แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
(3) เกณฑ์หรือนโยบายการลงทนุ การแบง่ รายได้ ค่าใช้จ่ายกงึ่ การคลัง เชน่ การพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐานสาธารณะขนาดใหญ่ ดาเนินการโดยบริษัท และรฐั บาลเป็นเจา้ ของ
ทรพั ยากร
ตัวอยา่ ง โคลมั เบยี ใช้ระบบ MapaRegalías ซง่ึ เปน็ ระบบขอ้ มูลออนไลนท์ ใี่ ช้ติดตามการใช้
ค่าลขิ สิทธ์ิหรือสัมปทานจากการใช้ทรพั ยากรสาธารณะ โดยเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนได้รบั
ทราบเกี่ยวกบั รายไดแ้ ละวิธีการจัดสรรระหวา่ งรัฐบาลและสถาบนั ต่างๆ ประชาชนสามารถ
ใชเ้ คร่ืองมอื ในการตดิ ตามความคืบหน้าของโครงการลงทนุ ทีไ่ ด้รับทนุ จากค่าลขิ สทิ ธิ์
ระหว่างประเทศ
L.3 ปฏิบัติตำมมำตรฐำนสำกล โดยเฉพำะอยำ่ งยง่ิ กำรใช้เงินเพอื่ งำนสำธำรณะ
ก่อใหเ้ กิดความโปรง่ ใสดา้ นงบประมาณเก่ยี วกบั รายไดแ้ ละค่าใช้จ่ายทรัพยากรและเพ่ิมความ
นา่ เชื่อถือและความไวว้ างใจระดบั สากล
แนวทาง
(1) แนวทางการดาเนินการกบั ภาคเอกชนท่ีไดร้ บั การคดั เลือก
(2) สิทธิการผลิตทรี่ ัฐเป็นเจ้าของ
(3) การใช้จา่ ยทางสังคมและเศรษฐกจิ ที่ใหผ้ ้มู ีส่วนเกี่ยวขอ้ งเข้าวดั ผลการดาเนนิ การและ
ผลกระทบทเ่ี กิดขึน้
M กำรลงทนุ กำรจัดกำรโครงสร้ำงพื้นฐำนสำหรบั ควำมซื่อสตั ย์ คุม้ คำ่ เงนิ และควำมโปร่งใส
โครงการขนาดใหญท่ ่ีมีความซบั ซอ้ นด้านเทคนคิ และผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ซ่งึ มคี วามเสียงท่ีจะเกิดการทุจรติ
หรือใชเ้ งินทางทผ่ี ิด ดงั นั้น เพ่ือสรา้ งความม่นั ใจโครงการลงทุนตา่ ง ๆจึงตอ้ งได้รบั การจัดการอย่างโปร่งใส มี
ประสทิ ธภิ าพ สรา้ งความนา่ เช่อื ถือ และเปิดเผยข้อมูลทเ่ี กย่ี วข้องสสู่ าธารณะ
M.1 จดั ทาแผนที่ (แผน)จุดท่อี าจเกดิ การทุจริตในแต่ละขน้ั ตอน เพอ่ื หากลยทุ ธล์ ดความเสย่ี ง
แนวทาง
(1) เลอื กโครงการจากความตอ้ งการและผลประโยชน์สาธารณะอยา่ งแทจ้ ริง
(2) ประเมนิ ตน้ ทุนและผลประโยชนโ์ ดยใชว้ ธิ ีทนี่ า่ เชอ่ื ถอื และมหี ลกั ฐานสนับสนนุ อยา่ ง
เพยี งพอ
(3) กาหนดมาตรฐานและคุณสมบัติผเู้ สนอราคาท่ียุตธิ รรม มปี ระสิทธภิ าพ มีความ
รับผดิ ชอบ ตรวจสอบได้
(4) มีการตรวจสอบทกุ ระยะการดาเนินการ เช่น โดยหนว่ ยตรวจสอบสูงสดุ เจ้าของโครงการ
