The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3/62 รายงานวิชาการ เรื่อง การวิเคราะห์งบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaipbo.parliament, 2022-01-11 22:36:05

รายงานวิชาการ เรื่อง การวิเคราะห์งบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3/62 รายงานวิชาการ เรื่อง การวิเคราะห์งบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3/2562

การวเิ คราะห์งบลงทนุ ค่าทด่ี ินและสงิ่ กอ่ สร้าง
ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

สานกั งบประมาณของรฐั สภา
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร



คำนำ

ค ณ ะ ก ร ร ม า ธิ ก า ร วิ ส า มั ญ พิ จ า ร ณ า ร่ า ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย ป ร ะ จ า ปี
งบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้ตั้งข้อสังเกตต่อสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยให้
ทบทวนความเหมาะสมในการก่อสร้างอาคารทางการศึกษาให้สัมพันธ์กับแนวโน้มประชากรแรกคลอดท่ี
ลดลง (สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2561) เพื่อสะท้อนถึงความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณของ
แผ่นดิน ประกอบกับ การสารวจความเห็นต่อการสนบั สนุนข้อมูลทางวิชาการของสานักงบประมาณของ
รัฐสภาในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 พบว่า
คณะกรรมาธกิ ารฯ ได้สะท้อนถึงความประสงค์ให้สานักงบประมาณของรัฐสภาดาเนินการวิเคราะห์ความ
เหมาะสมการก่อสร้างต่างๆ ท้ังรายการเดิม และรายการใหม่ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพนื้ ฐาน ดังนั้น สานกั งบประมาณของรัฐสภาจงึ เหน็ ความสาคัญในการศึกษาการจัดสรรงบลงทุนค่า
ท่ดี นิ และสงิ่ กอ่ สร้างของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกับปัจจัยด้านประชากรเพ่ือเป็น
ประโยชน์ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี และนาข้อมูลท่ีได้จาก
การศึกษานาไปต่อยอดเพ่ือใชใ้ นการติดตามการบริหารงบประมาณฯ เชิงลึกในอนาคตต่อไป ประกอบ
กบั เป็นการนาเสนอขอ้ มลู ต่อบุคคลทั่วไปที่สนใจ ด้วยเช่นกนั

สานักงบประมาณของรฐั สภา
พฤษภาคม 2562



บทสรุปผบู้ ริหำร

รายงานวิชาการ เรื่อง การวิเคราะห์การจัดสรรงบลงทุนของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จัดทาข้ึนเพื่อใช้สนับสนุนข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง
พระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ท่ีมีต่อสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยให้ทบทวนความเหมาะสมในการก่อสร้างอาคารทางการศึกษาให้
สัมพนั ธก์ ับแนวโนม้ ประชากรแรกคลอดท่ีลดลง เพื่อสะท้อนถึงความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณท่ี
มีอยู่อย่างจากัด เพื่อเป็นประโยชน์ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี
และนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษานาไปต่อยอดเพ่ือใช้ในการติดตามการบริหารงบประมาณฯ เชิงลึกใน
อนาคตตอ่ ไป รวมถึง เปน็ การนาเสนอข้อมูลต่อบคุ คลทว่ั ไปทสี่ นใจ

จากการศกึ ษาและเก็บรวบรวมข้อมูลท่เี กย่ี วขอ้ ง ทาใหท้ ราบวา่ อัตราแรกคลอดของประชากร
ไทยมแี นวโน้มลดลงอยา่ งต่อเนอื่ ง โดยมีอัตราเกดิ เฉลีย่ 770,864 คนต่อปี และมีแนวโน้มลดลงเฉล่ียปี
ละ 10,863 คน (2550-2560) ซ่ึงสอดคล้องกับการอนุมัติการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 – 2562 ต่อปริมาณโครงการท่ีมีแนวโน้มลดลงโดยมีจานวน 19,053 โครงการ 13,641
โครงการ และ 6,248 โครงการ ตามลาดับปีงบประมาณ และมูลค่าโครงการท่ีมีแนวโน้มลดลงด้วย
ปริมาณ 15,353 ล้านบาท 13,844 ล้านบาท และ 12,649 ล้านบาท ตามลาดับปีงบประมาณ ทั้งน้ี
จากข้อมูลภาพรวมดังกล่าวได้สะท้อนถึงแนวโน้มการอนุมัติปริมาณโครงการและมูลค่าโครงการภายใต้
งบลงทุนค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้างของ สพฐ. มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับแนวโน้มอัตราการเกิดของประชากร
กลุ่มเป้าหมาย หรือกล่าวโดยสรุปได้ว่าเมื่อแนวโน้มการเกิดของประชากรไทยลดลง การจัดสรรงบลงทุน
คา่ ทีด่ ินและส่ิงก่อสร้างของ สพฐ. จะลดลงด้วยเช่นกัน ประกอบกับ ข้อมูลท่ีศึกษาเพ่ิมเติมทาให้ทราบ
วา่ จานวนโรงเรยี นในสงั กดั ของ สพฐ. ของปีการศึกษา 2558 มจี านวนสถานการศกึ ษาลดลง 1,446 โรงเรียน
จากปีการศึกษา 2550 โดยจานวนท่ีลดลงดังกล่าวสอดคล้องกับแนวโน้มอัตราเกิดของประชากร
กลุม่ เป้าหมายท่ลี ดลง และงบลงทนุ คา่ ท่ดี นิ และส่ิงกอ่ สรา้ งทีล่ ดลง ด้วยเชน่ กนั

อย่างไรก็ตาม เมื่อศึกษารายละเอียดในมิติโครงสร้างภายในงบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
ซึง่ ประกอบด้วยโครงการก่อสรา้ งส่งิ ก่อสร้างใหม่ และโครงการปรับปรุงซ่อมแซมสิ่งก่อสร้างที่มีอยู่เดิม
พบว่าสัดส่วนโครงการก่อสร้างส่ิงก่อสร้างใหม่มีแนวโน้มสูงข้ึนระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
โดยมสี ัดส่วนโครงการก่อสร้างสิ่งก่อสร้างใหม่คิดเป็นร้อยละ 74.09 80.80 และ 90.39 ของงบลงทุน
ค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้าง ตามลาดับปีงบประมาณ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
มูลค่าโครงการก่อสร้างอาคารฯ ได้รับการจัดสรรเพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณก่อนเป็นจานวนเงิน
247,398,400 บาท ซ่ึงไม่สอดรับกับแนวโน้มอัตราเกิดของประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มีแนวโน้มลดลง
เช่นกับเดียวกับการศึกษามิติเชิงพ้ืนที่โดยการวัดความสัมพันธ์ทางสถิติระหว่างจานวนประชากร



กลุม่ เปา้ หมายกับการจัดสรรงบลงทนุ คา่ ท่ีดนิ และสงิ่ ก่อสร้างทัง้ 77 จงั หวัด (ข้อมูลปีงบประมาณ พ.ศ.
2561) ด้วยการหาค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) พบผลลัพธ์อยู่ท่ี .5011
หรือแปลผลทางสถิติได้ว่าการพิจารณาปัจจัยจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมายฯ มีอิทธิพลต่อการกาหนด
งบลงทุนค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้างฯ ในระดับปานกลาง (หากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ มีค่าใกล้ 1
หมายความว่าจานวนประชากรฯ และงบลงทุนฯ มีความสัมพันธ์กันอย่างมาก แต่หากมีค่าเป็น 0 จะ
หมายความว่าไม่มีความสัมพันธ์กัน) ประกอบกับการศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์ (เอกสารรายการลักษณะ
งบลงทุนที่ดาเนินการในพ้ืนที่จังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561) อนุมานได้ว่าจานวน
ประชากรกลุ่มเป้าหมายของแต่ละจังหวัดไม่ใช่ตัวบ่งช้ีหลักในการจัดสรรวงเงินงบลงทุนค่าที่ดินและ
ส่งิ ก่อสรา้ ง

จากผลการศกึ ษาทไ่ี ดก้ ลา่ วไวข้ ้างตน้ สรุปไดว้ า่ จานวนประชากรกลมุ่ เป้าหมายมีแนวโน้มลดลง
ในขณะทง่ี บประมาณทใี่ ช้ในการกอ่ สรา้ งอาคารตา่ งๆ ของ สพฐ. มีแนวโนม้ สูงขึ้น ประกอบกับความสัมพันธ์
ระหว่างจานวนประชากรฯ และงบลงทุนฯ ค่อนข้างจะไม่มีอิทธิพลต่อกัน กล่าวคือรัฐบาลอาจนา
ปัจจยั อ่ืนๆ ทมี่ ีผลตอ่ การขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์หรือนโยบายของรฐั บาลและมคี วามจาเปน็ เร่งด่วน เป็น
เกณฑ์สาคัญในการพิจารณาการจัดสรรงบประมาณ มากกว่าปัจจัยด้านประชากร อาทิ ความสอดคล้อง
กับกรอบยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี ความสอดคล้องแผนแม่บทของ สพฐ. ความสอดคล้องกับความ
ต้องการและการแก้ไขปัญหาสาคัญของพื้นท่ี อย่างไรก็ตาม สพฐ. ควรทบทวนการจัดสรรงบลงทุนค่า
ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ซ่ึงรวมถึงค่าก่อสร้างต่างๆ และค่าปรับปรุงซ่อมแซม ให้มีความสอดคล้องกับ
แนวโน้มอัตราแรกคลอดของประชากรในแต่ละพ้ืนท่ี เพ่ือให้งบประมาณท่ีมีอยู่อย่างจากัดสามารถ
ตอบสนองดา้ นโครงสร้างพ้ืนฐานของสถานการศึกษาให้กับเยาวชนได้อย่างคุ้มค่า นอกจากนั้น พบข้อ
บ่งชี้ในการบรหิ ารจดั การรายจา่ ยลงทนุ ของ สพฐ. ว่าควรมกี ารทบทวนและปรบั ปรุงแก้ไข จากสัดส่วน
ร้อยละ 64.93 ของการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนของ สพฐ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 และการโอน
รายการในลักษณะรายจ่ายลงทุนของ สพฐ. ตามพระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2561 ด้วยวงเงิน 3,062 ล้านบาท ซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีถูกโอนงบประมาณมากท่ีสุด
ในประเทศ (โอนรายจ่ายลงทุนตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีที่ไม่สามารถลงนาม
จดั ซอื้ จดั จ้างภายในระยะเวลาท่ีกาหนดไปตง้ั จา่ ยเปน็ งบกลาง)



สำรบัญ

คานา ก
บทสรุปผูบ้ รหิ าร ข
สารบญั ง
สารบัญตาราง ฉ
สารบัญแผนภาพ ช
บทที่ 1 บทนา 1
1
1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา 3
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3
1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 3
1.4 วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู 4
1.5 นิยามศพั ท์ 5
1.6 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 7
บทที่ 2 ทบทวนนโยบายและหลกั เกณฑท์ ีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การจัดสรรงบลงทนุ ค่าที่ดิน
7
และสงิ่ กอ่ สร้างของ สพฐ. 12
2.1 ความเช่ือมโยงยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
2.2 หลกั เกณฑ์การพจิ ารณาของสานักงบประมาณในการจัดสรรงบประมาณ 13

รายการงบลงทนุ ส่ิงก่อสรา้ ง 17
2.3 กรอบแนวทางการจัดตงั้ งบประมาณประจาปี พ.ศ. 2562 รายการค่าท่ีดนิ และ
19
สง่ิ กอ่ สร้างของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
2.4 เกณฑม์ าตรฐานสง่ิ ก่อสร้างของโรงเรยี นในสังกัดสานกั งานคณะกรรมการ 23
23
การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
2.5 ราคามาตรฐานค่าก่อสร้างอาคารสานักงาน อาคารเรยี น อาคารประกอบและ 24
27
ส่งิ กอ่ สร้างของงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
บทท่ี 3 การศึกษาข้อมลู งบประมาณและประชากรกลุ่มเป้าหมาย 30

3.1 ภาพรวมการอนมุ ัติการจัดสรรงบประมาณต่อโครงการภายใต้งบลงทนุ ค่าท่ีดนิ
และส่งิ ก่อสรา้ งของ สพฐ.

3.2 ขอ้ มลู การจดั สรรงบลงทุนคา่ ที่ดินและส่งิ ก่อสรา้ งมิตริ ายจงั หวัด
3.3 การอนุมตั ิการจัดสรรงบลงทุนค่าท่ีดนิ และสง่ิ กอ่ สร้างของ สพฐ. สาหรบั โครงการ

ทีม่ มี ลู ค่ามากกว่า 10 ล้านบาท
3.4 แนวโนม้ อตั ราการเกิดของประชากรไทยระหว่าง พ.ศ. 2550 – 2560



สำรบญั (ต่อ)

บทท่ี 4 บทวิเคราะห์ 33
4.1 การวิเคราะห์ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการอนุมตั ิจัดสรรงบประมาณโครงการภายใต้ 33
งบลงทนุ ค่าทด่ี นิ และสิ่งก่อสร้างของ สพฐ.กบั จานวนประชากรกลุ่มเปา้ หมาย
4.2 การวเิ คราะหภ์ าพรวมการจดั สรรงบลงทนุ คา่ ทด่ี นิ และสิง่ กอ่ สร้างระหวา่ ง 34
ค่ากอ่ สร้างใหม่กบั ค่าปรบั ปรุงและซ่อมแซม
4.3 สถานะจานวนโรงเรยี นของ สพฐ. กับปริมาณประชากรกลมุ่ เป้าหมายทลี่ ดลง 36
4.4 การวเิ คราะห์มิตริ ายจังหวดั ระหว่างจานวนประชากรฯ และการจดั สรรงบลงทุน 37
ค่าท่ดี นิ และสิง่ ก่อสรา้ ง
4.4.1 จานวนประชากรมผี ลต่อการจัดสรรงบลงุทนค่าทีด่ ินและสิ่งก่อสร้างหรือไม่ 38
4.4.2 จานวนประชากรกลมุ่ เป้าหมายมีผลตอ่ การจดั สรรงบลงทนุ รายการ 42
กอ่ สร้างใหม่และรายการปรับปรุงซ่อมแซมอยา่ งไร
45
บทที่ 5 บทสรปุ 45
5.1 สรุปผลการศึกษา 47
5.2 ขอ้ เสนอแนะ 49

บรรณานกุ รม



สำรบญั ตำรำง

ตำรำงที่ 24
1 การจัดอันดับจังหวดั ท่ีได้รับจดั สรรงบลงทนุ ค่าทดี่ ินและสิ่งก่อสร้าง ปีงบประมาณ 28
พ.ศ. 2561 สูงทส่ี ุด 29
2 ปรมิ าณและงบประมาณโครงการทม่ี ีมูลค่ามากกวา่ 10 ล้านบาท ของจงั หวดั 30
ทไ่ี ดร้ บั การอนมุ ัตจิ ัดสรรงบลงทนุ คา่ ท่ดี นิ และสง่ิ ก่อสรา้ งสงู ทส่ี ุด 10 อนั ดบั แรก 34
3 ปริมาณและงบประมาณโครงการท่มี ีมลู ค่ามากกวา่ 10 ลา้ นบาท ของจงั หวัด 38
ท่ีได้รับการอนมุ ัตจิ ดั สรรงบลงทุนค่าทด่ี ินและส่ิงก่อสร้างน้อยทส่ี ุด 10 อันดับสุดทา้ ย 40
4 การเปรียบเทียบปริมาณและงบประมาณโครงการทมี่ มี ูลค่ามากกวา่ 10 ลา้ นบาทของ 42
จงั หวดั ที่ไดร้ บั การอนมุ ัติจัดสรรงบลงทุนค่าทด่ี ินและสิง่ ก่อสร้างสูงท่ีสุดและน้อยทีส่ ดุ 43
5 การเปรยี บเทียบงบลงทุนคา่ ที่ดินและสง่ิ ก่อสรา้ งรายการส่งิ ก่อสร้างใหม่และ
รายการปรบั ปรงุ ซ่อมแซม 47
6 การเปรยี บเทยี บจานวนประชากรกลุ่มเปา้ หมายกบั การจดั สรรงบลงทุนคา่ ท่ีดิน
และสิง่ ก่อสรา้ งตามจังหวดั ทีม่ ีประชากรฯ มากทส่ี ุด 15 อันดบั แรก
7 ข้อมลู การจัดสรรงบลงทุนค่าที่ดินและส่งิ ก่อสร้างของจังหวัดท่มี แี นวโน้มการเพ่ิมข้ึน
ของจานวนประชากรฯ
8 ข้อมลู จงั หวดั ท่ีได้รับงบลงทุนค่าท่ดี ินและสงิ่ ก่อสรา้ งเพิ่มขึน้ ในปงี บประมาณ พ.ศ.
2561 เพ่ิมขึ้นมากกวา่ 100 ล้านบาท
9 งบลงทนุ ค่าที่ดนิ และสิ่งกอ่ สร้างรายการก่อสร้างใหมแ่ ละรายการปรับปรงุ ซ่อมแซม
ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ตามจังหวัดท่มี ปี ระชากรกล่มุ เป้าหมายมากทส่ี ดุ
15 อนั ดับแรก
10 สัดสว่ นการโอนเปลยี่ นแปลงและการเบิกจา่ ยงบลงทุนของ สพฐ. ณ สน้ิ ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 และ 2561



