รายงานวเิ คราะห์ร่างพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ข้อสังเกต PBO
7) เงนิ อดุ หนุนควรถกู ตดิ ตามอย่างเป็นระบบ
กรมบัญชีกลำง ควรมีกำรเผยแพร่หรือรำยงำนผลกำรใช้จ่ำยงบประมำณของหน่วยงำนที่
ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณในลักษณะเงินอุดหนุนในระบบ GFMIS เช่นเดียวกับของหน่วยรับ
งบประมำณอ่ืน ๆ เพื่อให้ภำครัฐ และภำคเอกชน สำมำรถติดตำมผลกำรใช้จ่ำยงบประมำณ
และผลกำรดำเนนิ งำนของหน่วยงำนดังกลำ่ วไดอ้ ย่ำงต่อเนื่อง และเป็นปจั จบุ นั มำกยง่ิ ขน้ึ
8.9 งบประมาณรายจา่ ยขององคก์ ารมหาชน
“องค์กำรมหำชน” เป็นหน่วยงำนของรัฐ ที่เป็นนิติบุคคลซ่ึงมีวัตถุประสงค์ไม่แสวงหำกำไร
จัดตง้ั และได้รบั เงินอดุ หนนุ จำกรฐั ให้ดำเนนิ กจิ กรรม หรือสำมำรถเลีย้ งตัวเองได้ เพ่ือทำภำรกจิ ของรัฐ
ในกำรให้บริกำรสำธำรณะทำงสังคมและวัฒนธรรม (Social and Cultural Public Services) เช่น
กำรศึกษำ กำรวิจัย กำรฝึกอบรม กำรทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม กำรพัฒนำและส่งเสริมกำรกีฬำ
กำรพัฒนำและถ่ำยทอดวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี กำรอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติ
กำรบริกำรทำงสำธำรณสุขและกำรแพทย์ กำรสังคมสงเครำะห์ นันทนำกำร สวนสัตว์ กำรอำนวย
กำรบริกำรแก่ประชำชน หรือกำรดำเนินกำรอันเป็นสำธำรณประโยชน์อ่ืนใด ซึ่งไม่เหมำะท่ีจะใช้
วิธีกำรของรำชกำรในกำรบริหำร โดยกำรใหบ้ รกิ ำรสำธำรณะดังกลำ่ วต้องไม่มีลักษณะเป็นกำรแข่งขัน
กับภำคเอกชน ปัจจุบันประเทศไทยมีองค์กำรมหำชน รวมจำนวน 59 แห่ง (ไม่นับรวมมหำวิทยำลัย)
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ องค์กำรมหำชนที่จัดตั้งขึ้นโดยพระรำชกฤษฎีกำซ่ึงออกตำมควำม
ในพระรำชบัญญัติองค์กำรมหำชน พ.ศ. 2542 จำนวน 35 แห่ง และองค์กำรมหำชนที่จัดตั้งโดย
พระรำชบัญญัตเิ ฉพำะ (หน่วยงำนในกำกับ) จำนวน 24 แหง่ (ณ วันที่ 1 เมษำยน 2563)
8.9.1 งบประมาณขององค์การมหาชน
จำกสถิติงบประมำณย้อนหลัง 5 ปี (พ.ศ. 2560 - 2564) พบว่ำ องค์กำรมหำชนได้รับเงิน
อุดหนุนเพ่ิมสูงขึ้นทุกปี สำหรับปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 องค์กำรมหำชนได้รับจัดสรรงบประมำณ
เป็นเงินอุดหนุนทั่วไป รวม 50 แห่ง จำนวน 26,472.2570 ล้ำนบำท หรือร้อยละ 0.80 ของ
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปี พ.ศ. 2564 (แผนภำพท่ี 8-16) ลดลงจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
จำนวน 1,133.4785 ล้ำนบำท หรือลดลงร้อยละ 4.11 โดยจำแนกตำมประเภทกำรจัดต้ังหน่วยงำน
พบว่ำ องค์กำรจัดต้ังข้ึนโดยพระรำชกฤษฎีกำซ่ึงออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติองค์กำรมหำชน
พ.ศ. 2542 ไดร้ บั งบประมำณ จำนวน 33 แหง่ เปน็ เงนิ 13,751.5231 ลำ้ นบำท และองค์กำรมหำชน
ท่ีจัดตั้งโดยพระรำชบัญญัติเฉพำะ (หน่วยงำนในกำกับ) ได้รับงบประมำณ จำนวน 17 แห่ง เป็นเงิน
12,720.7339 ล้ำนบำท
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -83- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานวิเคราะหร์ ่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนภาพที่ 8 - 16 งบประมำณขององค์กำรมหำชน
หนว่ ย: ล้ำนบำท
ทีม่ า: 1. เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 5 รำยงำนภำวะเศรษฐกจิ และกำรคลงั ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 จำนวน 49 แหง่ จำนวน
งบประมำณทัง้ สิน้ 26,445.7989 ล้ำนบำท
2. เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 12 ปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 จำนวน 1 แหง่ จำนวนงบประมำณทัง้ สิน้ 26.4581 ล้ำนบำท
หมายเหตุ: งบประมำณขององค์กำรมหำชนในปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 และ พ.ศ. 2564 รวมงบประมำณของสำนักงำนส่งเสริม
วิสำหกิจเพื่อสังคม ซ่ึงได้รับจัดสรรงบประมำณจำนวน 27.5761 และ 26.4581 ล้ำนบำท ตำมลำดับ ทั้งน้ี สำนักงำนคณะกรรมกำร
พัฒนำระบบรำชกำร (สำนักงำน กพร.) กำหนดให้สำนักงำนส่งเสริมวิสำหกิจเพอ่ื สังคม เป็นองค์กำรมหำชนท่ีจดั ตั้งข้ึนพระรำชบัญญัติ
เฉพำะ (หนว่ ยงำนในกำกับ) เมอ่ื วนั ที่ 20 พฤษภำคม 2562
หำกจำแนกรำยหน่วยงำนแล้ว องค์กำรมหำชนที่ได้รับจัดสรรงบประมำณสูงสุด คือ
สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ ได้รับงบประมำณ 5,209.7681 ล้ำนบำท และ
องค์กำรมหำชนท่ีได้รับงบประมำณต่ำสุด คือ โรงพยำบำลบ้ำนแพ้ว ได้รับงบประมำณเพียงจำนวน
6.4500 ล้ำนบำท
แผนภาพท่ี 8 - 17 อันดับองค์กำรมหำชนที่ได้รับงบประมำณสงู สุด/ต่ำสดุ
ที่มา: เอกสำรงบประมำณ ฉบับที่ 5 รำยงำนภำวะเศรษฐกจิ และกำรคลงั ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 สำนกั งบประมำณ
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -84- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานวิเคราะหร์ ่างพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
8.9.2 ผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ และฐานะการเงนิ ขององค์การมหาชน
องค์กำรมหำชนรับงบประมำณเป็นเงินอุดหนุนทั่วไป เพ่ือให้มีอิสระในกำรบริหำรและ
ใช้จ่ำยงบประมำณ โดยผลกำรเบิกจ่ำยงบประมำณที่ปรำกฏในระบบบริหำรกำรเงินกำรคลังภำครัฐ
แบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) กระทรวงกำรคลัง จึงเป็นกำรเบิกจ่ำยงบประมำณทั้งจำนวนท่ีได้รับ
จัดสรร คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งไม่สำมำรถติดตำม และเร่งรัดกำรใช้จ่ำยงบประมำณได้ เช่นเดียวกับ
หน่วยงำนของรฐั อ่ืน ๆ ดงั นั้น PBO จงึ ใช้ข้อมูลในกำรติดตำมประเมนิ ผล กำรควบคมุ และกำรบริหำร
จัดกำรงบประมำณ จำกรำยงำนงบกำรเงิน ณ วันส้ินปีงบประมำณปีก่อน โดยรำยงำนกำรเงินปลี ำ่ สดุ
คือ ปงี บประมำณ พ.ศ. 2562
(1) ผลการใชจ้ ่ายงบประมาณสาหรบั ปีสิ้นสุดวนั ที่ 30 กันยายน 2562
ตารางท่ี 8 - 14 รำยได้และค่ำใชจ้ ่ำยขององค์กำรมหำชนสำหรับปี พ.ศ. 2558 – 2562
หนว่ ย: ลำ้ นบำท
รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย รายไดส้ ูง(เงนิ เหลอื จา่ ย)/
(4) -ต่ากว่ารายจา่ ย
ปีงบประมาณ งบประมาณ นอกงบประมาณ รวม (5)=(3)-(4)
(1) (2) (3)=(1)+(2)
พ.ศ. 2558 19,823.2764 6,887.2338 26,710.5102 27,336.1586 -625.6484
พ.ศ. 2559 20,613.7591 6,542.8596 27,156.6187 26,009.5025 1,147.1162
พ.ศ. 2560 21,880.4437 7,211.9667 29,092.4104 27,852.1257 1,240.2846
พ.ศ. 2561 28,025.8684 7,768.0672 35,793.9356 30,719.6238 5,074.3119
พ.ศ. 2562 28,297.6312 7,851.7797 36,149.4109 33,198.0274 2,951.3835
ทีม่ า: ระบบรำยงำนกำรเงนิ รวมขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินและหนว่ ยงำนภำครัฐ (CFS) กรมบัญชีกลำง ณ วนั ที่ 1 เมษำยน 2563
จำกกำรรำยงำนผลกำรดำเนินงำนทำงกำรเงินขององค์กำรมหำชนสำหรับปีสิ้นสุดวันท่ี
30 กันยำยน 2562 พบว่ำ องค์กำรมหำชนมีรำยได้จำกงบประมำณและรำยได้เงินนอกงบประมำณ
หรือรำยได้จำกกำรดำเนินงำน รวม 36,149.4109 ล้ำนบำท ค่ำใช้จ่ำยรวม 33,198.0274 ล้ำนบำท
ส่งผลให้มีเงินงบประมำณเหลือจ่ำย จำนวน 2,951.3835 ล้านบาท โดยเงินงบประมำณเหลือจ่ำย
ดังกล่ำวกฎหมำยกำหนดให้องค์กำรมหำชนสำมำรถเก็บไว้ที่หน่วยงำนโดยไม่ต้องนำส่งคืนคลัง ดังนัน้
องค์กำรมหำชนจึงมีเงินงบประมำณเหลือจ่ำยคงเหลือสะสมอยู่ในรูปของ เงินสด และรำยกำร
เทียบเท่ำเงินสด เงินฝำกธนำคำร เงินลงทุนระยะสั้น และเงินลงทุนระยะยำว หลังหักภำระหน้ีสิน
ทง้ั สิน้ ณ วันท่ี 30 กนั ยำยน 2562 คงเหลอื จำนวน 27,629.3441 ล้านบาท ส่งผลให้องคก์ ำรมหำชน
มีสภำพคล่องในกำรดำเนินงำน และสำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชนได้อย่ำงรวดเร็ว
แต่เงินฝำกและเงินลงทุนเหล่ำน้ีถือเป็นเงินงบประมำณหำกนำมำสะสม ไว้โดยไม่มีแผนกำรใช้จ่ำย
งบประมำณท่ีชัดเจน อำจเสียโอกำสในกำรใช้งบประมำณให้เกิดประโยชน์สูงสุด และหำกนำเงินฝำก
และเงินทุนเหล่ำนี้มำใช้ในกำรดำเนินงำนแทนกำรขอรับจัดสรรงบประมำณ จะเป็นกำรลดภำระ