(5) ประเมินผลหลงั จากทโ่ี ครงการแล้วเสร็จ โดยเทียบเคียงกับผลประโยชนท์ ค่ี าดหวัง
ตวั อย่าง ประเทศอังกฤษ กระบวนการ “Gateway” กาหนดข้ันตอนการตรวจสอบโครงการ
โครงสรา้ งพ้ืนฐานไว้ 6 ประเดน็ คือ 1. การประเมินผลเชิงกลยทุ ธ์ 2. การตัดสินใจเชงิ ธรุ กจิ
3. กลยทุ ธ์การสง่ มอบ 4. การตดั สินใจลงทนุ 5. ความพรอ้ มใชข้ องสินคา้ สาธารณะ 6. การ
ประเมินความกา้ วหนา้ ความเสี่ยง และผลสาเร็จจากโครงการ
M.2 สนิ ทรัพยโ์ ครงสรา้ งพื้นฐานจะต้องอย่ใู นความสามารถที่จะจา่ ยได้และแสดงถึงความค้มุ ค่า
เงิน
ตอ้ งแนใ่ จว่าสินทรพั ยใ์ หป้ ระโยชน์มากกว่าต้นทนุ ท่ใี ช้ไป และตอ้ งม่นั ใจว่ามีการแข่งขันใน
การเสนอราคา สามารถสง่ มอบได้ หน่วยอนุมตโิ ครงการต้องเปรียบเทียบส่งิ ท่ีคมุ้ คา่ ท่ีสดุ
แนวทาง
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 70 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
(1) กาหนดมาตรฐานและวธิ ีการท่ีชัดเจนและมวี ัตถปุ ระสงค์เพอื่ เปรียบเทยี บทางเลอื ก และ
การจดั หาแหลง่ ทุน
(2) สร้างการแข่งขนั ที่เปน็ ธรรมในการจดั ซ้อื จดั จ้าง (ดู K)
(3) วิเคราะห์ต้นทุนและค่าใช้จา่ ยทงั้ หมดสาหรับโครงการบนสมมุติฐานทเี่ ปน็ รูปธรรม ระบุ
ผลกระทบทางสงั คม เศรษฐกจิ และส่ิงแวดล้อม และมกี ระบวนการปรึกษาหารอื กับผทู้ ไ่ี ด้รับ
ผลกระทบ
ตัวอยา่ ง เยอรมนี กาหนดแนวทางภายใตช้ ื่อ “Economic feasibility analysis for
public-private partnership projects (2006)” เพ่อื กาหนดขนั้ ตอน ประกอบด้วย 1. ขอ้
กาหนดการจัดหาเงินทุนและสว่ นประกอบทีม่ ปี ระสิทธภิ าพของโครงการ 2.การทดสอบ
PPP-aptitude 3. การจัดตั้งโครงการอา้ งองิ สาหรับ Public Sector Comparator (PSC)
เพือ่ การตรวจสอบความเป็นไปได้ทางเศรษฐกจิ เบื้องต้น
M.3 การเปิดเผยข้อมูลเชงิ รกุ และข้อมลู งบประมาณท่ีสาคญั ตอ่ สาธารณะ
ควรดาเนนิ การในเวลาท่ีเหมาะสมและเข้าถงึ ได้ จะช่วยเพมิ่ ความโปร่งใสการแขง่ ขนั ความ
เช่อื ม่ัน และความคมุ้ ค่าของการใชจ้ ่ายเงินในการจดั หาและส่งมอบโครงการโครงสรา้ ง
พนื้ ฐาน
แนวทาง
(1) ข้อมลู โครงการพืน้ ฐาน วันทีส่ ญั ญาและกาหนดสง่ โดยเช่อื มโยงไปยังเอกสารสญั ญา
ท้งั หมดและรายละเอียดการติดต่อของผู้ท่ีเกี่ยวขอ้ ง
(2) การประเมินโครงการและการทบทวนโดยผปู้ ระเมินอสิ ระ