สำรบัญภำพ

แผนภำพที่ 1
1 อัตราการเกดิ ของประชากรไทย ระหวา่ ง พ.ศ. 2550 – 2560 2
2 หน่วยงานทีไ่ ดร้ ับการจดั สรรงบประมาณสงู ท่ีสุด 2
3 สัดส่วนการจัดสรรงบประมาณของหนว่ ยงานภายใตก้ ระทรวงศึกษาธกิ าร 23
4 ปรมิ าณโครงการท่ีได้รบั การอนมุ ตั ิจัดสรรงบประมาณภายใตง้ บลงทนุ ค่าท่ดี ินและ
ส่ิงก่อสรา้ ง 23
5 งบประมาณที่ได้รบั อนุมตั จิ ดั สรรภายใต้งบลงทุนค่าทีด่ นิ และสง่ิ ก่อสร้างของ สพฐ. 24
6 สัดส่วนงบประมาณที่ไดร้ ับการอนมุ ัตจิ ัดสรรภายใตง้ บลงทุนค่าท่ีดินและสิง่ ก่อสร้าง
ของ สพฐ. ระหว่างโครงการที่มูลคา่ น้อยกวา่ 10 ล้านบาท และโครงการทมี่ ลู คา่ 27
มากกวา่ 10 ล้านบาท ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562 27
7 ภาพรวมการอนุมตั ปิ ริมาณโครงการท่ีมวี งเงินงบประมาณมากกวา่ 10 ล้านบาท
8 ภาพรวมงบประมาณที่ได้รับการอนมุ ัตจิ ดั สรรสาหรบั โครงการทม่ี ูลค่ามากกวา่ 28
10 ลา้ นบาท
9 การจัดอันดบั 10 จังหวัดทไ่ี ด้รับการอนุมัติจดั สรรงบประมาณโครงการทมี่ ีมลู ค่า 29
มากกวา่ 10 ล้านบาท สงู ที่สุดภายในระยะเวลา 3 ปี
10 การจัดอนั ดับ 10 จังหวัดทีไ่ ด้รบั การอนมุ ัติจดั สรรงบประมาณโครงการทม่ี มี ูลค่า 30
มากกวา่ 10 ลา้ นบาท น้อยที่สุดภายในระยะเวลา 3 ปี 30
11 การเพม่ิ ข้ึนและลดลงของอตั ราการเกิดประชากรไทย ระหวา่ ง พ.ศ. 2551 – 2560
12 การจัดอนั ดบั 10 จังหวัดทม่ี จี านวนประชากรทเี่ กดิ ระหวา่ ง พ.ศ. 2550 – 2560 31
มากท่สี ดุ
13 การจัดอดั ดับ 11 จังหวัด ทมี่ ีอัตราการเกดิ ระหวา่ ง พ.ศ. 2550 – 2560 เพมิ่ ขึน้ 31
เฉลย่ี ตอ่ ปีมากท่สี ุด
14 การจดั อนั ดบั 10 จงั หวดั ทมี่ ีจานวนประชากรทเี่ กิดระหวา่ ง พ.ศ. 2550 – 2560 32
น้อยท่สี ดุ
15 การจัดอนั ดบั 10 จังหวัด ท่ีมีอัตราการเกดิ ระหว่าง พ.ศ. 2550 – 2560 ลดลงเฉลีย่ 33
ตอ่ ปมี ากท่สี ดุ
16 การเปรียบเทยี บแนวโนม้ จานวนโครงการและงบลงทนุ ค่าที่ดนิ และสิง่ ก่อสรา้ ง 35
ท่ีได้รบั การอนุมัตจิ ัดสรรในปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562
17 การเปรียบเทยี บสัดส่วนงบลงทุนค่าทีด่ นิ และส่ิงก่อสรา้ งรายการก่อสรา้ งใหม่
และรายการปรับปรุงซอ่ มแซม ระหวา่ งปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562



สำรบัญภำพ (ตอ่ )

18 จานวนโรงเรียนขนาดเลก็ ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2546 – 2553 36
19 ปรมิ าณสถานการศึกษาในสงั กดั สพฐ. ทัว่ ประเทศ ในปกี ารศึกษา 2550 – 2558 37
20 การจดั สรรงบลงทนุ ค่าทดี่ นิ และสง่ิ ก่อสรา้ งฯ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561 39

ของ 3 จงั หวัดท่ีมีประชากรกลมุ่ เป้าหมายสงู ท่สี ดุ 48
21 การโอนงบประมาณตามพระราชบัญญตั โิ อนงบประมาณรายจา่ ยของ สพฐ.

การวเิ คราะหง์ บลงทนุ ค่าทด่ี ินและสงิ่ กอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำ

แผนภาพท่ี 1: อตั ราการเกดิ ของประชากรไทย ระหวา่ ง พ.ศ. 2550 – 2560

หน่วย : คน

811,384 818,901

797,356787,739 796,091 782,129776,370

766,370

736,352

704,058 702,755

50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60

ทีม่ า: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

จากข้อมูลสถิติจานวนการเกิดของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ในปี 2550 – 2560 ได้แสดง
ข้อมูลให้ทราบว่า จานวนประชากรไทยแรกคลอดมีจานวนเฉล่ีย 770,864 คนต่อปี อย่างไรก็ตาม จากแผนภาพที่ 1
ได้บ่งชี้ว่าอัตราการเกิดของประชากรไทยมีแนวโน้มลดลงเฉล่ีย 10,863 คนต่อปี ทั้งนี้ หากเปรียบเทียบ
อัตราการเกิดฯ ระหว่าง พ.ศ. 2550 และ 2560 พบว่า อัตราการเกิดของประชากรไทยมีปริมาณลดลง
จำนวน 108,629 คน ซง่ึ สอดคลอ้ งกับขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ท่ีมีต่อกระทรวงศึกษาธิการโดยให้ทบทวนความ
เหมาะสมในการก่อสร้างอาคารทางการศึกษาให้สัมพันธ์กับแนวโน้มประชากรแรกคลอดที่ลดลง (สานักงาน
เลขาธิการวุฒิสภา, 2561) เพ่ือสะท้อนถึงความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณของแผ่นดิน ซ่ึงที่ผ่านมา
เอกสารประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี มิได้นาเสนอรายการงบลงทุน
คา่ ทีด่ นิ และส่ิงก่อสร้างในภาพรวมมติ ติ า่ งๆ อาทิ การเปรียบเทียบภาพรวมงบลงทุนค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้างจาก
ปีงบประมาณท่ีผ่านมา ภาพรวมมิติรายพ้ืนที่ ทาให้ขาดข้อมูลในการพิจารณารายละเอียดความสัมพันธ์
งบประมาณและประชากรในภาพรวมและเชิงพ้ืนที่ ประกอบกับ การสารวจความเห็นต่อการสนับสนุน
ข้อมูลทางวิชาการของสานักงบประมาณของรัฐสภาในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 1

การวเิ คราะหง์ บลงทุนคา่ ท่ีดินและสงิ่ กอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 พบว่า คณะกรรมาธิการฯ ได้สะท้อนถึงความประสงค์ให้สานักงบประมาณ
ของรัฐสภาดาเนินการวิเคราะห์ความเหมาะสมการก่อสร้างต่างๆ ทั้งรายการเดิม และรายการใหม่ ของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) ดังนั้น สานักงบประมาณของรัฐสภาจึงเห็น
ความสาคัญในการศึกษาการจัดสรรงบลงทุนค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้างของ สพฐ. เพื่อเป็นประโยชน์ในการ
พิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี และการติดตามการบริหารงบประมาณฯ
ประกอบกับเปน็ การนาเสนอขอ้ มลู ตอ่ บุคคลทวั่ ไปท่ีสนใจ ด้วยเช่นกนั

แผนภำพที่ 2: หนว่ ยงำนท่ีไดร้ ับกำรจัดสรรงบประมำณ แผนภำพที่ 3: สดั สว่ นกำรจัดสรรงบประมำณของหนว่ ยงำน
สงู สดุ (2562) ภำยใต้กระทรวงศึกษำธกิ ำร (2562)

หนว่ ย: ล้านบาท

ก.ศกึ ษาธกิ าร 489,798 ม.นอก ม.ราชภฎั ม.ราชมงคล อื่นๆ สนง.ปลัดฯ
งบกลาง 468,032 ระบบ 4% 2% 2% 11%
373,519 15%
ก.มหาดไทย 242,846 ม.รฐั สพฐ.
ก.การคลัง 227,671 2% 59%
ก.กลาโหม 183,732
ก.คมนาคม สนง.อาชีวะ
5%

ทีม่ า: เอกสารงบประมาณโดยสงั เขป (2562) ท่ีมา: เอกสารงบประมาณโดยสงั เขป (2562)

ทั้งนี้ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พบว่า กระทรวงศึกษาธิการซ่ึงประกอบด้วยหน่วยงานภายใต้กระทรวงศึกษาธิการ

จานวน 92 หน่วยงาน เป็นกระทรวงที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณมากท่ีสุด เป็นจานวนเงิน 489,798

ล้านบาท ดังที่แสดงในแผนภาพที่ 2 และ สพฐ. เป็นหน่วยงานท่ีรัฐบาลให้ความสาคัญมาอย่างต่อเนื่อง

โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้รับการจัดสรรงบประมาณในสัดส่วนท่ีมากท่ีสุดระหว่างหน่วยงาน

ภาครัฐด้วยงบประมาณ 287,377 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 59 ของวงเงินงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ

ดังทีแ่ สดงในแผนภาพที่ 3 ดงั นัน้ ในการจัดทารายงานทางวิชาการครัง้ นี้ จะมุง่ ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่าง

แนวโน้มประชากรแรกคลอดกับการจัดสรรงบลงทุนค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้างของ สพฐ. เพ่ือให้สอดรับกับ

ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ

พ.ศ. 2562 ที่มตี อ่ กระทรวงศึกษาธกิ าร ดงั ท่กี ล่าวไว้ข้างต้น และเพ่ือให้สมาชิกรัฐสภา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

คณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี รวมถึงผู้มีส่วนเก่ียวข้อง

ทราบถึงความเหมาะสมในการจัดสรรงบลงทุนการก่อสร้างของ สพฐ. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562

ภายใตง้ บประมาณท่มี อี ยู่อยา่ งจากัดของประเทศ

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 2

การวเิ คราะหง์ บลงทุนค่าท่ีดินและสิ่งกอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน

1.2 วัตถปุ ระสงค์ของกำรดำเนนิ กำร
1.2.1 เพื่อศึกษาแนวโน้มและสัดส่วนการจัดสรรงบลงทุนในรายการค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้างของ

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน
1.2.2 เพือ่ จดั ทาขอ้ เสนอแนะการจดั สรรงบลงทุนในรายการค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้างของสานักงาน

คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

1.3 ขอบเขตของกำรศึกษำ
รายงานวิชาการน้ี จะทาการศึกษานโยบาย/หลักเกณฑ์ และนาเสนอข้อมูลเชิงประจักษ์ใน

ประเด็นตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวข้อง ดังนี้
1.3.1 การจดั สรรงบลงทุนในรายการค่าทดี่ ินและส่งิ ก่อสร้างของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้น

พ้ืนฐาน ตัง้ แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
1.3.2 อัตราการเกิดของประชากรไทย โดยระบุประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นประชากรท่ีเกิดระหว่าง

พ.ศ. 2550 – 2560 ซ่ึงมีอายุระหว่าง 2 – 12 ปี หรืออยู่ในวัยก่อนประถมศึกษา (ระดับช้ันอนุบาล) และ
วัยประถมศึกษา (ระดับช้ันประถมศึกษา 1 – 6) ซ่ึงแนวโน้มของประชากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่เป็นผู้รับ
ประโยชน์จากการจัดสรรงบลงทุนค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้างของโรงเรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบของ
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

1.3.3 การเปรียบเทียบสัดส่วนของข้อมูลงบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง และข้อมูลประชากร
กลมุ่ เปา้ หมาย

1.3.4 การวัดความสัมพันธ์ทางสถิติด้วยการหาค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (Correlation
Coefficient) ระหว่างแนวโนม้ ระหวา่ งจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมายกับงบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

1.4 วิธกี ำรเก็บรวบรวมข้อมูล
1.4.1 การจัดเก็บข้อมูลด้านงบประมาณจะรวบรวมข้อมูลจาก
เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 (กระทรวงศึกษาธิการ)
ฉบับปรับปรุงตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562 ของสานัก
งบประมาณ สานกั นายกรัฐมนตรี

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 3

การวิเคราะหง์ บลงทนุ ค่าทีด่ ินและสงิ่ ก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

1.4.2 การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ประชากรกลุ่มเป้าหมาย (ประชากรท่ีเกิดระหว่าง พ.ศ. 2550 – 2560)
เป็นการรวบรวมข้อมูลจากระบบสถิติทางการทะเบียน ของกรมการปกครอง
กระทรวงมหาดไทย (http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php)

1.5 นยิ ำมศพั ท์
1.5.1 งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายทีก่ าหนดให้จ่ายเพ่ือการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะ

ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้าง รวมถึงรายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะของ
รายจา่ ยดงั กลา่ ว (สานักงบประมาณ, 2553)

1.5.2 ค่ำที่ดินและส่ิงก่อสร้ำง (สานักงบประมาณ, 2553) หมายถึง รายจ่ายเพ่ือให้ได้มาซ่ึงท่ีดิน
และ/หรือส่ิงก่อสรา้ ง รวมถงึ สิ่งต่างๆ ท่ตี ิดตรงึ กบั ทดี่ นิ และสงิ่ ก่อสร้าง ดงั ต่อไปนี้

- รายจา่ ยเพื่อจัดหาทดี่ นิ สิ่งก่อสรา้ ง
- รายจ่ายเพื่อปรับปรุงที่ดิน รวมถงึ รายจ่ายเพื่อดดั แปลง ตอ่ เติมหรือปรับปรุงส่ิงก่อสร้าง
ซ่งึ ทาใหท้ ี่ดิน สิง่ กอ่ สรา้ งมมี ูลค่าเพิ่มขน้ึ
- รายจ่ายเพ่ือตดิ ต้งั ระบบไฟฟา้ หรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นการติดต้ัง
ครั้งแรกในอาคาร ทัง้ ทเ่ี ปน็ การดาเนินการพร้อมกันหรือภายหลังการก่อสร้างอาคาร รวมถึงการติดตั้งครั้ง
แรกในสถานทรี่ าชการ
- รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคมุ งานที่จ่ายใหแ้ กเ่ อกชนหรือนิตบิ ุคคล
- รายจา่ ยเพอ่ื จา้ งท่ีปรึกษาในการจดั หาหรือปรับปรุงทีด่ ินและส่งิ กอ่ สร้าง
- รายจา่ ยเกยี่ วเนือ่ งกบั ทด่ี ินและ/หรือสิง่ ก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธ์ิที่ดิน
ค่าชดเชยผลอาสิน เปน็ ตน้

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 4

การวิเคราะห์งบลงทุนค่าที่ดินและส่งิ ก่อสรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

1.5.3 คำ่ ที่ดินและสิง่ ก่อสรำ้ ง ประกอบด้วยรายการคา่ ก่อสร้างและค่าปรับปรุงอาคารท่ีพักอาศัย
อาคารหอพักนักเรียน อาคารที่พักครู อาคารการศึกษา อาคารอเนกประสงค์ อาคารที่ทาการ อาคาร
หอสมุดและแหล่งเรียนรู้ อาคารสานักงาน โรงอาหาร/หอประชุม ศูนย์ศึกษาเรียนรู้/พิพิธภัณฑ์ ศูนย์กีฬา
ในร่ม สนามกีฬา อาคารศูนย์การศึกษาพิเศษ โรงยิมแบบโดม สระว่ายน้า หลังคาคลุมลานอเนกประสงค์
และคา่ ก่อสรา้ งอ่ืนๆ

1.5.4 งบประมำณผูกพันข้ำมปี คือ งบประมาณรายจ่ายข้ามปีจะมีได้ในกรณีที่คาดว่าจะใช้
งบประมาณรายจ่ายให้เสรจ็ ทนั ภายในปีงบประมาณไม่ได้ โดยต้องกาหนดเวลาส้นิ สุดไวด้ ้วย (ราชกิจจานุเบกษา,
2561, น.6)

1.5.5 กำรอนมุ ัตกิ ำรจัดสรรงบลงทุนคำ่ ท่ดี ินและสิ่งกอ่ สรำ้ ง คือ การอนุมัติตามกระบวนการนิติ
บัญญัติในรายการงบลงทุนค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้างของแต่ละโครงการที่ปรากฏข้อมูลตามเอกสารประกอบ
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี ทั้งเป็นลักษณะโครงการท่ีดาเนินการแล้ว
เสร็จภายในปงี บประมาณเดียว หรือโครงการทม่ี ลี กั ษณะงบประมาณผูกพันขา้ มปี

1.6 ประโยชนท์ ่ีคำดวำ่ จะได้รับ
1.6.1 เพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง

พระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจาปี
1.6.2 เพ่ือเป็นแหล่งข้อมูลทางวิชาการให้กับบุคลากรภายในวงงานรัฐสภา หรือบุคคลที่สนใจ

สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการอ้างอิงหรือต่อยอดความรู้ รวมถึงการนาไปสู่การศึกษาเชิงลึกใน
ประเด็นตา่ งๆ ของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

1.6.3 เพ่ือสร้างฐานข้อมูลภายในสานักงบประมาณของรัฐสภาด้านการจัดสรรงบลงทุนของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานและจานวนประชากรแรกเกิด

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 5

การวเิ คราะห์งบลงทนุ ค่าที่ดนิ และสงิ่ กอ่ สรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 6

การวิเคราะห์งบลงทนุ ค่าท่ีดนิ และสิ่งก่อสรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

บทท่ี 2
ทบทวนนโยบำยและหลักเกณฑ์ท่เี ก่ียวข้อง
กับกำรจดั สรรงบลงทนุ คำ่ ท่ดี ินและสิ่งก่อสรำ้ งของ สพฐ.

