The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จัดทำโดยฝ่ายบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการแก่สังคม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1MQItiNAePPir_r3GynNY2D1zUF60A-ar/view?usp=sharing

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suchitra Phumpueng, 2020-11-03 02:51:38

คู่มือเอกสารประกอบการสอนประจำปีงบประมาณ 2564

จัดทำโดยฝ่ายบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการแก่สังคม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1MQItiNAePPir_r3GynNY2D1zUF60A-ar/view?usp=sharing

ค่มู อื การจดั ทาเอกสารประกอบการสอน
ประจาปีงบประมาณ 2564

ฝา่ ยบริหารงานวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการแก่ชมุ ชน
21 ตุลาคม 2563

รายละเอียดเอกสารประกอบการสอน

- เนอื้ หาในเอกสารประกอบการสอนจัดพิมพแ์ บบ ขาว-ดา
- รูปแบบตัวอกั ษรในสวนหัวขอ เชน คาํ นาํ สารบญั แผนการสอนที่ ฯลฯ ใชแ บบอักษร TH
SarabunPSK ขนาด 18 ตวั หนา
- รปู แบบตัวอกั ษรในสวนเน้ือหาใชแบบอักษร TH SarabunPSK ขนาด 16
- การอ้างอิงใช้รปู แบบ Apa ฉบับท่ี 6 โดยจะต้องมีการอ้างองิ ท้ังในเน้ือหาและอา้ งอิงท้ายบท (การ
อ้างองิ ใตร้ ูปภาพ และตารางในเนอื้ หานน้ั ให้ระบแุ หล่งท่ีมาให้ชัดเจน)
- แผนการสอนทุกครง้ั จะต้องมีความสอดคล้องกับ มคอ.3 ในรายวิชานัน้ ๆ
- การใสเ่ ลขหน้าตรงกลาง ท้ายกระดาษ ระบุส่วนทา้ ยกระดาษเป็น 0.3
- เอกสารขนาด A4 ระยะขอบกระดาษ ทุกด้าน 2.54 ซม.
- แผนการสอนที่มเี น้ือหาสาหรับการสอน 2 คร้งั หากรายละเอยี ดแตล่ ะครง้ั แตกต่างกนั เชน่
ภาคทฤษฎี และปฏบิ ตั ิ ใหร้ ะบรุ ายละเอยี ดแยกเป็นครั้งให้ชัดเจน แตห่ ากเป็นเนอ้ื หาตอ่ เนือ่ งกนั ให้พจิ ารณา
ตามหัวขอ้ ว่ามีส่วนใดต่างกันให้ระบเุ ป็นรายคร้ัง
- ตัวเลขทีใ่ ชใ้ นเอกสารใชร้ ปู แบบ อารบคิ
- หนา้ ปกเอกสารประกอบการสอนผู้ขอสามารถส่งรูปสาหรับทาหนา้ ปกมายังฝ่ายฯ ได้ ในสว่ นขอ
รูปแบบการจดั วางหนา้ ปก โรงพมิ พจ์ ะเปน็ ผู้ออกแบบให้และส่งให้ผู้ขอตรวจสอบในลาดับตอ่ ไป

ข้อสงั เกต
- การใช้ “ๆ” ให้เว้นวรรคหนา้ และหลงั ตัวอย่าง รปู แบบต่าง ๆ ในการแสดง

หมายเหต:ุ ผเู ขยี นสามารถ ดาวนโ หลดแบบฟอรม การเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาํ สอน ไดจ ากลงิ ค
ทา ยเลม

ข้ันตอนการดาเนนิ งานผลิตเอกสารประกอบการสอน

1. ผู้ขอสง่ ใบสมัครที่ระบุข้อมูลของเอกสารประกอบการสอนใหส้ มบูรณ์ และลงนามยืนยันการสมัคร
2. ผู้ขอจดั เตรยี มเอกสารประกอบการสอนในรปู แบบ ไฟล์ PDF สง่ ให้ฝา่ ยบรหิ ารงานวจิ ัยฯ ตามเวลาท่ีกาหนด
3. ฝา่ ยวิจัยทาการตรวจสอบรปู แบบเอกสารประกอบการสอนเบอ้ื งตน้ และสง่ ให้ผขู้ อปรับแก้ ใชร้ ะยะเวลา
ระหวา่ ง 3-5 วัน
4. หากปรบั แก้แลว้ หรอื กรณีไมม่ ีการปรบั แก้ฝ่ายวิจยั จะนาเร่ืองเสนอเขา้ ทป่ี ระชุมคณะกรรมการฝ่ายบริหาร
งานวจิ ัยฯ เพอ่ื หารือเรอ่ื งผู้ทรงคณุ วฒุ ิสาหรบั ประเมนิ คุณภาพด้านเน้ือหาของเอกสารดังกล่าว
5. ฝ่ายบริหารงานวิจัยฯ ส่งเอกสารประกอบการสอนเพ่อื ให้ผู้ทรงคณุ วุฒิประเมินคุณภาพดา้ นเนื้อหาของ
เอกสาร ใชร้ ะยะเวลาระหว่าง 15-30 วนั
6. หลังจากได้ผลจากผู้สง่ คุณวุฒิ ฝา่ ยบริหารงานวจิ ยั ฯ ส่งกลับให้ผูข้ อปรบั แก้ 7-10 วนั
7. ผขู้ อสง่ เอกสารประกอบการสอนในรูปแบบ ไฟล์ PDF มาท่ฝี า่ ยบริหารงานวิจยั ฯ พร้อมทั้งสง่ ไฟลร์ ปู ภาพ
ประกอบการจัดทาหน้าปก
8. ฝา่ ยบรหิ ารงานวิจยั ฯ ตรวจสอบรายละเอียดการปรับแก้หลังจากได้รับคาแนะนาจากผู้ทรงคณุ วุฒแิ ละสง่ ให้
ทีมพิสจู น์อักษรภายนอกตรวจรายละเอียดเอกสารต่อไป
9. สง่ ใหผ้ ้ขู อปรับแกเ้ อกสารประกอบการสอนฉบบั หลงั จากพิสจู นอ์ กั ษณแล้ว ก่อนท่ีฝา่ ยวิจัยจะตรวจสอบและ
สง่ ให้โรงพมิ พ์ จัดทาเล่มตัวอย่าง
10. หากเล่มตัวอยา่ งสมบูรณ์จงึ จะจดั พิมพเ์ ล่มจริงตามจานวนที่ประกาศ

คำนำ

......................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ชอื่ ผ้เู ขียน



สำรบัญ

คำนำ หนำ้
สำรบญั ก
สำรบญั ภำพ (ถ้ำม)ี ข
สำรบัญภำพ (ต่อ) (ถำ้ ม)ี ค
สำรบญั ตำรำง (ถำ้ ม)ี ง
แผนบรหิ ำรกำรสอน จ

บรรณำนุกรม 1
ประวัติผ้เู ขยี น 12
22
50
84
94

102
113
126
138
148
158
166
175
186
191



สำรบญั ภำพประกอบ

ภำพประกอบท่ี หนำ้
ภำพประกอบที่ 1 ชอ่ื ภำพ 1
ภำพประกอบที่ 2 ชอื่ ภำพ 12
ภำพประกอบท่ี 3 ชื่อภำพ 22
ภำพประกอบท่ี 4 ชื่อภำพ 50
ภำพประกอบท่ี 5 ชือ่ ภำพ 84
ภำพประกอบที่ 6 ชอื่ ภำพ 94
ภำพประกอบท่ี 7 ชอ่ื ภำพ
ภำพประกอบท่ี 8 ชื่อภำพ 102
ภำพประกอบท่ี 9 ชอื่ ภำพ 113
ภำพประกอบท่ี 10 ช่อื ภำพ 126
ภำพประกอบท่ี 11 ชอ่ื ภำพ 138
ภำพประกอบท่ี 12 ชื่อภำพ 148
ภำพประกอบท่ี 13 ชอื่ ภำพ 158
166



สำรบัญภำพประกอบ (ตอ่ )

ภำพประกอบที่ หนำ้
ภำพประกอบที่ 14 ชื่อภำพ 190
ภำพประกอบที่ 15 ชื่อภำพ 195
ภำพประกอบท่ี 16 ชื่อภำพ 220
ภำพประกอบที่ 17 ชื่อภำพ 250
ภำพประกอบท่ี 18 ชอื่ ภำพ 284
ภำพประกอบท่ี 19 ชื่อภำพ 294
ภำพประกอบท่ี 20 ชอ่ื ภำพ 300
ภำพประกอบท่ี 21 ชอ่ื ภำพ 313
ภำพประกอบท่ี 22 ชื่อภำพ 326
ภำพประกอบที่ 23 ชื่อภำพ 338



สำรบัญภำพตำรำง

ตำรำงท่ี หนำ้
ตำรำงที่ 1 ชื่อตำรำง 12
ตำรำงท่ี 2 ชือ่ ตำรำง 22
ตำรำงที่ 3 ชอื่ ตำรำง 50
ตำรำงที่ 4 ชื่อตำรำง 84
ตำรำงท่ี 5 ชอ่ื ตำรำง 94
ตำรำงที่ 6 ชอ่ื ตำรำง 102
ตำรำงท่ี 7 ชื่อตำรำง 113
ตำรำงท่ี 8 ช่ือตำรำง 126
ตำรำงท่ี 9 ชื่อตำรำง 138
ตำรำงที่ 10 ชอ่ื ตำรำง 148
ตำรำงที่ 11 ชื่อตำรำง 158
ตำรำงท่ี 12 ชอ่ื ตำรำง 166
ตำรำงท่ี 13 ช่อื ตำรำง 113
ตำรำงท่ี 14 ชื่อตำรำง 126
ตำรำงท่ี 15 ชื่อตำรำง 138
ตำรำงที่ 16 ชอ่ื ตำรำง 148
ตำรำงท่ี 17 ชื่อตำรำง 158
ตำรำงที่ 18 ชื่อตำรำง 166



สำรบัญภำพตำรำง (ต่อ)

ตำรำงที่ หน้ำ
ตำรำงท่ี 19 ชอ่ื ตำรำง 190
ตำรำงที่ 20 ชอ่ื ตำรำง 195
ตำรำงที่ 21 ชอ่ื ตำรำง 220
ตำรำงที่ 22 ชอ่ื ตำรำง 250
ตำรำงท่ี 23 ชอื่ ตำรำง 284
ตำรำงท่ี 24 ชื่อตำรำง 294
ตำรำงท่ี 25 ชื่อตำรำง 300
ตำรำงที่ 26 ชอ่ื ตำรำง 313
ตำรำงที่ 27 ชื่อตำรำง 326
ตำรำงท่ี 28 ชื่อตำรำง 338
ตำรำงท่ี 29 ช่อื ตำรำง 190
ตำรำงท่ี 30 ชื่อตำรำง 195
ตำรำงที่ 31 ชื่อตำรำง 220



การเขียนแผนบริหารการสอนมี 2 รูปแบบ

รูปแบบท่ี 1

แผนบริหำรกำรสอน
รำยวิชำ ทศ443 พฒั นำกำรจิตรกรรมร่วมสมัย

หมวดที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไป

1. รหสั และช่ือรำยวิชำ
ทศ443 พฒั นำกำรจติ รกรรมร่วมสมัย
VA443 Development of Contemporary Painitng

2. จำนวนหนว่ ยกิต
บรรยำย – ปฏบิ ตั ิ 3(3–0-6)

3. หลกั สูตรและประเภทของรำยวิชำ
หลักสูตรศิลปกรรมศำสตรบัณฑิต สำขำวชิ ำทัศนศลิ ป์ ประเภทวิชำเอกเลือก

4. อำจำรย์ผูร้ ับผดิ ชอบรำยวชิ ำและอำจำรยผ์ ู้สอน
อำจำรยผ์ รู้ บั ผิดชอบรำยวิชำ

ลำดับท่ี อำจำรยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบรำยวิชำ สงั กดั

1 อำจำรย์ ดร.เดน่ พงษ์ วงศำโรจน์ สำขำวิชำศลิ ปะจินทัศน์ คณะศิลปกรรมศำสตร์

อำจำรย์ผูส้ อน

Section อำจำรย์ผสู้ อน สงั กัด

B01 อำจำรย์ ดร.เด่นพงษ์ วงศำโรจน์ สำขำวชิ ำศลิ ปะจนิ ทัศน์ คณะศลิ ปกรรมศำสตร์

5. ภำคกำรศึกษำ / ช้ันปที เี่ รยี น :
ภำคกำรศึกษำที่ 1 ช้นั ปีท่ี 4

6. รำยวิชำทีต่ ้องเรียนมำกอ่ น (Pre-requisite) (ถำ้ มี)

ไมม่ ี

7. รำยวิชำทตี่ ้องเรียนพร้อมกนั (Co-requisite) (ถำ้ ม)ี
ไมม่ ี

8. สถำนที่เรียน
หอ้ งเรียนบรรยำย 16-703 ชนั้ 7 คณะศิลปกรรมศำสตร์

9. วนั ท่จี ัดทำหรือปรับปรงุ รำยละเอียดของรำยวิชำคร้งั ลำ่ สุด

วนั ที่ 1 สิงหำคม 2562



หมวดท่ี 2 จุดมุ่งหมำยและวตั ถปุ ระสงค์

1. จดุ ม่งุ หมำยของรำยวิชำ
1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้ำใจถึงพัฒนำกำรในด้ำนต่ำง ๆ ตลอดจนคุณค่ำของกำรสร้ำงสรรค์จิตรกรรมร่วมสมัย

