน ตัวชีวัด หน่วยงบประมาณท่ีเป็นเจ้าภาพหลักในแต่ละเป้าหมาย และหน่วยรับงบประมาณท่ี
เกี่ยวข้องให้ครอบคลุมครบถ้วน สอดคล้องกับหลักเกณฑ์และวิธีการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการที่
คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว เพื่อให้การจัดงบประมาณรายจ่ายบูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ....
เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพสงู สุด เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชนเป็นสาคญั
(2) ประสานหน่วยรับงบประมาณที่เก่ียวข้อง ให้จัดทาข้อเสนอโครงการ/กิจกรรมและ
งบประมาณรายจ่ายท่ีจะต้องใช้ในการดาเนินการงบประมาณรายจ่ายบูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ....
ตามความจาเปน็ และเหมาะสม
(3) พิจารณากล่ันกรอง โครงการ กิจกรรม และงบประมาณรายจ่ายบูรณาการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. ....ตามประเดน็ ที่ได้รับมอบหมาย
(4) จัดทาข้อเสนอการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
....และแสดงผลสัมฤทธ์ิหรือประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณตามกรอบระยะเวลาของการ
ดาเนินการ พร้อมจัดทาแผนแม่บทระยะปานกลางและระยะยาว วัตถุประสงค์ แผนการปฏิบัติงานและแผนการ
ใชจ้ ่ายงบประมาณ สง่ สานักงบประมาณ
(5) บริหาร กากับ ดูแลการปฏิบัติงาน ติดตามประเมินผลสัมฤทธ์ิ และตรวจสอบการใช้
จ่ายงบประมาณตามแผนงานบูรณาการ ให้เป็นไปตามระเบียบที่เก่ียวข้อง ด้วยความโปร่งใสและถูกต้อง
ปราศจากการทุจริต รวมทังบูรณาการการทางานในทุกมิติ ทังในระดับพืนท่ีและหน่วยรบั งบประมาณท่ีเกี่ยวข้อง
ตามแผนงานบูรณาการ เพื่อเกิดประสิทธิภาพและคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ และเกิดผลสัมฤทธ์ิในการ
บรหิ ารรายจ่ายบูรณาการให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์
(6) แต่งตังคณะอนุกรรมการหรือคณะทางานในการปฏิบัติงาน และเชิญหน่วยรับ
งบประมาณมาให้ข้อมูลประกอบการพิจารณา ชีแจงรายละเอียดข้อคิดเหน็ ได้ตามความจาเป็น
(7) ดาเนนิ การอืน่ ตามท่ีนายกรัฐมนตรีและคณะรฐั มนตรีมอบหมาย
ซ่ึงจากอานาจหน้าที่ข้างต้นจะเห็นได้ครอบคลุมการทางานในลักษณะบูรณาการแต่ในทาง
ปฏิบัติยังไม่ครอบคลุมการดาเนินงานตามอานาจหน้าที่ในทุกประเด็น โดยเฉพาะในเร่ืองการแต่งตัง
คณะอนุกรรมการหรือคณะทางานในการปฏิบัติงานซึ่งยังไม่ได้มีการดาเนินการ เนื่องจากคณะกรรมการชุดใหญ่
มีการมอบหมายให้หน่วยงานเจ้าภาพไปดาเนินการ แล้วนาผลการดาเนินงานมาเสนอคณะกรรมการฯ เพ่ือ
พิจารณา ซ่ึงยังขาดกลไกในมิติกลยุทธ์ มิติอานาจหน้าท่ี มิติการประสานงาน มิติการบริหารจัดการข้อมูล มิติ
ด้านการบริหารบุคลากร และมิติด้านการการเช่ือมโยงบูรณาการระหว่างแผนงานทังนี ในเรื่องของการติดตาม
การดาเนนิ งานหน่วยงานเจ้าภาพยังไมม่ ีศักยภาพในการเชิญหน่วยงานเข้ามาใหข้ ้อมลู รายละเอียดข้อคิดเห็นหรือ
ปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดขึนระหว่างดาเนินการ จึงทาให้มีความคลาดเคล่ือน ตลอดจนผลการดาเนินงานตามแผน
บูรณาการมีความล่าช้า ส่งผลต่อความสาเร็จของเป้าหมายดังนันเพื่อให้การจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณา
การเชิงยุทธศาสตร์บรรลุวัตถุประสงค์และเกิดการบูรณาการการทางานและงบประมาณให้เกิดขึนอย่างแท้จริง
ผู้ศึกษาจึงมีความเห็นว่า ควรให้มีการแต่งตังคณะอนุกรรมการ หรือคณะทางานเพ่ือเป็นกลไกในการขับเคลื่อน