ในการจัดทารายงานทางวิชาการเรื่องการวิเคราะห์การจัดสรรงบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ซึ่งเน้นการนาเสนอข้อมูลเชิงประจักษ์และประเด็น
ข้อสังเกตทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การจัดสรรงบลงทุนในรายการค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างของ สพฐ. โดยรวบรวมข้อมูล
ทุติยภูมิเชิงปริมาณจากเอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 งบประมาณรายจ่ายฉบับปรับปรุง ตามพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562 เพ่ือใช้ในการนาเสนอประเด็นข้อสังเกตท่ี
เก่ียวข้องต่อสมาชิกรัฐสภา โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปี และผู้มีส่วนเก่ียวข้องทราบถึงแนวโน้มและสัดส่วนการจัดสรรงบลงทุนใน
รายการค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้างของ สพฐ. โดยได้ศึกษาข้อกฎหมาย หลักวิชาการและแนวความคิดที่
เก่ียวข้อง เพ่ือใช้ในการสนับสนุนการจัดทารายงานทางวิชาการเรื่องการวิเคราะห์การจัดสรรงบลงทุนค่า
ทีด่ ินและสง่ิ กอ่ สรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

2.1 ควำมเชื่อมโยงยุทธศำสตรช์ ำติ 20 ปี กับเป้าหมายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) การขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศไทยจาเป็นต้องมี

ทรพั ยากรมนุษย์ทีม่ คี ุณภาพ มคี วามรู้ สมรรถนะ และทักษะทสี่ อดคลอ้ งกบั การเปลีย่ นแปลงต่างๆ สามารถรู้เท่าทัน
และปรับตัวให้สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข มีอาชีพที่มั่นคง สร้างรายได้ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วซึ่งจาเป็นต้องมีการพัฒนาระบบและปัจจัยส่งเสริมต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องไปพร้อมกัน ทั้งในส่วน
ของระบบการเรียนการสอน และการพัฒนาทักษะฝีมือที่สอดคล้องกันกับการพัฒนาของคนในแต่ละช่วงวัย
(สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาต,ิ 2561) ท้งั น้ี ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติที่มี
ความเก่ยี วข้องกบั การดาเนนิ งานของ สพฐ. มีดงั นี้

2.1.1 ประเด็นยุทธศาสตรด์ ้านความมั่นคง
1) การพัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ เพื่อให้คนในชาติมี

จิตสานึกรักและหวงแหน มุ่งจงรกั ภกั ดี พร้อมธารงรักษาไว้ซ่ึงสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ให้เป็น
ส่ิงยึดเหน่ียวและศูนย์รวมจิตใจหนึ่งเดียวกันของคนท้ังชาติ โดยปลูกฝังและสร้างความตระหนักรู้ถึง
ความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและภาคภูมิใจในความเป็นคนไทยและ
ชาติไทย ผ่านทางกลไกต่างๆ รวมถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ในเชิงสร้างสรรค์ น้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์
พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตลอดถึงแนวทางพระราชกรณียกจิ อย่างสมา่ เสมอ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 7

การวิเคราะหง์ บลงทนุ คา่ ที่ดินและสง่ิ ก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

2) การพฒั นาและเสรมิ สร้างคนในทกุ ภาคสว่ นให้มคี วามเขม้ แข็ง มคี วามพร้อม ตระหนัก
ในเร่ืองความม่ันคง และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา เพื่อให้คนไทยทุกคนในทุกภาคส่วนมีความม่ันคง
ปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ มีอาชพี การงานและรายไดท้ ่เี พียงพอ ได้รับโอกาสและความเสมอภาคอย่าง
เท่าเทียม มคี วามพรอ้ มรองรับการเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ มีจิตสาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เข้าใจ
ปัญหาสาคัญของสังคม มีความรักความสามัคคี ตระหนักและให้ความสาคัญกับความม่ันคงของชาติ และ
พร้อมเข้ามีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ ตลอดจนปลูกฝังจิตสานึกและคุณสมบัติพ้ืนฐานคน
ไทยที่ดีให้บังเกิดผลเป็นรูปธรรม สร้างเสริมความรักความสามัคคี ความตระหนักถึงหน้าท่ีรับผิดชอบต่อ
สงั คมและประเทศชาติ และการมีส่วนในการแกไ้ ขปัญหาความมัน่ คงและพัฒนาประเทศ

2.1.2 ประเดน็ ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
- อุตสาหกรรมและบรกิ ารแหง่ อนาคต โดยอุตสาหกรรมและบริการไทยต้องพร้อมรับมือ

และสร้างโอกาสจากความท้าทายท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ท่ีเป็นผลของการหล่อหลอม
เทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีทางกายภาพเข้าด้วยกัน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็วเป็นวงกว้างและลึกซึ้งทั้งระบบอย่างท่ีไม่เคยปรากฎมาก่อนประเทศ
ไทยจึงจาเป็นต้องเปล่ียนแปลงพื้นฐานโครงสร้างอุตสาหกรรมและบริการ โดยสร้างอุตสาหกรรมและ
บริการแห่งอนาคตท่ีขับเคล่ือนประเทศไทยไปสู่ประเทศพัฒนาแล้วด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีแห่ง
อนาคต เพ่มิ บคุ ลากรทม่ี ที ักษะและความรู้ตามความต้องการของตลาด สร้างระบบนิเวศอุตสาหกรรมและ
บริการที่เหมาะสม และสนบั สนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอย่างยงั่ ยนื

2.1.3 ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
1) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม โดยมุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝัง

ค่านิยมวัฒนธรรมท่ีพึงประสงค์ โดยบูรณาการร่วมระหว่าง “ครอบครัว ชุมชน ศาสนา การศึกษา และ
ส่ือ” ในการหลอ่ หลอมคนไทยให้มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในลกั ษณะที่เป็น “วิถ”ี การดาเนินชีวิต

2) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วง
วัยตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์ ปฐมวัย วัยเด็ก วัยรุ่น วัยเรียน วัยผู้ใหญ่ วัยแรงงาน และวัยผู้สูงอายุเพ่ือสร้าง
ทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีศักยภาพ มีทักษะความรู้ เป็นคนดี มีวินัย เรียนรู้ได้ด้วยตนเองในทุกช่วงวัย มีความ
รอบรทู้ างการเงิน มคี วามสามารถในการวางแผนชีวิตและการวางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสมในแต่ละช่วง
วยั และความสามารถในการดารงชวี ิตอย่างมคี ุณคา่

3) การปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม โดยการพัฒนาระบบการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อ
การเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 ที่มงุ่ เน้นผ้เู รยี นใหม้ ีทักษะการเรียนรู้และมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา มีการ
ออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปลี่ยนบทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา
และการพัฒนาระบบการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ การสร้างความต่ืนตัวให้คนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ
และการวางตาแหน่งของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และประชาคมโลก การวางพื้นฐานระบบ
รองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม และการสร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับ
นานาชาติ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 8

การวเิ คราะห์งบลงทนุ ค่าท่ีดนิ และสิง่ กอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

4) การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย อาทิ ภาษา ตรรกะและ
คณิตศาสตรด์ า้ นทศั นะและมติ ิ ดนตรี กีฬาและการเคล่อื ไหวของร่างกาย การจัดการตนเอง มนุษยสัมพันธ์
รวมถึงผู้มีความสามารถอันโดดเด่นด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน โดยการพัฒนาและรักษากลุ่มผู้มี
ความสามารถพิเศษของพหุปัญญาแต่ละประเภท การสร้างสภาพแวดล้อมและระบบสนับสนุนประชากร
ไทยมีอาชีพบนฐานพหุปัญญา การสร้างเสริมศักยภาพผู้มีความสามารถพิเศษให้สามารถต่อยอดการ
ประกอบอาชีพไดอ้ ยา่ งม่นั คง

5) การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะท่ีดี ครอบคลุมทั้งด้าน กาย ใจ สติปัญญา และ
สังคม โดยม่งุ เน้นการเสรมิ สร้างการจัดการสขุ ภาวะในทกุ รูปแบบ ทน่ี าไปสูก่ ารมศี ักยภาพในการจัดการสุข
ภาวะทด่ี ไี ดด้ ้วยตนเอง พร้อมทัง้ สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมให้คนไทยมีสุขภาวะที่
ดแี ละมที ักษะดา้ นสขุ ภาวะทีเ่ หมาะสม

6) การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
โดยมุ่งเน้นการสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย การส่งเสริมบทบาทในการมีส่วนร่วมของภาครัฐ
ภาคเอกชน ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอก
ห้องเรยี นและการพัฒนาระบบฐานขอ้ มลู เพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

7) การเสริมสรา้ งศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ โดย
ม่งุ ส่งเสรมิ การใช้กจิ กรรมนนั ทนาการและกีฬาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างสุขภาวะของประชาชนอย่าง
ครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน การสร้างนิสัยรักกีฬาและมีน้าใจเป็นนักกีฬา และการใช้กีฬาและ
นันทนาการในการพัฒนาจิตใจ สร้างความสามัคคีของคนในชาติ หล่อหลอมการเป็นพลเมืองดี พัฒนา
คณุ ภาพชีวิต รวมทัง้ การพฒั นาทกั ษะด้านกฬี าสู่ความเปน็ เลิศและกีฬาเพื่อการอาชีพในระดับนานาชาติใน
การสรา้ งช่อื เสยี งและเกียรติภูมิของประเทศชาติเพื่อรองรับอตุ สาหกรรมกีฬา

2.1.4 ประเดน็ ยุทธศาสตร์ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
1) การลดความเหลอ่ื มล้า สร้างความเปน็ ธรรมในการเข้าถึงการศึกษา โดยเน้นการสร้าง

โอกาสในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพที่เป็นมาตรฐานเสมอกัน โดยเฉพาะในพ้ืนที่ห่างไกลทุรกันดาร
และยากจนและกลุ่มเป้าหมายท่ีต้องการการดูแลเป็นพิเศษ การจัดให้มีมาตรการทางการคลังและกองทุน
เพื่อลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา การสนับสนุนกลไกความร่วมมือของภาคส่วนต่างๆ เพื่อพัฒนา
การศึกษาในระดับจังหวัด การใช้เทคโนโลยีเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ความรู้
และนวตั กรรมของคนทุกกลุ่ม รวมถงึ ระบบการติดตามสนับสนุนและประเมินผลเพือ่ สร้างหลักประกันสิทธิ
การไดร้ บั การศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพของประชาชน

2) การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี โดยการพัฒนา
ระบบฐานขอ้ มลู มิตติ า่ งๆ ของพน้ื ท่ใี ห้มีความถูกต้องแม่นยา การเปดิ เผยข้อมูลสาคัญที่จะเอ้ือให้ประชาชน
และภาคส่วนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผน การตัดสินใจและการตรวจสอบการดาเนินงานของ
ภาครัฐและฝ่ายการเมืองได้ การจัดต้ังกองทุนวิจัยเพ่ือพัฒนาพ้ืนท่ีเพ่ือสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้
เทคโนโลยีและนวตั กรรมที่สอดคลอ้ งกับความต้องการของพื้นที่ รวมถงึ การสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 9

การวิเคราะหง์ บลงทุนค่าท่ีดินและสิ่งกอ่ สรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

การส่งเสรมิ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การขยายเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือให้ชุมชนสามารถเข้าถึงข้อมูล
ขา่ วสาร ความรตู้ ่างๆ การจัดการความรู้และการนาความรู้ไปใช้เพ่ือพัฒนาพ้ืนที่ ตลอดจนการเพ่ิมบทบาท
ของสถาบนั การศึกษาและภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน เพอ่ื รว่ มพัฒนาพนื้ ท่แี ละชุมชนทอ้ งถิ่น

2.1.5 ประเดน็ ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มติ รต่อส่ิงแวดล้อม
- สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว โดยมุ่งเน้นการพัฒนาสังคม

เศรษฐกิจให้เติบโตและมีความเป็นธรรมบนความสมดุลของฐานทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพ
ส่ิงแวดล้อมท่ีดีด้วยเศรษฐกิจฐานชีวภาพ นาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิต เพิ่มความเป็นธรรมทางสังคม
สามารถลดความเสี่ยวงของผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อมและลดปัญหาความขาดแคลนของทรัพยากรลงได้
โดยมีเป้าหมายส่สู งั คมทีม่ รี ะดบั คุณภาพชวี ิตท่ีสูงข้ึนแต่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมต่าลง ผ่านแนวทางและ
มาตรการต่างๆ เช่นการบริโภคและการผลิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เพิ่มพื้นที่สีเขียวและป่าไม้ รักษา
ฐานทรัพยากรสัตว์ป่าและความหลากหลายทางชีวภาพ ส่งเสริมให้สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพดีขึ้น คนมีความ
รบั ผดิ ชอบต่อสงั คม มคี วามเออ้ื อาทร และเสยี สละเพ่อื ผลประโยชน์สว่ นรวมของชาติ

2.1.6 ประเด็นยุทธศาสตรด์ า้ นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ
1) ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่าง

สะดวกรวดเร็ว โปรง่ ใส โดยหน่วยงานของรฐั ตอ้ งรว่ มมอื และชว่ ยเหลือกันในการปฏิบัติหน้าท่ี มีระบบการ
บริหารจัดการที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ มีความโปร่งใส ให้การบริหารราชการแผ่นดินท้ังราชการ
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐอย่างอ่ืนให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการ
บ้านเมอื งทด่ี ี สรา้ งประโยชน์สขุ แก่ประชาชน

2) ภาครฐั มขี นาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกจิ โดยสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนและทุกภาคส่วนมี
ส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ พร้อมท้ังมีการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการส่วนกลาง
ส่วนภมู ภิ าค และส่วนทอ้ งถนิ่ ใหม้ คี วามชดั เจน ไม่ซา้ ซอ้ นกัน รวมทั้งมีการถ่ายโอนภารกิจท่ีสาคัญและการ
กระจายอานาจในระดับที่เหมาะสมเพื่อใหช้ ุมชนและท้องถนิ่ เขม้ แข็ง

จากข้อมูลข้างต้นในการพัฒนาประเทศโดยเฉพาะอย่างด้านการศึกษาในช่วงระยะเวลา
ของยุทธศาสตร์ชาติ ท่ีมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) ด้านความมั่นคง 2) ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3)
ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง
สังคม 5) ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และ 6) ด้านการปรับสมดุล
และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่ง สพฐ. ได้กาหนดนโยบายและเป้าหมายโดยเชื่อมโยงกับ
ยทุ ธศาสตร์ 20 ปี ดังน้ี

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 10

การวิเคราะหง์ บลงทนุ ค่าทด่ี ินและสิง่ ก่อสรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ นโยบาย สพฐ. เปา้ หมาย สพฐ.

(พ.ศ. 2560-2579) กระทรวงศึกษาธิการ

1. ความม่นั คง 1. ความม่นั คง 1. การจัดการศึกษา 1. ผู้เรียนระดับก่อนประถมศึกษาและระดับ

2. ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม 2. ก า ร ผ ลิ ต พั ฒ น า เพ่ือความม่นั คง การศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกคน มีพัฒนาการเต็ม

สามารถในการแขง่ ขนั กาลังคน และสร้าง 2. ก า ร พั ฒ น า ตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการ

3. ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ ความสามารถในการ คุณภาพผู้เรียนและ เรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21

เสริมสร้างศกั ยภาพคน แขง่ ขัน สิ่ ง เ ส ริ ม ก า ร จั ด 2. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสใน

4. การสร้างโอกาส 3. ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ การศึกษาเพ่ือสร้าง การศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ

ความเสมอภาคและ เสรมิ สร้างศักยภาพคน ขีดความสามารถใน และเสมอภาค

ความเท่าเทียมกัน 4. การสร้างโอกาส การแขง่ ขัน 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะ

ทางสงั คม ความเสมอภาคและ 3. การส่งเสรมิ พัฒนา ตรงตามสายงานและมีวัฒนธรรมการทางานที่

5. ก า ร ส ร้ า ง ก า ร การลดความเหล่ือมล้า ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร มงุ่ เนน้ ผลสัมฤทธ์ิ

เติบโตบนคุณภาพ ทางการศึกษา ทางการศกึ ษา 4. สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สานัก

ชีวิตท่ีเ ป็นมิ ตร กับ 5. ก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง 4. โ อ ก า ส ค ว า ม บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ และสถานศึกษามี

สิง่ แวดลอ้ ม คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต เสมอภาค และความ ระ บ บ บ ริ ห า รจั ด กา ร ท่ีมี ปร ะ สิ ทธิภ า พ

6. การปรบั สมดลุ และ ประชาชนท่ีเป็นมิตร เท่าเทียม การเข้าถึง ขับเคล่ือนการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามหลัก

พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร กบั สง่ิ แวดลอ้ ม บริการทางการศึกษา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและยกระดับ

บรหิ ารจดั การภาครฐั 6. การพัฒนาระบบ 5. การจัดการศึกษา คณุ ภาพสถานศกึ ษาสมู่ าตรฐานสากล

และการบริหารจดั การ เ พื่ อ ส ร้ า ง เ ส ริ ม 5. สพฐ. เน้นการทางานแบบบูรณาการ มี

คุณภาพชีวิตที่เป็น เครอื ข่ายการบริหารจดั การ บริหารแบบมีส่วน

มิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม ร่วมจากทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา

6. ด้านการพัฒนา กระจายอานาจและความรับผิดชอบสู่

ระบบบริหารจัดการ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาและสถานศึกษา

และส่งเสริมให้ทุก 6. พนื้ ท่พี ิเศษได้รับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ภาคส่วนมีส่วนร่วม และพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษา ท่ีเหมาะสม

ในการจดั การศึกษา ตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี

7. หนว่ ยงานทกุ ระดับพัฒนาส่ือ เทคโนโลยี และ

ระบบข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการจัดการศึกษา

อย่างมปี ระสิทธิภาพ

8. หน่วยงานทกุ ระดับ มีงานวจิ ัยที่สามารถนาผล

ไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 11

การวิเคราะหง์ บลงทุนคา่ ท่ดี ินและส่ิงกอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

2.2 หลักเกณฑ์กำรพจิ ำรณำของสำนักงบประมำณในกำรจัดสรรงบประมำณรำยกำรงบลงทุนสิ่งก่อสร้ำง
สานกั งบประมาณไดก้ าหนดหลกั เกณฑ์การพิจารณาจัดสรรงบประมาณรายการลักษณะงบลงทุน

ไว้ในเอกสารรายการลักษณะงบลงทุนที่ดาเนินการในพ้ืนท่ีจังหวัด เล่มท่ี 3 การพัฒนาการศึกษา (สานัก
งบประมาณ, 2561) โดยสรุปหลักเกณฑ์การพจิ ารณาฯ ไดด้ ังนี้

2.2.1 เกณฑ์ท่วั ไป
1) สิ่งก่อสร้างเป็นภารกิจท่ีสอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ทิศทางของ

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 นโยบายความม่ันคงแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและ
จุดเนน้ ของยุทธศาสตร์การจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ

2) ส่ิงก่อสร้างเป็นภารกิจที่สอดคล้องกับแผนงานในภารกิจหลัก (แผนแม่บท) ระยะ 20 ปี
(พ.ศ. 2560 – 2579) ของกระทรวง หน่วยงาน และใหค้ วามสาคัญกับความต่อเน่ืองในการบริหารราชการ
แผ่นดิน ควบค่กู ับการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตรแ์ ละนโยบายเรง่ ดว่ นของรัฐบาล

3) ให้ความสาคัญกับการกาหนดเป้าหมายและงบประมาณที่เหมาะสม มีการจัดทา
แผนการปฏิบัติงานแผนการใช้จ่ายงบประมาณ รวมท้ัง ระบุพื้นที่ดาเนินการอย่างชัดเจน มีความพร้อม
สามารถดาเนินการไดท้ นั ทเี มือ่ ได้รับงบประมาณ

4) สาหรับส่ิงก่อสร้างขนาดใหญ่ท่ีมีค่าใช้จ่ายสูงต้องมีแผนการใช้ประโยชน์และแผนการ
บารงุ รกั ษา โดยจะตอ้ งไมส่ รา้ งภาระรายจ่ายประจาเพ่ิมข้นึ โดยไม่จาเปน็

2.2.2 เกณฑ์การพิจารณาเชงิ พ้ืนท่ี
1) ให้ความสาคัญกับการจัดสรรงบประมาณท่ีสอดคล้องกับความต้องการและแก้ไข

