The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผน ปี 62 กศน.ตำบลแม่ต๋ำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sakhrit2520, 2021-11-25 01:37:23

แผน ปี 2564 กศน.ตำบลแม่ต๋ำ

แผน ปี 62 กศน.ตำบลแม่ต๋ำ

แผนปฏบิ ัติการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กศน.ตาบลแม่ตา

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งพะเยา
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดพะเยา

สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

การอนุมัตแิ ผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองพะเยา
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดพะเยา
เพอ่ื ใหก้ ารบริหารจัดการการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตาบลแม่ตา บรรลุเปูาประสงค์
ตามท่ี สานักงาน กศน.จังหวัดพะเยากาหนด จึงได้มีการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256 4
ซ่ึงประกอบไปด้วยข้อมูลพ้ืนฐาน ทิศทางการดาเนินงานของ กศน.อาเภอเมืองพะเยา สานักงาน กศน.จังหวัด
พะเยา และแผนงานโครงการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวมทั้งส้ิน 9 โครงการ โดยจัดการศึกษาบรรลุ
ตาม ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานของ สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ทั้งน้ี ตั้งแต่
วันที่ 29 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. 256๓

ลงชื่อ.....................................................................ผ้เู สนอ
( นายธนธัส ใจยนื )
ครู กศน.ตาบลแมต่ า

ลงชอ่ื ...................................................................ผเู้ ห็นชอบ
(นายอุดม ไชยเหลก็ )

ประธานคณะกรรมการ กศน.ตาบล

ลงชอื่ ...................................................................ผอู้ นมุ ัติ
( นางจารณุ ี แกว้ ประภา)

ตาแหน่ง ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเมอื งพะเยา

คานา

แผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตาบลแม่ตา สังกัด กศน.อาเภอเมืองพะเยา จัดทา
ข้ึนตามบทบัญญัติของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ.2564
มาตรา 16 ทก่ี าหนดให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ เป็นแผนสี่ปีที่สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการ
แผ่นดิน และให้จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี โดยให้ระบุสาระสาคัญเก่ียวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของ
ส่วนราชการ เปูาหมายและผลสัมฤทธ์ิของงาน รวมทั้งประมาณการรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรอื่นที่จะต้อง
ใช้โดย กศน.ตาบลแม่ตา สังกัด กศน.อาเภอเมืองพะเยาได้นานโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 สานักงาน กศน. มาเป็นกรอบในการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564

สาระของแผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2564 ของ กศน.ตาบลแม่ตา สังกัด กศน.อาเภอเมือง
พะเยา แสดงใหเ้ หน็ สรุปภาพรวมงานโครงการ กิจกรรม เปูาหมาย และงบประมาณท่ีดาเนินการในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ของสถานศึกษาทจ่ี ะขบั เคลอ่ื นงานตามบทบาทภารกจิ หลักของสานกั งาน กศน.จังหวัดพะเยาให้บรรลุ
วิสัยทัศน์ของ กศน.อาเภอเมืองพะเยา “ประชาชนในอาเภอเมืองพะเยา ได้รับการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษา
อาชพี เพ่อื การมงี านทาที่มีคณุ ภาพไดท้ กุ ท่ี ทุกเวลา อยา่ งทวั่ ถึงและเท่าเทยี มกัน เพ่อื ใหเ้ กิดสังคมฐานความรู้ การมี
อาชพี และการมีความสามารถเชิงการแข่งขนั ในประชาคมอาเซยี นอย่างยั่งยนื ”

กศน.ตาบลแม่ตา สังกัด กศน.อาเภอเมืองพะเยา ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ท่ีให้ความร่วมมือในการ
จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับน้ีจนสาเร็จได้เป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จะเป็นแนวทางในการบริหาร/โครงการ และงบประมาณของ
สถานศกึ ษา ตลอดจนเป็นเครื่องมอื ในการกากับติดตามผลการดาเนินงานของบุคลากรของสถานศึกษา รวมทั้งเป็น
ขอ้ มูลสาหรบั หน่วยงานและผูส้ นใจกิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ตอ่ ไป

ลงชอื่ ...................................................................
( นายธนธัส ใจยืน )
ครู กศน.ตาบลแม่ตา

สารบญั หน้า
1
การอนุมัตแิ ผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 2
คานา 4
สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพ้นื ฐานของกศน.ตาบล 5
11
1. ข้อมูลพ้ืนฐานของกศน.ตาบล 16
ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลพืน้ ฐานเพอ่ื การวางแผน 37
สว่ นที่ 3 ทศิ ทางการดาเนนิ งาน
สว่ นท่ี 4 รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ
ประกอบดว้ ยแบบฟอร์มดงั ต่อไปนี้

4.1 บญั ชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
4.2 แบบ กศน.กผ.-01
4.3 แบบ กศน.กผ.-02
4.4 แผนการจัดกศน.จาแนกตามกลุ่มเปาู หมาย
4.5 แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ จาแนกตามไตรมาส
4.6 โครงการ

ส่วนที่ 1
ข้อมลู พนื้ ฐาน

สว่ นที่ 1
ขอ้ มูลพื้นฐานของกศน.ตาบล

1. ชื่อกศน.ตาบล กศน.ตาบลแมต่ า
2. ทตี่ ้ัง/การตดิ ตอ่ วัดเมอื งชุม 467/1 ถนน พหลโยธนิ ตาบลแมต่ า อาเภอเมืองพะเยา

จงั หวัดพะเยา รหสั ไปรษณีย์ 56000
E-mail nfempp@ hotmail.com Website www.meatum.nfempy.com
3. สังกดั ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเมืองพะเยา สานกั งานกศน.จังหวัดพะเยา
4. ประวตั คิ วามเป็นมาของกศน.ตาบล
4.1 ประวัติของ กศน.ตาบลแมต่ า
ภายในปี 2540 มีนโยบายให้จัดตั้งศูนย์การเรียนชุมชนตาบลแม่ตา เป็นสถานท่ีดาเนินกิจกรรมการเรียน
การสอนให้กับนักศึกษาในพ้ืนท่ี สถานที่ต้ังเดิมเป็นศาลารวมน้าใจของวัดเมืองชุม ซึ่งใช้ประโยชน์ในการทากิจกรรม
ต่างๆ ของชุมชนวัดเมืองชุม ซึ่งได้ทาการสร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2541 ต่อมาได้มีนโยบายให้มีการจัดต้ัง กศน.ตาบล
ตามหนังสือสานักงาน กศน.ที่ ศธ.0210.02/3267 ลงวันที่ 4 กันยายน 2552 เรื่อง การดาเนินงานจัดตั้ง กศน.
ตาบล สานกั งาน กศน. โดยเลขาธกิ าร กศน. (นายอภิชาติ จริ ะวุฒิ) ไดส้ งั่ การให้ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัด/
กทม. ดาเนินการปรับศูนย์การเรียนชุมชนในทุกตาบลให้เป็น กศน.ตาบล เพื่อจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือประโยชน์ต่อประชาชนโดยท่ัวกัน ซ่ึง กศน.ตาบลแม่ตา ได้รับความอนุเคราะห์จากเจ้า
อาวาสวัดเมืองชุม ให้ใช้ศาลารวมน้าใจ เป็นศูนย์การเรียนชุมชนตาบลแม่ตา เม่ือวันที่ 5 กรกฎาคม 2553 จนถึง
ปจั จุบนั

ข้อมูลด้านการบริหาร
ทาเนยี บครู กศน.ตาบล

ลาดบั ที่ ชอื่ -สกลุ ตาแหน่ง ดารงตาแหน่ง รวมระยะเวลา
1. นางจารณุ ี แกว้ ประภา ผ้อู านวยการ ผอู้ านวยการ
2. นางนาตยา ทุนกลุ ครู ผู้ช่วย ครผู ชู้ ว่ ย
3. นางสาวเมธาพร ฝอยทอง บรรณารกั ษ์ปฏบิ ัตกิ าร บรรณารักษ์ชานาญการ
4. นางกฤตกรณ์ ธนะเพทย์ ครอู าสาสมคั ร กศน. ครอู าสาสมัคร กศน.
5 นายธนธสั ใจยืน ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล

2.2 ข้อมูลนกั ศกึ ษา
ปจั จุบันมีขอ้ มูลนักศกึ ษา (ขอ้ มูล ณ วันที่......30 พฤศจกิ ายน 2563...........) ดังนี้

- จานวนนกั ศึกษาในเขตพน้ื ทบ่ี ริการท้งั หมด….๖0...คน

ลาดบั ท่ี ระดบั การศึกษา จานวน (คน) ตอ้ งการเรียน ไมต่ อ้ งการเรียน หมายเหตุ
1. ผไู้ มร่ ู้หนงั สือ 140 - -
2. ก่อนประถม (อ่านออกเขยี นได)้ 255 -
3. ประถมศกึ ษา 1,200 255 -
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 404 1,200 -
5. มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 750 404 -
6. สงู กว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย 1,205 750
785 420

ข้อมลู นักศกึ ษาระดบั ตาบล

1. ข้อมลู ผู้เรียนการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

ภาคเรียนท่ี ๒ /25๖3

จานวนนกั ศึกษา (คน)

ระดบั การศกึ ษา ชาย หญิง รวม จานวนผู้คาดว่าจะจบการศึกษา
2 -
ประถมศึกษา 11 30 4

มธั ยมศึกษาตอนต้น 12 18 26 4

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 18 9 58 8

รวม 31 28

ภาคเรียนที่ 1/2564 จานวนนกั ศึกษา (คน) จานวนผูจ้ บการศกึ ษา
ชาย หญิง
ระดบั การศึกษา ชาย หญงิ รวม รวม
-- -
ประถมศึกษา 11 2 12 4
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 11 13 24
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 91 10
รวม 29 14 42
10 3 14
41 28 68

2. ข้อมลู ผู้ไม่รูห้ นังสือ

จ า น ว น ผู้ ไ ม่ รู้ ดาเนินการแล้ว อ ยู่ ร ะ ห ว่ า ง หมายเหตุ

ที่ ตาบล หนังสือ (คน) (คน) ดาเนินการ (คน)
1 แม่ตา
140 - -
รวมทง้ั สน้ิ
140 - -

3. ข้อมลู คนพิการในตาบลแมต่ า

ท่ี ตาบล จานวนคนพิการ จัดการศึกษาขั้น จบการศึกษาข้ัน หมายเหตุ
1 แม่ตา (คน) พื้นฐาน (คน) พืน้ ฐาน (คน)

รวม 221 - 176

221 - 176

เขตพ้ืนทบ่ี รกิ ารม.ี ............1...................ตาบลและ ......................5............ชุมชนได้แก่

ลาดับท่ี ตาบล จานวนชุมชน

1. แม่ตา ชุมชนวดั ปาุ ลานคา

2. แมต่ า ชมุ ชนรม่ โพธิท์ อง

3. แม่ตา ชุมชนวัดภูมินทร์

4. แมต่ า ชมุ ชนวดั อินทร์ฐาน

5. แม่ตา ชมุ ชนวัดเมืองชมุ

2. ขอ้ มลู บุคลากร รายละเอียด

ท่ี ประเภทบคุ ลากร ชือ่ ตาแหน่ง การศกึ ษา
1 ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ปรญิ ญาโท
2 ข้าราชการ นางจารณุ ี แก้วประภา ผอู้ านวยการ ปริญญาโท
3 ข้าราชการ ปริญญาโท
4 พนักงานราชการ นางสาวเนตรนภา ประเสรฐิ สังข์ ครู ผ้ชู ว่ ย
5 พนกั งานราชการ ปรญิ ญาตรี
นางสาวเมธาพร ฝอยทอง บรรณารักษป์ ฏิบัตกิ าร
ปริญญาตรี
นางกฤตกรณ์ ธนะเพทย์ ครูอาสาสมคั ร กศน.

นายธนธสั ใจยนื ครู กศน.ตาบล

3. แหลง่ เรียนรแู้ ละเครือข่าย
1)แหลง่ เรยี นรู้ กศน.ตาบลและศรช.

