The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จัดทำโดยฝ่ายบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการแก่สังคม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1MQItiNAePPir_r3GynNY2D1zUF60A-ar/view?usp=sharing

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suchitra Phumpueng, 2020-11-03 02:51:38

คู่มือเอกสารประกอบการสอนประจำปีงบประมาณ 2564

จัดทำโดยฝ่ายบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการแก่สังคม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่ https://drive.google.com/file/d/1MQItiNAePPir_r3GynNY2D1zUF60A-ar/view?usp=sharing

บทท่ี 1
การเต้นราและการละคร
Dance and Theatre

แผนการสอนครั้งที่ 1-2

หัวข้อ การเต้นราและการละคร
ผสู้ อน อาจารย์ ดร.ธนะพฒั น์ พฒั น์กลุ พิศาล
เวลา 10 ชว่ั โมง

วตั ถปุ ระสงค์ (คร้งั ที่ 1-2)

1. เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นอธบิ ายสไตล์การเตน้ บลั เลต์ (Ballet) การเต้นเชิงการแสดง (Dance Theatre)

และละครกายภาพ (Physical Theatre)

2. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นฝึกปฏบิ ตั ิเทคนิคและสไตล์การเตน้ พ้ืนฐานที่สาคัญ : บัลเลต์ (Ballet)

3. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถประยกุ ต์การเตน้ เขา้ กับละครได้

เนื้อหา (คร้ังที่ 1-2)

1. พืน้ ฐานสาคัญในการเรยี นเตน้ : บลั เลต์ (Ballet) ตน้ กาเนิดแห่งการเต้นรา

2. การฝึกปฏิบัติเทคนคิ การเต้นบัลเลต์ (Ballet)

3. การเต้นบลั เลต์ (Ballet) กบั งานละครเวที

4. การเต้นกบั ละคร

5. ศลิ ปะการเตน้ กับศิลปะการละครในสังคมไทยปจั จุบนั

การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ (ครัง้ ที่ 1-2)

1. บอกวัตถปุ ระสงค์และบอกเนื้อหา 30 นาที

2. สอนบรรยายเนอ้ื หาภาคทฤษฎี 60 นาที

3. สอนสาธิต ฝึกทกั ษะปฏิบตั ิ และสถานการณ์จาลอง 180 นาที

4. นสิ ติ ซักถาม สรุปบทเรียน เรียนรดู้ ว้ ยตนเอง 30 นาที

สอื่ การสอน (ครงั้ ที่ 1-2)

1. สื่ออปุ กรณ์ เครือ่ งเล่นเสียง โทรทศั น์ อปุ กรณ์ในหอ้ งปฏิบตั กิ าร

2. คลิปวดี ที ศั น์ประกอบการสอนผา่ นระบบออนไลน์ เชน่ YouTube

3. Application สนบั สนุนการเรยี นการสอนออนไลน์ เชน่ Google Classroom และ Moodle

การประเมนิ ผล (ครั้งท่ี 1-2)

1. ประเมินผลความเข้าใจภาคทฤษฎจี ากคาถามก่อนและท้ายบทเรียน

2. ประเมนิ ผลทักษะปฏิบตั จิ ากการทดสอบย่อยในชั้นเรยี นวา่ ผเู้ รียนสามารถปฏบิ ตั ิ

ตามตวั อยา่ งได้เองอย่างถูกตอ้ งหรือสาธติ แสดงทว่ งทา่ ได้อย่างความคลอ่ งแคลว่

หนังสืออ้างองิ
นราพงษ์ จรสั ศร.ี (2540). ศิลปกรรมศาสตรป์ ริทรรศน.์ เอกสารประกอบการสอน. กรงุ เทพมหานคร:

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นราพงษ์ จรัสศรี. (2548). ประวตั นิ าฏยศิลปต์ ะวันตก. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวทิ ยาลัย.
ศิริมงคล นาฏยกลุ . (2550). ซดี ีและวซี ดี ีสือ่ การสอนบลั เลต์ เรื่อง เทคนิคการเต้นบัลเลต์. กรงุ เทพมหานคร:

บทท่ี 2
การเต้นราและการละคร

อารัมภบท
อย่างที่ทราบกันแล้วว่าการเคลื่อนไหวร่างกายตามธรรมชาตินั้นยังไม่ได้จัดให้เป็นการเต้นรา ต้องผ่าน

กระบวนการคิดประดิษฐ์สร้างสรรค์เสียก่อนถึงสามารถเรียกได้ว่าการเต้นรา หากย้อนไปในอดีตตามหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์ของการเต้นรา บัลเลต์ (Ballet) ถือเป็น การเต้นชนิดหนงึ่ ท่เี กา่ แก่มีการเรยี นการสอน ฝกึ ฝน
อย่างเคร่งครัดตามแบบฉบับราชสานักฝรั่งเศส และได้รับการสืบทอดต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่นเป็นเวลายาวนาน
จนอาจกล่าวได้ว่า บัลเลต์ (Ballet) คือ บรรพบุรุษแห่งการเต้นราก็ว่าได้ ในบทนี้ผู้เรียนจะได้ศึกษาเก่ียวกับ
ประวัติความเป็นมา การฝึกปฏิบัติเทคนิคการเต้นบัลเลต์ (Ballet) การเต้นบัลเลต์(Ballet) กับงานละครเวที
นอกจากน้ผี ู้เรียนยงั จะไดศ้ ึกษาถึงความสัมพันธร์ ะหวา่ งการเตน้ ราและการละคร ท่ีดูเหมอื นจะยึดโยงกนั อยู่ยาก
ที่จะหาเส้นแบ่งได้ ดังปรากฏในการแสดงท่ีเรียกตัวเองว่า การเต้นเชิงการแสดง (Dance Theatre) และละคร
กายภาพ (Physical Theatre) อีกด้วย
2.1 พนื้ ฐานสาคัญในการเรียนเตน้ : บลั เลต์ (Ballet) ตน้ กาเนิดแหง่ การเตน้ รา

บัลเลต์ (Ballet) ถือเป็นการเต้นราชนิดแรกที่สามารถจับต้องได้เน่ืองการมีความนิยมแพร่หลายในฝ่ัง
ยุโรป มีการจัดต้ังสถาบันเพ่ือพัฒนานักเต้นให้เป็นศิลปินอย่างเป็นรูปธรรม แนวคิดหลักของการเต้นรูปแบบนี้
คือ เบาลอย หนีแรงโน้มถ่วงของโลก ซึ่งจะเห็นแนวคิดเหล่านี้สะท้อนออกมาในองค์ประกอบการแสดง เช่น
เรือ่ งราวที่มกั เกี่ยวข้องกับเทพนิยาย มนต์ตรา วญิ ญาณ กระโปรงทรงระฆังคว่าฟูฟอง ลีลาผู้หญิงทเ่ี กิดจากการ
ขึ้นปลายเท้าราวกับไร้น้าหนัก ลีลาผู้ชายท่ีแสดงความแข็งแรงโดยการแขวนลอยร่างกายบนอากาศหรือการ
ทรงตัวบนขาเดียวในการหมุนตัว ท่าเต้นคู่ระหว่างหญิง-ชาย (pas de deux) ส่ิงเหล่านี้ล้วนสะท้อนให้เห็น
แนวคิดดังกล่าว หากต้องงการที่จะเต้นบัลเลต์น้ันจาเป็นต้องได้รับการฝึกฝนเทคนิคอย่างหนัก ในห้องเรียน
บลั เลต์จะมกี ารฝกึ ปฏิบัติทา่ ทางต่าง ๆ
คาถามท้ายบท

1. จงอธิบายสไตล์การเต้นบัลเลต์ (Ballet), การเต้นเชิงการแสดง (Dance Theatre) ละครกายภาพ
(Physical Theatre)

2. จงอธิบายสไตล์การเต้นบัลเลต์ (Ballet), การเต้นเชิงการแสดง (Dance Theatre) ละครกายภาพ
(Physical Theatre)

หัวข้อ การเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเป็ นบท
ผู้สอน
เวลา นาที หากบทนนั้ ๆ มีเนอื ้ หาสาหรับใช้สอนมากกวา่ 1 ครัง้ โดยทกุ ครัง้ มวี ตั ถปุ ระสงค์, เนือ้ หา, การจดั
ประสบการณ์การเรียนรู้, ส่อื การสอน, การประเมนิ ผล ที่ไมเ่ หมือนกนั สามารถใช้ตามรูปแบบดงั นี ้
วตั ถปุ ระสงค์
ครั้งที่ 1 แผนการสอนครง้ั ท่ี 1-3
1.
ครง้ั ที่ 2 …………..นาที
1. …………..นาที
ครั้งที่ 3 …………..นาที
1. …………..นาที
…………..นาที
เน้อื หา …………..นาที
ครั้งท่ี 1
1.
ครั้งที่ 2
1.
ครั้งท่ี 3
1.

การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้
ครงั้ ท่ี 1
1.
2.
ครง้ั ที่ 2
1.
2.
ครั้งที่ 3
1.
2.

12

สอ่ื การสอน
ครัง้ ท่ี 1
1.
2.
ครง้ั ที่ 2
1.
2.
คร้งั ท่ี 3
1.
2.