ทง้ั ไทยและสำกล
2. เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนเห็นถึงควำมสัมพันธ์ของบริบทแวดลอ้ มกบั กำรสรำ้ งสรรคจ์ ิตรกรรมรว่ มสมัยในแต่ละชว่ งเวลำ
3. เพ่ือให้ผู้เรียนได้นำควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับพัฒนำกำรของจิตรกรรมร่วมสมัย ไปประยุกต์ใช้

ในกำรสร้ำงสรรคจ์ ิตรกรรมในรูปแบบของตนเองได้ย่ำงเหมำะสม
2. วัตถุประสงคใ์ นกำรพัฒนำ/ปรับปรงุ รำยวิชำ

ไม่มี

หมวดท่ี 3 ลกั ษณะและกำรดำเนนิ กำร

1. คำอธิบำยรำยวชิ ำ

ศึกษำค้นคว้ำพัฒนำกำรของจิตรกรรมร่วมสมัยท้ังไทยและสำกล ศึกษำในเชิงวิเครำะห์ท้ังด้ำนแนวคิด

สอื่ รูปแบบ บรบิ ททำงสังคม สภำพแวดล้อม ตลอดจนภูมิปัญญำทอ้ งถิน่ ทีม่ ีผลต่อกำรสร้ำงสรรค์

2. จำนวนชว่ั โมงที่ใช้ต่อภำคกำรศกึ ษำ

ลำดบั บรรยำยทฤษฎี สอนเสริม กำรฝึกปฏิบัต/ิ งำนภำคสนำม/ กำรศึกษำดว้ ย

กำรฝึกงำน ตัวเอง

1 45.00 0.00 0.00 90.00

3. ควำมรบั ผดิ ชอบหลัก/ควำมรับผดิ ชอบรอง

รหสั วิชำ คุณธรรม ทักษะทำง ทักษะ ทักษะกำร ทักษะ
จรยิ ธรรม ปญั ญำ ควำม วเิ ครำะห์ พิสัย
มีควำมรู้ สัมพนั ธ์ เชิงตวั เลข
123 ระหว่ำง กำรสื่อสำร 12
123123  บคุ คลและ และกำรใช้
ควำม เทคโนโลยี 
ทศ443    รบั ผิดชอบ สำรสนเทศ

12 12

 

4. จำนวนชัว่ โมงตอ่ สัปดำห์ทอ่ี ำจำรย์ใหค้ ำปรกึ ษำและแนะนำทำงวชิ ำกำรแก่นักศึกษำเป็นรำยบุคคล
2 ชว่ั โมง/สัปดำห์



หมวดท่ี 4 กำรพฒั นำผลกำรเรยี นร้ขู องนิสิต

1. รายละเอียดการพัฒนาผลการเรยี นรู้ของนิสติ

1. คณุ ธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมท่ีต้องพัฒนำ
1. มวี ินัย เคำรพต่อกฎ ระเบยี บ ขององคก์ ร และสงั คม
2. มจี ติ สำนึกสำธำรณะ
3. มคี วำมรู้ ควำมเขำ้ ใจเกย่ี วกับจรรยำบรรณวชิ ำชพี ทำงดำ้ นทัศนศลิ ป์
1.2 วธิ กี ำรสอน
1. ปลูกฝังให้นิสติ เป็นผู้ท่ีมวี นิ ยั ในตนเองและมีระเบยี บ ทงั้ ด้ำนกำรเรยี นและกำรดำรงชวี ติ ในสงั คม
2. จัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ท่ีใช้ควำมรู้ ควำมสำมำรถเพ่ือ

ประโยชน์สว่ นรวม
3. มีกำรสอดแทรกควำมรู้ทำงดำ้ นจรรยำบรรณวิชำชีพทำงดำ้ นทัศนศลิ ป์
1.3 วิธีกำรประเมนิ ผล
1. สังเกตพฤติกรรมกำรเข้ำร่วมกจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน
2. ประเมินผลจำกพฤติกรรมของนสิ ติ ในกำรเข้ำเรียน กำรรบั ผิดชอบในหน้ำทท่ี ี่ไดร้ ับมอบหมำย
3. นิสติ มีส่วนรว่ มในกระบวนกำรประเมนิ ผล

2. ควำมรู้
2.1 ควำมรู้ทตี่ ้องไดร้ บั
1. รูห้ ลักกำรและทฤษฎีในองคค์ วำมรทู้ ำงทศั นศิลป์
2. มีควำมร้ทู นั สมัยตอ่ ควำมเปล่ียนแปลง และควำมก้ำวหน้ำทำงวทิ ยำกำรดำ้ นทศั นศิลป์
3. มคี วำมรู้และเข้ำใจพื้นฐำนทำงด้ำนกำรวิจยั เพอื่ สรำ้ งองค์ควำมรู้และกำรพัฒนำ
2.2 วธิ กี ำรสอน
1. จดั กิจกรรมโดยเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ
2. เชญิ วทิ ยำกรภำยนอก ศกึ ษำดูงำนนอกสถำนที่ ศึกษำค้นควำ้ และเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
3. มีกำรจดั ทำโครงงำน กำรฝึกปฏิบตั ิกำร ตลอดจนควำมรพู้ ้นื ฐำนทำงดำ้ นกำรวจิ ัย
2.3 วธิ กี ำรประเมินผล
1. ประเมนิ จำกผลสมั ฤทธิ์ทำงกำร เรียนและกำรปฏบิ ัตงิ ำนของนิสติ ในดำ้ นต่ำง ๆ เช่น
- กำรทดสอบผลทำงกำรเรยี น
- กำรนำเสนอผลงำน โครงงำน กำรฝกึ ปฏิบัติงำน หรอื งำนวจิ ยั

3. ทกั ษะทำงปัญญำ
3.1 ทักษะทำงปัญญำท่ตี อ้ งพฒั นำ
1. สำมำรถคิด วเิ ครำะห์ สังเครำะหไ์ ด้
2. สำมำรถนำควำมรมู้ ำประยุกต์ใช้กบั วชิ ำชีพได้
3. สำมำรถบูรณำกำรควำมร้ทู งั้ ทำงด้ำนทฤษฎีและปฏบิ ตั ิได้



3.2 วธิ ีกำรสอน
1. จัดกระบวนกำรเรยี นรู้ เพ่อื ให้นสิ ติ ได้ฝึกทักษะกำรวิเครำะห์ ทักษะกำรคิด
2. จัดกจิ กรรมใหน้ สิ ิตมโี อกำสเรยี นรูจ้ ำกปญั หำและประสบกำรณ์จรงิ เพือ่ กำรเสนอแนะและหำแนวทำงแก้ไข
3.3 วธิ กี ำรประเมนิ ผล
1. กำรสังเกตนิสิต ด้ำนควำมสำมำรถในกำรตดั สินใจกำรแกไ้ ขปัญหำในสถำนกำรณต์ ่ำง ๆ
2. กำรประเมินผลที่สะท้อนกำรคิดวิเครำะห์ โดยประเมินจำกกำรเขียนรำยงำน กำรนำเสนอผลงำน
หรือกำรทดสอบ
4. ทักษะควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งบุคคลและควำมรบั ผิดชอบ
4.1 ทกั ษะควำมสมั พนั ธร์ ะหว่ำงบคุ คลและควำมรับผดิ ชอบท่ีต้องพฒั นำ
1. มคี วำมรคู้ วำมเขำ้ ใจเกย่ี วกับบทบำทและหน้ำท่ีของตนเองในกำรทำงำนและอยูร่ ว่ มกับผ้อู ื่น
2. มีทกั ษะในกำรเข้ำสงั คมและปรับตวั ได้อย่ำงเหมำะสม
4.2 วิธกี ำรสอน
1. จัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ในช้ันเรียนที่เน้นกำรทำงำนเป็นกลุ่มและงำนท่ีต้องมีปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคล
เพ่ือเสริมสร้ำงให้ผู้เรียนตระหนักถึงควำมสำคัญและพัฒนำตนเองในด้ำนควำมมีมนุษยสัมพันธ์อันดีและ
ควำมรบั ผิดชอบสว่ นบคุ คล
2. จัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรใู้ นภำคปฏิบัติ ทั้งในและนอกช้ันเรียน เพ่ือเสรมิ สร้ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบคุ คล
และควำมรับผิดชอบรวมท้ังสอดแทรกเร่ืองควำมรบั ผิดชอบ กำรมมี นษุ ยสมั พนั ธ์ กำรเขำ้ ใจวัฒนธรรมขององค์กร
4.3 วธิ ีกำรประเมนิ ผล
1. สังเกตพฤติกรรมของนิสิตที่แสดงถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคลและควำมรับผิดชอบ ในกำรทำ
กจิ กรรมกลุม่ เช่น กำรยอมรบั ฟังควำมคดิ เห็นของเพื่อน
2. เปดิ โอกำสใหน้ ิสติ มีสว่ นรว่ มในกำรประเมนิ
5. ทักษะกำรวิเครำะห์เชงิ ตัวเลข กำรสอื่ สำร และกำรใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศ
5.1 วธิ ีกำรสอน
1. มคี วำมรู้พนื้ ฐำนเก่ียวกับกำรพดู และเขียน เพ่อื กำรสอ่ื สำรและนำเสนอที่เหมำะสมต่อสำขำวิชำชีพของตน
2. มีควำมรู้ มีกำรคิดวิเครำะห์ทักษะเชิงตัวเลข หรือรู้จักเลือกใช้ทักษะเทคโนโลยีสำรสนเทศท่ีเกี่ยวข้อง
กับสำขำวชิ ำชีพของตนไดอ้ ย่ำงเหมำะสม
5.2 วธิ ีกำรประเมินผล
1. จัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ในรูปแบบท่ีหลำกหลำยและเหมำะสม เพื่อส่งเสริมให้นิสิตมีควำมรู้ควำม
เข้ำใจและมีควำมตระหนักถึง คุณค่ำในเร่ืองของหลักกำรพูด กำรเขียน ในสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ เพอ่ื กำรเขำ้ ถึงข้อมูล
เลือกรับ เลือกใช้ วิเครำะห์และประเมินคุณค่ำ ตลอดจนสังเครำะห์เพื่อกำรนำไปใช้ในสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ เช่น
กำรนำเสนอผลงำนไดอ้ ยำ่ งมปี ระสิทธภิ ำพ
2. จัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ท่ีเน้นกำรฝึกทักษะกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ กำรวิเครำะห์เชิงตัวเลข
และเทคนิคทำงสถิติ รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดทักษะกำรส่ือสำรท้ังกำรรับฟัง กำรพูด และกำรเขียน ระหว่ำงผู้เรียน
ผ้สู อน สังคมและชุมชน



5.3 วธิ กี ำรประเมินผล
1. ประเมินทักษะของนิสติ ในดำ้ นกำรสื่อสำร
2. ประเมนิ ทกั ษะกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศ กำรวิเครำะห์เชงิ ตวั เลข และเทคนิคทำงสถิติ
6. ทกั ษะพิสยั
6.1 วธิ ีกำรสอน
1. มีทกั ษะปฏบิ ัติกำรตรงตำมวัตถปุ ระสงคข์ องวิชำชพี ดำ้ นทัศนศลิ ป์
2. สำมำรถใชท้ กั ษะเพอ่ื กำรพัฒนำผลงำนสร้ำงสรรคท์ ำงทัศนศลิ ปเ์ ชิงบูรณำกำรแก่ชมุ ชนและสงั คม
6.2 วธิ กี ำรประเมินผล
1. จัดกิจกรรมในชั้นเรยี น ทั้งงำนกลุ่ม งำนเดี่ยว โดยมีปฏิสัมพันธร์ ะหว่ำงผู้เรียน ตระหนกั ถึงควำมสำคัญ
และกำรพฒั นำตนเองด้ำนควำมสำมำรถในกำรสรำ้ งสรรค์ผลงำนทำงทัศนศิลป์
2. จัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ในภำคปฏิบัติทั้งในและนอกช้ันเรียนเพื่อเสริมสร้ำงควำมสำมำรถในกำร
พัฒนำผลงำนสร้ำงสรรค์
6.3 วิธกี ำรประเมนิ ผล
1. ประเมินจำกผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนและกำรปฏิบัติงำนของนิสิตในด้ำนรำยงำน ผลงำน โครงกำร
และกำรนำเสนอผลงำน
2. ประเมนิ ผลจำกควำมสำมำรถในกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ทำงทัศนศลิ ป์แบบบูรณำกำร
2. วิธีกำรสอน
Ø บรรยำย (Lecture)
O ฝึกปฏบิ ัติ/กำรเรียนในห้องปฏิบัติกำร (Laboratory study)
Ø เรียนรโู้ ดยใช้ปัญหำเปน็ หลกั (Problem-base learning)
Ø กรณีศกึ ษำ (Case Study)
Ø อภิปรำย/อภปิ รำยกลมุ่ (Discussion)
o กจิ กรรมกลุ่ม (Group Activity)
o สมั มนำ (Seminar)
o ศึกษำดงู ำน (Field trip)
Ø กำรสอนเชงิ รุก (Active Learning) โดยวิธีระดมพลังควำมคิด (Brainstorming)
Ø กำรเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Self-directed learning)
o Talk Lab
O กำรสอนสำธติ (Demonstration)
O กำรบรรยำยแบบมีปฏิสมั พันธก์ บั ผู้เรยี น (Interactive lecture)
o กำรเรียนกลบั ทำง (Flipped classroom)
O กำรเรยี นแบบใชโ้ ครงกำรเป็นฐำน (Project-base learning)
o กำรเรียนดว้ ยกระบวนกำรทำงำนเป็นทีม (Team-based learning)
o กำรเรยี นรู้โดยใช้เทคโนโลยีเสริม (Technology-enhanced learning)
o กำรเรียนรู้จำกกำรทำงำนวิจัย (Research-based learning)



