แนวทางการเพ่ิมความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
จากภาพท่ี 3-7 พบว่า คะแนนระหวา่ งปี 2560 และ 2562 พบว่า คะแนนไมเ่ ปล่ียนแปลง
มากนัก แต่หากนาข้อมลู มาวเิ คราะหค์ ะแนนโดยเปรียบเทยี บระหวา่ งประเทศต่าง ๆ จะพบว่ามคี ะแนนต่างกนั
ในหลายประเดน็ (ตารางท่ี 3-4) หากวเิ คราะหต์ อ่ ไป พบวา่ ประเทศในทวีปเอเชยี ท่มี อี ันดับสูงกวา่ ประเทศไทย
ประกอบด้วย ฟลิ ปิ ปินส์ อนิ โดนีเซยี ญ่ปี ุ่น และเกาหลีใต้ เพ่อื ศึกษาหาแนวทางการยกระดบั คะแนนด้านต่าง ๆ
ให้กบั ประเทศไทย โดยสรุปได้ดงั นี้
(1) ดำ้ นควำมโปร่งใส ประเทศนวิ ซีแลนด์ และ แอฟรกิ าใต้ไดค้ ะแนนสูงที่สดุ เท่ากบั 87
คะแนน ค่าเฉล่ียของกล่มุ ประเทศ OECD เท่ากับ 68 คะแนน ค่าเฉลีย่ ของทั่วโลก เท่ากบั 45 ในทวีปเอเชยี
ฟลิ ิปปนิ ส์ไดค้ ะแนนสงู ถงึ 76 คะแนน ในขณะท่ีไทยได้ 61 คะแนน
(2) ด้ำนกำรมีสว่ นรว่ มของประชำชน คะแนนสงู ทีส่ ุด เทา่ กับ 54 คะแนน ค่าเฉลี่ยของทั่ว
โลก เท่ากับ 14 คะแนน และไทยได้ 13 คะแนน แม้ว่าไทยจะได้คะแนนใกล้เคียงกับคา่ เฉล่ียท่วั โลก แตย่ งั ถือ
ว่าการมีสว่ นร่วมของภาคประชาสงั คมอยูใ่ นระดบั “นอ้ ย” นอกจากนี้เมื่อพจิ ารณาประเทศในแถบเอเชีย จะ
พบว่า คะแนนด้านการมสี ว่ นร่วมของภาคประชาสังคมมคี า่ เฉลย่ี สงู กว่าไทย และสงู กวา่ ค่าเฉล่ียของโลก
คอ่ นขา้ งมาก
(3) ดำ้ นกำรสอดส่องดูแล แบ่งออกเป็น คะแนนภาพรวม และคะแนนบทบาทรัฐสภา และ
หน่วยตรวจสอบสูงสุด
ภาพรวมคะแนนสงู สดุ เทา่ กบั 81 คะแนน คา่ เฉลี่ยทัว่ โลก เท่ากับ 41 คะแนน ไทย
ได้ 63 คะแนน หากเปรยี บเทียบกบั กล่มุ ประเทศในเอเชยี พบว่า ไทยไดส้ งู กว่า
ญปี่ นุ่ แต่ต่ากวา่ เกาหลใี ต้ อินโดนเี ซีย และฟิลปิ ปินส์
การสอดสอ่ งดูแลของรัฐสภา คะแนนสูงสดุ เท่ากบั 72 คะแนน ไทยได้ 69 คะแนน
ซง่ึ สงู กว่าฟิลิปปนิ ส์และญปี่ นุ่ แตต่ า่ กวา่ อนิ โดนีเซยี และเกาหลีใต้ อยา่ งไรก็ตามเมอ่ื
เปรียบเทียบคะแนนของปี 2560 และ 2562 พบว่า เกอื บทุกประเทศมคี ะแนนดีขึน้
แสดงใหเ้ ห็นวา่ บทบาทของรฐั สภามีการดาเนินงานทด่ี ขี ึน้
การสอดสอ่ งดูแลของหนว่ ยตรวจสอบสูงสุด(สานกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดิน)
ประเทศนิวซแี ลนด์ได้รบั คะแนนเตม็ 100 คะแนน ไทยได้ 50 คะแนน ลดลงจากปี
2560 ทีไ่ ด้ 67 คะแนน ซึ่งในปี 2562 เมอ่ื เปรียบเทยี บกับ 4 ประเทศในเอเชยี พบว่า
ไทยได้รบั คะแนนตา่ กว่าฟลิ ปิ ปินส์ อินโดนีเซีย ญ่ปี ุ่น และเกาหลีใต้
3.3.2 กำรเปรยี บเทยี บแนวทำงของต่ำงประเทศและประเทศไทย
การเปรียบเทียบหัวข้อนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบแนวปฏิบัติที่ดีขององค์กรการคลังระหว่าง
ประเทศ และแนวทางการดาเนินงานของประเทศที่มีระดับคะแนนความโปร่งใสค่อนข้างดีเพ่ือสร้างเป็นแนว
ปฏิบัติที่ดีและเหมาะสม ท้ังน้ี การปรับใช้แนวทางต่าง ๆอาจต้องคานึงถึงสังคม วัฒนธรรมของประเทศไทย
สาหรับแนวทางและเคร่ืองมือต่าง ๆ จากการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่ประเทศไทยมีข้ันตอนการดาเนินการท่ี
ใกล้เคียงกับแนวปฏิบัติสากล การเผยแพร่ข้อมูลก็มีการปรับปรุงดีข้ึนจากปี 2012 เป็นต้นมา มีรายงานตาม
ข้อกาหนดเกือบทุกฉบับ อย่างไรก็ตามระดับความลึกของข้อมูลท่ีเปิดเผยสู่สาธารณะ และช่องทางการเข้าถึง
ขอ้ มลู ยงั ไมเ่ พยี งพอ หากหน่วยงานท่สี ามารถเพิ่มข้ันตอนต่าง ๆ ได้จะเพิ่มระดบั ความโปร่งใสอย่างมาก สรุปได้
ดงั นี้
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 34 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
ตารางท่ี 3-5 การเปรยี บเทียบแนวทางและเครอ่ื
กระบวนกำรงบประมำณ กำรดำเนนิ กำรของ
ตำ่ งประเทศ ประเทศไทย ป
การวางแผนงบประมาณ (1) เปิดอภิปราย (1) คณะกรรมการนโยบาย (1) ร
สาธารณะ โดยเน้น การเงินการคลงั ภาครัฐ จากัด
โครงการทีม่ ีต้นทนุ สูง จดั ทาแผนการคลงั -โคร
และกระทบต่อ ระยะปานกลาง จดั ท
ประชาชน (เกาหลีใต้) (2) กค. สงป. สศช. จากส
(2) เชญิ ผู้เชีย่ วชาญ ธปท. ร่วมกันประมาณ โครง
จากองค์กรประชา การรายได้ กาหนด หลา
สังคมมาให้คาแนะนา นโยบาย วงเงินและ ทราบ
และจดั ลาดบั โครงสรา้ งงบประมาณ นาไป
ความสาคญั ในการ (3) สงป. สศช. กพร. ได้รบั
จดั ทางบประมาณ สมช. ร่วมกันจัดทา มาแ
(ฟิลปิ ปินส)์ ขอ้ เสนอเป้าหมายและ (2) แ
(3) แผนบรหิ ารการ ยุทธศาสตร์การจัดสรร การร
คลังแห่งชาติ งบประมาณที่ สาธา
ประกอบดว้ ย สอดคลอ้ งกับแผนหลัก ตดั ส
ภาพรวมและกรอบ ตา่ งๆ (3) ย
งบประมาณล่วงหนา้ (4) มอบนโยบาย คลังแ
5 ปี และงบประมาณ งบประมาณให้สว่ น
รายสาขา (เกาหลีใต้) ราชการ
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 35
องมอื ต่าง ๆทใ่ี ช้สาหรับการจดั การงบประมาณ
ควำมคิดเห็นของผ้ศู ึกษำ
ปัญหำ อปุ สรรคที่พบ แนวทำงท่ีควรดำเนินกำร รำยงำนทคี่ วรเผยแพร่
ระยะเวลาการวางแผน (1) จดั ทาแผนบรหิ ารการคลังให้ รำยงำนก่อนงบประมำณ :
ด ชดั เจน (1) รวบรวมกลยุทธ์โดย
รงการสว่ นใหญ่ทีภ่ าครฐั (2) การจดั ประชมุ หนว่ ยงานท่ี การศึกษาภาพรวมเศรษฐกิจ
ทาคาของบประมาณมา เกี่ยวข้องเพ่ือกาหนดนโยบาย และกาหนดแผนการจดั ทา
สว่ นราชการ (ยกเว้น การจดั สรรงบประมาณ ควรให้ งบประมาณปีที่กาลงั จะมาถึง
งการพฒั นาลุ่มน้า) ทาให้ ผเู้ ชยี่ วชาญด้านต่าง ๆที่ (2) ระบนุ โยบายการคลังอย่าง
ายโครงการประชาชนไม่ เกีย่ วข้องมาแสดงความคิดเหน็ กว้างๆ รวมถึง สมมุตฐิ าน
บมากอ่ นเกดิ การตอ่ ต้าน และจัดลาดับความสาคัญของ เศรษฐศาสตร์มหภาค การ
ปสู่ความล้มเหลวเมอื่ กรอบการจดั สรรงบประมาณ คาดการณ์รายได้ ค่าใช้จ่าย ดุล
บจัดสรรงบประมาณ (2) โครงการลงทนุ ตา่ ง ๆ การคลัง และหน้ีสาธารณะ
แล้ว โดยเฉพาะโครงการขนาดใหญ่ (3) แผนบรหิ ารการคลังแห่งชาติ
แม้ว่าภาครัฐจะเปดิ ให้มี ควรสร้างกระบวนการรับฟงั ทรี่ ะบกุ รอบงบประมาณ
รับฟงั ความคดิ เห็นจาก ความต้องการของประชาชน ล่วงหน้า 5 ปี และงบประมาณ
ารณะ แต่ส่วนใหญก่ าร โดยจดั ทาแผนการดาเนินงาน รายสาขาทมี่ วี ิธีการคานวณท่ี
สนิ ใจยงั เปน็ ของภาครัฐ และงบประมาณระยะต่าง ๆให้ นา่ เช่ือถือ
ยงั ไม่มีแผนบริหารการ มีความชัดเจน เพ่อื สะดวกต่อ
แหง่ ชาติที่จัดเจน การจัดสรรงบประมาณแต่ละปี
35 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
กระบวนกำรงบประมำณ กำรดำเนนิ กำรของ
ตำ่ งประเทศ ประเทศไทย ป
การจัดทางบประมาณ (1) จดั ประชุมหารอื (1) หน่วยงานจดั ทาขอ (1) ข
คาน
ระหวา่ งสภาทปี่ รกึ ษา งบประมาณรายจา่ ย ระดบั
(2) ค
ดา้ นนโยบายการคลงั (2) สงป.พิจารณา พจิ า
โครง
เกย่ี วกับการจัดทา รายละเอียด นาเสนอ สูง แ
(3) ก
และปรบั ปรงุ กรอบ คณะรัฐมนตรี และ คดิ เห
รายล
MTEF (เกาหลใี ต้) ปรบั ปรงุ รายละเอียด ระยะ
นอ้ ย
(3) สงป.เปิดรบั ฟงั เขา้ ถ
ความคดิ เหน็ และ
รายงานคณะรัฐมนตรี
(4) จัดพมิ พร์ า่ ง
พระราชบญั ญตั ิ
งบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีและเอกสาร
ประกอบ
การอนุมัติงบประมาณ (1) ฝา่ ยนิติบญั ญตั ิ (1) การพจิ ารณาของ (1) ร
จัดทาประชาพิจารณ์ รัฐสภาและ ของค
เพือ่ รบั ฟังความ คณะกรรมาธิการฯ จงึ ยา
คดิ เห็นจาก คิดเห
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 36
ควำมคดิ เหน็ ของผู้ศึกษำ
ปัญหำ อุปสรรคที่พบ แนวทำงทคี่ วรดำเนินกำร รำยงำนที่ควรเผยแพร่
ขาดการเปิดเผยวธิ ีการ (1) วธิ ีการคานวณวงเงนิ ระยะ (ร่ำง)พระรำชบัญญตั ิ
นวณ MTEF ปานกลาง และวงเงนิ แต่ละปที ่ี งบประมำณรำยจำ่ ยประจำปี
บประเทศและหน่วยงาน ชดั เจน (budget proposal) :
ความยากของการ (2) การเปิดเผยผลการรับฟงั ระบแุ ผนการใชจ้ า่ ยที่ชัดเจน
ารณาจัดสรรงบประมาณ ความคิดเห็นจากประชาชนและ เข้าถงึ ได้งา่ ย โดย
งการขนาดใหญท่ มี่ ีวงเงนิ แนวทางแก้ไขหรือลดผลกระทบ (1) แสดงวัตถปุ ระสงค์ของ
และมีเทคนิคขนั้ สงู นโยบายการคลงั จัดลาดับ
การเปดิ รับฟงั ความ ความสาคัญของรายจา่ ยและ
ห็นของประชาชนไมม่ ี รายรับระยะเวลา 3-5 ปี การ
ละเอียดเชิงลกึ มี เช่อื มโยงการพัฒนาเศรษฐกจิ
ะเวลาตอบความคดิ เหน็ และสังคม การประมาณการ
ย และมชี อ่ งทางการ รายรบั รายจา่ ยทีเ่ ป็น
ถึงแบบสอบถามจากดั มาตรฐานสากล
(2) ระบนุ โยบายภาษี และ
ตน้ ทุน รวมถึงการวดั ผลกระทบ
ของนโยบายใหม่ การใช้
งบประมาณอย่างเหมาะสม
ระยะเวลาการพิจารณา (1) ฝ่ายบรหิ ารควรจัดสง่ ร่าง (1) รำยงำนผลกำรพจิ ำรณำ
คณะกรรมาธิการฯจากดั พระราชบัญญตั ิงบประมาณมา ของรัฐสภำ
ากทจ่ี ะเปิดรบั ฟงั ความ ให้รฐั สภามีเวลาพจิ ารณาอย่าง (2) พระรำชบัญญตั ิ
หน็ จากผเู้ ชี่ยวชาญ เพียงพอและจดั เวทีรับฟงั ความ งบประมำณ : มรี ายละเอยี ด
36 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพิ่มความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
กระบวนกำรงบประมำณ กำรดำเนนิ กำรของ
ตำ่ งประเทศ ประเทศไทย ป
ผเู้ ชีย่ วชาญท่ไี ด้รับ (2) สานกั งบประมาณ (2) ร
คัดเลือกมา (เกาหลี ของรฐั สภา (PBO) ก่อน
ใต้) แสดงความเห็นผ่าน เอกส
(2) หนว่ ยงานอิสระ รายงานการวิเคราะห์ ความ
ทางการคลงั และรายงานวิชาการ ไม่สา
(PBO/IFS) ร่วมแสดง ตา่ งๆ รายล
ความคดิ เห็น (3) ก
(3) จดั ทางบประมาณ PBO
ฉบับประชาชน เนอ่ื ง
(เกาหลีใต้และ ตาม
ฟลิ ิปปนิ ส)์ (4) ค
ในรา
“ฉบ
ยาก
การใช้จ่ายงบประมาณ (1) ระบบบญั ชีแบบ (1) บก.รายงานผลการ (1) ย
ดจิ ทิ ัลช่วยในการ ใช้จา่ ยงบประมาณจาก (2) ม
วิเคราะห์ข้อมูล และ ระบบ GFMIS หลา
เปิดเผยสาธารณะ (รายงานทกุ สัปดาห์) เข้าถ
(เกาหลีใต้) (2) รายงานการจัดซ้อื (3) ร
(2) ระบบ BUB open จัดจา้ ง การเ
data (ฟลิ ลิปปนิ ส)์
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 37
ควำมคิดเห็นของผศู้ ึกษำ
ปญั หำ อปุ สรรคทีพ่ บ แนวทำงท่ีควรดำเนินกำร รำยงำนทค่ี วรเผยแพร่
ระยะเวลาจดั สง่ เอกสาร คดิ เหน็ จากผเู้ ชย่ี วชาญกอ่ นการ ระดบั เดยี วกับข้อเสนอ
นการพิจารณาจากดั และ ประชุมเพ่อื พจิ ารณา งบประมาณ (budget
สารท่ีมจี านวนมาก มี (2) ลดจานวนเอกสารที่เสนอ proposal) เพ่ือทจี่ ะระบคุ วาม
มซบั ซ้อน ทาให้สมาชกิ เข้าสู่รฐั สภา และจัดสง่ ไฟล์อิเลก แตกต่างท่มี ีนัยสาคญั ได้
ามารถพจิ ารณา ทรอนกิ ส์ในรปู แบบท่ีสามารถให้ (3) งบประมำณฉบับประชำชน
ละเอียดได้ทัน เคร่อื งคอมพวิ เตอรป์ ระมวลผล (4) รายงานของหน่วยงานอิสระ
การเขา้ ถงึ ข้อมลู ของ ได้ ทางการคลังที่วเิ คราะห์รายได้
O เป็นไปอย่างจากัด (3) ดาเนินการใหง้ บประมาณ ผลกระทบ และหนส้ี าธารณะ
งจากไมม่ อี านาจหน้าที่ “ฉบบั ประชาชน” ใหเ้ ข้าใจและ
มกฎหมาย เข้าถงึ งา่ ย
ความละเอยี ดของข้อมลู (4) การเปดิ เผยรายงาน
ายงานงบประมาณ กรรมาธิการคณะต่างๆ
บบั ประชาชน” ยังเข้าใจ
ยังไม่มรี ายงานกลางปี (1) ควรเพม่ิ รายงาน (1) รำยงำนคำดกำรณ์รำยได้
มกี ารเผยแพร่ข้อมูลไว้ท่ี ความก้าวหน้าของโครงการตา่ ง และค่ำใช้จำ่ ย (2) รำยงำน
ายเว็บไซต์ ยากต่อการ ๆในหวั ขอ้ การเบิกจ่าย ระหว่ำงปี ซ่ึงรายละเอยี ดของ
ถงึ ของสาธารณะ งบประมาณ โดยเฉพาะโครงการ รายงานตา่ ง ๆเหล่านจี้ ะเป็นจดุ
ระบบ GFMIS แสดงผล ลงทนุ ขนาดใหญ่ ตรวจสอบ (Benchmark) และ
เบกิ จ่ายงบประมาณ โดย (2) การเปดิ เผยข้อมูลต่าง ๆควร การคาดการณ์ และบรหิ าร
ให้นามาประมวลผลต่อได้ กระแสเงินสด
37 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
กระบวนกำรงบประมำณ กำรดำเนินกำรของ
ต่ำงประเทศ ประเทศไทย ป
(3) ศนู ยร์ ายงานความ (3) รายงานการ ไม่ได
สญู เสียทาง ดาเนินงานของแตล่ ะ แผน
งบประมาณ และ หน่วยงาน (เผยแพร่ (4) ก
หน่วยงาน NABO รายงานผา่ นเว็บไซต์ งบป
เพอ่ื สนับสนุนขอ้ มูลให้ หน่วยงาน) รายจ
ฝ่ายนิติบญั ญตั ิ (4) ระบบภาษีไปไหน? ยาก
(เกาหลีใต)้ ทร่ี ะบุ รายได้ ตดิ ต
(4) กาหนดตรา งบประมาณ และการ งบป
สัญลกั ษณใ์ หก้ ับ จัดซือ้ จดั จ้าง (สพร.) เข้าถ
หนว่ ยงานทีผ่ า่ นระบบ (5) ก
ประเมนิ ความโปรง่ ใส ไหน
ไม่ง่า
ผใู้ ช้ง
การติดตามตรวจสอบ (1) ระบบติดตามและ (1) ระบบ PART (1) ร
ประเมนิ ผล KPART BB EV-MIS ของ สงป. ระบ
(เกาหลีใต)้ (2) รายงานการ ไม่ได
(2) จดั ต้ังทมี ท่ี ตรวจสอบของ สตง. (มี (2) ร
ประกอบด้วยภาค เฉพาะบางโครงการ) สตง.