การประเมนิ ผล
ครง้ั ท่ี 1
1.
2.
3.
ครั้งท่ี 2
1.
2.
3.
คร้ังท่ี 3
1.
2.
3.

หนงั สอื อา้ งองิ

13

การเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเป็ นบท

บทท่ี 1
ชอ่ื บท.............................

............................................................................................................................. ..............................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
...................................................................................................................................................................... ...................
............................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................

รปู ภาพ

ภาพประกอบที่ 1 ช่อื ภาพ.
กรณีนำมำจำกหนงั สอื

ทม่ี า: ปยิ วดี มากพา. (2563). ชื่อภาพ. กรุงเทพฯ: สาวกิ าการพิมพ์
หรือหำกนำมำจำกเว็ปไซต์

ทมี่ า: ปอ เปรมสาราญ. (2561). Abject Art ศลิ ปะอันน่ารังเกยี จ จากสว่ นหนึ่งของเราเอง.
สืบค้นจาก https://themomentum.co/abject-art/
หรือถำ้ เปน็ รูปของผู้เขียน
ที่มา: ปิยวดี มากพา. (2563).

หรือศึกษาจากการอ้างอิงดังแนบท้ายเล่ม

คาถามท้ายบท
1.............................................................................................................................. ..........................................
2........................................................................................................................................................................

14 ตัวอย่างดังแนบท้าย

บทที่ 1
นาฏศิลป์พืน้ บ้านภาคเหนอื

ฟ้อนสาวไหม

1

แผนการสอน

หัวขอ้ นาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคเหนือ: ฟ้อนสาวไหม
ผู้สอน อาจารย์ ดร.ฐาปนีย์ สังสิทธิวงศ์
เวลา 12 ชั่วโมง

วัตถปุ ระสงค์

คร้ังที่ 1
1. เพ่ือให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถอธิบายความเป็นมาของนาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคเหนือ

ฟ้อนสาวไหม
2. เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติท่าฟ้อนสาวไหม ท้ังด้านลีลา เทคนิค และกลวิธีตามรูปแบบ

ลักษณะเฉพาะของนาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคเหนือ
ครั้งที่ 2
1. เพ่ือให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถอธิบายรูปแบบ และองค์ประกอบของฟ้อนสาวไหม
2. เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติท่าฟ้อนสาวไหม ท้ังด้านลีลา เทคนิค และกลวิธีตามรูปแบบ

ลักษณะเฉพาะของนาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคเหนือ
ครั้งที่ 3
1. เพ่ือให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถอธิบายรูปแบบ และองค์ประกอบของฟ้อนสาวไหม
2. เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติท่าฟ้อนสาวไหม ทั้งด้านลีลา เทคนิค และกลวิธีตามรูปแบบ

ลักษณะเฉพาะของนาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคเหนือ
3. เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์คุณค่า และลักษณะเฉพาะของฟ้อนสาวไหม

2

เนือ้ หา 15 นาที
15 นาที
ครั้งที่ 1 60 นาที
1. ความเป็นมาของฟ้อนสาวไหม 15 นาที
2. อธิบายท่าฟ้อนสาวไหม 120 นาที
ครั้งที่ 2 30 นาที
1. เพลงและดนตรีประกอบการแสดง
2. อธิบายท่าฟ้อนสาวไหม 15 นาที
คร้ังที่ 3 45 นาที
1. เครื่องแต่งกายฟ้อนสาวไหม 120 นาที
2. รูปแบบการแสดง 60 นาที
3. อธิบายท่าฟ้อนสาวไหม

การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้

คร้ังที่ 1
1. แนะนารายวิชา
2. แจ้งวัตถุประสงค์ และเนื้อหาโดยรวม
3. การสอนบรรยายเนื้อหา
4. ชมวีดิทัศน์การแสดง
5. การสอนสาธิต และการฝึกปฏิบัติ
6. อภิปราย/อภิปรายกลุ่ม
ครั้งที่ 2
1. แจ้งวัตถุประสงค์ และเนื้อหาโดยรวม
2. การสอนบรรยายเนื้อหา
3. การสอนสาธิต และการฝึกปฏิบัติ
4. อภิปราย/อภิปรายกลุ่ม

3

ครั้งที่ 3 15 นาที
1. แจ้งวัตถุประสงค์ และเนื้อหาโดยรวม 45 นาที
2. การสอนบรรยายเนื้อหา 120 นาที
3. การสอนสาธิต และการฝึกปฏิบัติ 60 นาที
4. อภิปราย/อภิปรายกลุ่ม

สื่อการสอน

คร้ังที่ 1
1. เอกสารประกอบการบรรยาย/คาสอน (Lecture Note)

เอกสารประกอบการสอน นาฏศิลป์ไทยพ้ืนบ้าน (THAI FOLK DANCE)
2. หนังสือ ตารา เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง
3. แบบฝึกหัด/แบบมอบหมายงาน (Exercise/Assignment) คาถามท้ายบท
4. มัลติมีเดีย: ภาพนิ่ง วีดิทัศน์ เพลง (Picture/Video/Audio/CD/DVD)
5. อินเทอร์เน็ต/เว็บไซต์ (Internet/Website)
ครั้งที่ 2
1. เอกสารประกอบการบรรยาย/คาสอน (Lecture Note)

เอกสารประกอบการสอน นาฏศิลป์ไทยพ้ืนบ้าน (THAI FOLK DANCE)
2. หนังสือ ตารา เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง
3. แบบฝึกหัด/แบบมอบหมายงาน (Exercise/Assignment) คาถามท้ายบท
4. มัลติมีเดีย: ภาพนิ่ง วีดิทัศน์ เพลง (Picture/Video/Audio/CD/DVD)
5. อินเทอร์เน็ต/เว็บไซต์ (Internet/Website)
คร้ังที่ 3
1. เอกสารประกอบการบรรยาย/คาสอน (Lecture Note)

เอกสารประกอบการสอน นาฏศิลป์ไทยพ้ืนบ้าน (THAI FOLK DANCE)
2. หนังสือ ตารา เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง
3. แบบฝึกหัด/แบบมอบหมายงาน (Exercise/Assignment) คาถามท้ายบท

4

4. มัลติมีเดีย: ภาพนิ่ง วีดิทัศน์ เพลง (Picture/Video/Audio/CD/DVD)
5. อินเทอร์เน็ต/เว็บไซต์ (Internet/Website)
6. อื่นๆ (Others) เครื่องแต่งกายนาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคเหนือ ฟ้อนสาวไหม

การประเมินผล

คร้ังที่ 1-3
1. การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
2. ประเมินผลจากการปฏิบัตินาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคเหนือ ฟ้อนสาวไหม
3. ประเมินผลจากกิจกรรมกลุ่มและการร่วมอภิปรายในห้องเรียน
4. ประเมินผลจากแบบฝึกหัด/คาถามท้ายบท

หนังสืออา้ งอิง

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม. (2560). มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
ฟ้อนสาวไหม. สืบค้นจาก http://ich.culture.go.th/index.php/th/ich/performing-
arts/236-performance/310-----m-s

ฐาปนีย์ สังสิทธิวงศ์. (2559). ภาพเครื่องแต่งกายฟ้อนสาวไหม [ภาพนิ่ง]. กรุงเทพฯ:
ฐาปนีย์ สังสิทธิวงศ์.

ฐาปนีย์ สังสิทธิวงศ์. (2559). ภาพฟ้อนสาวไหม [ภาพนิ่ง]. กรุงเทพฯ: ฐาปนีย์ สังสิทธิวงศ์.
ฐาปนีย์ สังสิทธิวงศ์. (2559). ภาพอธิบายตัวอย่างการเคลื่อนไหวของท่าฟ้อนสาวไหม [ภาพนิ่ง].

กรุงเทพฯ: ฐาปนีย์ สังสิทธิวงศ์.
ธิตินัดดา มณีวรรณ์. (2550). ศิลปะการแสดงพ้ืนบ้านของกลุ่มชาติพันธ์ุไทยวน เล่ม 1.

เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธิตินัดดา มณีวรรณ์. (2551). ศิลปะการแสดงพ้ืนบ้านของกลุ่มชาติพันธ์ุไทยวน เล่ม 2.

เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เนาวรัตน์ บุดดี, การสื่อสารส่วนบุคคล, 23 กรกฎาคม 2559.
พรเทพ บุญจันทร์เพ็ชร์. (2558). ประวัตินาฏศิลป์ไทย: ภาคเหนือ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

5

ยงยุทธ ธีรศิลป. (2541). ดนตรีและนาฏศิลป์พ้ืนเมืองภาคเหนือ การฟ้อนแบบพ้ืนเมือง.
ใน คึกฤทธ์ิ ปราโมช, ม.ร.ว. (บ.ก.), ลักษณะไทย เล่ม 3 ศิลปะการแสดง (น. 331).
กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ยงยุทธ ธีรศิลป. (2541). ฟ้อนสาวไหม. ใน คึกฤทธ์ิ ปราโมช, ม.ร.ว. (บ.ก.), ลักษณะไทย เล่ม 3
ศิลปะการแสดง (น. 336-339). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

รจุ น์จรุง มีเหล็ก. (2548). ฟ้อนสาวไหม : กรณีศึกษาครูบัวเรียว รัตนมณีภรณ์ และครูคา กาไวย์
ศิลปินแห่งชาติ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

วัลยา ไชยพรม. (2557). การจัดการความรู้นาฏศิลป์พ้ืนบ้านล้านนา เรื่องการฟ้อนสาวไหม
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2560). บัวเรียว รัตนมณีภรณ์ ฟ้อนสาวไหม
ขณะอายุ 46 ปี (พ.ศ. 2535). สืบค้นจาก http://www.openbase.in.th/node/6933

สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2560). ภาพการฟ้อนสาวไหม
โดยใช้กลองสิ้งหม้องบรรเลง ช่างฟ้อน คือ น.ส.บัวเรียว สุภาวสิทธ์ิ ขณะอายุได้ 16 ปี
(ประมาณ พ.ศ. 2505) ฟ้อนคู่กับ น.ส.จันทร์สม ศรีจารัส ผู้ที่นั่งตีกลองคือ นายโม ใจสม.
สืบค้นจาก http://www.openbase.in.th/node/6945

สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2560). ภาพครูบัวเรียว สุภาวสิทธ์ิ
ฟ้อนสาวไหม ที่คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขณะอายุ 21 ปี (พ.ศ. 2510).
สืบค้นจาก http://www.openbase.in.th/node/6933

สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2560). ภาพพ่อครูกุย สุภาวสิทธ์ิ.
สืบค้นจาก http://www.openbase.in.th/node/6942

สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2560). ภาพสายไหม สนธยา
และสายชล ทายาทผู้สืบทอดศิลปะการฟ้อนสาวไหม แบบฉบับของมารดา
ไว้อย่างถูกต้องตามต้นฉบับเดิม. สืบค้นจาก http://www.openbase.in.th/node/6950

สิริกานฎา โพธ์ินิ่มแดง. (2551). ภูมิปัญญาการถ่ายทอดท่าฟ้อนพ้ืนเมืองล้านนา
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สุดาพร ไกรอ่า. (2553). การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการฟ้อนสาวไหมในจังหวัดเชียงราย
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, เชียงใหม่.

ฮักล้านนา. (2555). ภาพการแห่ครัวตาน วัดบ้านดู่ (อ.เมือง จ.เชียงราย).
สืบค้นจาก http://www.huglanna.com/index.php?topic=88.0

6

บทที่ 1
นาฏศิลป์พ้ืนบา้ นภาคเหนือ

“ฟ้อนสาวไหม”

ภาพประกอบท่ี 1 ท่าฟ้อนสาวไหม.

ที่มา: ฐาปนยี ์ สังสทิ ธวิ งศ์. (2559).

1.1 ความเปน็ มาของฟอ้ นสาวไหม

ฟ้อนสาวไหมเป็นการแสดงพ้ืนเมืองเหนือที่มีความสวยงาม มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างไปจาก
การฟ้อนแบบอื่นๆ คือฟ้อนสาวไหมเป็นแบบการฟ้อนที่เลียนมาจากการทางานในชีวิตประจาวันของคน
พ้ืนเมืองในการปลูกฝ้ายทอผ้า ตัดเย็บเป็นเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม ซึ่งเป็นงานหัตถกรรมในท้องถ่ินที่ทากัน
โดยท่ัวไป ด้วยเหตุที่การทางานในการปลูกฝ้าย ปั่นฝ้าย ทอผ้า ฯลฯ เป็นลักษณะการทางานที่มีขั้นตอนและ
มีกระบวนการทางานที่ต่อเนื่องกัน ทั้งการทางานน้ันก็มีลีลาท่าทางอันอ่อนช้อย ละเอียดอ่อนละมุนละไม
ดูแล้วเกิดความสวยงาม ดังน้ันจึงน่าจะมีผู้ที่มองเห็นกระบวนการทางานที่มีข้ันตอนต่อเนื่อง และลีลา
อันสวยงามของการปั่นฝ้าย ทอผ้า ฯลฯ นามาผสมผสานความคิดในการทางานกับท่าฟ้อนราด้วยกัน
เปน็ การฟ้อนสาวไหมที่น่าชมได้

7

ท่ารา ภาพกระบวนท่ารา ทิศ อธิบายท่ารา
เท้า นั่งคุกเข่าทับส้นเท้า
มือ มือท้ังสองพนมมือขึ้น
ทาท่าไหว้ระดับอก

109 ด้าน ศีรษะ ตั้งตรง
หน้า

แบบฝึกหดั /คาถามทา้ ยบท

1. ศึกษาค้นคว้า ความเป็นมา รูปแบบ และองค์ประกอบของฟ้อนสาวไหม และนาฏศิลป์พ้ืนบ้าน
ภาคเหนือชุดอื่นๆ เพ่ิมเติมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ

2. วิเคราะห์องค์ประกอบของนาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคเหนือ ฟ้อนสาวไหม
3. ฝึกปฏิบัติท่าฟ้อนสาวไหม ตามรูปแบบและลักษณะเฉพาะของนาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคเหนือ
4. วิเคราะห์คุณค่า และลักษณะเฉพาะของฟ้อนสาวไหม
5. วิเคราะห์ความแตกต่างของฟ้อนสาวไหมแบบฉบับของแม่ครูบัวเรียว รัตนมณีภรณ์

และฉบับของวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ จากการฝึกปฏิบัติ วีดิทัศน์ และแหล่งข้อมูลต่างๆ
6. อภิปรายองค์ประกอบและลักษณะเฉพาะของฟ้อนสาวไหม

กับนาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคเหนือชุดอื่นๆ และนาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคอื่นๆ
7. ถอดบทเรียน อภิปรายสภาพปัจจุบันและปัญหาของนาฏศิลป์พ้ืนบ้านภาคเหนือในบริบทปัจจุบัน

62

บรรณานกุ รม

............................................................................................................................. ..............................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
....................................................................................................................................................................... ..................
................................................................................................................. ........................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
.........................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. ............................................................
........................................................................................................................................................ .................................

รูปแบบการเขยี นบรรณานุกรมตามแนบท้าย

15

การลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตาม Style APA 6th SWU

1. Book หนงั สือทั่วไป

ช่อื /ชอ่ื สกลุ ./(ปีที่พิมพ)์ ./ชื่อเร่ือง/(ครั้งท่ีพิมพ)์ ./เมืองที่พิมพ:์ /สำนกั พิมพ์หรือผู้จัดพมิ พ.์

บรรณำนกุ รม กลั ยำ วำนิชยบ์ ญั ชำ. (2558). สถติ ิสำหรบั งำนวิจยั (พมิ พค์ ร้งั ที่ 9). กรุงเทพฯ:
ศูนย์หนังสอื จุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลัย.
กำรอำ้ งองิ แบบแทรกในเนอ้ื หำ (กัลยำ วำนชิ ย์บัญชำ, 2558, น. 286)
กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote
Reference Type (ประเภททรัพยำกร) Book
Author (ผู้แต่ง) กลั ยำ วำนิชย์บัญชำ,
*เฉพำะผูแ้ ตง่ คนไทย ใส่ , (จลุ ภำค) หลังนำมสกลุ
Year (ปีทพ่ี ิมพ์) 2558
Title (ชอื่ เรอ่ื ง) สถติ สิ ำหรับงำนวิจยั
Edition (คร้ังทพ่ี ิมพ์) พมิ พ์ครั้งท่ี 9 *หำกเป็นกำรพมิ พค์ รั้งท่ี 1 ไมต่ ้องระบุ
Place Published (เมืองทพ่ี มิ พ)์ กรงุ เทพฯ
Publisher (สำนกั พิมพ์หรอื ผจู้ ดั พมิ พ)์ ศูนยห์ นังสอื จฬุ ำลงกรณม์ หำวทิ ยำลัย

หนังสือภำษำอังกฤษ

ชอ่ื สกลุ ,/ชื่อตน้ /ชือ่ กลำง./(ปีท่ีพิมพ)์ ./ช่อื เรื่อง/(ครง้ั ท่ีพมิ พ์)./เมืองท่ีพมิ พ:์ /สำนกั พิมพ์หรอื ผูจ้ ดั พิมพ.์

บรรณำนกุ รม Hickey, A. J., & Ganderton, D. (2016). Pharmaceutical Process
Engineering (2 nd ed.). Boca Raton: CRC Press.
กำรอ้ำงองิ แบบแทรกในเนือ้ หำ (Hickey & Ganderton, 2006, p. 55)
กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote
Reference Type (ประเภททรพั ยำกร) Book

Author (ผ้แู ต่ง) Anthony J. Hickey *ใสต่ ำมทปี่ รำกฏจำกหนำ้ ปกหนังสือ (หำก export ข้อมูล
จำกระบบสืบคน้ ไม่ตอ้ งแก้ไข)
Year (ปที ี่พิมพ์) David Ganderton *หำกมผี ้แู ตง่ คนท่ี 2 กด enter พิมพบ์ รรทดั ถัดมำ
Title (ช่ือเรื่อง) 2016
Edition (คร้ังทพ่ี ิมพ์) Pharmaceutical Process Engineering
Place Published (เมอื งทพ่ี ิมพ์) 2nd ed.
Publisher (สำนกั พิมพ์หรอื ผูจ้ ัดพมิ พ์) Boca Raton
CRC Press

หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์

TH เจำ้ ของผลงำน./(ปีทีพ่ ิมพ์)./ชื่อเร่อื ง./สบื คน้ จำก/URL

EN เจ้ำของผลงำน./(ปีที่พมิ พ์)./ชอื่ เรื่อง./Retrieved from/URL

บรรณำนุกรม สถำบนั สง่ เสรมิ กำรสอนวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2544). เรขำคณิตกบั กำร
ออกแบบ. สบื ค้นจำก https://www.scimath.org/ebook-
กำรอ้ำงองิ แบบแทรกในเนื้อหำ mathematics/item/7401-geometryindesign
กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote (สถำบันสง่ เสรมิ กำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี, 2560)
Reference Type (ประเภททรัพยำกร)
Author (ผแู้ ต่ง) Web Page
Year (ปีทีพ่ ิมพ์) สถำบนั ส่งเสรมิ กำรสอนวทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
Title (ชอ่ื เร่อื ง) 2560
URL เรขำคณิตกับกำรออกแบบ
สืบคน้ จำก https://www.scimath.org/ebook-mathematics/item/7401-
geometryindesign

2. Book Section (หนังสือรวมบทความหรือรวมเร่ือง)
ชื่อ/ชื่อสกลุ ./(ปที ่ีพิมพ์)./ช่ือเร่ือง./ใน/ชื่อบรรณำธิกำร/(บ.ก.),/ชอื่ หนงั สอื /(ครงั้ ที่พิมพ,์ /เลขหนำ้ )./

เมอื งทีพ่ มิ พ:์ /สำนกั พิมพห์ รือผู้จัดพมิ พ์.

บรรณำนกุ รม วนดิ ำ เหมะกลุ . (2555). กำรให้เหตผุ ลเชิงคณติ ศำสตร์. ใน คณติ ศำสตรส์ ำหรับ
เทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรสื่อสำร (หนว่ ยท่ี 4, น. 50-55). นนทบรุ :ี
กำรอำ้ งอิงแบบแทรกในเนื้อหำ สำขำวชิ ำวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี มหำวิทยำลัยสโุ ขทยั ธรรมำธิรำช.
กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote (วนดิ ำ เหมะกลุ , 2558, น. 50-55)
Reference Type (ประเภททรัพยำกร)
Book Section
Author (ผแู้ ตง่ ) วนิดำ เหมะกลุ ,
*เฉพำะผูแ้ ต่งคนไทย ใส่ , (จลุ ภำค) หลงั นำมสกลุ
Year (ปีทพ่ี ิมพ์)
Editor (ชอ่ื บรรณำธกิ ำร) 2555
Title (ชือ่ เร่ือง) ปรีชำ ชำ้ งขวญั ยนื , (ถำ้ มี)
Book Title (ชอ่ื หนังสอื ) กำรใหเ้ หตผุ ลเชิงคณิตศำสตร์
Edition (ครัง้ ที่พิมพ)์ ถ้ำมี คณติ ศำสตรส์ ำหรับเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสือ่ สำร
Place Published (เมืองที่พมิ พ)์ พิมพค์ รั้งที่ 2 *หำกเป็นกำรพมิ พ์ครัง้ ท่ี 1 ไมต่ อ้ งระบุ
Publisher (สำนกั พมิ พห์ รอื ผ้จู ัดพมิ พ)์ นนทบรุ ี
Chapter (ถ้ำม)ี สำขำวชิ ำวทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี มหำวทิ ยำลัยสุโขทยั ธรรมำธริ ำช
Note หน่วยท่ี 4, น. 50-55
Series Editor (ถ้ำม)ี ใน (ภำษำไทย) หรอื In (ภำษำองั กฤษ)
(บ.ก.) สำหรบั ภำษำไทย หรือ (Ed.) สำหรับภำษำองั กฤษ

3. บทความวารสาร
ชอ่ื ผเู้ ขยี นบทควำม./(ปี,/วัน/เดือน)./ชือ่ บทควำม./ชอ่ื วำรสำร,/ปที ่ี(ฉบบั ท)ี่ ,/เลขหน้ำ.

บรรณำนุกรม ปรดี ี ปลม้ื สำรำญ. (2554, กรกฎำคม-ธันวำคม). ควำมสำมำรถในกำรเขำ้ ถึง
ไดท้ ำงเว็บ. วำรสำรบรรณศำสตร์ มศว, 4(2), 95-106.

กำรอำ้ งอิงแบบแทรกในเนือ้ หำ (ปรดี ี ปลม้ื สำรำญ, 2545, น. 95-106)

กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote

Reference Type (ประเภททรพั ยำกร) Journal Article

Author (ผ้แู ต่ง) ปรีดี ปลม้ื สำรำญ,

Year (ปพี ิมพ)์ 2554

Research Notes (วนั เดือน) *ภำษำไทย กรกฎำคม-ธันวำคม *ถ้ำมี

(เดือน วัน) *ภำษำองั กฤษ

Title (ชอ่ื บทควำม) ควำมสำมำรถในกำรเข้ำถงึ ไดท้ ำงเว็บ

Journal (ชอ่ื วำรสำร) วำรสำรบรรณศำสตร์ มศว

Volume (ปีท่)ี 4

Issue (ฉบับที่) 2

Pages (เลขหนำ้ ) 95-106

4. บทความวารสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์

ชื่อผเู้ ขยี นบทควำม./(ปี,/วนั /เดอื น)./ชอื่ บทควำม./ชือ่ วำรสำร,/ปีที่(ฉบับท)่ี ,/เลขหนำ้ ./สืบค้นจำก/URL

พเิ ชษฐ์ พลพชิ ติ , และ ชลภสั ส์ วงษป์ ระเสริฐ. (2560, กรกฎำคม-ธนั วำคม).

บรรณำนุกรม วฒั นธรรมสำรสนเทศสุขภำพในชุมชนชนบทไทย. วำรสำรบรรณศำสตร์

มศว, 10(2), 63-77. สืบคน้ จำก

http://ejournals.swu.ac.th/index.php/jlis/article/view/9957/8448

กำรอำ้ งอิงแบบแทรกในเน้ือหำ (เชษฐ์ พลพชิ ิต, และ ชลภสั ส์ วงษ์ประเสรฐิ , 2560, น. 63-77)

กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote

Reference Type (ประเภททรัพยำกร) Electronic Article

Author (ผแู้ ต่ง) พเิ ชษฐ์ พลพชิ ติ ,

ชลภสั ส์ วงษป์ ระเสริฐ, *ผู้แตง่ คนท่ี 2 พมิ พบ์ รรทัดถดั มำ

Year (ปีพมิ พ)์ 2560

Research Notes (วนั เดอื น) *ภำษำไทย กรกฎำคม-ธนั วำคม *ถำ้ มี

(เดอื น วนั ) *ภำษำองั กฤษ

Title (ชื่อบทควำม) วัฒนธรรมสำรสนเทศสุขภำพในชุมชนชนบทไทย

Periodical Title (ช่อื วำรสำร) วำรสำรบรรณศำสตร์ มศว

Volume (ปที ่)ี 10

Issue (ฉบบั ท่ี) 2

Pages (เลขหนำ้ ) 63-77

URL สืบค้นจำก

http://ejournals.swu.ac.th/index.php/jlis/article/view/9957/8448

*ภำษำองั กฤษ เปล่ียนคำว่ำ “สืบค้นจำก” เปน็ “Retrieved from”

5. หนงั สือแปล

ช่อื ผเู้ ขยี นเดิม./(ปีท่ีพิมพ)์ ./ชื่อเร่ือง[ชอื่ เร่อื งเดิม]/(ครงั้ ทีพ่ ิมพ์)/(ชือ่ ผู้แปล)./เมืองท่ีพิมพ์:/

สำนักพมิ พ์,(ตน้ ฉบบั พิมพ์ พ.ศ. หรือ ค.ศ.)

ชูเมกเกอร์, อี. เอฟ. (2557). จวิ๋ แตแ่ จ๋ว: เศรษฐศำสตร์เชงิ พุทธ [Small is

บรรณำนกุ รม beautiful] (พิมพ์ครงั้ ท่ี 4) (สมบรู ณ์ ศภุ ศลิ ป์, ผแู้ ปล). นนทบุรี: สมติ .

(ต้นฉบับพิมพ์ ค.ศ. 1973)

กำรอ้ำงอิงแบบแทรกในเนอ้ื หำ (ชเู มกเกอร์, 2557, น. 15)

กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote

Reference Type (ประเภททรัพยำกร) Book

Author (ผแู้ ตง่ ) ชูเมกเกอร์ อ.ี เอฟ.,

Type of work ผ้แู ปล (ภำษำอังกฤษใช้ Trans.)