ท่ี ช่ือกศน.ตาบล / ศรช. ทีต่ ้งั ผรู้ บั ผิดชอบ
1 กศน.ตาบลแมต่ า
วัดเมืองชุม 467/1 ถนน พหลโยธิน ตาบล นายธนธสั ใจยืน
แม่ตา อาเภอเมอื งพะเยา จงั หวัดพะเยา

2) ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น

ที่ ชือ่ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ความสามารถและประสบการณ์ ทอี่ ยู่

1 นางฟองจันทร์ สายแปง การทอผ้าพื้นเมือง 106 ชุมชนวดั อินทร์ฐาน ต.แม่ตา อ.เมอื งพะเยา

จ.พะเยา

2 นางฟองนวล เสมอเช้อื การจกั สานไม้กวาดดอกหญา้ 234 ชมุ ชนวดั เมอื งชมุ ต.แมต่ า อ.เมืองพะเยา

จ.พะเยา

3 นางจันทรฟ์ อง ศรีวิชยั มลู การทาบายศรี 394/2 ชุมชนวัดอินทร์ฐาน ต.แม่ตา อ.เมือง

พะเยา จ.พะเยา

4 นางทตั ร์ ทองนลิ การทากลว้ ยฉาบ (สูตรโบราณ) 19 ชมุ ชนวัดปาุ ลานคา ต.แม่ตา อ.เมอื งพะเยา

จ.พะเยา

5 นางยพุ ิน งานดี การสานยอด้วยไหมเอ็น 2 ชมุ ชนวัดปาุ ลานคา ต.แมต่ า อ.เมอื งพะเยา

จ.พะเยา

6 นายชูชาติ เฉลมิ วัฒน์ ศลิ ปะการทากาแล 469/1 ชุมชนวดั เมืองชุม ต.แม่ตา อ.เมืองพะเยา

จ.พะเยา

3) บ้านหนงั สอื ชมุ ชน

ลาดบั ท่ี ทต่ี ัง้ ชอื่ เจา้ ของบา้ น

1 ชุมชนวัดอินทร์ฐาน บ้านเลขท่ี 62 ตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา นางนภสั สร ธรุ ะ

จงั หวัดพะเยา

2 ชมุ ชนวดั ภูมินทร์ ตาบลแมต่ า อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา น.ส.อาไพ ผลดี

4) แหลง่ เรยี นรอู้ นื่

ที่ แหล่งเรยี นรู้อื่น ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ทีอ่ ยู่

1 เศรษฐกิจผสมผสานและเกษตร เศรษฐกิจผสมผสานและเกษตร บ้านร่มโพธ์ทิ อง ตาบลแม่ตา

ทฤษฎีใหม่ ทฤษฎใี หม่ อ.เมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

2 กลุ่มออมทรพั ย์ชุมชน กลุ่มออมทรัพยช์ ุมชน ชมุ ชนวดั ปาุ ลานคา ตาบลแม่ตา

อ.เมอื งพะเยา จงั หวดั พะเยา

3 กลมุ่ ประดษิ ฐด์ อกไม้แหง้ กลุ่มประดิษฐด์ อกไมแ้ หง้ ชมุ ชนวัดปาุ ลานคา ตาบลแม่ตา

อ.เมอื งพะเยา จงั หวดั พะเยา

4 กลุ่มไมก้ วาดดอกหญ้า กลุ่มไม้กวาดดอกหญา้ ชุมชนวัดอินทร์ฐาน ตาบลแม่ตา

อ.เมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

5 กล่มุ ปุย๋ หมกั ชีวภาพ กลุ่มปุ๋ยหมกั ชีวภาพ ชมุ ชนวัดปุาลานคา ตาบลแมต่ า

อ.เมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา

6 กลุ่มตัดเย็บพรมเชด็ เทา้ กลุ่มตดั เย็บพรมเชด็ เท้า ชมุ ชนวัดปุาลานคา ตาบลแมต่ า

อ.เมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา

7 กลมุ่ ทอผ้าพนื้ เมือง กลุ่มทอผ้าพ้นื เมือง ชุมชนวัดอินทร์ฐาน ตาบลแมต่ า

อ.เมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา

8 กลมุ่ ประดิษฐด์ อกไม้แหง้ กลุ่มประดษิ ฐ์ดอกไมแ้ ห้ง ชุมชนวดั เมืองชมุ ตาบลแมต่ า

อ.เมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา

9 กลุ่มการทากระเป๋าผ้าด้นมือ กล่มุ การทากระเป๋าผ้าด้นมอื ชมุ ชนวัดเมอื งชมุ ตาบลแมต่ า

อ.เมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา

5) ภาคเี ครอื ขา่ ย

ที่ ภาคีเครอื ข่าย ทอี่ ยู่/ที่ตงั้

1 เทศบาลเมอื งพะเยา ตาบลเวยี ง อ.เมอื งพะเยา จังหวัดพะเยา

2 สานักงานสาธารณสุขอาเภอเมืองพะเยา ตาบลแมต่ า อ.เมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

(หน่วยยอ่ ย)

3 วัดเมืองชุม 467/1 ตาบลแม่ตา อ.เมอื งพะเยา จังหวัดพะเยา

4 วดั อินทร์ฐาน 106 ตาบลแม่ตา อ.เมอื งพะเยา จงั หวดั พะเยา

5 วดั ปาุ ลานคา 88 ถนนแม่ตาสายใน ตาบลแมต่ า อ.เมืองพะเยา จังหวดั พะเยา

6 วัดภมู ินทร์ 222 ถนนแมต่ าสายใน ตาบลแม่ตา อ.เมืองพะเยาจงั หวัดพะเยา

7 โรงเรียนเทศบาล 2 (แมต่ าดรุณเวทย)์ 285 ซ. ถ.พหลโยธิน ตาบลแม่ตา อ.เมอื งพะเยา จังหวัดพะเยา

8 โรงเรยี นเทศบาล 4 (ภูมินทร์ราษฎรน์ กุ ลู ) 214 ถ. แมต่ า่ สายใน ตาบลแม่ตา อ.เมอื งพะเยา จังหวัดพะเยา

9 อปพร.ตาบลแมต่ า ตาบลแม่ตา อ.เมอื งพะเยา จังหวดั พะเยา

10 ชมรมประธานชมุ ชนเทศบาลเมอื งพะเยา ตาบลแมต่ า อ.เมอื งพะเยา จังหวดั พะเยา

11 ชมรมผสู้ ูงอายตุ าบลแม่ตา ตาบลแมต่ า อ.เมืองพะเยา จังหวดั พะเยา

12 ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนตาบล ตาบลแม่ตา อ.เมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

แมต่ า

โครงสร้างสถานศกึ ษา

โครงสรา้ ง กศน.ตาบล

ผ้อู านวยการ
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั

...................................

งานอานวยการ งานจัดการศ
นายธนธสั ใจยนื นายธนธสั

- งานการเงนิ - งานการศึกษาข้ันพ
- งานบัญชี - งานการจัดการศึกษ
- งานพัสดุ - งานการจัดการศกึ ษ
- งานธรุ การ - งานการจัดการศึกษ
- งานอาคารสถานที่
- งานแผนงานงบประมาณ สังคมและชุมชน
- งานข้อมูล / สารสนเทศ - โครงการจดั กระบว
- งานรายงานตามตัวชีว้ ัด และคารับรองการ
เพ่ือพัฒนาเศรษฐก
ปฏบิ ตั ริ าชการ - งานการจดั การศึกษ
- งานการประกันคณุ ภาพสถานศกึ ษา - งานกิจกรรม / โคร
- งานการนเิ ทศตดิ ตามผลประเมนิ ผล - งานการสง่ เสรมิ กา
- งานองค์กรเครอื ข่า
การศึกษา

ธยาศัยอาเภอเมืองพะเยา คณะกรรมการ กศน.ตาบล
.

ศกึ ษา กศน. งานภาคเี ครอื ขา่ ย
ใจยืน นายธนธสั ใจยืน

พื้นฐาน - ประสานงาน สนบั สนนุ
ษาเพื่อพฒั นาอาชพี สง่ เสรมิ ร่วมจัดกจิ กรรม
ษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะชวี ติ กศน.
ษาเพ่ือพัฒนา
- ให้ความรว่ มมอื ในการจดั
วนการเรยี นรู้ กจิ กรรมภาคเี ครือข่าย
กจิ พอเพยี ง
ษาตามอัธยาศยั
รงการพิเศษ
ารรหู้ นงั สอื
าย

ส่วนท่ี 2
ข้อมูลพ้นื ฐานเพ่ือการวางแผน

1. ข้อมูลตาบล
1.1สภาพทางกายภาพ
1) ขนาดพ้นื ที่

2) ทตี่ งั้ และอาณาเขตติดต่อ

ทศิ เหนือ ติดต่อตาบลเวียง อาเภอเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา
ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับตาบลแม่กา อาเภอเมอื งพะเยา จังหวัดพะเยา
ทิศตะวันตก ติดต่อกบั ตาบลแม่ใส อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
ทิศตะวันออก ตดิ ตอ่ ตาบลท่าวังทอง อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา

ตาบลแม่ตา ปจั จบุ ันมีเนอ้ื ท่ี 9 ตารางกิโลเมตร หรอื 5,625 ไร่

- พกิ ดั ที่ต้ัง กศน.ตาบล ละตจิ ดู ที:่ 19.157083 ลองจิจดู ท่:ี 99.914605

3) ลักษณะทางกายภาพ / สภาพภูมิประเทศ
เป็นที่ราบมีแหล่งน้าตามธรรมชาติขนาดใหญ่ซ่ึงกรมการประมงได้จัดให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุปลาน้าจืด

และเป็นทีท่ อ่ งเที่ยวทสี่ าคญั ของจงั หวัดพะเยา คือ "กว๊านพะเยา" มีเนื้อทีป่ ระมาณ 5,625 ไร่

ตาบลแม่ตาประกอบดว้ ยชุมชน 5 ชุมชน
1. ชุมชนวัดปาุ ลานคา
2. ชมุ ชนร่มโพธท์ิ อง
3. ชุมชนวดั ภูมินทร์
4. ชุมชนวัดอินทรฐ์ าน
5. ชมุ ชนวัดเมอื งชมุ

4) ทรัพยากรธรรมชาติแหลง่ น้า 1 แห่ง (กวา๊ นพะเยา)

ในตาบลแมต่ า มีลักษณะภมู อิ ากาศแบ่งออกได้ 3 ฤดู ประกอบดว้ ย

1. ฤดฝู น อยู่ในช่วงเดือนพฤษภาคม ถงึ เดือนตลุ าคม

2. ฤดหู นาว อยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดอื นกุมภาพนั ธ์

3. ฤดูรอ้ น อยใู่ นชว่ งเดอื นมีนาคม ถึงเดือนพฤษภาคม

5) โครงสร้างพ้นื ฐาน
การไฟฟูา

ปัจจุบันในเขตตาบลแม่ตา มีไฟฟูาใช้ครอบคลุมทุกชุมชน โดยมีจานวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟูาเกือบครบทุก
ครัวเรือน ส่วนไฟฟูาสาธารณะมีครอบคลมุ ถนนเกือบครบทุกสาย

6) การคมนาคมติดต่อส่ือสาร
ถนนสายประธาน ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 1 ( ถนนพหลโยธิน ) ซึ่งมีจุดเริ่มต้นจาก
กรงุ เทพมหานครและส้ินสุดท่ีจังหวัดเชียงราย ปัจจุบนั เสน้ ทางน้ีมปี รมิ าณการจราจรค่อนขา้ งสูง
ถนนสายหลัก ได้แก่ ถนนสายพหลโยธิน หรือ ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 1202
ถนนสายรอง ได้แก่ ถนนทางหลวงทอ้ งถ่นิ เทศบาลในชมุ ชนเทศบาล ซง่ึ เปน็ ถนนลาดยางและคอนกรีตเสริม
เหล็ก
7) หนว่ ยงานในชมุ ชน

- ในพนื้ ทตี่ าบลแม่ตา มีท่ ัง้ หมด 5 ชุมชน จานวน 1,755 หลังคาเรอื น
8) หน่วยธุรกิจ

- โรงงานอุตสาหกรรม มจี านวน.........-..........แหง่
- โรงสีและลานตากข้าว มจี านวน..........-.........แหง่
- สถานีนา้ มัน มีจานวน........3...........แหง่
1.2 สภาพทางสังคม - ประชากร

1) จานวนชมุ ชนและจานวนประชากร

ประชากรของตาบลแม่ตาประกอบดว้ ยชาวไทยพ้นื เมือง (ชาวเมอื งเหนอื )รอ้ ยละ 95 และอื่น ๆ ร้อยละ 5

ลาดบั หม่ทู ี่ ช่อื หมู่บา้ น/ชมุ ชน จานวนประชากร จานวน
ที่ ครวั เรอื น
ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน)
1- ชมุ ชนวัดปุาลานคา 853 875 1,728 410
2- ชุมชนร่มโพธิ์ทอง 401 422 823 229
3- ชมุ ชนวัดภมู นิ ทร์ 899 1,018 1,917 383
4- ชมุ ชนวดั อนิ ทรฐ์ าน 686 824 1,510 308
5- ชมุ ชนวดั เมืองชุม 775 887 1,662 425
รวม 3,614 4,026 7,640 1,755

* ขอ้ มลู ณ.วันท.ี่ ...........ตุลาคม 25๖3................อ้างอิงจาก.........เทศบาลเมอื งพะเยา.....................