o กำรเรียนขำ้ งเตียง (Bedside learning)
o กำรฝึกปฏบิ ตั ิในสถำนกำรณจ์ ำลอง (Practice in simulated setting)
o กำรฝึกปฏิบตั กิ บั ผปู้ ่วยจรงิ ภำยใตก้ ำรดูแลของอำจำรย์ (Practice under supervision)
o กำรฝึกปฏิบัตกิ ำรบริบำลผปู้ ว่ ยในฐำนะสว่ นหนง่ึ ของทมี แพทย์ (Practice in patient care team)
O กำรฝกึ ปฏบิ ตั ิในชุมชน (Community practice)
o กำรปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอยำ่ งที่ดีของครูต้นแบบ (Role model)
o กำรสะท้อนคิดทบทวนประสบกำรณ์ (Self-reflection)
o กำรฝึกเขยี นรำยงำนผ้ปู ว่ ย (Written case report)
o กำรใช้แฟ้มสะสมงำน (Portfolio)
o กำรนิเทศกน์ ิสิต

หมวดท่ี 5 แผนกำรสอนและกำรประเมินผล

1. แผนกำรสอน

ครงั้ ท/ี่ วนั ท่ี หวั ข้อ สอื่ กำรสอน อำจำรย์ผู้สอน หมำยเหตุ

1 แนะนำรำยวชิ ำ : เอกสำรนำเสนอ, อ.ดร.เดน่ พงษ์ วงศำโรจน์

จติ รกรรมรว่ มสมัยในช่วง อนิ เทอรเ์ น็ต/เว็บไซต์,

ปลำยคริสต์ศตวรรษที่ 20 Google Classroom

2 กำรตัดทอนภำพคนใน เอกสำรนำเสนอ, อ.ดร.เดน่ พงษ์ วงศำโรจน์

จิตรกรรมรว่ มสมัย อินเทอรเ์ นต็ /เวบ็ ไซต์,

Google Classroom

3-4 รูปคนในจิตรกรรมร่วมสมัย เอกสำรนำเสนอ, อ.ดร.เด่นพงษ์ วงศำโรจน์

ของไทย อินเทอร์เน็ต/เวบ็ ไซต์,

Google Classroom

5-6 พัฒนำกำรของจิตรกรรม เอกสำรนำเสนอ, อ.ดร.เดน่ พงษ์ วงศำโรจน์

ภำพคนในศิลปะสมยั ใหม่ อินเทอรเ์ นต็ /เวบ็ ไซต์,

และศลิ ปะร่วมสมยั Google Classroom

7 จติ รกรรมแบบ อำรท์ บรทุ เอกสำรนำเสนอ, อ.ดร.เดน่ พงษ์ วงศำโรจน์

(Art Brut) อนิ เทอรเ์ น็ต/เว็บไซต์,

Google Classroom

8 จิตรกรรมแบบ นวิ ออบ เอกสำรนำเสนอ, อ.ดร.เดน่ พงษ์ วงศำโรจน์

เจคทวิ ิตี (New อินเทอร์เนต็ /เวบ็ ไซต์,

Objectivitity Painting) Google Classroom



ครั้งท/ี่ วันที่ หวั ข้อ สอ่ื กำรสอน อำจำรย์ผู้สอน หมำยเหตุ
อ.ดร.เด่นพงษ์ วงศำโรจน์
9 จติ รกรรมชวนสังเวช เอกสำรนำเสนอ, อ.ดร.เดน่ พงษ์ วงศำโรจน์
อนิ เทอร์เน็ต/เว็บไซต์, อ.ดร.เด่นพงษ์ วงศำโรจน์
(Abject Painting) Google Classroom อ.ดร.เด่นพงษ์ วงศำโรจน์
อ.ดร.เด่นพงษ์ วงศำโรจน์
10 ศิลปะแหง่ กำรหยบิ ยืม เอกสำรนำเสนอ,
(Appropriation Art) อินเทอร์เนต็ /เว็บไซต์, อ.ดร.เดน่ พงษ์ วงศำโรจน์

11 กลุ่มศิลปนิ นำมธรรมแบบ เอกสำรนำเสนอ, อ.ดร.เด่นพงษ์ วงศำโรจน์

คลำสิค (Abstract อินเทอร์เนต็ /เวบ็ ไซต์, อ.ดร.เดน่ พงษ์ วงศำโรจน์

Classicists ) Google Classroom

12 จติ รกรรมซเู ปอร์เรียลลสิ ม์ เอกสำรนำเสนอ,
(Superrealism Painting) อนิ เทอรเ์ นต็ /เว็บไซต์,
Google Classroom

13 จิตรกรรมสตรีท อำร์ต เอกสำรนำเสนอ,

(Street Art Painting) อนิ เทอร์เนต็ /เว็บไซต์,

ของ บำสเควท (Jean- Google Classroom

Michel Basquiat)

14 จติ รกรรมสตรที อำร์ต เอกสำรนำเสนอ,

(Street Art Painting) อนิ เทอร์เน็ต/เว็บไซต์,

ของ ฮำร์รงิ (Keith Google Classroom

Haring)

15 จติ รกรรมรว่ มสมัยที่หม่ิน เอกสำรนำเสนอ,

เหมต่ ่อศลี ธรรมอันดีงำม อนิ เทอรเ์ นต็ /เวบ็ ไซต์,

ของ อรี ิค ฟิชเชิล (Eric Google Classroom

Fischl)

16 จิตรกรรมภำพคนรว่ มสมยั เอกสำรนำเสนอ,

ของ ลเู ชียน ฟรอยด์ อนิ เทอรเ์ นต็ /เวบ็ ไซต์,

(Lucian Freud) Google Classroom



2. แผนกำรประเมินผลกำรเรียนรู้

กิจกรรม ผลกำรเรยี นรู้ วิธกี ำรประเมนิ สัดส่วนกำรประเมนิ
บรรยำย ด้ำนคุณธรรม สงั เกตพฤตกิ รรม 5
20
บรรยำย ดำ้ นควำมรู้ สอบ 30

ศกึ ษำคน้ คว้ำด้วยตนเอง / ทกั ษะทำงปัญญำ สอบ/ผลงำน 20
ฝึกปฏบิ ตั ิ
20
งำนกลมุ่ ทักษะควำมสมั พันธ์ กำรนำเสนอ
งำนเด่ยี ว/ฝึกกำรวิเครำะห์ ระหวำ่ งบคุ คลและ 5
บรรยำย ควำมรบั ผดิ ชอบ กำรทำรำยงำน/กำร
วิเครำะห์ผลงำน
ทกั ษะกำรวิเครำะห์เชงิ
ตัวเลข กำรสอื่ สำรและ สังเกตพฤติกรรม
กำรใช้เทคโนโลยี
สำรสนเทศ

ทกั ษะพสิ ัย

หมวดที่ 6 ทรพั ยำกรประกอบกำรเรยี นกำรสอน

1. ตำรำและเอกสำรหลกั

จริ พัฒน์ พติ รปรีชำ. (2545). โลกศลิ ปะศตวรรษที่ 20. กรุงเทพฯ: เมืองโบรำณ.
วบิ ูลย์ ลีส้ วุ รรณ. (2548). ศลิ ปะในประเทศไทย : จำกศิลปะโบรำณในสยำมถึงศลิ ปะสมัยใหม่. กรงุ เทพฯ:

ลำดพร้ำว
วิรณุ ต้งั เจรญิ . (2534). ศิลปะสมัยใหมใ่ นประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร์.
สุธี คณุ ำวิชยำนนท์. (2545). จำกสยำมเก่ำสูไ่ ทยใหม่ : ว่ำดว้ ยควำมพลกิ ผันของศลิ ปะจำกประเพณสี ู่สมัยใหม่

และร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: หอศลิ ป์ มหำวิทยำลยั ศิลปำกร.
Demsey, Amy. (2002). Styles, Schools and Movements. London: Thames and Hudson.
Krausse, Anna C. (1995). The Story of Painting from the Renaissance to Present. Germany:

Konemann.
Kurtz, Bruce D., (1992). Contemporary Art 1965-1990. New Jersey: Prentice Hall.
2. เอกสำรและข้อมูลสำคญั

ไม่มี
3. เอกสำรและข้อมูลแนะนำ
Robertson, Jean and McDaniel, Craig. (2005). Themes of Contemporary Art: Visual

Art after 1980. New York: Oxford University Press.



หมวดท่ี 7 กำรประเมนิ และปรับปรงุ กำรดำเนินกำรของรำยวิชำ

1. กลยุทธก์ ำรประเมนิ ประสิทธผิ ลของรำยวิชำโดยนิสิต
1. นิสิตร่วมอภปิ รำยผลกำรเรยี นกำรสอน
2. นสิ ติ ทำแบบประเมินกำรสอนตำมระบบของมหำวิทยำลยั

2. กลยุทธก์ ำรประเมินกำรสอน
กำรสงั เกตกำรณ์ กำรถำมตอบและกำรอภิปรำยในชัน้ เรยี น โดยให้ผ้เู รียนมีส่วนรว่ มในกำรอภปิ รำย

3. กำรปรบั ปรุงกำรสอน
นำผลทไี่ ดจ้ ำกกำรสังเกตกำรณ์มำปรบั ให้กำรเรยี นกำรสอนแตล่ ะสปั ดำห์มีประสิทธภิ ำพเหมำะกับกลมุ่

ผ้เู รียนมำกยิ่งข้นึ
4. กำรทบทวนสอบมำตรฐำนผลสมั ฤทธ์ิของนิสิตในรำยวชิ ำ

มคี ณะกรรมกำรตรวจสอบผลกำรประเมนิ กำรเรยี นรู้ของนิสติ และทวนสอบจำกคะแนนขอ้ สอบและ/หรอื
งำนทไ่ี ด้รับมอบหมำย
5. กำรดำเนนิ กำรทบทวนและกำรวำงแผนปรับปรุงประสิทธผิ ลของรำยวิชำ

1. ปรับปรงุ เนอื้ หำรำยวชิ ำใหม้ คี วำมทนั สมยั ตลอดเวลำ
2. จดั หำส่อื กำรเรียนกำรสอนทีร่ องรบั กบั กำรศกึ ษำคน้ คว้ำของผู้เรียนมำกขน้ึ
3. สนบั สนนุ ใหผ้ ูเ้ รียนไดค้ ้นคว้ำเพ่มิ เติม หำแหล่งกำรเรยี นรูท้ เ่ี หมำะสมให้กับกบั ผเู้ รียน



การเขียนแผนบริหารการสอนมี 2 รูปแบบ

รูปแบบท่ี 2

แผนบรหิ ำรกำรสอน
รำยวิชำ นศส121 พื้นฐำนกำรปฏิบัตดิ ้ำนนำฏศิลปไ์ ทย

หมวดที่ 1 ขอ้ มลู ท่ัวไป

1. รหสั และชื่อวชิ ำ
นศส121 พ้ืนฐำนกำรปฏบิ ัตดิ ้ำนนำฏศลิ ป์ไทย
CDM121 FUNDAMENTAL THAI DANCE

2. จำนวนหน่วยกติ
บรรยำย-ปฏิบตั ิ 3(2-2-5)

3. หลกั สตู รและประเภทของรำยวิชำ
หลักสูตรศิลปกรรมศำสตรบัณฑติ สำขำวิชำนำฏศลิ ป์สร้ำงสรรคแ์ ละกำรจดั กำร วชิ ำชพี เฉพำะด้ำน

(นำฏศิลปไ์ ทย)
4. อำจำรย์ผู้รบั ผิดชอบรำยวิชำและอำจำรย์ผูส้ อน

อำจำรย์ผู้รบั ผิดชอบรำยวชิ ำ

ลำดบั อำจำรย์ผูร้ ับผดิ ชอบรำยวชิ ำ สงั กดั
1 ผูช้ ว่ ยศำสตรำจำรยป์ ิยวดี มำกพำ สำขำวชิ ำนำฎศลิ ป์ คณะศลิ ปกรรมศำสตร์