Translator (ผูแ้ ปล) สมบรู ณ์ ศภุ ศลิ ป์,

Year (ปที ่พี มิ พ)์ 2557

Title (ชื่อเรอื่ ง) จิ๋วแต่แจ๋ว: เศรษฐศำสตร์เชิงพุทธ

Series Title (ชือ่ เรือ่ งเดมิ ) [Small is beautiful : Economics as if people mattered]
Edition (ครง้ั ท่ีพมิ พ์) พมิ พ์ครงั้ ที่ 4
Place Published (เมอื งท่พี ิมพ)์ กรงุ เทพฯ
Publisher (สำนักพมิ พ์หรอื ผจู้ ัดพมิ พ)์ สมิต
Original Publication ตน้ ฉบบั พมิ พ์ ค.ศ. 1973 (ถ้ำม)ี

6. ปริญญานิพนธ์

6.1 รูปแบบฉบับพิมพ์ (ตัวเลม่ )

TH ชอ่ื ผแู้ ตง่ ./(ปพี ิมพ์)./ชอ่ื เร่ือง/(ปรญิ ญำนิพนธ์มหำบัณฑิต/ปรญิ ญำนิพนธ์ดุษฎีบณั ฑิต)./ช่ือสถำนศึกษำ,/ท่ีตง้ั .

EN Auther./(Year)./Title/( Master's thesis,/ Doctoral dissertation)./Institute,/Location.

บรรณำนกุ รม วิริยะ โภคำพันธ.์ (2558). กำรศกึ ษำและพัฒนำแบบทดสอบภำวะผนู้ ำเชิง
กำรอำ้ งองิ แบบแทรกในเนื้อหำ สรำ้ งสรรค์ของครู (ปริญญำนพิ นธ์ปรญิ ญำดุษฎบี ณั ฑติ ).
มหำวทิ ยำลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ, กรงุ เทพฯ.

(วิรยิ ะ โภคำพนั ธ,์ 2558, น. 40)

กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote

Reference Type Thesis
(ประเภททรัพยำกร)
Author (ผ้แู ตง่ ) วริ ยิ ะ โภคำพนั ธ,์
Year (ปีท่ีพมิ พ์) 2558
Title (ชอื่ เรื่อง) กำรศกึ ษำและพฒั นำแบบทดสอบภำวะผนู้ ำเชงิ สรำ้ งสรรค์ของครู
กรุงเทพฯ
Place Published (สถำนทีต่ ้ัง) มหำวทิ ยำลยั ศรีนครินทรวิโรฒ

University (มหำวทิ ยำลัย)

Degree (ระดับปรญิ ญำนิพนธ์) ปริญญำนพิ นธป์ รญิ ญำดุษฎบี ณั ฑติ (Doctoral dissertation)
หรือ ปรญิ ญำนิพนธ์ปริญญำมหำบณั ฑติ (Master's thesis)

6.2 รูปแบบออนไลน์

TH ชือ่ ผู้แต่ง./(ปพี ิมพ์)./ชอื่ เร่ือง/(ปรญิ ญำนิพนธป์ ริญญำมหำบณั ฑิต/ปรญิ ญำนพิ นธ์ปริญญำดษุ ฎบี ัณฑิต,/ชื่อ
สถำนศึกษำ,/ท่ีตง้ั )./สืบค้นจำก/URL

EN Auther./(Year)./Title/(Master's thesis,/Doctoral dissertation,/Institute,/Location)./Retrieved
from/URL

บรรณำนุกรม ธนำพงษ์ พรหมทัศน.์ (2560). กำรศกึ ษำครภู มู ิปญั ญำทอ้ งถน่ิ : กรณศี กึ ษำ
ครูสำเรงิ ภำคบญุ มี (ปรญิ ญำนิพนธป์ ริญญำมหำบณั ฑิต,
มหำวทิ ยำลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, กรุงเทพฯ). สบื คน้ จำก
http://search.swu.ac.th:1701/primoexplore/fulldisplay?docid

กำรอำ้ งองิ แบบแทรกในเน้ือหำ (ธนำพงษ์ พรหมทศั น.์ , 2560, น. 60)

กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote

Reference Type (ประเภททรพั ยำกร) Thesis

Author (ผ้แู ตง่ ) วรรณชนก รอดหยู่,

Year (ปีทพ่ี มิ พ)์ 2561

Title (ช่อื เรือ่ ง) รูปแบบกำรพฒั นำสโู่ รงเรยี นสอนคดิ

Academic Department

(มหำวิทยำลยั , สถำนทตี่ ้ัง) มหำวิทยำลยั ศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ

Thesis Type (ระดับปรญิ ญำนิพนธ)์ ปริญญำนิพนธ์ปริญญำดษุ ฎบี ณั ฑติ (Doctoral dissertation)

หรือ ปรญิ ญำนพิ นธป์ รญิ ญำมหำบณั ฑิต (Master’s thesis)

URL สืบคน้ จำก http://ils.swu.ac.th:8991/exlibris/aleph/a22_1/

apache_media/JAQPBVVBJXSY8VNIV4NY6RD6EQJUFB.pdf

*ภำษำอังกฤษ เปลย่ี นคำวำ่ “สืบค้นจำก” เป็น “Retrieved from”

*หมำยเหตุ

-ดุษฎนี พิ นธแ์ ละวิทยำนิพนธ์แบบตีพิมพเ์ ผยแพร่ตอ่ สำธำรณะอย่ำงเปน็ ทำงกำร

* มศว ใชค้ ำว่ำ ปริญญำนพิ นธ์ หำกเป็นของมหำวทิ ยำลยั อนื่ ใช้คำตำมทีป่ รำกฏบนตัวเลม่ เช่น วิทยำนิพนธ์ ใชค้ ำว่ำ วิทยำนิพนธ์
ปริญญำมหำบณั ฑติ หรือ วทิ ยำนพิ นธป์ ริญญำดุษฎบี ณั ฑติ และ สำรนพิ นธ์ ใช้คำว่ำ สำรนิพนธ์ปริญญำมหำบณั ฑติ หรอื สำรนพิ นธ์
ปริญญำดษุ ฎบี ณั ฑติ ภำษำอังกฤษใช้คำวำ่ Doctoral dissertation, Master's thesis

-แบบไมต่ พี ิมพเ์ ผยแพรต่ อ่ สำธำรณะอยำ่ งเป็นทำงกำร

* มศว ใชค้ ำว่ำ ปรญิ ญำนพิ นธป์ รญิ ญำมหำบณั ฑติ ฉบบั ไมต่ ีพมิ พ/์ ปรญิ ญำนิพนธ์ปริญญำดุษฎีบณั ฑติ ฉบับไม่ตีพมิ พ์ หำกเป็นของ
มหำวทิ ยำลยั อ่นื ใช้ที่ปรำกฏบนตวั เล่ม เช่น วิทยำนิพนธ,์ สำรนพิ นธ์ และตำมด้วย ปรญิ ญำมหำบณั ฑติ ฉบับไม่ตีพมิ พ/์ ปรญิ ญำดษุ ฎี
บณั ฑติ ฉบับไมต่ ีพมิ พ์ ภำษำอังกฤษใช้คำว่ำ Unpublished Doctoral dissertation, Unpublished Master's thesis

7. รายงานการวิจยั
TH ชอื่ /ชอ่ื สกุล./(ปีท่ีพิมพ)์ ./ชื่องำนวิจยั /(หมำยเลขประจำรำยงำน).(ถ้ำม)ี

EN ชือ่ สกลุ ,/ชอ่ื ต้น/ชือ่ กลำง./(ปที ่พี ิมพ์)./ชื่องำนวิจยั /(Report no.,Contract no.,Monograph no.).(ถำ้ มี)

บรรณำนุกรม สำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดลอ้ ม, และ
ศนู ย์วิจัยเศรษฐศำสตรป์ ระยุกต์. (2553). กำรจดั ทำรำยงำนแห่งชำตเิ พ่อื เสนอ
กำรอ้ำงองิ แบบแทรกในเนือ้ หำ ตอ่ UNFCCC (รำยงำนแหง่ ชำตฉิ บบั ท่ี 2)
กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote (สำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม, และ
Reference Type (ประเภททรพั ยำกร) ศนู ย์วิจยั เศรษฐศำสตร์ประยกุ ต์, 2553, น. 19)
Author (ผแู้ ต่ง)
Report
Year (ปที ี่พมิ พ์) สำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม
Title (ชอ่ื เรือ่ ง) ศนู ย์วจิ ัยเศรษฐศำสตรป์ ระยุกต์ (บรรทดั ที่ 2)
Report Number 2553
(หมำยเลขประจำรำยงำน) กำรจดั ทำรำยงำนแห่งชำติเพื่อเสนอตอ่ UNFCCC
URL (ลิงค์) *ถ้ำมี
รำยงำนแหง่ ชำติฉบบั ท่ี 2 *ถ้ำมี
สืบคน้ จำก...
Retrived from…

8. ราชกิจจานุเบกษา

TH ชื่อกฎหมำย./(ป,ี /วัน/เดือน)./รำชกจิ จำนุเบกษำ/(เลม่ .../ตอนที.่ ..,/เลขหน้ำ)./สบื คน้ จำก/(Url*ถำ้ ม)ี

EN ชือ่ กฎหมำย./(ป,ี /เดอื น/วัน)./รำชกิจจำนุเบกษำ/(เล่ม.../ตอนท.ี่ ..,/เลขหนำ้ )./Retrieved from/(Url*ถำ้ มี)

บรรณำนุกรมภำษำไทย พระรำชบญั ญัตวิ ำ่ ดว้ ยกำรกระทำควำมผิดเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550.
(2550, 4 มถิ ุนำยน). รำชกิจจำนุเบกษำ (เลม่ 24 ตอนที่ 27ก, น. 4-13).