2) กลุ่มอายุ

ลาดบั ที่ ช่วงอายุ ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน)

1. ตา่ กวา่ 15 ปี 533 436 969
2. 15-39 ปี 1,247 1,212 2,459
3. 40-59 ปี 1,053 1,265 2,318
4. 60 ปขี นึ้ ไป 772 1,085 1,857

3) ศาสนา ศาสนา จานวน (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ ศาสนสถาน (แห่ง)
ลาดบั ที่ พทุ ธ 6,876 90 % วดั ......4......
คริสต์ 764 10 % โบสถ์....1.........
1. อสิ ลาม - -
2. อื่นๆ - - มัสยดิ .........-.......
3.
4.

4) ชาตพิ ันธ์ุ จานวน (คน) คดิ เปน็ ร้อยละ
ลาดับท่ี ชาติพนั ธุ์ - -

-

5) ระดับการศกึ ษา จานวน (คน) ตอ้ งการเรยี น ไม่ต้องการเรียน หมายเหตุ
ลาดบั ที่ ระดับการศกึ ษา 140
1. ผู้ไมร่ ้หู นงั สอื 255 255 -
2. กอ่ นประถม (อา่ นออกเขยี นได้) 1,200 1,200 -
3. ประถมศึกษา 404 404 -
4. มัธยมศกึ ษาตอนต้น 750 750 -
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 1,205 785 420
6. สงู กว่ามัธยมศกึ ษาตอนปลาย

สถานศกึ ษา
- โรงเรยี นระดบั ประถม มีจานวน.............2.........แหง่ ได้แก่

1. โรงเรียนเทศบาล 2
2. โรงเรียนเทศบาล 4
- โรงเรยี นระดับมธั ยม มจี านวน..............1........แหง่ ได้แก่ โรงเรยี นเทศบาล 2
- โรงเรยี นระดับอาชวี ศึกษา มีจานวน.......-...............แหง่ ได้แก่
- มหาวทิ ยาลยั มจี านวน.............-.........แหง่ ได้แก่
- ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ ก่อนวัยเรียนมีจานวน.........-.............แหง่ ได้แก่
- ศูนยก์ ารเรยี นชุมชนเรียน มีจานวน............-.........แหง่ ได้แก่
1.3 สภาพทางเศรษฐกิจ
1.) โครงสร้างฐานอาชพี ของชุมชน
- อาชีพหลัก ไดแ้ ก่ การทานา / การเกษตร
- อาชีพเสริม ได้แก่ คา้ ขาย
2.) ผลผลติ หรือสินค้า / บริการ ท่สี าคญั ของตาบล
- การทอผ้าพืน้ เมอื ง
- การเยบ็ ผ้าก้นมือ
3.) รายไดเ้ ฉลยี่ ของประชากร
- 72,000 บาท/คน/ปี

1.4 งานประเพณที ้องถิ่น
ประชาชนตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา มีขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นแบบชาวไทย

ภาคเหนือ (ไทยลา้ นนา) ชาวอาเภอเมอื งพะเยามกี ารละเลน่ พ้นื บ้านเช่น งานประเพณีท่สี าคญั ทป่ี ระชาชนตาบลแม่ตา
อาเภอเมืองพะเยาได้ยึดถือและปฏิบัติกันมาและยังคงปฏิบัติในปัจจุบันได้แก่ประเพณีรดน้าดาหัววันสงกรานต์
ประเพณลี อยกระทงการทาขวัญลกู แกว้ (ขวัญนาค) ในงานบวชพระภิกษหุ รอื บรรพชาและงานประเพณี

- สลากภัตต์ (การตา๋ นก๋วยสลาก)
- งานประเพณยี ีเ่ ป็ง
- งานประเพณปี ใ๋ี หมเ่ มอื ง
- งานเลย้ี งขนุ นา้

สว่ นท่ี 3
ทศิ ทางการดาเนนิ งาน

การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมกศน.ตาบล (SWOT)
จุดแขง็ (strength)
1. บุคลากรมกี ารทางานเปน็ ทีม
2. มีการใช้เทคโนโลย๊ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
3. มีการทา MOU รว่ มกบั ภาคีเครอื ข่าย
4. มีเครือข่ายรว่ มจดั การศึกษา (เทศบาลเมอื งพะเยา)
5. มีแหลง่ เรยี นรใู้ นตาบลที่หลากหลาย
6. นักศกึ ษามีช่องทางในการเขา้ ถงึ การเรยี นรเู้ พม่ิ มากข้นึ (smart phone)
จุดออ่ น (Weakness)
1.สือ่ การสอนท่ีมียังไม่ครอบคลมุ
2.ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนในวชิ าหลกั ตา่
3.บทบาทขององค์กรนกั ศึกษาไมเ่ ข้มแข็ง
โอกาส (opportunities)
1.การเดนิ ทางคมนาคมสะดวก
2.มีแหล่งเรียนรู้ภูมปิ ญั ญาที่หลากหลาย
อุปสรรค (Threats)
1.มภี าระงานทีเ่ พิ่มเข้ามาจากภาระกจิ หลกั ทาใหก้ ระทบต่อการจัดกิจกรรมในพนื้ ท่ี

ทศิ ทางการดาเนนิ งานของกศน.ตาบลแม่ตา
กลยุทธ/์ โครงการ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1ด้านความม่นั คง

กลยุทธท์ ี่ 1 ส่งเสริมการจดั การเรยี นรู้ ตามพระบรมราโชบาย ดา้ นการศกึ ษาของรัชกาลที่ 10
1.1 การสร้างความรู้ความเข้าใจในการปกครองระอบประชาธปิ ไตยในความเป็นพลเมืองดี
- โครงการจัดกระบวนการเรยี นรู้สคู่ วามเปน็ พลเมืองดีตามวถิ ีประชาธิปไตย

- โครงการจดั กระบวนการเรียนรู้ดา้ นลกู เสือ – ยวุ ะกาชาด

1.2 ปลูกฝงั คณุ ธรรม สร้างวนิ ยั จิตสาธารณะและยดึ ม่ันในสถาบันหลกั ของชาติ

- โครงการการจัดกระบวนการเรียนรู้เร่ืองประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณของ
พระมหากษัตรยิ ไ์ ทย

1.3 สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้เพอื่ สรา้ งจติ สานึกความเปน็ พลเมืองดี มีอาชีพ มีคุณธรรม

จริยธรรม

- โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม
- โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน

ตัวชีว้ ัดความสาเร็จ
1) ร้อยละ 90 ของกลุม่ เปาู หมายเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
2) รอ้ ยละ 90 ของกลุม่ เปาู หมายสามารถนาความรไู้ ปใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาตวั เองได้
3) ร้อยละ 90 ของกลุ่มเปูาหมายมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอยู่ใน
ระดบั ดีขนึ้ ไป

ยุทธศาสตร์ ท่ี 2 พัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศ

กลยุทธ์ที่ 1 ขับเคล่ือน กศน.สู่ SMART ONIE ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้าง
ศกั ยภาพของประชาชนให้สอดคลอ้ งกับการพฒั นาประเทศ

1. โครงการพฒั นาภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สารของนักศึกษา กศน.
2. โครงการพัฒนาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารของบุคลากร กศน.อาเภอเมืองพะเยา

(ขยายผล)
3. โครงการพฒั นาการเรยี นรู้โดยใชส้ มาร์ทโฟนของนักศกึ ษา กศน.ตาบลแม่ตา
4. โครงการภาษาอังกฤษเพ่อื การสื่อสารด้านอาชพี ค้าขาย

กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนากาลังคนให้เป็น SMART Digital Persons (SDPs) ท่ีมีทักษะด้านดิจิทัล
เพื่อรองรบั การพฒั นาประเทศ

1. โครงการฝึกอบรมการจัดกระบวนการเรียนรู้นักศึกษา กศน.ตาบลแม่ตา เพื่อสร้างการ
รับร้ถู งึ การใชป้ ระโยชน์จากเนท็ ประชารัฐ

2. โครงการอบรมการจัดกระบวนการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ
สินคา้ (Digital Marketing)

ตัวชีว้ ัดความสาเร็จ
1) ร้อยละ 90 ของกลุ่มเปาู หมายทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการส่ือสาร
ภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจาวันได้
2) ร้อยละ 90 ของกลุ่มเปูาหมายท่ีเข้าร่วมกิจกรรมสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการ

พฒั นาการเรยี นรโู้ ดยใช้สมารท์ โฟนได้
3) รอ้ ยละ 90 ของกลมุ่ เปูาหมายมีความพงึ พอใจตอ่ การเข้าร่วมกจิ กรรมอยู่ในระดบั ดีขนึ้ ไป

ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคนให้มคี ณุ ภาพ
กลยุทธท์ ่ี 1 เตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ (Smart Aging Society)

โครงการสง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวติ ผ้สู ูงอายุ)
กลยุทธ์ท่ี 2 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรม (Smart Farmer: เกษตรกร

ปราดเปรอ่ื ง)

2.1 การใช้ ICT และนวตั กรรมจดั กระบวนการเรียนรูด้ ้านเกษตรกรรม
- จัดการศึกษาใหก้ บั เกษตรกรผ่านวดี ีโอคลิป/รายการโทรทัศน์
- จัดอบรมหลกั สตู รระยะส้ันโดยการประสานเทคโนโลยีกบั ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น

2.2 เพ่มิ มลู คา่ สนิ ค้าทางการเกษตร
- โครงการแปรรูปสนิ ค้าผกั ปลอดสารพิษ (salad Roll)

2.3 สรา้ งช่องทางการจาหน่ายสนิ คา้
- โครงการสง่ เสรมิ การขายผ่านช่องทางตลาดออนไลน์

กลยุทธ์ท่ี 3 สง่ เสรมิ ให้มีการจัดการเรยี นการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education
- โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามรูปแบบสะเตม็ ศกึ ษา

กลยุทธท์ ี่ 4 เพิม่ อัตราการอา่ นของประชาชน
โครงการสง่ เสรมิ การอ่าน
โครงการบ้านหนังสือชุมชน
โครงการหอ้ งสมุดเคลอ่ื นที่สาหรบั ชาวตลาด
โครงการบรรณสัญจร

กลยทุ ธท์ ่ี 5 ศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชนสู่ “วิสาหกิจชมุ ชน:ชุมชนพึง่ ตนเอง ทาได้ ขายเปน็ )
โครงการอบรมการจัดกระบวนการเรียนรกู้ ารใช้เทคโนโลยเี พ่อื สรา้ งมูลค่าเพ่ิมใหก้ บั สินคา้ (Digital Marketing)

โครงการฝึกอบรมการจัดกระบวนการเรียนรู้นักศึกษา กศน.ตาบลแม่ตา เพ่ือสร้างการรับรู้ถึงการใช้
ประโยชนจ์ ากเน็ตประชารัฐ

กลยุทธท์ ่ี 6 จัดกระบวนการเรยี นร้ตู ามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
อย่างยง่ั ยืน

- โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสู่การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
อย่างยัง่ ยนื

ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ
1) ร้อยละ 90 ของกลุ่มเปูาหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีเจตคติท่ีดีต่อการจัดการศึกษาแบบสะ

เตม็ ศกึ ษา
2) ร้อยละ 90 ของกลุ่มเปูาหมายท่ีเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี

สามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้
3) ร้อยละ 90 ของกลุ่มเปูาหมายมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ใน

ระดบั ดีขน้ึ ไป

4) มีการจดั บริการหอ้ งสมุดเคลอื่ นทส่ี าหรับชาวตลาดอยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 คร้ัง
5) มกี ารจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านอยา่ งน้อยเดือนละ 1 กิจกรรม

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา
กลยทุ ธ์ท่ี 1 สง่ เสริมการนาระบบคปู องการศึกษา
-
กลยุทธ์ที2่ สรา้ งกระบวนการเรียนรใู้ นรปู แบบ E-Learning MOOC
-การพัฒนาการเรยี นร้โู ดยใช้ google classroom

กลยุทธท์ ่ี 3 เพมิ่ อตั ราการรหู้ นงั สอื และยกระดับการรู้หนงั สือของประชาชน
การส่งเสริมการรหู้ นงั สือ
กลยทุ ธ์ท่ี 4 ยกระดบั การศกึ ษาใหก้ บั กลุ่มเปาู หมายเด็กเยาวชนในสถานพินิจฯ

กลยุทธท์ ี่ 5 พลกิ โฉม กศน.ตาบลสู่ กศน.ตาบล 4 G
5.1 พัฒนาครู กศน.และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและเรียนรู้

(Good Teacher)
- โครงการพัฒนาภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารของบุคลากร กศน.อาเภอเมือง

พะเยา (ขยายผล)
- โครงการจัดการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน กศน.ตาบลแมต่ า
- โครงการอบรมเตรียมความพร้อม ก่อนสอบ N-Net ของนักศึกษากศน.