ประชาสงั คมและ (3) ระบบ emencr น้อย
หนว่ ยงานตรวจสอบ ของ สศช. งบป
จดั ประชมุ ผลการ
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 38
ควำมคดิ เหน็ ของผศู้ ึกษำ
ปญั หำ อปุ สรรคทพ่ี บ แนวทำงทค่ี วรดำเนินกำร รำยงำนที่ควรเผยแพร่
ดร้ ะบุผลงานจาก (3) จดั ใหม้ ีศูนยร์ ายงานความ (2) รำยงำนกลำงปี จะทาให้
นงาน/โครงการ สญู เสียทางงบประมาณ เพื่อ เกดิ การปรบั ปรุงการคาดการณ์
การเปรยี บเทยี บระหวา่ ง สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของ ผลลัพธ์สาหรับปงี บประมาณ
ประมาณที่ได้รับกับ ประชาชนไดต้ รวจสอบการ ผลกระทบที่คาดหวังจาก
จา่ ยจรงิ ท่เี กิดขน้ึ ทาได้ ทางานของภาครฐั งบประมาณ และปรับสมมุติฐาน
ทาให้ประชาชนที่ (4) จดั ตง้ั หน่วยงานท่ีทาหนา้ ท่ี ทางเศรษฐศาสตร์ เพอื่ ช่วย
ตามการใชจ้ า่ ย สนับสนุนข้อมลู ใหก้ ับฝา่ ยนิติ ตัดสนิ ใจนโยบายของรฐั บาลท่ี
ประมาณของหน่วยงาน บญั ญัติให้มีอานาจหน้าทต่ี าม อาจเกิดขน้ึ ในชว่ งคร่ึงปีแรก
ถงึ ข้อมลู ไดย้ าก กฎหมาย
การใชง้ านระบบภาษีไป (5) การวัดผลการดาเนนิ งาน
นเป็นข้อมูลเชงิ เทคนิคยงั ดา้ นการเปิดเผยงบประมาณของ
ายต่อการสบื คน้ ของ ส่วนราชการ และหนว่ ยงานอ่นื
งาน ควรกาหนดแนวทางทีเ่ ข้มขน้
ระบบติดตามการใช้จา่ ย (1) จดั หาเคร่ืองมือท่ีทันสมยั (1) รำยงำนส้นิ ปี
บบ PART และ EV-MIS ช่วยในการตรวจสอบ เพอ่ื ระบสุ ถานการณ์ทางบญั ชขี อง
ดเ้ ผยแพร่สาธารณะ ประหยัดเวลา และกาลังคน รัฐบาล ณ วนั สิ้นปงี บประมาณ
รายงานตรวจสอบของ (2) อนญุ าตใหภ้ าคประชาสงั คม (รายงานการเงินรวมภาครฐั )
.ทเี่ ปิดเผยสู่สาธารณะ มี เขา้ รว่ มตรวจสอบกับสานกั งาน และส่งไปใหห้ นว่ ยตรวจสอบ
ย ไมค่ รอบคลุม การตรวจเงนิ แผ่นดิน สงู สดุ โดยให้รายละเอยี ด
ประมาณรายจ่ายประจาปี (3) เปิดเผยรายงานการ เก่ยี วกับการประเมินการใชจ้ ่าย
ตรวจสอบทกุ ไตรมาส เพ่อื ให้ แตล่ ะกระทรวง รวมถึงการวดั
38 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
กระบวนกำรงบประมำณ กำรดำเนินกำรของ
ตำ่ งประเทศ ประเทศไทย ป
ตรวจสอบและ (3) ย
ผเู้ ช่ีย
รายงานทกุ ไตรมาส บุคค
ตรวจ
และเปดิ เผยสู่
สาธารณะทางช่องทาง
openbub.gov.ph
(ฟลิ ิปปนิ ส์)
สรุปปัญหาและอปุ สรรคที่พบสาหรับประเทศไทยได้ดงั นี้
1. การเผยแพร่รายงานสาคัญต่าง ๆของไทยท่ีเป็นข้อมูลเชิงลึก และมีประโย
ตามค้นคว้าข้อมูลจากเว็บไซต์ของส่วนราชการ/หน่วยงาน เช่น เว็บไซต์ มติคณะร
สานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ และเว็บไซต์ของส่วนราชการ หรือหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อ
มีความครบถ้วนสมบูรณ์ จะเห็นได้ว่า ขอ้ มูลรายงานตา่ ง ๆทีน่ าเสนอไมไ่ ด้ถูกรวบรวมไ
2. ขาดกลไกสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนระหว่างการวางแผนงบประมาณ
3. หน่วยงานท่ีมหี นา้ ท่ีสอดส่องการทางาน ประกอบด้วย (1) รัฐสภายังไม่อ
ความเห็นระหว่างการประชาพิจารณ์ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณก่อนที่จะลงมต
รายงานพร้อมส่ิงที่ค้นพบทางออนไลน์ (2) หน่วยงานตรวจสอบต้องมีอานาจตามกฎ
กระบวนการตรวจสอบเป็นไปอย่างอสิ ระ สาหรับประเทศไทย สานักงานการตรวจเง
ตรวจสอบดว้ ย
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 39
ปญั หำ อุปสรรคทีพ่ บ ควำมคดิ เหน็ ของผูศ้ ึกษำ รำยงำนที่ควรเผยแพร่
แนวทำงทคี่ วรดำเนินกำร การใช้จา่ ยของปที ี่ผ่านๆมาใน
ยงั ไม่เปดิ โอกาสให้ สามารถแก้ไข ปรบั ปรุงการ รปู แบบแนวโน้ม ผลิตภาพ และ
ยวชาญที่เป็น ดาเนินการให้เป็นไปตาม คุณค่า
คลภายนอกมาร่วมทมี เปา้ หมาย
จสอบ
ยชนก์ ับประชาชนผู้เก่ียวข้องในปัจจุบันยังไม่มเี ว็บไซต์กลางที่เข้าถงึ ง่าย แต่ยังคงตอ้ ง
รัฐมนตรี Thaigov สานักงบประมาณ สานักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมบัญชีกลาง
อง นอกจากนี้ แมว้ ่า ระบบภาษไี ปไหนจะพยายามใหร้ ายละเอยี ดต่างๆ แตข่ อ้ มลู ยังไม่
ไวอ้ ยา่ งมเี อกภาพ
ณ และการอนมุ ตั ิงบประมาณ
อนุญาตให้สมาชิกขององค์กรสาธารณะ หรือภาคประชาสังคมเข้าร่วมพจิ ารณาหรอื ให้
ติ ตรวจสอบการดาเนินการงบประมาณปีนั้น รายงานการตรวจสอบ และ เผยแพร่
ฎหมาย และมอบหมายอานาจให้กับหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบ และต้องแน่ใจว่า
งินแผ่นดิน ควรสร้างกลไกที่เป็นทางการ และส่งเสริมให้ภาคสังคมเขา้ ร่วมดาเนินการ
39 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
3.4 แนวทำง เครอื่ งมือ และข้อมลู สำคัญท่คี วรเปดิ เผยเพ่ือสง่ เสรมิ ควำมโปร่งใสในกำรจัดกำรงบประมำณ
1. ด้ำนควำมโปร่งใส พบว่ำ ยังไม่มีเว็บไซต์กลำงที่เผยแพร่รำยงำนสำคัญต่ำง ๆท่ีเป็นข้อมูลเชิง
ลกึ และมีประโยชนก์ ับผู้ท่เี กยี่ วขอ้ งและประชำชน
2. ด้ำนกำรมีส่วนร่วมของภำคประชำชน พบว่ำ เครื่องมือ หรือกลไกกำรมีส่วนร่วมของ
ตำ่ งประเทศจะมีหลำกหลำย เช่น ศนู ยร์ ำยงำนควำมสญู เสยี ทำงงบประมำณ กำรปรกึ ษำหำรอื ก่อนเรม่ิ กำร
วำงแผนบประมำณ โดยสำมำรถนำมำประยุกต์ใชก้ ับประเทศไทย
3. ด้ำนกำรสอดส่องจำกสถำบันอิสระ พบว่ำ รัฐสภำสำมำรถอนุญำตให้สมำชิกขององค์กร
สำธำรณะ หรือภำคประชำสังคมเข้ำร่วมให้ควำมเห็นระหว่ำงกำรประชำพิจำรณ์ร่ำงพระรำชบัญญัติ
งบประมำณก่อนที่จะลงมติ และจัดทำรำยงำนกำรตรวจสอบเผยแพร่สงิ่ ท่ีค้นพบทำงออนไลน์ สำนักงำน
กำรตรวจเงินแผ่นดิน สำมำรถสร้ำงกลไกท่ีเป็นทำงกำร เช่ือมโยงกับภำคประชำชน เพื่อสนับสนุนกำร
ตรวจสอบท่ีเก่ียวข้อง เช่น จัดต้ังคณะกรรมกำรตรวจสอบทีเ่ ปิดโอกำสให้ประชำชนเข้ำมำมีส่วนร่วมผ่ำน
ชอ่ งทำงตำ่ ง ๆ
4. ภำครัฐควรเปิดเผยข้อมูลสำคัญท่ีควรเปิดเผยเพื่อส่งเสริมควำมโปร่งใสในกำรจัดกำร
งบประมำณใหก้ ับภำคประชำสังคมและประชำชนไดร้ บั ทรำบทกุ ขนั้ ตอนในกระบวนกำรงบประมำณ
5. กำรนำแนวทำงท่ีเป็นแนวปฏิบัติท่ีดีด้ำนกำรเปิดเผยงบประมำณของประเทศต่ำง ๆมำ
ประยุกตใ์ ช้กบั ประเทศไทยอยำ่ งเหมำะสม อยำ่ งไรกต็ ำม ข้อมูลทีค่ วรเปิดเผยมจี ำนวนมำก หำกกำหนดให้
กำรรำยงำนตำมผลสำรวจกำรเปิดเผยงบประมำณ ของ IBP เป็นมำตรฐำนกำรรำยงำนข้ันต้น และหำก
สำมำรถดำเนนิ กำรตำมคำแนะนำของ OECD จะทำใหง้ บประมำณมีควำมโปร่งใส ชดั เจนกบั สำธำรณะ
การสร้างความโปร่งใสในการจัดการงบประมาณจะต้องประกอบด้วย 3 ส่วนสาคญั คอื
(1) หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผิดชอบของหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้อง จะประกอบด้วย การดาเนนิ งานของ
หน่วยงานท่ีมีการบริหารงานท่ีดี มีธรรมาภิบาล และการส่ือสารสู่สาธารณะ การเปิดเผยข้อมูลแผนงาน การ
ดาเนินการ รวมถงึ รายงานการตดิ ตาม ประเมินผลตา่ ง ๆ
(2) ระยะเวลาการเผยแพร่รายงานและข้อมูลสาคัญเฉพาะด้านจะต้องทันต่อการใช้งานของ
สมาชกิ รฐั สภาและผสู้ นใจ
(3) ประเภทและคุณภาพของข้อมูล จะต้องเป็นข้อมูลเชิงลึก (อาจถึงระดับโครงการ) มีท่ีมา
วิธีการคานวณ หรือวิเคราะห์ท่ีชัดเจน นอกจากนี้ รัฐสภาและภาคประชาชนสามารถนาไปประมวลผลด้วย
ภาษาเคร่ืองทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ ทง้ั น้ี OECD ได้ใหแ้ นวปฏบิ ัตทิ ีด่ ี (Best Practice)อยา่ งกว้างๆว่าข้อมลู สำคัญ
ท่ีควรเปิดเผยเพื่อส่งเสริมควำมโปร่งใสในกำรจัดกำรงบประมำณควรเปิดเผยทุกช่วงเวลำในกระบวนกำร
งบประมำณ โดยควรมีเว็บกลางให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลนี้ได้ ข้อมูลควรเป็นลักษณะภาษาเคร่ืองเพ่ือ
ประมวลผลได้ตามต้องการวิเคราะห์ (ตารางที่ 6) และได้สรุปโครงสร้างและรายละเอียดต่าง ๆไว้ เพ่ือให้
ประเทศสมาชิกไดน้ าไปประยกุ ต์ให้เหมาะสมต่อไป (ศึกษาเพมิ่ เตมิ ได้จาก ภาคผนวก -1)
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 40 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
ตารางท่ี 3-6 ประเภทรายงาน สาระสาคัญ และระยะเวลาเผยแพร่
ประเภท สำระสำคญั ระยะเวลำเผยแพร่
1. รำยงำนต่ำง ๆ
1.1 รายงานก่อน เปิดเผยปัจจัยที่กาหนดข้อเสนองบประมาณของ ไม่น้อยกว่า 1 เดือนก่อน
งบประมาณ ผู้บริหาร - โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายท้ังหมดการ ส่งข้อเสนองบประมาณ
(Pre-Budget คาดการณส์ าหรบั รายไดร้ วมและหนี้ท่ีจะเกดิ ขึ้นใน ของผู้บริหารต่อฝ่ายนิติ
Statement) ปีงบประมาณท่ีจะเกิดข้ึน โดยทั่วไปจะเป็นข้อมูล บญั ญตั เิ พอื่ พิจารณา
เบ้อื งต้น ไมใ่ ชข่ ้อมลู ทมี่ ีความละเอยี ดสงู
1.2 ข้อเสนองบประมาณ คาอธบิ ายอย่างละเอียดเกีย่ วกับ ช่วงเวลาที่ฝ่ายนิติบัญญัติ
รวมถึงเอกสารสนบั สนุน -รายรับ และรายจ่าย ในปีงบประมาณรวมถึง ยังคงพิจารณาอยู่และ
อน่ื (Executive’s ประมาณการรายได้ และรายจ่ายท่ีจะใช้ในระยะ ก่อนที่จะอนมุ ตั ิ
Budget Proposal กลาง (อย่างนอ้ ย 2 ปถี ดั ไป)
(including supporting -ควรแสดงวัตถุประสงค์พร้อมข้อมูลรายจ่าย
documents) จาแนกตามหนว่ ยงาน
-ควรมีคาอธิบายเกี่ยวกับสินทรัพย์และหนี้สิน
ภาระผูกพันต่าง ๆ รวมถึงการต้ังสมมุติฐานทาง
เศรษฐกิจเพ่ือเป็นพ้ืนฐานของรายงานฉบับต่าง ๆ
ต่อไป รวมถึงมีการประมาณการค่าใช้จ่ายภาษี
หนีส้ นิ ที่อาจเกดิ ข้นึ
1.3 กฎหมาย งบประมาณควรมีความครอบคลุมครอบคลุม ไม่เกิน 3 เดือนหลังจาก
งบประมาณ (Enacted รายได้และรายจ่ายของรัฐบาลทั้งหมด การ งบประมาณได้รับการ
Budget) คาดการณ์รายได้และค่าใช้จ่ายอีก 2 ปี ผลการใช้ อนุมัตจิ ากฝา่ ยนติ ิบัญญัติ
จา่ ยปที ่ีผ่านมา รวมถึงสามารถประเมนิ ผลลพั ธ์ได้
1.4 งบประมาณ “ฉบับ เอกสารที่เข้าใจง่ายให้ประชาชนเข้าใจ ใช้ข้อมูล ภายในระยะเวลาเดียวกนั
ประชาชน” ทางเทคนิคน้อย เพื่อเพิ่มคุณภาพของการอภิปราย กับข้อเสนองบประมาณ
งบประมาณ และเกิดความไวว้ างใจรัฐบาล ของผู้บริหาร (ข้อ 1.2)
ห รื อ ง บ ป ร ะ ม า ณ ที่
ประกาศใช้ ยกตัวอย่าง
เช่น เผยแพร่ช่วงที่รัฐสภา
พิ จ า ร ณ า ข้ อ เ ส น อ
งบประมาณ (ข้อ 1.2)
กอ่ นที่รัฐสภาจะอนุมัติ
1.5 รายงานรายเดอื น รายงานระดับกระทรวงและหน่วยงานที่แสดง ไม่เกิน 3 เดือนหลังจาก
ความคืบหน้าในจัดเก็บรายได้ และการใช้จ่าย รอบระยะเวลารายงาน
งบประมาณแต่ละเดือน โดยเปรียบเทียบกับการ สน้ิ สดุ ลง
คาดการณ์ในช่วงระยะเวลาเดือนเดียวกันของปี
ก่อนหน้า หากมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญ
ควรมีคาอธิบาย นอกจากนี้ ควรมีการระบุผลจาก
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 41 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
ประเภท สำระสำคัญ ระยะเวลำเผยแพร่
1.6 รายงานกลางปี
กิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการกู้ยืมของรัฐบาลด้วย
1.7 รายงานสนิ้ ปี
(ขอ้ 2.3)
1.8 รายงานการ
ตรวจสอบ การปรับปรุงก ารคาดการณ์สมมุติฐานทาง ไม่เกิน 3 เดือนหลังจาก
1.6 รายงานก่อนการ
เลือกตั้ง เศรษฐกิจที่เป็นพื้นฐานในการจัดทางบประมาณ รอบระยะเวลารายงาน
1.7 รายงานระยะยาว รวมถึงการคาดการณ์สถานการณ์ท่ีอาจกระทบต่อ สน้ิ สุดลง
การบริหารงบประมาณ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ
ผลสาเรจ็ และผลลัพธ์จากการใช้จ่ายงบประมาณใน
รอบครง่ึ ปที ่ีผา่ นมา รวมถงึ ผลจากการเปลี่ยนแปลง
สินทรัพย์ หนี้สิน ภาระผูกพัน และหน้ีสินท่ีอาจ
เกิดขึ้นและมีนัยสาคัญต่อการดาเนินนโยบายของ
รฐั บาล
การตรวจสอบจากหน่วยตรวจสอบสูงสุด แสดง ไ ม่ เ กิ น 6 - 1 2 เ ดื อ น
สินทรัพย์ หน้ีสิน ภาระผูกพัน หนี้สินท่ีอาจเกิดขึ้น ห ลั ง จ า ก ส้ิ น ปี บั ญ ชี
รายได้และค่าใช้จ่ายท่ีได้รับอนมุ ัติจากรฐั สภา และ งบประมาณ
ร ว ม ถึ ง ผ ล ลั พ ธ์ ที่ เ กิ ด ข้ึ น จ ริ ง เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ
เป้าหมาย ควรระบุข้อมูลรายได้และค่าใช้จ่ายของ