ปัญหาสาคัญของพ้ืนท่ี โดยมีการบูรณาการภารกิจระหว่างส่วนราชการ และกลุ่มจังหวัด/จังหวัด (Area/
Function Approach) โดยใช้แผนพัฒนาภาค เมือง พื้นท่ีเศรษฐกิจ และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด
เป็นกรอบในการพิจารณาคาของบประมาณของสว่ นราชการฯ ทดี่ าเนนิ การในพนื้ ท่ี

2) มีการตรวจสอบโครงการของส่วนราชการฯ ให้สอดคล้องกับโครงการตามความต้องการ
ของกลมุ่ จงั หวดั /จังหวัด โดยสว่ นราชการฯ นาโครงการในแผนพฒั นาหรอื แผนปฏบิ ตั ิราชการประจาปีของ
กลุ่มจังหวัด/จังหวัด ท่ีต้องการให้ส่วนราชการสนับสนุนงบประมาณ ซ่ึงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การจัดสรร
ของประเทศ (Top down) และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ (Bottom up) ตามตาแหน่งยุทธศาสตร์
(Positioning) ของภาค กลุ่มจังหวัด/จังหวัดท่ีมีศักยภาพ รวมท้ังผลการประชุมเชิงบูรณาการ โดยระบุ
โครงการ/กิจกรรม และความต้องการงบประมาณเบื้องต้น พร้อมท้ังวิเคราะห์และจัดลาดับความสาคัญ
เพ่อื ใชป้ ระกอบการพิจารณาคาของบประมาณของสว่ นราชการ

3) กาหนดให้ทุกส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น จัดทาหลักเกณฑ์การกระจาย
งบประมาณอย่างทั่วถึง เป็นธรรม ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการในระดับพ้ืนท่ีอย่างเป็นรูปธรรม
พร้อมท้ังบนั ทกึ ข้อมลู รายการงบประมาณระดับจังหวดั ตามระบบท่ไี ด้จดั เตรียมไว้ โดยให้รายละเอียดพื้นท่ี
ดาเนินการของรายการคา่ ครุภัณฑ์ ทดี่ ินและส่ิงก่อสรา้ งทุกรายการ โดยมีการพิจารณาความเหมาะสมทาง

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 12

การวเิ คราะห์งบลงทุนคา่ ที่ดินและสิง่ กอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

กายภาพของแต่ละรายการ การกระจายงบประมาณอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม และความซ้าซ้อนใน
การจดั สรรงบประมาณระหว่างหนว่ ยงาน

2.2.3 เกณฑ์การพจิ ารณาอ่ืนๆ
1) มีความพร้อมในการดาเนินการ เช่น แบบรูปรายการและประมาณราคา สถานที่/พื้นที่

มีการตรวจสอบและดาเนินการขออนุญาต/อนุมัติตามกฎหมายหรือระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง สาหรับค่าจัด
กรรมสทิ ธิ์ทด่ี นิ ให้พจิ ารณาตามความจาเปน็ เฉพาะรายการทม่ี พี ระราชกฤษฎีกาเวนคืนท่ีดินแล้ว หรือมีมติ
คณะรัฐมนตรรี องรบั

2) รายการส่งิ ก่อสร้าง เพ่ือทดแทนของเดิมที่เสื่อมสภาพหรือเสียหายจากอุบัติภัย ต้องแสดง
สภาพการใช้งานของเดิม ความจาเป็นท่ีต้องจัดหาใหมแ่ ทนการปรับปรุง และคาดการณ์ผู้ใช้งาน/ผ้ใู ชป้ ระโยชน์

3) รายการสิ่งก่อสร้าง เพ่ือรองรับปริมาณงานที่เพิ่มมากข้ึน หรือการปรับปรุงของเดิม
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ คุณภาพและมาตรฐานของการปฏิบตั ิงานของสว่ นราชการ ต้องมีแผนการขยายหรือ
เพ่ิมปริมาณกลุ่มเปา้ หมายหรือปริมาณงานอย่างชดั เจน

4) ค่าใช้จ่ายเป็นไปตามบัญชีราคามาตรฐานส่ิงก่อสร้างของสานักงบประมาณ หรือเกณฑ์
ราคากลางจดั ซ้อื จดั จา้ งของราชการ ซง่ึ สานกั งบประมาณได้เคยให้ความเห็นชอบแล้ว

5) ประมาณค่าใชจ้ า่ ยมคี วามเหมาะสมในปงี บประมาณ รายการท่เี ป็นรายการผูกพันตาม
สัญญาและรายการผูกพันตามมาตรา 23 ของพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 ให้ปฏิบัติตาม
หลกั เกณฑ์ ระเบยี บและมติคณะรฐั มนตรี เรอ่ื ง การก่อหนผ้ี ูกพันข้ามปีงบประมาณท่ีเกยี่ วข้องโดยเคร่งครัด

6) การก่อสรา้ งอาคารใหมข่ องส่วนราชการ รฐั วิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นท่ีมพี น้ื ท่ตี ้ังแต่
2,000 ตารางเมตรข้ึนไป ตอ้ งเสนอคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ตรวจแบบประเมินแลว้

7) คา่ จา้ งท่ปี รึกษาเพื่อการจดั หาหรอื ปรับปรงุ ครุภณั ฑ์หรือสิ่งก่อสรา้ ง ต้องแสดงใหเ้ หน็
ถงึ ความสอดคลอ้ งกบั นโยบายรฐั บาล และมคี วามจาเปน็ เรง่ ดว่ น โดยพิจารณาค่าใชจ้ า่ ยใหเ้ ป็นไปอยา่ งประหยดั
และปฏิบตั ิตามมตคิ ณะรัฐมนตรี เรอื่ งหลักเกณฑร์ าคากลางการจ้างท่ปี รึกษาที่เกีย่ วข้อง

2.3 กรอบแนวทำงกำรจดั ตั้งงบประมำณประจำปี พ.ศ. 2562 รำยกำรค่ำท่ีดินและส่ิงก่อสร้ำง ของ
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

สพฐ. กาหนดกรอบวงเงินการดาเนินการจัดตั้งงบประมาณประจาปี พ.ศ. 2562 รายการค่าที่ดินและ
ส่ิงก่อสร้างให้กับสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา และ
โรงเรียนในสังกัด ยกเว้น โรงเรียนตามพระราชดาริ 24 กลุ่ม และโรงเรียนในโครงการพัฒนารูปแบบการจัด
การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้เน่ืองจากได้มีการเสนอขอต้ังงบประมาณ
เปน็ โครงการเฉพาะรองรบั ไวแ้ ล้ว (สานกั นโยบายและแผนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2561) โดยมีกรอบวงเงิน
รวมทง้ั ส้ิน 13,710,209,800 บาท จาแนกได้ดงั น้ี

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 13

การวิเคราะห์งบลงทุนค่าที่ดินและส่ิงก่อสรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

1) ก่อสร้างและปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบและสิ่งก่อสร้างอื่นสาหรับ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรยี นในสังกัด จานวน 8,729,100,000 บาท

2) จดั ต้งั สาหรับโรงเรยี นประสบภัยธรรมชาติ จานวน 700,000,000 บาท โดยตัง้ ไว้ท่ี สพฐ.
3) จัดตง้ั งบประมาณสาหรับอาคารเรยี นและอาคารประกอบขนาดใหญ่ให้โรงเรียนตามความขาด
แคลนและจาเป็น โดยพิจารณาท่ี สพฐ. จานวน 1,000,000,000 บาท (โรงเรียนในพ้ืนท่ีโครงการพัฒนา
รูปแบบการจัดการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้สามารถเสนอขอตั้ง
งบประมาณได้ตามความจาเปน็ ตามเกณฑท์ ่ีกาหนด)
4) ค่าก่อสรา้ งอาคารเรยี น อาคารประกอบ รายการผูกพันเดิม จานวน 3,281,109,800 บาท

แนวทำงกำรจัดตั้งงบประมำณ งบลงทุน รำยกำรค่ำท่ีดินและส่ิงก่อสร้ำง (สานักนโยบายและแผน
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน, 2561)

2.3.1 ระดบั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
1) ศกึ ษา วเิ คราะห์ข้อมูล ดัชนี ความขาดแคลนและความต้องการ งบลงทุน รายการค่า

ทด่ี ินและส่ิงกอ่ สร้างอ่นื ของโรงเรียนและสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
2) กาหนดกรอบวงเงินจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุน รายการค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้าง

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
3) กาหนดเกณฑ์จัดต้ังงบประมาณ งบลุงทน รายการค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้าง ประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. 2562
4) จัดทาคมู่ ือการจัดตัง้ งบประมาณประจาปี พ.ศ. 2562 งบลงทนุ ค่าทดี่ ินและส่งิ กอ่ สร้าง
5) กาหนดปฏิทินการปฏบิ ัตงิ านใหส้ อดคลอ้ งกับสานักงบประมาณ
6) แจง้ กรอบวงเงินงบประมาณให้สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา
7) ประมวลผลคาขอต้งั งบประมาณของทกุ สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
8) จัดทาคาขอต้ังงบประมาณ งบลงทุน รายการค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้างในภาพรวมของ

สพฐ. เสนอคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ และสานักงบประมาณพจิ ารณา
2.3.2 ระดับสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา
1) แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุน รายการค่าท่ีดินและ

สิ่งก่อสร้าง ประกอบด้วย ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเป็นประธาน รองผู้อานวยการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบกลุ่มนโยบายและแผน ผู้แทนผู้บริหารโรงเรียนตามขนาด
โรงเรียน และ/หรือ ผู้แทนเครือข่ายกลุ่มโรงเรียน ในกรณีสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามีโรงเรียนท่ีต้ังใน
พื้นทล่ี ักษณะพเิ ศษ (โรงเรียนพ้ืนท่สี ูงในถิ่นทรุ กนั ดารและโรงเรียนพ้ืนที่เกาะแก่ง) ให้มีผู้แทนร่วมด้วย โดย
มีผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผนเป็นกรรมการและเลขานุการ ทาหน้าท่ีจัดต้ังงบประมาณให้เป็นไป
ตามแนวทางการจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุน รายการค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้าง เพื่อให้เป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ และดาเนนิ การตามขัน้ ตอนท่เี ก่ียวขอ้ ง

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 14

การวิเคราะหง์ บลงทุนค่าทด่ี ินและสงิ่ ก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

2) การจดั ต้งั งบประมาณ สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ดาเนินการจัดตัง้ ดงั น้ี
2.1) การจัดตงั้ งบประมาณรายการคา่ ทด่ี นิ และสงิ่ ก่อสรา้ ง กรณีงบปเี ดยี ว
(1) รายการค่าก่อสร้างอาคารเรียน อาคารสานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศกึ ษา อาคารประกอบและสิ่งกอ่ สร้างอ่ืน
(2) รายการค่าปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบ และ

สงิ่ ก่อสรา้ งอ่นื
(3) รายการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหาก

มีความจาเปน็ จดั ตง้ั ในรายการนี้ ให้จัดต้งั ได้ในวงเงินไม่เกนิ 1,500
2.2) การจดั ตงั้ งบประมาณรายการค่าทด่ี นิ และส่ิงก่อสรา้ ง กรณงี บผกู พนั
(1) สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาหรือโรงเรียนในสังกัด ขอ

จดั ตั้งไดไ้ มเ่ กินเขตละ 1 หลัง
(2) สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาหรือโรงเรียนในสังกัด ขอ

จดั ตั้ง ได้ไมเ่ กนิ เขตละ 3 หลัง
(3) การจัดต้ังงบประมาณกรณีงบผูกพัน สาหรับอาคารเรียนของ

โรงเรียน ต้องเป็นโรงเรียนท่ีมีนักเรียน ตั้งแต่ 400 คน และมีความขาดแคลนห้องตามเกณฑ์ต้ังแต่ 10 ห้อง
ข้นึ ไป

(4) การจัดตั้งงบประมาณกรณีงบผูกพัน สาหรับสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษา หากมคี วามจาเปน็ สามารถจัดต้ังงบประมาณในการก่อสรา้ งอาคารสานกั งานได้ 3 รูปแบบ คือ

- แบบที่ 1 ราคา 22,273,000 บาท
- แบบที่ 2 ราคา 19,223,000 บาท
- แบบที่ 3 ราคา 20,927,000 บาท
- สาหรบั แบบท่ี 4 ราคา 10,443,000 บาท (ใหจ้ ดั ตั้งในรายการงบปเี ดยี ว)
3) การจัดตั้งงบประมาณของโรงเรียนในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาต้องเป็นไปตาม
คู่มือและแนวทางที่ สพฐ. กาหนด โดยสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอาจพิจารณากาหนดรายละเอียด
ประกอบการพิจารณาเพิ่มเติมได้ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาของแต่ละสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ใน
กรณีที่โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาท่ีมีนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ต่ากว่า 20 คน ให้
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาพิจารณาให้สอดคล้องกับนโยบาย หรือพิจารณาตามความเหมาะสมของแต่
ละพนื้ ท่ดี ้วย
4) ให้สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาจัดต้ังงบประมาณ งบลงทุน รายการค่าท่ีดินและ
ส่ิงก่อสร้างโดยใช้แบบรายการและราคามาตรฐานตามท่ี สพฐ. กาหนด สาหรับสานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษา ที่ต้ังอยู่ในพ้ืนที่เสี่ยงต่อแผ่นดินไหว (ตามประกาศพ้ืนท่ีเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวของ
กระทรวงมหาดไทย) ให้ใช้แบบอาคารเรียนเฉพาะตา้ นแรงส่ันสะเทือนแผน่ ดินไหวตามที่ สพฐ. กาหนด

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 15

การวเิ คราะห์งบลงทุนคา่ ทด่ี ินและส่ิงกอ่ สรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

5) รายละเอียดประกอบการขอตง้ั งบประมาณ ตอ้ งส่งเอกสารประกอบ ดังน้ี
5.1) อาคารเรยี น อาคารประกอบและสง่ิ ก่อสรา้ งอน่ื ของโรงเรียน (เฉพาะกรณีงบผกู พนั )
- แผนผังอาคารเรียน อาคารประกอบและส่ิงก่อสร้างอ่ืนของโรงเรียน
(Master Plan) โดยระบพุ ื้นทท่ี จ่ี ะก่อสรา้ ง
- เหตผุ ลและความจาเป็น
- หนงั สือยืนยันวา่ มีสถานที่ก่อสร้างเพียงพอและพรอ้ มในการกอ่ สรา้ ง
- ภาพถา่ ย สภาพอาคารเรียน อาคารประกอบและสงิ่ กอ่ สร้างอื่น ท่มี ีอย่ใู นปจั จบุ ัน
- แบบสารวจขอ้ มลู ประกอบการเสนอขอต้ังงบประมาณปี 2562 (อาคารขนาดใหญ)่
- กรณขี องการขอตั้งงบประมาณทดแทนอาคารเดิมท่ีได้รับอนุมัติให้ร้ือถอนแล้ว
ให้จัดส่งสาเนาหนังสือที่ได้รับอนุมัติให้รื้อถอนด้วย ทั้งนี้ต้องได้รับการ
อนุมตั ิใหร้ อื้ ถอนก่อนวนั ที่ 15 พฤศจกิ ายน 2560
5.2) อาคารสานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา (ทั้งกรณีงบผกู พันและงบปีเดียว)
- แผนผังบรเิ วณที่จะก่อสรา้ ง พรอ้ มระบพุ นื้ ทีท่ ี่จะก่อสร้าง
- เหตุผลและความจาเปน็ ประกอบการพิจารณา
- สาเนาหนงั สือแสดงกรรมสิทธ์ทิ ดี่ นิ /การขอใช้ท่ดี ิน
- ภาพถา่ ย สภาพอาคารสานกั งานทีม่ ีอยู่ในปจั จบุ นั
- จานวนบคุ ลากรในสานักงาน ตามกรอบอัตรากาลงั
ทั้งนี้ สพฐ. จะพิจารณาเฉพาะสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาท่ีจัดส่งเอกสารถูกต้อง

ครบถว้ น และตรวจสอบได้เท่านนั้
6) หากไดร้ ับการจัดสรรงบประมาณแล้ว หา้ มมิใหเ้ ปล่ยี นแปลงแบบและโรงเรยี นโดยเดด็ ขาด
7) ให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาปรับแผนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน อาคารและ

ส่ิงก่อสร้าง ระยะ 3 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565) ของโรงเรียนในสังกัดให้เป็นไปตามความ
จาเปน็ และขาดแคลนในปัจจุบันเพ่ือใช้เป็นข้อมูลงบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างในระยะ 3 ปี และหากมี
งบประมาณเพิ่มเติมระหว่างปีจะได้ใช้เป็นฐานข้อมูลในการบริหารงบประมาณต่อไป โดยเรียงลาดับ
ความสาคัญ ค่าก่อสร้างอาคารเรียน อาคารประกอบ และส่ิงก่อสร้างอ่ืนแยกกับค่าปรับปรุงซ่อมแซม
อาคารเรียน อาคารประกอบและสง่ิ ก่อสร้างอื่น

2.3.3 ระดบั โรงเรยี น
1) ตรวจสอบ ทบทวนข้อมูลความขาดแคลน จาเป็นด้านอาคารเรียน อาคารประกอบ

และสิ่งก่อสร้างอื่น ให้สอดคล้องกับแผนการจัดช้ันเรียน และแนวโน้มการขยายตัวของประชากรวัยเรียน
ในอนาคต

2) แบบอาคารเรยี น อาคารประกอบ และสิ่งก่อสร้างอ่ืน ต้องเหมาะสมกับพื้นท่ีในการก่อสร้าง
ทัง้ น้ี หากไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณแลว้ หา้ มมิให้เปลย่ี นแปลงแบบโดยเดด็ ขาด

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 16

การวิเคราะหง์ บลงทนุ คา่ ที่ดินและส่ิงก่อสรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

3) คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน มีส่วนร่วมในการวางแผนกาหนดแนวนโยบาย
ในการพัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานอาคารเรยี น อาคารประกอบและส่ิงก่อสร้างอน่ื ของโรงเรยี น

4) เสนอขอต้งั งบประมาณ อาคารเรียน อาคารประกอบและสิ่งก่อสร้างอื่นท่ีมีความขาด
แคลนและมีความจาเป็นตามเกณฑ์มาตรฐานส่ิงก่อสร้าง และการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน อาคาร
ประกอบและส่งิ ก่อสรา้ งอน่ื สง่ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาตามแบบและเวลาท่กี าหนด

5) กรณีขอตั้งงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน และอาคารประกอบ นอกเหนือแบบ
มาตรฐานที่ สพฐ. กาหนด ให้จัดส่งเอกสารเพิ่มเติมในรายละเอียดของเหตุผลความจาเป็นและแบบรูป
รายการก่อสรา้ งท่ีมสี ถาปนกิ รบั รองโดยแนบสาเนาใบประกอบวชิ าชพี