งบประมำณได้เป็นจำนวนมำก ดังน้ัน กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีจำเป็นต้องคำนึงถึง
ภำระงบประมำณตำมแผนกำรใช้จ่ำยและแผนกำรดำเนินงำนขององค์กำรมหำชนให้สอดคล้องกับ
ประสิทธิภำพกำรบริหำรงำนและกำรใช้จ่ำยงบประมำณ ซ่ึงหำกจัดสรรงบประมำณสูงเกินไปอำจ
ส่งผลให้รัฐเสียโอกำสในกำรใช้จ่ำยงบประมำณสำหรับโครงกำรอ่ืน ๆ หรือหำกจัดสรรงบประมำณไม่
เพียงพออำจส่งผลกระทบต่อเป้ำหมำยกำรให้บริกำรสำธำรณะขององค์กำรมหำชนต่อประชำชน โดย
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -85- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานวิเคราะหร์ ่างพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
รำยละเอยี ดรำยได้และกำรใช้จ่ำยงบประมำณขององคก์ ำรมหำชน ตำมรำยงำนผลกำรดำเนินงำนทำง
กำรเงนิ ขององค์กำรมหำชนสำหรบั ปี พ.ศ. 2558 – 2562 ตำมตำรำงที่ 8-14
(2) ฐานะการเงนิ และการสมทบงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ตารางที่ 8 - 15 ฐำนะกำรเงินขององค์กำรมหำชน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2558 - 2562
หน่วย: ล้ำนบำท
ปงี บประมาณ สนิ ทรัพย์ หนสี้ ิน อัตราสว่ น สินทรพั ย์หลงั งบประมาณ ดาเนนิ งาน
(1) (2) สภาพคลอ่ ง หกั หนสี้ นิ ท่ขี อรับจัดสรร โดยไมข่ อรบั
พ.ศ. 2558 ตาม พ.ร.บ. งบประมาณ
พ.ศ. 2559 (3)=(1)/(2) เท่า (4)=(1)-(2) พ.ศ. 2562 (5) (6)=(4)/(5) ปี
พ.ศ. 2560
พ.ศ. 2561 32,905.3011 6,357.9036 5.18 26,547.3975 22,078.0108 1.20
พ.ศ. 2562
33,876.5587 7,114.6501 4.76 26,761.9085 23,131.5925 1.16
33,517.7862 8,504.7871 3.94 25,012.9991 25,945.8642 -
39,140.9206 11,125.1548 3.52 28,015.7658 27,461.4886 1.02
38,115.5085 10,486.1643 3.63 27,629.3441 27,605.7355 1.00
ที่มา: ระบบรำยงำนกำรเงนิ รวมขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และหนว่ ยงำนภำครัฐ (CFS) กรมบัญชกี ลำง ณ วนั ท่ี 1 เมษำยน 2563
เมื่อศึกษำรำยละเอียดจำกงบแสดงฐำนะกำรเงินขององค์กำรมหำชน ณ วันท่ี 30 กันยำยน
2562 แล้วพบว่ำ องค์กำรมหำชนมีสินทรัพย์ท่ีมีสภำพคล่อง ประกอบด้วย เงินสด และรำยกำร
เทียบเท่ำเงินสด รวมถึงเงินลงทุนระยะส้ัน (เงินฝำกประจำไม่เกิน 6 เดือน) และเงินลงทุนระยะยำว
(เงินฝำกประจำเกิน 6 เดือน) รวมจำนวน 38,115.5085 ล้ำนบำท และมีหน้ีสินรวม
จำนวน 10,486.1643 ลำ้ นบำท แสดงใหเ้ ห็นว่ำมีฐำนะกำรเงินคงเหลือสูง จำนวน 27,629.3441 ล้ำนบำท
โดยเงินจำนวนดังกล่ำวเกิดจำกเงินงบประมำณเหลือจ่ำยที่สะสมไว้ รวมกับเงินรำยได้จำกกำร
ดำเนินงำนของหน่วยงำนเอง ดังน้ัน องค์กำรมหำชนท่ีมีฐำนะกำรเงินคงเหลือสูงอำจไม่ขอรับจัดสรร
งบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีโดย “นำสนิ ทรัพย์ท่มี ีสภำพคลอ่ งหลังหกั หน้ีสนิ ” มำใช้ในกำรดำเนนิ งำน
แทนกำรขอรับจัดสรรงบประมำณ หรือ ใช้สมทบกับงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี พ.ศ. 2563
ในภำพรวมองค์กำรมหำชนมีสภำพคล่องสูงถึง 3.63 เท่ำ และสำมำรถดำเนินงำนได้ โดยไม่ขอรับ
จัดสรรงบประมำณได้ประมำณ 1 ปี และประหยัดงบประมำณ 27,605.7355 ล้ำนบำท ทั้งน้ี
จำกขอ้ มูลในเอกสำรงบประมำณฉบับท่ี 7 รำยงำนสถำนะและแผนกำรใชจ้ ่ำยเงนิ นอกงบประมำณของ
หน่วยรับงบประมำณ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 พบว่ำ องค์กำรมหำชนมีรำยได้เงินนอก
งบประมำณ ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 14,172.0827 ล้ำนบำทและได้นำเงินนอก
งบประมำณมำสมทบกับงบประมำณรำยจ่ำย จำนวน 4,179.6792 ล้ำนบำท ท้ังน้ี สำมำรถแสดง
รำยละเอียดฐำนะกำรเงนิ ขององค์กำรมหำชน ปงี บประมำณ พ.ศ. 2558 - 2562 ตำมตำรำงท่ี 8-15
ท้ังน้ีสำมำรถเชื่อมโยงรำยได้ ค่ำใช้จ่ำย และฐำนะกำรเงินขององค์มหำชนได้ ตำมแผนภำพ
ที่ 8 – 18 ดังนี้
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -86- สานักงบประมาณของรฐั สภา
รายงานวิเคราะหร์ า่ งพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่าย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
แผนภาพท่ี 8 - 18 กำรใช้จ่ำยงบประมำณ และฐำนะกำรเงนิ ขององค์กำรมหำชน
ท่มี า: ระบบรำยงำนกำรเงนิ รวมขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นและหนว่ ยงำนภำครัฐ (CFS) กรมบญั ชกี ลำง ณ วนั ท่ี 1 เมษำยน 2563
ขอ้ สังเกต PBO
1) องค์กำรมหำชนควรกำหนดแผนระยะยำว หรือ Road Map ท่ีกำหนดเป้ำหมำย หรือ
เง่ือนไขและปัจจัยต่ำง ๆ ท่ีส่งผลให้สำมำรถดำเนินงำนได้โดยไม่ต้องรับกำรอุดหนุนจำกรัฐ เพื่อ
แสดงให้เห็นถึงศักยภำพของหน่วยงำนท่ีมีควำมอิสระและสำมำรถพึ่งตนเองได้ และควรจัดทำ
แผนกำรดำเนินงำนและแผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณให้สอดคล้องกับศักยภำพและควำมพร้อมของ
หน่วยงำน โดยจัดทำแผนกำรคลังระยะปำนกลำงท่ีมีระยะเวลำไม่น้อยกว่ำ 3 ปี เพื่อใช้เป็นแผน
แม่บทสำหรับวำงแผนกำรดำเนนิ งำนทำงกำรเงนิ และงบประมำณ
2) กำรจัดต้ังองค์กำรมหำชนหรือองค์กำรทมี่ ีรูปแบบใกล้เคียงกันขน้ึ ใหม่ควรคำนึงถึงควำม
ซ้ำซ้อนของภำรกิจกับหน่วยงำนอ่ืน ประโยชน์และควำมคุ้มค่ำท่ีจะได้รับจำกกำรจัดตั้ง พร้อม
กำหนดระยะเวลำในกำรดำเนินงำนให้ชัดเจน เพื่อไม่เป็นภำระงบประมำณ หำกองค์กำรมหำชนใด
ดำเนินงำนบรรลุตำมเป้ำหมำย และวัตถุประสงค์กำรจัดต้ังครบถ้วนแล้วควรประเมินผลกำร
ดำเนนิ งำนเพ่ือกำรรวม ยุบเลิก ต่อไป
3) ควรมีกำรควบคุมกำรบริหำร และกำรตรวจสอบค่ำใช้จ่ำยต่ำง ๆ ให้เข้มงวด โดย
ปรับปรุงระเบียบ หรือกฎหมำยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้กำรใช้จ่ำยงบประมำณมีลักษณะประหยัด
เกดิ ประโยชน์ คุ้มค่ำมำกทีส่ ดุ และไมเ่ ปน็ ภำระงบประมำณ
4) องค์กำรมหำชนควรพิจำรณำถึงแนวทำงกำรลดภำระงบประมำณ โดยเพ่ิมศักยภำพใน
กำรสร้ำงรำยได้จำกกำรขำยและบริกำรหรือรำยได้จำกกำรดำเนินงำนอ่ืน ๆ เพื่อให้สำมำรถ
ดำเนินงำนได้โดยไม่ขอรับกำรจัดสรรงบประมำณ หรือควรมีกำรแนวทำงในกำรสมทบ
เงินงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปี ใหช้ ดั เจนและเหมำะสมกบั องค์กำรมหำชนแตล่ ะประเภท
5) หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดสรรงบประมำณควรพิจำรณำข้อมูลจำกรำยงำน
ดงั ตอ่ ไปนี้
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -87- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานวิเคราะหร์ ่างพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ขอ้ สงั เกต PBO
5.1) รำยงำนงบกำรเงนิ
- พจิ ำรณำเงินฝากธนาคาร และเงนิ ลงทนุ ต่าง ๆ หักรำยกำรหนีส้ นิ และภำระผูกพนั ต่ำง ๆ
จำกงบแสดงฐำนะกำรเงิน หำกยอดคงเหลือมีจำนวนเงินเพียงพอกับแผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณที่
จำเป็นต้องขอรับกำรจัดสรรงบประมำณประจำปี ให้นำเงินฝำกธนำคำร และเงินลงทุนต่ำง ๆ มำใช้แทน
กำรขอรับจัดสรรงบประมำณ เพ่ือลดภำระงบประมำณ หรือ
- พิจำรณำดอกเบ้ียรับ จำกงบแสดงผลกำรดำเนินงำนทำงกำร หำกดอกเบี้ยรับมีจำนวน
มำกเพียงพอควรนำมำสบทบกับงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี เพ่อื ลดสัดสว่ นกำรจัดสรรงบประมำณ
- พิจำรณำค่ำใช้จ่ำยจริงที่เกิดข้ึนซึ่งปรำกฏในงบแสดงผลกำรดำเนินงำน ที่สำมำรถ
สะท้อนใหเ้ ห็นถึงภำระค่ำใชจ้ ่ำยและศักยภำพในกำรใช้จำ่ ยงบประมำณของหน่วยงำน
5.2) รำยงำนกำรประเมินผลกำรใช้จ่ำยเงินและทรัพย์สิน ท่ีจัดทำโดยสำนักงำนกำร
ตรวจเงินแผ่นดิน ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงควำมสำมำรถของกำรใช้จ่ำยและทรัพย์สินขององค์กำรมหำชน
ถูกใช้เพ่ือให้บรรลุตำมวัตถุประสงค์ อย่ำงมีประสิทธิภำพ ประหยัด คุ้มค่ำ และได้ผลตำมเป้ำหมำย
เพียงใด นำไปสู่กำรพจิ ำรณำจัดสรรงบประมำณไดอ้ ย่ำงมปี ระสิทธิภำพ
โดยกำรจัดสรรตำมควำมจำเป็น คำนึงถึงควำมประหยัด คุ้มค่ำของกำรใช้จ่ำย
งบประมำณ และตำมมำตรำ 17 แห่งพระรำชบัญญัติวินัยกำรเงินกำรคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 โดย
ให้คำนงึ ถงึ ปัจจยั สำคญั ในกำรจดั สรรงบประมำณรำยจำ่ ยใหแ้ กห่ น่วยงำนของรัฐอย่ำงเคร่งครดั
8.10 งบประมาณรายจ่ายในมติ พิ ้ืนท่ี (Area)
กำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีท่ีผ่ำนมำ รัฐบำลได้ให้ควำมสำคัญกับกำรบูรณำกำร
กำรดำเนินงำนและงบประมำณ ท้ังในมิติวำระสำคัญของประเทศ (Agenda) และในมิติพื้นที่ (Area)
มุ่งตอบสนองกำรพัฒนำพื้นท่ีตำมยุทธศำสตร์กำรพัฒนำพื้นท่ีภำค (ยุทธศำสตร์ที่ 9) ของแผนพัฒนำ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบบั ที่ 12 เพอื่ ลดควำมเหลื่อมล้ำสรำ้ งควำมเสมอภำคระหว่ำงส่วนกลำง
และภูมิภำค โดยได้มีกำรจัดสรรงบประมำณครอบคลุมพ้ืนท่ี (Area) 3 ระดับ ต้ังแต่ระดับภำค ระดับ
จงั หวดั และกลุม่ จงั หวัด และระดบั ท้องถ่ิน ดังนี้
ตารางที่ 8 - 16 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำย ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 - 2564
จำแนกตำมประเภทมิติพ้นื ที่ (Area)
หนว่ ย: ลำ้ นบำท
การจดั สรร ปงี บประมาณ เพิ่ม/-ลด จากปี 2563
งบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564 จานวน ร้อยละ
รวมทัง้ สนิ้ 273,754.3 288,918.4 323,128.5 350,890.4 367,853.5 16,963.1 4.8
1. ระดับภำค - - 20,083.5 20,305.1 22,189.5 1,884.4 9.3
2. ระดบั จังหวัด 26,432.7 24,996.4 27,579.6 23,597.1 23,413.6 -183.5 -0.8
และกลมุ่ จงั หวัด
3. ระดับทอ้ งถิ่น 247,321.6 263,922.0 275,465.4 306,988.2 322,250.4 15,262.2 5.0
ที่มา: 1. ร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 สำนกั งบประมำณ
2. พระรำชบญั ญัตงิ บประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 - 2563 สำนักงบประมำณ
3. งบประมำณโดยสังเขป ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 สำนักงบประมำณ
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร -88- สานักงบประมาณของรฐั สภา
รายงานวเิ คราะห์รา่ งพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 มกี ำรจดั สรรงบประมำณในมติ พิ น้ื ท่ี รวมเปน็ เงนิ 367,853.5 ลำ้ นบำท
คิดเป็นร้อยละ 11.1 ของงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เพิ่มขึ้นจำกปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563 จำนวน 16,963.1 ลำ้ นบำท หรือเพิ่มขึน้ ร้อยละ 4.8 แบ่งเป็น
1) ระดับภาค ได้จัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยภำยใต้แผนงำนบูรณำกำรพัฒนำพ้ืนท่ีระดับภำค
ประกอบด้วย 6 ภำค จำนวน 22,189.5 ล้ำนบำท
2) ระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ได้จัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยภำยใต้แผนงำนยุทธศำสตร์
ส่งเสรมิ กำรพัฒนำจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณำกำร ประกอบด้วย 76 จงั หวดั และ 18 กลุ่มจังหวัด
จำนวน 23,413.6 ลำ้ นบำท
3) ระดับท้องถ่ิน ได้จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภำยใต้แผนงำน
ยุทธศำสตร์ส่งเสริมกำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 322,250.4 ล้ำนบำท
โดยแบง่ เป็น 2 สว่ น ดงั นี้
ส่วนท่ี 1 จดั สรรงบประมำณผ่ำนกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถน่ิ กระทรวงมหำดไทย ได้แก่
เทศบำลตำบล จำนวน 2,235 แห่ง และองคก์ ำรบริหำรส่วนตำบล จำนวน 5,322 แห่ง
ส่วนที่ 2 จัดสรรงบประมำณให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยตรง ได้แก่ กรุงเทพมหำนคร
เมืองพัทยำ สำหรับองค์กำรบริหำรสว่ นจังหวัด (76 จังหวัด) เทศบำลนคร 30 แห่ง และเทศบำลเมอื ง
จำนวน 184 แหง่ (เร่มิ ตง้ั แตป่ งี บประมำณ พ.ศ. 2563 - 2564)
แผนภาพที่ 8 - 19 เปรียบเทยี บกำรจดั สรรงบประมำณรำยจ่ำยในมิตพิ ้นื ที่ (Area) ปี 2560 – 2564
หนว่ ย: ล้ำนบำท
ท่ีมา: 1. รำ่ งพระรำชบัญญตั ิงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 สำนักงบประมำณ
2. พระรำชบัญญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 - 2563 สำนักงบประมำณ
3. เอกสำรงบประมำณโดยสังเขปประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 สำนักงบประมำณ
จำกแผนภำพท่ี 8-19 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยในมิติพื้นท่ี (Area) ปีงบประมำณ
พ.ศ. 2560 - 2564 ส่วนใหญเ่ ป็นงบประมำณในระดับท้องถิ่น ซงึ่ สะท้อนกำรให้ควำมสำคัญกบั กำรกระจำย
อำนำจกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐและงบประมำณลงสู่ระดับท้องถิ่น เพื่อกำรพัฒนำรำกฐำนเศรษฐกิจ
สังคม และกำรแข่งขันของประเทศ
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร -89- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานวิเคราะหร์ ่างพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
8.10.1 งบประมาณรายจา่ ยภายใต้แผนงานบูรณาการพฒั นาพนื้ ท่รี ะดบั ภาค
ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 แผนงำนบูรณำกำรพัฒนำพื้นท่ีระดับภำค ได้รับกำรจัดสรร
งบประมำณ จำนวน 22,189.5 ลำ้ นบำท เพิม่ ขนึ้ จำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 1,884.4 ลำ้ นบำท
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.3
ตารางท่ี 8 - 17 งบประมำณ แผนงำนบรู ณำกำรพัฒนำพน้ื ที่ระดบั ภำค
ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 – 2564
หนว่ ย: ล้ำนบำท
ลาดบั ภาค ปี 2563 ปี 2564 เพ่ิม/-ลด
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
1 ภำคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 7,826.4 35.3 1,431.9 22.4
2 ภำคใต้ 6,394.4 31.5 4,180.5 18.8
3 ภำคเหนอื 3,924.0 19.3 3,782.8 17.0 256.5 6.5
4 ภำคกลำง 3,589.8 17.7 3,030.2 13.7 193.0 5.4
5 ภำคตะวันออก 3,030.1 14.9 2,276.5 10.3
6 ภำคใตช้ ำยแดน 2,434.1 12.0 1,093.1 4.9 0.0 0.0
22,189.5 100 -157.6 -6.5
รวม 932.6 4.6 160.5 17.2
20,305.0 100 1,884.4 9.3
ทม่ี า: ร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 สำนกั งบประมำณ
ภำคที่ได้รับจัดสรรงบประมำณสูงสุด ได้แก่ ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 7,826.4
ล้ำนบำท (ร้อยละ 35.3) รองลงมำ คือ ภำคใต้ จำนวน 4,180.5 ล้ำนบำท (ร้อยละ 18.8)
ภำคเหนือ จำนวน 3,782.8 ล้ำนบำท (ร้อยละ 17.0) ภำคกลำง จำนวน 3,030.2 ล้ำนบำท
(ร้อยละ 13.7) ภำคตะวันออก จำนวน 2,276.5 ล้ำนบำท (ร้อยละ 10.3) และ ภำคใตช้ ำยแดน
จำนวน 1,093.1 ล้ำนบำท (รอ้ ยละ 4.9)
ตารางท่ี 8 - 18 ผลการเบิกจ่ายงบประมาณแผนงานบูรณาการพฒั นาพ้นื ที่ระดับภาค
หนว่ ย: ล้ำนบำท
ทีม่ า: ระบบกำรบรหิ ำรกำรเงินกำรคลงั ภำครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (GFMIS) กรมบัญชกี ลำง ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 31 พฤษภำคม 2563
- ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 แผนงำนบูรณำกำรพัฒนำพื้นที่ระดับภำค ได้รับจัดสรร
งบประมำณจำนวน 20,083.5 ล้ำนบำท เบิกจ่ำย จำนวนท้ังส้ิน 14,724.2 ล้ำนบำท คิดเป็นร้อยละ
73.3 ของงบประมำณงบประมำณที่ไดร้ ับจัดสรร
- ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 แผนงำนบูรณำกำรพัฒนำพื้นท่ีระดับภำค ได้รับจัดสรร
งบประมำณจำนวน 20,305.1 ล้ำนบำท มีกำรโอนงบประมำณตำมร่ำงพระรำชบัญญัติโอน
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 1,198.1 ล้ำนบำท คงเหลือ
งบประมำณหลังโอนเปลี่ยนแปลง จำนวน 19,107.0 ล้ำนบำท เบิกจ่ำย ณ วันท่ี 31 พฤษภำคม 2563
จำนวน 4,000.5 ลำ้ นบำท คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.9 ของงบประมำณหลงั โอนเปล่ียนแปลง
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -90- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานวิเคราะหร์ า่ งพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
8.10.2 งบประมาณรายจา่ ยของจังหวัดและกลุ่มจงั หวัด
กำรจัดทำงบประมำณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 คณะกรรมกำร
บูรณำกำรนโยบำยพัฒนำภำค (ก.บ.ภ.) ได้เห็นชอบกรอบงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2564 ตำมท่ี คณะกรรมกำรนโยบำยกำรบริหำรงำนจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณำกำร (ก.น.จ.)