ตาบลแม่ตา
5.2 พัฒนากศน.ตาบล ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเอ้ือต่อการเรียนรู้อย่าง

ตอ่ เนื่อง (Good Place Best Check- in)
-โครงการพัฒนากศน.ตาบลใหเ้ ปน็ แหล่งเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต (กศน. 4G)

5.3 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน กศน.ตาบล (Good Activities) ให้มี
ความหลากหลาย

- โครงการพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้สมาร์ทโฟนของนักศึกษากศน.ตาบลแม่ตา
(google classroom)

5.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถนิ่ และการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน (Good Partnership)

ตัวช้ีวัดความสาเร็จ
1) รอ้ ยละ 55 ของนักศึกษากศน.ตาบลแม่ตามผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น 2.00 ขน้ึ ไป
2) ร้อยละ 80 ของนกั ศกึ ษากศน.ตาบลแมต่ าเข้าสอบปลายภาค
3) ร้อยละ 90 ของกลุม่ เปูาหมายมีความพงึ พอใจต่อการเขา้ ร่วมกจิ กรรมอยูใ่ นระดับดขี น้ึ ไป

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 สง่ เสรมิ และจัดการศกึ ษาเพ่ือส่งเสริมคณุ ภาพชีวติ ท่เี ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
กลยุทธ์ท่ี 1 ส่งเสรมิ ใหก้ ารให้ความรูก้ ับประชาชนเก่ียวกับการปูองกันผลกระทบและปรับตัวต่อ

การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภัยพิบัติธรรมชาติ
-โครงการจัดกระบวนการเรยี นรกู้ ารแกไ้ ขปญั หาหมอกควนั

กลยุทธ์ท่ี 2 สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว การกาจัดขยะมลพิษ
ในเขตชุมชน

-โครงการจัดกระบวนการเรียนรกู้ ารคดั แยกขยะในครวั เรอื น
กลยุทธท์ 3ี่ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศกึ ษาใชพ้ ลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งลด
การใช้ทรพั ยากรที่มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม
-
ตวั ชว้ี ัดความสาเร็จ
1) ร้อยละ 90 ของกลุ่มเปูาหมายท่ีเข้าร่วมกิจกรรมสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้เพ่ือ
พฒั นาคุณภาพชวี ติ ได้
2) รอ้ ยละ 90 ของกลุ่มเปูาหมายไดเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็น
มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม
3) ร้อยละ 90 ของกลุ่มเปูาหมายมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับดีขึ้นไป

ภารกจิ ตอ่ เนอื่ ง
1.ดา้ นการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้

1) โครงการสง่ เสรมิ การรหู้ นงั สอื
2) โครงการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
3) โครงการการจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี

3.1 หลกั สูตรวชิ าการทาสบู่สมนุ ไพร
3.2 หลกั สตู รวิชาการปักผ้าด้วยมือ
3.3 หลักสูตรวิชาการทาน้ายาอเนกประสงค์และเจลแอลกอฮอล์ลา้ งมือ
3.4 หลักสูตรวชิ าการทานา้ ยาอเนกประสงค์และเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ

3.5 หลกั สตู รการพัฒนารูปแบบผลิตภณั ฑผ์ ้าดน้ มอื
3.6 หลักสูตรการปักผา้ ดว้ ยมือ
3.7 หลักสูตรการสานกระเป๋าเสน้ พลาสติก

4) โครงการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิต
4.1 โครงการจัดกระบวนการเรยี นรกู้ ารศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะชวี ติ การดูแลสุขภาพผู้สูงวยั ให้

ห่างไกลจากเชอ้ื ไวรัส COVID - 19

4.2 โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต การดูแลสุขภาพผู้สูงวยั ให้
ห่างไกลจากเชอ้ื ไวรัส COVID - 19

5) โครงการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน
5.1 โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน“สรา้ งพลังงาน

ทดแทน ดว้ ยพลงั งานแสงอาทติ ย์”

5.2 โครงการจดั กระบวนการเรยี นรู้การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชมุ ชน “สร้างจิตสานึก สร้าง
วนิ ัย รักษาสง่ิ แวดล้อม”

4.3 โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนการดาเนินชีวิต
พลเมอื งที่ดี ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย
6) โครงการชมุ ชนสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรตู้ ามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

6.1 โครงการจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกษตรปลอดภัย งด
ใชส้ ารเคมเี นน้ ชวี วถิ ีพอเพียง

6.2 โครงการจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เกษตรปลอดภยั งด
ใช้สารเคมีเนน้ ชวี วิถีพอเพียง

6.3 โครงการการจดั กระบวนการเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงส้วู ิกฤตโิ ควดิ -
19 กิจกรรมการเรียนรู้การเพาะเหด็ ฟางในตะกรา้ พลาสติก

7) การศึกษาตามอัธยาศยั
- โครงการสง่ เสริมการอา่ นในตาบลแม่ตา
- โครงการบ้านหนังสือชมุ ชนในตาบลแม่ตา
- โครงการหอ้ งสมุดเคล่อื นทีส่ าหรบั ชาวตลาดในตาบลแม่ตา

2. ด้านหลักสตู ร สือ่ รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบรกิ ารทางวชิ าการและ
ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
- โครงการจดั กระบวนการเรยี นรูใ้ ห้กับนกั ศึกษาในรปู แบบสะเตม็ ศกึ ษา

3. ดา้ นเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา
- โครงการพฒั นาความรู้ความสามารถนักศกึ ษากศน.โดยใชเ้ ทคโนโลยี
- โครงการพฒั นาการเรียนรูโ้ ดยใชส้ มาร์ทโฟน

4. ดา้ นโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดารหิ รือโครงการอนั เน่ืองจากราชวงศ์
- โครงการการจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งอบรมจัด

กระบวนการเรยี นรเู้ กษตรธรรมชาติส่กู ารพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมให้กับประชาชน
5. ด้านบุคลากร ระบบบริหารจัดการและการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน

- โครงการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรเพอ่ื เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงาน
- โครงการพฒั นาศักยภาพบุคลากรด้านการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการ
บรหิ ารจัดการอยา่ งเตม็ รปู แบบทงั้ ระบบ E-office ระบบการจัดทาแผน ระบบการรายงานผลการดาเนินงาน
- โครงการอบรมพฒั นาการใช้ Social Media เพอ่ื พัฒนาการจดั การเรียนการสอนของครู
- โครงการวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการบริหารคลังข้อสอบผ่านส่ือสังคมออนไลน์โดยใช้การ
บริหารอยา่ งเป็นระบบ (PDCA)
- โครงการอบรมองค์กรนักศึกษาและคณะกรรมการกศน.ตาบล
5. ด้านบคุ ลากร ระบบบริหารจดั การและการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน
- โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรเพ่อื เพม่ิ ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงาน
- โครงการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรด้านการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการ
บริหารจัดการอย่างเตม็ รูปแบบทั้งระบบ E-office ระบบการจัดทาแผน ระบบการรายงานผลการดาเนนิ งาน
- โครงการอบรมพฒั นาการใช้ Social Media เพอื่ พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนของครู
- โครงการวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการบริหารคลังข้อสอบผ่านสื่อสังคมออนไลน์โดยใช้การ
บรหิ ารอยา่ งเป็นระบบ (PDCA)
- โครงการอบรมองค์กรนกั ศึกษาและคณะกรรมการ กศน.ตาบล

นโยบายและจดุ เนนการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน.
ประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2564

วสิ ยั ทศั น
คนไทยทุกชวงวยั ไดรบั โอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชีวติ อยางมีคุณภาพ มที ักษะทจ่ี าเปน
และสมรรถนะทีส่ อดรบั กับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดารงชีวติ ไดอยางเหมาะสมบนรากฐานของหลกั

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พันธกิจ

1. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ สอดคลองกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพ่ือยกระดับการศึกษาและพัฒนาสมรรถนะ
ทักษะการเรียนรูของประชาชนกลุมเปาหมายใหเหมาะสมในแตละชวงวัย ใหพรอมรับการเปล่ียนแปลงและการ
ปรบั ตัวในการดารงชวี ิตไดอยางเหมาะสม กาวสูการเปนสังคมแหงการเรยี นรูตลอดชีวติ อยางยงั่ ยืน

2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู ส่ือและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษาการวัดและ
ประเมินผลในทกุ รปู แบบใหมคี ณุ ภาพและมาตรฐานสอดคลองกับรปู แบบการจดั การเรียนรูและบรบิ ทในปจจุบัน

3. สงเสริมและพฒั นาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาเทคโนโลยมี าพัฒนาเพื่อเพ่ิมชองทางและโอกาสการเรียนรู
รวมถึงการเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการจดั และใหบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ใหกบั ประชาชนกลุมเปาหมายอยางทวั่ ถงึ

4. สงเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความรวมมือเชิงรุกกับภาคีเครือขาย ใหเขามามีสวนรวมในการ
สนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิตในรูปแบบตาง ๆให
กบั ประชาชน

5. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภายในองคกรใหมีเอกภาพ เพือ่ การบรหิ ารราชการที่ดบี นหลัก
ของธรรมาภิบาล มปี ระสทิ ธิภาพ ประสทิ ธผิ ล และคลองตวั มากยงิ่ ขึ้น

6. ยกระดบั การบรหิ ารและการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรใหมีความรู ทกั ษะ สมรรถนะ คณุ ธรรม
และจรยิ ธรรมท่ีดี เพื่อเพิม่ ประสทิ ธภิ าพของการใหบรกิ ารทางการศกึ ษาและการเรยี นรูท่ีมีคณุ ภาพมากยงิ่ ข้นึ

เปาประสงค

1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมท้ังประชาชนท่ัวไปไดรับโอกาสทางการศึกษาใน
รูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี
คณุ ภาพอยางเทาเทยี มและทัว่ ถงึ เปนไปตามบรบิ ท สภาพปญหาและความตองการของแตละกลุมเปาหมาย

2. ประชาชนไดรบั การยกระดับการศึกษา สรางเสรมิ และปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม หนาท่ีความเปนพลเมืองที่ดี
ภายใตการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข ที่สอดคลองกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง อนั นาไปสกู ารยกระดบั คุณภาพชีวิตและเสริมสรางความเขมแข็งใหชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสูความ
ม่นั คงและยั่งยืนทางดานเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร และสงิ่ แวดลอม

2 นโยบายและจุดเนนการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงบประมาณพ.ศ. 2564

3. ประชาชนไดรับการพัฒนาทักษะการเรียนรูและแสวงหาความรูดวยตนเองผานแหลงเรียนรูชองทางการเรียนรู
และกจิ กรรมการเรียนรูรูปแบบตาง ๆ รวมท้งั มีเจตคติทางสังคม การเมือง วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
สามารถคิด วิเคราะหแยกแยะอยางมีเหตุผล และนาไปประยุกตใชในชีวิตประจาวันรวมถึงการแกปญหาและ
พัฒนาคณุ ภาพชีวิตไดอยางสรางสรรค

4. หนวยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลักสูตร ส่ือ นวัตกรรม ชองทางการเรียนรู และกระบวนการเรียนรูใน
รูปแบบท่ีหลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรูในสถานการณตาง ๆ เพื่อแกปญหาและพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามความตองการของประชาชนและชุมชน รวมท้ังตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทด าน
เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตรและส่งิ แวดลอม

5. หนวยงานและสถานศกึ ษา กศน. สามารถนาเทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาพฒั นาเพ่ือเพิ่มช
องทางการเรยี นรู และนามาใชในการยกระดับคณุ ภาพในการจัดการเรียนรูและโอกาสการเรียนรู
ใหกับประชาชน

6. ชมุ ชนและภาคีเครอื ขายทกุ ภาคสวน มสี วนรวมในการจดั สงเสรมิ และสนับสนนุ การศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมทงั้ การขับเคลื่อนกจิ กรรมการเรยี นรูของชมุ ชน

7. หนวยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการองคกรท่ที นั สมยั มีประสทิ ธภิ าพ และเปนไป
ตามหลกั ธรรมาภิบาล

8. บุคลากรกศน. ทกุ ประเภททุกระดบั ไดรับการพฒั นาเพอ่ื เพิม่ ทกั ษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
และการใหบริการทางการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมถงึ การปฏบิ ัตงิ านตามสายงานอยางมี
ประสทิ ธิภาพ