ปกี ่อนหน้า สามารถแสดงค่าใช้จา่ ยรวม แต่ รายได้
Ear-marked revenue ตอ้ งแยกบัญชอี ยา่ งชัดเจน
การตรวจสอบโดยสถาบันตรวจสอบสูงสุดให้ ภายใน 18 เดอื นหลังจาก
สอดคล้องกับแนวทางการตรวจสอบท่ียอมรับกัน ส้นิ ปงี บประมาณ
โดยท่วั ไป และ ควรไดร้ บั การพจิ ารณาโดยรัฐสภา
รายงานท่ีจัดทาขึ้นก่อนการเลือกตั้ง เพื่ออธิบาย อย่างช้าก่อนการเลือกต้ัง
สภาพท่ัวไปของรัฐบาลก่อนการเลือกตั้ง ซึ่ง 2 สปั ดาห์
รายงานนี้จะช่วยให้เกิดการอภิปรายสาธารณะ
ก า ร จั ด ท า ร า ย ง า น นี้ ห รื อ ไ ม่ ขึ้ น กั บ ก ฎ ห ม า ย ที่
เกี่ยวข้อง เน้ือหาของรายงานน้ีควรมีข้อมูล
เช่นเดียวกับรายงานกลางปี
รายงานประเมินความยง่ั ยืนระยะยาวของนโยบาย อย่างน้อยทุก ๆ 5 ปีหรือ
รัฐบาลปัจจุบัน ควรประเมินผลกระทบด้าน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
งบประมาณของกลมุ่ ประชากรกับการเปลยี่ นแปลง เกดิ ขนึ้ ในโปรแกรมรายรับ
เช่นประชากรสูงอายุและการพัฒนาท่ีมีศักยภาพ หรือรายจ่ายทส่ี าคัญ
อื่น ๆ ระยะยาว (10-40 ปี) สมมติฐานท่ีสาคัญ
ทั้งหมดท่ีเก่ียวข้องกับการคาดการณ์ที่มีอยู่ใน
รายงาน
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 42 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
2. กำรเปิดเผยเรอ่ื งสำคัญเฉพำะด้ำน เมือ่ มีกำรเปลย่ี นแปลงไป
จำกเดมิ หรอื มีเหตกุ ำรณ์
สำคญั เกดิ ข้นึ
2.1 สมมตุ ิฐานทาง ควรมีการเปิดเผยสมมติฐานทางเศรษฐกิจที่สาคัญทั้งหมดอย่างชัดเจน รวมถึง
เศรษฐกจิ การคาดการณก์ ารเติบโตของ GDP องค์ประกอบของการเตบิ โตของ GDP อัตรา
การจ้างงาน และการว่างงานบัญชี กระแสรายวัน เงินเฟ้อ และดอกเบ้ีย การ
เบี่ยงเบนจากการคาดการณ์ของสมมติฐานทางเศรษฐกิจที่สาคัญท่ีเป็นความ
เสย่ี งทางงบประมาณและความเสยี่ งทางการเงินของรัฐบาล
2.2 คา่ ใชจ้ ่ายภาษี (Tax ค่าใช้จ่ายภาษีเป็นค่าใช้จ่ายโดยประมาณต่อรายได้ภาษีของสิทธิพิเศษสาหรับ
Expenditure) กิจกรรมเฉพาะ การประมาณการค่าใช้จ่ายภาษีควรเปิดเผยเป็นข้อมูลเสริมใน
งบประมาณ เพอ่ื ให้เกิดการอภิปรายและเปน็ ทางเลือกในการดาเนนิ งาน
2.3 หนสี้ ินและสนิ ทรพั ย์ (1) สินทรัพย์และหน้ีสินในรายงานกลางปีและรายงานสิ้นปี (2) กิจกรรมการ
ทางการเงิน กู้ยืมรายเดอื นหรือเอกสารที่เก่ียวข้อง (3) การกู้ยืมควรจาแนกตามสกลุ เงนิ ของ
หนี้ วนั ครบกาหนดโดยเปิดเผยอัตราดอกเบ้ยี สินทรพั ย์ควรจดั ประเภท (4) การ
บริหารตราสารหนี้ เช่น สญั ญาซือ้ ขายล่วงหน้า (Forward) และสัญญา Swaps
โดยวิเคราะห์ความออ่ นไหว ผลกระทบการเปล่ียนแปลงของอตั ราดอกเบี้ยและ
อัตราแลกเปลยี่ นทจี่ ะมผี ลต่อต้นทุนทางการเงิน
2.4 สนิ ทรัพย์ที่ไมใ่ ช่ดา้ น สินทรัพย์ท่ีไม่ใช่สถาบันการเงินรวมถึงอสังหาริมทรพั ย์และอปุ กรณ์ควรเปิดเผย
การเงิน และรับรู้ภายใต้การบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง และมีการประเมินมูลค่าของ
สินทรัพยด์ งั กล่าว และเปิดเผยวธิ ีการคานวณคา่ เส่ือมราคา
-ในกรณีที่ไม่ได้มีการใช้เกณฑ์คงค้างเต็มรูปแบบควรมีการลงทะเบียนสินทรัพย์
และขอ้ มูลสรปุ จากการลงทะเบียนนี้ไว้ในรายงานกลางปีและรายงานส้นิ ปี
2.5 ขอ้ ผกู พันเกีย่ วกับ เปิดเผยภาระผูกพันของพนักงานในรายงานกลางปีและรายงานสิ้นปี ระบุ ข้อ
บานาญของพนักงาน สมมติหลักในการคานวณตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยสาหรับการคานวณ
เงินบานาญและสนิ ทรพั ย์ใด ๆของพนกั งาน ซึ่งควรมมี ลู ค่าตามราคาตลาด
2.6 หน้สี นิ ท่ีอาจะเกดิ ข้ึน หน้ีสินท่ีมีผลกระทบด้านงบประมาณขึ้นอยู่กับ ควรเปิดเผยหน้ีสินท่ีอาจ
เหตุการณ์ในอนาคตซึ่งอาจจะเกิดหรือไม่เกิดขึ้น เกิดข้ึนท่ีสาคัญทั้งหมดใน
เช่น การค้าประกันเงินกู้ของรัฐบาล โครงการ รายงานกลางปีและงบ
ประกันของรัฐบาล และกฎหมายจาแนกตาม การเงินประจาปี
ประเภทหลักสาหรับแต่ละหมวดหมู่ กรณีท่ีไม่
สามารถคานวณปริมาณหนี้สินท่ีอาจเกิดขึ้นได้ให้
อธบิ ายไว้
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 43 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพิ่มความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
3. ระบบทีช่ ่วยใหเ้ กิดควำมสมบรู ณ์ กำรควบคมุ และควำมรบั ผดิ ชอบ เมื่อมกี ำรเปลย่ี นแปลงไป
จำกเดมิ หรือมเี หตกุ ำรณ์
สำคญั เกิดขึน้
3.1 นโยบายบญั ชี สรุปนโยบายการบัญชีที่เก่ียวข้องท่ีเป็นพ้ืนฐานใน หาก จาเป็น ต้อ ง มีการ
การจัดทาบญั ชี เช่น เกณฑ์เงินสด เกณฑ์เงินคงค้าง เปลี่ยนแปลงนโยบายการ
ใช้แนวปฏิบัติที่ยอมรับโดยท่ัวไป โดยใช้นโยบาย บัญชีให้ชี้แจงเหตุผลและ
การบัญชีเดียวกันสาหรับรายงานทางการเงิน ควรได้รับการเปิดเผย
ทัง้ หมด อยา่ งครบถว้ น
3.2 ระบบและความ รายงานแต่ละฉบับควรกาหนดให้รัฐมนตรีและผู้รับผิดชอบระดับสูงของ
รบั ผดิ ชอบ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบจดั ทารายงาน เนอ่ื งจาก รฐั มนตรียนื ยันวา่ การตัดสินใจของ
รัฐบาลท้งั หมดท่มี ีผลกระทบทางการเงินมี
รวมอยใู่ นรายงาน และผู้บรหิ ารระดบั สงู ของหน่วยงานรบั รองว่า กระทรวงได้ใช้
วิจารณญาณอย่างมอื อาชพี ในการจัดทารายงาน
3.3 การตรวจสอบ สอดคล้องกับแนวทางการตรวจสอบที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ได้รับการตรวจสอบ
โดยสถาบนั ตรวจสอบสูงสุด และสง่ ให้รฐั สภาพิจารณา
3.4 การเปิดเผย ตรวจสอบรายงานทางการเงินใด ๆ ที่รฐั สภาเห็นวา่ จาเปน็
สาธารณะและการ
พิจารณาของรฐั สภา
หมายเหตุ อา้ งองิ ตามแนวทางของ Open Budget Survey 2019 Methodology ของInternational Budget Partnership
และ OECD Best Practices for Budget Transparency ของ OECD.
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 44 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพิ่มความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
บทท่ี 4
สรุปและเสนอแนะ
4.1 สรปุ
เป้าหมายสูงทสี่ ดุ ของการจดั การงบประมาณ คอื การใชจ้ า่ ยงบประมาณทีเ่ หมาะสม ค้มุ คา่ ตอบสนอง
หรือแก้ไขปัญหาของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การสร้างความโปร่งใสในการ
กระบวนการงบประมาณจึงเป็นสงิ่ ที่จาเปน็ อย่างมาก เนื่องจากจะช่วยลดปญั หาการใช้งบประมาณไปในทางท่ี
ผดิ ไมก่ ่อให้เกิดประโยชน์ หรอื เกดิ การคอรร์ ปั ชน่ั ลงอยา่ งมาก ทผ่ี ่านมางบประมาณยงั ขาดกลไกท่จี ะเชอ่ื มโยง
ระหว่างรัฐ กับประชาชนและภาคประชาสังคม เน่ืองจากเอกสารงบประมาณมีจานวนมาก มีความซับซ้อน
และเป็นข้อมลู เชิงเทคนคิ จากปัญหาดงั กลา่ วทาให้หน่วยงานดา้ นการคลังระดับสากลจงึ ไดร้ วบรวมแนวปฏิบัติ
ทดี่ ี และจัดทาการสารวจเพ่อื วดั ระดับความโปร่งใสของประเทศต่าง ๆทเ่ี ป็นสมาชกิ
การศกึ ษาคร้งั น้ีเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ ม่งุ เนน้ เก่ียวกับการสร้างธรรมาภิบาล โดยใชแ้ นวปฏิบัติที่ดี
ของ OECD และผลการสารวจดัชนีการเปิดเผยข้อมูล (Open Budget Index :OBI) ของ international
Budget Partnership ; IBP) เพื่อวัดระดับของความโปร่งใสอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งประกอบด้วย ด้านความ
โปร่งใส ด้านการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน และด้านการสอดสองดูแลของสถาบันอิสระ ประกอบด้วย
รัฐสภา และสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ดังน้ีน การทบทวนวรรณกรรมส่วนใหญ่จะทบทวนเกี่ยวกับ
กฎหมายและระเบียบที่เก่ียวข้องกับการสร้างประสิทธิภาพของหน่วยงานซ่ึงจะสะท้อนให้เห็นผลการ
ดาเนินงานของรัฐบาลกลางทด่ี าเนนิ การ
วัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษาครัง้ น้ี กาหนดไว้ 4 ประการคือ (1) เพ่ือศึกษาความโปรง่ ใสในกระบวนการ
งบประมาณของไทย (2) เพื่อศึกษาบทบาทผู้ที่เกี่ยวข้อง แนวทางหรือเกณฑ์การวัดความโปร่งใสในการ
กระบวนการงบประมาณระดับสากล (3) เพื่อศกึ ษาเปรียบเทยี บความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณของ
ประเทศไทยและสากล (4) เพ่ือศึกษาแนวทาง เคร่ืองมือ และข้อมูลสาคัญท่ีควรเปิดเผยเพ่ือส่งเสริมความ
โปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
ผลกำรศกึ ษำ พบวา่
1. คะแนนผลสารวจดัชนกี ารเปิดเผยของงบประมาณปี 2562 แตล่ ะด้านจะมคี ะแนนเตม็ เท่ากับ 100
คะแนน ผลคะแนนของประเทศไทย ประกอบด้วย ด้านความโปร่งใส 61 คะแนน อยู่ในระดับ “เพียงพอ”
ด้านการมีส่วนรว่ มของภาคประชาชน 14 อยู่ในระดับ “น้อย” ด้านการสอดส่องดูแลของสถาบันอสิ ระต่าง ๆ
63 คะแนน อยู่ในระดับ “เพียงพอ” เมื่อศึกษาเชิงลึกต่อไปพบว่า การนาส่งรายงานฉบับต่าง ๆ ส่วนใหญ่ทัน
ตามกาหนดทีใ่ หเ้ ผยแพรต่ ามเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้ ยกเว้นรายงานกลางปีท่ีจัดสง่ ลา่ ชา้ ส่วนดา้ นความครบถ้วนของ
ขอ้ มูล พบว่า คะแนนแตล่ ะด้านส่วนใหญ่ยงั ไมส่ งู กว่าเกณฑ์เฉลี่ยมากนัก การรายงานยงั ขาดข้อมลู สาคัญหลาย
ประการ เช่น การประมาณการรายได้หลายปี ขาดความเชื่อมโยงระหว่างรฐั กับประชาชนในเกอื บทุกข้ันตอน
ในกระบวนการงบประมาณ ทาใหป้ ระชาชนไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลตา่ ง ๆได้อยา่ งสะดวก สถาบันอสิ ระยังขาด
ข้ันตอนบางประการที่สาคัญ เช่น รัฐสภายังไม่ได้เปิดเผยข้อมูลให้ประชาชนรับทราบ หรือทาประชาพิจารณ์
ในชว่ งทีร่ ัฐสภาพจิ ารณาร่างพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจา่ ยประจาปี
2. ผู้มสี ่วนเก่ยี วขอ้ งท่ีจะสร้างความโปร่งใสในการกระบวนการงบประมาณ ประกอบด้วย รฐั บาลและ
หนว่ ยงานในสังกัด รฐั สภา สถาบนั ตรวจสอบอสิ ระ ภาคประชาสังคม และการมีส่วนร่วมจากภาคเอกชน ซง่ึ แต่
ละภาคส่วนมีการกาหนดภารกิจที่ชัดเจนไว้ในแต่ละขั้นตอนในกระบวนการงบประมาณ ซ่ึงขั้นตอนส่วนใหญ่
ประเทศไทยก็ไดด้ าเนนิ การแล้ว แตย่ ังมรี ะดับเข้มขน้ และข้อมลู เชิงลกึ ไมเ่ พียงพอ ซ่ึงแนวทางการดาเนินการได้
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 45 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
นาแนวคิดของ OECD และ IBP มาเปรียบเทียบกัน เพื่อหาจุดเน้นของแต่ละหน่วยงาน และประยุกต์ให้เป็น
แนวทางท่เี หมาะสมกับประเทศไทย
3. การเปรียบเทียบความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณของประเทศไทยและระดับสากล พบว่า
ประเทศไทยมพี ัฒนาการด้านความโปร่งใสดขี ึน้ เป็นลาดับ เห็นได้จากคะแนนดา้ นความโปรง่ ใส ปี 2560 เทา่ กับ
56 เป็น 61 คะแนน อยู่ลาดับท่ี 30 จาก 117 ประเทศ โดยประเทศในแถบเอเชียที่มคี ะแนน OBI สูงกว่าไทย
ได้แก่ ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ในขณะท่ีค่าเฉล่ียทั่วโลก เท่ากับ 45 และค่าเฉล่ียของกลุ่ม
ประเทศ OECD เท่ากับ 68 คะแนน
4. แนวทาง เคร่ืองมือ และข้อมูลสาคัญท่ีควรเปิดเผยเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสในกระบวนการ
งบประมาณ พบวา่
(1) ดา้ นความโปรง่ ใส พบวา่ ยังไมม่ ีเว็บไซตก์ ลางที่เผยแพรร่ ายงานสาคัญต่าง ๆทีเ่ ป็นข้อมูล
เชงิ ลกึ และมปี ระโยชนก์ ับผู้ที่เกี่ยวขอ้ งและประชาชน
(2) ด้านการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน พบว่า เครื่องมือ หรือกลไกการมีส่วนร่วมของ
ต่างประเทศจะมีหลากหลาย เชน่ ศนู ย์รายงานความสูญเสียทางงบประมาณ การปรกึ ษาหารือกอ่ นเร่มิ วางแผน
งบประมาณ โดยสามารถนามาประยุกต์ใช้กบั ประเทศไทย
(3) ด้านการสอดส่องจากสถาบันอิสระ พบว่า รฐั สภาอนญุ าตให้สมาชิกขององค์กรสาธารณะ
หรอื ภาคประชาสังคมเข้าร่วมใหค้ วามเหน็ ระหว่างการประชาพิจารณร์ า่ งพระราชบญั ญตั ิงบประมาณก่อนที่จะ
ลงมติ และจัดทารายงานการตรวจสอบเผยแพร่สิ่งท่ีค้นพบทางออนไลน์ สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