(3) รายละเอยี ดเกีย่ วกับค่าใช้จา่ ยโครงการทง้ั หมดและคา่ ใช้จ่ายรายปี การประเมนิ ความ
เส่ียง ขอ้ มลู เก่ียวกับผทู้ ร่ี ับความเสีย่ ง การประเมนิ ทางเลือกในการจัดหาและขอ้ มูลทาง
การเงนิ
(4) การสนบั สนนุ จากรฐั บาลทอ่ี าจเกิดขึน้ ในรปู แบบของการคา้ ประกนั เงนิ ช่วยเหลอื
คา่ บริการการเช่าที่ดนิ การโอนสนิ ทรัพย์และส่วนแบง่ รายได้
(5) ภาษแี ละการกาหนดราคา และการเจรจาต่อรอง
(6) ข้อมลู ประสทิ ธภิ าพรายละเอยี ดการตรวจสอบโครงการและรายละเอียดเกยี่ วกับซาก
สินทรัพย์ทีใ่ ชร้ ะหวา่ งกอ่ สรา้ ง
(7) ข้อมูลการชาระเงิน รายได้ หน้ีสนิ หน้ีสินทีอ่ าจเกิดขึน้ และภาระผกู พนั ทั้งหมดต้องถูก
รวมไวอ้ ย่างชัดเจนในเอกสารงบประมาณและการรายงานสิน้ ปี (A.8)
ตวั อย่าง แคนาดา นโยบายการเปดิ เผยขอ้ มูลท่ีเพ่ิงแก้ไขเม่อื ปี 2012 กาหนดให้เปิดเผย
ขอ้ มลู เชงิ รกุ เชน่ เอกสารคุณวฒุ ิ เปดิ เผยช่อื และหมายเลขของแขง่ ขัน รวมถงึ การเปิดเผยผู้
เสนอทตี่ ้องการเม่อื การประเมินขนั้ สงู
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร 71 สำนักงบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
ภำคผนวก -3
รำยกำรตำมแบบสอบถำม คำถำมขอ้ ที่ สรุปคำตอบของประเทศไทย ควำมคิดเหน็
/ (คะแนนทีไ่ ดร้ บั จำก 100 ผู้วิจำรณ์และผู้ศกึ ษำ
คะแนน)
Assessing Budget Transparency (คะแนนทไี่ ด้รบั 61 คะแนน)
รายงานก่อนงบประมาณ/ PBS2/54-58 -มติคณะรัฐมนตรี "วงเงนิ งบประมาณ -ประเทศไทยยงั ขาดการ
Pre-Budget Statement รายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เผยแพร่ขอ้ มูลหลาย
(56 คะแนน) (สงป.) ประการ เช่น real GDP
อตั ราดอกเบย้ี นโยบาย
-Statement for the Annual Budget การจดั เกบ็ รายได้ เงินกู้
และภาระอื่น ๆทเ่ี ก่ียวข้อง
Expenditures for FY 2019 (สงป.) กบั เงนิ กู้
- การเผยแพรอ่ ยูใ่ น
-Draft Bill Annual Budget วงจากัด การเขา้ ถงึ จาก
Expenditures FY 2019 (สงป.) ภาคประชาชนยังไม่สะดวก
-เผยแพร่ 18/1/2018 ทาง เวบ็ ไซตส์ านกั เพราะเอกสารมีจานวน
งบประมาณ /เว็บไซต์ ครม. หลายหน้าและมคี วาม
-ไม่มีฉบบั ประชาชน
- มาตรฐานกาหนดใหต้ ้องรายงาน ซบั ซ้อน ตอ้ งใช้เทคนิคใน
nominal GDP level; การทาความเข้าใจ
inflation rate;
real GDP growth; and
interest rates.
แต่คาตอบยังขาดการรายงาน real GDP
growth และ interest rates.