ให้การดาเนินการแผนงานบูรณาการเป็นจริงตามความประสงค์ของรัฐบาล โดยให้มีคณะอนุกรรมการภายใต้
คณะกรรมการพิจารณาการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์ คณะใหญด่ งั นี
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 73 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
2) คณะอนุกรรมกำรจัดทำแผน กำหนดกรอบและแนวทำงกำรจัดทำงบประมำณในลักษณะ
บูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย หัวหน้าหน่วยรับงบประมาณเจ้าภาพหลักเป็นประธานอนุกรรมการ มี
ผู้แทนหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเป็นกรรมการ และผู้แทน
หน่วยงานกลางได้แก่ สานักงบประมาณ สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาระบบงาน และสภาความมั่นคงแห่งชาติ ทังนีฝ่ายเลขานุการฯ ให้ประธานอนุกรรมการ
พจิ ารณาหน่วยงานในสงั กัดตามความเหมาะสม โดยใหม้ ีอานาจหน้าที่ ดงั นี
(1) ทาการวางแผนการทางานเชิงบูรณาการระหว่างหน่วยงานตามแผนงานบูรณาการที่รับ
มอบหมายที่จะนาไปสู่การดาเนินท่มี ีประสิทธภิ าพ และบรรลผุ ลสาเร็จได้ตามท่กี าหนดต่อไป
(2) วางแนวทาง หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารดาเนินการ จัดการประชุมเพื่อกาหนดโจทย์ / งานท่ีตอ้ ง
ดาเนินการ / ปัญหาที่ต้องการแก้ไข ทบทวนบริบทแวดล้อมอย่างรอบด้านและกาหนดผลลัพธ์สุดท้าย (End) ใน
การดาเนนิ งานทชี่ ัดเจน ทงั เป้าหมายระยะสันและระยะยาว ใหส้ ามารถวัดไดอ้ ยา่ งครอบคลุมเป้าหมายเชิงผลผลิต
(Measure of Performance: MOP) และเป้าหมายเชงิ ผลลัพธ์สดุ ทา้ ย (Measure of Effectiveness: MOE)
(3) กาหนดกรอบและแนวทางการดาเนินงาน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ขอบเขตภารกิจและ
หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับประเด็นการจัดทางบประมาณ ในลักษณะบูรณาการให้ครอบคลุมครบถ้วน โดยเน้น
เป้าหมายของแผนงานบูรณาการ และการทางานท่ีมีลักษณะเป็นเครือข่ายร่วมกัน เพ่ือให้การบูรณาการเป็นไป
อย่างมีประสิทธภิ าพ เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด
(4) กาหนดตัวชีวัด เป้าหมายตามแนวทางของแผนงานบูรณาการฯ ให้สามารถแสดงถึง
ผลสาเร็จ/ ผลลัพธ์ และผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินงานของหน่วยรับงบประมาณร่วม ทังในเชิงปริมาณและเชิง
คณุ ภาพอยา่ งชดั เจน
(5) มอบหมายหน่วยรับงบประมาณ ดาเนินการรับผิดชอบตัวชีวัดในแต่ละแนวทางโดยแบ่ง
หน้าท่ีการทางานให้ชัดเจนเพื่อไม่ให้เกิดการทางานที่ซาซ้อน รวมถึงวิธีการปฏิบัติ หรือแนวทางในการทางาน /
แก้ไขปัญหา อยา่ งละเอียดรอบดา้ นทุกขันตอน เพอื่ ให้บรรลุเป้าหมายตามท่กี าหนด
(6) จัดการประชุม ชีแจง ถ่ายทอดภารกิจ เป้าหมาย ตัวชีวัด ขันตอนกระบวนการทางาน
ตลอดถงึ แนวทางการจัดทาคาของบประมาณ ใหก้ บั หน่วยงานปฏิบตั ิต่าง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง
(7) ให้แต่งตังคณะทางาน ประกอบด้วย คณะทางานกลั่นกรองแผนงานโครงการตามแผนงาน
บูรณาการตามจานวนแนวทางของแผนบูรณาการ เพ่ือทาหน้าที่กลั่นกรองแผนงานโครงการกิจกรรมและ
งบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการ ตามแนวทางท่ีได้รับมอบหมาย โดยพิจารณาเป้าหมายและตัวชีวัดของ
แผนงาน/โครงการ ให้สอดคลอ้ งกบั เป้าหมายและตวั ชีวดั ตามแนวทาง ตลอดจนความเหมาะสมของงบประมาณใน
แต่ละแผนงาน/โครงการ และจัดทาข้อเสนอการจัดทางบประมาณรายจ่ายบูรณาการ ประจาปีประมาณ พ.ศ. ....
และแสดงผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณตามกรอบระยะเวลาของการ
ดาเนินการ พร้อมจัดทาแผนแม่บทระยะปานกลางและระยะยาว วัตถุประสงค์ แผนการปฏิบัติงานและแผนการ
ใชจ้ า่ ยงบประมาณ ส่งสานักงบประมาณ
(8) คณะอนุกรรมการจัดทาแผน ฯ นี จะเสร็จสินภาระหน้าท่ีหลังมีการรายงานผลสาเร็จ /
ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุงเป็นที่เรยี บร้อย หรือตามท่ีรฐั บาลจะกาหนดเป็นอยา่ งอนื่ ต่อไป
3) คณะอนุกรรมกำรบริหำรงบประมำณ ติดตำมและประเมินผล ทาหน้าท่ีบริหาร กากับ ดูแล
การปฏิบัติงาน ติดตามประเมินผลสัมฤทธ์ิ และตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานบูรณาการ ให้
เป็นไปตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง ด้วยความโปรง่ ใสและถูกต้องปราศจากการทุจริต รวมทังบูรณาการการทางานใน
ทุกมิติ ทังในระดับพืนที่และหน่วยรับงบประมาณที่เก่ียวข้องตามแผนงานบูรณาการ เพื่อเกิดประสิทธิภาพและ
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 74 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
คุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ และเกิดผลสัมฤทธ์ิในการบริหารรายจ่ายบูรณาการให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์
ตามแผนงานบูรณาการประกอบด้วย หัวหน้าส่วนราชการเจ้าภาพหลักเป็นประธานอนุกรรมการ มีผู้แทน
หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งกับประเด็นการจัดทางบประมาณในลักษณะบูรณาการ เป็นกรรมการ ทังนีฝ่ายเลขานุการฯ
ให้ประธานอนุกรรมการพจิ ารณาหน่วยงานในสังกัดตามความเหมาะสม โดยให้มีอานาจหน้าท่ี ดังนี
(1) จัดทาแผนการปฏบิ ตั ิงานและแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณของโครงการตามแผนบรู ณาการ
(2) บริหาร กากับ ดูแลการปฏิบัติงานการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานบูรณการให้เป็นไป
ตามระเบียบที่เกี่ยวข้อง ด้วยความโปร่งใสและถูกต้องปราศจากการทุจริต รวมทังบูรณาการการทางานในทุกมิติ
ทังในระดับพืนท่ีและหน่วยรับงบประมาณที่เกี่ยวข้องตามแผนงานบูรณาการ เพื่อเกิดประสิทธิภาพและคุ้มค่าใน
การใช้จา่ ยงบประมาณ และเกิดผลสมั ฤทธิ์ในการบรหิ ารรายจ่ายบูรณาการให้บรรลุผลตามวตั ถุประสงค์
(3) ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของหน่วยดาเนินการ ซึ่งกาหนดรายละเอียดของ
ข้อมูล รวมถึงรูปแบบ ระบบการติดตามและประเมินผล โดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับการติดตาม
ประเมินผลการดาเนินงานที่มีความเช่ือมโยงกันของข้อมูลและตัวชีวัดทุกระดับ ตังแต่ระดับผลผลิตผลลัพธ์ และ
ผลกระทบ หรือมีศูนย์กลางในการประสานและส่ังการ (War Room) เพ่ือให้เกิดเอกภาพในการพิจารณาสั่งการ
และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึนในระหว่างการดาเนินงาน โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงต้องมีการติดตาม
การทางานอย่างต่อเน่ืองและจรงิ จังในการแก้ไขปัญหา
(4) กาหนดแนวทาง การรายงานผลการดาเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณอย่างเป็น
ระบบและอยู่ภายในเงื่อนไขเวลาท่ีกาหนด เพ่ือให้มีการติดตามผลการดาเนินงานท่ีถูกต้อง ครบถ้วน และ
สมบูรณ์มากยิ่งขึน เพื่อรายงานต่อหน่วยงานกลาง เช่น สานักงบประมาณ สานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหง่ ชาติ สานักงาน ก.พ.ร. เป็นตน้
(5) ให้แต่งตังคณะทางานบริหารงบประมาณ และติดตามและประเมินผล แผนงานโครงการ