ตัวชี้วัด

รายละเอยี ดตัวชี้วัด คาเปาหมาย

1. ตัวชวี้ ดั เชงิ ปรมิ าณ
1.1 รอยละของผูเรยี นทีไ่ ดรบั การสนับสนนุ คาใชจายการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษา
ขนั้ พน้ื ฐานตามสทิ ธทิ ่กี าหนดไว (เทยี บกบั เปาหมายตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจายประจาป รอยละ 80

1.2 จานวนของผูลงทะเบียนเขารวมกิจกรรมการเรยี นรู ไดรับบรกิ ารกิจกรรมการศึกษา
ตอเนือ่ ง ทสี่ อดคลองกบั สภาพ ปญหา และความตองการ

756,675 คน
1.3 จานวนของผูรับบริการ/เขารวมกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย 9,800,00 คน
1.4 จานวนบันทึกขอตกลงความรวมมอื (MOU) รวมกบั ภาคีเครอื ขาย ไมนอยกวา
3,000 ฉบับ

1.6 จานวนแหลงเรียนรูในระดับตาบลท่มี คี วามพรอมในการใหบรกิ าร/การจดั กจิ กรรม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

1,787 แหง
1.7 จานวนประชาชนท่เี ขารับการพฒั นาทกั ษะอาชพี เพ่ือสรางรายไดและการมีงานทา 424,500 คน
1.8 จานวน ครู กศน. ตาบล ท่ไี ดรบั การพัฒนาศักยภาพดานการจดั การเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร

100 คน
1.9 จานวนประชาชนที่ไดรบั การฝกอบรมภาษาตางประเทศเพอื่ การส่ือสารดานอาชพี 22,272 คน
1.10 จานวนผูผานการอบรมหลกั สูตรการดแู ลผูสูงอายุ 6,800 คน
1.11 จานวนประชาชนทผี่ านการอบรมจากศนู ยดิจิทลั ชุมชน 185,600 คน
1.12 จานวนสื่อการเรียนออนไลน หลักสูตรการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่องานอาชีพ ไมนอยกวา 30
วิชา

3 นโยบายและจุดเนนการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงบประมาณพ.ศ. 2564
รายละเอยี ดตัวชี้วัด คาเปาหมาย

1.13 จานวนบุคลากรสงั กัดสานักงาน กศน. ทไ่ี ดรับการพฒั นาศกั ยภาพและความกาวหนา
ตามสายงานในอาชีพ 2,807 คน

1.14 จานวนบุคลากรสงั กัดสานกั งาน กศน. ทเ่ี ขารับการอบรมดานการปกปองและเชดิ ชู
สถาบนั หลักของชาติ ดานความปรองดองสมานฉันท ดานการมจี ิตสาธารณะ
และดานทกั ษะในการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน 10,000 คน

1.15 จานวนบทความเพือ่ การเรยี นรูตลอดชวี ติ ในระดับตาบล ในหวั ขอตางๆ อาทิอาชีพ
ชมุ ชน วัฒนธรรมทองถนิ่ ภมู ปิ ญญา8,000 บทความ

1.16 จานวนศนู ยการเรียนรูตนแบบ (Co-Learning Space) 77 แหง
2. ตัวชวี้ ดั เชิงคณุ ภาพ
2.1 รอยละของนกั ศกึ ษาที่คาดวาจะจบในทกุ ระดับ ทส่ี าเรจ็ การศึกษาในแตละภาคเรียน รอยละ 75
2.2 รอยละของผูจบหลกั สตู ร/กิจกรรมการศึกษาตอเน่ือง ทีส่ ามารถนาความรูความเขาใจ
ไปใชพัฒนาตนเองไดตามจดุ มงุ หมายของหลกั สูตร/กจิ กรรมรอยละ 80

2.3 รอยละของผูผานการพฒั นาทักษะอาชพี สามารถนาความรูไปใชในการประกอบ
อาชพี หรือพฒั นาตนเองไดรอยละ 80

2.4 รอยละของผูเรียนในเขตพ้นื ทีจ่ ังหวดั ชายแดนภาคใตท่ไี ดรบั การพัฒนาศักยภาพ
หรอื ทักษะดานอาชพี สามารถมงี านทาหรือนาไปประกอบอาชพี ไดรอยละ 80

2.5 รอยละของประชาชนทไ่ี ดรับบรกิ าร/ เขารวมกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
มีความรูความเขาใจ/ เจตคติ/ ทกั ษะ ตามจุดมุงหมายของกิจกรรมทีก่ าหนดรอยละ 80

2.6 รอยละของผูสงู อายทุ ่เี ปนกลุมเปาหมาย มีโอกาสมาเขารวมกิจกรรมการศกึ ษา
ตลอดชวี ิตรอยละ 80

2.7 รอยละของบคุ ลากรที่ไดรับการพฒั นา ทม่ี ีการพฒั นาตนเองในดานพฤตกิ รรม
บุคลกิ ภาพ ทัศนคติ คานยิ มทพี่ งึ ประสงค ภาวะผูนา และมีจรรยาบรรณวิชาชีพ
ทเี่ หมาะสมยิ่งขนึ้ รอยละ 90

4 นโยบายและจุดเนนการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงบประมาณพ.ศ. 2564

1. นอมนาพระบรมราโชบายดานการศกึ ษาสูการปฏบิ ตั ิ
1.1 สบื สานศาสตรพระราชา โดยการสรางและพฒั นาศนู ยสาธติ และเรยี นรู “โคก หนอง นา โมเดล”เพื่อเปน
แนวทางในการจดั การบริหารทรัพยากรรปู แบบตาง ๆ ทั้งดนิ ํน้า ลม แดด รวมถงึ พชื พนั ธุตาง ๆ และสงเสรมิ
การใชพลงั งานทดแทนอยางมปี ระสิทธิภาพ
1.2 จดั ใหมี “หน่งึ ชุมชน หน่งึ นวัตกรรม การพัฒนาชมุ ชน” เพือ่ ความกินดี อยูดี มงี านทา
1.3 การสรางกลุมจิตอาสาพัฒนาชมุ ชน รวมทั้งปลกู ฝงผูเรยี นใหมีหลกั คิดท่ถี กู ตองดานคุณธรรม
จริยธรรม มีทัศนคติท่ีดีตอบานเมือง และเปนผูมีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผานกิจกรรมการ
พฒั นาผูเรียนโดยการใชกระบวนการลกู เสือและยวุ กาชาด

2. สงสริมการจดั การศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชีวิตสาหรบั ประชาชนทเ่ี หมาะสมกับทุกชวงวยั
2.1 สงเสรมิ การจัดการศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา ในรปู แบบ Re-Skill& Up-Skill และการสรางนวัตกรรมและ
ผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความตองการของประชาชนผูรับบริการ และ
สามารถออกใบรับรองความรูความสามารถเพือ่ นาไปใชในการพัฒนาอาชีพได
2.2 สงเสรมิ และยกระดับทักษะภาษาอังกฤษใหกบั ประชาชน (English for All)
2.3 สงเสริมการเรยี นการสอนทีเ่ หมาะสมสาหรับผูที่เขาสูสังคมสูงวัย อาทิ การฝกอบรมอาชีพที่เหมาะสมรองรับ
สังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสงเสริมสมรรถนะผูสูงวัย และหลักสูตรการดูแลผูสูงวัย โดยเน
นการมสี วนรวมกับภาคเี ครือขายทกุ ภาคสวนในการเตรียมความพรอมเขาสูสังคมสูงวัย

3. พัฒนาหลักสตู ร สอื่ เทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศกึ ษา แหลงเรียนรู และรูปแบบ
การจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู ในทกุ ระดบั ทุกประเภท เพ่ือประโยชนตอการจดั การศกึ ษาที่เหมาะสม
กับทุกกลุมเปาหมาย มคี วามทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกบั บรบิ ทสภาวะสงั คมปจจุบัน ความตองการ
ของผูเรยี น และสภาวะการเรยี นรูในสถานการณตาง ๆ ทจ่ี ะเกิดขึ้นในอนาคต
3.1 พฒั นาระบบการเรยี นรู ONIE Digital Learning Platform ทร่ี องรับ DEEPของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
และชองทางเรยี นรูรูปแบบอ่ืน ๆ ท้ัง Online On-site และ On-air
3.2 พัฒนาแหลงเรยี นรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/
Digital Library ศูนยการเรียนรูทุกชวงวัย และศูนยการเรียนรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให
สามารถ“เรยี นรูไดอยางท่ัวถงึ ทุกที่ ทกุ เวลา”
3.3 พฒั นาระบบรับสมคั รนกั ศกึ ษาและสมัครฝกอบรมแบบออนไลน มรี ะบบการเทียบโอนความรู
ระบบสะสมหนวยการเรียนรู Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการใหบริการระบบทดสอบ
อิเล็กทรอนิกส(E-exam)

4. บรู ณาการความรวมมือในการสงเสรมิ สนบั สนุน และจัดการศึกษาและการเรยี นรูใหกบั
ประชาชนอยางมคี ณุ ภาพ
4.1 รวมมือกับภาคเี ครอื ขายทง้ั ภาครฐั เอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสวนทองถิน่ รวมทั้ง
สงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชน อาทิ การสงเสริมการฝกอาชีพที่เปนอัตลักษณและบริบทของ
ชมุ ชนสงเสริมการตลาดและขยายชองทางการจาหนายเพื่อยกระดบั ผลติ ภัณฑ สินคา กศน.
4.2 บูรณาการความรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ ในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ทัง้ ในสวนกลางและภูมิภาค

จุดเนนการดาเนินงานประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2564

5 นโยบายและจดุ เนนการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงบประมาณพ.ศ. 2564

5. พฒั นาศักยภาพและประสิทธิภาพในการทางานของบุคลากร กศน.
5.1 พัฒนาศกั ยภาพและทกั ษะความสามารถดานเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Literacy & Digital Skills)
ใหกับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเปนรัฐบาลดิจิทัลอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนาครูใหมี
ทกั ษะความรู และความชานาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรูและการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝ
กทกั ษะการคดิ วเิ คราะหอยางเปนระบบและมเี หตุผล เปนขน้ั ตอน
5.2 จดั กิจกรรมเสรมิ สรางความสมั พนั ธของบคุ ลากร กศน.และกิจกรรมเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการทางานรวมกันใน
รปู แบบตาง ๆ อาทิ การแขงขนั กฬี า การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาประสทิ ธิภาพในการทางาน

6. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสรางและระบบบรหิ ารจดั การองคกร ปจจัยพน้ื ฐานในการจัดการศกึ ษา
และการประชาสัมพนั ธสรางการรับรูตอสาธารณะชน
6.1 เรงผลักดันรางพระราชบญั ญตั ิสงเสรมิ การเรียนรู พ.ศ. .... ใหสาเร็จ และปรบั โครงสราง
การบริหารและอตั รากาลังใหสอดคลองกบั บรบิ ทการเปลยี่ นแปลง เรงการสรรหา บรรจุ แตงตงั้ ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ
6.2 นานวตั กรรมและเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใชในการบรหิ ารจดั การ พัฒนาระบบการทางานและขอมลู
สารสนเทศดานการศกึ ษาทที่ ันสมัย รวดเรว็ และสามารถใชงานทันที โดยจดั ตง้ั ศนู ยขอมลู กลาง กศน. เพ่ือจัดทา
ขอมลู กศน. ท้ังระบบ (ONE ONIE)
6.3 พัฒนา ปรบั ปรุง ซอมแซม ฟนฟูอาคารสถานท่ี และสภาพแวดลอมโดยรอบของหนวยงานสถานศึกษา และ
แหลงเรียนรูทุกแหง ใหสะอาด ปลอดภยั พรอมใหบรกิ าร
6.4 ประชาสมั พนั ธ สรางการรับรูใหกับประชาชนทว่ั ไปเกย่ี วกบั การบริการทางวชิ าการ/กิจกรรม
ดานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และสรางชองทางการแลกเปลีย่ นเรยี นรูดานวชิ าการ
ของหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ขาวประชาสัมพันธ ผานสื่อรูปแบบตาง ๆ การจัดนิทรรศการ/
มหกรรมวิชาการ กศน.

จากสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เม่ือเดือนธันวาคม 2562
สงผลกระทบตอระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดบั ชั้น ซง่ึ รัฐบาลและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ไดออกประกาศและมีมาตรการเฝาระวังเพ่ือปองกันการแพรกระจายของเช้อื ไวรสั ดังกลาว อาทิ กาหนดใหมี
การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) หามการใชอาคารสถานท่ีของโรงเรยี นและสถาบันการศึกษา
ทกุ ประเภท เพอ่ื จดั การเรียนการสอน การสอบ ฝกอบรม หรอื การทากิจกรรมใด ๆ ทีม่ ีผูเขารวมเปนจานวนมาก
การปดสถานศึกษาดวยเหตุพเิ ศษ การกาหนดใหใชวิธกี ารจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม อาทิ การจัดการเรียน
รแู บบออนไลน การจัดการเรยี นรูผานระบบการออกอากาศทางโทรทศั น วิทยุ และโซเซยี ลมีเดยี ตาง ๆ รวมถึง
การสื่อสารแบบทางไกลหรือดวยวิธีอิเล็กทรอนิกสในสวนของสานักงาน กศน. ไดมีการพัฒนา ปรับรูปแบบ
กระบวนการ และวธิ ีการดาเนินงานในภารกจิ ตอเนื่องตาง ๆ ในสถานการณการใชชีวิตประจาวัน และการจัดการ
เรียนรูเพื่อรองรบั การชีวิตแบบปกติวถิ ใี หม(New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ไดใหความสาคัญกับการ
ดาเนินงานตามมาตรการการปองกันการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) อาทิ การจัด
กิจกรรมการเรียนรูทุกประเภทหากมีความจาเปนตองมาพบกลุม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาตองมี
มาตรการปองกันท่ีเขมงวด มีเจลแอลกอฮอลลางมือ ผูรับบริการตองใสหนากากอนามัยหรือหนากากผา ตองมี
การเวนระยะหางระหวางบุคคลเนนการใชส่ือดิจิทัลและเทคโนโลยีออนไลนในการจัดการเรียนการสอนการจัด
การศึกษาและการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019(COVID – 19) ของ
สานักงาน กศน.

6 นโยบายและจดุ เนนการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงบประมาณพ.ศ. 2564

1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู
1.1การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้งั แตปฐมวยั จนจบการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานโดยดาเนนิ การ
ใหผูเรยี นไดรับการสนับสนุนคาจัดซอ้ื หนังสือเรยี น คาจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคาจัดการเรียน
การสอนอยางทว่ั ถึงและเพียงพอเพ่ือเพมิ่ โอกาสในการเขาถึงบรกิ ารทางการศึกษาที่มคี ุณภาพโดยไมเสียคาใชจาย
2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหกับกลุมเปาหมายผูดอย พลาดและขาดโอกาสทาง
การศกึ ษา ผานการเรียนแบบเรียนรูดวยตนเอง การพบกลุม การเรยี นแบบชัน้ เรียน และการจัดการศึกษาทางไกล

3) พฒั นาประสทิ ธภิ าพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท้ังดานห
ลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน และระบบ
การใหบริการนักศกึ ษาในรปู แบบอืน่ ๆ

4) จัดใหมีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณที่มีความโปรงใส
ยตุ ิธรรม ตรวจสอบได มมี าตรฐานตามท่ีกาหนด และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายไดอยาง
มปี ระสทิ ธิภาพ

5) จดั ใหมกี จิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียนที่มีคุณภาพท่ีผูเรียนตองเรียนรูและเขารวมปฏิบัติกิจกรรม เพื่อเปนสวน
หนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการปองกันและแกไขปญหายา
เสพติดการแขงขันกีฬา การบาเพ็ญสาธารณประโยชนอยางตอเน่ือง การสงเสริมการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา
และการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูเรียนนากิจกรรมการบาเพ็ญประโยชนอื่น ๆนอกหลักสูตร
มาใชเพิม่ ช่วั โมงกจิ กรรมใหผูเรยี นจบตามหลักสตู รได

1.2การสงเสรมิ การรูหนังสอื
1) พัฒนาระบบฐานขอมูลผูไมรูหนังสือ ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัยและเปนระบบเดียวกันท้ังสวนกลาง
และสวนภมู ภิ าค

2) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สื่อ แบบเรียนเคร่ืองมือวัดผลและเครื่องมือการดาเนินงานการส งเสริมการรู
หนังสอื ท่สี อดคลองกบั สภาพและบริบทของแตละกลุมเปาหมาย

3) พัฒนาครู กศน.และภาคีเครือขายที่รวมจัดการศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ และทักษะการจัด
กระบวนการเรียนรูใหกับผูไมรหู นงั สืออยางมปี ระสิทธภิ าพ และอาจจดั ใหมอี าสาสมัครสงเสริมการรูหนังสือใน
พืน้ ที่ท่มี ีความตองการจาเปนเปนพเิ ศษ

4) สงเสรมิ สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรูหนังสือการพัฒนาทักษะ
การรหู นังสือใหกับประชาชนเพ่ือเปนเครอื่ งมอื ในการศึกษาและเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชวี ิต
ของประชาชน

1.3 การศึกษาตอเนื่อง
1) จัดการศกึ ษาอาชพี เพอื่ การมงี านทาอยางยง่ั ยืน โดยใหความสาคัญกับการจัดการศกึ ษาอาชีพ
เพ่ือการมีงานทาในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ
บริการรวมถึงการเนนอาชีพชางพื้นฐาน ที่สอดคลองกับศักยภาพของผูเรียน ความตองการและศักยภาพของแต
ละพื้นที่มีคุณภาพไดมาตรฐานเปนที่ยอมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ
ตลอดจนสรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีการสงเสริมการรวมกลุมวิสาหกิจชุมชน การ
พฒั นาหนึง่ ตาบลหนึ่งอาชพี เดน การประกวดสินคาดีพรีเมยี่ ม การสรางแบรนดของ กศน. รวมถึงการสงเสริมและ
จัดหาภารกจิ ตอเนื่อง

7 นโยบายและจุดเนนการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปงบประมาณพ.ศ. 2564
ชองทางการจาหนายสินคาและผลิตภัณฑ และใหมีการกากบั ตดิ ตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชพี
เพอื่ การมีงานทาอยางเปนระบบและตอเน่ือง

2) จัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะชวี ิตใหกับทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสงู อายุ
ที่สอดคลองกับความตองการจาเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดารงชีวิต
ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองไดมีความรูความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองใหอยู
ในสงั คมไดอยางมคี วามสุขสามารถเผชญิ สถานการณตาง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ ในชวี ติ ประจาวนั ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ
และเตรียมพรอมสาหรับการปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมใน
อนาคตโดยจัดกิจกรรมท่ีมีเน้ือหาสาคัญตาง ๆ เชน การอบรมจิตอาสา การใหความรูเพ่ือการปองการการแพร
ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรม
คุณธรรมและจริยธรรม การปองกันภัยยาเสพติดเพศศึกษา การปลูกฝงและการสรางคานิยมท่ีพึงประสงคความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ผานการอบรมเรียนรูในรูปแบบตาง ๆ อาทิ คายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดต้ัง
ชมรม/ชุมนุมการอบรมสงเสริมความสามารถพเิ ศษตางๆ เปนตน

3) จดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาสังคมและชุมชน โดยใชหลกั สูตรและการจดั กระบวนการเรียนรู
แบบบูรณาการในรปู แบบของการฝกอบรมการประชุม สมั มนา การจัดเวทีแลกเปลย่ี นเรียนรูการจัดกจิ กรรม
จิตอาสา การสรางชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชนแตละ
พ้ืนท่ี เคารพความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมทั้งสังคม
พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการใหบคุ คลรวมกลุมเพอ่ื แลกเปลี่ยนเรยี นรูรวมกนั สรางกระบวนการจติ สาธารณะ
การสรางจิตสานึกความเปนประชาธิปไตยการเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบตอหนาท่ีความเปนพล
เมืองท่ีดีภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข การสงเสริมคุณธรรม
จรยิ ธรรมการเปนจติ อาสา การบาเพ็ญประโยชนในชุมชนการ บริหารจัดการํน้า การรับมือกับสาธารณภัยการอนุ
รกั ษพลังงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การชวยเหลือซ่ึงกันและกันในการพัฒนาสังคมและชุมชนอยาง
ย่ังยนื

4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอดชวี ติ
ในรูปแบบตางๆ ใหกับประชาชน เพ่ือเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางมั่นคง และมีการบริหาร
จดั การความเส่ยี งอยางเหมาะสม ตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศสูความสมดลุ และย่งั ยนื

1.4 การศึกษาตามอัธยาศยั
1) พัฒนาแหลงการเรียนรูที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอการอานและพัฒนาศักยภาพการเรียนรูให
เกดิ ขนึ้ ในสังคมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและท่ัวถึง เชน การพัฒนา กศน. ตาบล หองสมุดประชาชนทุกแห
งใหมกี ารบริการท่ีทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขายสงเสริมการอาน
จัดหนวยบรกิ ารหองสมุดเคล่อื นท่ี หองสมุดชาวตลาด พรอมหนังสือและอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน
และการเรียนรูท่ีหลากหลายใหบริการกับประชาชนในพ้ืนที่ตางๆ อยางทั่วถึง สํม่าเสมอ รวมทั้งเสริมสรางความ
พรอมในดานบุคลากร ส่ืออุปกรณเพ่ือสนับสนุนการอาน และการจัดกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการอานอยาง
หลากหลายรูปแบบ

2) จัดสรางและพฒั นาศูนยวิทยาศาสตรเพือ่ การศึกษา ใหเปนแหลงเรียนรูวิทยาศาสตรตลอดชวี ติ
ของประชาชน เปนแหลงสรางนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตรและเปนแหลงทองเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการประจาทอง
ถน่ิ โดยจดั ทาและพัฒนานิทรรศการส่ือและกิจกรรมการศึกษาที่เนนการเสริมสรางความรูและสรางแรงบันดาลใจ
ดานวทิ ยาศาสตรสอดแทรกวธิ ีการคดิ เชิงวิเคราะห การคดิ เชิงสรางสรรค และปลกู ฝงเจตคตทิ างวิทยาศาสตร
ผานการกระบวนการเรียนรูท่ีบูรณาการความรูดานวิทยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตรและคณิต
ศาสตรรวมท้ังสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทั้งระดับ
ภมู ภิ าคและระดบั โลกเพ่อื ใหประชาชนมีความรูและสามารถนาความรูและทักษะไปประยุกตใชในการดาเนินชีวิต
การพัฒนาอาชีพ การรักษาสิ่งแวดลอม การบรรเทาและปองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถใน
การปรบั ตวั

8 นโยบายและจุดเนนการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงบประมาณพ.ศ. 2564
รองรับผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลงของโลกทีเ่ ปนไปอยางรวดเร็วและรนุ แรง (Disruptive Changes) ไดอยาง
มีประสิทธิภาพ

3) ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ท่มี แี หลงเรยี นรูอืน่ ๆ เพอื่ สงเสรมิ
การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความตองการของประชาชน เชน พิพิธ
ภณั ฑศนู ยเรียนรู แหลงโบราณคดี วัด ศาสนาสถาน หองสมุดรวมถึงภมู ปิ ญญาทองถิน่ เปนตน

2. ดานหลกั สูตร สื่อรปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู การวดั และประเมินผลงานบรกิ าร
ทางวิชาการ และการประกนั คุณภาพการศกึ ษา

2.1 สงเสรมิ การพฒั นาหลักสูตร รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมเพ่อื สงเสริม
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ
และหลักสูตรทองถนิ่ ท่ีสอดคลองกับสภาพบริบทของพน้ื ท่ีและความตองการของกลุมเปาหมายและชุมชน

2.2 สงเสริมการพฒั นาสอื่ แบบเรยี น สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกสและสื่ออื่น ๆ ทเี่ อ้อื ตอการเรียนรูของผูเรยี น
กลมุ เปาหมายทวั่ ไปและกลุมเปาหมายพเิ ศษ เพ่อื ใหผูเรยี นสามารถเรยี นรูไดทุกที ทุกเวลา
2.3 พัฒนารปู แบบการจัดการศกึ ษาทางไกลใหมีความทันสมัย หลากหลายชองทางการเรียนรู
ดวยระบบหองเรยี นและการควบคุมการสอบรูปแบบออนไลน
2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพอื่ เทียบระดบั การศึกษา และการเทยี บโอนความรูและประสบการณ
เพื่อใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ
รวมท้ังมกี ารประชาสมั พนั ธใหสาธารณชนไดรบั รูและสามารถเขาถงึ ระบบการประเมินได

2.5 พฒั นาระบบการวดั และประเมนิ ผลการศึกษานอกระบบทกุ หลักสูตร โดยเฉพาะหลกั สตู ร
ในระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐานใหไดมาตรฐานโดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส
(e-Exam) มาใชอยางมีประสทิ ธภิ าพ