- การอภปิ รายนโยบายการใช้จ่ายและลาดบั
ความสาคญั และ
ประมาณการของคา่ ใชจ้ ่ายทั้งหมดมีใน
รายงาน
-ไมม่ ีการอภปิ รายถึงนโยบายรายได้
นอกจากมีแค่ภาพรวมบรรทัดเดยี ว
- กาหนดใหต้ ้องมีรายละเอยี ด จานวนเงนิ
กยู้ มื ใหมส่ ทุ ธทิ จ่ี าเปน็ ในปงี บประมาณท่ีจะ
เกดิ ขึน้ ภาระหน้ที ง้ั หมดของรฐั บาลกลาง
เม่อื สนิ้ ปีงบประมาณที่จะเกดิ ขึน้ และ การ
ชาระดอกเบ้ียสาหรบั หนีค้ งค้างสาหรับ
ปงี บประมาณทจ่ี ะเกดิ ขึ้น
-มีการประมาณการค่าใช้จ่ายหลายปี
(MTEF)
ข้อเสนองบประมาณรวมถึง EBP2 /1-53 -บันทกึ วเิ คราะห์สรุปสารสาคญั ร่าง 1. เอกสารไมไ่ ดร้ ะบุรายได้
เอกสารสนับสนนุ อน่ื พระราชบญั ญัติงบประมาณรายจ่าย การใช้จ่ายหน้ี ขอ้ มลู
/Executive’s Budget ประจาปี 2562 เศรษฐกิจมหภาค แนวโน้ม
Proposal including -DRAFT BILL ON ANNUAL BUDGET การประมาณ
supporting documents EXPENDITURES FOR FISCAL YEAR การงบประมาณหลายปี
(67 คะแนน) 2019. นโยบายทสี่ าคญั
-สง่ ใหฝ้ ่ายนิตบิ ญั ญัติ 7/6/2018 คาอธิบายเกยี่ วกับการ
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร 72 สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
รำยกำรตำมแบบสอบถำม คำถำมขอ้ ท่ี สรปุ คำตอบของประเทศไทย ควำมคิดเหน็
/ (คะแนนท่ไี ด้รับจำก 100 ผวู้ ิจำรณ์และผศู้ ึกษำ
EB2/59-63
คะแนน) 64-67 -เผยแพร่ 6/6/2018 เอกสารงบประมาณ จัดเก็บภาษีไวอ้ ยา่ งชัดเจน
กฎหมายงบประมาณ / สาหรบั EBP เล่มสีส้มออ่ นคอื แต่สามารถใชเ้ ทยี บเคยี งได้
Enacted Budget รายไดเ้ ปรยี บเทยี บ / คา่ ใชจ้ ่ายเปรียบเทยี บ 2. เอกสารมีจานวนมาก
(100 คะแนน)
สาหรับปงี บประมาณ 2017-2562 เลม่ สี และสง่ ใหฝ้ ่ายนิติบัญญัติ
งบประมาณ “ฉบบั
ประชาชน” / Citizens เขยี วเปน็ รายไดส้ าหรบั ปงี บประมาณ 2562 กอ่ นการเรมิ่ พจิ ารณาไมถ่ งึ
Budget (67 คะแนน) ส่วนเลม่ สีส้มเปน็ ค่าใชจ้ า่ ยงบประมาณ 1 เดอื น ทาใหฝ้ า่ ยนิติ
จาแนกตามหน่วยงานบริหาร เลม่ สีแดงเปน็ บัญญตั มิ ีระยะเวลาการ
คา่ ใชจ้ ่ายงบประมาณสาหรับแผนบรู ณาการ การศกึ ษา/พจิ ารณา
เล่มสีเหลอื งเข้มคอื คา่ ใชจ้ ่ายงบประมาณ รายละเอยี ดอยา่ งจากัด
สาหรับแผนกลยุทธ์ และเลม่ สมี ่วงเป็น 3.ขอ้ มลู ทีเ่ ผยแพรผ่ า่ น
แนวโน้มเศรษฐกจิ และการคลงั สาหรับ เวบ็ ไซต์มีจานวนมาก และ
ปีงบประมาณ 2562 มคี วามซับซอ้ น ต้องใช้
-คาถาม “มีฉบับประชาชนหรอื ไม่” คาตอบ เทคนคิ การศึกษา ดังน้ันจึง
คือ มี ชอ่ื เอกสาร บันทึกวิเคราะหส์ รุป เป็นการยากท่จี ะให้
สาระสาคัญร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ ประชาชนหรอื ภาคประชา
รายจา่ ย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ สังคมเขา้ ใจ
(สงป.)