6) กรณีที่ต้องรื้อถอนอาคารเดิมเพ่ือก่อสร้างอาคารทดแทน โรงเรียนต้องเตรียมจัดทา
แผนรองรบั ปัญหาทอี่ าจจะเกิดขึน้

2.4 เกณฑม์ ำตรฐำนส่ิงก่อสรำ้ งของโรงเรียนในสังกัดสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน (สานัก
นโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน, 2561)

2.4.1 เกณฑม์ าตรฐานสิง่ กอ่ สร้างของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

จานวนนักเรยี น หอ้ งเรยี น อาคารเรียน อาคาร อาคาร สนาม สนาม ลานกฬี า
(คน) (ห้อง) (ห้อง) อเนกประสงค์ ฝกึ งาน บาสเกต ฟตุ บอล อเนก
หอประชุม (หนว่ ย) บอล (สนาม) ประสงค์
น้อยกวา่ 120 8 โรงอาหาร (สนาม) (สนาม)
121 - 200 8 (หลัง) 1 1
มากกวา่ 201 8-9 11 1 1 1 1 1
มากกวา่ 201 10 12 1 2 1 1 1
มากกวา่ 201 11-12 15-16 1 2 1 1 1
มากกวา่ 201 13-15 18 1 2 1 1 1
มากกวา่ 201 16-18 20-21 1 2-4 1 1 1
มากกว่า 201 19-21 23-25 1 4 2 1 2
มากกว่า 201 22-24 27-29 1 4 2 1 2
มากกว่า 201 25 31-33 1 4 2 1 2
มากกวา่ 201 26-27 35-37 1 4 2 1 2
มากกวา่ 201 28-30 39 2 6 2 1 2
มากกว่า 201 31-43 41-42 2 6 2 1 2
มากกว่า 201 44 44-46 2 6 2 1 2
มากกวา่ 201 45 48-60 2 6 2-3 1 2-3
63 2 8 3 1 3
65 2 3 3

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 17

การวิเคราะห์งบลงทนุ ค่าทด่ี นิ และสิ่งก่อสรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

จานวนนักเรยี น หอ้ งเรยี น อาคารเรียน อาคาร อาคาร สนาม สนาม ลานกีฬา

(คน) (หอ้ ง) (หอ้ ง) อเนกประสงค์ ฝกึ งาน บาสเกต ฟุตบอล อเนก

หอประชุม (หนว่ ย) บอล (สนาม) ประสงค์

โรงอาหาร (สนาม) (สนาม)

(หลัง)

มากกวา่ 201 46 67 2 8313

มากกวา่ 201 47-54 69-76 2 8313

มากกวา่ 201 55-57 78-80 2 8313

มากกว่า 201 58-60 82-84 2 8313

มากกว่า 201 61 86 2 8313

มากกว่า 201 62 88 2 8313

มากกวา่ 201 63 90 2 8313

มากกว่า 201 64 92 2 8313

มากกว่า 201 65 ขนึ้ ไป 94 2 8 3 1 3

ทม่ี า: สานักนโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

หมายเหตุ: 1. นักเรยี น 40 คน ตอ่ 1 ห้อง

2. อาคารเรยี นนอกจากห้องเรียน จะประกอบดว้ ยหอ้ งอานวยความสะดวกในการบริหารและจดั กิจกรรม

สนับสนุนการเรยี นการสอน เชน่ ห้องพักครู หอ้ งพยาบาล หอ้ งวทิ ยาศาสตร์ หอ้ งคอมพวิ เตอร์ ห้องสมุด ฯลฯ

3. สนามบาสเกตบอล สร้างเฉพาะโรงเรียนทีเ่ ปดิ สอนระดบั ช้นั ประถมและมัธยม

2.4.2 เกณฑ์มาตรฐานสง่ิ กอ่ สร้างของสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา

ห้องเรยี น อาคารเรียน หอประชุม โรงอาหาร โรงฝกึ งาน สนาม สนาม ลานกฬี า

(หอ้ ง) (หอ้ ง) (หลงั ) (หลัง) (หนว่ ย) บาสเกต ฟตุ บอล อเนก

บอล (สนาม) ประสงค์

(สนาม) (สนาม)

6-8 11-15 1 1 1111

9-14 16-24 1 1 2 1-2 1 1-2

15-26 25-41 1 1 4212

27-44 42-63 1 1 6 2-3 1 2-3

45-65 65-94 1 1 8313

ท่ีมา: สานักนโยบายและแผนการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

หมายเหตุ: 1. นักเรยี น 40 คน ตอ่ 1 หอ้ ง

2. อาคารเรยี นนอกจากห้องเรยี น จะประกอบด้วยห้องอานวยความสะดวกในการบรหิ ารและจดั กจิ กรรม

สนบั สนุนการเรียนการสอน เชน่ หอ้ งพักครู หอ้ งพยาบาล ห้องวทิ ยาศาสตร์ หอ้ งคอมพิวเตอร์ ห้องสมดุ ฯลฯ

3. สนามบาสเกตบอล สรา้ งเฉพาะโรงเรียนที่เปดิ สอนระดบั ชน้ั ประถมและมธั ยม

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 18

การวเิ คราะหง์ บลงทุนค่าทดี่ นิ และสิ่งก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

2.4.3 เกณฑ์การจัดสรรงบประมาณค่าปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบและส่ิงก่อสร้าง
อนื่

- ค่าปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบและสิ่งก่อสร้างอ่ืนที่ชารุดทรุดโทรมและ
ประสบอุบัติภัย จะพิจารณาการจัดสรรงบประมาณให้แก่โรงเรียนที่มีอาคารเรียน อาคารประกอบ ที่มี
สภาพชารดุ ทรุดโทรมและประสบอุบัติภยั

2.5 รำคำมำตรฐำนค่ำกอ่ สร้ำงอำคำรสำนักงำน อำคำรเรยี น อำคำรประกอบและสง่ิ กอ่ สรำ้ งของงบประมำณ
รำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 (สานักนโยบายและแผนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2561) ซึ่ง
แบบ/รายการ และราคาก่อสร้างจะปรากฏในเอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 (ขาวคาดแดง)

2.5.1 อาคารสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา (สพป. /สพม.)

ลาดับ แบบ/รายการ ชั้น กวา้ ง (ม.) ยาว (ม.) ราคาก่อสรา้ ง
72.00 21,450,000
1.1 อาคารสานักงานแบบที่ 1 3 16.50 60.00 18,513,000
52.00 20,113,000
1.2 อาคารสานักงานแบบท่ี 2 3 16.50 44.00 10,143,000

1.3 อาคารสานักงานแบบที่ 3 3 26.50

1.4 อาคารสานักงานแบบที่ 4 2 10.50

2.5.2 อาคารเรียน ชัน้ กวา้ ง (ม.) ยาว (ม.) ราคาก่อสร้าง
ลาดับ แบบ/รายการ 1 11.00 24.00 3,010,500
2.1 อาคารอนบุ าล 1 11.00 37.00 5,200,000
2.2 อาคารอนบุ าล 3 หอ้ งเรยี น 2 6.00 27.00 2,304,000
2.3 อาคารเรยี น สปช. 101/26 1 8.50 27.00 1,646,300
2.4 อาคารเรียน สปช. 102/26 1 8.50 27.00 1,873,000
2.5 อาคารเรยี น สปช. 103/26 1 8.00 29.50 3,500,000
2.6 อาคารเรยี น สปช. 103/61 1 8.00 35.50 4,100,000
2.7 อาคารเรียน สปช. 103/61 2 8.50 36.00 2,670,000
2.8 อาคารเรยี น สปช. 104/26 2 8.40 36.00 3,987,100
2.9 อาคารเรียน สปช. 105/29 2 8.40 45.00 5,381,600
2.10 อาคารเรียน สปช. 105/29 2 8.40 54.00 6,281,500
2.11 อาคารเรียน สปช. 105/29 2 8.40 36.00 4,731,200
2.12 อาคารเรยี น สปช. 105/29 2 8.40 36.00 5,022,000
2.13 อาคารเรียน สปช. 105/29 2 8.40 36.00 5,140,000
2.14 อาคารเรยี น สปช. 105/29 2 8.40 36.00 5,347,900
2.15 อาคารเรยี น สปช. 105/29

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 19

การวิเคราะห์งบลงทนุ ค่าที่ดนิ และสิ่งกอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน

ลาดับ แบบ/รายการ ช้ัน กว้าง (ม.) ยาว (ม.) ราคาก่อสรา้ ง
2 8.40 45.00 6,296,400
2.16 อาคารเรยี น สปช. 105/29 2 8.40 54.00
2.17 อาคารเรยี น สปช. 105/29 2 9.00 36.00 7,116,100
2.18 อาคารเรยี น 105/58 (ข) 2 9.00 45.00
2.19 อาคารเรยี น 105/58 (ข) 3 9.40 48.00 6,756,700
2.20 อาคารเรยี น สปช. 2/28 2 10.50 72.00
2.21 อาคารเรียน 108 ล./59 - ก 7,995,200
3 14.50 64.00
อาคารเรียน 108 ล./59 - ข 9,475,200
2.22 อาคารเรยี น 212 ล./57-ก 3 14.50 80.00
11,243,400
อาคารเรียน 212 ล./57-ข 4 14.50 64.00 11,666,100
2.23 อาคารเรยี น 216 ล./57-ก 15,719,100
4 14.50 80.00 16,001,500
อาคารเรียน 216 ล./57-ข 18,753,800
2.24 อาคารเรยี น 318 ล./55-ก กวา้ ง (ม.) 19,129,800
10.00 20,012,800
อาคารเรยี น 318 ล./55-ข 22,802,700
2.25 อาคารเรยี น 324 ล./55-ก 10.00 24,043,700
24,578,300
อาคารเรยี น 324 ล./55-ข 14.00

2.5.3 อาคารประกอบและสงิ่ กอ่ สรา้ งอน่ื ช้ัน 21.00 ยาว (ม.) ราคาก่อสร้าง
ลาดบั แบบ/รายการ 1 20.00 1,059,300
3.1 อาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช. 11.00
1 16.00 12.00 805,200
201/26 19.00
3.2 อาคารอเนกประสงค์ 1 26.00 32.00 2,433,400

แบบ สปช. 202/26 1 24.00 36.00 4,610,400
3.3 อาคารอเนกประสงค์
1 15.00 1,092,900
แบบ สปช. 205/26 1 22.00 3,415,500
3.4 อาคารอเนกประสงค์ 1 38.50 6,753,700
1 40.00 7,990,200
แบบ สปช. 206/26
3.5 โรงอาหาร 84 ที่นั่ง 2 40.00 11,097,500
3.6 โรงอาหาร 260 ท่ีนงั่
3.7 โรงอาหาร 500 ท่ีนั่ง
3.8 โรงอาหาร - หอประชมุ

แบบ 100/27
3.9 โรงอาหาร - หอประชมุ

แบบ 101ล/27 (พิเศษ)

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 20

การวิเคราะหง์ บลงทุนคา่ ที่ดินและสง่ิ ก่อสรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

ลาดบั แบบ/รายการ ช้นั กว้าง (ม.) ยาว (ม.) ราคาก่อสรา้ ง
3.10 โรงฝกึ งาน 102/27 1 10.00 32.00 2,958,100
3.11 โรงฝกึ งาน 204/27 2 14.00 34.00 5,366,700
3.12 ห้องสมุด 1 12.00 20.00 3,000,000
3.13 สปช. 301/26 2 5.50 7.00 594,000

(บา้ นพักครเู ดย่ี ว) 2 6.50 11.00 938,600
3.14 บา้ นพักครู 207 2 9.70 30.00 4,684,600
3.15 สปช. 303/28
3 8.50 31.00 3,938,200
(บ้านพักครเู รือนแถว)
3.16 บ้านพกั ครู 8 ครอบครวั 2 5.50 9.00 945,000
2 10.00 14.00 1,300,000
(แบบแฟลต 8 หนว่ ย) 2 5.5 9.00 945,000
3.17 บ้านพักครู 203/61 1 4.50 6.00 450,000
3.18 บา้ นพกั ครู 204/61 (ฝ)
3.19 บา้ นพักครู 205/61 2 5.90 6.80 376,900
3.20 บ้านพกั ครูและบุคลากรทางการ 3 8.60 19.00 3,847,000

ศกึ ษา 1 6.00 8.50 1,292,900
3.21 บ้านพกั ภารโรง/32
3.22 บ้านพักภารโรงแบบแฟลต 1 2.80 5.20 389,000

8 ครอบครัว 1 5.20 7.00 383,900
3.23 บ้านพักนักเรียน
1 6.40 7.00 505,000
(4 ห้อง แบบกรมอาชีวศกึ ษา)
3.24 อาคาร สพฐ.4 1 5.20 9.50 501,100

(ส้วม 4 ทนี่ ่ัง) 1 6.40 9.50 634,000
3.25 ห้องน้าหอ้ งส้วมนักเรยี นหญงิ
- 18.00 31.00 417,400
4 ที่/49

3.26 ห้องนา้ ห้องส้วมนักเรยี นชาย
4 ท/่ี 49

3.27 หอ้ งน้าหอ้ งส้วมนักเรียนหญิง
6 ที/่ 49

3.28 ห้องน้าหอ้ งส้วมนกั เรียนชาย
6 ที่/49

3.29 สนามบาสเกต็ บอล
แบบ FIBA

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 21

การวเิ คราะหง์ บลงทนุ คา่ ทด่ี ินและส่งิ กอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

ลาดบั แบบ/รายการ ชั้น กว้าง (ม.) ยาว (ม.) ราคาก่อสร้าง
3.30 ลานกีฬาอเนกประสงค์ - 16.00 26.00 157,500

แบบกรมพลศกึ ษา - 27.00 36.00 1,262,200
3.31 สนามกฬี าอเนกประสงค์ - 59.00 89.00 875,400
3.32 ฟ.1/42 (สนามฟุตบอล) - 93.00 178.00 674,700
3.33 ฟ.3/42 (สนามฟุตบอล) - 68.00 105.00 1,552,300
3.34 ฟ.3 พเิ ศษ(สนามฟตุ บอล) -- 274,700
3.35 ถงั น้า ค.ส.ล. 9/9 -- - 528,200
3.36 ถงั นา้ ค.ส.ล. 18/12 -- - 3,260 บ./ม.
3.37 รว้ั มาตรฐานแบบทึบ -
--
(ฐานรากตอกเข็ม) - 3,070 บ./ม.
3.38 รั้วมาตรฐานแบบทึบ --
- 3,270 บ./ม.
(ฐานรากไมต่ อกเข็ม)
3.39 ร้วั มาตรฐานแบบโปรง่

(ฐานรากตอกเข็ม)

3.40 รั้วมาตรฐานแบบโปรง่ - - - 3,080 บ./ม.

(ฐานรากไมต่ อกเข็ม)

3.41 รั้วลวดหนาม -- - 260 บ./ม.

ขนาด 7 เส้น 270 บ./ม.

ขนาด 9 เส้น 2,550 บ./ม.
ขนาด 12

3.42 ถนนคอนกรีตเสรมิ เหลก็ บนผิว - กวา้ ง 3.00 ม. - 1,470 บ./ม.

ถนนเดมิ กวา้ ง 4.00 ม. - 1,870 บ./ม.

กว้าง 5.00 ม. - 2,380 บ./ม.

กวา้ ง 6.00 ม. - 2,750 บ./ม.

3.43 แบบรางระบายนา้ ฝาเปดิ - 0.35 0.50 1,370 บ./ม.

3.44 แบบรางระบายนา้ ฝาเหลก็ - 0.35 0.50 2,910 บ./ม.

3.45 แบบรางระบายน้าแบบรางวี - 0.35 0.30 990 บ./ม.

(ไม่มีฝาปดิ )

3.46 แบบรางระบายนา้ รปู ตัว V - - - 1,060บ./ม.

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 22

การวิเคราะหง์ บลงทุนคา่ ท่ีดินและสงิ่ กอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน

บทที่ 3
กำรศกึ ษำข้อมูลงบประมำณและประชำกรกลุ่มเปำ้ หมำย

บทที่ 3 เป็นการประมวลผลการศึกษาจากการเก็บรวมรวมข้อมูลเชิงปริมาณจากแหล่งข้อมูลท่ี
กาหนดไว้ในบทที่ 1 ได้แก่ ข้อมูลด้านงบประมาณที่รวบรวมข้อมูลจากเอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3
(กระทรวงศึกษาธิการ) ฉบับปรับปรุงตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2560 – 2562 (3 ปีงบประมาณ) ของสานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี และข้อมูลด้านประชากร
กลุ่มเป้าหมาย (ประชากรที่เกิดระหว่าง 2550 – 2560) ท่ีรวบรวมข้อมูลจากระบบสถิติทางการทะเบียน
ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย โดยนาเสนอในรูปแบบแผนภาพ (กราฟ) และตารางในมิติ
ภาพรวมของประเทศและมิติจังหวัดท่ีมีนัยสาคัญด้านงบประมาณและประชากร เพ่ือสะท้อนถึงแนวโน้ม
การจัดสรรงบลงทนุ ค่าท่ดี นิ และสงิ่ กอ่ สร้างของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) และ
แนวโน้มประชากรกลมุ่ เป้าหมาย

3.1 ภำพรวมกำรอนุมัติกำรจัดสรรงบประมำณต่อโครงกำรภำยใต้งบลงทุนค่ำท่ีดินและสิ่งก่อสร้ำงของ
สพฐ. (ปงี บประมำณ พ.ศ. 2560 – 2562)

แผนภาพท่ี 4: ปรมิ าณโครงการทีไ่ ด้รบั การอนุมตั ิจัดสรร แผนภาพท่ี 5: งบประมาณท่ไี ดร้ ับอนมุ ัติจัดสรรภายใต้
งบประมาณภายใต้งบลงทุนค่าทด่ี ินและส่งิ กอ่ สรา้ ง งบลงทนุ คา่ ทดี่ ินและส่งิ ก่อสรา้ งของ สพฐ.