2.6 สงเสริมและสนับสนนุ การศึกษาวิจัยเพือ่ พฒั นาหลักสูตร รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู การ
วดั และประเมนิ ผล และเผยแพรรปู แบบการจดั สงเสริม และสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย รวมท้ังใหมีการนาไปสูการปฏิบัติอยางกวางขวางและมีการพัฒนาใหเหมาะสมกับบริบทอยางต
อเนื่อง
2.7 พัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาใหไดมาตรฐาน มกี ารพฒั นาระบบการประกัน
คณุ ภาพภายในที่สอดคลองกบั บริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพอ่ื พรอมรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอก
โดยพฒั นาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนกั ถึงความสาคัญของระบบการประกันคณุ ภาพ และสามารถ
ดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเนือ่ งโดยใชการประเมนิ ภายในดวยตนเอง และจัดให
มรี ะบบสถานศึกษาพ่ีเล้ยี งเขาไปสนับสนนุ อยางใกลชิด สาหรบั สถานศกึ ษาที่ยงั ไมไดเขารบั การประเมนิ คุณภาพ
ภายนอก ใหพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนด

3. ดานเทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษา
3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยแุ ละรายการโทรทัศนเพื่อการศกึ ษาเพ่ือใหเชื่อมโยงและตอบสนอง
ตอการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพ่ือกระจายโอกาสทาง
การศึกษาสาหรับกลุมเปาหมายตางๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา
ตนเองใหรเู ทาทันสอ่ื และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสอ่ื สาร เชน รายการพัฒนาอาชพี เพ่ือการมีงานทา รายการ
ติวเขมเติมเต็มความรูรายการ รายการทากินก็ได ทาขายก็ดี ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทร
ทศั นเพอื่ การศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอนิ เทอรเน็ต

3.2 พัฒนาการเผยแพรการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดยผานระบบ
เทคโนโลยีดิจิทัล และชองทางออนไลนตาง ๆ เชน Youtube Facebook หรือ Application อน่ื ๆ เพอื่ สงเสริม
ใหครู กศน. นาเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใชในการสรางกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง (Do It Yourself : DIY)

9 นโยบายและจุดเนนการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงบประมาณพ.ศ. 2564
3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการออกอากาศ
ใหกลมุ เปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูท่ีมีคุณภาพไดอยางตอเน่ืองตลอดชีวิตโดยขยายเครือขายการ
รบั ฟงใหสามารถรบั ฟงไดทกุ ท่ี ทกุ เวลา ครอบคลุมพื้นท่ีท่ัวประเทศและเพิ่มชองทางใหสามารถรับชมรายการโทร
ทัศนไดทั้งระบบ Ku -Band C -Band Digital TV และทางอินเทอรเน็ต พรอมท่ีจะรองรับการพัฒนาเปนสถานี
วิทยุโทรทัศนเพอ่ื การศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พฒั นาระบบการใหบรกิ ารส่ือเทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษาเพ่อื ใหไดหลายชองทางท้ังทาง
อินเทอรเน็ต และรูปแบบอื่น ๆอาทิApplication บนโทรศัพทเคล่ือนท่ี และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline ใน
รูปแบบตางๆเพ่ือใหกลุมเปาหมายสามารถเลือกใชบริการเพ่ือเขาถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูไดตาม
ความตองการ
3.5 สารวจ วิจยั ตดิ ตามประเมินผลดานการใชส่อื เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอยางตอเนื่องเพอ่ื นาผล
มาใชในการพฒั นางานใหมีความถกู ตอง ทันสมยั และสามารถสงเสรมิ การศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชวี ิต
ของประชาชนไดอยางแทจรงิ

4. ดานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอนั เก่ียวเนอ่ื งจากราชวงศ
4.1 สงเสรมิ และสนับสนุนการดาเนนิ งานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดารหิ รอื โครงการ
อันเกยี่ วเน่ืองจากราชวงศ

4.2 จัดทาฐานขอมลู โครงการและกิจกรรมของ กศน.ท่ีสนองงานโครงการอันเน่อื งมาจาก
พระราชดาริหรือโครงการอันเกยี่ วเนื่องจากราชวงศเพ่ือนาไปใชในการวางแผน การตดิ ตามประเมนิ ผลและการ
พฒั นางานไดอยางมีประสิทธภิ าพ

4.3 สงเสรมิ การสรางเครือขายการดาเนนิ งานเพ่อื สนับสนนุ โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ
เพอ่ื ใหเกิดความเขมแข็งในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

4.4 พฒั นาศูนยการเรยี นชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง”เพื่อใหมคี วามพรอมในการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหนาทท่ี ก่ี าหนดไวอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

4.5 จัดและสงเสรมิ การเรียนรูตลอดชวี ติ ใหสอดคลองกบั วิถชี วี ติ ของประชาชนบนพนื้ ท่สี ูง
ถิน่ ทุรกนั ดารและพื้นทช่ี ายขอบ

5. ดานการศกึ ษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต พื้นท่เี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษและพื้นทบ่ี รเิ วณ
ชายแดน
5.1 พฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในจงั หวัดชายแดนภาคใต
1) จดั และพฒั นาหลกั สูตร และกิจกรรมสงเสรมิ การศกึ ษาและการเรยี นรูที่ตอบสนองปญหา
และความตองการของกลุมเปาหมายรวมทั้งอัตลักษณและความเปนพหวุ ัฒนธรรมของพื้นที่
2) พฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานอยางเขมขนและตอเนื่องเพื่อให
ผูเรียนสามารถนาความรูทไ่ี ดรับไปใชประโยชนไดจรงิ
3) ใหหนวยงานและสถานศึกษาจดั ใหมมี าตรการดูแลรกั ษาความปลอดภยั แกบคุ ลากรและ
นักศกึ ษา กศน.ตลอดจนผูมาใชบริการอยางทว่ั ถงึ
5.2 พัฒนาการจัดการศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ
1) ประสานความรวมมือกบั หนวยงานท่ีเกีย่ วของในการจัดทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร
และบริบทของแตละจังหวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ
2) จดั ทาหลกั สูตรการศกึ ษาตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี โดยเนนสาขาทเ่ี ปนความตองการของตลาด
ใหเกดิ การพัฒนาอาชีพไดตรงตามความตองการของพน้ื ท่ี
10 นโยบายและจุดเนนการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปงบประมาณพ.ศ. 2564
5.3 จัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงของศนู ยฝกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน(ศฝช.)
1) พฒั นาศูนยฝกและพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน เพอื่ ใหเปนศูนยฝกและสาธิต
การประกอบอาชพี ดานเกษตรกรรม และศูนยการเรียนรูตนแบบการจดั กจิ กรรมตามแนวพระราชดารปิ รชั ญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง สาหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนดวยวธิ กี ารเรยี นรูที่หลากหลาย

2) มุงจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใชวิธีการหลากหลายใชรูปแบบเชิงรุกเพ่ือการเขาถึงกลุมเปาหมาย เชน
การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขาย การจัดอบรมแกนนาดานอาชีพท่ีเนนเร่ืองเกษตร
ธรรมชาติที่สอดคลองกบั บรบิ ทของชุมชนชายแดน ใหแกประชาชนตามแนวชายแดน
6. ดานบุคลากรระบบการบริหารจัดการ และการมสี วนรวมของทุกภาคสวน
6.1 การพฒั นาบุคลากร
1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงข้ึนอยางตอเน่ือง ท้ังกอนและระหวางการดารงตาแหน
งเพ่ือใหมเี จตคตทิ ่ีดีในการปฏิบตั ิงานใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาแหนง ใหตรงกับสายงาน
ความชานาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดาเนินงานของหนวยงาน
และสถานศึกษาไดอยางมีประสทิ ธภิ าพรวมท้ังสงเสริมใหขาราชการในสงั กัดพัฒนาตนเองเพอ่ื เล่อื นตาแหนง
หรอื เล่ือนวทิ ยฐานะโดยเนนการประเมนิ วทิ ยฐานะเชิงประจักษ

2) พฒั นาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะท่จี าเปนครบถวน มีความเปนมืออาชพี สามารถ
ปฏิบัติการนเิ ทศไดอยางมศี ักยภาพ เพอื่ รวมยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศยั ในสถานศกึ ษา

3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตาบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงข้ึน เพ่ือการบริหารจัดการ กศน.ตาบล/แขวงและการ
ปฏิบตั งิ านตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนกั จัดการความรูและผูอานวยความสะดวกใน
การเรียนรูเพอ่ื ใหผูเรียนเกดิ การเรยี นรูที่มีประสทิ ธิภาพอยางแทจริง

4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรียนรูไดอยางมี
คุณภาพโดยสงเสริมใหมคี วามรูความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจดั กระบวนการเรียนรู การวัด
และประเมินผล และการวิจัยเบือ้ งตน

5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ทร่ี บั ผดิ ชอบการบริการการศกึ ษาและการเรียนรู ใหมคี วามรู
ความสามารถและมีความเปนมอื อาชีพในการจดั บรกิ ารสงเสริมการเรยี นรูตลอดชวี ิตของประชาชน

6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทกุ ระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมในการ
บรหิ ารการดาเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยางมีประสทิ ธภิ าพ

7) พฒั นาอาสาสมคั ร กศน. ใหสามารถทาหนาท่ีสนับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ

8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือขายทั้งในและตางประเทศใน
ทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพื่อเสริมสรางสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานรวมกันในรูปแบบที่
หลากหลายอยางตอเน่อื งอาทิ การแขงขันกฬี า การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนาประสิทธภิ าพ
ในการทางาน

6.2 การพฒั นาโครงสรางพน้ื ฐานและอตั รากาลงั
1) จัดทาแผนการพฒั นาโครงสรางพน้ื ฐานและดาเนนิ การปรบั ปรุงสถานที่และวัสดอุ ุปกรณใหมี

ความพรอมในการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู

2) สรรหา บรรจุ แตงต้ัง และบรหิ ารอตั รากาลงั ท่มี ีอยูท้งั ในสวนท่ีเปนขาราชการ พนักงานราชการ
และลูกจาง ใหเปนไปตามโครงสรางการบริหารและกรอบอัตรากาลัง รวมท้ังรองรับกับบทบาทภารกิจตามที่
กาหนดไว
ใหเกิดประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ในการปฏบิ ัติงาน

11 นโยบายและจุดเนนการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงบประมาณพ.ศ. 2564
3) แสวงหาความรวมมือจากภาคีเครอื ขายทุกภาคสวนในการระดมทรัพยากรเพื่อนามาใช

ในการปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานใหมีความพรอมสาหรบั ดาเนินกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัย และการสงเสริมการเรียนรูสาหรับประชาชน
6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ
1) พฒั นาระบบฐานขอมลู ใหมคี วามครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเช่อื มโยงกนั ทั่วประเทศ
อยางเปนระบบเพอื่ ใหหนวยงานและสถานศกึ ษาในสงั กัดสามารถนาไปใชเปนเครื่องมือสาคัญในการบรหิ าร
การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย
อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

2) เพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเรงรดั
การเบิกจายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายท่ีกาหนดไว

3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันทั่ว
ประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรียนและการ
บริหารจดั การอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

4) สงเสริมใหมีการจัดการความรูในหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัยเพ่ือสามารถนามา
ใช ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานที่สอดคล องกับความต องการของประชาชนและชุมชนพ ร อมทั้ง
พัฒนาขีดความสามารถเชงิ การแขงขนั ของหนวยงานและสถานศึกษา

5) สรางความรวมมือของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศและตาง
ประเทศ รวมทั้งสงเสรมิ และสนบั สนุนการมสี วนรวมของชมุ ชนเพือ่ สรางความเขาใจ และใหเกิดความรวมมอื
ในการสงเสรมิ สนับสนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรยี นรูใหกบั ประชาชนอยางมีคุณภาพ

6) สงเสรมิ การใชระบบสานกั งานอเิ ล็กทรอนิกส e -office) ในการบริหารจดั การ เชน ระบบการ
ลา ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ระบบการขอใชรถราชการ ระบบการขอใชหองประชุม เปนตน

7) พัฒนาและปรบั ระบบวธิ กี ารปฏบิ ัตริ าชการใหทนั สมัย มีความโปรงใส ปลอดการทจุ ริต
และประพฤตมิ ิชอบ บริหารจัดการบนขอมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ มุงผลสมั ฤทธม์ิ คี วามโปรงใส

6.4การกากับ นเิ ทศติดตามประเมนิ และรายงานผล
1) สรางกลไกการกากบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหเชอ่ื มโยงกบั หนวยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือขายทั้งระบบ

2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาที่เก่ียวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตามและรายงานผลการนา
นโยบายสูการปฏบิ ัติ ใหสามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแตละเรอื่ งไดอยางมปี ระสิทธิภาพ