สามารถสร้างกลไกท่ีเป็นทางการ เช่ือมโยงกับภาคประชาชน เพ่ือสนับสนุนการตรวจสอบท่ีเกี่ยวข้อง เช่น
จัดต้งั คณะกรรมการตรวจสอบที่เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนเข้ามามสี ่วนร่วมผา่ นช่องทางต่าง ๆ
อย่างไรก็ตาม การยกระดับคะแนนดัชนีการเปิดเผยงบประมาณของประเทศไทยจาเป็นจะต้อง
ดาเนนิ การพรอ้ มกนั ในหลายภาคส่วน ไมว่ า่ จะเปน็ รฐั บาล รัฐสภา หน่วยงานอสิ ระต่างๆ และทส่ี าคญั ประชาชน
และภาคประชาสังคมจะตอ้ งต่ืนตัวและเรยี กรอ้ งการเปิดเผยขอ้ มลู หรอื รายงานต่างๆสู่สาธารณะเพื่อให้เกิดการ
วิพากษใ์ นวงกว้าง ซ่งึ จะนาไปสกู่ ารใช้จ่ายงบประมาณทเ่ี หมาะสม คมุ้ ค่า ตรงเป้าหมาย และช่วยยกระดับความ
โปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณชองประเทศไทย
4.2 ข้อเสนอแนะ ประกอบด้วย
ดำ้ นควำมโปร่งใสของงบประมำณ
1. ควรเพิ่มกลไกความเชื่อมโยงระหว่างรัฐบาลกับประชาชน เช่น การเปิดโอกาสให้ผู้เชียวชาญหรือ
ภาคประชาสังคมได้แสดงความคิดเห็น การจัดต้ังศูนย์รายงานความสูญเสีย และจัดทารายเพื่อเปิดเผย
งบประมาณในชว่ งระยะเวลาตา่ งๆตามรูปแบบทีเ่ ปน็ สากล (รายละเอียดเพมิ่ เตมิ ตามภาพท่ี 4-1)
2. คุณภาพของขอ้ มูลที่เผยแพร่จะต้องเปน็ เชิงลึก และเปน็ ภาษาที่เคร่อื งสามารถนาไปประมวลผลได้
อย่างไรก็ตาม สามารถปรับปรุงระบบ “ภาษีไปไหน” โดยให้เผยแพร่รายงาน หรือข้อความที่เกี่ยวข้องตาม
ระยะเวลาท่กี าหนด
3. รายงานทางการเงินท้ังหมดท่ีอ้างถึงในแนวทางปฏิบัตินี้ควรเผยแพร่สู่สาธารณะ โดยมีการเข้าถึง
โดยงา่ ย เช่น อินเตอร์เน็ต และภาครัฐควรส่งเสริมความเขา้ ใจเกยี่ วกบั งบประมาณให้กบั ภาคประชาชน
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 46 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
ด้ำนกำรมสี ่วนร่วมของประชำชนและภำคประชำสงั คม
1. สรา้ งความรู้ ความสามารถ ความเข้มแขง็ ขององค์กรภาคประชาสงั คม เพอ่ื กระต้นุ ใหเ้ กดิ การมสี ว่ น
รว่ มต้ังแต่ขนั้ แรกในกระบวนการงบประมาณ และติดตาม ตรวจสอบตามเป้าหมายทีร่ ะบไุ ว้
2. ภาครัฐต้องผลักดันเกี่ยวกับความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ เพื่อเพิ่มความไว้วางใจของ
ประชาชนที่มีต่อรัฐบาล และแก้ปัญหาคอร์รัปช่ัน โดยนาเคร่ืองมือ กลไก แนวทาง และประสบการณ์ของ
ตา่ งประเทศมาประยกุ ตใ์ ช้ให้เหมาะสมกับบรบิ ทของประเทศไทย
3. การสร้างการมสี ่วนร่วมของภาคประชาสังคม ไม่ควรมีเพียงแค่ระดับ “การรับฟัง” แต่ควรให้ภาค
ประชาสงั คมแสดงความคิดเหน็ ผา่ นชอ่ งทางทเ่ี ป็นทางการ แมว้ ่าอานาจการตัดสนิ ใจสดุ ทา้ ยเปน็ ของภาครัฐ แต่
ควรนาข้อเสนอแนะจากภาคประชาสงั คมไปประกอบการพจิ ารณาด้วย
4. ควรจัดทา “รายงานฉบบั ประชาชน” ทกุ ขั้นตอนในกระบวนการงบประมาณ
5. ขยายกลไกระหว่างการดาเนินการด้านงบประมาณไปยังภาคประชาสังคม หรือสมาชิกของกลุ่ม
สังคมท่ีต้องการมีส่วนร่วม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความสาคัญกับชุมชนท่ีอ่อนแอ และมีอานาจต่อรองต่า
โดยตรง หรอื ผา่ นตวั แทน
ดำ้ นกำรสอดสอ่ งดแู ลของรฐั สภำและหนว่ ยตรวจสอบสูงสุด
1. รฐั สภา และสานกั งานการตรวจเงินแผ่นดิน ควรเพ่ิมช่องทางให้ภาคประชาสังคมใหค้ วามเห็นหรือ
รว่ มตรวจสอบในช่วงการดาเนินการของหนว่ ยงาน
2. ควรจัดให้มีสถาบันการคลังอิสระ (PBO/IFIs) ท่ีมีกฎหมายจัดตั้งที่ชัดเจน สามารถเข้าถึงข้อมูลได้
และให้ความเห็นอย่างเปน็ กลาง เพอ่ื ส่งเสรมิ ความโปรง่ ใสทางการคลังและความรบั ผิดชอบในการเพ่มิ บทบาท
การอภิปรายสาธารณะเก่ียวกับนโยบายการคลัง เช่น ประเทศเกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา และแคนาดา มีการ
วเิ คราะห์ความยัง่ ยนื ทางการคลงั ระยะยาว การสนบั สนนุ การดาเนินงานของรัฐสภา การจัดทาตน้ ทุนนโยบาย
นอกจากนี้ ในหลายประเทศมีการเพ่ิมการประมาณการระดับมหภาคด้วย เช่น เนเธอร์แลนด์ และสหราช
อาณาจักร เป็นต้น
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 47 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพิ่มความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
ภาพที่ 4-1 กระบวนการการเปิดเผยขอ้ มูลงบประมาณรายจ่ายประจาปี ตามแ
รายงานตา่ งๆทีเ่ ปิดเผย การวางแผนงบประมาณ จัดทางบประมาณ อ
(แถบสเี หลือง หมายถงึ
ควรจดั ทาเพิ่มเติม รายงานการคลังระยะปานกลาง ราย
แถบสีแดง หมายถงึ รายงานการรับฟังความคดิ เหน็
ควรจัดสง่ IBP ตาม
เวลาที่กาหนด) ม.ี ค. พ.ค. ส.ค ต.ค. ธ.ค. ก.พ. เม.ย. ม
กระบวนการปัจจุบนั ค.. ๕ค. ......
คค .....
-จดั ทาเป้าหมาย -สานกั งบประมาณ
พจิ ารณาคาขอ
-กาหนดกรอบวงเงิน -เปิดรบั ฟงั สาธารณะ
(4 หน่วยงาน)
แนวทำงท่ีควร จดั ทารายงานประเมินความ เปิดรับฟงั
ดำเนินกำรเพิ่มเติม ยงั่ ยืนระยะยาวทช่ี ัดเจน สาธารณะอยา่ ง
หน่วยงานเจา้ ภาพ -จดั ทา MTEF 5 ปที ่ชี ัดเจน เพยี งพอ
-ข้อเสนอเบื้องต้น และเปดิ รับ
ฟงั ความเหน็ สาธารณะ เพ่อื เปิดรบั ฟัง
ทราบความตอ้ งการ ความเห็นจาก
ผู้เชีย่ วชาญ
สงป. และทอ้ งถิ่น
และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง
สงป.
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 48
แนวทาง OECD และ IBP
อนมุ ตั งิ บประมาณ การใชจ้ า่ ยงบประมาณ การตรวจสอบ
ยงานก่อนงบประมาณ รายงานกลางปี (มิ.ย.) รายงานการเงินปีกอ่ น
หน้า
ร่างพระราชบญั ญตั ฯิ และเอกสารสนบั สนุน
รายงานส้ินปี และ
รายงาน“ฉบับประชาชน” รายงานรายเดือน รายงานการตรวจสอบ
มิ.ย. ก.ค. ก.ย. ต.ค. ม.ี ค. ก.ย. ต.ค. มี.ค. ก.ย
...
ฝา่ ยนิติบญั ญัติ หน่วยงานดาเนินงานตาม ติดตาม ประเมนิ ผล
พิจารณา งบประมาณทไี่ ดร้ ับ
ความเห็นจากสถาบัน หนว่ ยงานเปิดเผยแผนการ สตง.เปดิ โอกาสให้
การคลงั อสิ ระ ดาเนนิ งาน ผลการจดั ซ้ือจัดจา้ ง ภาคประชาสังคมร่วม
(PBO/IFIs) ตรวจสอบโครงการสาคญั
-การเปดิ เผยข้อมลู รายรบั รายจ่าย
รัฐสภาเปดิ รับฟงั -ศนู ยร์ ายงานความสญู เสียจากการ สตง.
ความเห็นจากภาค ใช้จา่ ยงบประมาณ
-การตดิ ตราความโปรง่ ใสให้
ประชาสังคม หน่วยงานท่ผี า่ นเกณฑ์
รัฐสภา -บก.
-สตง.
-กพร.
48 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
บรรณำนกุ รม
คณะทางานสง่ เสรมิ ธรรมาภบิ าลของ สานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี. บทควำมเรื่องธรรมำภิบำล. สืบค้น 16
เมษายน 2563 จาก https://www2.soc.go.th
รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 (6 เมษายน 2560). รำชกิจจำนเุ บกษำ, เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก.)
ปยิ วรรณ เงินคลา้ ย. 2562. กำรมสี ว่ นร่วมของประชำชนในกระบวนกำรงบประมำณ. สานกั การพมิ พ์
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร
International Budget Partnership. Open Budget Survey 2019. สบื คน้ 20 มนี าคม 2563 จาก
https://www.internationalbudget.org/open-budget-survey
OECD. 2545. OECD Best Practices for Budget Transparency. สบื ค้น 5 เมษายน 2563 จาก
https://www.oecd.org
OECD. 2560. BUDGET TRANSPARENCY TOOLKIT. สืบค้น 30 มีนาคม 2563 จาก
https://www.oecd.org
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 49 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
ภำคผนวก
ภาคผนวก - 1 OECD Best Practice for budget transparency
ภาคผนวก – 2 OECD Budget Transparency toolkit
ภาคผนวก - 3 แบบสอบถามดัชนีความโปร่งใส (OBI) ที่จดั ทาโดย International Budget Partnership : IBP
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 50 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ ภำคผนวก -1
OECD ได้ให้แนวปฏิบัติท่ีดี (Best Practice) อย่างกว้างๆเก่ียวกับ
ข้ อ มู ล ส า คั ญ ท่ี ค ว ร เ ปิ ด เ ผ ย เ พ่ื อ ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม โ ป ร่ ง ใ ส ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร
งบประมาณ และควรเปดิ เผยทุกช่วงเวลาในกระบวนการงบประมาณ โดยควร
มีเว็บกลางให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลน้ีได้ ข้อมูลควรเป็นลักษณะภาษาเครื่อง
เพ่ือประมวลผลได้ตามต้องการวิเคราะห์ และได้สรุปโครงสร้างและ
รายละเอยี ดต่าง ๆไว้
ประเภท สำระสำคญั
1. รำยงำนต่ำง ๆ
1.1 รายงานกอ่ นงบประมาณ เปิดเผยปัจจัยท่ีกาหนดข้อเสนองบประมาณของผู้บริหาร -
(Pre-Budget Statement) โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายท้ังหมดการคาดการณ์สาหรับรายได้รวมและหน้ี
ที่จะเกิดข้ึนในปีงบประมาณที่จะเกิดขึ้น โดยท่ัวไปจะเป็นข้อมูล
เบอื้ งต้น ไม่ใชข่ ้อมูลทม่ี คี วามละเอียดสูง
ระยะเวลาการเผยแพร่ : ไม่น้อยกว่า 1 เดือนก่อนส่งข้อเสนอ
งบประมาณของผบู้ ริหารต่อฝา่ ยนิติบัญญตั ิเพ่ือพจิ ารณา
1.2 ข้อเสนองบประมาณรวมถึง ข้อเสนองบประมาณหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องควรมีคาอธิบายอย่าง
เอกสารสนับสนนุ อ่ืน (Executive’s ละเอียดเกยี่ วกบั
Budget Proposal (including -รายรับ และรายจ่าย ในปีงบประมาณรวมถึงประมาณการรายได้
supporting documents) และรายจ่ายท่ีจะใช้ในระยะกลาง (อย่างนอ้ ย 2 ปถี ัดไป)
-ควรแสดงวตั ถุประสงคพ์ ร้อมข้อมูลรายจ่าย จาแนกตามหนว่ ยงาน
-ควรมีคาอธิบายเก่ียวกับสินทรัพย์และหน้ีสิน ภาระผูกพันต่าง ๆ
รวมถึงการตั้งสมมุติฐานทางเศรษฐกิจเพื่อเป็นพื้นฐานของรายงาน
ฉบับต่าง ๆต่อไป รวมถึงมีการประมาณการค่าใช้จ่ายภาษี หนี้สินท่ี
อาจเกดิ ขึ้น
ระยะเวลาการเผยแพร่ : ในขณะที่ฝ่ายนิติบัญญัติยังคงพิจารณาอยู่
และก่อนท่ีจะอนุมตั ิ
1 . 3 ก ฎ ห ม า ย ง บ ป ร ะ ม า ณ -งบประมาณควรมีความครอบคลมุ ครอบคลมุ รายได้และรายจ่ายของ
(Enacted Budget) รัฐบาลท้ังหมด รวมถึงสามารถประเมินผลลัพธ์ได้ ควรมีคาอธิบาย
อยา่ งละเอยี ดในแตล่ ะรายการรายรบั และรายจ่าย ประมาณค่าใช้จ่าย
ท่สี ามารถปฏิบตั ิได้
-งบประมาณควรคาดการณ์รายไดแ้ ละค่าใช้จ่ายจะเพ่ิมข้ึนอยา่ งนอ้ ย
สองปถี ัดไป รวมถงึ ผลการดาเนินงานทีผ่ ่านมากับทีค่ าดการณไ์ ว้
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 51 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
ระยะเวลาการเผยแพร่ : ไม่เกิน 3 เดือนหลังจากงบประมาณได้รับ
การอนมุ ตั จิ ากฝา่ ยนิติบัญญัติ
1.4 งบประมาณ “ฉบับประชาชน” เอกสารงบประมาณโดยทั่วไปจะมีข้อมูลจานวนมาก มีความซับซ้อน
ยากต่อการเข้าใจของประชาชน สมาชิกรัฐสภา หรือผู้ปฏิบัติงาน
ดังน้ัน จึงควรจัดทาเอกสารที่เข้าใจง่ายให้ประชาชนเข้าใจ เพื่อเพ่ิม
คุณภาพของการอภิปรายงบประมาณ และเพ่ิมความไว้วางใจรัฐบาล
ของประชาชน
ระยะเวลาการเผยแพร่ : ภายในระยะเวลาเดียวกันกับข้อเสนอ
งบประมาณของผู้บริหาร (ข้อ 1.2) หรืองบประมาณที่ประกาศใช้
ยกตัวอย่างเช่น เผยแพร่ช่วงท่ีรัฐสภาพิจารณาข้อเสนองบประมาณ
(ขอ้ 1.2) กอ่ นที่รัฐสภาจะอนมุ ัติ
1.5 รายงานรายเดอื น รายงานระดับกระทรวงและหน่วยงานทแี่ สดงความคืบหน้าในจัดเก็บ
รายได้ และการใช้จ่ายงบประมาณแต่ละเดือน โดยเปรียบเทียบกับ
การคาดการณ์ในช่วงระยะเวลาเดือนเดียวกันของปีก่อนหน้า หากมี
ความแตกตา่ งอยา่ งมนี ัยสาคญั ควรมคี าอธิบาย นอกจากนี้ ควรมกี าร
ระบผุ ลจากกจิ กรรมทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การก้ยู ืมของรฐั บาลดว้ ย (ข้อ 2.3)
ระยะเวลาการเผยแพร่ : ไม่เกิน 3 เดือนหลังจากรอบระยะเวลา
รายงานสน้ิ สุดลง
1.6 รายงานกลางปี รายงานทแี่ สดงการปรบั ปรงุ การคาดการณ์สมมุติฐานทางเศรษฐกิจท่ี
เป็นพื้นฐานในการจัดทางบประมาณ รวมถึงการคาดการณ์
สถานการณ์ท่ีอาจกระทบต่อการบริหารงบประมาณ ผลการใช้จ่าย