เสนอ สำหรับงบประมำณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด เดิมกำหนดกรอบวงเงินไว้ จำนวน 28,000 ล้ำนบำท
แบ่งสัดส่วนกำรจดั สรรงบประมำณของจังหวัดและกล่มุ จงั หวดั กำหนดเปน็ 70 : 30 โดยกำหนดหลกั เกณฑ์
กำรจดั สรรงบประมำณแตล่ ะสว่ น ดังน้ี
1) หลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณของจังหวัด สัดส่วนร้อยละ 70 จำนวน ประมำณ
19,600 ลำ้ นบำท ประกอบด้วย งบพัฒนำจังหวัด 18,905 ลำ้ นบำท และงบบริหำรจัดกำรของจังหวัด
695 ล้ำนบำท
ตารางที่ 8 - 19 หลักเกณฑ์กำรจัดสรรงบประมำณให้จงั หวดั 76 จังหวดั สดั สว่ นร้อยละ
(วงเงนิ ประมำณ 19,600 ลำ้ นบำท)
70
องค์ประกอบการจดั สรรงบประมาณใหแ้ กจ่ งั หวดั ปี 2563 ปี 2564
1. จัดสรรตำมจำนวนประชำกรของแตล่ ะจงั หวดั 25% 25%
2. จดั สรรเฉล่ียเทำ่ กนั ทกุ จงั หวัด 20% 20%
3. จัดสรรตำมสัดสว่ นคนจนในแตล่ ะจงั หวดั 10% 10%
4. จดั สรรผกผนั ตำมรำยไดต้ อ่ ครวั เรือน 25% 25%
5. จัดสรรตำมผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด (GPP) 10% 10%
6. กำหนดประสทิ ธภิ ำพกำรดำเนนิ งำนตำมแผนปฏบิ ัตริ ำชกำร 5% 5%
ประจำปีของจงั หวดั ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562
7. จัดสรรตำมประสทิ ธิภำพกำรบรหิ ำรงบประมำณของจังหวัด 5% 5%
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562
สรุปกรอบทไี่ ดร้ บั จัดสรรงบประมาณ 18,905 ลบ. 18,905 ลบ.
งบบรหิ ารจดั การจังหวดั ปี 2563 ปี 2564
1. “จังหวัดขนำดใหญ่” ไดร้ ับงบบรหิ ำรจดั กำร 10 ล้ำนบำท 24 จังหวดั 24 จงั หวดั
2. “จงั หวดั ขนำดกลำง” ไดร้ บั งบบริหำรจดั กำร 9 ล้ำนบำท 39 จงั หวดั 39 จงั หวัด
3. “จังหวดั ขนำดเล็ก” ให้ไดร้ ับงบบริหำรจดั กำร 8 ล้ำนบำท 13 จงั หวัด 13 จังหวัด
รวมงบบรหิ ารจัดการจังหวัด 695 ลบ. 695 ลบ.
ท่มี า: มติทีป่ ระชมุ ก.บ.ภ.และ ก.น.จ. คร้ังที่ 2/2562
กรณีงบบริหำรจัดกำรของจังหวดั จัดสรรตำมขนำดจังหวัด ซ่ึงมี 3 องค์ประกอบและน้ำหนกั
ในกำรพิจำรณำ ดังนี้ จำนวนอำเภอในจังหวัด (ร้อยละ 40) จำนวนประชำกรในจังหวัด (ร้อยละ 30)
และขนำดพื้นทข่ี องจังหวัด (รอ้ ยละ 30)
2) หลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณของจังหวัดงบประมาณของกลุ่มจังหวัด สัดส่วน
ร้อยละ 30 จำนวน ประมำณ 8,400 ล้ำนบำท ประกอบด้วย งบพัฒนำกลุ่มจังหวัด 8,312 ล้ำนบำท
และงบบรหิ ำรจดั กำรของกลมุ่ จังหวัด 88 ลำ้ นบำท
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร -91- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
รายงานวเิ คราะหร์ า่ งพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตารางที่ 8 - 20 หลกั เกณฑ์กำรจดั สรรงบประมำณให้กลุ่มจงั หวดั 18 กลมุ่ จงั หวัด สัดส่วนรอ้ ยละ
(วงเงนิ ประมำณ 8,400 ลำ้ นบำท) 30
องคป์ ระกอบการจัดสรรงบประมาณให้แกก่ ลมุ่ จงั หวัด ปี 2563 ปี 2564
1. เฉลย่ี เท่ำกันทกุ จงั หวัด 50% 50%
25%
2. ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมกลมุ่ จังหวัด 25% 25%
8,312 ลบ.
3. ผกผันกบั ผลติ ภัณฑต์ ่อหัว 25% ปี 2564
3 กลุ่ม
สรปุ กรอบทีไ่ ดร้ ับจัดสรรงบประมาณ 8,311 ลบ. 4 - 5 กล่มุ
6 กล่มุ
งบบรหิ ารจดั การกลุ่มจงั หวดั ปี 2563 88 ลบ.
8,400 ลบ.
1. “กลมุ่ จังหวัด” ทีไ่ ดร้ บั งบบริหำรจัดกำร 4 ลำ้ นบำท 3 กลมุ่
2. “กลุ่มจังหวดั ” ทไ่ี ด้รบั งบบรหิ ำรจัดกำร 5 ลำ้ นบำท 4 - 5 กลุม่
3. “กล่มุ จังหวดั ” ทีไ่ ด้รบั งบบรหิ ำรจดั กำร 6 ล้ำนบำท 6 กลมุ่
รวมงบบริหารจัดการกลมุ่ จงั หวัด 89 ลบ.
รวมกรอบการจัดสรรงบประมาณใหก้ ลมุ่ จงั หวดั ปี 2564
ท่มี า: มตทิ ป่ี ระชุม ก.บ.ภ.และ ก.น.จ. ครงั้ ที่ 2/2562
ทงั้ น้ี กำรกำหนดสัดส่วนกำรจดั สรรกรอบวงเงนิ เพ่ือกำรพัฒนำกลุ่มจงั หวดั ประจำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2564 สำหรับงบพฒั นำกลุ่มจังหวัด ไดแ้ บง่ ออกเป็น 2 ส่วน กำหนดสัดสว่ นร้อยละ 50 : 50 ไดแ้ ก่
1) งบประมำณเพื่อขบั เคลื่อนแผนพัฒนำกลุ่มจังหวัดที่เป็นกำรเพิ่มศักยภำพที่เป็นควำมต้องกำร
รำยพน้ื ที่ หรอื แก้ไขปัญหำทเี่ ป็นประเดน็ รว่ มของกลมุ่ จังหวดั (วงเงนิ งบประมำณ 4,156 ลำ้ นบำท)
2) งบประมำณเพ่ือขับเคลื่อนแผนพัฒนำกลุ่มจังหวัดท่ีเป็นกำรพัฒนำในลักษณะ Cluster
หรอื ตอบสนองนโยบำยสำคัญของรัฐบำลเชิงพน้ื ที่ ระดบั กล่มุ จังหวดั (วงเงนิ งบประมำณ 4,156 ลำ้ นบำท)
เมื่อ ก.บ.ภ. เห็นชอบตัวเลขกรอบงบประมำณแล้วจึงนำเสนอคณะรัฐมนตรี เพ่ือดำเนินกำร
ตำมพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 ต่อไป ซึ่งได้มีกำรปรับลดกรอบวงเงินลง ทำให้
ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 จังหวัดและกลุ่มจังหวัดได้รับกำรจัดสรรงบประมำณภำยใต้แผนงำน
ยุทธศำสตร์ส่งเสริมกำรพัฒนำจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณำกำร จำนวน 23,413.6 ล้ำนบำท
(จำกกรอบวงเงินเดิม 28,000 ล้ำนบำท) คิดเป็นร้อยละ 0.7 ของงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี ลดลง
จำกปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 183.5 ลำ้ นบำท คดิ เป็นร้อยละ 0.8
ตารางท่ี 8 - 21 กำรจดั สรรงบประมำณรำยจ่ำยใหแ้ ก่จังหวัดและกลุ่มจังหวดั
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2560 – 2564 หนว่ ย: ลำ้ นบำท
การจดั สรรงบประมาณ ปงี บประมาณ เพมิ่ /ลด จากปี 2563
กลุ่มจังหวัด
2560 2561 2562 2563 2564 งบประมาณ ร้อยละ
6,400.1 6,093.1 8,200.7 6,187.5 6,782.1 594.6 9.6
จังหวัด 20,032.6 25,672.3 19,378.9 17,409.6 16,631.6 -778.0 -4.5
รวมทั้งส้ิน 26,432.7 31,765.4 27,579.6 23,597.1 23,413.6 -183.5 -0.8
ทีม่ า: 1. พระรำชบญั ญัติงบประมำณรำยจำ่ ยงบประมำณประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2560 - 2563 สำนกั งบประมำณ
2. รำ่ งพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 สำนักงบประมำณ
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -92- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานวิเคราะหร์ ่างพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
จำกตำรำงที่ 8-21 แสดงกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยให้แก่จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ต้ังแต่
ปงี บประมำณ พ.ศ. 2560 - 2564 พบว่ำ งบจงั หวดั เพม่ิ ขึ้นอย่ำงก้ำวกระโดดในปีงบประมำณ พ.ศ. 2561
และมีแนวโน้มได้รับกำรจัดสรรงบประมำณลดลงตั้งแต่ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 - ปัจจุบัน ท้ังน้ี
อำจมีสำเหตุจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ได้มีกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยภำยใต้แผนงำนบรู ณำกำร
พัฒนำพืน้ ท่ีระดบั ภำคลงในพื้นที่ภำคอยำ่ งเป็นระบบและมีควำมชัดเจนย่ิงข้ึน เช่นเดยี วกบั งบกลุ่มจังหวัด
ที่เพ่ิมสงู ขึ้นในปงี บประมำณ พ.ศ. 2562 แต่ในภำพรวมจะเห็นว่ำงบประมำณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
มแี นวโนม้ ลดลง
แ ผ น ง า น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร พั ฒ น า จั ง ห วั ด แ ล ะ ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด แ บ บ บู ร ณ า ก า ร
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย
2.1) งบประมาณรายจ่ายของกลุ่มจังหวัด 18 กลุ่มจังหวัด จำนวน 6,782.1 ล้ำนบำท
คิดเป็นร้อยละ 29 ของงบประมำณรำยจ่ำยจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โดยเพิ่มขึ้นจำกปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563 จำนวน 594.6 ล้ำนบำท คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.6
2.2) งบประมาณรายจ่ายของจังหวัด 76 จังหวัด จำนวน 16,631.6 ล้ำนบำท คิดเป็น
ร้อยละ 71 ของงบประมำณรำยจ่ำยจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โดยลดลงจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
จำนวน 778.0 ลำ้ นบำท คิดเปน็ ร้อยละ 4.5
ตารางที่ 8 - 22 แสดงลำดบั กำรจัดสรรงบประมำณจังหวัดและกลมุ่ จังหวัด สูงสดุ -ตำ่ สดุ
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
หน่วย: ลำ้ นบำท
จงั หวดั สูงสดุ กลุ่มจงั หวดั
จังหวดั
นครรำชสมี ำ 394.9 1 ภำคตะวันออก 1 623.6
ระยอง
สมทุ รปรำกำร 371.1 2 ภำคกลำงตอนบน 565.5
บรุ รี ัมย์
เชียงใหม่ 349.0 3 ภำคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน 1 453.3
อำนำจเจรญิ 339.9 4 ภำคตะวันออก 2 444.3
อตุ รดติ ถ์
อำ่ งทอง 334.6 5 ภำคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ตอนล่ำง 1 407.7
สุโขทยั
ตำก ตา่ สดุ กลมุ่ จังหวัด
85.4 1 ภำคใต้ชำยแดน 274.2
101.7 2 ภำคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนกลำง 287.1
105.2 3 ภำคเหนอื ตอนบน 1 291.3
109.4 4 ภำคเหนอื ตอนลำ่ ง 2 305.4
116.1 5 ภำคใต้ฝ่ังอันดำมัน 322.2
ท่ีมา: รำ่ งพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร -93- สานักงบประมาณของรฐั สภา
รายงานวเิ คราะหร์ า่ งพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนภาพท่ี 8 - 20 งบประมำณของจังหวดั และกลุ่มจงั หวัด ปงี บประมำณ พ.ศ. 2564
หนว่ ย: ล้ำนบำท
สรปุ งบประมาณจังหวดั และกลมุ่
จังหวัดประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564
ทม่ี า: 1. รำ่ งพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 สำนกั งบประมำณ
2. พระรำชบัญญตั ิงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 สำนกั งบประมำณ
3) ผลการเบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายของจังหวดั และกลุ่มจังหวดั
ผลกำรเบิกจ่ำยงบประมำณรำยจ่ำยของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.