-อนุมัติ 30/8/2018 1.กฎหมายสาคญั ทุกฉบบั
-ประกาศใช้ และเผยแพร่ 17/9/2018 จะไดร้ บั การเผยแพรผ่ ่าน
-อา้ งองิ ตามราชกิจจานุเบกษา ทางราชกิจจานเุ บกษา ซงึ่
พระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจา่ ย อาจทาให้ผสู้ นใจศกึ ษาไม่
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 สามารถเห็นรายละเอยี ด
-มฉี บับประชาชน เผยแพร่ ของแผนงาน/โครงการของ
-งบประมาณที่ประกาศใชแ้ สดงการ หน่วยงานได้
ประมาณการคา่ ใช้จ่ายโดยการจาแนก 2.การเผยแพร่วันที่
ประเภทค่าใชจ้ ่ายใด ๆ จากทัง้ สามประเภท 17/9/2018 ยงั ไมใ่ ช่
ตามการบริหาร เศรษฐกิจ และดา้ นของการ เอกสารงบประมาณฉบับ
ทางาน ปรบั ปรงุ
-การประมาณการรายได้ แบ่งเป็น ภาษี
และ non-tax
-งบประมาณโดยสงั เขป (ฉบับปรับปรุง) 1.หลักการ OBS ทก่ี าหนด
ตามพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่าย ว่า ควรมคี ณุ สมบตั ิ
ดังต่อไปน้ี การนาเสนอท่ี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ไมใ่ ชด่ า้ นเทคนคิ b.
/THAILAND’S BUDGET IN BRIEF ออกแบบให้เข้าถึงและ
FISCAL YEAR 2019 (Revised Edition) เขา้ ใจโดยประชากรสว่ น
-ประชาชนได้อะไรจากการจดั สรร ใหญ่ค. แสดงการเงนิ
งบประมาณรายจ่ายปี 2562 และ "สรปุ สาธารณะท่สี าคัญ d.
ประเด็นประชาชนได้อะไรจากงบประมาณ เขียนเปน็ ภาษาทีส่ ามารถ
เข้าถึงได้ e. รวม
2562 เผยแพรท่ างเวบ็ ไซต์ สงป.
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 73 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
รำยกำรตำมแบบสอบถำม คำถำมข้อท่ี สรปุ คำตอบของประเทศไทย ควำมคิดเหน็
/ (คะแนนทีไ่ ดร้ ับจำก 100 ผวู้ ิจำรณแ์ ละผ้ศู กึ ษำ
IYR2/68-75 -เผยแพร่สาธารณะ 1 ต.ค.2018
คะแนน) MYR2/76-83 องคป์ ระกอบภาพเพื่อให้
YER2/94-96 -การเผยแพร่ตามเกณฑ์ต้องแสดง ยอดรวม ประชากรที่ไม่มคี วามรู้
รายงานรายเดอื น /In- รายจ่ายและรายรับ นโยบายงบประมาณ ทางด้านเทคนคิ
กาคาดการเศรษฐกจิ มหภาคที่เปน็ ไปตาม 2.งบประมาณฉบบั
Year Reports (78 งบประมาณ และข้อมูลการตดิ ต่อเพื่อการ ประชาชนจะต้องมี
คะแนน) ตดิ ตามผลโดยประชาชน ผลการสารวจ รายละเอยี ดท่ีชดั เจน
พบวา่ ไทยขาดขอ้ มลู การตดิ ตอ่ เพอ่ื การ เขา้ ใจงา่ ย มีแผนภมู ิและ
รายงานกลางปี /Mid- ติดตามผลโดยประชาชน กราฟฟคิ ทชี่ ว่ ยให้เข้าใจได้
งา่ ยข้นึ ซึ่งเอกสาร
Year Review (เผยแพร่ -มีชอ่ งทางการสอื่ สารกบั ประชาชนผา่ น งบประมาณโดยสงั เขป ยงั
ล่าช้า) เวบ็ ไซต์ของสานกั งบประมาณ มเี น้อื หาเชงิ เทคนิคอยู่
คอ่ นข้างมาก
รายงานส้นิ ปี /Year-End -เผยแพรใ่ นช่วง 2 จาก 4 ขน้ั ในวงจร 3. ขาดข้อมูลเก่ยี วกบั การ
งบประมาณ ติดตามประเมนิ ผลโดย