ตามแผนงานบูรณาการเพ่ือทาหน้าท่ีประสาน จัดทาแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณให้
สอดคล้องกับตัวชีวัด เป้าหมาย ตามแนวทางและระยะเวลาท่ีกาหนด ตลอดจนติดตามและประเมินผลการ
ดาเนินงานตามตัวชีวัด และค่าเปา้ หมายท่ีกาหนด
(6) รายงานผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินงานตามแผนงานบูรณาการ ตลอดจนปัญหาและ
อุปสรรคตอ่ คณะกรรมการพจิ ารณาการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 75 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
แผนภำพที่ 5 ความเชื่อมโยงการทางานของคณะกรรมการและคณะอนกุ รรมการขับเคล่ือนแผนงานบูรณาการ
จัดทำโดย: สานักงบประมาณของรฐั สภา
5.2.4 แนวทำงกำรบรหิ ำรแผนงำนบูรณำกำรในมติ ติ ำ่ งๆ
1) การประสานงาน War room ควรกาหนดใหม้ ีศูนย์กลางในการประสานและสัง่ การ โดยมี
ผู้แทนจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ซ่ึงต้องมีการติดตามการทางานอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
การตังศูนย์กลางในการประสาน และส่ังการ (War Room) เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึนในระหว่างการ
ดาเนนิ งานของหน่วยงานรว่ มดาเนินการ เพ่ือขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายแผนบูรณาการร่วมกัน ซึ่งในปัจจุบัน
เป็นการดาเนินงานที่มุ่งเน้นความสาเร็จของหน่วยงานเอง ซึ่งอาจะไม่สามารถส่งต่อความสาเร็จของ
เป้าหมายแผนบูรณาการของประเทศ มหี น้าทด่ี งั นี
1.1) ประสานงานตังแต่การจัดทาแนวทาง ตัวชีวัดและค่าเป้าหมาย ของแผนงานบูรณา
การอย่างชดั เจน
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 76 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบูรณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
1.2) ติดตามความกา้ วหน้าในการดาเนินงานเปน็ ประจาเดือน เพื่อสรุปความก้าวหน้าให้กบั
คณะอนุกรรมการ ฯ เพื่อท่ีจะสามารถให้ความเหน็ ชอบในการสนบั สนุนการดาเนนิ งานต่อไป
1.3) แก้ไขปัญหา (Help Desk) ทีเ่ กดิ ขนึ ในระหวา่ งการดาเนินงาน
2) อานาจหนา้ ที่คณะอนุกรรมการฯ ต้องมีอานาจหนา้ ทเ่ี พื่อใหเ้ กิดเอกภาพในการพจิ ารณาส่ังการ
2.1) คณะอนุกรรมการจัดทาแผนงาน กาหนดกรอบ และแนวทางการจัดทางบประมาณ ฯ
มีอานาจในการพิจารณากลั่นกรองโครงการ เพ่ือให้โครงการตามแผนงานบูรณาการ เกิดผลสัมฤทธิ์ตาม
เป้าหมายและตัวชีวดั ที่ชัดเจน
2.2) คณะอนุกรรมการบริหารงบประมาณ ติดตามและประเมินผล ต้องมีอานาจในการ
บริหารงบประมาณท่ีเหลือจ่ายจากหนว่ ยงานอื่น ๆ เพ่อื ให้เกิดผลสมั ฤทธิ์ตามแผนงานบรู ณาการ
3) การทางานข้ามสายงาน หมายถึงการเช่ือมโยงบูรณาการระหว่างแผนงาน ควรมีการบูรณา
การในลักษณะ Cross Function ตามห่วงโซ่คุณค่า (Value Chains) ครอบคลุมกระบวนการ ตังแต่ต้นนา
กลางนา จนกระทั่งปลายนา รวมทังกาหนดบทบาทภารกิจให้มีความชัดเจนว่าใคร มีความรับผิดชอบใน
แผนงานหรือกิจกรรมใด รวมทังการกาหนดตัวชีวัดท่ีมีเป้าหมาย ร่วมกัน (Joint KPIs) เพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ
ของยุทธศาสตร์
4) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ควรมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศ ท่ี
มีฐานข้อมูลและสารสนเทศที่มีความถูกต้องและสมบูรณ์ และมีความเช่ือมโยงในหลายมิติ เพื่อใช้ประโยชน์ใน
การวางแผน กากบั และติดตามผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศระหว่างหนว่ ยงาน