2562 จำกระบบกำรบริหำรกำรเงินกำรคลังภำครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) กรมบัญชีกลำง
กระทรวงกำรคลัง ณ วันที่ 30 กันยำยน 2562 กับเป้ำหมำยกำรเบิกจ่ำยงบประมำณตำมมำตรกำรฯ
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 สรุปไดด้ งั น้ี
ตารางที่ 8 - 23 ผลกำรเบิกจ่ำยงบประมำณรำยจ่ำยของจงั หวัดและกลุ่มจังหวัด
ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2562
หน่วย: ลำ้ นบำท
เปา้ หมายภาพรวมรายไตรมาส ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4
รอ้ ยละ 32.0 54.0 77.0 100.0
ผลการเบิกจา่ ยจงั หวดั และกล่มุ จงั หวดั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 (ล้านบาท)
จังหวัด (76 จงั หวดั ) 610.2 3,174.7 7,958.7 13,765.6
กลุ่มจังหวัด (18 กลุ่มจงั หวดั ) 39.3 393.1 1,685.3 4,556.1
รวมท้งั สน้ิ 649.5 3,567.8 9,644.0 18,321.7
ร้อยละ 2.4 12.9 35.0 66.4
ทมี่ า: สรุปผลกำรเบิกจำ่ ยงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -94- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
รายงานวิเคราะหร์ า่ งพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
เม่ือพิจำรณำผลกำรเบิกจ่ำยงบประมำณรำยจ่ำยของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปี
งบประมำณ พ.ศ. 2562 พบว่ำ ผลกำรเบิกจ่ำยงบประมำณของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดส่วนใหญ่ยัง
ไม่เป็นไปตำมเป้ำหมำยตำมท่ีรัฐบำลกำหนดไว้ เมื่อพิจำรณำรำยจังหวัดและรำยกลุ่มจังหวัดมีผลกำร
เบกิ จำ่ ยสงู สดุ เชน่ จงั หวัดสระบรุ ี เบกิ จำ่ ยไดร้ ้อยละ 100 จงั หวดั อทุ ัยธำนี พิษณโุ ลก บงึ กำฬ นครสวรรค์
เบิกจ่ำยได้ มำกกวำ่ ร้อยละ 90 กลุ่มจังหวัดภำคเหนือตอนล่ำง 2 เบกิ จำ่ ยไดร้ ้อยละ 99.46 ทำใหท้ รำบว่ำ
มีบำงจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่สำมำรถมีผลกำรเบิกจ่ำยเป็นไปตำมเป้ำหมำยท่ีรัฐบำลกำหนด จึงไม่อาจ
สรุปได้ว่าจังหวัดและกลุ่มจังหวัดท้ังหมดไม่สามารถดาเนินงานตามเป้าหมายที่รัฐบาลกาหนดได้
ภาครัฐควรมีส่วนร่วมในการเสนอแนะแนวทางและหาเครื่องมือท่ีช่วยในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคใน
การดาเนินงาน เช่น กำรพัฒนำข้ำรำชกำรของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด กำรร่วมกันสร้ำงมำตรฐำนกำร
บริหำรจัดกำรท่ีเป็นแบบอย่ำงที่ดี หรือแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) กำรมีระบบซอฟต์แวร์ที่ช่วยใน
กำรจัดกำรเชอื่ มโยงข้อมลู และประมวลผล
ตารางที่ 8 - 24 ผลกำรเบิกจ่ำยงบประมำณของจังหวัดและกลมุ่ จงั หวดั
ณ วนั ท่ี 31 พฤษภำคม 2563
หนว่ ย: ลำ้ นบำท
ทีม่ า: ระบบกำรบรหิ ำรกำรเงนิ กำรคลังภำครัฐแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) กรมบัญชีกลำง
ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จังหวัดและกลุ่มจงั หวดั ได้รับจดั สรร จำนวน 23,597.1 ล้ำนบำท
มกี ำรเบกิ จำ่ ยงบประมำณ ณ วนั ท่ี 31 พฤษภำคม 2563 จำนวน 1,236.3 ล้ำนบำท คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.2
ของวงเงินงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี และคงเหลืองบประมำณท้ังสิ้น จำนวน 22,360.8 ล้ำนบำท
คิดเป็นร้อยละ 94.8 ของวงเงินงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี ซ่ึงคำดว่ำผลกำรเบิกจ่ำยจะไม่เป็นไป
ตำมเป้ำหมำยกำรเบิกจ่ำยงบประมำณตำมมำตรกำรฯ ในไตรมำสท่ี 3 เนื่องจำกพระรำชบัญญัติ
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 มีผลบังคับใช้ตำมกฎหมำยล่ำช้ำ และ
สถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำดของโรคตดิ เช้อื ไวรัส COVID-19
8.10.3 งบประมาณรายจา่ ยท่จี ัดสรรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่
1) ภาพรวมของการจัดสรรรายได้และงบประมาณรายจ่ายให้แก่องค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เปรียบเทียบตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและกฎหมาย
วา่ ด้วยการกระจายอานาจใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ (อปท.) ไดร้ บั จัดสรรรำยได้ ซึ่งจำแนก
เป็น (1) รำยไดท้ ่ี อปท. จัดเกบ็ เองและรำยไดท้ ีร่ ฐั บำลเกบ็ ให้และแบง่ ให้ และ (2) เงนิ อดุ หนุนท่ีรัฐบำล
จัดสรรให้ อปท. รวมเป็นจำนวนท้ังส้ิน 789,803.3 ล้ำนบำท ลดลงจำกปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563 จำนวน 14,060.9 ล้ำนบำท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 1.7 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
จำนวน 803,864.2 ล้ำนบำท) ซึ่งสอดคล้องกับทิศทำงของรำยได้สุทธิรัฐบำล (ไม่รวมเงินกู้) ท่ีลดลง
ร้อยละ 2.0 ตำมตำรำงที่ 8-25
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -95- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานวเิ คราะหร์ า่ งพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ตารางท่ี 8 - 25 กำรจดั สรรรำยไดแ้ ละงบประมำณรำยจำ่ ยให้แก่ อปท.
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 -2564
หน่วย: ล้ำนบำท
รายการ ปีงบประมาณ เพิ่ม/(ลด)
จานวน รอ้ ยละ
1.รำยไดส้ ุทธิของรฐั บำล (ไมร่ วมเงนิ กู)้ 2563 2564 -54,000.0 -2.0
2.รำยไดข้ อง อปท. -14,060.9 -1.7
2,731,000.0 2,677,000.0 -29,323.1 -5.9
2.1 รำยไดท้ ่ี อปท. จดั เก็บเองและ
รำยไดท้ รี่ ฐั บำลเกบ็ ให้และแบง่ ให้ 803,864.2 789,803.3 15,262.2 5.0
2.2 เงินอดุ หนนุ ท่จี ดั สรรให้ อปท. 496,876.0 467,552.9
306,988.2 322,250.4
ทีม่ า: งบประมำณสงั เขป ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 สำนักงบประมำณ
ทั้งน้ี รำยได้ของ อปท. ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 จำนวน 789,803.3 ล้ำนบำท ดังกล่ำว
ข้ำงตน้ จำแนกเป็น 2 ส่วน ดงั น้ี
1.1) รำยได้ของ อปท. ซ่ึงจำแนกเป็นรำยได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง และรำยได้ท่ีรัฐบำล
จัดเก็บและแบ่งให้ เป็นจำนวน 467,552.9 ล้ำนบำท ลดลงจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน
29,323.1 ลำ้ นบำท หรอื ลดลงคดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.9 (ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 496,876.0 ล้ำนบำท)
1.2) เงินอุดหนุนท่ีรัฐบำลจัดสรรให้แก่ อปท. ตำมร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำย
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เป็นจำนวน 322,250.4 ล้ำนบำท เพ่ิมขึ้นจำกปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563 จำนวน 15,262.2 ล้ำนบำท หรือเพิ่มข้ึนคิดเป็นร้อยละ 5.0 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
จำนวน 306,988.2 ล้ำนบำท)
ความสามารถของ อปท.ในการพึ่งตนเองด้านรายได้
รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย7 มำตรำ 250 วรรคส่ี กำหนดให้รัฐต้องดำเนินกำรให้
อปท. มีรำยได้ของตนเองโดยจัดระบบภำษีหรือกำรจัดสรรภำษีที่เหมำะสม รวมทั้งส่งเสริมและ
พัฒนำกำรหำรำยได้ของ อปท. เพ่ือให้สำมำรถดำเนินกำรตำมอำนำจหน้ำที่ได้อย่ำงเพียงพอ โดยใน
ระหว่ำงท่ียังไม่อำจดำเนินกำรได้ ให้รัฐจัดสรรงบประมำณเพื่อสนับสนุน อปท.ไปพลำงก่อน ท้ังนี้ จำก
กำรวิเครำะห์สัดส่วนรำยได้ อปท. ต่อ รำยได้รวม อปท. (รำยได้ท่ี อปท. จัดเก็บเอง และรำยได้ท่ี
รัฐบำลจัดเก็บและแบ่งให้ + เงินอุดหนุนที่รัฐบำลจัดสรรให้แก่ อปท.) ของปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
เปรียบเทียบกับสัดส่วนดังกล่ำวของปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 - 2563 พบว่ำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2564 มีสัดส่วนเท่ำกับร้อยละ 59.2 ขณะท่ีปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 - 2563 อยู่ที่ร้อยละ 63.4
63.3 และ 61.8 ตำมลำดับ ขณะที่กำรวิเครำะห์สัดส่วนเงินอุดหนุนที่รัฐบำลจัดสรรให้แก่ อปท.