งบประมาณ ผลสาเร็จและผลลัพธ์จากการใช้จ่ายงบประมาณในรอบ
ครง่ึ ปที ีผ่ า่ นมา รวมถงึ ผลจากการเปลยี่ นแปลงสนิ ทรัพย์ หนส้ี ิน ภาระ
ผูกพัน และหนสี้ นิ ที่อาจเกิดขึน้ และมีนัยสาคญั ตอ่ การดาเนนิ นโยบาย
ของรฐั บาล
ระยะเวลาการเผยแพร่ : ไม่เกิน 3 เดือนหลังจากรอบระยะเวลา
รายงานสิน้ สุดลง
1.7 รายงานส้นิ ปี รายงานที่ได้รับการตรวจสอบจากหน่วยตรวจสอบสูงสุด แสดง
สินทรัพย์ หนี้สิน ภาระผูกพัน หนี้สินท่ีอาจเกิดขึ้น รายได้และ
ค่าใช้จ่ายที่ได้รับอนุมัติจากรัฐสภา และรวมถึงผลลัพธ์ที่เกิดข้ึนจริง
เปรียบเทียบกับเป้าหมาย ควรระบุข้อมูลรายได้และค่าใช้จ่ายของปี
ก่อนหน้า สามารถแสดงค่าใช้จ่ายรวม แต่สาหรับ รายได้ Ear-
marked revenue ตอ้ งแยกบัญชอี ยา่ งชัดเจน
ระยะเวลาการเผยแพร่ : จะต้องไม่เกิน 6-12 เดือนหลังจากส้ินปี
บญั ชีงบประมาณ
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 52 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
1.8 รายงานการตรวจสอบ รายงานส้นิ ปคี วรไดร้ บั การตรวจสอบโดยสถาบนั ตรวจสอบสูงสดุ ให้
สอดคลอ้ งกบั แนวทางการตรวจสอบที่ยอมรบั กนั โดยทั่วไป และ ควร
ไดร้ ับการพิจารณาโดยรัฐสภา
ระยะเวลาการเผยแพร่ : ภายใน 18 เดือนหลงั จาก
สน้ิ ปีงบประมาณ
1.6 รายงานก่อนการเลือกตง้ั รายงานท่ีจัดทาขึ้นก่อนการเลือกต้ัง เพ่ืออธิบายสภาพทั่วไปของ
รัฐบาลก่อนการเลือกตั้ง ซ่ึงรายงานนี้จะช่วยให้เกิดการอภิปราย
สาธารณะ การจัดทารายงานน้ีหรือไม่ขึ้นกับกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง
เนือ้ หาของรายงานนี้ควรมขี อ้ มูลเช่นเดยี วกบั รายงานกลางปี
ระยะเวลาการเผยแพร่ : อย่างช้าก่อนการเลือกต้งั 2 สัปดาห์
1.7 รายงานระยะยาว รายงานประเมินความยั่งยืนระยะยาวของนโยบายรัฐบาลปัจจุบัน
ควรประเมินผลกระทบด้านงบประมาณของกลุ่มประชากร
กับการเปลยี่ นแปลง เชน่ ประชากรสูงอายุและการพฒั นาทม่ี ีศักยภาพ
อื่น ๆ ระยะยาว (10-40 ปี) สมมติฐานที่สาคญั ทัง้ หมดท่ีเกี่ยวข้องกับ
การคาดการณท์ ี่มอี ย่ใู นรายงาน
ระยะเวลาการเผยแพร่ : อย่างน้อยทุก ๆ 5 ปีหรือเมื่อมีการ
เปล่ียนแปลงเกิดขึ้นในโปรแกรมรายรับหรือรายจ่ายทส่ี าคัญ
2. กำรเปิดเผยเร่ืองสำคัญเฉพำะด้ำน
2.1 สมมุตฐิ านทางเศรษฐกจิ ควรมีการเปิดเผยสมมติฐานทางเศรษฐกิจที่สาคัญทั้งหมดอย่าง
ชัดเจน รวมถึงการคาดการณ์การเติบโตของ GDP องค์ประกอบของ
การเตบิ โตของ GDP อตั ราการจา้ งงาน และการวา่ งงานบัญชี กระแส
รายวัน เงินเฟ้อ และดอกเบี้ย การเบี่ยงเบนจากการคาดการณ์ของ
สมมติฐานทางเศรษฐกจิ ทส่ี าคัญที่เป็นความเส่ียงทางงบประมาณและ
ความเส่ียงทางการเงนิ ของรฐั บาล
2.2 คา่ ใชจ้ ่ายภาษี (Tax ค่าใช้จ่ายภาษีเป็นค่าใช้จ่ายโดยประมาณต่อรายได้ภาษีของสิทธิ
Expenditure) พิเศษสาหรับกิจกรรมเฉพาะ การประมาณการค่าใช้จ่ายภาษีควร
เปิดเผยเป็นข้อมูลเสริมในงบประมาณ เพื่อให้เกิดการอภิปรายและ
เปน็ ทางเลอื กในการดาเนินงาน
2.3 หนี้สินและสินทรัพย์ทางการ ควรเปดิ เผย (1)สนิ ทรัพย์และหนสี้ ินในรายงานกลางปแี ละรายงานส้ิน
เงิน ปี (2) กิจกรรมการกู้ยมื รายเดือนควรเปิดเผยในรายงานประจาเดอื น
หรือเอกสารที่เก่ียวขอ้ ง (3) การกู้ยืมควรจาแนกตามสกลุ เงินของหน้ี
วันครบกาหนดโดยเปิดเผยอัตราดอกเบี้ยสินทรัพย์ควรจัดประเภท
เช่น เงนิ สด หลกั ทรัพย์และเงินให้สินเชอื่ แก่ผู้อนื่ ควรจะแสดงรายการ
ตามหมวดหมู่ รวมถึง (4) การบริหารตราสารหน้ี เช่น สัญญาซ้ือขาย
ล่วงหน้า (Forward) และสัญญา Swaps นอกจากน้ี ควรรวิเคราะห์
คว าม อ่ อ น ไ ห ว เพื่ อ แ สดง ผลก ร ะ ทบก าร เปล่ี ย น แ ปลง ขอ ง อั ตร า
ดอกเบี้ยและอตั ราแลกเปล่ียนที่จะมผี ลตอ่ ตน้ ทุนทางการเงิน
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 53 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพิ่มความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
2.4 สนิ ทรัพยท์ ไ่ี ม่ใชด่ า้ นการเงนิ -สินทรัพย์ที่ไม่ใช่สถาบันการเงินรวมถึงอสังหารมิ ทรัพย์และอุปกรณ์
ควรเปิดเผย และรับรู้ภายใต้การบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง และมีการ
ประเมินมูลค่าของสินทรัพย์ดังกล่าว และเปิดเผยวิธีการคานวณค่า
เสอ่ื มราคา
-ในกรณที ่ไี ม่ได้มีการใช้เกณฑ์คงค้างเต็มรูปแบบควรมกี ารลงทะเบียน
สินทรัพย์และข้อมูลสรุปจากการลงทะเบียนน้ีไว้ในรายงานกลางปี
และรายงานสน้ิ ปี
2.5 ข้อผูกพันเก่ียวกับบานาญของ -ควรเปิดเผยภาระผูกพันของพนกั งานในรายงานกลางปีและรายงาน
พนักงาน สนิ้ ปี
-ควรเปิดเผย ข้อสมมติหลักในการคานวณตามหลักคณิตศาสตร์
ประกันภัยสาหรับการคานวณเงินบานาญและสินทรัพย์ใดๆของ
พนักงาน ซึ่งควรมีมลู ค่าตามราคาตลาด
2.6 หนีส้ นิ ท่อี าจะเกดิ ข้นึ -หน้ีสินท่ีอาจเกิดขึ้นเป็นหน้ีสินที่มีผลกระทบด้านงบประมาณข้ึนอยู่
กับเหตุการณ์ในอนาคตซ่ึงอาจจะหรืออาจจะไม่เกิดขึ้น เช่น การค้า
ประกนั เงนิ ก้ขู องรัฐบาล, โครงการประกันของรัฐบาล, และกฎหมาย
อา้ งสิทธ์ิตอ่ รัฐบาล ซ่ึงควรเปดิ เผยหนสี้ ินท่ีอาจเกิดขึน้ ท่ีสาคัญทั้งหมด
ในรายงานกลางปีและงบการเงนิ ประจาปี
-หากเป็นไปได้ควรเปิดเผย ควรเป็นมา และจานวนหนี้สินท้ังหมดที่
อาจเกดิ ขนึ้ และจาแนกตามประเภทหลักสาหรับแต่ละหมวดหมู่ กรณี
ทไี่ ม่สามารถคานวณปรมิ าณหน้สี นิ ที่อาจเกดิ ขนึ้ ได้ใหอ้ ธบิ ายไว้
3. ระบบที่ชว่ ยใหเ้ กดิ ควำมสมบูรณ์ กำรควบคมุ และควำมรบั ผดิ ชอบ
3.1 นโยบายบัญชี -สรุปนโยบายการบัญชีที่เกี่ยวข้องที่เป็นพ้ืนฐานในการจัดทาบัญชี
เช่น เกณฑ์เงินสด เกณฑ์เงินคงค้าง ใชแ้ นวปฏิบตั ทิ ย่ี อมรับโดยทว่ั ไป
-ควรใชน้ โยบายการบญั ชีเดยี วกนั สาหรบั รายงานทางการเงนิ ทง้ั หมด
-หากจาเป็นต้องมีการเปล่ียนแปลงนโยบายการบัญชีให้ชี้แจงเหตผุ ล
และควรได้รบั การเปิดเผยอย่างครบถ้วน
3.2 ระบบและความรบั ผิดชอบ -ควรมกี ารควบคมุ ทางการเงินภายใน และการตรวจสอบภายใน เพื่อ
รองรับความถกู ตอ้ งของรายงาน
-รายงานแต่ละฉบับควรกาหนดให้รัฐมนตรีและผู้รับผิดชอบระดับสงู
ของหน่วยงานรับผิดชอบจัดทารายงาน เน่ืองจาก รัฐมนตรียืนยันวา่
การตดั สนิ ใจของรฐั บาลทั้งหมดท่มี ผี ลกระทบทางการเงนิ มี
รวมอยู่ในรายงาน และผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานรับรองว่า
กระทรวงได้ใชว้ จิ ารณญาณอยา่ งมอื อาชีพในการจัดทารายงาน
3.3 การตรวจสอบ -รายงานส้นิ ปีควรได้รบั การตรวจสอบโดยสถาบันตรวจสอบสูงสดุ ให้
สอดคลอ้ งกับแนวทางการตรวจสอบท่ียอมรบั กนั โดยท่วั ไป
-รายงานการตรวจสอบท่ีจัดทาโดยสถาบันตรวจสอบสูงสุดควรได้รบั
การพิจารณาโดยรัฐสภา
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 54 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
3.4 การเปิดเผยสาธารณะและการ -รัฐสภาควรมโี อกาสและทรัพยากรท่ีจะตรวจสอบรายงานทางการเงิน
พจิ ารณาของรัฐสภา ใด ๆ ทเ่ี หน็ วา่ จาเป็นสาหรบั การตรวจสอบอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
-รายงานทางการเงนิ ทั้งหมดท่ีอ้างถึงในแนวทางปฏบิ ัติน้ีควรเผยแพร่
สสู่ าธารณะ โดยมกี ารเข้าถงึ โดยง่าย เช่น อนิ เตอร์เนต็
-ภาครัฐควรส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับงบประมาณให้กับภาค
ประชาชน
หมายเหตุ อา้ งองิ ตามแนวทางของ Open Budget Survey 2019 Methodology ของInternational Budget
Partnership และ OECD Best Practices for Budget Transparency ของ OECD.
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 55 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ ภำคผนวก – 2
OECD ไดก้ าหนดโครงสร้างทส่ี าคัญทจ่ี ะทาใหเ้ กิดความ
โปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ ประกอบดว้ ย
(1) ข้อมูลงบประมาณทชี่ ัดเจนจากรฐั บาล
(2) การจดั การของรัฐสภา หรือการตรากฎหมาย
(3) สถาบนั อสิ ระทต่ี รวจสอบ
(4) พลเมอื งและภาคประชาชน
(5) ภาคเอกชน
(1) ขอ้ มูลงบประมำณท่ชี ัดเจนจำกรฐั บำล
แบ่งเปน็ 2 ประเดน็ ประกอบดว้ ย
A – การใหข้ อ้ มลู ทเ่ี กีย่ วข้องกบั งบประมาณทเี่ ปน็ ประโยชนร์ ะหว่างปงี บประมาณ
จะเปน็ การใหข้ ้อมลู ที่เปน็ ประโยชน์ เพือ่ ทีจ่ ะพิจารณาและตดั สินใจ รายงานแต่ละฉบับควรเปิดเผยและเขา้ ถึง
ผ่านชอ่ งทางออนไลน์ หวั ข้อท่เี ปดิ เผยควรระบุถงึ ข้อผูกมัดและรายละเอียดอย่างเพยี งพอ
B - ขอ้ มูลท่ถี ูกต้องทางการเงิน และที่เกย่ี วขอ้ งกับงบประมาณ
A กำรให้ขอ้ มลู ทีเ่ กีย่ วข้องกบั งบประมำณทเ่ี ป็นประโยชน์ระหวำ่ งปงี บประมำณ
ข้อมูลทเ่ี ปน็ ทำงกำรจะให้ประโยชน์เกีย่ วกับกำรปฏบิ ตั ิงำนของรฐั บำล ซง่ึ จะเพ่มิ ระดบั กำรตรวจสอบ
และกำรตดั สนิ ใจภำยใต้วงจรงบประมำณ รำยงำนตำ่ งๆนีค้ วรเปดิ เผยและใชเ้ ทคโนโลยีในกำรเขำ้ ถึง
เพอื่ เปดิ กวำ้ งใหเ้ กดิ กำรมีส่วนร่วมของประชำชน
A.1 The pre-budget statement
การรวบรวมกลยทุ ธ์โดยการศึกษาภาพรวมเศรษฐกจิ และกาหนดแผนการจัดทางบประมาณ
ปีที่กาลงั จะมาถึง เพ่ือให้เกดิ การตระหนักและการพจิ ารณางบประมาณในภาพรวม รวมถงึ
การวางแผนการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณจรงิ
แนวทาง
(1) การจดั ทาร่างรายงานงบประมาณ (pre-budget report) ควรจดั ทาก่อนอย่างนอ้ ย 1
เดอื นก่อนเสนอข้อเสนองบประมาณของผบู้ รหิ าร
(2) ระบนุ โยบายการคลังอย่างกว้างๆ รวมถึง สมมตุ ิฐานเศรษฐศาสตร์มหภาค การ
คาดการณ์รายได้ คา่ ใชจ้ ่าย ดุลการคลัง และหนส้ี าธารณะ
ตวั อยา่ ง ประเทศฝรง่ั เศสมีการเสนอรายงานน้ี กอ่ นการพิจารณากฎหมายงบประมาณ
A.2 budget proposal (or draft budget)
รายงานที่ระบุแผนการใช้จา่ ยงบประมาณปนี ัน้ เพอ่ื สง่ ใหร้ ัฐสภาพิจารณา ซ่ึงเอกสารนจ้ี ะตอ้ ง
มคี วามชัดเจน เขา้ ถึงได้ทั้งระดบั สมาชิกรฐั สภา และสาธารณะ
แนวทาง
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 56 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
(1) ส่งให้รัฐสภามีเวลาเพียงพอพจิ ารณา (เพิม่ เติม C.3)
(2) แสดงวัตถปุ ระสงคข์ องนโยบายการคลงั จัดลาดับความสาคญั ของรายจ่ายและรายรับใน
ปที จ่ี ะมาถึง ครอบคลุมระยะเวลา 3-5 ปี และการประมาณการรายรบั รายจา่ ยท่ีเปน็
มาตรฐานสากล
(3) อธิบายถึงตน้ ทุน และการวดั ผลกระทบของนโยบายใหม่ (เพิม่ เติม J.2)
ตัวอย่าง ประเทศไอซแ์ ลนดม์ ีข้อกาหนดให้ส่งกอ่ นอย่างนอ้ ย 3 เดือน และประเทศตูนิเซียมี
กฎหมายว่างบประมาณจะต้องมรี ายละเอยี ดการคาดการณ์ทางการเงนิ การใชง้ บประมาณ
อยา่ งเหมาะสม รวมถึงนโยบายภาษใี หม่ และการเชอ่ื มโยงการคาดการณก์ ารพฒั นา
เศรษฐกจิ และสังคมกับงบประมาณ
A.3 The approved budget
งบประมาณทร่ี ฐั สภารบั รองจะต้องระบุจุดเน้นที่สาคญั เช่น การเพิ่มขน้ึ ของรายไดแ้ ละการ
จัดสรร การบญั ชสี าหรบั กองทุนสาธารณะ
แนวทาง
(1) ประกาศทันทีเมอื่ ไดร้ บั อนุมัตจิ ากฝ่ายนิตบิ ญั ญัติ และมีผลทางกฎหมายกอ่ นเร่ิม
ปีงบประมาณ
(2) มรี ายละเอยี ดระดับเดียวกบั ขอ้ เสนองบประมาณ (budget proposal) เพอื่ ทจ่ี ะระบุ
ความแตกต่างท่มี นี ยั สาคญั ได้
ตัวอยา่ ง ประเทศองั กฤษ งบประมาณทเ่ี สนอจากฝ่ายบรหิ ารจะมีการถกเถียงและหาขอ้ สรปุ
เพ่ือทจี่ ะรวมข้อเสนอไว้ในรา่ งกฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
A.4 The supplementary budget
การแก้ไขงบประมาณที่เหน็ วา่ ควรให้เพิ่มเตมิ หรือเปล่ยี นการจัดสรรในรายการทไ่ี มไ่ ด้
คาดการณไ์ ว้ในการตัง้ งบประมาณตง้ั แตเ่ ริ่มตน้
แนวทาง
(1) รวมคาอธบิ ายพ้ืนฐานเกี่ยวกบั การเพิ่มเตมิ งบประมาณ และควรดาเนินการเวลาเดียวกับ
การพิจารณางบประมาณ
(2) ระบุผลกระทบของนโยบายการคลงั (ถ้ามี)
ตวั อยา่ ง ประเทศสวีเดนรัฐบาลจะสามารถพิจารณาเพม่ิ งบประมาณในรายการท่ไี ม่ไดจ้ ัดสรร