อำจำรยผ์ สู้ อน สังกัด ตำแหนง่ อำจำรย์
ผูส้ อน
ตอน อำจำรยผ์ ู้สอน สำขำวชิ ำนำฎศิลป์ คณะ
ศิลปกรรมศำสตร์ ผ้สู อนหลกั
B01 ผูช้ ว่ ยศำสตรำจำรยป์ ยิ วดี มำกพำ

5. ภำคกำรศกึ ษำ/ชนั้ ปีทเ่ี รียน
ภำคกำรศึกษำที่ 1 ชน้ั ปที ี่ 1

6. รำยวชิ ำท่ีต้องเรียนมำก่อน (Per-requisite)
ไมม่ ี

7. รำยวิชำทีต่ อ้ งเรียนพร้อมกนั (Co-requisite)
ไม่มี

8. สถำนท่ีเรยี น
คณะศลิ ปกรรมศำสตร์ และเรียนออนไลน์

9. วนั ท่จี ัดทำหรอื ปรับปรงุ รำยละเอียดของรำยวิชำ
1 สงิ หำคม 2563



หมวดที่ 2 จุดมุง่ หมำยและวัตถุประสงค์

1. จดุ มุ่งหมำยของรำยวิชำ
1.เข้ำใจประวัติ ควำมเปน็ มำ ควำมสำคญั องค์ปะกอบกำรแสดงนำฏศิลปไ์ ทยพนื้ ฐำน
2.ปฏิบัตนิ ำฏยศัพท์ ภำษำท่ำ เพลงช้ำ เพลงเรว็ เพลงแมบ่ ทเล็ก เขำ้ กับจงั หวะได้

2. วตั ถุประสงคใ์ นกำรพัฒนำ/ปรับปรุงรำยวิชำ
ไมม่ ี

หมวดท่ี 3 ลกั ษณะและกำรดำเนินกำร

1. คำอธบิ ำยรำยวิชำ

ศึกษำ คน้ คว้ำประวตั ิ ควำมสำคัญ องคป์ ระกอบกำรแสดงนำฏศิลปไ์ ทยพ้นื ฐำน กำรฝึกปฏิบตั ิ นำฏย

ศพั ท์ ภำษำท่ำ เพลงช้ำ เพลงเรว็ เพลงแม่บทเล็ก กำรเคล่ือนไหวสว่ นตำ่ ง ๆ ของร่ำงกำย กำรรำเข้ำกับจังหวะ

ประเภทตัวพระ ตวั นำง

2. จำนวนชว่ั โมงที่ใช้ต่อภำคกำรศึกษำ

ลำดบั บรรยำย สอนเสริม กำรฝึกปฏิบัติ/งำน กำรศกึ ษำดว้ ยตัวเอง
ภำคสนำม/กำรฝกึ งำน

1 2.00 0.00 2.00 5.00

3. ควำมรบั ผิดชอบหลัก/ควำมรับผดิ ชอบรอง ประเภทควำมรบั ผดิ ชอบ

● ควำมรับผิดชอบหลัก O ควำมรบั ผิดชอบรอง

1.คณุ ธรรมและ 2.ควำมรู้ 3.ทักษะทำง 4.ทักษะ 5.ทักษะกำร 6.ทกั ษะ

จริยธรรม ปญั ญำ ควำมสัมพันธ์วเิ ครำะห์เชิง พสิ ัย

ระหว่ำง ตวั เลข กำร

รำยวชิ ำ บุคคลและ สอื่ สำรและ
ควำม กำรใช้

รบั ผดิ ชอบ เทคโนโลยี

สำรสนเทศ

1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2

● ●O ● ●O OO O

4. จำนวนชัว่ โมงตอ่ สปั ดำห์ท่อี ำจำรย์ใหค้ ำปรกึ ษำและแนะนำทำงวิชำกำรแก่ นิสติ เป็นรำยบคุ คล
1 ช่ัวโมง ทำงออนไลน์



หมวดที่ 4 กำรพฒั นำผลกำรเรียนรูข้ องนกั ศกึ ษำ

1. รำยละเอียดกำรพฒั นำผลกำรเรยี นรขู้ องนิสติ

1. คุณธรรมและจริยธรรม

ลำดับ หลัก/รอง คุณธรรมและจรยิ ธรรมที่ต้อง วธิ ีกำรสอน วิธกี ำรประเมนิ ผล
พัฒนำ

1 หลกั 1.1 มีควำมซื่อสัตย์ มวี ินัย ตรง ปลกู ฝังให้นิสติ มรี ะเบยี บวินยั 1. ประเมินจำกพฤติกรรมของ

ต่อเวลำ เนน้ กำรเขำ้ ชนั้ เรียนให้ตรงตอ่ นิสติ ระหวำ่ งร่วมกจิ กรรมกำร

เวลำ และกำรสง่ งำนที่ได้รบั เรยี นกำรสอน

มอบหมำยภำยในระยะเวลำ 2. ประเมินจำกกำรสอบหรือ

กำหนด ปลูกฝงั ให้นสิ ิตแต่งกำยงำนทไี่ ด้รบั มอบหมำย ท้ังงำน

และปฏบิ ัตติ นให้เหมำะสม แบบบคุ คลและแบบกลมุ่

ถกู ต้องตำมระเบยี บของ 3. ประเมนิ จำกกำรใหค้ ะแนน

มหำวทิ ยำลยั หรือองค์กร เขำ้ ห้องเรยี นและกำรส่งงำนที่

มอบหมำยตรงเวลำ

4. ประเมนิ จำกผลกำรเข้ำรว่ ม

กจิ กรรมของนสิ ติ

5. สังเกตพฤติกรรมของนิสติ ใน

กำรปฏิบตั ติ ำมกฎ ระเบยี บ

และข้อบงั คบั ต่ำง ๆ อย่ำง

ตอ่ เน่ือง

2. ควำมรู้

ลำดบั หลกั /รอง ควำมรทู้ ีต่ อ้ งพัฒนำ วธิ ีกำรสอน วิธีกำรประเมนิ ผล

1 หลัก 2.1 มีควำมรูด้ ้ำนกำรศึกษำ 1. จัดกำรเรยี นกำรสอนอย่ำง 1. ทดสอบหลักกำรและทฤษฎี

ทัว่ ไป หลำกหลำยรูปแบบภำยในชน้ั โดยกำรสอบย่อย และกำรให้

เรยี น เชน่ กำรบรรยำย กำร คะแนน

อภิปรำย สถำนกำรณ์จำลอง ฯลฯ 2. ทดสอบโดยกำรสอบขอ้ เขียน

และกำรเปดิ โอกำสใหผ้ ้เู รยี นได้ หรือปฏิบัติ ท้ังระหว่ำงภำคและ

มีส่วมร่วมในกำรแสดงควำม ปลำยภำค

คิดเห็น และซกั ถำมขอ้ สังสัย 3. ประเมนิ ผลจำกกำรทำงำนที่

2. กำรค้นควำ้ และทำรำยงำนแบบไดร้ ับมอบหมำย และรำยงำนที่



ลำดบั หลกั /รอง ควำมร้ทู ต่ี ้องพัฒนำ วิธกี ำรสอน วิธีกำรประเมนิ ผล

1 หลัก 2.1 มีควำมรูด้ ำ้ นกำรศกึ ษำ บคุ คลและแบบกล่มุ ตำมหวั ขอ้ ใหค้ น้ ควำ้
(ต่อ) ทว่ั ไป
หรอื ประเดน็ ที่เป็นปจั จบุ ัน และ 4. ประเมนิ จำกกจิ กรรมกำร

ผเู้ รยี นมีควำมสนใจ เรยี นกำรสอนท่ีจดั ขนึ้ ในช้นั เรียน

3. กำรอภปิ รำยแบบกลุ่ม โดยนำ 5. ประเมินจำกรำยงำนผล

เนือ้ หำในชนั้ เรียนมำผสมผสำนกับกำรศึกษำหรอื ดงู ำนนอกสถำนท่ี

รำยวชิ ำอ่นื ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง 6. ประเมนิ ด้ำนควำมรจู้ ำก

กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนท่ีจัด

ใหน้ ิสติ ในชนั้ เรียน

3. ทักษะทำงปัญญำ

ลำดบั หลัก/รอง ทกั ษะทำงปัญญำทต่ี ้องพัฒนำ วิธกี ำรสอน วธิ กี ำรประเมินผล

1 หลกั 3.1 สำมำรถประยุกต์ควำมรู้ให้ 1. มอบหมำยงำนท่ีพฒั นำนสิ ติ ให้ 1. ประเมินจำกกำรทดสอบ ทั้ง

เกิดประโยชน์ มกี ำรวิเครำะห์ สงั เครำะห์ และ กำรสอบย่อย กำรสอบระหว่ำง

วพิ ำกษไ์ ด้ โดยใชร้ ูปแบบกำรสอน ภำคและปลำยภำค

ท่ีหลำกหลำย 2. ประเมินจำกงำนที่ได้รบั

2. จัดกจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน มอบหมำย ท้ังแบบบุคคลและ

โดยให้นสิ ติ มโี อกำสประยุกต์ กล่มุ เช่น โครงกำรหรอื งำนวิจยั

ควำมรูใ้ นกำรแก้ไขปญั หำ เช่น ทมี่ อบหมำย

กำรเรยี นรแู้ บบแกไ้ ขปัญหำ 3. ประเมินจำกพฤติกรรมของ

(Problem-Based Learning) นสิ ิตระหวำ่ งกำรจัดกจิ กรรมกำร

หรอื กำรจดั ทำโครงกำร (Project เรียนกำรสอน

Based Learning) 4. ประเมนิ ผลจำกกิจกรรมกำร

3. จดั กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน เรียนกำรสอนที่จัดขึน้ ทั้งในและ

ใหน้ สิ ิตมโี อกำสบรู ณำกำรควำมรู้ นอกห้องเรียน

กบั ศำสตรอ์ ืน่ ๆ ได้ เชน่ กำรฝกึ

ปฏบิ ัตงิ ำนจรงิ กำรทำกรณศี กึ ษำ

กำรอภปิ รำยกล่มุ กำรเรยี นรูแ้ บบ

มีสว่ นรว่ ม กำรเรยี นรู้จำก

สถำนกำรณ์จรงิ เปน็ ตน้



ลำดบั หลัก/รอง ทักษะทำงปัญญำทีต่ ้องพัฒนำ วธิ กี ำรสอน วิธีกำรประเมนิ ผล

1 หลกั 3.1 สำมำรถประยุกตค์ วำมรู้ให้ 4. มอบหมำยให้นิสติ ทำรำยงำน

(ตอ่ ) เกดิ ประโยชน์ ค้นคว้ำข้อมลู ในสำขำวชิ ำและ

ศำสตรอ์ ่ืน ๆ ท่เี กี่ยวข้อง นำมำ

บูรณำกำรเพื่อสรำ้ งองคค์ วำมรใู้ หม่

5. จัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนท่ี

4. ทักษะควำมสมั พันธ์ระหวำ่ งบคุ คลและควำมรบั ผิดชอบ

ทกั ษะควำมสัมพันธ์ระหว่ำง

ลำดับ หลัก/รอง บคุ คลและควำมรับผิดชอบที่ วิธกี ำรสอน วธิ ีกำรประเมนิ ผล

ต้องพัฒนำ

1 หลกั 4.1 สำมำรถทำงำนร่วมกบั ผอู้ ่ืน 1. จดั กิจกรรมกำรเรยี นกำร 1. ประเมินจำกกำรสงั เกต

ในฐำนะผนู้ ำและผรู้ ่วมงำนได้ สอนทีเ่ นน้ กำรทำงำนเป็นกลุ่ม พฤติกรรมและกำรแสดงออก

และงำนทีต่ ้องมีปฏสิ มั พันธ์ ของนสิ ิต ขณะทำกิจกรรมกลุ่ม

ระหวำ่ งบุคคล เช่น กำรระดม และงำนทตี่ ้องมปี ฏสิ มั พันธ์

ควำมคดิ เหน็ กำรอภิปรำย หรือระหวำ่ งบคุ คล

กำรสมั มนำเกย่ี วกบั ประเดน็ ที่ 2. ประเมินโดยเพื่อนรว่ มชนั้

นิสิตสนใจ เรยี นและอำจำรยผ์ สู้ อน ในกำร

2. สอดแทรกเร่ืองควำม แสดงบทบำทของกำรเปน็ ผนู้ ำ

รบั ผิดชอบ ต่อตนเองและ และผ้ตู ำมในสถำนกำรณก์ ำร

องค์กร กำรเข้ำใจวฒั นธรรม เรียนรู้ทหี่ ลำกหลำย โดยใชแ้ บบ

องค์กร กำรปรบั ตวั เขำ้ กับ ประเมนิ พฤติกรรมที่กำหนด

สภำวะแวดล้อม กำรมีมนุษย 3. ประเมินจำกผลงำนของกลุ่ม

สมั พนั ธ์กำรยอมรบั ผู้อน่ื ฯลฯ และผลงำนของนสิ ิตในกลุม่ ที่

3. กำหนดกำรทำงำนกลุ่ม โดยให้ไดร้ ับมอบใหท้ ำงำน

นสิ ติ หมุนเวียนกันเป็นผู้นำกลุ่ม 4. ประเมินจำกกำรรำยงำนหน้ำ

สมำชกิ กลุ่ม และผู้รำยงำนผล ชน้ั เรยี นโดยอำจำรยผ์ สู้ อนและ

4. ปลูกฝงั ใหม้ คี วำมรับผดิ ชอบ นสิ ติ

ตอ่ หน้ำที่ที่ได้รบั มอบหมำย 5. ประเมินผลจำกแบบประเมิน



หมวดที่ 5 แผนกำรสอนและกำรประเมินผล

1. แผนกำรสอน

ครง้ั ท/่ี หัวข้อ/รำยละเอยี ด วิธีกำรสอน/ประเภท สอื่ กำรสอน อำจำรยผ์ ู้สอน
สัปดำหท์ ่ี กำรสอบ

1 อธบิ ำยรำยวชิ ำ บรรยำย เอกสำรนำเสนอ(Power Point) ผศ.ปิยวดี มำกพำ

ร่วมกับผูเ้ รยี น สอบกลำงภำค(Midterm เอกสำรประกอบกำรบรรยำย/คำสอน (B01) 4 ชม.