กำรลงรำยกำรในโปรแกรม Report
EndNote
Reference Type พระรำชบญั ญัติวำ่ ด้วยกำรกระทำควำมผดิ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
(ประเภททรัพยำกร) 2550
4 มิถนุ ำยน
Author (ชื่อกฎหมำย) รำชกจิ จำนเุ บกษำ
เล่ม 24 ตอนที่ 27ก, น. 4-13
Year (ปีท่พี มิ พ์)
สบื ค้นจำก... *ถ้ำมี
Research Note

Title (ชือ่ เรอ่ื ง)
Report Number
(เลม่ /ตอนท่ี,/เลขหนำ้

URL (ลงิ ค)์

บรรณำนุกรมภำษำองั กฤษ White paper on e-education. (2004, August 26). National Gazette (No. 26734).
Retrieved from https://www.westerncape.gov.za/legislation/white-paper-e-
กำรลงรำยกำรในโปรแกรม education
EndNote
Reference Type Report
(ประเภททรพั ยำกร)
Author (ชอ่ื กฎหมำย) White paper on e-education
Year (ปที พ่ี ิมพ)์ 2004
Research Note August 26

Title (ชื่อเรอื่ ง) National Gazette
Report Number No. 26734
(เล่ม/ตอนท่ี,/เลขหน้ำ
URL (ลิงค)์ *ถ้ำมี Retrived from https://www.westerncape.gov.za/legislation/white-paper-e-
education

9. บทความ คอลัมน์ ขา่ วจากหนังสอื พิมพ์
TH ช่อื /ชื่อสกลุ ./(ปีพิมพ์,/วนั ที่/เดือน)./ช่อื บทควำมหรือชือ่ หัวข้อในคอลัมน.์ /ชื่อหนังสอื พิมพ์./หน้ำทตี่ พี ิมพ.์

EN ชอ่ื สกุล,/ชอื่ ตน้ /ชอ่ื กลำง./(ปีพมิ พ์,/วันท่/ี เดือน)./ช่อื บทควำมหรอื ชื่อหัวขอ้ ในคอลมั น์./ชือ่ หนังสอื พิมพ.์ /หนำ้ ที่
ตีพิมพ์.

บรรณำนุกรม นวลจนั ทร์ จินตนำพันธ์. (2546, 14 กมุ ภำพนั ธ์). ปรบั หนเี้ พ่ิมแรงขับเคล่อื น
เศรษฐกิจยงั่ ยนื . คมชดั ลึก, น. 15
กำรอ้ำงอิงแบบแทรกในเน้อื หำ (นวลจนั ทร์ จินตนำพันธ.์ , 2546, น. 15)
กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote
Reference Type (ประเภททรพั ยำกร) Newspaper Article
Reporter (ผู้เขยี น) นวลจันทร์ จนิ ตนำพันธ,์
Year (ปี, เดอื น วนั ) 2546, 14 กุมภำพันธ์
Title
(ช่อื บทควำมหรือชอื่ หัวขอ้ ในคอลมั น)์ ปรับหนีเ้ พ่ิมแรงขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ ย่งั ยนื
Newspaper (ช่ือหนงั สอื พิมพ์) คมชัดลกึ
Pages (หนำ้ ท่ตี พี ิมพ์) น. 15

10. เอกสารจัดพิมพ์ไม่เปน็ ทางการ (จุลสาร, แผน่ พับ, ใบปลวิ , เอกสารประกอบการสอน)

TH ช่อื /ชอื่ สกุล./(ปพี ิมพ์,/วนั ท/ี่ เดือน)./ช่ือบทควำมหรือชอื่ หัวขอ้ ในคอลัมน์./ชอื่ หนงั สือพมิ พ์./หนำ้ ทต่ี ีพิมพ.์

EN ช่ือสกลุ ,/ชื่อตน้ /ช่อื กลำง./(ปีพมิ พ์,/วนั ท/่ี เดอื น)./ช่อื บทควำมหรอื ชื่อหัวขอ้ ในคอลัมน.์ /ชือ่ หนงั สือพิมพ.์ /หน้ำที่
ตีพมิ พ.์

บรรณำนกุ รม แววตำ เตชำทวีวรรณ. (2557). ควำมรูพ้ ้ืนฐำนเกี่ยวกับกำรรสู้ ำรสนเทศ
[เอกสำรประกอบกำรสอน]. กรงุ เทพฯ: สำนกั นวัตกรรมกำรเรยี นรู้
กำรอำ้ งองิ แบบแทรกในเนอ้ื หำ มหำวิทยำลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ.
กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote (แววตำ เตำชำทววี รรณ, 2557, น. 19)
Reference Type (ประเภททรพั ยำกร)
Author (ผู้แตง่ ) Book
Year (ปีท่พี มิ พ์) แววตำ เตชำทวีวรรณ,
Title (ช่อื เรื่อง) 2557
Series Title (ประเภทเอกสำร) ควำมรู้พ้ืนฐำนเกยี่ วกับกำรรสู้ ำรสนเทศ
Place Published (เมอื งทพี่ ิมพ)์ [เอกสำรประกอบกำรสอน] หรือ จลุ สำร, แผน่ พบั , ใบปลวิ
Publisher (สำนกั พมิ พห์ รือผู้จัดพมิ พ)์ กรุงเทพฯ
สำนกั นวตั กรรมกำรเรยี นรู้ มหำวทิ ยำลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ

11. วัสดุสอื่ โสตทัศน์

ช่อื ผบู้ รรยำย ผ้พู ูด หรอื ผู้ขบั ร้อง(ถ้ำม)ี ./(ปีทผ่ี ลิต)./ช่อื ของวัสดุ [ประเภทของวสั ด]ุ ./สถำนท่ผี ลติ :/ผผู้ ลิต.

บรรณำนุกรม เบ็ญญำภำ โสภณ, และ กำญจนำพร สุวรรณ. (2555). เกมและกจิ กรรมกำรเลน่
ของเด็กปฐมวยั [ซดี ี]. กรุงเทพฯ: เบน็ ภำษำและศิลปะ
กำรอ้ำงอิงแบบแทรกในเน้อื หำ (เบ็ญญำภำ โสภณ และ กำญจนำพร สวุ รรณ, 2555)
กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote
Reference Type (ประเภททรพั ยำกร) Flim or Broadcast
Author (ผแู้ ต่ง) เบญญำภำ โสภณ,
กำญจนำพร สวุ รรณ, *บคุ คลท่ี 2
Year (ปที ี่พิมพ)์ 2555
Title (ชื่อเรอื่ ง) เกมและกิจกรรมกำรเลน่ ของเดก็ ปฐมวยั
Series Title (ประเภทวัสด)ุ [ซดี ี]

Place Published (สถำนทผ่ี ลิต) กรุงเทพฯ
Distributor (ผู้ผลิต) เบ็นภำษำและศลิ ปะ

12. เว็บไซต์
เอกสำรจำกเว็บไซต์ใหล้ งรำยกำรเชน่ เดียวกับประเภทเอกสำรนน้ั ๆ เชน่ หนงั สือ, บทควำม หำกมีรำยกำรทำง
บรรณำนุกรมไม่ครบ ให้พิจำรณำลงรำยกำรเทำ่ ทีป่ รำกฎ และตำมด้วยกำรระบุตัวระบุวตั ถดุ จิ ิทลั (DOI) ช่อื
ฐำนขอ้ มูล หรอื URL และไมใ่ ส่มหพั ภำค (.) ปดิ ทำ้ ย และไมต่ ้องระบวุ ันท่ีสืบค้น *ยกเว้นเว็บไซตท์ ี่เน้ือหำอำจมีกำร
เปลยี่ นแปลง เช่น เวบ็ วิกิ เปน็ ต้น

บรรณำนกุ รม ทบวงมหำวทิ ยำลยั . (2544). ประกำศทบวงมหำวทิ ยำลัย เรื่อง มำตรฐำนห้องสมดุ
สถำบนั อดุ มศึกษำ พ.ศ. 2544. สบื คน้ จำก
http://www.mua.go.th/users/hecommission/doc/law/ministrylaw/
1-31 library standard 2544.pdf

กำรอ้ำงอิงแบบแทรกในเน้อื หำ (ทบวงมหำวทิ ยำลัย, 2544) (เอกสำรจำกเว็บไซต์)

กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote

Reference Type (ประเภททรัพยำกร) Web Page

Author (ผู้แตง่ ) ทบวงมหำวิทยำลยั

Year (ปีทีพ่ ิมพ)์ 2544

Title (ช่ือเร่อื ง) ประกำศทบวงมหำวิทยำลัย เรือ่ ง มำตรฐำนหอ้ งสมดุ สถำบนั อุดมศึกษำ พ.ศ. 2544

สบื ค้นจำก http://www.mua.go.th/users/he-

URL commission/doc/law/ministrylaw/1-31 library standard 2544.pdf

*ภำษำองั กฤษ เปล่ียนคำว่ำ “สบื ค้นจำก” เป็น “Retrieved from”

13. การอ้างอิงจากการสัมภาษณ์ *ไมต่ ้องทำลงโปรแกรม EndNote
ใหร้ ะบชุ ื่อและนำมสกลุ ของผใู้ ห้สมั ภำษณ์ท่เี ป็นชำวไทยและชำวตำ่ งประเทศ จำกนน้ั ตำมดว้ ยคำวำ่ "การสอื่ สาร
สว่ นบคุ คล" (สาหรับภาษาไทย) หรือ "personal communication" (สาหรับภาษาอังกฤษ) และปิดท้ำยดว้ ย
วันเดือนปีทส่ี มั ภำษณ์ *กำรอ้ำงองิ จำกกำรสมั ภำษณ์ ไม่ต้องทาบรรณานุกรมท้ายเล่ม /ทารายการบรรณานกุ รม
ทา้ ยเลม่ เฉพาะการสมั ภาษณ์ทางประวัติศาสตร์

ตวั อยำ่ งภำษำไทย (สมศกั ด์ิ มิตรไมตรี, กำรสอ่ื สำรสว่ นบุคคล, 4 กุมภำพันธ์ 2556)
ตวั อยำ่ งภำษำอังกฤษ (Elliot Robbins, personal communication, January 4, 2001).