ไว้โดยการลดงบประมาณของหน่วยรบั งบประมาณอกี แหง่ หนึ่ง ซึง่ การกระทาลกั ษณะน้ีจะ
ทากับการเปลีย่ นแปลงท่ีเล็กนอ้ ย ไมใ่ ชจ่ ัดทานโยบายใหม่
A.5 Pre-execution budget profiles or cash-flow forecasts
การแสดงรายละเอียดรายได้ ค่าใช้จา่ ยตามระยะเวลาตลอดช่วงปีงบประมาณ ให้ขอ้ มูลท่ีจะ
เป็นจุดตรวจสอบ (Benchmark) ตลอดปี เตรียมจดั ทาการคาดการณก์ ระแสเงินสด
แนวทาง
(1) ตพี ิมพก์ ่อนเรม่ิ ตน้ ปงี บประมาณ
(2) ระบุความเส่ียงของการใช้จ่ายเกนิ /ตา่ กวา่ งบประมาณ
ตวั อย่าง ประเทศไอร์แลนด์ จะรายงานรายไดแ้ ละรายจ่ายที่คาดการณ์ เพื่อเปน็ ประโยชน์
สาหรับการตรวจสอบสาธารณะ
A.6 In-year budget execution reports
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 57 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
การให้ภาพรวมของการใช้จา่ ยงบประมาณระหว่างปีงบประมาณ เพอื่ สง่ สญั ญานใหร้ ฐั บาล
หรอื สาธารณะ แก้ไขในสง่ิ ทีจ่ าเปน็ ต้องดาเนินการ
แนวทาง
(1) จดั ทารายไตรมาส หรือรายเดอื น (ถ้าเปน็ ไปได้) หรอื ทนั ทหี ลังจากสน้ิ สดุ ระยะเวลา
(2) ให้คาอธบิ ายส้นั ๆเพื่อชว่ ยให้เข้าใจรายงาน
ตวั อยา่ ง สหรฐั อเมริกา มีการรายงานข้อผกู พันของหนว่ ยงานรายเดอื น มี 2 รายงาน คือ
รายละเอียดของหนว่ ยงาน กบั รายงานของคณะกรรมาธิการ ในรายงานจะบอกถึงงานของ
เดือนก่อนหนา้ และผลงานสะสม
A.7 The mid-year implementation report
การวิเคราะห์ผลกระทบของการดาเนนิ งานครง่ึ ปีงบประมาณซงึ่ จะใช้ข้อมูลน้สี าหรับการ
กากับดูแล นอกจากน้ียังใชข้ อ้ มลู สาหรบั การพจิ ารณางบประมาณในปีตอ่ ไป
แนวทาง
(1) เผยแพรภ่ ายใน 6 สัปดาหห์ ลงั จากคร่งึ ปี
(2) ปรบั ปรงุ การคาดการณ์ผลลัพธส์ าหรบั ปีงบประมาณ
(3) รายงานผลกระทบท่ีคาดหวงั จากงบประมาณ และปรบั สมมุติฐานทางเศรษฐศาสตร์ และ
การตดั สินใจนโยบายของรัฐบาลท่ีอาจเกิดข้นึ ในช่วงคร่งึ ปแี รก
ตัวอยา่ ง ศรีลงั การายงานการปฏิบตั ิครง่ึ ปถี กู กาหนดไว้ในกฎหมายทางการคลัง โดยรายงาน
จะถูกส่งใหร้ ฐั สภาภายใน 2 สปั ดาหน์ บั จากวันท่อี อกรายงาน ในรายงานจะประกอบด้วยผล
การดาเนินงานด้านรายได้ ค่าใชจ้ ่าย กระแสเงินสด และการกู้ยืมสาหรบั 4 เดอื นแรกของ
ปีงบประมาณ นอกจากน้ี รายงานจะปรับปรุงข้อมลู ท่เี กี่ยวกับเศรษฐศาสตร์มหภาค หนี้ของ
รัฐบาล และดลุ การจ่ายเงนิ
A.8 Year-end reporting
เป็นเร่อื งจาเป็นสาหรับการตรวจสอบ โดยตอ้ งรายงานการใชจ้ ่ายจรงิ ในระหว่าง
ปีงบประมาณ เพอ่ื ทีจ่ ะแสดงสถานการณ์ทางบญั ชีของรฐั บาล ณ วนั ส้นิ ปีงบประมาณ (งบ
การเงิน) โดยปกตริ ายงานเหลา่ น้ีจะถูกสง่ ไปให้หน่วยตรวจสอบสงู สุด (เพิม่ เติม F.2)
แนวทาง
(1) เผยแพรภ่ ายใน 6 เดือนนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ
(2) นาเสนอรูปแบบเดยี วกบั ทีง่ บประมาณได้รับอนมุ ตั ิ
(3) ควรนาเสนองบการเงนิ ตามเกณฑค์ งค้าง
ตัวอย่าง อังกฤษ รายงานสน้ิ ปรี ัฐบาลจะให้รายละเอียดเก่ียวกบั การประเมินการใช้จ่ายแตล่ ะ
กระทรวง รวมถงึ การวัดการใช้จา่ ยของปที ่ีผ่านๆมาในรปู แบบแนวโนม้ ผลิตภาพ และคุณค่า
A.9 The long-term report
เป็นการวัดความยั่งยนื ของการคลังสาธารณะ และนโยบายของรฐั บาลในระยะยาว รายงาน
จะให้ข้อมลู เกีย่ วกับการประเมินการคลงั ระยะยาว โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การเปลี่ยนแปลงปจั จยั
ตา่ ง ๆ เช่น การใช้น้ามนั ก๊าซธรรมชาติ เหมอื งแร่ นอกจากนี้ยงั ให้ข้อมลู เกีย่ วกับความเทา่
เทียม เช่น การเบิกจา่ ยภาษี
แนวทาง
(1) คาดการณ์อย่างน้อย 3-5 ปี
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 58 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
(2) การใช้ตวั ช้ีวัดระดับสากลเพ่อื การเท่ียบเคียงระยะยาว
(3) ควรเสนอแนะระยะสั้น (2-5 ปี) และขอ้ ความทกี่ ล่าวถงึ นโยบายระยะยาวด้วย
ตัวอย่าง การประมาณการจะประมาณการปีปจั จุบัน และเพ่ิมอกี 3 ปีข้างหน้า โดยปกติไม่
เกนิ 5 ปี
A.10 Reporting on fiscal risk
เป็นการให้ข้อมูลการวดั ชว่ งและระดบั ของปัจจัยที่มผี ลตอ่ การคลงั สาธารณะ ซ่งึ ควรจะรวม
รางานภาวะเศรษฐกิจประจาปี และรายงานทางการคลงั ไวด้ ้วยกนั
แนวทาง
(1) เอกสารต่าง ๆประกอบด้วย รา่ งกลยทุ ธ์ของรัฐบาลในการจัดการและลดความเสยี่ งที่
แตกตา่ งกนั ระบุความเส่ยี งทางการเงนิ ในขอบเขตทเี่ ปน็ ไปได้
(2) รายงานประจาปที ่ีครอบคลุมความเสีย่ งทางการเงนิ
ตวั อย่าง ประเทศฟิลิปปนิ ส์เผยแพร่แถลงการณค์ วามเสีย่ งทางการคลังในปีงบประมาณ เช่น
ความเส่ยี งทางการคลงั ทเ่ี กิดจากการผิดนัดชาระหนี้ ภาระผูกพัน การลงทนุ ร่วมภาคเอกชน
และภยั ธรรมชาติ
B ขอ้ มูลทำงกำรเงินท่ีเก่ยี วข้องกบั งบประมำณ
คุณภาพและความครอบคลมุ ของขอ้ มลู ที่มปี ระโยชนป์ ระกอบดว้ ยเอกสารท่เี กี่ยวกบั ความโปร่งใส ความ
รับผดิ ชอบ และธรรมาภิบาล และให้ข้อมลู ท่เี พยี งพอตอ่ การตัดสนิ ใจงบประมาณ
B.1 Institutional coverage
การอนุมัตริ ายจ่ายประจาปีโดยรัฐสภามขี อ้ มูลที่จากดั เช่น หนว่ ยงานของรัฐบาลกลาง
รัฐบาลท้องถนิ่ คณะกรรมการชดุ พเิ ศษ หนว่ ยงาน เอกสารรายงานส้ินปี (เพมิ่ เตมิ A.8)
ดงั นน้ั รฐั บาลอาจตอ้ งหารายงานทางการเงนิ และผลการดาเนินการของรัฐบาลกลาง รฐั บาล
ทอ้ งถิ่น หน่วยงานสาธารณะท่อี ยู่ในเอกสารงบประมาณทงั้ หมด ทัง้ น้ี ความครอบคลมุ จะให้
ภาพทถ่ี ูกตอ้ ง สมบรู ณเ์ ก่ียวกบั ฐานะการคลังและการวิเคราะห์
แนวทาง
(1) รฐั บาลกลางตอ้ งมีมุมมองทด่ี ี มขี อ้ มูลที่เปน็ ประโยชนก์ ับหนว่ ยงานบริหาร และกองทนุ
พิเศษ
(2) รฐั บาลระดบั รอง ต้องใหข้ อ้ มูลท่ีครอบคลุม่ มากข้ึน รวมถึงคา่ สถติ ิต่าง ๆในระดับสากล
(3) หน่วยงานสาธารณะ (รัฐบาลกลาง และรฐั บาลระดบั รอง ตอ้ งระบุถงึ ความซบั ซ้อนทจี่ ะ
นาไปสู่การปฏบิ ตั ิ เพราะจะมีประโยชน์ตอ่ การติดตาม ตรวจสอบภาระผกู พนั ความเสยี่ ง
ตวั อย่าง ประเทศในสหภาพยโุ รป จะมีสนธิสญั ญาเพอื่ รกั ษาการเติบโตอยา่ งยั่งยืน โดยใช้
แนวทางท่ีแตกต่างกนั ออกไป ซ่งึ อาจจะใชเ้ ปรยี บเทียบการขาดดุลและหนสี้ าธารณะท่ี
แตกตา่ งกัน
B.2 quality, reliability and comparability
ขอ้ มลู เหลา่ นม้ี ีความสาคญั มาก เพราะเปน็ ปจั จยั ท่ีสนบั สนุนการตดั สินใจ การพจิ ารณา และ
ความรบั ผดิ ชอบ ดงั นนั้ การสรา้ งมาตรฐานด้านกระบวนการทาข้อมลู จึงเปน็ เรอ่ื งจาเปน็
แนวทาง
(1) การใช้นโยบายบัญชีทมี่ คี วามสมา่ เสมอกับเอกสารทกุ ชนดิ และ อธบิ ายความ
เปล่ยี นแปลง
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 59 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
(2) รปู แบบการจัดทารายงานแตล่ ะปตี อ้ งมีความสม่าเสมอ
(3) ใชม้ าตรฐานสากลกับสถติ ิทางการเงนิ และการคลัง
(4) อย่ภู ายใต้การควบคมุ ภายใน (เพมิ่ เติม E) และการตรวจสอบอิสระ (F)
ตัวอย่าง ออสเตรเลีย รัฐบาลจัดทารายงานผลลัพธ์จากการใช้จ่ายงบประมาณภายใน 3
เดอื นหลังจากส้ินปี โดยการใช้เกณฑเ์ ดียวกับการจัดทางบประมาณ และรายงานกลางปี โดย
ใชม้ าตรฐานทเี่ ป็นสากล
B.3 Comprehensiveness of information
แสดงขอ้ มูลทั้งหมดท่เี กยี่ วข้องกบั การติดสินใจ และความรับผดิ ชอบโดยใชม้ าตฐานสากล
และแนวทางทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับเร่อื งน้ี
แนวทาง
(1) แสดงสมมตุ ฐิ านทางเศรษฐกิจทส่ี าคญั และการวเิ คราะหค์ วามออ่ นไหว
(2) บญั ชที เ่ี กี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายและรายได้ รวมถึงงบประมาณเพ่ิมเตมิ
(3) รวบรวมรายการคา่ ใช้จา่ ยภาษี (tax expenditure
(4) แสดงรายการสนิ ทรัพย์ และหนี้สินในงบการเงิน โดยไม่รวมรายการท่ไี มใ่ ชก่ ารเงิน
(5) นาเสนอมมุ มองระยะปานกลาง (3-5 ป)ี และการคาดการณว์ างแผนงบประมาณ
ตวั อยา่ ง ฟนิ แลนด์ เอกสารงบประมาณเปิดเผยการคาดการณเ์ ศรษฐกิจมหภาค และจลุ ภาค
การสารวจทางเศรษฐกิจภายใตส้ มมุตฐิ านท่ีคาดการณไ์ ว้
B.4 Policy relevance of budget information
เอกสารงบประมาณควรมคี วามชัดเจน โปร่งใส แสดงใหเ้ ห็นถงึ การจดั สรรงบประมาณ และ
การจัดลาดบั ความสาคัญของนโยบาย ขอ้ มูลดังกล่าวจะมีประโยชน์กบั สมาชกิ รฐั สภา และ
ประชาชนที่จะเลอื กแนวทางการใช้งบประมาณ
แนวทาง
(1) จัดทาข้อมูลทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ประสิทธิภาพ เช่น ผลลัพธ์ เป้าหมาย
(2) ใชร้ ปู แบบการรายงานการปฏบิ ตั ิงานที่เปน็ มาตรฐานกับทุก ๆนโยบายท่ีแตกต่างกัน
(3) แสดงให้เหน็ ถึงความเช่ือมโยงของกลยุทธ์ในระดบั สูงข้ึน และเป้าหมายของรฐั บาล
(4) แสดงผลกระทบของการตัดสินใจท่ีเกิดกับกลมุ่ คนท่ีแตกต่างการ (เพมิ่ เติม J.2)
ตวั อยา่ ง ออสเตรยี แตล่ ะแผนงานจะกาหนดเปา้ หมายไว้ ซึ่งอย่างน้อยจะเกยี่ วขอ้ งกับเพศ
(2) กำรจัดกำรของรฐั สภำ หรือกำรตรำกฎหมำย
C กำรพิจำรณำ และตรวจสอบของรัฐสภำ
รฐั สภาควรมีโอกาสและทรัพยากรในการตรวจสอบรายงานทางการเงนิ ที่จาเป็นอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
รฐั สภามบี ทบาทอย่างเป็นทางการทจ่ี ะตรวจสอบและอนุมัตขิ ้อเสนองบประมาณจากฝ่ายบรหิ าร และถือ
เป็นผบู้ ริหารในนามของประชาชน
C.1 Parliamentary committees
คณะกรรมาธกิ ารสาหรับการตรวจสอบเชงิ ลกึ โดยใช้ความรู้เฉพาะด้านเพ่ือทีจ่ ะระบคุ วาม
รับผิดชอบใหก้ ารบริหารงานของรัฐบาลและหนว่ ยงานช่วงแต่ละปีงบประมาณ นอกจากน้ียงั
นาข้อมูลจากประชาชน กลุ่มสังคม หรือผเู้ ชี่ยวชาญที่จะมาอภปิ รายปัญหาเกี่ยวกบั
งบประมาณ
แนวทาง
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 60 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
(1) แต่งต้งั คณะกรรมาธิการเฉพาะด้านสาหรบั พจิ ารณาแต่ละเรอ่ื งสาหรับพิจารณาข้อเสนอ
งบประมาณ
(2) ให้มีวิธกี ารทางานทเ่ี ชอ่ื มโยงและต่อเนื่องระหวา่ งคณะกรรมาธิการชุดตา่ งๆ
(3) โครงสรา้ งการพจิ ารณาตอ้ งมีปัจจยั นาเข้าท่โี ปร่งใสจากประชาชนและภาคประชาสงั คม
ตัวอยา่ ง เยอรมันนี มีคณะกรรมการทเี่ ข้มแข็งสาหรับตรวจสอบและหารือกับหน่วยงานแต่
ละกระทรวงในการใหข้ ้อเสนอการจัดสรรการใช้จ่าย ซ่ึงคณะกรรมการชดุ น้ีจะอยู่ตลอดอายุ
การเลือกตง้ั
C.2 Ex ante parliamentary engagement
การมีสว่ นรว่ มของรัฐสภาก่อนทจี่ ะมกี ารเสนอข้อเสนองบประมาณ ซ่ึงจะทาใหส้ ะท้อนความ
คดิ เห็นและลาดับความสาคญั จากฝ่ายนิตบิ ญั ญัติ (จาก A.2)
แนวทาง
(1) ไดร้ ับ pre-budget statement (A.1) จากรัฐบาลทเี่ กี่ยวกับนโยบายการคลังและความ
เป็นไปไดข้ องตัวเลือกงบประมาณ
(2) พิจารณาขอ้ เท็จจริงและขอ้ จากัดทางการคลังในภาพรวม
(3) เปิดโอกาสให้มีกลไกการรับฟงั จากสาธารณะ เช่น การประชาพิจารณ์
(4) สรุปผล จดั ลาดบั ความสาคญั ของนโยบายที่ชัดเจนสง่ ใหก้ ับฝา่ ยบริหาร
ตัวอย่าง สวีเดน กระบวนการงบประมาณแตล่ ะปี ถกู แบง่ ออกเป็น 2 ชว่ ง คือ ขว่ งแรก (ฤดู
ใบไม้ผล)ิ จะรวบรวมนโยบายการคลงั อย่างกว้างๆ และชว่ งที่ 2 (ฤดูใบไม้รว่ ง) จดั สรร
งบประมาณท่ีมีความเฉพาะเจาะจงในปีข้างหน้า การอภิปรายในช่วงใบไม้ผลิของรัฐสภาจะ
โตเ้ ถียงในนโยบายการคลงั อยา่ งกว้างๆ และลงมติในฤดูใบไมผ้ ลินคี้ รั้งเดยี ว
C.3 Parliamentary approval of the budget
บทบาทพื้นฐานของรฐั สภาในระบบประชาธปิ ไตยทต่ี ้องรับผิดชอบ กากับ ดูแล อนุมตั ิ
กฎหมายงบประมาณซงึ่ ทาให้เกิดความชอบธรรมในการจดั เกบ็ ภาษีและการใชเ้ งิน
งบประมาณ
แนวทาง
(1) การอภปิ รายของรฐั สภาเกยี่ วกบั ขอ้ เสนองบประมาณ
(2) มีเวลาเพยี งพอท่จี ะพิจารณา (ประมาณ 3 เดอื น) โดยตอ้ งให้ความสาคัญกับคุณภาพและ
การตรวจสอบเชิงลกึ
(3) พิจารณาว่าฝ่ายบรหิ ารตอบสนองต่อการจดั ลาดับความสาคัญของนโยบายและการ