ออกแบบกำรเรยี นกำร Exam) (Lecture Note)

สอน และกำรวัดผล อินเทอร์เน็ต/เวบ็ ไซต์

2 นำฏยศพั ท์ กิจกรรมกลุ่ม มัลติมเี ดีย: ภำพนิง่ วดี ิทศั น์ เพลง ผศ.ปยิ วดี มำกพำ

กำรสอนเชงิ รุก (Picture/Video/Audio/CD/DVD) (B01) 4 ชม.

กำรบรรยำยแบบมี โปรแกรมสำเร็จรปู /โปรแกรม

ปฏิสมั พันธก์ บั ผู้เรยี น คอมพิวเตอร์

อนิ เทอร์เนต็ /เวบ็ ไซต์

3 ภำษำท่ำ กิจกรรมกลมุ่ มัลติมีเดีย: ภำพนิ่ง วีดทิ ศั น์ เพลง ผศ.ปยิ วดี มำกพำ

กำรสอนเชิงรกุ โปรแกรมสำเรจ็ รปู /โปรแกรม (B01) 4 ชม.

กำรบรรยำยแบบมี คอมพวิ เตอร์

ปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผู้เรียน อินเทอร์เน็ต/เวบ็ ไซต์

4 เพลงชำ้ กจิ กรรมกลมุ่ เอกสำรนำเสนอ(Power Point) ผศ.ปิยวดี มำกพำ

กำรสอนเชิงรกุ มลั ติมเี ดยี : ภำพนิ่ง วีดทิ ัศน์ เพลง (B01) 4 ชม.

กำรบรรยำยแบบมี (Picture/Video/Audio/CD/DVD)

ปฏิสมั พันธก์ บั ผู้เรยี น โปรแกรมสำเร็จรูป/โปรแกรม

5 เพลงช้ำ ฝึกปฏิบตั ิ/กำรเรียนใน มัลตมิ เี ดยี : ภำพนิ่ง วดี ทิ ศั น์ เพลง ผศ.ปยิ วดี มำกพำ

หอ้ งปฏิบตั ิกำร (Picture/Video/Audio/CD/DVD) (B01) 4 ชม.

กำรสอนเชงิ รุก โปรแกรมสำเร็จรปู

6 เพลงช้ำ ฝึกปฏบิ ัติ/กำรเรียนใน มลั ติมีเดยี : ภำพนิ่ง วดี ิทศั น์ เพลง ผศ.ปยิ วดี มำกพำ

หอ้ งปฏิบัติกำร (Picture/Video/Audio/CD/DVD) (B01) 4 ชม.

กำรสอนเชงิ รุก โปรแกรมสำเรจ็ รปู /โปรแกรม

สอบกลำงภำค(Midterm คอมพิวเตอร์(Software/Application

Exam) programs)

อินเทอร์เน็ต/เวบ็ ไซต์

(Internet/Website)

7 เพลงเรว็ ฝึกปฏิบตั ิ/กำรเรยี นใน มลั ตมิ เี ดยี : ภำพนงิ่ วีดิทัศน์ เพลง ผศ.ปยิ วดี มำกพำ

หอ้ งปฏิบัตกิ ำร (Picture/Video/Audio/CD/DVD) (B01) 4 ชม.

กิจกรรมกลมุ่ โปรแกรมสำเรจ็ รูป/โปรแกรม

กำรสอนเชิงรกุ



ครั้งท/ี่ หัวข้อ/รำยละเอียด วิธีกำรสอน/ประเภท ส่อื กำรสอน อำจำรย์ผู้สอน
สัปดำหท์ ี่ กำรสอบ

8 เพลงเรว็ ฝกึ ปฏิบตั ิ/กำรเรยี นใน มัลตมิ ีเดีย: ภำพนง่ิ วดี ทิ ัศน์ เพลง ผศ.ปิยวดี มำกพำ

หอ้ งปฏิบตั ิกำร (Picture/Video/Audio/CD/DVD) (B01) 4 ชม.

กำรสอนเชิงรุก โปรแกรมสำเรจ็ รปู /โปรแกรม

คอมพวิ เตอร์

อนิ เทอร์เนต็ /เว็บไซต์

9 เพลงเรว็ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ/กำรเรยี นใน มลั ติมีเดีย: ภำพนง่ิ วีดทิ ัศน์ เพลง ผศ.ปยิ วดี มำกพำ

ห้องปฏบิ ตั ิกำร (Picture/Video/Audio/CD/DVD) (B01) 4 ชม.

กำรสอนเชงิ รกุ โปรแกรมสำเร็จรปู /โปรแกรม

คอมพิวเตอร์

10 สอบกลำงภำค(Midterm มลั ติมเี ดยี : ภำพน่งิ วีดทิ ศั น์ เพลง ผศ.ปิยวดี มำกพำ

Exam) (Picture/Video/Audio/CD/DVD) (B01) 4 ชม.

อินเทอร์เน็ต/เว็บไซต์

(Internet/Website)

11 เพลงแม่บทเล็ก กิจกรรมกลมุ่ เอกสำรนำเสนอ(Power Point) ผศ.ปยิ วดี มำกพำ

กำรบรรยำยแบบมี มัลติมีเดยี : ภำพนง่ิ วดี ิทศั น์ เพลง (B01) 4 ชม.

ปฏิสมั พนั ธก์ บั ผู้เรียน (Picture/Video/Audio/CD/DVD)

โปรแกรมสำเร็จรปู

12 เพลงแม่บทเล็ก กำรสอนเชงิ รกุ มลั ตมิ ีเดีย: ภำพนง่ิ วีดิทัศน์ เพลง ผศ.ปิยวดี มำกพำ

(Picture/Video/Audio/CD/DVD) (B01) 4 ชม.

โปรแกรมสำเร็จรปู /โปรแกรม

คอมพวิ เตอร์

อินเทอร์เน็ต/เว็บไซต์

13 เพลงแมบ่ ทเล็ก กำรสอนเชิงรุก มลั ตมิ ีเดีย: ภำพนงิ่ วีดทิ ัศน์ เพลง ผศ.ปิยวดี มำกพำ

กำรบรรยำยแบบมี (Picture/Video/Audio/CD/DVD) (B01) 4 ชม.

ปฏิสัมพันธ์กบั ผูเ้ รยี น โปรแกรมสำเรจ็ รปู /โปรแกรม

คอมพิวเตอร์(Software/Application

programs)

อินเทอร์เน็ต/เว็บไซต์

14 เพลงแมบ่ ทเล็ก กำรสอนเชงิ รกุ มัลตมิ ีเดีย: ภำพนง่ิ วดี ิทศั น์ เพลง ผศ.ปยิ วดี มำกพำ

(Picture/Video/Audio/CD/DVD) (B01) 4 ชม.

โปรแกรมสำเร็จรูป/โปรแกรม

คอมพิวเตอร์

อินเทอร์เนต็ /เว็บไซต์



ครงั้ ท/่ี หัวข้อ/รำยละเอียด วิธกี ำรสอน/ประเภท ส่ือกำรสอน อำจำรยผ์ ูส้ อน
สัปดำหท์ ่ี กำรสอบ

15 เพลงแมบ่ ทเล็ก กำรสอนเชงิ รุก มัลติมีเดีย: ภำพน่ิง วีดิทัศน์ เพลง ผศ.ปิยวดี มำกพำ

สอบกลำงภำค(Midterm (Picture/Video/Audio/CD/DVD) (B01) 4 ชม.

Exam) โปรแกรมสำเรจ็ รูป/โปรแกรม

คอมพวิ เตอร์(Software/Application

programs)

อนิ เทอร์เนต็ /เวบ็ ไซต์

16 สอบ สอบปลำยภำค(Final ผศ.ปิยวดี มำกพำ

Exam) (B01) 4 ชม.

2. แผนกำรประเมินผลกำรเรียนรู้ วธิ ีกำรประเมนิ สัดสว่ นกำร
ประเมินผล
กิจกรรม ผลกำรเรยี นรู้
ประเมินจำกพฤตกิ รรมของนิสติ ระหวำ่ งรว่ มกิจกรรมกำรเรียน 10
กำรสอนเชงิ รกุ คุณธรรมและ
กจิ กรรมกลมุ่ จรยิ ธรรม กำรสอน สังเกตพฤตกิ รรมของนิสิตในกำรปฏบิ ัตติ ำมกฎ

ระเบียบ และข้อบังคับต่ำง ๆ อย่ำงต่อเน่อื ง

ฝกึ ปฏิบตั ิ ควำมรู้ 1. ทดสอบหลกั กำรและทฤษฎี โดยกำรสอบย่อย และกำรใหค้ ะแนน 30
กำรเรียนใน
ห้องปฏิบัติกำร 2. ทดสอบโดยกำรสอบข้อเขียนหรอื ปฏิบตั ิ ทัง้ ระหว่ำงภำค
กำรสอนเชงิ รุก
กจิ กรรมกลุม่ และปลำยภำค

3. ประเมนิ ผลจำกกำรทำงำนท่ีไดร้ บั มอบหมำย รำยงำนทใ่ี ห้ค้นคว้ำ

4. ประเมินจำกกจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนท่จี ดั ข้ึนในชน้ั เรียน

5. ประเมนิ จำกรำยงำนผลกำรศึกษำหรือดูงำนนอกสถำนที่

6. ประเมินด้ำนควำมรู้จำกกจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนทีจ่ ัดให้

นสิ ิตในชั้นเรียน

ฝกึ ปฏิบัติ ทกั ษะทำงปญั ญำ 1. ประเมินจำกกำรทดสอบ ท้ังกำรสอบย่อย กำรสอบระหว่ำง 30
กำรเรียนใน
ห้องปฏิบตั กิ ำร ภำคและปลำยภำค
กำรสอนเชงิ รกุ
กิจกรรมกลุ่ม 2. ประเมินจำกงำนทไี่ ดร้ ับมอบหมำย ทงั้ แบบบุคคลและกลุ่ม

เชน่ โครงกำรหรอื งำนวจิ ยั ที่มอบหมำย

3. ประเมนิ จำกพฤติกรรมของนิสิตระหวำ่ งกำรจดั กจิ กรรมกำร

เรยี นกำรสอน

4. ประเมินผลจำกกจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนที่จดั ขึ้นทั้งในและ

นอกห้องเรยี น



กิจกรรม ผลกำรเรียนรู้ วธิ ีกำรประเมนิ สัดสว่ นกำร
ประเมนิ ผล
ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
กำรเรียนใน ทักษะควำมสัมพนั ธ์ 1. ประเมินจำกกำรสังเกตพฤตกิ รรมและกำรแสดงออกของนิสติ 10
หอ้ งปฏบิ ัติกำร
กำรสอนเชิงรกุ ระหวำ่ งบคุ คลและ ขณะทำกิจกรรมกลมุ่ และงำนทต่ี ้องมีปฏิสัมพันธ์ระหวำ่ งบคุ คล
กิจกรรมกลุ่ม
ควำมรบั ผดิ ชอบ 2. ติดตำมกำรทำงำนกลุ่มของนิสติ เปน็ ระยะโดยกำรสัมภำษณ์
ฝกึ ปฏบิ ัติ
กำรเรียนใน และบนั ทึกพฤติกรรมเป็นรำยบุคคล
หอ้ งปฏิบตั ิกำร
กำรสอนเชิงรกุ 3. สังเกตพฤติกรรมจำกกำรระดมควำมคดิ เห็น กำรอภิปรำย
กิจกรรมกลมุ่
หรอื กำรสมั มนำ และบนั ทึกผลกำรประเมนิ
ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
กำรเรยี นใน ทักษะกำรวิเครำะห์ 1. ประเมินจำกกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนทีจ่ ดั ในชนั้ เรียน เชน่ 10
ห้องปฏบิ ตั กิ ำร
กำรสอนเชงิ รกุ เชงิ ตวั เลข กำร กำรสงั เกตพฤติกรมกำรสอบย่อย
กจิ กรรมกล่มุ
สอื่ สำรและกำรใช้ 2. ประเมินจำกผลงำนของนสิ ิต ท้งั รปู แบบกำรนำเสนอ

เทคโนโลยี รำยงำนหนำ้ ชัน้ เรยี น และรำยงำนทเ่ี ป็นรปู เลม่

สำรสนเทศ 3. ประเมนิ จำกเทคนิคทน่ี ำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสำมำรถ

สนเทศ เทคนิคทำงสถติ ิ และทำงคณิตศำสตร์พ้ืนฐำน

ทกั ษะพสิ ยั 1. ประเมนิ จำกกำรทดสอบ ท้ังกำรสอบย่อย กำรสอบระหว่ำง 10

ภำคและปลำยภำค

2. ประเมินจำกงำนทไ่ี ดร้ บั มอบหมำย ทั้งแบบบุคคลและกลุ่ม

เชน่ โครงกำรหรืองำนวิจัยท่ีมอบหมำย

3. ประเมนิ จำกพฤติกรรมของนิสติ ระหว่ำงกำรจดั กิจกรรมกำร

เรียนกำรสอน

4. ประเมินผลจำกกจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนทจ่ี ดั ข้นึ ทงั้ ในและ

นอกห้องเรยี น

หมวดท่ี 6 ทรัพยำกรประกอบกำรเรียนกำรสอน

1. ตำรำและเอกสำร
เอกสำรประกอบกำรสอน

2. เอกสำรและข้อมูลสำคญั
ไมม่ ี

3. เอกสำรและข้อมูลแนะนำ
ไม่มี



หมวดท่ี 7 กำรประเมนิ และปรับปรุงกำรดำเนนิ กำรของรำยวชิ ำ

1. กลยุทธ์กำรประเมินประสิทธผิ ลของรำยวิชำโดยนิสิต

ปค003

2. กลยุทธ์กำรประเมนิ กำรสอน

ทวนผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี น

ทวนเกรด

3. กำรปรับปรุงกำรสอน

นำกำรประเมินโดยผเู้ รยี นและคำแนะนำจำกคณะกรรมกำรทวนผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนมำปรบั ปรุง

4. กำรทบทวนสอบมำตรฐำนผลสัมฤทธิของนสิ ติ ในรำยวชิ ำ

ลำดบั ผลกำรเรียนรู้ วธิ ที บทวนสอบ

1 คุณธรรมและจรยิ ธรรม สังเกต

2 ควำมรู้ กำรตรวจสอบ กำรสัมภำษณ์

3 ทักษะทำงปญั ญำ กำรตรวจสอบ กำรสัมภำษณ์

4 ทกั ษะควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคลและควำม สังเกต

รับผดิ ชอบ

5 ทักษะกำรวิเครำะห์เชิงตัวเลข กำรสอื่ สำรและกำรใช้ สังเกต

เทคโนโลยสี ำรสนเทศ

6 ทกั ษะพิสยั กำรตรวจสอบ กำรสมั ภำษณ์

5. กำรดำเนินกำรทบทวนและกำรวำงแผนปรบั ปรุงประสิทธผิ ลของรำยวิชำ
นำผลกำรประเมิน ปค003 กำรทวนผลสมั ฤทธ์ วเิ ครำะห์เพ่ือปรับปรุงในปีกำรศกึ ษำถัดไป



หวั ขอ้ การเขยี นเอกสารประกอบการสอนคาํ สอนเป็ นรายครั�ง (1ครั�ง)
ผูส้ อน
เวลา ชัว่ โมง หากแผนการสอนนนั้ ๆ มีเนือ้ หาสาหรับใช้สอนในครัง้ เดยี วสามารถเขียนอธิบายได้ดงั นี ้

วตั ถุประสงค์ แผนการสอนครง้ั ที่ 1
1. เพือ่ ใหผ้ เู้ รียน
2. เพ่อื ให้ผู้เรยี น 15 นาที
90 นาที
เนื้อหา 15 นาที
1. 30 นาที
2. 30 นาที

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1.
2.
3.
4.
5.

สอื่ การสอน
1.
2.

การประเมินผล
1.
2.

หนังสืออ้างอิง

1

เนือ้ หา

หวั ขอ้ การสอนครงั้ ท่ี 1

..............................................................
............................................................................................................................. ..............................................

.................................................................................................................................................. .......................................
............................................................................................ .............................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................................................................ .............
..................................................................................................................... ....................................................................
............................................................................................................................. ............................................................

รูปภาพ

ภาพประกอบท่ี 1 ชอื่ ภาพ.
กรณีนำมำจำกหนังสอื

ท่ีมา: ปยิ วดี มากพา. (2563). ช่อื ภาพ. กรุงเทพฯ: สาวกิ าการพมิ พ์
หรอื หำกนำมำจำกเว็ปไซต์

ท่ีมา: ปอ เปรมสาราญ. (2561). Abject Art ศิลปะอนั น่ารงั เกยี จ จากส่วนหน่ึงของเราเอง.
สบื คน้ จาก https://themomentum.co/abject-art/
หรอื ถ้ำเป็นรปู ของผเู้ ขียน
ทม่ี า: ปยิ วดี มากพา. (2563).

หรือศึกษาจากการอ้างอิงดังแนบท้ายเล่ม

คาถามท้ายบท
1.............................................................................................................................. ..........................................
2........................................................................................................................................................................

2 ตัวอย่างดังแนบท้าย

แผนการสอนครัง้ ที่ 1

หัวขอ้ จติ รกรรมรว่ มสมัยในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษท่ี 20
ผสู้ อน อาจารย์ ดร.เด่นพงษ์ วงศาโรจน์
เวลา 3 ช่วั โมง

วตั ถุประสงค์

1. เพอ่ื ให้ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั พัฒนาการของจิตรกรรมร่วมสมัยในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20

2. เพอื่ ใหผ้ ูเ้ รียนได้เขา้ ใจถงึ แนวความคิด รปู แบบการสร้างสรรค์ พฒั นาการ บริบทแวดลอ้ ม

เนอื้ หา

1. พัฒนาการของการสร้างสรรค์จิตรกรรมรว่ มสมยั ในช่วงปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 20

2. แนวความคิด รูปแบบการสร้างสรรค์ พัฒนาการ อิทธิพลทางศิลปะ และบริบทแวดล้อมที่มีผลต่ อ

การสรา้ งสรรค์จิตรกรรมรว่ มสมยั ในช่วงปลายครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20

การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้

1. บอกวตั ถปุ ระสงค์และบอกเน้อื หา 15 นาที

2. สอนบรรยายเนอ้ื หาหวั ข้อตา่ ง ๆ 90 นาที

3. นิสติ ซกั ถาม 15 นาที

4. เรยี นรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ หลัก (Problem-base learning) 30 นาที

5. กรณีศกึ ษา (Case Study) 30 นาที

สอ่ื การสอน

1. เอกสารประกอบการสอน

2. Power Point

การประเมินผล

1. ผู้เรียนมีความเข้าใจถึงรูปแบบและพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ของการสร้างสรรค์จิตรกรรมร่วมสมัยในช่วง

ปลายคริสต์ศตวรรษท่ี 20

2. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถร่วมการอภิปราย ตอบข้อซักถาม ตลอดจนแสดงความเห็นใน

เชงิ วิเคราะหต์ ่อประเด็นการสรา้ งสรรค์ทีเ่ ก่ยี วข้องได้

หนังสืออา้ งองิ
คอตตงิ ตัน, เดวิด. (2554). ศิลปะสมยั ใหม่-ความร้ฉู บบั พกพา. (จนญั ญา เตรียมอนุรักษ์, ผู้แปล) กรงุ เทพฯ:

โอเพน่ เวิลด์ส.
จิระพฒั น์ พิตรปรชี า. (2545). โลกศิลปะศตวรรษท่ี 20. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

หัวข้อการสอน ครง้ั ท่ี 1
จติ รกรรมร่วมสมัยในชว่ งปลายคริสต์ศตวรรษท่ี 20

เมื่อก้าวล่วงเข้าสู่ต้นศตวรรษที่ 20 ปรากฏการณ์สาคัญต่าง ๆ ท่ีมีอทิ ธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของ
ศตวรรษนี้ได้เริ่มปรากฏออกมาให้เห็นชัดเจนมากขึ้น นอกเหนือไปจากความหลากหลายของรูปแบบและแนวคิดใน
การแสดงออกของศิลปินสมัยใหม่ท่ีต่างแสวงหาหนทางการสร้างสรรค์ท่ีสอดรับกับความเช่ือท้ังของตนเองและกลุ่ม
ความคดิ ทส่ี งั กัด

ปรากฏการณ์หน่ึงที่เป็นตัวอย่างของการเปล่ียนแปลงสาคัญท่ีมีผลต่อการสร้างสรรค์จิตรกรรมในยุคต่อมา
คือ จากผลงานจิตรกรรมของ พาโบล ปิกัสโซ (Pablo Picasso) ที่มีช่ือว่า Still Life with Chair Caning (1912)
ศิลปินได้สร้างสรรค์จิตรกรรมชิ้นนี้ข้ึนด้วยการใช้เสื่อน้ามันท่ีพิมพ์ลายของเก้าอ้ีหวาย ปะติดเป็นส่วนหนึ่งของพ้ืน
ระนาบรองรับที่เป็นรูปวงรี ประสมประสานกบั การระบายสีน้ามนั ลงไป นอกจากนี้ศิลปินยังไดใ้ ชเ้ ชือกป่านมาลอ้ มเป็น
วงรอบของระนาบรองรับดังกลา่ วไวอ้ กี ดว้ ย

ภาพประกอบท่ี 1 Still Life with Chair Caning.
ท่มี า: ปิกัสโซ. (1912). Still Life with Chair Caning.
สบื ค้นจาก http://csmt.uchicago.edu/glossary2004/collage/chair.jpg

คาถามท้ายบท
1............................................................................................................................ .............................................
2.................................................................................... .....................................................................................
3............................................................................................................................ .............................................

การเขยี นเอกสารประกอบการสอนคาํ สอนเป็ นรายครัง� (มากกว่า 1 ครั�ง)

หากแผนการสอนนนั้ ๆ มีเนอื ้ หาสาหรับใช้สอนมากกวา่ 1 ครัง้ โดยทกุ ครัง้ มวี ตั ถปุ ระสงค์, เนอื ้ หา,
การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้, สอื่ การสอน, การประเมนิ ผล เหมอื นกนั สามารถใช้ตามรูปแบบดงั นี ้

แผนการสอน ครงั้ ที่ 1-2

หัวขอ้ 15 นาที
ผสู้ อน 90 นาที
เวลา ช่ัวโมง 15 นาที
30 นาที
วัตถปุ ระสงค์ (ครง้ั ท่ี 1-2) 30 นาที
1. เพอื่ ให้ผู้เรยี น
2. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี น

เนอื้ หา (ครงั้ ท่ี 1-2)
1.
2.

การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ (ครั้งที่ 1-2)
1.
2.
3.
4.
5.

ส่ือการสอน (คร้ังที่ 1-2)
1.
2.

การประเมินผล (ครงั้ ที่ 1-2)
1.
2.

หนงั สืออ้างอิง

3

เนือ้ หา

หวั ขอ้ การสอนคร้งั ที่ 1-2

..............................................................
............................................................................................................................. ..............................................

.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
...................................................................................................................................................................... ...................
............................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................

รูปภาพ

ภาพประกอบท่ี 1 ชอ่ื ภาพ.
กรณนี ำมำจำกหนังสือ

ทม่ี า: ปยิ วดี มากพา. (2563). ช่อื ภาพ. กรงุ เทพฯ: สาวิกาการพิมพ์
หรอื หำกนำมำจำกเว็ปไซต์

ทม่ี า: ปอ เปรมสาราญ. (2561). Abject Art ศลิ ปะอันน่ารงั เกยี จ จากส่วนหนงึ่ ของเราเอง.
สืบค้นจาก https://themomentum.co/abject-art/
หรอื ถำ้ เป็นรปู ของผเู้ ขียน
ท่ีมา: ปยิ วดี มากพา. (2563).

หรือศึกษาจากการอ้างอิงดงั แนบท้ายเล่ม

คาถามทา้ ยบท
1.............................................................................................................................. ..........................................
2........................................................................................................................................................................