14. การอา้ งองิ สารสนเทศทุติยภูมิ
ใชใ้ นกรณที ี่ไม่สำมำรถหำตน้ ฉบับเอกสำรท่ีเปน็ แหลง่ ปฐมภูมไิ ด้ โดยใชค้ ำว่ำ "อา้ งถึงใน" สำหรับภำษำไทย และ
"as cited in" สำหรบั ภำษำองั กฤษ

ตวั อย่ำงภำษำไทย

กำรอ้ำงอิงแทรกในเนอ้ื หำ Gordon (1990 อำ้ งถงึ ใน วนั ชยั มีชำติ, 2548, น. 138) กลำ่ วว่ำ กำรติดต่อสือ่ สำร…

บรรณำนกุ รม วันชัย มชี ำติ. (2548). พฤติกรรมกำรบรหิ ำรองคก์ ำรสำธำรณะ. กรงุ เทพฯ: จฬุ ำลงกรณม์ หำวิทยำลัย.

กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote (ภำษำไทย)

Reference Type (ประเภททรัพยำกร) Book

Author (ผู้แตง่ ) วันชัย มีชำติ,

Year (ปีท่พี ิมพ)์ 2548

Title (ชือ่ เรื่อง) พฤติกรรมกำรบรหิ ำรองค์กำรสำธำรณะ

Edition (ครงั้ ทพ่ี มิ พ์) (ถำ้ ม)ี

Place Published (เมืองทพ่ี มิ พ์) กรงุ เทพฯ

Publisher (สำนักพิมพห์ รือผู้จัดพมิ พ์) จฬุ ำลงกรณ์มหำวิทยำลยั

พิมพ์ใส่ไวใ้ น prefix Gordon (1990 อำ้ งถงึ ใน (เวน้ 1 เคำะ)

ตัวอยำ่ งภำษำองั กฤษ ผลกำรวจิ ยั สอดคล้องกบั งำนวจิ ัยของวิลลิส (Willis, 1980, as cited in Teper,
กำรอำ้ งอิงแทรกในเนื้อหำ 2011 p.34)

บรรณำนุกรม Teper, J.A. (2001). Selection for digital preservation. Newbury Park, Ca: Sage.

กำรลงรำยกำรในโปรแกรม EndNote (ภำษำองั กฤษ)

Reference Type (ประเภททรัพยำกร) Book

Author (ผ้แู ต่ง) J.A. Teper

Year (ปีท่พี ิมพ)์ 2011
Title (ชื่อเรอ่ื ง) Selection for digital preservation
Edition (ครงั้ ทีพ่ ิมพ์) 2nd ed. (ถำ้ ม)ี
Place Published (เมอื งทีพ่ ิมพ์) Newbury Park, Ca
Publisher (สำนักพิมพห์ รือผ้จู ัดพมิ พ)์ Sage

ขัน้ ตอน
คลกิ ขวำท่ีรำยกำรอ้ำงอิงในเนื้อหำในไฟล์ word เลือก Edit Citation(s) >> More
พมิ พ์ในชอ่ ง prefix : 1990 อ้ำงถึงใน (เวน้ 1 เคำะ) หรือ Willis, 1980, as cited in (เว้น 1 เคำะ)

พมิ พ์ใสไ่ ว้ใน prefix Willis, 1980, as cited in (เวน้ 1 เคำะ)

15. การแทรกเลขหน้าในการอา้ งอิงแทรกในเนื้อหา

ข้ันตอน
เลือกรำยกำรอ้ำงอิงแทรกในเนือ้ หำทตี่ ้องกำรในไฟล์ word วำงเคอรเ์ ซอร์หลังปพี ิมพ์ และคลิกขวำ
เลอื ก Edit Citation(s) >> More พิมพ์ในชอ่ ง Pages = น. 9 *ภำษำไทย หรือ p. 9 / pp. 9-10 *ภำษำองั กฤษ

การแกไ้ ขการลงขอ้ มลู ในโปรแกรม EndNote *(กรณี Export .RIS จากฐานข้อมูลหอ้ งสมดุ )

หนังสอื ท่ัวไป

สง่ิ ทีต่ อ้ งแก้ไข

1. Author : ชอื่ ผู้แตง่ *(สำหรับผู้แต่งคนไทย) ให้ใส่ , (จุลภำค) หลงั นำมสกุล

Ex. อนวุ ตั ,ิ คูณแก้ว แกไ้ ขเปน็ อนุวัติ คูณแกว้ ,

2. Place Published : เมืองท่ีพิมพ์ ใส่ กรุงเทพฯ (หรือจงั หวัดอ่นื ๆ ทีป่ รำกฏในหนำ้ ปกใน)

Ex. กรงุ เทพฯ

นนทบรุ ี

3. Publisher : สานักพิมพห์ รือผจู้ ดั พิมพ์ ใส่ชือ่ สำนกั พิมพ์ทป่ี รำกฏในหน้ำปกใน ระบเุ ฉพำะชื่อสำนกั พมิ พ์

เท่ำนนั้ คำประกอบอื่นไมต่ ้องระบุ เช่น สำนกั พมิ พ,์ บรษิ ัท, Publisher, Publishing, Limited, Co.,Inc

เป็นตน้ *ยกเว้นสำนักพิมพ์ท่ีชือ่ เดยี วกบั หน่วยงำนให้ใสค่ ำวำ่ “สำนกั พมิ พ์” ลงไปดว้ ย เพ่อื ให้แตกต่ำงจำก

ชอ่ื หน่วยงำนนนั้

Ex. สำนักพิมพแ์ ห่งจุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลัย ลงว่ำ สำนักพิมพแ์ ห่งจฬุ ำลงกรณ์มหำวทิ ยำลัย

บริษัท ซีเอ็ดยเู คช่ัน จำกดั (มหำชน) ลงวำ่ ซเี อด็ ยเู คชั่น

สำนักพมิ พ์ไทยวัฒนำพำนิช ลงวำ่ ไทยวฒั นำพำนิช

*หำกไม่ปรำกฏสำนกั พิมพ์หรือหนว่ ยงำนผู้จัดพมิ พ์ ใหร้ ะบุหนว่ ยงำนทผ่ี ู้เขียนสงั กดั แทน

**ถำ้ ไมป่ รำกฏหน่วยงำนใดๆ ใหล้ งชือ่ โรงพิมพท์ ี่พมิ พ์หนังสือนัน้

เชน่ พมิ พ์ที่โรงพิมพค์ รุ ุสภำ ลงว่ำ โรงพมิ พ์ครุ ุสภำ

***ถำ้ ไมป่ รำกฏชอ่ื โรงพิมพด์ ้วย ใหร้ ะบคุ ำว่ำ “ม.ป.พ.” (ไมป่ รำกฏสำนกั พิมพ)์ สำหรับภำษำไทย หรือ
“n.p.” (No place) สำหรบั ภำษำอังกฤษ

4. Edition : ครง้ั ที่พิมพ์ *หำกเปน็ กำรพิมพ์ครงั้ ที่ 1 ไม่ต้องระบุ
Ex. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2
2nd ed. /3rd ed. /4th ed.