พจิ ารณาขอ้ เสนอเบือ้ งตน้ ของรฐั สภา ex ante parliamentary engagement phase จาก
ขอ้ C.2 อยา่ งไร (ถ้าทาได้)
(4) เกดิ ขึ้นก่อนเริม่ ปงี บประมาณ
ตัวอยา่ ง เดนมาร์ก กฎหมายการเงินสาหรับปงี บประมาณถดั ไปต้องสง่ ใหร้ ัฐสภาไม่น้อยกวา่
4 เดือนกอ่ นเร่ิมปีงบประมาณ
C.4 Parliamentary scrutiny of budget execution and outturn
สร้างความม่นั ใจว่ากองทนุ สาธารณะได้ถกู ใชไ้ ปตามวัตถปุ ระสงค์ และนโยบายทีก่ าหนด โดย
การติดตามการใชจ้ า่ ยงบประมาณจะช่วยลดการคอร์รัปชัน่ ใชไ้ ปในทางท่ีผดิ หรือ สูญเปล่า
แนวทาง
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 61 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
(1) ทารายงานระหวา่ งปี และกลางปี (A.6-A.7)
(2) ต้องได้รบั การอนมุ ัติจากรฐั สภาก่อนการจดั สรรงบประมาณ
(3) ตรวจสอบรายงานการตรวจสอบภายในอก (F.2) และรายงานอ่ืนๆทจ่ี ัดทาโดยหนว่ ย
ตรวจสอบสูงสุด และเผยแพรก่ ารดาเนินการ
ตวั อย่าง ออสเตรีย รัฐสภาวัดผลการดาเนนิ การ ผลผลิต และผลลัพธต์ ามรายงานของรฐั บาล
เพ่ือสะท้อนข้อมูล
D. กำรสนับสนนุ ศกั ยภำพของรฐั สภำ
การพจิ ารณาท่ีมีประสิทธิภาพ รัฐสภาจาเป็นต้องมีเครอ่ื งมือทเ่ี ปน็ มืออาชีพทีจ่ ะวเิ คราะห์ประเด็นทาง
การเงนิ และนโยบายทเี่ กย่ี วขอ้ งในช่วงวงจรงบประมาณ
D.1 Specialist analytical and research resources
หนว่ ยงานภายในรัฐสภาสามารถจัดการขอ้ มูลด้านงบประมาณท่ีมคี วามซับซอ้ นและ
รายละเอยี ดสูง ซึง่ ต้องใช้การสนบั สนุนจากผู้เช่ยี วชาญ
แนวทาง
(1) จดั ทารายงานการวิเคราะหง์ บประมาณโดยใช้เทคนิค ความเชยี่ วชาญ และเป็นกลาง
(2) มีการเขา้ ถงึ ขอ้ มูลทางการเงินและงบประมาณท่ีเกี่ยวข้องอยา่ งเต็มที่และทนั เวลา
(3) เพ่มิ ขดี ความสามารถของผเู้ ชยี่ วชาญโดยการจัดต้ังสานักงบประมาณของรฐั สภา (G.1)
ตวั อย่าง อังกฤษไดจ้ ัดต้ังหน่วยงานภายในข้นึ มาเพ่ือสนบั สนนุ การพิจารณาและเพม่ิ ความ
โปร่งใส เชน่ หน่วยงานลกั ษณะนใี้ นรัฐสภาในสก็อรตช่วยให้การพิจารณาเป็นไปอยา่ งมี
ประสิทธิภาพ นอกจากนีย้ งั มเี ทคนคิ เชิงลึกในการวิเคราะหง์ บประมาณ และทางานใหก้ าร
วเิ คราะหง์ บประมาณง่ายข้ึน
PBO ไดก้ อ่ ตง้ั ขึน้ ในหลายประเทศทัว่ โลก รวมถึง ออสเตรเลีย ออสเตรยี แคนาดา อติ าลี
เกาหลี และสหรฐั อเมรกิ า
D.2 Continuing Professional Development (CPD) of parliamentarians
งานวเิ คราะหง์ บประมาณ ตรวจสอบการใช้จา่ ย เปน็ งานทม่ี คี วามซบั ซ้อน ซง่ึ อาจเกิดปญั หา
กับสมาชกิ รัฐสภา และเจ้าหนา้ ทขี่ องหน่วยงานในการทาความเข้าใจ ดงั น้นั จงึ ตอ้ งได้รับการ
เพิ่มทักษะเพ่อื ให้สามารถจัดการเอกสารงบประมาณไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
แนวทาง
(1) ฝกึ อบรมสมาชิกรฐั สภา และกรรมาธกิ ารต่าง ๆ
(2) เน้อื หาการฝกึ อบรมครอบคลุมมุมมองของการพจิ ารณาและอนมุ ตั ใิ นมุมมองของทงั้ ใน
ประเทศและตา่ งประเทศ
ตัวอยา่ ง สหรฐั อเมริกา การฝึกอบรมโดยจัดโปรแกรมอย่างเขม้ ขน้ ในหวั ข้อนโยบาย
สาธารณะ เชน่ นโยบายดา้ นการต่างประเทศ สาธารณสขุ และการใช้จา่ ยภาครัฐ
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 62 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
(3) กำรสอดส่องดูแลของสภำบนั อสิ ระและกำรควบคมุ
สถาบันการตรวจสอบสูงสดุ ควรมีความเปน็ อสิ ระตามกฎหมายจากผบู้ ริหาร มอี านาจการเขา้ ถึงข้อมูลและ
ทรพั ยากรท่เี หมาะสมในการตรวจสอบและรายงานต่อสาธารณะเกี่ยวกับการเพิม่ ข้นึ และภาระผกู พันของ
กองทุนสาธารณะ
E กำรดแู ลสอดสอ่ งอยำ่ งอสิ ระและกำรควบคมุ
E.1 Standards and Procedures for Managing Public Money
หนว่ ยงานทางการคลังท่ีอิสระหรือตามโครงสร้างจะชว่ ยสร้างความนา่ เชือ่ ถือ รวมถงึ การ
กาหนดวัตถปุ ระสงค์ของการคาดการทางเศรษฐกิจ กฎทางการคลงั ความย่ังยืน และความ
เส่ียงได้ การมมี าตรฐานท่ีชดั เจนจะรักษาความซอื่ สตั ยแ์ ละรกั ษาความไวว้ างใจกบั ประชาชน
ได้
แนวทาง
(1) หน่วยงานสาธารณะทุกระดับจะต้องระบหุ นา้ ทแ่ี ละขนั้ ตอนท่ชี ัดเจนต่าง ๆของการใช้
จ่ายงบประมาณ การจัดเกบ็ รายได้ การควบคุมบัญชี
(2) ตอ้ งมีการตรวจสอบภายใน (E.2) และการตรวจสอบจากภายนอก (F)
(3) มีการเปดิ เผยต่อสาธารณะชน
ตวั อย่าง ไอร์แลนด์ มคี ่มู ือและขน้ั ตอนการใชจ้ ่ายและการควบคุมการใชจ้ ่ายงบประมาณ
เปน็ จุดอา้ งองิ สาหรับสถาบันตรวจสอบสูงสุด
E.2 Internal audit procedures
ระบบทป่ี ้องกันการฉอ้ โกงหรอื สูญเปลา่ จากการใช้งบประมาณในทางท่ีผดิ ผู้ตรวจสอบ
ภายในจะมบี ทบาทสาคญั ใหอ้ งคก์ รมปี ระสทิ ธิภาพ
แนวทาง
(1) ทางานอยา่ งอิสระภายใต้มาตรฐาน
(2) ดาเนินการตรวจสอบกระบวนการทางการเงิน
(3) อาจจะสามารถส่อื สารผลการตรวจสอบไปยงั บคุ คลทเี่ ก่ียวข้องหรอื ผสู้ อบบัญชีภายนอก
ตวั อยา่ ง องั กฤษ นโยบายของทุกหน่วยงานจะหวั หนา้ ดา้ นการเงนิ รับผดิ ชอบภายใน
หนว่ ยงาน ซงึ่ จะตอ้ งยึดถือ ควบคมุ การดาเนินกิจกรรมให้เป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
F กำรสนับสนุนของหน่วยตรวจสอบสูงสดุ (SAIs)
โดยทาหน้าท่ีอิสระ ตรวจสอบรายงานการเงินการใชจ้ ่ายของรัฐบาลตามกฎหมายและระเบียบท่ีเกีย่ วขอ้ ง
และประเมินประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลของนโยบายสาธารณะ
F.1 Core principles of Supreme Audit Institution (SAI)
หลักการสากลท่ีถกู กาหนดไว้ตามมาตรฐานสากลจะทาให้การตรวจสอบเปน็ ไปอย่างมี
มาตรฐาน
แนวทาง
(1) ได้รับความม่นั ใจว่าจะมที รัพยากรดา้ นการเงินและทรัพยากรบุคคลเพียงพอทจ่ี ะทางาน
ไมม่ ีขอ้ จากดั เกยี่ วกบั การเข้าถงึ ขอ้ มูล
(2) ทาตามขั้นตอนคูม่ อื ท่ีเปน็ มาตรฐานการตรวจสอบ และเป็นไปตามจริยธรรม
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 63 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
(3) สามารถใหข้ อ้ มูลข้อค้นพบท่ีเกี่ยวข้อง ทันเวลากบั ผู้เก่ียวข้อง เช่น รัฐสภา ส่ือสารมวลชน
ภาคประชาสังคม
(4) ยกระดบั การค้นพบเกย่ี วกบั การใช้จ่ายงบประมาณเพอื่ ให้ข้อมูลเชิงลกึ เก่ยี วกบั
ประสิทธภิ าพ ประสิทธิผล ความย่ังยืน (ถา้ ทาได้)
ตวั อยา่ ง บราซลิ มีอานาจการตรวจสอบตามรัฐธรรมนญู ในการตรวจสอบบัญชีตา่ ง ๆตาม
มาตรฐานที่กาหนดและใหข้ ้อมูลกบั ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี ภายนอก
F.2 The external audit report
รายงานการตรวจสอบภายนอกตอนสิ้นปี จะใหข้ ้อมูลการใช้จา่ ยงบประมาณและข้อมูลงบ
การเงินโดย SAI เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของรายงานจากรัฐบาล แสดงใหเ้ ห็นถึง
ประสทิ ธิภาพการจัดการทางการเงินของรัฐบาล และใหข้ ้อมูลทเ่ี ปน็ สาระสาคัญไปยังสมาชิก
รฐั สภาและประชาชน เพ่ือปอ้ งกันการทุจริต และการสญู เปลา่ ของงบประมาณ
แนวทาง
(1) ดาเนนิ การโดยวิธกี ารตรวจสอบที่เป็นมาตรฐานสากล
(2) รายงานไปยงั รฐั สภาหลังจากวนั สนิ้ ปี (A.8)
(3) ตรวจสอบการดาเนนิ งานของรฐั บาล (ถ้าทาได้)
ตัวอย่าง ฝร่ังเศส ศาลตรวจสอบดาเนินการทบทวนรายงานการดาเนินการสิ้นปงี บประมาณ
และตรวจสอบงบการเงนิ ตามเกณฑ์คงคา้ ง โดยแสดงผลการดาเนนิ งานของแต่ละกระทรวง
รวมถงึ ทบทวนตัวช้วี ดั ประสิทธภิ าพของแตล่ ะแผนงาน
G บทบำทท่มี ปี ระสิทธิภำพของสถำบนั กำรคลงั อิสระ (IFIs)
หลายประเทศเร่มิ จดั ตั้งสถาบันการคลงั อิสระและสภาการคลังขึน้ เพ่อื ปรบั ปรุงการคาดการณเ์ ศรษฐกจิ มห
ภาคและงบประมาณผ่านบทบาท “Watchdog” ตามกรอบการบัญชที ก่ี าหนดไว้ เพ่ือส่งเสริมความโปร่งใส
ทางการคลังและความรบั ผิดชอบในการเพิม่ บทบาทการอภปิ รายสาธารณะเกี่ยวกับนโยบายการคลงั
G.1 Design of an IFI
IFI ของแต่ละประเทศจะมีโครงสรา้ งแตกต่างกนั ขน้ึ กับประเพณีและวฒั นธรรม ซงึ่ ส่งผลกบั
ความเช่อื ม่ันของประชาชน และการตัดสนิ ใจด้านงบประมาณ
แนวทาง
(1) มีความเป็นอสิ ระ เปน็ กลาง มคี วามเชย่ี วชาญ
(2) มอี านาจทางกฎหมายท่ชี ัดเจน
(3) สามารถเข้าถงึ ข้อมลู ที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณไดอ้ ย่างเต็มที่และทนั เวลา
(4) ดาเนนิ การทางานด้วยความโปรง่ ใส
ตัวอยา่ ง อังกฤษ The Office of Budget Responsibility จะคาดการณ์เศรษฐศาสตร์มห
ภาคและการประเมินการปฏบิ ัติงาน เผยแพรอ่ อนไลนผ์ า่ น budgetresponsibility.org.uk
G.2 Tasks and functions of IFIs
งานและภารกิจบอง IFIs จะแตกตา่ งกนั ออกไป ไมม่ ีรูปแบบทีเ่ ป็นมาตรฐานเดียว ในบาง
ประเทศจะมหี นว่ ยงานลักษณะนีท้ างานเสรมิ กัน คือ สานกั งบประมาณของรฐั สภา (PBO)
ทาการวิเคราะหง์ บประมาณใหก้ ับฝา่ ยนติ ิบญั ญตั ิ (D.1) และสภาการคลังจะประเมนิ การ
คาดการณ์ของรฐั บาล และตดิ ตามกฎเกณฑ์ทางการคลัง
แนวทาง
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 64 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
(1) การประเมนิ เศรษฐกิจมหภาค การคาดการณ์ทางการคลัง
(2) วเิ คราะหง์ บประมาณและตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบทางการเงนิ
(3) ประเมนิ ความยง่ั ยนื ทางการเงนิ ในระยะกลางและระยะยาว
(4) จดั ทาประมาณการต้นทนุ สาหรับมาตรการเชิงนโยบาย
ตัวอยา่ ง เนเธอร์แลนด์ จัดตัง้ สานักงาน CPB สาหรับวิเคราะห์นโยบายเศรษฐกิจ ดาเนินการ
คาดการณ์เศรษฐกิจมหภาคและพัฒนาการคลงั การคาดการณ์ตน้ ทนุ นโยบายและงาน
ภารกิจสาคญั ของรฐั บาล www.cpb.nl
(5) กำรเปดิ กวำ้ งให้ประชำชนมสี ว่ นร่วม (Openness and civic engagement)
รัฐบาลต้องจัดใหม้ กี ารเขา้ ถงึ ข้อมูลสรุปเก่ียวกับการใช้จา่ ยงบประมาณตามนโยบาย และตอ้ งเปิดโอกาสใหม้ ี
สว่ นรว่ มในการพจิ ารณางบประมาณ
H ข้อมลู งบประมำณสำมำรถเขำ้ ถึงได้
เอกสารงบประมาณโดยทั่วไปจะมีขอ้ มูลจานวนมาก มคี วามซบั ซอ้ น ยากตอ่ การเข้าใจของประชาชน
สมาชกิ รัฐสภา หรือผ้ปู ฏิบตั งิ าน ดงั น้นั จึงควรจัดทาเอกสารท่ีเข้าใจงา่ ยให้ประชาชนเขา้ ใจ เพ่ือเพมิ่ คุณภาพ
ของการอภปิ รายงบประมาณ และเพ่ิมความไวว้ างใจรฐั บาลของประชาชน
H.1 Presenting key budget information in a clear manner
แสดงข้อมูลงบประมาณทสี่ าคัญอย่างชัดเจน เขา้ ใจงา่ ย และเขา้ ถึงไดโ้ ดยประชาชนและภาค
ประชาสังคม แสดงวัตถุประสงค์เกยี่ วกับการใช้เงินเพื่อสรา้ งความเข้าใจ และสนบั สนุนการ
ตัดสนิ ใจเชิงนโยบาย
แนวทาง
(1) นาเสนอตวั เลข “ท่ีสาคญั ” อย่างงา่ ยๆ และตรงไปตรงมาในรปู แบบท่ีเสมอต้นเสมอ
ปลายจากปสี ูป่ ี
(2) นาเสนอรายงานสรุปที่สาคญั ของการวดั งบประมาณตามนโยบายและผลกระทบ
(3) นาเสนอผ่านกราฟฟคิ และแผนภูมิ
ตัวอยา่ ง สหรฐั อเมรกิ า สานกั งานบริหารและงบประมาณ (OMB) ออกแบบการนาเสนอ
หวั ข้องบประมาณทส่ี าคัญ และยังจัดทาขอ้ มลู ในอดตี ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั สมมตุ ิฐาทางเศรษฐกิจ
และการเงิน
H.2 Publishing a citizen’s budget
ความเขา้ ใจของประชาชนจะเพิ่มความโปรงใสในการกาหนดนโยบาย การออกแบบนาเสนอ
ขอ้ มลู จะต้องคดั เลอื กขอ้ มูลท่สี าคัญ นาเสนออย่างง่าย เช่น รายได้ ค่าใขจ้ ่าย การพยากรณ์
เศรษฐกิจ เชอ่ื มโยงกับรายงานการตรวจสอบ รายงานงบประมาณระยะส้นั และระยะกลาง
แนวทาง
(1) การปรึกษาหารอื กบั ประชาชนลว่ งหนา้ เพือ่ ออกแบบให้ตรงกับความต้องการ
(2) ใชภ้ าษาและภาพประกอบที่ชัดเจน ง่าย เพ่อื ดึงดูดความสนใจจากประชาชนทีว่ ัย ความ
สนใจ ระดับการเรยี นรแู้ ตกต่างกนั
(3) เอกสารน้จี ะเปน็ เอกสารท่ีชว่ ยประชาชนเขา้ ใจรายละเอยี ดของเอกสารงบประมาณหลกั
(4) จดั ทาในเวลาที่เหมาะสมในเวลาทใี่ กล้เคยี งกบั เอกสารงบประมาณหลกั
(5) สอ่ื สารและเผยแพร่อยา่ งกวา้ งขวาง เพ่ือให้เขา้ ถึงกลุ่มเปา้ หมาย