แผนงานบูรณาการท่ีมีฝ่ายบริหารกากับการดาเนินงานจะต้องมีเอกภาพในการพิจารณาส่ังการ
(Unity of Command) และกาหนดให้มีศูนย์กลางในการประสานงานและสั่งการ (War Room) โดยมีการ
ประชุมหารือระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องอย่างต่อเน่ืองและจริงจัง เพื่อกาหนดเป้าหมาย แนวทางการ
ดาเนินงาน และแผนการปฏิบัติงานร่วมกันว่าโครงการใดควรดาเนินการก่อนหลังเพ่ือให้การดาเนินงานมีความ
เชื่อมโยงกันทังต้นนา กลางนา ปลายนา โดยคานึงถึงศักยภาพของแต่ละหน่วยงาน ทังนี เจ้าภาพจะต้องทา
หน้าท่ีเป็นผู้ประสานงานเชิงยุทธศาสตร์กับฝ่ายบริหารท่ีกากับ ดูแล หน่วยงานกลาง และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ภายใต้แผนงานบูรณาการ ตลอดจนกากับการดาเนินงานและติดตามประเมินผล เพ่ือให้ทราบความสาเร็จของ
แผนงาน โดยกาหนดห้วงระยะเวลาการประเมินผลท่ีชัดเจน เช่น ระยะ 1 ปี 3 ปี หรือ 5 ปี หากบรรลุผลสาเร็จ
แล้ว หรือมีรายได้เพียงพอที่จะดาเนินการได้ด้วยตนเอง จะได้นาเงินไปสนับสนุนโครงการสาคัญอื่น ๆ เพื่อไม่
เป็นภาระที่ภาครัฐจะต้องสนับสนุนงบประมาณตลอดไป ในการนีเห็นควรให้ฝ่ายนิติบัญญัติตังคณะกรรมาธิการ
เพื่อติดตามผลการดาเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณของแผนงานบูรณาการเป็นการเฉพาะ เพื่อให้สามารถ
ติดตาม ตรวจสอบการดาเนินงานให้บรรลุผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมายยุทธศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า และ
ไมซ่ าซ้อน
5.2.5 แนวทำงกำรตดิ ตำม ประเมินผลกำรดำเนินงำนแผนงำนบูรณำกำร
ตามพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 และพระราชบัญญัติแผน และขันตอน
การดาเนินการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2560 กาหนดให้คณะรัฐมนตรีวางระเบียบเก่ียวกับ หลักเกณฑ์และวิธีการ
การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ ตาม
ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ อาศัยอานาจตามความในมาตรา 23 แห่งพระราชบัญญัติการ
จัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 และมาตรา 24 แห่งพระราชบัญญัติแผนและขันตอนการดาเนินการปฏิรูป
ประเทศ พ.ศ. 2560 คณะรัฐมนตรีตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สานักงานสภาพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จึงได้กาหนดระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การดาเนินการ
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 77 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพ่ิมประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลกั ษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
ตามยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 เพ่ือเป็นการบูรณาการ การติดตาม ตรวจสอบ
ประเมินผล นโยบาย แผนงาน โครงการภาครัฐ (One Report) เห็นภาพรวมการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ตังแต่ระดับพืนที่ จนระดับนโยบายเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการ นโยบาย (ทุกขันตอน Policy cycle) เป็น
ระบบฐานข้อมูลกลางท่ีสามารถเชื่อมโยงข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องได้อย่างเป็นบูรณาการ ลดขันตอนระหว่างหน่วยงาน
ลดการใช้กระดาษ มุ่งสู่ Digital Government จึงได้นาระบบระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ
(e-MENSCR) มาใชใ้ นการนี