หนงั สอื แปล
ส่ิงทต่ี อ้ งแก้ไข

1. Author: ผแู้ ต่งเดิม คือ E.F.Schumacher ลงวำ่ ชูเมกเกอร์ อี เอฟ, *ตอ้ งแก้ไขในภำยหลงั คอื เติม ,
(จุลภำค) หลังคำว่ำ ชูเมกเกอร์ (เป็น ชเู มกเกอร,์ ) ในบรรณำนกุ รม และแก้ไขลบ อี เอฟ ออกจำกส่วนอำ้ งอิง
แบบแทรกในเนือ้ หำ
2. Type of Work พิมพ์คำว่ำ “ผูแ้ ปล” สำหรับหนงั สอื ภำษำไทย หรอื “Tran.” สำหรับหนงั สือ
ภำษำอังกฤษ
3. Translator ชอ่ื ผ้แู ปล ผแู้ ปลคนไทยใส่ , (จลุ ภำค) หลังนำมสกลุ
*นอกน้ันลงข้อมูลเหมือนกบั กำรลงรำยกำรของหนงั สอื

บทความวารสาร
ส่งิ ทีต่ ้องแก้ไข

1. Year : ปี วัน เดอื น เช่น 2552
2. Note : วนั เดือน เชน่ สิงหำคม–กันยำยน *(ถ้ำมี)
2. Journal : ใสเ่ ฉพำะช่ือวำรสำร เชน่ สง่ เสรมิ เทคโนโลยี
3. Volume : ปที ี่ เชน่ 36
4. Issue : ฉบับที่ เชน่ 206
5. Page : หนำ้ เช่น 39-42

ปรญิ ญานพิ นธ์

ส่ิงทต่ี อ้ งแก้ไข

1. Author : ช่อื ผู้แตง่ *(สำหรับผ้แู ต่งคนไทย) ให้ใส่ , (จุลภำค) หลงั นำมสกุล
Ex. เสกศลิ ป,์ พิชโญภำสกลุ แกไ้ ขเปน็ เสกศลิ ป์ พิชโญภำสกุล,

2. Place Published : เมืองท่ีตั้ง ใส่ กรุงเทพฯ (หรอื จังหวัดอื่นๆ ทป่ี รำกฏในหนำ้ ปกใน)
Ex. กรุงเทพฯ

3. University : ชื่อสถำนศึกษำ
Ex. มหำวิทยำลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ

4. Degree : ระดับของปริญญำนพิ นธ์
Ex. Doctoral dissertation / Unpublished Doctoral dissertation
Master’s thesis / Unpublished Master's thesis
ปรญิ ญำนพิ นธป์ รญิ ญำมหำบัณฑิต / ปรญิ ญำนิพนธป์ รญิ ญำดษุ ฎีบณั ฑติ ฉบับไม่ตีพิมพ์
ปรญิ ญำนิพนธ์ปรญิ ญำดุษฎีบัณฑิต / ปรญิ ญำนิพนธป์ ริญญำมหำบณั ฑิตฉบับไมต่ ีพิมพ์
วทิ ยำนพิ นธ์ปริญญำมหำบัณฑิต
(*มศว ใช้คำว่ำปริญญำนิพนธ์)

5. URL : ลงิ ค์จำกเว็บไซต์
Ex. สืบคน้ จำก... (สำหรบั ภำษำไทย) ตำมดว้ ย URL
Retrieved from… (สำหรับภำษำอังกฤษ) ตำมด้วย URL

บรรณานกุ รม
นนั ทพร ธนะกูลบริภณั ฑ.์ (2558). กำรอ้ำงอิงกำรเขียนรำยกำรเอกสำรอ้ำงองิ ตำมแบบ APA

ฉบบั พมิ พค์ รั้งท่ี 6. นนทบรุ :ี มหำวทิ ยำลยั สโุ ขทยั ธรรมำธิรำช.
แววตำ เตชำทววี รรณ. (2559). กำรรสู้ ำรสนเทศสำหรบั กำรเรียบเรียงโครงงำน (พิมพ์คร้ังที่ 3).

กรงุ เทพฯ: ภำควชิ ำบรรณำรกั ษศำสตรแ์ ละสำรสนเทศศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.
American Psychological Association. (2010). Publication manual of the American

Psychological Association. (6th ed.). Washington, DC: Author.

จดั ทำโดย: บรกิ ำรตอบคำถำมฯ ฝ่ำยบรกิ ำรทรัพยำกรสำรสนเทศ
สำนักหอสมดุ กลำง มศว
เมษำยน 2562

ประวตั ผิ ู้เขียน

รปู ภาพ

ช่อื -นามสกุล (ภาษาไทย) .................................................................................................................................

ตาแหน่งทางวิชาการ ............................................................................................................................. ....

ทีท่ างาน ........................................................................................................... ......................

ทีอ่ ยู่ปัจจุบัน ............................................................................................................................. ....

เบอร์โทรศัพท์ .................................................................................................................................

Email: .................................................................................................................................

คุณวุฒิ สาขาวิชา และสถาบันท่สี าเร็จการศึกษา (เรยี งจากระดบั ปริญญาตรี ปริญญาโท และปรญิ ญาเอก)

วฒุ ิการศกึ ษา คณุ วุฒ/ิ สาขาวชิ า สถาบนั ปที ส่ี าเรจ็

ความเช่ยี วชาญ
............................................................................................................................. ....

ประวัตกิ ารทางาน
............................................................................................................. ..............................................................

งานวจิ ยั (เขยี นตามรูปแบบบรรณานุกรม)
งานวิจยั ทีเ่ สนอเพีอ่ จบการศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาเอก
............................................................................................................................. ..............................................

16

งานวิจยั ทไ่ี ด้ดาเนินการระหวา่ งปฏบิ ัติงาน
..................................................................................................................................................................... .......

งานบริการวิชาการ
......................................................................................................... ..................................................................

ผลงานทางวิชาการ (เขยี นตามรปู แบบบรรณานุกรม)
1. บทความวิจัย

1.1 บทความวิจยั ตีพมิ พใ์ นวารสารวชิ าการระดับชาตแิ ละนานาชาติ
...........................................................................................................................................................................
1.2 บทความทีไ่ ด้รบั การตพี ิมพฉ์ บับเต็มจากการประชมุ วชิ าการระดับชาติหรอื นานาชาติ
............................................................................................................................. ..............................................
2. ผลงานวิชาการในลกั ษณะอน่ื (เขียนตามรูปแบบบรรณานกุ รม)
บทความวชิ าการ
......................................................................................................................................... ..................................
3. ตารา/หนังสอื (เขียนตามรูปแบบบรรณานกุ รม)
...........................................................................................................................................................................

17

แบบฟอรม์ เอกสารประกอบการสอน/คาสอน สาหรับดาวน์โหลด

1. การเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเป็นรายคร้ัง หากแผนการสอนนั้น ๆ มีเนื้อหาสาหรับใช้สอนใน
ครั้งเดียวใช้แบบฟอรม์ ดังตอ่ ไปน้ี

https://drive.google.com/file/d/1H80Ib6uODTSyEamSptKesVcC9oadoIrC/view?usp=sharing

2. การเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเป็นรายคร้ัง หากแผนการสอนน้ัน ๆ มีเน้ือหาสาหรับใช้สอน
มากกว่า 1 คร้ัง โดยทุกคร้ังมีวัตถุประสงค์, เน้ือหา, การจัดประสบการณ์การเรียนรู้, สื่อการสอน, การประเมินผล
เหมอื นกันใชแ้ บบฟอร์มดงั ตอ่ ไปนี้

https://drive.google.com/file/d/13wR8SPASS6aFJDsW__V69IEHRgX_GqIL/view?usp=sharing

3. การเขยี นเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเปน็ รายครั้ง หากแผนการสอนน้ัน ๆ มเี นื้อหาสาหรับใช้สอนมากกว่า
1 ครั้ง โดยทกุ ครั้งมีวัตถุประสงค์, เนื้อหา, การจดั ประสบการณ์การเรียนร้,ู สือ่ การสอน, การประเมินผล ทีไ่ มเ่ หมือนกัน
สามารถใช้แบบฟอร์มดงั ต่อไปน้ี

https://drive.google.com/file/d/1O6-L8lgD4NcH5qB4ALGjf9aJ_Mwi0ZO4/view?usp=sharing

4. การเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเป็นบท หากบทน้ัน ๆ มีเน้ือหาสาหรับใช้สอนในคร้ังเดียวใช้
แบบฟอร์มดังตอ่ ไปน้ี

https://drive.google.com/file/d/1OPVPkMEER-r7NWdn6prI65ZFD9RMwbM2/view?usp=sharing

5. การเขยี นเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเป็นบท หากบทนนั้ ๆ มีเนอ้ื หาสาหรับใชส้ อนมากกวา่ 1 ครั้ง โดย
ทุกคร้งั มีวัตถุประสงค,์ เน้ือหา, การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้, ส่ือการสอน, การประเมนิ ผล เหมือนกันสามารถใช้
แบบฟอร์มดังตอ่ ไปน้ี

https://drive.google.com/file/d/1yu3wn6XkhIVehxsQ1oGpoUG3UsMYVT35/view?usp=sharing

6. การเขียนเอกสารประกอบการสอน/คาสอนเปน็ บท หากบทน้นั ๆ มเี นอ้ื หาสาหรบั ใช้สอนมากกว่า 1 ครั้ง โดยทุก
คร้ังมีวัตถุประสงค์, เนื้อหา, การจัดประสบการณ์การเรียนรู้, ส่ือการสอน, การประเมินผล ท่ีไม่เหมือนกันสามารถใช้
แบบฟอร์มดังต่อไปน้ี

https://drive.google.com/file/d/1AGiwFQBIBXL12rsIXTd29E_5AS0PJHfF/view?usp=sharing

7. แบบประวัติผู้เขียน

https://drive.google.com/file/d/1jyJ1qi6kK7HuR6fMWow85zAVAc9jdX6f/view?usp=sharing


Click to View FlipBook Version