4 ตัวอย่างดังแนบท้าย

แผนการสอนคร้ังท่ี 1 และ 2

หัวขอ้ รูปคนในจิตรกรรมร่วมสมยั ของไทย
ผู้สอน อาจารย์ ดร.เดน่ พงษ์ วงศาโรจน์
เวลา 6 ชวั่ โมง

วตั ถปุ ระสงค์ (คร้งั ที่ 1-2)

1. เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของการสร้างสรรค์จิตรกรรมภาพคนร่วมสมัยใน

ประเทศไทย

2. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นรถู้ ึงรูปแบบการสร้างสรรค์ พัฒนาการ ตลอดจนแนวทางการพฒั นาการสร้างสรรค์จิตรกรรม

ภาพคนรว่ มสมยั ในประเทศไทย

เน้ือหา (คร้งั ที่ 1-2)

1. พฒั นาการของการสรา้ งสรรคร์ ปู คนในจิตรกรรมรว่ มสมัยของไทย

2. ตวั อย่างศลิ ปินร่วมสมยั และแนวทางการสรา้ งสรรคร์ ปู คนในจิตรกรรมรว่ มสมัยของไทย

การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ (ครั้งที่ 1-2)

1. บอกวัตถุประสงค์ และบอกเน้ือหา 30 นาที

2. สอนบรรยายเนื้อหาหัวขอ้ ตา่ ง ๆ 180 นาที

3. การเรียนร้ดู ้วยตนเอง (Self-directed learning) 60 นาที

4. อภิปราย/อภิปรายกลมุ่ (Discussion) 60 นาที

5. นสิ ติ ซักถาม 30 นาที

สอื่ การสอน (คร้งั ท่ี 1-2)

1. เอกสารประกอบการสอน

2. Power Point

การประเมนิ ผล (คร้ังท่ี 1-2)

1. ผเู้ รียนมคี วามเข้าใจถงึ พัฒนาการของการสร้างสรรคร์ ปู คนในจิตรกรรมร่วมสมัยของไทย

2. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถร่วมการอภิปราย ตอบข้อซักถาม ตลอดจนแสดงความเห็นในเชิง

วิเคราะหต์ ่อประเด็นการสร้างสรรค์ที่เก่ยี วข้องได้

หนังสอื อา้ งอิง

คณะกรรมการจัดงานสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ป.ี (2525). ศิลปะกรุงรตั นโกสินทร์. กรุงเทพฯ: อัมรนิ ทรพ์ ร้ินติ้ง.

คณะกรรมการอานวยการจัดงานฉลองสริ ริ าชสมบัติครบ 50 ปี. (2539). ศลิ ปะรชั กาลท่ี 9. กรุงเทพฯ: อมั รินทร์พร้ินต้งิ .

น.ณ ปากนา้ (นามปากกา). (2544). จติ รกรรมฝาผนงั หน่งึ ในสยาม. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

หวั ขอ้ การสอนครง้ั ที่ 1 และ 2
รูปคนในจิตรกรรมรว่ มสมยั ของไทย

การสร้างสรรค์จิตรกรรมภาพคนในศลิ ปะของไทยน้ันปรากฏให้เห็นมาต้ังแต่ในอดีต แต่อย่างไรก็ดีภาพคนใน
จิตรกรรมไทยแนวประเพณีนิยมนั้น ปรากฏในลักษณะของรูปแบบท่ีเป็นอุดมคติ กล่าวคือ เป็นภาพบุคคลท่ีเกิดข้ึน
ตามจินตนาการ มีแบบแผนการเขียนที่ชัดเจน ไม่ได้มีความประสงค์ที่จะสะท้อนถึงความเป็นบุคคลหนึ่งบุคคลใดใน
ความเป็นจริงให้เห็นออกมาอย่างชดั เจน อีกทัง้ การเขียนภาพจติ รกรรมไทยในสมัยโบราณซ่ึงมักปรากฏบนฝาผนังของ
สถาปตั ยกรรมตา่ ง ๆ น้ัน มักนิยมเขียนภาพทม่ี ลี ักษณะสองมิตใิ นลักษณะทัศนยี ภาพจากมมุ สูง ภาพคนที่ปรากฏจึงมี
ขนาดสดั ส่วนท่เี ล็ก จึงไม่ได้เนน้ การแสดงใหเ้ หน็ ถึงอารมณ์ความรู้สกึ ของแต่ละบคุ คลในภาพได้อย่างเฉพาะเจาะจง มัก
แสดงใหเ้ ห็นเป็นภาพรวมของกล่มุ คนในกริยาท่าทางตา่ ง ๆ ท่ีจาต้องอาศัยบรรยากาศต่าง ๆ ทกี่ าหนดขึ้นโดยรอบของ
ภาพช่วยผสมกลมกลืนกันไปเพื่อให้เป็นเรื่องราวท่ีสมบูรณ์ ภาพคนที่ปรากฏในจิตรกรรมไทยประเพณีจึงมีลักษณะ
เสมือนเป็นองค์ประกอบหนึ่งของภาพทร่ี วมผสมกลมกลืนเข้ากับวัตถุต่าง ๆ ในภาพเพื่อให้เรือ่ งราวสมบรู ณ์ มากกวา่ ท่ี
จะถูกกาหนดให้เปน็ ประธานหรอื เนื้อหาหลกั ของภาพ

การเปลี่ยนแปลงท่ีมีผลกระทบต่อการสร้างสรรค์จิตรกรรมไทยแนวประเพณีนิยมนั้น ปรากฏข้ึนในช่วง
ตอนต้นของกรุงรัตนโกสินทร์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ซ่ึงได้มีการติดต่อค้าขายทางเรือสาเภา
กับประเทศจีนอย่างจริงจัง นามาซ่ึงการแลกเปล่ียนสรรพความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ระหว่างกันการค้าท่ีเจริญก้าวหน้า
นาพาให้บ้านเมืองมีความม่ันคงมากข้ึน นับแต่การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ข้ึนที่กรุงเทพมหานคร จึงเป็นช่วงเวลาท่ี
เกิดการสร้างสถาปัตยกรรมทางพุทธศาสนาข้ึนเป็นจานวนมาก ซึ่งปรากฏว่าในรัชสมัยของพระองค์น้ันได้รับอิทธิพล
ทางด้านศิลปะจีนเขา้ มาผสมผสานกันอยา่ งลงตัว

จิตรกรรมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความโดดเด่นกว่าจิตรกรรมในอดีตอยู่หลาย
ประการ ไม่ว่าจะเป็นการใช้สสี ันท่มี คี วามสดใสมากขน้ึ มีการระบายสีท่ีใกล้เคยี งตามแบบธรรมชาติของวัตถุ การเขียน
ภาพคนในจิตรกรรมไทยประเพณีได้เกิดการเปลี่ยนแปลงคร้ังสาคัญอีกคร้ังหน่ึง ปราก ฏขึ้นในรัชสมัยของ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั อันเป็นผลท่ีสืบเนื่องมาจากอิทธิพลของศิลปะตะวันตกที่เข้ามามีบทบาทเพ่ิม
มากข้นึ เม่ือศิลปินคนสาคัญอย่างขรัวอินโข่งไดส้ รา้ งจิตรกรรมฝาผนังในแนวประเพณโี ดยแสดงภาพในลักษณะที่มมี ิติ
ทสี่ ามปรากฏขึน้ กล่าวคือ มกี ารแสดงให้เห็นระยะตื้นลึกภายในภาพขึ้นด้วยการใช้สี แสง เงา และเส้น การเขยี นภาพ
บุคคลและสถาปตั ยกรรมของชาวตะวันตกประกอบข้นึ เป็นภาพปรศิ นาธรรมทางพุทธศาสนา

คาถามท้ายบท
1.................................................................................................. .......................................................................
2............................................................................................................................ .............................................
3............................................................................................................................ .............................................

การเขียนเอกสารประกอบการสอนคาํ สอนเป็นรายครงั� (มากกวา่ 1 ครงั� สว่ นประกอบแตล่ ะครงั� ตา่ งกนั )

หากแผนการสอนนนั้ ๆ มีเนือ้ หาสาหรับใช้สอนมากกวา่ 1 ครัง้ โดยทกุ ครัง้ มีวตั ถปุ ระสงค์, เนอื ้ หา, การ
จดั ประสบการณ์การเรียนรู้, สอ่ื การสอน, การประเมนิ ผล ที่ไมเ่ หมือนกนั สามารถใช้ตามรูปแบบดงั นี ้

หัวข้อ แผนการสอน ครงั้ ท่ี 1-2
ผู้สอน
เวลา ชัว่ โมง 15 นาที
90 นาที
วัตถุประสงค์ 30 นาที
ครง้ั ที่ 1 30 นาที
1. เพื่อให้ผู้เรยี น
ครงั้ ท่ี 2
1. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียน

เนอื้ หา
ครั้งท่ี 1
1.
2.
คร้ังท่ี 2
1.
2.

การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้
คร้งั ที่ 1
1.
2.
คร้ังท่ี 2
1.
2.

สอื่ การสอน
1.
2.

การประเมินผล
1.
2.

หนังสืออ้างองิ

5

เนือ้ หา

หวั ข้อการสอนครั้งท่ี 1-2

..............................................................
............................................................................................................................. ..............................................

.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................

รูปภาพ

ภาพประกอบที่ 1 ช่อื ภาพ.
กรณนี ำมำจำกหนงั สือ

ที่มา: ปิยวดี มากพา. (2563). ชือ่ ภาพ. กรุงเทพฯ: สาวิกาการพมิ พ์
หรอื หำกนำมำจำกเวป็ ไซต์

ทีม่ า: ปอ เปรมสาราญ. (2561). Abject Art ศิลปะอันน่ารงั เกยี จ จากสว่ นหน่งึ ของเราเอง.
สบื คน้ จาก https://themomentum.co/abject-art/
หรอื ถ้ำเป็นรปู ของผู้เขียน
ทม่ี า: ปยิ วดี มากพา. (2563).

หรือศกึ ษาจากการอ้างอิงดงั แนบท้ายเล่ม

คาถามท้ายบท
1.............................................................................................................................. ..........................................
2........................................................................................................................................................................

6 ตวั อย่างดังแนบท้าย

แผนการสอนคร้ังที่ 1 และ 2

หัวขอ้ พฒั นาการของจิตรกรรมภาพคนในศิลปะสมยั ใหม่และศิลปะร่วมสมัย
ผู้สอน อาจารย์ ดร.เด่นพงษ์ วงศาโรจน์
เวลา 6 ช่ัวโมง

วตั ถุประสงค์

คร้ังท่ี 1

1. เพอื่ ให้ผู้เรยี นมีความร้คู วามเขา้ ใจเกีย่ วกบั พฒั นาการของจติ รกรรมภาพคนในศลิ ปะสมยั ใหมแ่ ละศิลปะรว่ มสมยั

คร้งั ที่ 2

1. เพื่อให้ผู้เรียนรู้ถึงรูปแบบการสร้างสรรค์ พัฒนาการ ตลอดจนแนวทางการพัฒนาการของจิตรกรรมภาพ

คนในศิลปะสมัยใหมแ่ ละศิลปะร่วมสมยั

เน้ือหา

ครงั้ ท่ี 1

1. พฒั นาการของจติ รกรรมภาพคนในศิลปะสมยั ใหม่และศลิ ปะร่วมสมัย

ครงั้ ท่ี 2

1. แนวคดิ รปู แบบ อทิ ธิพลทางศลิ ปะ และบริบทแวดล้อมท่ีมีผลต่อพัฒนาการของจิตรกรรมภาพคนในศลิ ปะ

สมัยใหมแ่ ละศลิ ปะร่วมสมยั

2. ตวั อย่างศลิ ปินสมัยใหมแ่ ละศิลปินร่วมสมยั และแนวทางการสรา้ งสรรคจ์ ิตรกรรมภาพคนในศลิ ปะสมัยใหม่

และศลิ ปะรว่ มสมยั

การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้

ครง้ั ท่ี 1

1. บอกวัตถปุ ระสงคแ์ ละบอกเนอื้ หา 15 นาที

2. สอนบรรยายเน้ือหาหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ 80 นาที

3. กรณีศึกษา (Case Study) 30 นาที

4. อภปิ ราย/อภปิ รายกลุ่ม (Discussion) 40 นาที

5. นสิ ิตซักถาม 15 นาที

คร้งั ท่ี 2

1. บอกวัตถปุ ระสงค์และบอกเนื้อหา 15 นาที

2. สอนบรรยายเนื้อหาหัวขอ้ ต่าง ๆ 60 นาที

3. กรณศี กึ ษา (Case Study) 50 นาที

4. อภิปราย/อภิปรายกล่มุ (Discussion) 35 นาที

5. นิสติ ซักถาม 20 นาที

ส่อื การสอน

ครั้งที่ 1

1. เอกสารประกอบการสอน

2. Power Point

ครงั้ ที่ 2

1. วีดที ศั น์

2. ผลงานงานตน้ แบบ

การประเมนิ ผล

ครง้ั ที่ 1

1. ผเู้ รียนมคี วามเขา้ ใจถึงพัฒนาการของจิตรกรรมภาพคนในศิลปะสมยั ใหม่และศิลปะรว่ มสมัย

ครงั้ ที่ 2

1. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถร่วมการอภิปราย ตอบข้อซักถาม ตลอดจนแสดงความเห็นใน

เชิงวเิ คราะห์ต่อประเด็นการสรา้ งสรรคท์ เี่ กยี่ วข้องได้

หนังสอื อา้ งอิง

คอตติงตัน, เดวิด. (2554). ศิลปะสมยั ใหม-่ ความรู้ฉบบั พกพา. (จนญั ญา เตรยี มอนรุ กั ษ์, ผู้แปล)

กรงุ เทพฯ: โอเพ่นเวิลดส์ .

จิรพัฒน์ พติ รปรีชา. (2545). โลกศลิ ปะศตวรรษท่ี 20. กรงุ เทพฯ : เมืองโบราณ.

วริ ุณ ตั้งเจรญิ . (2537). มนษุ ยก์ บั ความงาม. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร.์

อารี สุทธพิ ันธ์.ุ (2528). ศิลปนิยม (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 3). กรงุ เทพฯ : กระดาษสา.

Demsey, Amy. (2002). Styles, Schools and Movements. London: Thames and Hudson.