ระบบติดตำมและประเมินผลแห่งชำติ (e-MENSCR) เป็นระบบสารสนเทศที่ใช้ติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงานของหน่วยงานผา่ นแผนงาน โครงการ หรอื การดาเนินการตา่ ง ๆใน
การขับเคล่ือนการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาตแิ ละแผนการปฏิรูปประเทศ โดยเป็นระบบข้อมูลขนาดใหญ่ ท่ี
เชื่อมโยงข้อมูลจากส่วนราชการต่าง ๆ ได้อย่างบูรณาการ (Electronic Monitoring and Evaluation
System of National Strategy and Country Reform : e MENSCR) เป็นระบบ Paperless System
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สามารถเผยแพร่รายงานสรุปผลการดาเนินงานที่เก่ียวข้องให้ประชาชนทราบ
ก่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการติดตามประเมินผล เป็นระบบฐานข้อมูลกลางท่ีสามารถ
เช่ือมโยงข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องได้อย่างบูรณาการ และช่วยลดต้นทุนการดาเนินงานรวมทังช่วยลดภาระการให้
ขอ้ มลู เพ่อื ประกอบการชีแจงต่าง ๆ ของหน่วยงาน
แผนภำพท่ี 6 โครงสรา้ งระบบติดตามและประเมนิ ผลแห่งชาติ (e-MENSCR)
ท่มี ำ : สำนกั งำนสภำพฒั นำเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 78 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพิม่ ประสทิ ธิภาพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบูรณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นการดาเนินการ
ตามพระราชบญั ญตั ิวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ระเบยี บว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2562 และ
ระบบติดตามและประเมินผล กาหนดให้หน่วยรับงบประมาณ และเจ้าภาพแผนงานบูรณาการ รายงาน
การปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณผ่านระบบฐานข้อมูลแผนผลการผฏิบัติงานและการใช้จ่าย
งบประมาณ (BB EvMis) ตามระยะเวลาที่กาหนดอย่างเคร่งครัด แต่ในปัจจุบัน พบว่า มีหน่วยรับ
งบประมาณดาเนินการไม่ครบถ้วน เห็นสมควรให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดหรือรัฐมนตรีซ่ึงกฎหมายกาหนดให้มี
หน้าที่กากับหรือ ควบคุมกิจการของหน่วยรับงบประมาณ หรือรองนายกรัฐมนตรีที่มีหน้าท่ี อานาจควบคุม
กากับการจัดทาแผนงานบูรณาการ หรือผู้มีอานาจกากับแผนงานบูรณาการ ท่ีมีหน้าที่กากับ ดูแล
การปฏิบัติงาน ติดตามประเมินผลสัมฤทธ์ิ และตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนงานบูรณาการ
ให้เป็นไปตามระเบียบท่ีเก่ียวข้อง ด้วยความโปร่งใสและถูกต้องปราศจากการทุจริต รวมทังบูรณาการ
การทางานในทุกมิติ ทังในระดับพืนท่ีและหน่วยรับงบประมาณที่เก่ียวข้องตามแผนงานบูรณาการ เพื่อเกิด
ประสิทธิภาพและคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ และเกิดผลสัมฤทธิ์ในการบริหารรายจ่ายบูรณาการให้
บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ โดยเน้นกากับดูลการรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ
รวมทงั ปญั หา อปุ สรรค และแนวทางแกไ้ ข ให้ครบถ้วนต่อไป
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 79 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
การวเิ คราะหแ์ นวทางเพม่ิ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยทุ ธศาสตร์
บรรณานกุ รม
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ และสุขยืน เทพทอง. (2558). งบประมาณเชิงบูรณาการเพื่อการพัฒนา: กลไก
การบรู ณาการยทุ ธศาสตร์ของ 5 กระทรวงเศรษฐกจิ . วารสารรัฐประศาสนศาสตร์. 13(2), 147-176.