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 65 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
ตวั อยา่ ง (1) กานา่ เปน็ ประเทศแรกในกล่มุ แอฟริกาทเ่ี ผยแพร่งบประมาณฉบับประชาชนใน
ปี 2549 ผา่ นเวบ็ ไซต์ และตอ่ มาไดม้ กี ารแปลเปน็ ภาษาท้องถ่นิ 7 ภาษา (2) เมกซโิ ก ได้
จัดทางบประมาณฉบบั ประชาชนตง้ั แต่ปี 2014
I ใช้กำรเปดิ ข้อมลู เพอื่ สนับสนนุ ควำมโปร่งใสของงบประมำณ
การทาใหข้ อ้ มูลงบประมาณเปิดเผยตอ่ ประชาชนในรูแบบดิจิทัล เพ่ือให้ประชาชนมสี ่วนร่วมวเิ คราะห์
ประเมนิ ผลการจดั ทางบประมาณ
I.1 การเปดิ เผยขอ้ มลู ควรเปน็ ไปตามมาตรฐานขั้นตา่ ของรปู แบบและลกั ษณะของผู้ท่ตี อ้ งการใช้
ข้อมลู การเปิดเผยขอ้ มลู ควรเปดิ เผยชุดขอ้ มูลเพ่ือใหป้ ระชาชนได้เปรียบเทยี บ รวม หรือ
วเิ คราะห์ได้
แนวทาง
(1) เผยแพรร่ ปู แบบที่เครอื่ งสามารถอ่านได้ โดยใช้ open-source formats บนอินเตอรเ์ นต็
(2) เปิดใหส้ ามารถใช้ข้อมูลและดาวนโ์ หลดสาหรับการวเิ คราะห์ได้
(3) รกั ษาฐานข้อมูลระยะยาวในเวอรช์ ่นั ทีส่ ามารถติดตามได้
ตัวอยา่ ง สหรัฐอเมรกิ า ขอ้ มลู งบประมาณของรฐั บาลกลางทง้ั หมดสามารถเปดิ ใหส้ าธารณะ
ในรปู แบบข้อมูลดิบ (raw) บน USAspending.gov
I.2 Access to open budget data
การเข้าถงึ ข้อมลู งบประมาณจะทาให้ประชาชนเข้าใจในวงกวา้ งเพ่ิมมากขึ้น และเพิ่มคุณภาพ
การอภิปราย หากเป็นไปไดค้ วรเปดิ ใหก้ ารใช้ขอ้ มูลเป็นไปตามปกติ สาหรบั วัตถปุ ระสงค์
ประกอบการพจิ ารณา ความรบั ผดิ ชอบ และการอภปิ รายสาธารณะ
ตัวอย่าง โบลเิ วีย กระทรวงการคลงั เผยแพร่ข้อมูลรายละเอียดงบประมาณจากระบบ
สารสนเทศ ต้งั แต่ปี 2000 โดยเปดิ ใหม้ ีการดาวนโ์ หลดข้อมูลในอดตี มาใช้งานในหลาย
รูปแบบและอนุกรมเวลา
I.3 การรวม Portal ข้อมลู งบประมาณทีม่ ีอยู่ และทาให้สอดคล้องกบั กฎหมายและขอ้ บงั คับทีม่ ี
อยู่ โดยระบุขอบเขตของการเข้าถงึ และผลกระทบของข้อมูล
แนวทาง
(1) ไดร้ บั ความคุ้มครองโดยกฎหมาย
(2) เผยแพรโ่ ดยตรงจากระบบการจัดการทางการเงิน พร้อมคาอธบิ ายที่มีอยู่
(3) สรา้ งคาค้นหา เพื่อสะดวกและสามารถเปรียบเทียบระหวา่ งประเทศได้
ตวั อยา่ ง บราซิล เวบ็ ไซต์ทางการเงนิ ของกระทรวงการคลงั เป็นแหลง่ ขอ้ มูลส่วนกลางท่ีจะ
เชอ่ื มโยงไปยงั เว็บไซต์หน่วยงานอืน่ เชน่ ข้อมูลแผนและงบประมาณรวม รายงาน
งบประมาณฉบบั ผบู้ รหิ าร จะสรา้ งความโปร่งใสและการใชจ้ า่ ยเงนิ ที่วดั ได้ สง่ เสริมให้เกดิ การ
มีส่วนร่วม
J กำรทำใหง้ บประมำณครอบคลมุ และมีสว่ นรว่ มมำกขึน้
การมีสว่ นร่วมของประชาชนเปน็ การลดโอกาสการทจุ ริตและเสริมสร้างวฒั นธรรมประชาธิปไตย โดยตอ้ ง
สอดคลอ้ งกับกรอบของกฎหมาย
J.1 Opportunities for participative approaches across the budget cycle
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 66 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
ประชาชนต้องมโี อกาสในการมสี ่วนรว่ มในวงจรงบประมาณ ดังนั้น หนว่ ยงานตา่ ง ๆควร
พัฒนานวัตกรรมและความรับผิดชอบใหป้ ระชาชนเข้าถึงข้อมูลแต่ละระยะในวงจร
งบประมาณ โดยเปน็ ไปตามกรอบกฎหมาย
แนวทาง
(1) กระบวนการปรึกษาหารอื ตามระยะเวลาทีเ่ หมาะสม คานงึ ถงึ ความรู้ ความสามารถและ
ความสนใจของประชาชน
(2) เสรมิ สร้างการมสี ่วนร่วมในช่วงระยะเวลาจดั ทานโยบายและวงจรงบประมาณให้มาก
ที่สดุ
(3) หนว่ ยงานตรวจสอบสูงสดุ จะได้รบั ประโยชน์จากความคดิ เห็นของประชาชนและกลมุ่
ประชาชนท่ีไดร้ บั บรกิ ารสาธารณะ เพือ่ ทจ่ี ะนาไปสกู่ ารออกแบบโปรแกรมการตรวจสอบ
ตัวอยา่ ง ไอร์แลนด์ ถอ้ ยแถลงในช่วง Pre-Budget ซง่ึ ไดร้ วบรวมจากผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ของ
รัฐสภาจากการทร่ี ่างงบประมาณฉบับแรกออก (ม.ิ ย.) กไ็ ดร้ ับขอ้ เสนอสาหรบั ปรับปรงุ และ
ทางบประมาณฉบับจริง (ต.ค.)
J.2 การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนเปน็ สงิ่ จาเปน็ ทจี่ ะออกแบบงบประมาณ สรา้ งผลลพั ธแ์ ละ
ผลกระทบอย่างมปี ระสิทธภิ าพกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ในกระบวนการงบประมาณ
แนวทาง
(1) นาเสนอข้อจากัดงบประมาณ ต้นทุนนโยบายไปสู่เป้าหมายใหญข่ องนโยบายและภาคท่ี
เกยี่ วขอ้ ง
(2) ผลกระทบตอ่ รายได้ และคุณภาพชีวติ ของประชาชนจาแนกตามกลุ่มรายได้ และประเภท
ครวั เรือน
(3) ผลกระทบตอ่ กลุ่มต่าง ๆโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ กลมุ่ อ่อนแอ
(4) ผลกระทบในหลากหลายมติ ิ เชน่ เศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดล้อม ความเท่าเทียมทางเพศ
ซึ่งอาจมกี ารรายงานผลกระทบอ่ืนๆไปยงั รัฐบาลนอกเหนอื จากงบประมาณ
ตวั อย่าง เกาหลีใต้ ใชก้ ลไกหลายประการในวงจรงบประมาณ เชน่
- จดั ใหม้ กี ารอภปิ รายอย่างเป็นทางการสาหรบั ประชาชน ผู้แทนกระทรวงการคลัง
การประชุมเจา้ หนา้ ทร่ี ะดับท้องถน่ิ
- สภาท่ีปรึกษานโยบายการเงนิ ทบทวนและสรุปงบประมาณ การพิจารณาของผเู้ ช่ยี ว
ขาญ
- การจัดตงั้ ศูนย์รายงานความสญู เสียงบประมาณ เพ่ือให้ทราบการใช้งบประมาณ
ในทางทีผ่ ิด หรอื ไม่
- ประชาชนมโี อกาสให้ข้อเสนอแนะต่อกรรมการตรวจสอบ ให้คาแนะนาการ
ดาเนนิ การของรัฐ
J.3 Designing a participation process
การออกแบบการมีส่วนร่วมควรมวี ตั ถปุ ระสงค์ทเ่ี กี่ยวข้องกบั การกาหนดนโยบายงบประมาณ
เพือ่ ให้เป็นไปอยา่ งยั่งยืน ภายใต้กรอบกฎหมาย และแนวทางที่เหมาะสม
แนวทาง
(1) เผยแพรว่ ตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขต และกระบวนการการมสี ่วนร่วมของประชาชนใน
กระบวนการนโยบายทชี่ ัดเจน
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 67 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
(2) แนวทางการมีสว่ นร่วมของกลุ่มผ้สู นใจอาจแตกต่างกัน ดงั นัน้ วิธกี ารเปิดให้มสี ่วนร่วมจะ
แตกต่างกัน
(3) ใชก้ ารผสมผสานวิธตี ่าง ๆของการมีส่วนร่วมเพื่อใหไ้ ด้วธิ ีการท่เี หมาะสม
(4) ให้เวลาอยา่ งเพียงพอสาหรบั ผลและผลกระทบทเ่ี กดิ ข้นึ จากนโยบายงบประมาณ
(5) ตดิ ตามขอ้ เสนอแนะของประชาชนในระยะเวลาที่เหมาะสม
(6) ตอ้ งมนั่ ใจวา่ กลุม่ ท่ีเปราะบางที่สดุ ในสงั คมได้รับการรวมอย่ใู นนโยบายงบประมาณแล้ว
ตัวอยา่ ง ฟลิ ปิ ปินส์ การจัดตง้ั หนว่ ยงาน Budget Partnership Agreement เป็นกลไกใน
การสรา้ งการมีสว่ นร่วมกบั หนว่ ยงานของรัฐบาลในการร่างข้อเสนองบประมาณ และ
เครอื่ งมือนีท้ าใหฟ้ ิลิปปินสไ์ ด้รับคะแนนการมสี ว่ นร่วมสูงถึง 67 คะแนนในการสารวจการ
เปดิ เผยงบประมาณเมอื่ ปี 2015
(5) ส่งเสริมใหเ้ กดิ ควำมรว่ มมือกับภำคเอกชน (Promoting integrity with the private sector)
ภาครัฐควรมีการระบอุ ยา่ งชัดเจนเกย่ี วกบั วตั ถุประสงค์การรายงาน ความโปรง่ ใส ความรับผิดชอบ และ
ความเก่ยี วข้องทางการเงินกับภาคเอกชน ซ่ึงควรเปน็ ไปอยา่ งเปดิ เผย และปฎิบตั ิตามกฎ และผังการ
ปฎิบัตงิ าน
K Opening up public contracting and procurement
การเปดิ เผยสัญญา หรอื การจัดซอ้ื จดั จา้ งจะทาให้เกดิ ความโปร่งใส มีส่วนรว่ ม เพิ่มคุณค่า ขอ้ มูลท่เี ปิดเผย
ตอ้ งครอบคลมุ แตย่ งั ไมล่ ะเมดิ กฎความปลอดภยั ข้อมลู
K.1 Making the entire public procurement cycle open
การเปดิ เผยวงจรการจัดซ้อื จัดจ้างจะชว่ ยให้เกดิ ความยตุ ธิ รรมและเสมอภาค เปิดใหเ้ กดิ การ
แข่งขนั และความคมุ้ ค่าของงบประมาณ ลดความเสย่ี งของการทุจรติ
แนวทาง
(1) ระบบการจดั ซ้อื จดั จ้างต้องมกี ารกาหนดกรอบการทางาน ข้อกาหนด ผงั การทางานไว้
อยา่ งขัดเจน
(2) เปิดกว้างและก่อให้เกิดการแข่งขัน
(3) เอกสารการแข่งขันราคาต้องครบถว้ น รายงากนการประเมนิ ผล และเอกสารสัญญา
(4) ระบบการตดิ ตามการจดั ซ้ือจัดจ้าง
(5) รายงานความเสี่ยง สินทรพั ย์ หนสี้ ินของรฐั บาลที่เกี่ยวข้องกับสัญญา
(6) รวบรวมกระบวนการจัดซ้ือเข้ากับการบรหิ ารการเงินสาธารณะ
K.2 Using e-procurement tools
การใชเ้ ครือ่ งมือจดั ซื้อจัดจ้างอิเลกทรอนกิ ส์จะชว่ ยสร้างความสามารถในการเข้าถึงและเปน็
ธรรมในการทาสญั ญากบั รัฐบาล
แนวทาง
(1) การจดั ซอื้ จัดจ้างที่สอดคลอ้ งกันทุกระบบของรฐั บาล
(2) การใช้งานง่าย เข้าใจและใช้งา่ ย
(3) ระบบที่รองรบั ความเปน็ ส่วนตวั และความปลอดภยั ของขอ้ มูล
(4) การพัฒนาขีดความสามารถสาหรับผู้ใช้ ไม่ว่าจะเป็นหนว่ ยงานภาครฐั หรือ ผู้ประมลู
(5) การสือ่ สารทชี่ ัดเจน
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 68 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพิ่มความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
ตัวอย่าง เกาหลีใต้ ระบบ KONEPS เป็นระบบท่ีครบวงจร ใชไ้ ดก้ บั หน่วยงานสาธารณะมี
ระบบปอ้ งกนั การปฏบิ ัตทิ ่ผี ิดกฎหมาย และระบบการลดตน้ ทุนการทาธุรกรรม เพิ่มการมี
สว่ นรว่ มในการประมูลสาธารณะ
K.3 Fostering realistic and effective stakeholder participation
ส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมท่ีมีประสิทธภิ าพจะทาใหล้ ดโอกาสการฉ้อโกงและการทจุ ริต
แนวทาง
(1) กระบวนการปรึกษาหารอื ถา้ จะเปลีย่ นแปลงกระบวนการจัดซอื้ จดั จา้ งสาธารณะ เช่น
การแกไ้ ขกฎหมาย หรอื ข้อบังคับ
(2) การพูดคุยกับผปู้ ระกอบการถงึ วตั ถุประสงค์การจดั ซื้อจัดจ้าง เพ่ือให้มีความเขา้ ใจที่
ถูกตอ้ ง
(3) กลไกทโ่ี ปร่งใสและเป็นอสิ ระสาหรบั แกไ้ ขข้อพิพาททส่ี าคัญ
(4) พจิ ารณากลไกทางภาคประชาสงั คมในการตดิ ตามความสมบรู ณ์ของการจัดซอ้ื จัดจ้าง
L กำรบญั ชดี ำ้ นรำยไดแ้ ละค่ำใช้จ่ำยสำหรับกำรใช้ทรพั ยำกร
ในบางประเทศทมี่ ีทรพั ยากรทีม่ ากจะเปน็ แหล่งสาคญั ในการสร้างรายไดแ้ ผน่ ดนิ อยา่ งไรก็ตาม ความ
ซบั ซอ้ น และการเกย่ี วขอ้ งกบั จานวนบรษิ ทั หรือหนว่ ยงานที่มไี ม่ก่แี หง่ จงึ เปน็ เร่ืองทม่ี คี วามเสี่ยง นอกจากน้ี
เก่ียวข้องกับความยงั่ ยนื และความเท่าเทยี มดว้ ย ดังนน้ั จึงตอ้ งมคี วามโปร่งใสในการใช้ทรัพยากรของ
ประเทศ
L.1 จัดทาบญั ชที ช่ี ัดเจนสาหรับแหลง่ รายไดท้ ่ีเก่ียวข้องในเอกสารงบประมาณ เพอ่ื ให้เกดิ ความ
โปร่งใส มสี ว่ นรว่ มและการตดิ ตามการใช้จ่าย โดยเฉพาะชอ่ งโหวท่ อี่ าจเกิดการคอร์รบั ชั่น
แนวทาง
(1) รายได้จากทรัพยากร เชน่ กาไร ค่าสิทธปิ ระโยชน์ เงินปนั ผล
(2) การรับเงินจากบริษัทท่ีใชท้ รัพยากร (เพม่ิ เตมิ L.3)
(3) การเงินของกองทุน หรือบริษทั มหาชนท่มี สี ว่ นเก่ียวขอ้ งกับการใช้ทรัพยากร
(4) ประมาณการมลู ค่าสนิ ทรพั ย์ที่เปน็ ทรัพยากรประเทศและระบุรายได้ให้ถกู ตอ้ ง
(5) ความเสี่ยงเก่ียวกบั ความผันผวนของภาคธรุ กิจ
ตวั อย่าง นอร์เวยป์ ฏิบตั ติ ามมาตรฐาน EITI ตง้ั แตป่ ี 2554 โดยมกี ารเผยแพร่รายงาน EITI
ประจาปี ทาให้ข้อมูล EITI มีความโปร่งใส นอกจากนี้ธ นาคารกลางนอร์เวย์ (Norges Bank)
ได้จดั ทารายงานรายไตรมาสและรายไตรมาสซง่ึ ใหข้ ้อมูลเกี่ยวกบั กองทุนท่ใี ช้ในการบรหิ าร
รายไดจ้ ากทรัพยากร รวมถึงข้อมลู เกีย่ วกับการโอนไปและกลับจากงบประมาณ แนวโนม้
ตลาดผลตอบแทนการลงทนุ และรายไดแ้ นวโน้มเกี่ยวกบั ความเสย่ี งและคา่ ใช้จา่ ยในการ
บรหิ ารระหวา่ งประเทศ
L.2 จดั ทารายงานโดยละเอียดวา่ งบประมาณนาไปใช้อย่างไร
สาหรับการตรวจสอบและการจัดการงา่ ยต่อการตรวจหาการทุจริต ซง่ึ รายงานน้คี วรเกิดขึ้น
อยา่ งเป็นปกติ ตลอดปีงบประมาณ
แนวทาง
(1) การจดั การรายไดจ้ ากทรพั ยากร ทัง้ ในและนอกงบประมาณมีการดาเนินการอย่างไร
(2) เกณฑก์ ารแบง่ รายไดห้ รือคา่ ใชจ้ ่ายระหวา่ งรฐั ภาคเอกชน หรือรฐั บาลทอ้ งถน่ิ สาหรับ
ทรัพยากรพิเศษ
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร 69 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