ต่อรำยได้รวม อปท. ของปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เปรียบเทียบกับสัดส่วนดังกล่ำวของปีงบประมำณ
พ.ศ. 2561 - 2563 พบวำ่ ปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 สัดส่วนเทำ่ กบั ร้อยละ 40.8 ขณะทป่ี งี บประมำณ
พ.ศ. 2561 - 2563 อยูท่ ่รี ้อยละ 36.6 36.7 และ 38.2 ตำมลำดบั ข้อมูลตำมตำรำงที่ 8-26
7 ประกำศในรำชกจิ จำนุเบกษำ วนั ท่ี 6 เมษำยน 2560
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -96- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
รายงานวเิ คราะห์รา่ งพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ตารางท่ี 8 - 26 สดั ส่วนระหว่ำงรำยได้สทุ ธขิ องรัฐบำล และรำยได้ของ อปท.
ระหว่ำงปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 – 2564
หน่วย: ล้ำนบำท
รายไดส้ ุทธิ รายไดข้ อง อปท. % รายได้รวม
ของรัฐบาล อปท.ต่อรายได้
ปงี บประมาณ รายได้รวม รายได้ อปท. เงนิ อุดหนนุ ทีจ่ ัดสรร สุทธิรัฐบาล
อปท. (%)
(%) ให้ อปท. (%) 28.8
720,822.0
2561 2,499,641.9 (100.0%) 456,900.0 263,259.4 29.5
751,480.1 (63.4 %) (36.6%) 29.4
(100.0%)
2562 2,550,000.0 475,350.0 276,130.1 29.5
803,864.2
(100.0%) (63.3%) (36.7%)
2563 2,731,000.0 789,803.3 496,876.0 306,988.2
(100.0%)
(61.8%) (38.2%)
2564 2,677,000.0 467,552.9 322,250.4
(59.2%) (40.8%)
ท่มี า: งบประมำณโดยสงั เขป ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 (ฉบบั ปรับปรุง), 2563 – 2564 สำนกั งบประมำณ
จำกกำรวิเครำะห์สัดส่วนรำยได้ อปท. ต่อรำยได้รวม อปท. (รำยได้ท่ี อปท. จัดเก็บเอง และ
รำยได้ท่ีรัฐบำลจดั เก็บและแบ่งให้ และเงินอุดหนุนท่ีรัฐบำลจัดสรรใหแ้ ก่ อปท.) ของปีงบประมำณ พ.ศ.
2564 และย้อนหลัง 3 ปี (ปี 2561 – 2563) ซึ่งแสดงถึงพัฒนำกำรของกำรดำเนินกำรของรัฐบำลเพ่ือ
ปฏิรูปด้ำนรำยได้ให้แก่ อปท. ตำมนัยมำตรำ 250 แห่งรัฐธรรมนูญดังกล่ำวข้ำงต้น ท่ีมุ่งจัดระบบภำษี
หรือกำรจัดสรรภำษีท่ีเหมำะสม รวมท้ังส่งเสริมและพัฒนำกำรหำรำยได้ของ อปท. เพื่อให้ อปท.
พ่ึงตนเองทำงด้ำนรำยได้แทนเงินอุดหนุนจำกรัฐบำล และมีควำมสำมำรถดำเนินกำรตำมอำนำจหน้ำที่
ด้วยตนเองได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล อย่ำงไรก็ดี รำยได้ของ อปท. ระหว่ำงปีงบประมำณ
พ.ศ. 2561 – 2564 บ่งช้ีว่ำรำยได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง ยังไม่สำมำรถพึ่งพำตัวเองได้ ตำมนัยบทบัญญัติ
แห่งรัฐธรรมนูญดังกล่ำวและควำมสำมำรถในกำรพึ่งตนเองด้ำนรำยได้ของ อปท. มีแนวโน้มลดลง
ตำมลำดบั ขณะที่กำรพงึ่ พำเงินอุดหนุนทีร่ ัฐบำลจดั สรรใหแ้ ก่ อปท. มแี นวโน้มที่เพิ่มขนึ้
อปท. และ การพึง่ พาเงนิ อดุ หนนุ จากรัฐบาล
พระรำชบัญญัติกำหนดแผนและข้ันตอนกำรกระจำยอำนำจให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข
เพ่ิมเติม มำตรำ 30 (4) กำหนดกำรจัดสรรภำษีและอำกร เงินอุดหนุน และรำยได้อ่ืนให้แก่ อปท.
เพ่ือให้สอดคล้องกับกำรดำเนินกำรตำมอำนำจและหน้ำท่ีของ อปท. แต่ละประเภทอย่ำงเหมำะสม
โดยต้ังแต่ปีงบประมำณ พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ให้ อปท. มีรำยได้คิดเป็นสัดส่วนต่อรำยได้สุทธิของ
รฐั บำลไมน่ ้อยกวำ่ รอ้ ยละ 25 และมีจดุ มุ่งหมำยที่จะให้ อปท. มรี ำยได้เพ่มิ ขนึ้ คดิ เปน็ สดั สว่ นต่อรำยได้
สุทธิของรัฐบำลในอัตรำไม่น้อยกว่ำร้อยละ 35 โดยกำรจัดสรรสัดส่วนที่เป็นธรรมแก่ อปท. และ
คำนงึ ถึงรำยไดข้ อง อปท. นนั้ ดว้ ย
จำกกำรวิเครำะห์สัดส่วนรำยได้ อปท. ต่อ รำยได้สุทธิของรัฐบำล ซ่ึงบ่งชี้กำรดำเนินกำร
ของรัฐบำลตำมนัยมำตรำ 30 (4) แหง่ พระรำชบญั ญตั ดิ ังกลำ่ วข้ำงต้น พบวำ่ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
มีสัดส่วนเท่ำกับร้อยละ 29.5 ขณะที่ปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 – 2563 อยู่ที่ร้อยละ 28.8 29.5 และ
29.4 ตำมลำดับ ตำรำงท่ี 8-26 ข้ำงต้น โดยสัดส่วนดังกล่ำวมีลักษณะทรงตัว ซึ่งแสดงถึงพัฒนำกำร
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -97- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานวิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ของกำรจัดสรรรำยได้จำกรัฐใหแ้ ก่ อปท. ค่อนข้ำงคงที่ อย่ำงไรก็ดี แม้รำยได้ที่ อปท. จัดเก็บเอง และ
รำยได้ท่ีรัฐบำลจัดเก็บและแบ่งให้จะลดลง (ร้อยละ 5.9) แต่ด้ำนเงินอุดหนุนท่ีรัฐจัดสรรให้แก่ อปท.
เพ่ิมข้ึน (ร้อยละ 5.0) ตำมกำรเพิ่มขึ้นของภำรกิจที่รัฐถ่ำยโอนให้แก่ อปท. เพ่ือรับผิดชอบดำเนินกำร
แทนรฐั และรำยกำรค่ำใช้จ่ำยของรัฐ เช่น กำรจ่ำยเบี้ยยังชีพผู้สูงอำยุ กำรจ่ำยเบ้ียยังชีพผู้พิกำร กำรจ่ำย
เบ้ียยังชีพผู้ป่วยเอดส์ เป็นต้น รวมท้ังปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 รัฐบำลกำหนดให้กำรจัดสรรเงินอุดหนนุ
ให้แก่กองทุนประชำรัฐสวัสดิกำรเพื่อเศรษฐกิจฐำนรำกและสังคม จำนวน 2,647.4 ล้ำนบำท
เป็นส่วนหนึ่งของเงินอุดหนุน อปท. ด้วย ท้ังน้ี กำรเพ่ิมข้ึนของเงินอุดหนุนรัฐบำลดังกล่ำวทำให้ อปท.
ต้องพึ่งพำรฐั บำลในสัดส่วนท่มี ำกข้ึน (กำรพึง่ พำรำยไดข้ อง อปท. ลดลง) ซ่ึงไม่ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดควำมยั่งยืน
ทำงกำรคลังท้องถ่ินในระยะยำวเน่ืองจำกเงินอุดหนุนของรัฐบำลเป็นแหล่งรำยได้ที่มีลักษณะไม่แน่นอน
มีเง่อื นไข และมกี ำรเปลี่ยนแปลงตำมนโยบำยของรัฐบำล
ข้อสังเกต PBO
1) รำยได้ของ อปท. มีควำมสัมพันธ์กับรำยได้ของรัฐบำล กล่ำวคือ เมื่อรำยได้ของรัฐบำล
ลดลงย่อมมีผลทำให้รำยได้ของ อปท. ลดลงดว้ ย เน่ืองจำก อปท. พ่ึงพำรำยได้ที่รฐั บำลเก็บให้/แบ่งให้
และเงนิ อดุ หนนุ จำกรฐั บำลเป็นสัดส่วนกว่ำร้อยละ 90 ของรำยได้ อปท.ทั้งหมด
2) อปท. พ่ึงพำรัฐบำลด้ำนรำยได้เพ่ิมขึ้น โดยเฉพำะเงินอุดหนุนจำกรัฐบำล ซ่ึงสัดส่วนของ
เงินอุดหนุนท่ีรัฐบำลจัดสรรให้ อปท. ต่อรำยได้รวม อปท. ของปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 - 2564
เพ่มิ ข้ึนอยำ่ งต่อเน่ืองจำกร้อยละ 36.6 36.7 38.2 และ 40.8 ตำมลำดับ
3) ขณะท่รี ัฐธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจักรไทย มำตรำ 250 วรรคสี่ มุ่งหมำยให้ อปท. พงึ่ ตนเอง
ด้ำนรำยได้เพื่อให้สำมำรถดำเนินภำรกิจตำมอำนำจหน้ำท่ีได้อย่ำงเพียงพอและย่ังยืน โดยให้รัฐบำล
จัดระบบภำษี กำรจัดสรรภำษีท่ีเหมำะสม กำรส่งเสริมและพัฒนำกำรหำรำยได้ของ อปท. แต่กำร
ปฏิรูปด้ำนรำยได้ อปท. ของรัฐบำลดังกล่ำวยังไม่บรรลุผล ทำให้ อปท. ยังไม่สำมำรถพึ่งตนเองและมี
อิสระทำงดำ้ นกำรคลังของตนเองได้อยำ่ งแท้จริง
2) งบประมาณรายจ่ายเงนิ อุดหนนุ อปท. จาแนกตามประเภท
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 รัฐบำลจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีเป็นเงินอุดหนุนให้แก่
อปท. จำนวน 7,852 แห่ง (กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น, 2563) โดยจำแนกตำมวิธีกำรจัดสรร
และประเภท อปท. ดังนี้
2.1) เงินอุดหนุน อปท. ท่ีขอตั้งและได้รับจัดสรรผ่ำนกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถ่ิน
กระทรวงมหำดไทย ได้แก่ เทศบำลตำบล จำนวน 2,238 แหง่ และองค์กำรบริหำรส่วนตำบล จำนวน
5,322 แห่ง รวมจำนวนทั้งสิ้น 226,450.0 ล้ำนบำท เพ่ิมข้ึนจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน
9,879.3 ล้ำนบำท หรอื เพ่ิมขนึ้ คิดเป็นร้อยละ 4.6
2.2) เงินอุดหนุน อปท. ที่ขอต้ังและได้รับจัดสรรโดยตรง ได้แก่ กรุงเทพมหำนคร
เมืองพัทยำ องค์กำรบริหำรส่วนจงั หวัด เทศบำลนคร และเทศบำลเมือง รวมจำนวนท้ังสิ้น 93,152.9
ล้ำนบำท เพ่มิ ขน้ึ จำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 2,735.5 ล้ำนบำท หรอื เพิม่ ข้นึ คิดเปน็ ร้อยละ
3.0 โดยจำแนกเปน็
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร -98- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
รายงานวิเคราะห์ร่างพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2.2.1) องค์กำรบรหิ ำรส่วนจังหวดั จำนวน 76 แหง่ รวมจำนวน 28,797.8 ลำ้ นบำท
เพ่ิมข้ึนจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 855.6 ล้ำนบำท หรือเพ่ิมขึ้นคิดเป็นร้อยละ 3.1
(ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 27,942.2 ลำ้ นบำท)
2.2.2) กรุงเทพมหำนคร จำนวน 24,084.1 ล้ำนบำท เพ่ิมข้ึนจำกปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563 จำนวน 986.3 ล้ำนบำท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 4.3 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
จำนวน 23,097.8 ลำ้ นบำท)
2.2.3) เมอื งพัทยำ จำนวน 1,980.7 ลำ้ นบำท เพิม่ ขึ้นจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
จำนวน 65.2 ล้ำนบำท หรือเพ่ิมขึ้นคิดเป็นร้อยละ 3.4 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 1,915.5
ลำ้ นบำท)
2.2.4) เทศบำลนคร จำนวน 30 แห่ง จำนวน 13,393.4 ล้ำนบำท เพิ่มข้ึนจำก
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 399.9 ล้ำนบำท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 3.1 (ปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563 จำนวน 12,993.5 ล้ำนบำท)
2.2.5) เทศบำลเมือง จำนวน 184 แห่ง จำนวน 24,896.9 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำก
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 428.5 ล้ำนบำท หรือเพ่ิมขึ้นคิดเป็นร้อยละ 1.8 (ปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563 จำนวน 24,468.4 ล้ำนบำท)
2.3) กองทุนประชำรัฐสวัสดิกำรเพื่อเศรษฐกิจฐำนรำกและสังคม จำนวน 2,647.4 ล้ำนบำท
ตำมตำรำงที่ 8-27
ตารางที่ 8 - 27 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยเปน็ อุดหนุนใหแ้ ก่ อปท.