Report (55) ประชาชน
-ปงี บประมาณทนี่ าข้อมูลตอบแบบสารวจ 1.นอกจากเวบ็ ไซต์ของ
2561 สานักงานเศรษฐกิจการ
-เอกสารอา้ งองิ รายงานสถานการณด์ ้าน คลงั ยงั สามารถศึกษา
การคลงั ประจาเดอื น ผ่านทางเวบ็ ไซต์ ข้อมลู ดังกลา่ วจากเวบ็ ไซต์
สานักงานเศรษฐกิจการคลงั กรมบัญชกี ลางได้อกี ดว้ ย
-มกี ารเผยแพร่ทกุ เดอื น 2.รูปแบบการเผยแพรม่ ี
-มีรูปแบบการเผยแพร่ทีเ่ ครอ่ื งอา่ นได้ ขอ้ มูลตวั เลขท่ีเคร่ือง
-ไม่มฉี บับประชาชน แต่ข้อมูลทเี่ ผยแพร่อยู่ สามารถอ่านได้ ทาให้
ในรูปแบบที่อา่ นงา่ ย ผู้สนใจสามารถนาข้อมลู
ดงั กล่าวไปวเิ คราะห์ได้
-ปงี บประมาณที่นาข้อมูลตอบแบบสารวจ ขาดข้อมูลสาคัญท่ีจะ
2561 เผยแพรใ่ ห้ภาคประชา
-เอกสารอ้างอิง (1) ผลการจัดเกบ็ รายได้ สงั คมและประชาชนเข้าใจ
ช่วงครง่ึ แรกของปีงบประมาณ 256 (2) สถานการณ์ครึ่งปี
รายงานผลสมั ฤทธ์ิการปฏบิ ตั ิงานและการ
ใชจ้ ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ ปที ี่ประเมนิ คอื ปี 2560
พ.ศ.2561 (3) รายงานสถานะหนี้คงคา้ ง
รายเดอื น ณ. สิ้นเดือนมีนาคม 2561
-รายงานกลางปไี มไ่ ดม้ ีการปรบั ปรับปรงุ การ
คาดการณ์เศรษฐกจิ มหภาค รายได้
คา่ ใช้จา่ ย ทม่ี าของรายได้ และข้อมลู การ
กูย้ ืม
-รายงานสถานการณด์ า้ นการคลงั
ประจาเดอื นกันยายน 2560
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 74 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
แนวทางการเพ่ิมความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
รำยกำรตำมแบบสอบถำม คำถำมข้อท่ี สรุปคำตอบของประเทศไทย ควำมคิดเห็น
ผ้วู จิ ำรณ์และผศู้ ึกษำ
/ (คะแนนทไี่ ดร้ ับจำก 100
ยังไมม่ กี ารเปรยี บเทยี บ(1)
คะแนน) ระหว่างผลลพั ธ์กับ
งบประมาณท่ีใชไ้ ป
หน่วยงานทรี่ บั ผิดชอบ สานักงานเศรษฐกิจ (2) การคาดการณ์
เศรษฐกจิ มหภาคตอนตงั้
การคลงั งบประมาณกับที่เกิดขน้ึ
จริง (3) รายการท่เี ป็นเงนิ
-สรุปผลการดาเนินงานและการใชจายงบ นอกงบประมาณ รายการ
ทไี่ ม่ใช่รายการทางการเงนิ
ประมาณประจาปงบประมาณพ.ศ. 2560 -งบการเงนิ ไม่ได้เปน็ สว่ น
หนง่ึ ในรายงานส้ินปี
รายกระทรวง โดยสานกั งบประมาณ
-ทปี่ ระเมินคือปี 2559
-รายงานบอกถึงประเภทของรายจ่าย ด้าน เป็นคาถามท่เี ก่ียวกับ
อานาจของหน่วย
บริหาร เศรษฐกจิ และสาขาการดาเนนิ งาน ตรวจสอบสงู สดุ ท่ีมีต่อ
งบประมาณ และเงนิ นอก
-ไมไ่ ด้แสดงความแตกตา่ งระหว่างการ งบประมาณ ซง่ึ โดยทั่วไป
ควรจะใช้หลักการตรวจ
คาดการณเ์ ศรษฐกจิ มหภาคทคี่ านวณตอน เดยี วกบั
-สรปุ รายงานการ
ตั้งงบประมาณกบั ท่เี กดิ ขึ้นจริง ตรวจสอบไมไ่ ดเ้ ผยแพร่ มี
เพียงเสนอให้คณะรัฐมนตรี
-ไมไ่ ดป้ ระเมนิ รายการที่ไมใ่ ช่รายการทาง