3) สงเสรมิ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร และส่ืออน่ื ๆ ที่เหมาะสม เพือ่ การกากบั
นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยางมีประสิทธิภาพ

4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏบิ ัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปของหนวยงาน
สถานศึกษา เพอ่ื การรายงานผลตามตวั ชวี้ ดั ในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาป ของสานักงานกศน.ใหดาเนิน
ไปอยางมีประสิทธภิ าพ เปนไปตามเกณฑ วธิ กี าร และระยะเวลาทก่ี าหนด

5) ใหมีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ตั้งแตสวนกลาง
ภมู ภิ าค กลุมจงั หวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพื่อความเปนเอกภาพในการใชขอมูลและการพัฒนา
งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

ส่วนท่ี 4
รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แผนงานและโครงการการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2564
1. แผนงานและโครงการการใชจ้ า่ ยงบประมาณ แผนงาน พืน้ ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน
โครงการ สนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดดารศกึ ษาตงั้ แตอ่ นบุ าลจนจบการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
2. ชื่อโครงการ การจัดการศกึ ษาพื้นฐาน

ที่ รายการ จานวน พ้ื น ที่ / ร ะ ย ะ เ ว ล า หมายเหตุ
เงนิ เ ป้ า ห ม า ย ดาเนินการ
1 การจดั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
- ระดับประถมศึกษา ดาเนินการ
- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
- ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 40 คน กศ น . ต า บ ล ตุลาคม 2563-
แมต่ า กนั ยายน 2564

ลงชือ่ .......................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ ลงชอื่ ............................................ผู้เหน็ ชอบแผนงาน/โครงการ
(นายธนธัส ใจยืน) (นางสาวเนตรนภา ประเสริฐสงั ข์)
ครู ผชู้ ่วย

ลงชอ่ื ....................................ผู้อนุมตั แิ ผนงาน/โครงการ
( นางจารุณี แกว้ ประภา )

ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งพะเยา

แผนงานและโครงการการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ 2564
1. แผนงานและโครงการการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน พืน้ ฐานด้านการพฒั นาและส่งเสริมศกั ยภาพคน
ผลผลิตท่ี 4 ผูร้ ับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ (4004) งบดาเนนิ งาน
2. ชอื่ โครงการ จัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ

ท่ี รายการ จานวนเงิน พืน้ ท่/ี เป้าหมาย ระยะเวลา หมายเหตุ
ดาเนินการ ดาเนินการ
1. 1. โครงการจดั กระบวนการเรียนรู้ 2,415 วันที่ 10
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ 19 คน
พอเพยี ง เกษตรปลอดภัย งดใช้ ตาบลแม่ตา กุมภาพันธ์
สารเคมีเน้น ชีววถิ พี อเพียง
2564

2. 2. โครงการจดั กระบวนการเรียนรู้ 2,070 18 คน 21 ก.ค.
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ ตาบลแมต่ า พ.ศ. 2564
พอเพียง เกษตรปลอดภยั งดใช้
สารเคมเี น้น ชีววิถพี อเพียง

ลงชื่อ.......................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ ลงชือ่ ............................................ผู้เห็นชอบแผนงาน/โครงการ
(นายธนธสั ใจยืน) (นางสาวเนตรนภา ประเสรฐิ สงั ข์)

ครู ผชู้ ่วย

ลงชอื่ ....................................ผู้อนุมตั แิ ผนงาน/โครงการ
( นางจารณุ ี แก้วประภา )

ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอเมืองพะเยา

แผนงานและโครงการการใช้จา่ ยงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2564
1. แผนงานและโครงการการใชจ้ ่ายงบประมาณ แผนงาน พนื้ ฐานด้านการพฒั นาและส่งเสรมิ ศักยภาพคน
ผลผลติ ท่ี 4 ผูร้ บั บริการการศึกษานอกระบบ (4004) งบดาเนินงาน
2. ช่ือโครงการ จัดการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสังคมและชุมชน

ที่ รายการ จานวน พ้นื ที่/เป้าหมาย ระยะเวลา หมายเหตุ

เงนิ ดาเนินการ ดาเนินการ

1 1. โครงการจดั กระบวนการเรียนรู้

การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและ 8,025 22 คน วนั ที่ 26
ชมุ ชน“สร้างพลงั งานทดแทน ดว้ ย ตาบลแมต่ า มีนาคม ๒๕๖4
พลงั งานแสงอาทิตย์” อาเภอเมืองพะเยา

2 2. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้

การศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและ 6,182 25 คน 6 ส.ค.
ชมุ ชน “สร้างจติ สานึก สร้างวนิ ัย ตาบลแมต่ า พ.ศ. 2564
รักษาสงิ่ แวดลอ้ ม” อาเภอเมืองพะเยา

3 3. โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้

การศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและ 4,200 20 คน 12 ก.ย.
ชมุ ชนการดาเนนิ ชีวิตพลเมืองท่ีดี ตาบลแม่ตา พ.ศ. 2564
ตามวถิ ีประชาธิปไตย อาเภอเมืองพะเยา

ลงช่ือ.......................................ผ้เู สนอแผนงาน/โครงการ ลงชอ่ื ............................................ผู้เห็นชอบแผนงาน/โครงการ
(นายธนธัส ใจยืน) (นางสาวเนตรนภา ประเสริฐสังข์)

ครู ผูช้ ว่ ย

ลงชือ่ ....................................ผู้อนมุ ัติแผนงาน/โครงการ
( นางจารุณี แก้วประภา )

ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองพะเยา

แผนงานและโครงการการใชจ้ ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2564
1. แผนงานและโครงการการใช้จ่ายงบประมาณ แผนงาน บรูณาการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการ
เรียนรู้ตลอดชวี ิต (งบรายจา่ ยอ่ืน)
2. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

ที่ รายการ จานวนเงิน พ้ื น ที่ / เ ป้ า ห ม า ย ร ะ ย ะ เ ว ล า หมายเหตุ

ดาเนินการ ดาเนนิ การ

๑ ชัน้ เรียน 23 - 30

๑.1 การพัฒนารูปแบบ 13,000 กศน.ตาบลแมต่ า ก.ค. 64

ผลิตภัณฑผ์ า้ ด้นมือ 15 คน

๑.๒ วชิ าการปักผ้าดว้ ยมอื 8,970 กศน.ตาบลแม่ตา 3 - 10

1.3 การสานกระเป๋าเส้น 8,970 11 ตน ส.ค. 64

พลาสติก

๒ กล่มุ สนใจ 5 คน 27 - 31

๑.๒ วชิ าการทาสบสู่ มนุ ไพร 4000 กศน.ตาบลแมต่ า ม.ค. 64

๑.๒ วชิ าการปักผ้าดว้ ยมือ 3000 กศน.ตาบลแม่ตา 4-7

5 คน ก.พ. 64

๑.๒วชิ าการทานา้ ยา 4000 5 คน 18 - 27
กศน.ตาบลแมต่ า ก.พ.
อเนกประสงคแ์ ละเจล 64
แอลกอฮอลล์ ้างมือ

๑.๒วชิ าการทาน้ายา 3,280 กศน.ตาบลแมต่ า 20 - 23

อเนกประสงคแ์ ละเจล 5 คน ก.ค.
แอลกอฮอล์ลา้ งมอื ๖4

ลงชื่อ.......................................ผูเ้ สนอแผนงาน/โครงการ ลงชอื่ ............................................ผู้เห็นชอบแผนงาน/โครงการ
(นายธนธสั ใจยืน) (นางสาวเนตรนภา ประเสรฐิ สังข์)
ครู ผชู้ ่วย

ลงชอ่ื ....................................ผู้อนมุ ัตแิ ผนงาน/โครงการ
( นางจารณุ ี แกว้ ประภา )

ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื งพะเยา

แผนงานและโครงการการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ 2564
1. แผนงานและโครงการการใช้จา่ ยงบประมาณ แผนงาน พ้ืนฐานด้านการพฒั นาและสง่ เสรมิ ศกั ยภาพคน
ผลผลติ ที่ 4 ผ้รู บั บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ (4004) งบดาเนินงาน
2. ชอื่ โครงการ การจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ท่ี รายการ จานวนเงนิ พนื้ ท่/ี เป้าหมาย ระยะเวลา หมายเหตุ
ดาเนนิ การ ดาเนินการ

1 โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ 9,200 ตาบลแม่ตา่ วนั ท่ี 22-23
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ 20 คน มนี าคม ๒๕๖4
พอเพยี ง เกษตรปลอดภัย งดใช้
สารเคมเี น้น ชีววถิ พี อเพยี ง

2 โครงการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 7,600 ตาบลแมต่ า่ 29 กรกฎาคม
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 19 คน พ.ศ. 2564
พอเพยี ง เกษตรปลอดภัย งดใช้
สารเคมีเนน้ ชีววถิ ีพอเพียง

3 โครงการการจัดกระบวนการ ตาบลแม่ตา่ 30 สิงหาคม
เรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของ 20 คน พ.ศ. 2564
เศรษฐกิจพอเพียงสวู้ กิ ฤตโิ ควิด 3,900
- 19 กจิ กรรมการเรียนรูก้ าร
เพาะเห็ดฟางในตะกร้าพลาสตกิ

ลงชอ่ื .......................................ผ้เู สนอแผนงาน/โครงการ ลงชอ่ื ............................................ผู้เหน็ ชอบแผนงาน/โครงการ
(นายธนธัส ใจยนื ) (นางสาวเนตรนภา ประเสริฐสงั ข์)
ครู ผชู้ ว่ ย

ลงชอื่ ....................................ผู้อนุมัตแิ ผนงาน/โครงการ
( นางจารณุ ี แก้วประภา )

ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมืองพะเยา

แผนงานและโครงการการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ 2564
1. แผนงานและโครงการการใชจ้ า่ ยงบประมาณ แผนงาน .......................................
2. โครงการ การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั

ที่ รายการ จานวนเงนิ พ้ืนท่ี/เป้าหมาย ร ะ ย ะ เ ว ล า หมายเหตุ

ดาเนินการ ดาเนินการ

1 1. จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านใน - ตาบลแม่ตา ตุ ล า ค ม 2 5 6 3-

กศน.ตาบลและนอกตาบล กันยายน 2564

2. กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านสาหรับ

นกั ศกึ ษา กศน.

- กิจกรรมวนั เด็กแหง่ ชาติ

- กิจกรรมการจัดนิทรรศการวัน

สาคัญ ตา่ ง ๆ

3. การให้บริการใน กศน.ตาบล

- การให้บริการยืมคืนหนังสือเรียน

และส่ือต่าง ๆ ภายใน กศน.

ตาบล

4.การบริการอบรมให้ความรู้ด้าน

ICT

- อบรมการใช้งานการเรียนผ่าน

สมาร์ทโฟนของนักศึกษา กศน.

ตาบลแม่ตา

ลงชอ่ื .......................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ ลงชอื่ ............................................ผู้เห็นชอบแผนงาน/โครงการ

(นายธนธสั ใจยืน) (นางสาวเนตรนภา ประเสรฐิ สงั ข์)

ครู ผชู้ ่วย

ลงช่อื ....................................ผู้อนมุ ตั แิ ผนงาน/โครงการ
( นางจารณุ ี แกว้ ประภา )

ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งพะเยา

แผนงานและโครงการการใช้จา่ ยงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ 2564

1. แผนงานและโครงการการใช้จา่ ยงบประมาณ แผนงาน พ้นื ฐานด้านการพัฒนาและสง่ เสรมิ ศกั ยภาพคน

ผลผลิตท่ี 4 ผ้รู ับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ (4004) งบดาเนนิ งาน

2. โครงการ บรรณสัญจร

ท่ี รายการ จานวนเงนิ พ้ืนท่ี/เป้าหมาย ร ะ ย ะ เ ว ล า หมายเหตุ

ดาเนินการ ดาเนนิ การ

1 โครงการ บรรณสัญจร - ตาบลแมต่ า ตุ ล า ค ม 2 5 63-

1. จัดกิจกรรมการส่งเสริม กันยายน 2564

ก า ร อ่ า น แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า

รู ป แ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม

อัธยาศยั ที่มคี ุณภาพ

2. รับบริจาคหนังสือจานวน

100 เลม่

ลงชอื่ .......................................ผเู้ สนอแผนงาน/โครงการ ลงช่อื ............................................ผู้เหน็ ชอบแผนงาน/โครงการ

(นายธนธสั ใจยืน) (นางสาวเนตรนภา ประเสริฐสังข์)

ครู ผชู้ ่วย

ลงชือ่ ....................................ผู้อนุมัตแิ ผนงาน/โครงการ
( นางจารณุ ี แก้วประภา )

ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเมอื งพะเยา


Click to View FlipBook Version