หนว่ ย : โครงการ หนว่ ย : ลา้ นบาท

19,053 15,353 13,844 12,649
13,641

6,248

2560 2561 2562 2560 2561 2562
ทีม่ า: เอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 สานักงบประมาณ ทีม่ า: เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 สานักงบประมาณ

จากการรวบรวมข้อมูลจานวนและมูลค่าโครงการภายใต้งบลงทุนค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้างของ
สพฐ. ท่ีได้รับการอนุมัติตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 –
2562) ซ่ึงได้นาเสนอในแผนภาพท่ี 4 และแผนภาพท่ี 5 ซ่ึงได้สะท้อนถึงภาพรวมการอนุมัติการจัดสรร
งบประมาณต่อโครงการภายใต้งบลงทุนค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้างของ สพฐ. ท่ีมีแนวโน้มลดลงระหว่าง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562 ทง้ั ปรมิ าณโครงการฯ และปรมิ าณงบประมาณของโครงการฯ

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 23

การวเิ คราะห์งบลงทนุ ค่าท่ดี นิ และส่งิ กอ่ สรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3.2 ข้อมูลกำรจดั สรรงบลงทนุ ค่ำทดี่ ินและสิ่งก่อสรำ้ งฯ มติ ริ ำยจงั หวดั

แผนภาพท่ี 6 : สัดส่วนงบประมาณที่ไดร้ บั การอนมุ ัติจดั สรรภายใตง้ บลงทุนค่าทด่ี นิ และสิง่ ก่อสร้างของ สพฐ.
ระหวา่ งโครงการทม่ี ลู คา่ น้อยกวา่ 10 ลา้ นบาท และโครงการทมี่ ลู ค่ามากกว่า 10 ลา้ นบาท
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562

มากกว่า 10 ล้านบาท มากกว่า 10 ล้านบาท มากกว่า 10 ล้านบาท
น้อยกว่า 10 ล้านบาท น้อยกว่า 10 ล้านบาท น้อยกว่า 10 ล้านบาท

36.17 32.98 36.56

63.83 67.02 63.44

2560 2561 2562

จากการศึกษาเอกสารงบประมาณ ฉบับท่ี 3 ของสานักงบประมาณ ซ่ึงเป็นเอกสารทางการท่ี
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี ใช้ประกอบการพิจารณา
ได้นาเสนอรายละเอียดงบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างฯ มิติรายจังหวัดเฉพาะโครงการท่ีมูลค่ามากกว่า
10 ลา้ นบาทเท่าน้ัน ในส่วนโครงการที่มีมูลค่าน้อยกว่า 10 ล้านบาทจะระบุเป็นภาพรวมจานวนโครงการ
และงบประมาณโดยไม่สามารถแยกเป็นมิติรายจังหวัดได้ ประกอบกับโครงการท่ีมีมูลค่าน้อยกว่า 10 ล้านบาท
มีสัดส่วนเฉลี่ยร้อยละ 65 ของงบประมาณที่ได้รับการอนุมัติฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562 ดังท่ี
แสดงในแผนภาพที่ 6 อย่างไรก็ตาม เพอ่ื ใหก้ ารนาเสนอข้อมลู งบประมาณเชงิ พ้ืนทม่ี คี วามครอบคลุมในมิติ
รายจังหวัด จึงได้รวบรวมข้อมูลเพ่ิมเติมจากเอกสารรายการลักษณะงบลงทุนที่ดาเนินการในพ้ืนที่จังหวัด
(เอกสารรายจา่ ยลงทนุ -เลม่ เขียว) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561 เล่มที่ 3 การพัฒนาการศึกษา
จากเว็บไซต์ของสานักงบประมาณ (สถานะวันท่ี 28 มีนาคม 2562) ซึ่งเอกสารดังกล่าวมิได้เป็นเอกสาร
ประกอบงบประมาณตามมาตราต่างๆ ในพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี หรือใช้ในการบริหาร
งบประมาณเช่นเดียวกับเอกสารประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี ฉบับท่ี 3 แต่เป็น
การรวบรวมขอ้ มูลงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณทแ่ี สดงให้เหน็ งบประมาณทีด่ าเนินการในพื้นท่ี
จังหวัด ในส่วนของรายการลักษณะงบลงทุน ทั้งรายการครุภัณฑ์และรายการค่าที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง ซึ่งเป็น
รายการในส่วนท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา และทั้งที่ระบุและไม่ได้ระบุรายละเอียดหรือสถานท่ีดาเนินการ
ไว้ในเอกสารงบประมาณรายจ่ายประจาปี ฉบับท่ี 3 โดยสรุปลาดับและข้อมูลการจัดสรรงบประมาณมิติ
รายจงั หวดั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561 ตามตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 : การจัดอนั ดบั จงั หวัดท่ีได้รับจดั สรรงบลงทุนค่าท่ีดินและสิ่งกอ่ สร้างฯ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 สูงทสี่ ุด

จังหวัด 2560 2561 ลด/เพ่ิม
นครราชสมี า 610,895,000 629,434,300 18,539,300
ขอนแกน่ 373,071,300 580,602,700 207,531,400
เชยี งใหม่ 434,600,100 538,021,600 103,421,500
347,788,900 445,933,400 98,144,500
อดุ รธานี 330,619,200 436,926,600 106,307,400
สุรนิ ทร์

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 24

การวิเคราะห์งบลงทนุ ค่าท่ีดนิ และสิ่งกอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

จังหวัด 2560 2561 ลด/เพ่ิม
รอ้ ยเอด็ 285,010,600 422,522,600 137,512,000
เชยี งราย 360,702,700 418,271,300 57,568,600
กรงุ เทพมหานคร 347,214,200 412,820,700 65,606,500
อุบลราชธานี 434,046,200 412,575,800 (21,470,400)
นครศรีธรรมราช 321,644,200 401,242,600 79,598,400
บุรีรมั ย์ 363,519,900 401,105,100 37,585,200
ชัยภูมิ 298,017,100 366,433,500 68,416,400
สกลนคร 341,357,300 339,826,500 (1,530,800)
ศรสี ะเกษ 341,996,100 326,809,100 (15,187,000)
สงขลา 238,261,100 295,701,600 57,440,500
สุราษฎร์ธานี 237,994,500 295,593,300 57,598,800
กาญจนบุรี 274,506,300 294,136,900 19,630,600
กาฬสินธุ์ 232,475,600 287,834,900 55,359,300
มหาสารคาม 267,924,800 277,623,500
เพชรบรู ณ์ 212,240,900 264,428,600 9,698,700
220,846,300 256,559,800 52,187,700
เลย 247,837,500 35,713,500
ยะลา 90,134,000 241,594,900 157,703,500
นราธิวาส 237,694,600 238,813,300 3,900,300
ปทมุ ธานี 187,737,900 234,556,400 51,075,400
นครพนม 179,022,200 230,305,400 55,534,200
พิษณโุ ลก 236,135,900 228,529,400 (5,830,500)
ตาก 111,801,500 226,636,600 116,727,900
สมุทรปราการ 168,715,500 217,627,200 57,921,100
อุตรดติ ถ์ 91,800,700 205,522,600 125,826,500
นครสวรรค์ 179,380,800 194,199,200 26,141,800
ลาปาง 157,479,200 193,091,000 36,720,000
สุพรรณบรุ ี 160,502,800 191,438,100 32,588,200
ชลบรุ ี 210,894,600 190,591,800 (19,456,500)
ชมุ พร 190,240,600 186,900,800
แมฮ่ ่องสอน 179,299,200 185,855,600 351,200
ฉะเชิงเทรา 128,724,700 181,782,600 7,601,600
ระยอง 144,782,200 181,319,000 57,130,900
กาแพงเพชร 194,839,900 181,214,000 37,000,400
สุโขทยั 130,928,800 180,520,900 (13,520,900)
พะเยา 117,303,300 171,013,500 50,285,200
จนั ทบรุ ี 107,356,100 163,967,000 63,217,600
แพร่ 152,795,400 63,657,400
11,171,600

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 25

การวเิ คราะห์งบลงทุนคา่ ที่ดินและสิง่ ก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

จงั หวดั 2560 2561 ลด/เพิ่ม

ยโสธร 150,974,800 162,175,800 11,201,000

พระนครศรอี ยธุ ยา 179,283,500 156,949,900 (22,333,600)

สระแกว้ 127,946,700 155,781,700 27,835,000

ปตั ตานี 105,704,700 155,504,500 49,799,800

ตรงั 160,842,100 154,430,600 (6,411,500)

กระบ่ี 130,380,800 150,688,000 20,307,200

สระบรุ ี 120,727,900 149,505,000 28,777,100

หนองบัวลาภู 144,804,300 148,623,900 3,819,600

นครปฐม 160,892,100 146,795,300 (14,096,800)

หนองคาย 40,106,600 145,605,100 105,498,500

ราชบรุ ี 144,388,700 145,033,400 644,700

ลาพูน 107,369,100 135,566,500 28,197,400

พิจิตร 112,066,600 130,740,200 18,673,600

ลพบรุ ี 140,053,200 130,619,000 (9,434,200)

มกุ ดาหาร 86,433,900 126,672,100 40,238,200

อุทัยธานี 100,032,500 122,731,400 22,698,900

พทั ลงุ 98,344,700 120,921,700 22,577,000

อานาจเจรญิ 52,385,100 118,403,000 66,017,900

บึงกาฬ 118,858,900 113,172,300 (5,686,600)

ประจวบครี ขี นั ธ์ 110,864,100 104,580,700 (6,283,400)

เพชรบุรี 99,792,900 97,798,200 (1,994,700)

ปราจีนบุรี 118,372,800 96,617,400 (21,755,400)

สมทุ รสาคร 92,502,700 93,214,200 711,500

ชยั นาท 136,776,800 90,189,800 (46,587,000)

ภเู กต็ 98,491,100 87,239,800 (11,251,300)

ระนอง 92,861,500 86,539,800 (6,321,700)

สตูล 92,434,600 86,362,900 (6,071,700)

นนทบุรี 117,937,900 82,305,200 (35,632,700)

พังงา 127,861,600 77,396,500 (50,465,100)

นครนายก 41,151,500 72,817,000 31,665,500

อา่ งทอง 69,443,600 72,099,100 2,655,500

สิงห์บุรี 44,302,900 65,052,700 20,749,800

ตราด 64,919,700 51,085,100 (13,834,600)

น่าน 189,774,200 40,456,900 (149,317,300)

สมทุ รสงคราม 42,505,700 32,158,400 (10,347,300)

ทีม่ ำ: สำนักงบประมำณ สำนกั นำยกรัฐมนตรี

หมำยเหตุ: ข้อมูลฯ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ยังไม่มีกำรเผยแพร่ (สถำนะ 28 มีนำคม 2562)

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 26

การวเิ คราะห์งบลงทุนคา่ ทีด่ ินและสงิ่ กอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน

3.3 กำรอนมุ ัติกำรจดั สรรงบลงทนุ คำ่ ท่ีดินและสิ่งก่อสร้ำงของ สพฐ. สำหรับโครงกำรท่ีมูลค่ำมำกกว่ำ 10
ล้ำนบำท (ปีงบประมำณ 2560 – 2562) จาแนกตามจังหวัดที่ได้รับการอนุมัติการจัดสรรงบประมาณมากที่สุด
และนอ้ ยทส่ี ดุ

แผนภาพที่ 7: ภาพรวมการอนมุ ตั ิปรมิ าณโครงการท่ีมี แผนภาพท่ี 8: ภาพรวมงบประมาณท่ไี ดร้ บั การอนุมตั ิ
วงเงนิ งบประมาณมากกว่า 10 ลา้ นบาท จัดสรรสาหรับโครงการทีม่ ลู คา่ มากกวา่ 10 ล้านบาท

หนว่ ย : โครงการ หน่วย : ลา้ นบาท

242 241 5,553 4,566 4,624

217

2560 2561 2562 2560 2561 2562
ทีม่ า: เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 สานกั งบประมาณ ทม่ี า: เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3 สานักงบประมาณ

ในส่วนของภาพรวมการอนุมัติจัดสรรงบลงทุนค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้างโครงการท่ีมีมูลค่ามากกว่า
10 ล้านบาท ซึ่ง มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 35 ของการอนุมัติจัดสรรงบประมาณโครงการ ดังท่ีกล่าวใน
หัวข้อที่ 4.2 ท้ังนี้ ภายใต้แผนภาพที่ 7 ข้อมูลจากการศึกษาได้แสดงให้เห็นว่าปริมาณโครงการฯ มีแนวโน้ม
ลดลง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โครงการฯ ลดจานวนลงจากปีงบประมาณ พ.ศ.
2561 เป็นจานวน 24 โครงการ ประกอบกับในส่วนของงบประมาณที่ได้รับการอนุมัติจัดสรรสาหรับ
โครงการที่มูลค่ามากกว่า 10 ล้านบาท ถึงแม้ว่าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จะมีปริมาณที่ลดลงจาก
ปีงบประมาณก่อนเป็นจานวนเงิน 987 ล้านบาท แต่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กลับมีตัวเลขที่เพิ่มข้ึน
จากปีงบประมาณก่อนเป็นจานวนเงิน 58 ล้านบาท ดังปรากฏข้อมูลในแผนภาพท่ี 8 ประกอบกับ ได้แสดงผล
ของข้อมูลฯ ในมิติเชิงพื้นที่ตามภาพรวมรายจังหวัดที่ได้รับการอนุมัติการจัดสรรงบประมาณและจานวน
โครงการท่ีมีมูลค่ามากกว่า 10 ล้านบาท มากที่สุดและน้อยท่ีสุด ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562
ดังปรากฏขอ้ มลู ตามตารางท่ี 2 - 4 และแผนภาพท่ี 9 - 10

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 27

การวเิ คราะหง์ บลงทุนค่าท่ีดินและสงิ่ ก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

แผนภาพที่ 9: การจดั อนั ดับ 10 จงั หวัดที่ได้รับการอนุมัตจิ ดั สรรงบลงทุนค่าท่ีดนิ และสงิ่ กอ่ สร้างโครงการทม่ี มี ูลคา่ มากกว่า
10 ลา้ นบาท สงู ทส่ี ดุ ภายในระยะเวลา 3 ปี (60-62)

หนว่ ย : ลา้ นบาท

กรุงเทพมหำนคร 972.67
ยะลำ 922.60

นครรำชสมี ำ 479.38
เชียงใหม่ 477.08
เชียงรำย 460.48
ขอนแก่น 370.86
331.58
สมทุ รปรำกำร 326.91
สรุ นิ ทร์ 318.69
สกลนคร 314.90

นรำธวิ ำส

ทม่ี า: เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 3 สานกั งบประมาณ

ตารางที่ 2: ปริมาณและงบประมาณโครงการท่ีมีมูลค่ามากกว่า 10 ล้านบาท (2560-2562) ของจังหวัดท่ีได้รับการอนุมัติ

จัดสรรงบลงทนุ คา่ ที่ดินและสง่ิ ก่อสรา้ งสูงทส่ี ุด 10 อนั ดับแรก

หน่วย : บาท

จงั หวัด 2560 2561 2562
จำนวน งบประมำณ จำนวน งบประมำณ จำนวน งบประมำณ

กรุงเทพมหำนคร 8 331,846,000 10 348,728,500 8 292,090,800

ยะลำ 4 595,831,000 2 256,278,400 3 70,494,000

นครรำชสีมำ 10 208,078,000 7 122,324,100 5 148,974,000

เชยี งใหม่ 10 231,364,000 6 109,611,300 6 136,103,000

เชยี งรำย 6 145,013,000 8 172,434,000 5 143,032,000

ขอนแก่น 7 124,514,000 8 137,452,500 6 108,890,000

สมุทรปรำกำร 4 109,024,000 4 134,198,800 5 88,361,000

สุรินทร์ 5 97,035,000 7 108,605,200 6 121,268,000

สกลนคร 7 126,616,000 5 86,855,000 5 105,215,000

นรำธิวำส 8 156,322,000 6 100,837,100 3 57,745,000

ท่มี า: เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 3 สานักงบประมาณ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 28

การวิเคราะห์งบลงทุนค่าทีด่ นิ และสง่ิ ก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

แผนภาพท่ี 10: การจดั อันดบั 10 จังหวัดท่ไี ด้รับการอนมุ ัตจิ ัดสรรงบลงทุนคา่ ที่ดินและสิง่ ก่อสรา้ งโครงการท่ีมมี ูลค่า
มากกวา่ 10 ล้านบาท น้อยท่ีสดุ ภายในระยะเวลา 3 ปี (60-62)

หน่วย : ลา้ นบาท

มุกดำหำร 28.12
ตรำด 34.89
37.77
สมทุ รสงครำม 41.56
พงั งำ 43.84
43.96
อ่ำงทอง 46.97
สงิ ห์บรุ ี 48.96
ลพบรุ ี 49.40
อตุ รดติ ถ์ 54.00
นครนำยก
พทั ลงุ

ทีม่ า: เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 3 สานักงบประมาณ

ตารางท่ี 3: ปริมาณและงบประมาณโครงการที่มีมูลค่ามากกว่า 10 ล้านบาท (2560-2562) ของจังหวัดท่ีได้รับการอนุมัติ

จัดสรรงบลงทนุ คา่ ท่ดี ินและสง่ิ ก่อสร้างน้อยทีส่ ดุ 10 อันดบั สดุ ท้าย

หน่วย : บาท

จังหวดั 2560 2561 2562
จำนวน งบประมำณ จำนวน งบประมำณ จำนวน งบประมำณ

พัทลงุ 2 32,008,000 2 21,987,500 0 0

นครนำยก 2 29,387,000 3 20,012,800 0 0

อตุ รดติ ถ์ 1 21,978,000 0 01 26,985,000

ลพบุรี 1 19,982,000 0 01 26,985,000

สงิ ห์บุรี 2 43,956,000 0 00 0

อ่ำงทอง 1 17,226,000 2 26,609,100 0 0

พังงำ 0 02 30,227,200 1 11,334,000

สมทุ รสงครำม 0 02 37,766,600 0 0

ตรำด 0 01 11,097,500 2 23,789,000

มุกดำหำร 1 17,226,000 1 10,890,000 0 0

ทม่ี า: เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 สานกั งบประมาณ

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 29

การวิเคราะห์งบลงทนุ คา่ ทด่ี ินและสงิ่ ก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

ตารางที่ 4: การเปรยี บเทียบปริมาณและงบประมาณโครงการทมี่ ีมูลค่ามากกว่า 10 ล้านบาท (2560-2562) ของจังหวัดท่ี

ได้รับการอนมุ ัตจิ ัดสรรงบลงทนุ ค่าท่ดี นิ และส่ิงกอ่ สร้างมากทีส่ ุดและน้อยทส่ี ดุ

หนว่ ย : บาท

จงั หวดั 2560 2561 2562
จำนวน งบประมำณ จำนวน งบประมำณ จำนวน งบประมำณ

กรุงเทพมหำนคร 8 331,846,000 10 348,728,500 8 292,090,800

มกุ ดำหำร 1 17,226,000 1 10,890,000 0 0

ทม่ี า: เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3 สานักงบประมาณ

3.4 แนวโน้มอตั รำกำรเกดิ ของประชำกรไทยระหวำ่ ง พ.ศ. 2550 – 2560 (อำยรุ ะหวำ่ ง 2 – 12 ปี)