1. ระยะเวลาเปิดใหร้ ับฟัง
การเงินกับทเี่ กดิ ขนึ้ จรงิ ความคิดเห็นส้นั มาก และ
ชอ่ งทางการเขา้ ถงึ ไม่
รายงานการตรวจสอบ AR2/97-102 -รายงานการตรวจสอบจะตรวจไดจ้ านวน 2 แพรห่ ลาย
2. ผบู้ รหิ ารภาครัฐไมไ่ ด้ใช้
/Audit Report (48 ใน 3 ของเงินที่มีอานาจตรวจ กลไกการมีส่วนรว่ มที่
ประชาชนสามารถให้
คะแนน) -ขณะทารายงานนี้ ไมส่ ามารถเข้าถึงลงิ ค์ที่ ขอ้ มลู ในการติดตามการ
ดาเนนิ การตาม
อา้ งถึงในแบบสอบถาม งบประมาณประจาปี
3. ยงั ไมม่ ีการสือ่ สารกับ
-เอกสารที่อา้ งถึงคอื มติคณะรฐั มนตรี เรอ่ื ง ประชาชนให้มสี ่วนรว่ ม
ตรวจสอบรายงาน /
การตดิ ตามการใชจ้ า่ ยเงินแผ่นดิน โครงการรูปแบบต่างๆ
ปีงบประมาณ 2560 และมีจานวนรายงาน
ไมก่ ฉ่ี บบั
-ไม่มีการจัดทารายงานสาธารณะเกี่ยวกบั
ขั้นตอนการดาเนินการเพอื่ แกไ้ ข หรอื
ข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบหรือขอ้
คน้ พบท่ีบ่งชถี้ ึงความตอ้ งการการ
ดาเนนิ การแก้ไข
Assessing Public Participation (คะแนนท่ไี ดร้ บั 13 คะแนน)
Public engagement in 125-142 เอกสารอ้างองิ "รายงานสรปุ ผลการรบั ผัง
the budget process ความคดิ เหน็ การจัดทารา่ งพระราชบัญญตั ิ
-การการวางแผน งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2562 โดย
งบประมาณ (0 คะแนน) สานักงบประมาณ
-การอนมุ ัตงิ บประมาณ ขอ้ มลู ที่ประชาชนควรได้ทราบชว่ งก่อนการ
(0 คะแนน) กาหนดงบประมาณ
-การนางบประมาณไปใช้ 1. Macroeconomic issues
(25 คะแนน) 2. Revenue forecasts, policies, and
-การตรวจสอบของหน่วย administration
ตรวจสอบสงู สดุ (33 3. Social spending policies
คะแนน) 4. Deficit and debt levels
5. Public investment projects
6. Public services
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 75 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพิ่มความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณ
รำยกำรตำมแบบสอบถำม คำถำมขอ้ ที่ สรุปคำตอบของประเทศไทย ควำมคดิ เห็น
/ (คะแนนทไี่ ด้รบั จำก 100 ผู้วิจำรณแ์ ละผู้ศึกษำ
คะแนน)
-รายงานกลางปที ีป่ ระชาชนควรมสี ว่ นรว่ ม
คือการปรับปรุงการคาดการณต์ ามตัวแปร
1. Purpose
2. Scope
3. Constraints
4. Intended outcomes
5. Process and timeline
Oversight : role of the legislature and supreme audit institution (คะแนนท่ไี ด้รับ 63 คะแนน)
Role of the legislature 107-118 เอกสารอ้างองิ (1)รายงานการพิจารณา -ระยะเวลาทีร่ ฐั สภาได้รบั
(69 คะแนน) คณะกรรมาธกิ ารงบประมาณ 2562 (2) ร่างพระราชบญั ญตั เิ ป็นไป
พรบ.งบประมาณ 2562 ตามท่ีกาหนด
-รัฐสภาไมม่ ีการอภปิ รายเกย่ี วกับข้นั การ -รฐั สภาควรเผยแพรผ่ ล