ทพิ าวดี เมฆสวรรค์. (2543). การบริหารม่งุ ผลสมั ฤทธิ.์ กรงุ เทพฯ : คณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ
ทศพร ศิริสัมพั นธ์. (2543). การบ ริหารผลการดาเนิน งาน (Performance Management)
รวมบทความวิชาการ 100 ปี รัฐประศาสนศาสตร์ไทย. ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะ
รัฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
“พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 256” (19 เมษายน 2561). ราชกิจจานุเบกษา.;
เล่ม 135 ตอนท่ี 27 ก.
“พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561” (11 พฤศจิกายน 2561). ราชกิจจานุเบกษา.;
เลม่ 135 ตอนที่ 92 ก.
“รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560” (6 เมษายน 2560). ราชกิจจานุเบกษา.;
เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก.
วีระยุทธ ชาตะกาญจน์. (2547). การบรหิ ารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์. สืบค้น 1 พฤษภาคม 2563 จาก
http;//isc.ru.ac.th/data/EDOOO3477.doc
สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (12 พฤษภาคม 2563). การปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อรองรับสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช่ือไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) และการปรับปรุงปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
[มติคณะรัฐมนตรี] สืบค้น 18 พฤษภาคม 2563 จาก https://cabinet.soc.go.th/doc_image/
2563/993353183.pdf
________. (12 พฤษภาคม 2563). ข้อเสนอรา่ งพระราชบัญญตั ิโอนงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. ....
[มตคิ ณะรัฐมนตรี] สบื คน้ 18 พฤษภาคม 2563 จาก https://cabinet.soc.go.th/doc_image
/2563/993353172.pdf.
สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ
(eMENSCR). สืบค้น 1 พฤษภ าคม 2563 จาก http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/
uploads/ 2019/09/eMENSCR-September-edit3.pdf
สานักงบประมาณของรัฐสภา. (2560). การศึกษาและติดตามการจัดทางบประมาณแผนงานบูรณาการ
พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ : สานักการ
พิมพ์ สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
________. (2560). การศึกษาและตดิ ตามการจัดทางบประมาณแผนงานบูรณาการส่งเสรมิ การวิจยั และ
พฒั นา ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560. กรงุ เทพฯ : สานักการพิมพ์ สานกั งานเลขาธกิ ารสภา
ผูแ้ ทนราษฎร.
________. (2560). การศึกษาและตดิ ตามการจดั ทางบประมาณแผนงานบูรณาการปอ้ งกัน ปราบปราม
การทุจริตและประพฤติมชิ อบ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ : สานักการพิมพ์ สานกั งาน
เลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร.
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 1 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
การวเิ คราะห์แนวทางเพมิ่ ประสิทธภิ าพการจดั ทางบประมาณในลักษณะบรู ณาการเชงิ ยุทธศาสตร์
บรรณานุกรม (ตอ่ )
________. (2560). การศกึ ษาและตดิ ตามการจดั ทางบประมาณแผนงานบรู ณาการป้องกนั ปราบปราม
และบาบัดรกั ษาผู้ตดิ ยาเสพติด ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560. กรงุ เทพฯ : สานกั การพมิ พ์
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
________. (2560). การศึกษาและติดตามการจัดทางบประมาณแผนงานบูรณาการบริหารจัดการนา
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560. กรงุ เทพฯ : สานักการพิมพ์ สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร.
________. (2560). การศึกษาและติดตามการจัดทางบประมาณแผนงานบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมดิจิทัล ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ : สานักการพิมพ์ สานักงานเลขาธิการ
สภาผู้แทนราษฎร.
________. (2560). การศึกษาและติดตามการจัดทางบประมาณแผนงานบูรณาการคมนาคมและ
โลจิสติกส์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ : สานักการพิมพ์ สานักงานเลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎร.
________. (2560). การศกึ ษาและติดตามการจัดทางบประมาณแผนงานบรู ณาการสรา้ งรายได้จากการ
ท่องเที่ยว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ : สานักการพิมพ์ สานักงานเลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎร.
________. (2560). การศึกษาและติดตามการจัดทางบประมาณแผนงานบูรณาการในมิติเชิงพืนที่
(AREA) กรณีศกึ ษาพนื ที่ภาคตะวนั ออก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ : สานักการพิมพ์
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 2 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร
www.parliament.go.th/pbo