แผนภาพที่ 11: การเพิ่มข้นึ และลดลงของอตั ราการเกิดประชากรไทยระหว่าง พ.ศ. 2551 – 2560

หนว่ ย : คน

29,721 22,810

51 52 53 54 55 56 57 58 59 60

-14,028 -9,617 -5,759 -1,303
-21,369

-36,772 -32,294
-40,018

ทีม่ า: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

แผนภาพท่ี 12: การจดั อนั ดับ 10 จังหวัดท่มี ีจานวนประชากรทเ่ี กดิ ระหว่าง พ.ศ. 2550 - 2560 มากที่สุด

หน่วย : คน

สมทุ รปรำกำร 174,635

อดุ รธำนี 178,611

นครศรธี รรมรำช 200,298

ขอนแกน่ 209,950

เชียงใหม่ 215,799

อบุ ลรำชธำนี 222,508

สงขลำ 235,055

นครรำชสมี ำ 294,653

ชลบุรี 330,396 1,106,988
กรงุ เทพมหำนคร

ที่มา: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 30

การวิเคราะห์งบลงทุนค่าทดี่ นิ และสงิ่ กอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

แผนภาพที่ 13: การจัดอนั ดบั 11 จงั หวัด ทมี่ ีอตั ราการเกิดระหว่าง พ.ศ. 2550 – 2560 เพ่มิ ขึ้นเฉล่ียตอ่ ปมี ากทสี่ ดุ

หนว่ ย : คน

ยะลำ 3
ประจวบคีรขี นั ธ์ 6
12
เชียงรำย
นครนำยก 23
33
ระนอง 53
แม่ฮอ่ งสอน 74

ภเู ก็ต 131
เชยี งใหม่
204
ชลบุรี 253
สมุทรสำคร
373
ตำก

ท่มี า: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

แผนภาพที่ 14: การจดั อันดบั 10 จงั หวัดทมี่ ีจานวนประชากรที่เกดิ ระหวา่ ง พ.ศ. 2550 – 2560 นอ้ ยทสี่ ุด

หนว่ ย : คน

สมุทรสงครำม 15,025

สิงหบ์ ุรี 23,417

ระนอง 26,950

ตรำด 27,708

อ่ำงทอง 29,751

ชัยนำท 30,317

บึงกำฬ 30,403

อทุ ยั ธำนี 33,917

แพร่ 34,444

พงั งำ 36,602

ทม่ี า: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 31

การวเิ คราะห์งบลงทุนคา่ ที่ดินและสง่ิ กอ่ สรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

แผนภาพท่ี 15: การจัดอนั ดับ 10 จงั หวดั ท่ีมีอตั ราการเกิดระหว่าง พ.ศ. 2550 – 2560 ลดลงเฉลีย่ ต่อปมี ากที่สดุ

หนว่ ย : คน

กรงุ เทพมหำนคร -1,963
หนองคำย
-538
นครรำชสมี ำ -423
อุบลรำชธำนี -369
-341
บรุ ีรมั ย์ -333
ศรีสะเกษ -333
นครศรีธรรมรำช -294
สรุ ำษฎร์ธำนี -276
-269
สุรินทร์
พระนครศรอี ยุธยำ

ทีม่ า: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

การนาเสนอขอ้ มลู การศึกษาในบทที่ 3 ดว้ ยรูปแบบแผนภาพและตารางได้สะท้อนถึงภาพรวมการ
อนุมัติการจัดสรรงบประมาณต่อโครงการภายใต้งบลงทุนค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้างของ สพฐ. ที่มีแนวโน้มลดลง
ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562 ท้ังปริมาณโครงการฯ และปริมาณงบประมาณของโครงการฯ
รวมถึงการอนุมัติการจัดสรรงบประมาณต่อโครงการท่ีมีมูลค่ามากกว่า 10 ล้านบาท ซึ่งข้อมูลได้แสดงให้
เห็นว่าปริมาณโครงการฯ ท่ีได้รับการอนุมัติฯ มีแนวโน้มลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปีงบประมาณ พ.ศ.
2562 โครงการฯ ลดจานวนลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นจานวน 24 โครงการ ในส่วนของ
งบประมาณท่ีได้รับการอนุมัติจัดสรรสาหรับโครงการท่ีมูลค่ามากกว่า 10 ล้านบาท ถึงแม้ว่าใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จะมปี ริมาณท่ีลดลงจากปีงบประมาณก่อนเป็นจานวนเงิน 987 ล้านบาท แต่ใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กลับมีตัวเลขท่ีเพ่ิมขึ้นจากปีงบประมาณก่อนเป็นจานวนเงิน 58 ล้านบาท
ประกอบกับ ได้นาเสนอการประมวลผลของข้อมูลฯ ในมิติเชิงพื้นที่ตามจังหวัดที่ได้รับการอนุมัติการ
จดั สรรงบประมาณและจานวนโครงการมากที่สุดและน้อยทสี่ ดุ ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562
ซ่ึงจังหวัดที่ได้รับการอนุมัติฯ มากท่ีสุดคือจังหวัดกรุงเทพมหานคร และจังหวัดที่ได้รับการอนุมัติฯ น้อย
ทส่ี ุดคือจังหวดั มกุ ดาหาร ทั้งน้ี ในสว่ นของแนวโนม้ ประชากรกลุ่มเปา้ หมายดังท่ีกล่าวในบทท่ี 1 ว่าจานวน
ประชากรไทยแรกคลอดมีจานวนเฉลี่ย 770,864 คนต่อปี อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลการศึกษาพบว่า
ประชากรฯ มีแนวโน้มลดลงเฉลี่ย 10,863 คนในแต่ละปี โดยในปี 2556 2558 และ 2559 มีปริมาณท่ี
ลดลงจากปีก่อนหน้าในจานวนท่ีสูงอยู่ที่ 36,772 คน 40,018 คน และ 32,294 คน ตามลาดับ ประกอบ
กับได้ประมวลผลข้อมูลประชากรกลุ่มเป้าหมายรายจังหวัด เพื่อใช้ในการวิเคราะห์สัดส่วนการจัดสรรงบ
ลงทุนในรายการค่าท่ดี นิ และสง่ิ ก่อสรา้ งของ สพฐ. ตอ่ ไปในบทท่ี 4

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 32

การวเิ คราะหง์ บลงทนุ คา่ ท่ดี นิ และส่ิงก่อสรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

บทที่ 4
บทวิเครำะห์

4.1 กำรวเิ ครำะหค์ วำมสัมพันธร์ ะหว่ำงกำรอนุมตั ิจดั สรรงบประมำณโครงกำรภำยใต้งบลงทุนค่ำทด่ี ิน
และสงิ่ กอ่ สรำ้ งของ สพฐ. กับจำนวนประชำกรกลุ่มเป้ำหมำย

จานวนประชากรไทยที่เกิดระหว่าง พ.ศ. 2550 – 2560 เป็นประชากรที่มีอายุระหว่าง 2 -12 ปี
หรือเป็นนกั เรียนท่อี ยูใ่ นช่วงระดบั อนบุ าลและระดับประถมศึกษา ซึ่งเป็นผู้ได้รับประโยชน์จากการจัดสรร
งบลงทุนค่าท่ีและส่ิงก่อสร้างของปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562 ต่อโรงเรียนในระดับอนุบาล ประถมศึกษา
และมัธยมศึกษา ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ท้ังนี้
จากการเก็บรวบรวมและประมวลผลข้อมูลอัตราการเกิดของประชากรไทยระหว่าง พ.ศ. 2550 – 2560
ผ่านระบบสถิติทางการทะเบียน ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ในบทท่ี 3 พบว่า ภาพรวมจานวน
ประชากรไทยมีแนวโน้มลดลงเฉลี่ย 10,863 คนต่อปี โดยมีอัตราเกิดเฉล่ีย 770,864 คนต่อปี ดังท่ีแสดงใน
แผนภาพท่ี 1

แผนภาพท่ี 16 : การเปรียบเทยี บแนวโนม้ จานวนโครงการและงบลงทุนค่าทดี่ ินและส่ิงก่อสร้างทไ่ี ด้รับการอนุมตั ิจดั สรร
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562

20,000 งบประมำณ (ล้ำนบำท)
15,000 จำนวนโครงกำร (หนว่ ย)
10,000

5,000
0

2560 2561

2562

ทมี่ า : เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 3 สานักงบประมาณ ฉบบั ปรบั ปรุง

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 33

การวิเคราะหง์ บลงทนุ คา่ ทดี่ นิ และสิ่งก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

จากผลการศึกษาดังกล่าวท่ีได้สะท้อนถึงประชากรไทยที่มีแนวโน้มลดลง จึงได้รวบรวมข้อมูล
รายการงบประมาณในงบลงทุนค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้างจากเอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 ฉบับปรับปรุง
ของสานักงบประมาณ ซ่ึงเป็นเอกสารประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562 ในบทท่ี 3 เพื่อทาการเปรียบเทียบแนวโน้มการจัดสรรงบลงทุน
ค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้างตามมูลค่าโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากกระบวนการนิติบัญญัติ เพ่ือผ่านร่าง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี ทั้งในส่วนของโครงการที่ดาเนินการภายในปีงบประมาณ
เดยี วและโครงการทีม่ ลี ักษณะผูกพันงบประมาณข้ามปี พบว่า ปริมาณโครงการฯ และงบประมาณท่ีได้รับ
การอนุมัตจิ ัดสรรงบประมาณภายใตง้ บลงทุนค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้างของ สพฐ. มีแนวโน้มลดลง ดังที่แสดง
ตามแผนภาพที่ 16 โดยจานวนโครงการที่ได้รับการอนุมัติฯ ลดลงเฉลี่ย 6,403 โครงการต่อปี และมูลค่า
โครงการที่ได้รับการอนุมัติฯ ลดลงเฉล่ีย 1,352 ล้านบาทต่อปี ดังน้ัน จากข้อมูลการศึกษาเชิงประจักษ์ได้
สะทอ้ นถึงแนวโนม้ การอนุมัติจัดสรรงบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างของ สพฐ. ในภาพรวมของประเทศมี
ความสัมพนั ธ์เชงิ บวกกบั แนวโน้มอตั ราการเกิดของประชากรไทย หรือกล่าวโดยสรุปได้ว่าเม่ือแนวโน้มการ
เกดิ ของประชากรไทยลดลง การจดั สรรงบประมาณฯ ลดลงด้วยเช่นกนั

4.2 กำรวิเครำะหภ์ ำพรวมกำรจดั สรรงบลงทุนค่ำทีด่ นิ และสิ่งก่อสร้ำงระหว่ำงคำ่ ก่อสรำ้ งสิ่งก่อสรำ้ ง
ใหมก่ บั ค่ำปรับปรุงและซอ่ มแซม

ภายใต้งบลงทนุ ค่าทด่ี ินและส่ิงก่อสร้าง นอกจากค่าก่อสร้างอาคารต่างๆ ที่เป็นโครงสร้างพื้นฐาน
ภายในพ้ืนท่คี วามรับผดิ ชอบของ สพฐ. ยงั ประกอบด้วยค่าปรับปรุงและซ่อมแซมอาคารต่างๆ ด้วยเช่นกัน
ซึ่งได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลการอนุมัติการจัดสรรงบลงทุนค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้ างตามมูลค่าโครงการที่
ดาเนินการภายในปีงบประมาณเดียวและโครงการท่ีมีลักษณะผูกพันงบประมาณข้ามปี จากเอกสารงบประมาณ
ฉบับที่ 3 ฉบับปรับปรุง ของสานักงบประมาณ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562) โดยได้แสดงผลใน
ตารางที่ 5 และแผนภาพท่ี 16

ตารางที่ 5 : การเปรยี บเทยี บงบลงทุนคา่ ทีด่ นิ และสง่ิ ก่อสรา้ งรายการก่อสร้างใหม่และรายการปรับปรงุ ซอ่ มแซม

หนว่ ย : บาท

รำยกำร 2560 2561 2562

ค่าก่อสรา้ งรายการใหม่ 11,375,659,000 11,185,612,700 11,433,011,100

ค่าปรับปรงุ และซอ่ มแซม 3,977,202,400 2,657,975,500 1,215,889,600

รวม 15,352,861,400 13,843,588,200 12,648,900,700

ทมี่ า : เอกสารงบประมาณ ฉบบั ท่ี 3 ฉบับปรับปรุง สานักงบประมาณ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 34

การวิเคราะห์งบลงทุนคา่ ท่ีดินและสิง่ ก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน

แผนภาพที่ 17 : การเปรยี บเทียบสัดสว่ นงบลงทนุ ค่าที่ดนิ และสง่ิ ก่อสรา้ งรายการก่อสร้างใหมแ่ ละรายการปรบั ปรุงซอ่ มแซม
ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562

รายการปรบั ปรุงและซอ่ มแซม รายการกอ่ สร้างใหม่
25.91 19.20 9.61

2560 74.09 2561 80.80 2562 90.39

การนาเสนอแผนภาพท่ี 16 ในหัวข้อท่ี 4.1 ได้แสดงให้ทราบถึงแนวโน้มงบประมาณที่ลดลงจาก
การอนุมัติจัดสรรงบลงทุนค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้างตามมูลค่าโครงการที่ดาเนินการภายในปีงบประมาณ
เดียวและโครงการที่มีลักษณะผูกพันงบประมาณข้ามปี ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562 ด้วยวงเงิน
งบลงทุนค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้าง 15,352 ล้านบาท 13,843 ล้านบาท และ 12,648 ล้านบาท ตามลาดับ
ดงั ปรากฏข้อมูลในตารางท่ี 5 ซ่ึงสอดคล้องกับแนวโน้มอัตราการเกิดของจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมายท่ี
ลดลงด้วยเชน่ กนั อยา่ งไรกต็ าม เมื่อสังเคราะห์ข้อมูลงบลงทุนค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้างตามรายการก่อสร้าง
ใหมแ่ ละรายการปรับปรุงซ่อมแซม ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562 พบว่า โครงการภายใต้งบ
ลงทุนค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้างของ สพฐ. มีสัดส่วนงบประมาณของโครงกำรรำยกำรก่อสร้ำงใหม่ที่มี
แนวโน้มเพ่ิมขึ้นในแต่ละปีงบประมาณ อยู่ท่ีร้อยละ 74.09 ร้อยละ 80.80 และร้อยละ 90.39 ของงบ
ลงทุนค่าท่ีดินและส่งิ กอ่ สรา้ ง ตามลาดับปีงบประมาณ ดังท่ีแสดงในแผนภาพที่ 17 โดยเฉพาะอย่างย่ิง ใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้รับการอนุมัติจัดสรรงบประมาณโครงการฯ เพ่ิมขึ้นจากปีงบประมาณก่อน
เป็นจานวนเงิน 247,398,400 บาท ซึ่งไม่สอดรับกับแนวโน้มอัตราเกิดของประชากรกลุ่มเป้าหมายที่มี
แนวโน้มลดลงในแต่ละปี ดังนั้น หน่วยงานที่เก่ียวข้องควรทบทวนความเหมาะสมในการก่อสร้างอาคาร
ทางการศึกษาให้สัมพันธ์กับแนวโน้มประชากรแรกคลอดท่ีลดลง ตามข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ท่ีให้ไว้ต่อ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา, 2561) ประกอบกับควร
พิจารณาทบทวนแนวทางการปรับปรุงและซ่อมแซมอาคารทางการศึกษาที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
ลดลงในแต่ละปีงบประมาณ (2560 – 2562) ด้วยงบประมาณ 3,977 ล้านบาท 2,657 ล้านบาท และ
1,215 ล้านบาท ตามลาดับปีงบประมาณ (ดังที่แสดงในตารางท่ี 5) เพ่ือทดแทนการก่อสร้างสิ่งก่อสร้าง
ใหม่ให้สอดคลอ้ งกับปริมาณการเกดิ ของประชากรทล่ี ดลงดว้ ยเชน่ กนั

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 35

การวเิ คราะหง์ บลงทนุ ค่าท่ีดนิ และสิ่งก่อสรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

4.3 สถำนะจำนวนโรงเรียนของ สพฐ. กบั ปริมำณประชำกรกล่มุ เปำ้ หมำยที่ลดลง

ในปี 2553 สพฐ. ได้ศึกษาสภาพปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก ซึ่งเป็นผลมาจากการมุ่งเน้นการ
จัดตั้งโรงเรียนให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่เพื่อการขยายโอกาสทางการศึกษาให้นักเรียน
ทุกคนได้เข้าเรียนของนโยบายรัฐบาลในอดีต แต่ปัจจุบันจานวนประชากรมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง
ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพและประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรด้านงบประมาณท่ีไม่คุ้มค่า จากการ
ได้รับการจัดสรรงบประมาณสิ่งก่อสร้างเป็นจานวนน้อย และสภาพอาคารเก่าชารุดทรุดโทรมเน่ืองจาก
ก่อสร้างมาเป็นเวลานาน (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553) ดังนั้น สพฐ. จึงมี “นโยบาย
การดาเนนิ งานรวมโรงเรียนขนาดเล็ก” ซึ่งเป็นการรวมโรงเรียนในสังกัด สพฐ. ท่ีมีนักเรียนน้อยกว่า 120 คน
และอยู่ใกล้กันตั้งแต่สองแห่งขึ้นไป ท้ังน้ี จากการศึกษาดังกล่าวได้แสดงจานวนโรงเรียนขนาดเล็กที่มี
แนวโน้มสูงขนึ้ ในแต่ละปี ดงั ที่แสดงในแผนภาพที่ 18 ในขณะที่ประชากรวยั เรยี นมีจานวนลดลง

แผนภาพท่ี 18 : จานวนโรงเรียนขนาดเลก็ ระหวา่ งปีการศึกษา 2546 – 2553

หนว่ ย : โรงเรยี น

13,518 13,915 14,056 14,397

11,599 12,269 12,828

10,877

2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553

ท่มี า : สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

อย่างไรก็ตาม จากการสืบค้นข้อมูลจากเว็บไซต์ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ พบการ
รายงานจานวนสถานการศึกษาของ สพฐ. ทั่วประเทศ ในปีการศึกษา 2550 – 2558 ดังผลท่ีแสดงตาม
แผนภาพท่ี 18 ซ่ึงในปกี ารศึกษา 2558 มีจานวนสถานการศกึ ษาฯ ลดลง 1,446 โรงเรียน จากปีการศึกษา
2550 โดยปริมาณโรงเรียนที่ลดลงดังกล่าวสอดคล้องกับอัตราการเกิดของประชากรกลุ่มเป้าหมายลดลง
ดังที่ได้กล่าวไว้ในหัวข้อที่ 4.1 และได้สะท้อนถึงผลการดาเนินงานตาม “นโยบายการดาเนินงานรวม
โรงเรียนขนาดเลก็ ” ด้วยเช่นกัน