วางแผนงบประมาณ หรือก่อนทีจ่ ดั ทา การติดตาม ตรวจสอบ
ขอ้ เสนองบประมาณ งบประมาณ หรอื โครงการ
-รัฐสภามีอานาจแก้ไขร่างข้อเสนอ
งบประมาณ แตอ่ านาจเป็นไปอย่างจากัด
-การพจิ ารณาชองรัฐสภาโดยมี
คณะกรรมาธกิ ารและแบ่งการพจิ ารณาเป็น
รายด้าน เช่น การศกึ ษา สาธารณะสขุ
-ในช่วง 12 เดอื น คณะกรรมาธิการได้
ตรวจสอบการใช้จ่าย แตไ่ ม่มกี ารผลติ
เอกสารออกส่สู าธารณะ
-ฝ่ายบรหิ ารมาขอใหฝ้ ่ายนติ ิบญั ญตั ิ
พจิ ารณาเกีย่ วกบั การจัดสรรรายได้ทีเกบ็
เกิน
Role of the supreme 119-124 -หวั หน้าสว่ นได้รับการแตง่ ต้ังอย่างมอี ิสระ -ไม่มีกลไกในการมีส่วน
audit institution (50 ในการบรหิ าร หนว่ ยงานจดั ต้งั มกี ฎหมาย รว่ มเขา้ ถึงขอ้ มลู ระหวา่ ง
คะแนน) รองรบั (พระราชบญั ญตั ิประกอบ ปงี บประมาณ
รัฐธรรมนญู ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน
พ.ศ. ๒๕๖๑)
-SAI ไมไ่ ด้ถูกตรวจสอบโดยหนว่ ยงาน
ตรวจสอบอ่ืน
-ไมม่ กี ลไกในการมสี ่วนรว่ มเข้าถึงข้อมูล
ระหวา่ งปีงบประมาณ
Role of independent 103-106 หน่วยงานท่ีเป็นตัวแทนของ IFI ในประเทศ IFI. ในประเทศไทยคอื
fiscal institutions : IFI ไทย คือ สานักงบประมาณของรัฐสภา Parliamentary Budget
(ไมม่ กี ารประเมิน) (Parliamentary Budget Office ; PBO) Office ; PBO ยังไม่ไดถ้ ูก
ซ่ึ ง เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น ภ า ย ใ น ส า นั ก ง า น จดั ต้งั โดยกฎหมาย และยัง
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ทาหน้าที่ ต้องรายงานฝ่ายนติ บิ ญั ญัติ
สนับสนุนงานวิชาการเกี่ยวกับงบประมาณ การวเิ คราะหเ์ ศรษฐกิจมห
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร 76 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ
แนวทางการเพิ่มความโปรง่ ใสในกระบวนการงบประมาณ
รำยกำรตำมแบบสอบถำม คำถำมขอ้ ที่ สรุปคำตอบของประเทศไทย ควำมคิดเห็น
/ (คะแนนทไ่ี ดร้ ับจำก 100 ผู้วจิ ำรณแ์ ละผู้ศึกษำ
คะแนน)
ให้กับฝ่ายนิติบัญญัติ ผู้ตอบคาถาม ตอบว่า ภาคและการประมาณการ
(1) ไมม่ ีกฎหมายเกี่ยวกับความเป็นอิสระใน ทางการคลงั ยงั ใช้ข้อมลู
การจัดตัง้ (2) ไม่ได้จดั ทาการคาดการณ์ทาง จากรฐั บาล จึงยงั ไม่ไดว้ ดั
เศรษฐกิจมหภาคหรอื ทางการเงินเอง แต่จะ ตัวชี้วดั น้ี
เผยแพรก่ ารประเมินเศรษฐกจิ มหภาคอย่าง
เป็นทางการและ / หรือการคาดการณ์
ทางการคลังท่ีจัดทาโดยฝ่ายบริหาร (3)
ไม่ได้จัดทาต้นทุนข้อเสนอนโยบายใหม่ (4)
ผู้บริหารระดับสูงของ PBO ไม่ได้เข้าร่วม
เปน็ คณะกรรมาธิการ
สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร 77 สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