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 – 2564
หนว่ ย: ล้ำนบำท
การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงิน ปีงบประมาณ เพ่ิม/(ลด)
อุดหนุนใหแ้ ก่ อปท. 2563 2564 จานวน รอ้ ยละ
15,262.1 5.0
รวมทง้ั ส้ิน 306,988.2 322,250.4
9,879.3 4.6
1.เงนิ อดุ หนนุ อปท. ทขี่ อตง้ั และได้รับจัดสรร
ผำ่ นกรมส่งเสรมิ กำรปกครองท้องถ่ิน 216,570.8 226,450.0
กระทรวงมหำดไทย : เทศบำลตำบลและ
องคก์ ำรบริหำรสว่ นตำบล
2.เงินอุดหนุน อปท. ทขี่ อตั้งและไดร้ ับจัดสรร 90,417.4 93,152.9 2,735.5 3.0
โดยตรง
855.6 3.1
2.1 องคก์ ำรบริหำรสว่ นจงั หวดั 27,942.2 28,797.8 986.3 4.3
65.2 3.4
2.2 กรงุ เทพมหำนคร 23,097.8 24,084.1 399.9 3.1
428.5 1.8
2.3 เมืองพัทยำ 1,915.5 1,980.7 2,647.4 100.0
2.4 เทศบำลนคร 12,993.5 13,393.4
2.5 เทศบำลเมือง 24,468.4 24,896.9
3.กองทุนประชำรัฐสวสั ดกิ ำรฯ - 2,647.4
ทมี่ า: งบประมำณโดยสังเขป ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 สำนักงบประมำณ
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -99- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
รายงานวเิ คราะห์รา่ งพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ขอ้ สังเกต PBO
พ.ร.บ.วิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 มำตรำ 4 กำหนดให้ อปท. เป็นหน่วยงำนของรัฐ และ
เป็นหน่วยรับงบประมำณ และ มำตรำ 29 กำหนดให้กำรขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยเพ่ือสนับสนุน
อปท. จัดทำเป็นเงินอุดหนุน และให้ อปท. ยื่นคำขอต้ังงบประมำณดังกล่ำวต่อรัฐมนตรีว่ำกำร
กระทรวงมหำดไทยเพ่ือเสนอต่อผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ หรอื “ย่นื คำของบประมำณโดยตรง”
อย่ำงไรก็ตำม อปท. ทุกประเภทมีจำนวน 7,852 หน่วยงำน ทำให้สำนักงบประมำณต้อง
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรยื่นของตั้งงบประมำณรำยจ่ำยของ อปท. ประจำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2564 โดยกำหนดให้ กทม. เมืองพัทยำ อบจ. เทศบำลนครและเมือง รวม 295 หน่วยงำน
“ย่ืนคำของบประมำณโดยตรง” และให้เทศบำลตำบล และ อบต. รวม 7,557 หน่วยงำน ยื่นคำขอตั้ง
งบประมำณรำยจ่ำยไว้ที่กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น หรือ “ย่ืนคำขอและรับกำรจัดสรร
งบประมำณผ่ำนกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถ่ิน” ทำให้วิธีกำรงบประมำณที่ใช้กับ อปท. ในฐำนะ
หน่วยรับงบประมำณตำมกฎหมำยเหมือนกันแต่มี 2 รูปแบบท่ีแตกต่ำงกัน ไม่เป็นไปตำมมำตรำ 4
และ 29 วรรคแรก
นอกจำกนี้ ผลของกฎหมำยดังกล่ำวทำให้หน่วยรับงบประมำณมีจำนวนเพ่ิมขึ้นจำก
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 มี 424 หน่วยงำน เป็นปัจจุบันมีกว่ำ 8,274 หน่วยงำน หรือเพ่ิมขึ้น 19.5
เท่ำ ขณะท่ีวงเงินงบประมำณรำยจ่ำยเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ทำให้ภำระงำนของฝ่ำยนิติบัญญัติเพ่ิมข้ึน
ขณะท่ีกรอบระยะเวลำในกำรพิจำรณำเท่ำเดิม คือ 105 วัน และ 20 วัน นับต้ังแต่วันที่ร่ำง พ.ร.บ.
มำถึงสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำ ตำมลำดับ (มำตรำ 143 แห่งรัฐธรรมนูญ) ซึ่งคณะกรรมำธิกำร
วิสำมัญพิจำรณำร่ำง พ.ร.บ. งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 สภำผู้แทนรำษฎร
ได้เคยได้ตั้งขอ้ สังเกตในประเดน็ ดังกล่ำวไว้แลว้ ด้วย
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -100- สานกั งบประมาณของรัฐสภา
รายงานวเิ คราะหร์ า่ งพระราชบัญญัติงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
บรรณานกุ รม
สำนักงบประมำณ. (2557). งบประมาณโดยสังเขป ฉบับปรบั ปรงุ ตามพระราชบัญญัตงิ บประมาณ
รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: อรณุ กำรพมิ พ์.
. (2558). งบประมาณโดยสงั เขป ฉบับปรบั ปรงุ ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2559. กรุงเทพฯ: อรุณกำรพิมพ.์
. (2559). งบประมาณโดยสังเขป ฉบับปรับปรุงตามพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่าย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: อรณุ กำรพิมพ์.
. (2560). งบประมาณโดยสงั เขป ฉบับปรบั ปรุงตามพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: อรณุ กำรพิมพ.์
. (2561ก). งบประมาณโดยสงั เขป ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: รุ่งศลิ ป์
กำรพมิ พ์ (1977).
. (2561ข). เอกสารงบประมาณฉบบั ท่ี 1 รายรับรายจ่ายเปรียบเทียบ ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์อักษรไทย.
. (2561ค). เอกสารงบประมาณฉบับที่ 4 งบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อกั ษรไทย.
. (2561ง). เอกสารงบประมาณฉบับท่ี 5 รายงานภาวะเศรษฐกจิ และการคลัง ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์อกั ษรไทย.
. (2561จ). เอกสารงบประมาณรายจา่ ยเพิ่มเติม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ฉบับที่ 1.
สบื คน้ 19 พฤษภำคม 2563
จำก http://www.bb.go.th/topic-detail.php?id=7771&mid=545&catID=0
. (2563). งบประมาณโดยสังเขป ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. กรุงเทพฯ: แพค เพรส.
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร, สำนักงบประมำณของรัฐสภำ. (2559). รายงานการวิเคราะห์
ของสานักงบประมาณของรัฐสภา ฉบบั ท่ี 8/2559 การวิเคราะหก์ ารจดั งบประมาณแบบ
สมดลุ ของรัฐบาล. กรุงเทพฯ: สำนักกำรพิมพ์ สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร.
. (2560ก). รายงานการวิเคราะหข์ องสานกั งบประมาณของรัฐสภา ฉบับที่ 13/2560
ภาระทางการคลังจากการดาเนินงานของรฐั วิสาหกจิ ไทย. กรงุ เทพฯ: สำนักกำรพิมพ์.
. (2560ข). รายงานวชิ าการสานักงบประมาณของรัฐสภา ฉบบั ที่ 1/2561 การทดสอบ
และเปรยี บเทียบผลกระทบเชงิ พลวัตของการใช้จ่ายภาครฐั ประเภทตา่ ง ๆ ต่อผลติ ภณั ฑ์
มวลรวมภายในประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนกั กำรพิมพ์.
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร -101- สานักงบประมาณของรฐั สภา
รายงานวิเคราะหร์ า่ งพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่าย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร, สำนักงบประมำณของรฐั สภำ. (2561ก). รายงาน
การวเิ คราะหข์ องสานกั งบประมาณของรัฐสภา ฉบับท่ี 1/2561 วิเคราะหร์ า่ งพระราช
บัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 พ.ศ. ....
กรงุ เทพฯ: สำนักกำรพิมพ.์
. (2561ข). รายงานวชิ าการสานักงบประมาณของรฐั สภา ฉบบั ที่ 2/2561 การประเมนิ
ความยั่งยนื ทางการคลังของงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
โดยการประมาณการฐานะทางการคลงั ล่วงหน้า. กรุงเทพฯ: สำนกั กำรพมิ พ.์
. (2561ค). รายงานวิชาการสานกั งบประมาณของรัฐสภา ฉบับท่ี 3/2561 การศกึ ษาและ
ตดิ ตามการจัดทางบประมาณแผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบ
โลจสิ ติกส์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. สืบค้น 20 พฤษภำคม 2563 จำก
https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/more_news.php?cid
=1&filename=index
. (2561ง). รายงานวิชาการสานักงบประมาณของรฐั สภา ฉบบั ที่ 4/2561 การศกึ ษาและ
ตดิ ตามการจดั ทางบประมาณแผนงานบรู ณาการสรา้ งรายได้จากการทอ่ งเที่ยวและ
บริการ. สืบค้น 22 พฤษภำคม 2563 จำก
https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/more_news.php?cid
=1&filename=index
. (2561จ). รายงานวิชาการสานกั งบประมาณของรฐั สภา ฉบับท่ี 5/2561 การศกึ ษาและ
ตดิ ตามการจัดทางบประมาณแผนงานบูรณาการพฒั นาระเบยี งเศรษฐกิจภาคตะวันออก
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. สบื ค้น 25 พฤษภำคม 2563 จำก
https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/more_news.php?cid
=1&filename=index
.(2561ฉ). รายงานวิชาการสานกั งบประมาณของรัฐสภา ฉบับที่ 6/2561 การศึกษา
วเิ คราะห์ แผนงานบูรณาการในมติ ิพ้ืนท่ี : กรณีศึกษา พื้นท่ภี าคตะวันออก. สืบคน้ 29
พฤษภำคม 2563 จำก
https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parbudget/more_news.php?cid
=1&filename=index
.(2562).รายงานวิชาการสานักงบประมาณของรัฐสภา ฉบบั ที่ 10/2562 การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการบรหิ ารงบประมาณรายจา่ ยของประเทศ. กรงุ เทพฯ: สำนักกำรพิมพ์
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร.
สานักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร -102- สานักงบประมาณของรัฐสภา
รายงานวิเคราะห์รา่ งพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สำนกั งำนเศรษฐกิจกำรคลัง. (2561). รายงานความเส่ียงทางการคลงั ประจาปีงบประมาณ 2560
(ฉบับสมบูรณ์). สบื คน้ 31 พฤษภำคม 2563
จำก http://www.fpo.go.th/main/Economic-report/Risk-of-Fiscal-
Report/8200.aspx
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร -103- สานกั งบประมาณของรฐั สภา
ภาคผนวก
miud.r~nimi'ani do4 ni.iu~~aau~ivni~niu~udior"n~iu~avi~ni(au"nuMirdw5)usia
w n . b a h ~adiuMd ba h i n u baab n'iwum~~di~aud~%uimuod~~aniddivudiomu~nbaai %wui
P 1 5 i C wa9 oW u~a~OknOi.~iu~~um"iu~nmis~aW~iiuon i ~ n~IS5W~~SIUIN ~a~Cmiids~uimni~
~ r
~ I ? % M ~ W ~ ~ ~ ~ ~~ ~~ ~ ~1 ~~ S~ %5 ~~ I ~N ~ 0 ~ ~ 1 5 ~~ ~~ ~~ 1 ~ ~ f 4l ~~ dl 55 %l ~~ d1
i ~ a nnimanssui%nnqu a r n r i u a y u n i s d s ~ ~ u G o 1 ~ m i f i ~ ~ ~ ~ ~ i v u " q q ~ ~ u d ~ ~ u i ~ ~ i u i i
dudsauio! gdiu hrindudsruim~oaignni~db~u~~audiu~id?vin15~uni~aod"uayuni5~0i5mi
~ud~~uims~iiudsrF1'i~u0~e]Jiu~~u"qq7
rdo~~nisa~uayu~iu?vini~~uni~w'oi~mi~ud~auimsiudiudsaF1'i~tu
w.m. b a ~ ~~u l d m " a u m a i u r ~ u u ~ ~ u ~ ~ a~~~~odi #s~~~ai 'uwi o~mn i ~ n a i u I u u i m s i
Y
d ~ w ~ a s i ~ ~ q ~ ~ r b ~ u ' ~ u ~ ~ i n~.m~. bi v~ na id~a kdni mu ~~ng~ as unnii s ~ m i i ~ o n a i 5 ? v i n i ~
" ~ i u ~ i u ? m ~ 1 z ~ ~ i ~ w ~ z ~ i " 1 1 u " q q 7 ~ v d ~ r : u i m s i u d i uWd.~PI~.b4&di"~ ~ udd~~%:n:ouuimm"au
e.uiuuwim~W? ds~~iunssunis
b.UIUILABSR 5"niib~do 50dd5%61~fl5~~ni~
Q.I uidaiailuim6 ~iuqjidad 5~dd~~57~~55~fl15
d.ilum'lSao(emu uiiiu tl55~~n15
a.uidaianuai Suwsd fl~~.~~15
b.'L4196"11 fflh~ fl55Ufl15
d.ui~a13ilua5st-uZunku n~i~n15
ts.uimiagl.ii%wni mj$ua%d ~TXJ~I~
. u i i a i w Gqu nssuni5uaz~aviynis
eo. UIU~MS Fl?ii5"u(il< n~~unisuarii~u~auiynis
ee. uiuaiih diusnn nssunisunriiau~auiynls
7khd
~ i f ~ n a r z n . r . r u n i ~ 4 ~ 1 w " i ~ ~ nu~ 1~~ 9~" 1~1 i~n i~~ ~ ~ ~ n a i ~ ~ ~ ~ ~ ~ 5 z 5
% I & J ~ I & J ~ ~ ~ $ I ~ ~ P I ' ~ J sW~.~W~. IbC&U dn * a -.
bbl ,b&.
to4 ~ ~ ~ ~ d ~ m z w " i ~ i w a " 6u9uu' ~r~i ~~uua~-~,J~nniw~ ~ ~ n #
m i u n ' i ~ ~ h ~ n ~ i u r n ~ i ~ n i s a ndi yb m' ~d ~/ b~& bum~ ai a' 1%3d ~m~o unsinv b C b m
l i ~ ~ ~ # ~ : . m a r n s s u n i s 4 ( i l i i ~ o n a i s"3s~iui naius i~:.msirriiit~srs1~nJ"~~iaudsruimsiu4~u
JsrJiilaudsruia wn. baadJ~aw o ~ ~ n i ~ W i r o n aiiismsi rmiirauo1~<1au"1~1u7n6d~1~~el~b~
5ulrlnsiln uuur~9unr~dniw~aumai~a~uS~uwlpd1ii?u~aiuduuiou~~addsr~wB~anduiwau~ls
Y
i~~~nm~W°ilaiua'Rw"i5wuFug~iniu~aiq~dnniw dsanouhu
6,. uiuuw?mPd( W? ~d~nrl't7~sdla~"797u~i m~W°aiui
b. uiaaia9~5uB1ld'L ~ ~ B I ~ I s ~ ~ ) Ca~CifiagGiqiu
a.uiqaianuai Suwsd RNSWJ°UI
6.uiarnaglsn'n'lrt7AsldaW"797ud mi$ua$ug naaw"iaiu
c. uiqaiaQu(ili ywiu R~J.J~W°I~IU
b. UIU?S?W~ $%ql~ Rm%W°797~
4.U I U L ~ ~ U S ~ ~;mSa14 RCJ!EW°~IUI
d.uiaaiaCuGui ~~a9d'LnAn nmzdiqiu
61. uiudiu~wwiG96u nmriiqiu
so. ui-aaiauqun uiiaqn nmrG ~ q i u
rr.uiqa1a%v7~ i~+us~wi% nsusw"ia~u~~nara~ip4nis
rb. UIUIJLUP~ ~ducms nmsilrluunr~iau~~%7p4nis
am. u i ~ a i a f i u ~ y pura ~ a E ' nms(ii~iu~a~y'i~u~n"~~iynis
'irndhmrM'iaiu~iiwuwind~wam1 o'bdd
a.Anai~uaniaQn'i3uF4nsi3nuwur~iiuaa~dnivrm7'iuea~onai.i?ainissiualu
a4 ~ ~ s i a w ' i i ~ w s r ~ i a G ~ ~ 3 ~ ~ d s s v i a s i u ~W.iW~. bd h~ rd~ i ~ ~ u d s r ~ i a
b.h r ~ u n i s h ( i i ~ u ~ d n s i ? lunwugiiuaa2dmw ~ d o u ' i ~ a u o b or~awiaisadQnieq
'diaul~~~uds~luwu"Luni~~oais~arrwuuwi
m. s i i r i r u n i s m s a o a o u I r n ~ ~ a u ~ ~ n a i s ~ ~ ~ n a~~s~l s~(~l j~l uaniius U~ .~i ~~ai u~oa u
3ddnsiRn ~rwuqG~baa2dniw
G"aA.'4"6~LLnmw u3m4uLdu6uId
$3 a ~uUdb~uniw"wu.qj. b&m '
u wvSQ'9
I (u1uuw%UPIPd( w?)
dp l i u d 1 & d i G n ~ i u ~ a u i 5 n i s a ~ i ~ ~ ~ ~ ubso1dwlb~asbm w ~ u C / m o UISIRU lorbin
l n ' u p i d ~ ~ ~ a a n s s u n i ~ C m w " i r a n a ius ~n"u~ ~aiinui ~i r ~ s i r M ' i i ~ w s a ~ ~ ~ G ~ ~ ~ ~ u d ~ a
L I ~ ~ ~ I ~ ~ ~ UW~.RJ.b~ &UsI dNvr~alGnisCmM°i~l~~6u~~aas~u~6u~ana1~4vinis~9uldn"auna1u~
uariit~saiinfiniw~ d u a u n a s u p i ~ R n a a ~ " i ~ i u ~ m i i ~ ~ rdi3ua~naauni-ma i ~ i i i
0. uiuuwYm6 w5' Md~n~nmaM°i~iu
b.5~Oi1°152'9pl<51U UI~U ~~M~I~N~W°I~I~
naaiidiu
.. uiuyriiu.iR i n u ' i r ~ i i o
d. uidarianuai " i j w ~ i i n~rv7iaiu
C. ~ l d ~ ' l YI 1n'kl~
s. uidaiaquiws U9qu ~~~M°ldl~
waaM°idiu
d. UIU~!.JSS%U j h h ~ w a 6 naaii~iu
d. uiurafqwdd q n h z ~ i m i C~NS~°I~IU
d. UIU~I~LWW 7CaGu
mo. u i u q ~ ~ ~~riunrjpl3 naaiidiu
maaw"i9iu
ma.UIJ%WUI~T~ UI~WTZ mtuaiiq7uuaz~aaiyn7~
n~an"iaiu~m:~dauraaiyni~
mb. u i a ~ i 2 u q u a~ ~ f i a q n
am.u i u a i f b Bfi7u~a ncua$i-nuana~d~u~aaiynis
ad. uidaia~mifplsd'CUIM n~an'i9iuua:idau~auiyni'd
a&. u i ~ a i a d 5 u i y qusnaG5 nruan'i;liuun~~i~urauiyni~
InuTGnsuaM°i.3iu~ ~ uvi wd mw s m ' a l d %
a. n'nwiuaan'icnumuuani~ni~Cmw"i~dr~uuaasauiiuranaisi~in~~~i~~iu~rn
n s a ~ i ~ ~ ~ s u ~ ~ a u i ~ ~ i u i i wu.n~. losasac;~I Gi ~~u~~ ~~ ~] i~~ us ~zmusi~~i u r a n a i s ~ " ~ ~ i n
diGndsudsauiauad?garnin"i~um
b.I i ~ C u n 1 ~ C m ~ i ~ a n a r i ~ 7 v i n 1 ~ ~ ~ a u p l ~ a 0 w i u n a i u ~ n cLU3;BiMaIR~ITJa a ~ C a n a i
misiaaoPme uw aya adniw 3auiiao;lidsrnau;db~uuranfiis d s n i s ~ w u u w i w a ~ i u i a i n 1 5