Gilbert Rita. (1995). Living with Art (4 th ed.). Ohio : R.R. Donnelley &Sons.

H.W. Janson and Anthony F. Janson. (1987). A Basic History of Art (3 rd ed.). New York:

Abrams.

Hall, Douglas. (1922). Klee. London: Phaidon.

Krausse, Anna C. (1995). The Story of Painting from the Renaissance to Present. Germany:

Konemann.

Kurtz, Bruce D., (1992). Contemporary Art 1965-1990. New Jersey: Prentice Hall.

Lynton, Norbert. (2006). The Story of Modern Art. London: Phaidon.

หัวข้อการสอนครงั้ ที่ 1 และ 2
พฒั นาการของจิตรกรรมภาพคนในศิลปะสมยั ใหม่และศลิ ปะร่วมสมัย

กระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในยุโรปได้พัฒนามากข้ึนเป็นลาดับ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ
ต่าง ๆ ตลอดจนการศึกษาค้นคว้าความรู้ใหม่ที่เกิดข้ึน ได้นาพาให้ผู้คนในสังคมมีความคิดท่ีก้าวไกลมากขึ้น ประกอบ
กับความเบ่ือหน่ายในรูปแบบของผลงานศิลปกรรมท้ังในแบบนีโอ คลาสิค โรแมนติก หรือแม้แต่ความเห็นท่ี
ไม่สอดคล้องกับการสร้างสรรค์ศิลปะในแนวทางสัจนิยม ท่ีสืบทอดกระบวนการสร้างสรรค์ศิลปะในกรอบของศิลปะ
หลักวิชามาอย่างต่อเน่ืองยาวนาน สาเหตุดังที่กล่าวมาส่งผลผลักดันให้กลุ่มศิลปินรุ่นใหม่เกิดความท้าทาย โดย
พยายามหาทางออกให้กบั การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของพวกเขา จนเกดิ การรวมกลุ่มกันของศิลปินผ้สู รา้ งผลงานใน
แนวคดิ ของลัทธิอมิ เพรสชันนิสม์ (Impressionism) ข้ึน โดยมศี ลิ ปินคนสาคญั ไดแ้ ก่ มาเนท์ (Edward Manet) โมเนท์
(Claude Monet) เดกาส์ (Edgar Degas) และเรอนวั ร์ (Renoir) เปน็ ตน้

หลักสาคัญในการสร้างจิตรกรรมของศิลปินกลุ่มนี้ กล่าวได้ว่าเป็นการแสดงออกที่ต่อต้านการสร้างสรรค์ใน
รูปแบบศิลปะหลักวิชา หลักสาคัญของพวกเขา คือ การนาเสนอความประทับใจตามการรับรู้ของศิลปินผ่านงาน
จิตรกรรม มากวา่ จะเปน็ ความพยายามเลยี นแบบธรรมชาติตามที่ตาเหน็

คาถามทา้ ยบท
1........................................................................................................................ .................................................
2............................................................................................................................ .............................................
3............................................................................................................................ .............................................

รูปแบบการเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเป็ นบท
ควรมีหน้าปกของบทเสมอ

บทที่ 1
ช่อื บท.........................

7

หัวขอ้ การเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเป็ นบท
ผสู้ อน
เวลา ชว่ั โมง หากบทนนั้ ๆ มเี นือ้ หาสาหรับใช้สอนในครัง้ เดยี วสามารถเขยี นอธิบายได้ดงั นี ้

วตั ถุประสงค์ แผนการสอนครัง้ ที่ 1
1.
2. 15 นาที
90 นาที
เนอ้ื หา 15 นาที
1. 30 นาที
2. 30 นาที

การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้
1.
2.
3.
4.
5.

ส่ือการสอน
1.
2.

การประเมินผล
1.
2.

หนงั สอื อ้างอิง

8

การเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเป็ นบท

บทที่ 1
ชอื่ บท........................

............................................................................................................................. ..............................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
...................................................................................................................................................................... ...................
............................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................

รูปภาพ

ภาพประกอบที่ 1 ชื่อภาพ.
กรณีนำมำจำกหนงั สอื

ที่มา: ปยิ วดี มากพา. (2563). ช่อื ภาพ. กรงุ เทพฯ: สาวิกาการพิมพ์
หรือหำกนำมำจำกเวป็ ไซต์

ท่มี า: ปอ เปรมสาราญ. (2561). Abject Art ศลิ ปะอนั นา่ รังเกยี จ จากสว่ นหนง่ึ ของเราเอง.
สืบคน้ จาก https://themomentum.co/abject-art/
หรอื ถำ้ เป็นรูปของผู้เขียน
ท่ีมา: ปยิ วดี มากพา. (2563).

หรือศกึ ษาจากการอ้างอิงดงั แนบท้ายเล่ม

คาถามทา้ ยบท
1.............................................................................................................................. ..........................................
2........................................................................................................................................................................

9 ตวั อย่างดงั แนบท้าย

บทท่ี 1
ศิลปะแห่งการเตน้ รา
The Art of Dance

แผนการสอนคร้งั ท่ี 1

หัวข้อ ศิลปะแหง่ การเต้นรา
ผสู้ อน อาจารย์ ดร.ธนะพัฒน์ พัฒน์กลุ พศิ าล
เวลา 5 ชัว่ โมง

วัตถุประสงค์

1. เพอ่ื ให้ผ้เู รียนเข้าใจความหมายของคาวา่ การเตน้ รา เทคนคิ และสไตล์

2. เพอื่ ให้ผเู้ รียนทราบถึงบทบาทการเต้นราในองค์ประกอบ 8 ประการ ของศลิ ปะการแสดง
3. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนศึกษาประวตั ิความเป็นมาของการเตน้ รา
4. เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาบทบาทของการเต้นราในวิถชี วี ิตของมนษุ ย์

เนื้อหา

1. การเตน้ รา (Dance)

2. ความหมายของคาวา่ การเตน้ รา เทคนิค และสไตล์

3. องค์ประกอบ 8 ประการ ของศลิ ปะการแสดง

4. ความเป็นมาของการเตน้ รา

5. การเต้นราในประเทศไทย

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้

1. บอกวัตถุประสงค์และบอกเนื้อหา 15 นาที

2. สอนบรรยายเนอื้ หาภาคทฤษฎีแบบมปี ฏิสัมพันธ์กบั ผ้เู รยี น 60 นาที

3. สอนเชิงรุกกิจกรรมกลุ่ม, Active Learning, PBL 180 นาที

4. นิสิตซกั ถาม สรปุ บทเรยี น 45 นาที

ส่อื การสอน

1. ส่ืออุปกรณ์ เครื่องเลน่ เสยี ง โทรทศั น์ และอุปกรณใ์ นห้องปฏิบัติการ

2. คลิปวดี ที ศั น์ประกอบการสอนผา่ นระบบออนไลน์ เชน่ YouTube

3. Application สนับสนุนการเรียนการสอนออนไลน์ เชน่ Google Classroom และ Moodle

การประเมนิ ผล

1. คาถามก่อนและท้ายบทเรียน

2. ประเมินผลจากการทดสอบยอ่ ยในหอ้ งเรยี น

3. การเขา้ เรยี นการมสี ่วนร่วมในหอ้ งเรยี น

หนงั สืออา้ งอิง

ธนะพัฒน์ พัฒน์กลุ พิศาล. (2558). การสร้างสรรค์นาฏยศลิ ป์ไทยร่วมสมยั ในแนวคิดเบ้ืองหน้าเบ้ืองหลัง.

(ปรญิ ญานิพนธด์ ุษฎบี ัณฑติ )กรงุ เทพมหานคร: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

นราพงษ์ จรสั ศร.ี (2540). ศลิ ปกรรมศาสตร์ปรทิ รรศน์. เอกสารประกอบการสอน. กรงุ เทพมหานคร:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บทที่ 1
ศลิ ปะแห่งการเตน้ รา

อารัมภบท
ศิลปะแห่งการเต้นรา คือ ศิลปะท่ีแสดงโดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ท่ีใช้การเคลื่อนไหวเป็นสื่อกลางใน

การถ่ายทอดเรื่องราว อารมณ์ ความรู้สึก การเคลื่อนไหวดังกล่าวเป็นท่าทางที่ประดิษฐ์ข้ึนให้มีรูปแบบและ
โครงสรา้ งที่ชัดเจน การเต้นราจะแสดงประกอบดนตรหี รือเคร่ืองใหจ้ ังหวะ แม้ว่าการเตน้ ราจะนาออกมาแสดง
เพอ่ื งานสังคม พิธกี รรม งานรืน่ เรงิ สงั สรรค์หรอื เพ่อื วัตถุประสงค์อืน่ ใดกต็ าม การเต้นรากย็ งั มวี ัตถุประสงค์หลัก
คือ เพื่อถ่ายทอดอารมณ์และความรู้สึกภายในออกมาในรูปแบบการเคล่ือนไหวที่งดงามในแง่ศิลปะการแสดง
ในบทน้ีจะนาทุกคนเข้าสู่โลกแห่งการเต้นรา ขั้นพ้ืนฐานเบื้องต้นเพื่อจะได้สามารถเรียนรู้และเข้าใจถึงศาสตร์
แห่งศลิ ปะการเต้นรา อันประกอบไปด้วย ความหมายของคาว่าการเต้นรา เทคนิค สไตล์ ความเป็นมาของการ
เต้นรา บทบาท และหน้าทข่ี องการเต้นราในสงั คมมนษุ ย์ เปน็ ต้น

1.1 การเตน้ รา (Dance)
มนุษย์จะมีความทรงจาเกี่ยวกับการเต้นราในอดีตของตนแตกต่างกันออกไป บางคนถูกห้ามไม่ให้

เต้นราเพราะเป็นการละเมิดต่อศาสนา เช่นเดียวกับการห้ามกินหมูในศาสนาอิสลาม และการกินปลาเฉพาะวัน
ศุกร์ในศาสนาคริสต์บางนิกาย มนุษย์เรามีความละม้ายคล้ายคลึงกับสัตว์ ในเร่ืองการใช้การเคลื่อนไหว
(Movement) เป็นส่อื ของการแสดงออกทางอารมณ์ เช่น งอตัวเมือ่ เจ็บปวด หรือสวมกอดคนที่เรารกั ส่วนการ
เคล่ือนไหวกอ่ นหรอื หลังการผสมพันธข์ องสตั ว์หลายประเภทน้ัน แท้จรงิ คอื ลลี าตามสญั ชาตญิ าณทางธรรมชาติ
ในการดารงชีวติ แต่ยงั มิอาจเรียกว่าการเตน้ ราได้

คาถามท้ายบท
1. จงอธิบายความหมายของคาวา่ การเต้นรา เทคนิคและสไตล์
2. ในองคป์ ระกอบ 8 ประการ ของศิลปะการแสดงการเต้นรามีบทบาทอยา่ งไร
3. จงบรรยายประวตั คิ วามเป็นมาของการเตน้ รา
4. จงอธบิ ายบทบาทของการเตน้ ราในวิถชี วี ิตของมนุษย์

การเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเป็ นบท

หากบทนนั้ ๆ มีเนอื ้ หาสาหรับใช้สอนมากกวา่ 1 ครัง้ โดยทกุ ครัง้ มีวตั ถปุ ระสงค์, เนอื ้ หา, การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้, สอื่ การสอน,
การประเมินผล เหมือนกนั สามารถใช้ตามรูปแบบดงั นี ้

แผนการสอนครั้งที่ 1-2

หัวขอ้
ผูส้ อน
เวลา ชวั่ โมง

วัตถปุ ระสงค์ (ครั้งที่ 1-2) นาที
1. นาที
2. นาที
นาที
เนอื้ หา (ครัง้ ที่ 1-2) นาที
1.
2.

การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ (ครั้งที่ 1-2)
1. 15
2. 90
3. 15
4. 30
5. 30

สือ่ การสอน (ครง้ั ท่ี 1-2)
1.
2.

การประเมนิ ผล (คร้ังท่ี 1-2)
1.
2.

หนังสืออ้างอิง (คร้งั ที่ 1-2)

10

การเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเป็ นบท

บทที่ 1

ช่อื บท..........................................

............................................................................................................................. ..............................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
...................................................................................................................................................................... ...................
............................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................

รูปภาพ

ภาพประกอบท่ี 1 ชื่อภาพ.
กรณนี ำมำจำกหนังสอื

ที่มา: ปยิ วดี มากพา. (2563). ชื่อภาพ. กรุงเทพฯ: สาวกิ าการพิมพ์
หรือหำกนำมำจำกเว็ปไซต์

ท่ีมา: ปอ เปรมสาราญ. (2561). Abject Art ศลิ ปะอันน่ารงั เกียจ จากสว่ นหนงึ่ ของเราเอง.
สบื คน้ จาก https://themomentum.co/abject-art/
หรอื ถ้ำเป็นรปู ของผเู้ ขียน
ท่ีมา: ปิยวดี มากพา. (2563).

คาถามทา้ ยบท หรือศึกษาจากการอ้างอิงดังแนบท้ายเล่ม

1.............................................................................................................................. ..........................................

2.............................................................................................................................. ..........................................

11 ตวั อย่างดังแนบท้าย


Click to View FlipBook Version