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 36

การวเิ คราะห์งบลงทุนค่าทีด่ นิ และสงิ่ กอ่ สรา้ งของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

แผนภาพท่ี 19 : ปรมิ าณสถานการศึกษาในสงั กดั สพฐ. ทว่ั ประเทศ ในปีการศกึ ษา 2550 – 2558

หนว่ ย : โรงเรียน

32,262
31,821 31,508 31,424 31,286 31,286 31,021 30,922 30,816

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558

ทีม่ า : สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
หมายเหตุ : สบื คน้ เมษายน 2562

4.4 กำรวิเครำะห์มิติรำยจังหวัดระหว่ำงจำนวนประชำกรฯ และกำรจัดสรรงบลงทุนค่ำท่ีดินและ
ส่ิงกอ่ สร้ำง (ระหวา่ งปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561)

ดังข้อมูลท่ีแสดงในบทท่ี 3 โดยนาเสนอการเปรียบเทียบข้อมูลงบลงทุนค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้าง
รายจังหวัด จากเอกสารรายการลักษณะงบลงทุนท่ีดาเนินการในพื้นท่ีจังหวัด (เอกสารรายจ่ายลงทุน-เล่ม
เขียว) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561 และจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมายจากระบบสถิติ
ทางการทะเบียน ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็นประชากรไทยท่ีเกิดระหว่าง พ.ศ.
2550 – 2560 โดยมีอายุระหว่าง 2 – 12 ปี หรือเป็นนักเรียนท่ีอยู่ในช่วงระดับอนุบาลและระดับ
ประถมศกึ ษา ซึง่ เป็นผไู้ ดร้ บั ประโยชน์จากการจัดสรรงบลงทุนค่าที่และส่ิงก่อสร้างของปีงบประมาณ พ.ศ.
2560 – 2562 ต่อโรงเรียน ท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของ สพฐ. โดยมีประเด็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ระหวา่ งจานวนประชากรฯ และการจดั สรรงบลงทุนค่าทดี่ นิ และส่งิ กอ่ สรา้ งมติ ิเชงิ พ้ืนท่ี ดงั นี้

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 37

การวเิ คราะหง์ บลงทุนค่าที่ดินและส่ิงก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน

4.4.1 จานวนประชากรมีผลต่อการจัดสรรงบลงทุนคา่ ที่ดนิ และส่ิงกอ่ สร้างหรือไม่

ตารางท่ี 6 : การเปรียบเทยี บจานวนประชากรกลมุ่ เป้าหมายกับการจดั สรรงบลงทนุ ค่าท่ดี ินและสงิ่ ก่อสรา้ ง

ตามจังหวดั ทมี่ ีประชากรฯ มากทสี่ ุด 15 อันดับแรก

ประชากรกลมุ่ เป้าหมาย (คน) การจัดสรรงบลงทุนคา่ ท่ดี นิ และสง่ิ กอ่ สรา้ ง (บาท)

จังหวดั จานวน เพมิ่ /ลด ต่อปี 2560 2561 เพ่ิม/ลด

1 กรุงเทพมหานคร 1,106,988 -1,963 347,214,200 412,820,700 65,606,500

2 ชลบุรี 330,396 204 210,894,600 191,438,100 -19,456,500

3 นครราชสมี า 294,653 -423 610,895,000 629,434,300 18,539,300

4 สงขลา 235,055 -206 238,261,100 295,701,600 57,440,500

5 อุบลราชธานี 222,508 -369 434,046,200 412,575,800 -21,470,400

6 เชยี งใหม่ 215,799 131 434,600,100 538,021,600 103,421,500

7 ขอนแก่น 209,950 -259 373,071,300 580,602,700 207,531,400

8 นครศรีธรรมราช 200,298 -333 321,644,200 401,242,600 79,598,400

9 อดุ รธานี 178,611 -226 347,788,900 445,933,400 98,144,500

10 สมทุ รปราการ 174,635 -96 168,715,500 226,636,600 57,921,100

11 สรุ าษฎร์ธานี 172,073 -294 237,994,500 295,593,300 57,598,800

12 บรุ ีรมั ย์ 172,003 -341 363,519,900 401,105,100 37,585,200

13 สุรนิ ทร์ 148,843 -276 330,619,200 436,926,600 106,307,400

14 นราธวิ าส 147,516 -123 237,694,600 241,594,900 3,900,300

15 ศรีสะเกษ 145,539 -333 341,996,100 326,809,100 -15,187,000

ทีม่ า: กรมการปกครอง และสานักงบประมาณ

หมายเหตุ : เพม่ิ /ลดต่อปี คือ ค่าเฉลย่ี การเพ่ิม/ลดของจานวนประชากรแรกคลอดทเ่ี กดิ ระหว่าง พ.ศ. 2550 - 2560

จากการวัดความสัมพันธ์ทางสถิติด้วยการหาค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ ( Correlation
Coefficient) ระหว่างจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมายฯ กับการจัดสรรงบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
(ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561) ของทั้ง 77 จังหวัด โดยได้ผลลัพธ์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ท่ี .5011
กล่าวคือมีควำมสัมพันธ์ระดับปำนกลำง หรือแปลผลทางสถิติได้ว่าการพิจารณาปัจจัยจานวนประชากร
กลุ่มเป้าหมายฯ มีอิทธิพลอยู่ระดับปานกลาง ต่อการกาหนดงบลงทุนค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้างฯ ของ 77
จังหวัด (หากค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ มีค่าใกล้ 1 หมายความว่าจานวนประชากรฯ และงบลงทุนฯ มี
ความสัมพันธ์กันอย่างมาก แต่หากมีค่าเป็น 0 จะหมายความว่าไม่มีความสัมพันธ์กัน) ทั้งน้ี การยกตัวอย่าง
ข้อมูลเชิงประจักษ์ของจังหวัดท่ีมีประชากรกลุ่มตัวอย่างสูงที่สุด 15 จังหวัด ดังที่แสดงในตาราง 6 มีประเด็น
ขอ้ สงั เกตสนับสนุนค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ .5011 ซ่ึงเป็นความสัมพันธ์ระดับปานกลางระหว่างจานวน
ประชากรกลุ่มเปา้ หมายฯ กบั การจัดสรรงบลงทุนค่าท่ดี ินและสิ่งกอ่ สร้าง ดังน้ี

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 38

การวิเคราะหง์ บลงทุนค่าทีด่ นิ และสง่ิ กอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

1) การจัดสรรงบลงทนุ ฯ สอดคล้องกับจานวนประชากรกลมุ่ เป้าหมายของแตล่ ะจงั หวดั หรือไม่

แผนภาพที่ 20 : การจัดสรรงบลงทุนคา่ ทีด่ ินและสง่ิ กอ่ สร้างฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561 ของ 3 จังหวดั ทม่ี ี
ประชากรกลมุ่ เปา้ หมายสงู ท่สี ดุ

หนว่ ย : ล้านบาท

412.82 191.44 629.43
347.21 210.89 610.90

2561

กรุงเทพมหานคร 2560

ชลบุรี

นครราชสีมา

จากตารางท่ี 6 พบว่า การจดั สรรงบลงทุนคา่ ที่ดินและสิ่งก่อสร้างฯ ยังมีบางจังหวัด ไม่สอดคล้อง
กบั จานวนประชากรกลุ่มเป้าหมาย หากพิจารณาข้อมูลตัวอย่างจากจังหวัดท่ีมีประชากรกลุ่มเป้าหมายสูงที่สุด
3 อนั ดบั แรก ได้แก่กรงุ เทพมหานคร ชลบรุ ี และนครราชสีมา ตามลาดับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ในแผนภาพที่ 20
แสดงให้เห็นว่าจังหวัดนครราชสีมา ซ่ึงมีประชากรกลุ่มเป้าหมายมากท่ีสุดเป็นอันดับที่ 3 ของประเทศ
ได้รับการจัดสรรงบลงทุนฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 และ 2561 สูงกว่าจังหวัดกรุงเทพมหานครและ
จังหวัดชลบุรี ซึ่งมีประชากรกลุ่มเป้าหมายมากท่ีสุดเป็นอันดับที่ 1 และ 2 ของประเทศ ประกอบกับ
จังหวัดขอนแก่น ซึ่งมีประชากรกลุ่มเป้าหมายมากที่สุดเป็นอันดับท่ี 7 ของประเทศ ได้รับการจัดสรรงบ
ลงทุนคา่ ทีด่ ินและสิ่งก่อสรา้ งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มากกว่าจังหวัดกรุงเทพมหานคร ชลบุรี สงขลา
อุบลราชธานี และเชียงใหม่ ซึ่งเป็นจังหวัดท่ีมีอันดับประชากรท่ีสูงกว่า ดังนั้น จานวนประชากร
กลุ่มเป้าหมายของแต่ละจังหวัดอาจไม่ใช่ตัวบ่งชี้หลักในการจัดสรรวงเงินงบลงทุนค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้าง
อย่างไรก็ตาม เห็นว่าน้าหนักการจัดสรรงบลงทุนฯ ควรสอดรับกับปริมาณประชากรฯ และแนวโน้ม
ประชากรท่เี พม่ิ ข้นึ /ลดลง ของแตล่ ะจังหวัดด้วยเช่นกนั เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณมีความทั่วถึงและไม่
กระจุกตัวอย่ทู ่ีจงั หวัดใดจงั หวดั หนึ่ง และสะทอ้ นถงึ ความคมุ้ คา่ ตอ่ ประชากรกล่มุ เป้าหมายได้อย่างแทจ้ ริง

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 39

การวิเคราะห์งบลงทนุ ค่าทีด่ ินและสิ่งก่อสรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน

2) จังหวดั ท่มี ีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการจัดสรรงบลงทนุ
ค่าทีด่ นิ และส่งิ ก่อสร้างฯ เพ่ิมข้ึนดว้ ยหรือไม่

แนวโน้มการเพิ่มขนึ้ หรอื ลดลงของจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมายของแต่ละจังหวัด ควรมีความสัมพันธ์
เชิงบวกกับการจัดสรรงบลงทุนค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้าง กล่าวคือเมื่อจังหวัดใดจังหวัดหน่ึงมีแนวโน้มการ
เพ่ิมขึน้ ของจานวนประชากรกล่มุ เป้าหมาย งบลงทนุ คา่ ทีด่ นิ และสิง่ กอ่ สรา้ งควรได้รับการจัดสรรงบลงทุนฯ
ทเ่ี หมาะสมเพื่อรองรบั จานวนประชากรท่ีเพม่ิ ข้นึ ในอนาคต อย่างไรก็ตาม จากตารางท่ี 6 ได้แสดงให้ทราบว่า
จังหวัดชลบุรีซึ่งมีจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมายสูงท่ีสุดเป็นอันดับ 2 ของประเทศ และมีแนวโน้มการเพ่ิมข้ึน
ของจานวนประชากรเป็นอันดับ 3 ของประเทศ เฉล่ีย 204 คนต่อปี แต่ได้รับการจัดสรรงบลงทุนค่าท่ีดิน
และสิ่งก่อสร้างในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 น้อยกว่าปีงบประมาณก่อน เป็นจานวนเงิน 19,456,500 บาท ท้ังน้ี
หากพิจารณาจากตารางที่ 7 พบว่าจังหวัดท่ีมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของประชากรฯ ซึ่งเป็นค่าเฉล่ียการเพิ่มขึ้น
ของจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมาย มีจานวนท้ังสิ้น 11 จังหวัด พบว่า จังหวัดชลบุรี ภูเภ็ต ประจวบคีรีขันธ์
และระนอง จานวน 4 จังหวัด ได้รับการจัดสรรฯ น้อยกว่าปีงบประมาณก่อน ในขณะที่ 7 จังหวัด ได้รับ
การจัดสรรงบลงทนุ ค่าท่ีดนิ และส่ิงก่อสร้างเพิ่มขึ้น ประกอบกับ จังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งมีประชากรกลุ่มเป้าหมาย
มากท่ีสุดเป็นอันดับ 19 ของประเทศ และมีอัตราเพ่ิมขึ้นของประชากรฯ เฉลี่ยมากท่ีสุดเป็นอันดับท่ี 2
ของประเทศ ด้วยจานวนเพ่ิมข้ึนเฉล่ีย 253 คนต่อปี ได้รับการจัดสรรงบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
เพิ่มขึ้นเพียง 711,500 บาท ในขณะที่จังหวัดยะลาที่มีประชากรกลุ่มเป้าหมายมากที่สุดเป็นอันดับท่ี 22
และมีอัตราเพ่ิมข้ึนของประชากรฯ เฉล่ียน้อยท่ีสุดเป็นอันดับสุดท้ายของ 11 จังหวัด ด้วยจานวนเพ่ิมขึ้น
เฉลี่ย 3 คนต่อปี ได้รับการจัดสรรงบลงทุนค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างเพ่ิมขึ้น 157,703,500 บาท ดังน้ัน จากกรณี
ตัวอยา่ งทไี่ ดก้ ล่าวถึงขา้ งต้นอนุมานได้ว่าแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมาย อาจมิใช่
ปจั จยั หลักทีส่ ่งผลกระทบต่อการเพม่ิ วงเงนิ การจดั สรรงบลงทุนคา่ ทดี่ ินและส่ิงกอ่ สร้างฯ

ตารางที่ 7 : ขอ้ มลู การจดั สรรงบลงทุนค่าท่ีดนิ และสง่ิ ก่อสร้างของจังหวดั ทีม่ ีแนวโนม้ การเพม่ิ ข้นึ ของจานวนประชากรฯ

ประชากรกลมุ่ เป้าหมาย (คน) การจัดสรรงบลงทนุ ค่าทดี่ นิ และสงิ่ กอ่ สร้าง (บาท)

อันดบั จงั หวัด จานวน เพ่มิ ขึน้ ตอ่ ปี 2560 2561 เพิ่ม/ลด

2 ชลบรุ ี 330,396 204 210,894,600 191,438,100 -19,456,500

6 เชยี งใหม่ 215,799 131 434,600,100 538,021,600 103,421,500

19 สมทุ รสาคร 131,400 253 92,502,700 93,214,200 711,500

20 เชียงราย 127,096 12 360,702,700 418,271,300 57,568,600

22 ยะลา 119,830 3 90,134,000 247,837,500 157,703,500

30 ตาก 101,810 373 111,801,500 228,529,400 116,727,900

38 ภูเกต็ 90,597 74 98,491,100 87,239,800 -11,251,300

44 ประจวบครี ีขันธ์ 73,181 6 110,864,100 104,580,700 -6,283,400

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 40

การวเิ คราะห์งบลงทนุ คา่ ทด่ี ินและส่ิงกอ่ สรา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

ประชากรกลุม่ เป้าหมาย (คน) การจดั สรรงบลงทุนค่าท่ีดินและสง่ิ ก่อสร้าง (บาท)

อนั ดับ จังหวดั จานวน เพิม่ ข้ึนต่อปี 2560 2561 เพิม่ /ลด

64 นครนายก 39,631 23 41,151,500 72,817,000 31,665,500

66 แม่ฮ่องสอน 37,917 53 179,299,200 186,900,800 7,601,600

75 ระนอง 26,950 33 92,861,500 86,539,800 -6,321,700

หมายเหตุ : - เพิม่ /ลดตอ่ ปี คือ คา่ เฉล่ยี การเพิม่ /ลดของจานวนประชากรแรกคลอดทเี่ กดิ ระหว่าง พ.ศ. 2550 - 2560

- อนั ดบั คอื อนั ดบั ของจังหวดั ทว่ั ประเทศทมี่ จี านวนประชากรกลุม่ เป้าหมายโดยเรียงจากมากทีส่ ุดไปน้อยทีส่ ุด

3) การเพ่ิมวงเงินอย่างมีนยั สาคัญของงบลงทุนค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้างในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
สอดคลอ้ งกับประชากรของกลมุ่ เป้าหมายของแต่ละจังหวดั หรอื ไม่

จากข้อมูลข้างต้นท่ีได้กล่าวถึงข้อมูลจังหวัดขอนแก่น ซึ่งมีประชากรกลุ่มเป้าหมายมากท่ีสุดเป็น
อันดับที่ 7 ของประเทศ แต่ได้รับการจัดสรรงบลงทุนค่าท่ีดินและสิ่งก่อสร้างในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
มากกวา่ ทกุ จังหวดั ยกเว้นจังหวดั นครราชสมี า และมีข้อสังเกตเพิ่มเติมว่าจังหวัดขอนแก่นได้รับการจัดสรร
งบลงทนุ ค่าทด่ี ินและสง่ิ ก่อสรา้ งฯ เพม่ิ ขนึ้ จากปงี บประมาณกอ่ นเป็นจานวน 207,531,400 บาท ในขณะที่
มีปริมาณประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉลี่ยลดลง 259 คนต่อปี ซึ่งมีข้อสมมุติฐานว่าจังหวัดที่มีปริมาณ
ประชากรกลุ่มเป้าหมายมาก และมีแนวโน้มประชากรฯ เพ่ิมขึ้นในแต่ละปีจะได้รับการจัดสรรงบลงทุนค่า
ทีด่ ินและสงิ่ ก่อสรา้ งเพิม่ ขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ จึงได้รวบรวมข้อมูลงบลงทุนฯ ของจังหวัดที่ได้รับการจัดสรร
เพ่มิ ขึน้ มากกว่า 100 ล้านบาทจากปงี บประมาณกอ่ น ดงั ข้อมลู เชงิ ประจักษ์ในตารางที่ 8 ได้แสดงให้ทราบ
ว่ามี 7 จังหวัดทไี่ ด้รับการจัดสรรงบลงทนุ ค่าที่ดินและส่ิงก่อสร้างเพ่ิมขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ ในขณะท่ีจังหวัด
ขอนแกน่ สรุ ินทร์ รอ้ ยเอ็ด และอุตรดิตถ์มีแนวโน้มของจานวนประชากรกลุ่มเป้าหมายที่ลดลง โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งจังหวัดอุตรดิตถ์มีจานวนประชากรฯ เป็นอันดับ 62 ของประเทศ ดังนั้น จากข้อมูลประจักษ์ท่ี
กลา่ วไว้ข้างตน้ ได้บง่ ช้วี ่าการจัดสรรงบลงทุนค่าท่ีดินและส่ิงก่อสร้างเพิ่มข้ึนอย่างมีนัยสาคัญ มิได้ขึ้นอยู่กับ
ปริมาณประชากรและแนวโน้มการเพ่ิมขึ้นประชากรของแต่ละจังหวัด ซ่ึงสอดคล้องกับกรณีตัวอย่างท่ี
กลา่ วไวใ้ นหวั ขอ้ 1) และ 2) ด้วยเชน่ กนั

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 41


Click to View FlipBook Version