The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผน ปี 62 กศน.ตำบลแม่ต๋ำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sakhrit2520, 2021-11-25 01:37:23

แผน ปี 2564 กศน.ตำบลแม่ต๋ำ

แผน ปี 62 กศน.ตำบลแม่ต๋ำ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจ
สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอก

(จาแนกตามง

 หนว่ ยงาน กศน.ตาบลแม่ตา  สถานศกึ ษา กศน.อาเภอเมืองพะเยา

สอหดนคว่ลย้องงากนับ.น...โ.ย..บ...า..ย..ส...า..ค..ัญ....ข...้อ..ท...่.ี .......................................ส..ถ...า.นแศลึกะษนาโย.บ...า..ย..ต...า..ม..ภ...า..ร.ก...ิจ...ข...้อ..ท...ี่ ...........................................

ชือ่ งาน/โครงการ โครงการจัดกระบวนการเรียนรตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

วตั ถุประสงค์ กิจกรรมหลกั
1เพือ่ จดั กระบวนการเรยี นรู้ขยายผลดา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง อบรมใหค้ วามรู้ศกึ ษาดงู านเศรษฐกิจ
ระดับหมู่บา้ นเพ่อื ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจแนวคิด
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป้าหมาย
2.เพอ่ื ใหป้ ระชาชนทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการมกี ารเรยี นรู้ดาเนนิ ชีวิต ประเภทกลุ่มเปา้ หมาย
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจากการปฏบิ ตั ิจริง
3. เพ่ือขยายผลใหป้ ระชาชนนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของ - ประชาชนตาบลแมต่ า
เศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั

ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ เชิงคณุ ภาพ
เชงิ ปริมาณ ผรู้ อ้ ยละ 80 มีความรคู้ วาม
เข้าใจ ตามหลกั ปรัชญาของ
รอ้ ยละ 80 ของ เศรษฐกิจพอเพียง เกดิ การ
กล่มุ เปา้ หมายท่เี ข้ารว่ ม เรยี นรจู้ ากการปฏิบตั ิจรงิ
โครงการสามารถนาความรู้ ขยายผลและนาแนวคิดตาม
ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้

จาปงี บประมาณ 2564 กศน-กผ-02
กระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
งาน / โครงการ)

 สานกั งาน กศน. (จงั หวัด/กทม.) พะเยา .

....ส..า..น..กั...ง..า..น...ก...ศ..น......(จังหวัด/กทมงบ.)ป..ร..ะ..ม..า..ณ.....จ...า.นพวะนเยา….…..…...…..…..…...…..…..7...,.6..00…………………………บาท

งบดาเนินงาน งบรายจา่ ยอนื่

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

7,600

จพอเพยี ง

จานวนเปา้ หมาย พน้ื ทดี่ าเนินการ
19 คน ตาบลแมต่ า อาเภอเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา

ผู้รบั ผดิ ชอบ
- ช่อื – สกุล นายธนธัส ใจยืน
- โทรศัพท์ 085-6956057

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจ
สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอก

(จาแนกตามง

 หนว่ ยงาน กศน.ตาบลแม่ตา  สถานศกึ ษา กศน.อาเภอเมืองพะเยา

สอหดนคว่ลย้องงากนับ.น...โ.ย..บ...า..ย..ส...า..ค..ัญ....ข...้อ..ท...่.ี .......................................ส..ถ...า.นแศลึกะษนาโย.บ...า..ย..ต...า..ม..ภ...า..ร.ก...ิจ...ข...้อ..ท...ี่ ...........................................

ชือ่ งาน/โครงการ โครงการจัดกระบวนการเรียนรตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

วตั ถุประสงค์ กิจกรรมหลกั
1เพือ่ จดั กระบวนการเรยี นรู้ขยายผลดา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง อบรมใหค้ วามรู้ศกึ ษาดงู านเศรษฐกิจ
ระดับหมู่บา้ นเพ่อื ให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจแนวคิด
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เป้าหมาย
2.เพอ่ื ใหป้ ระชาชนทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการมกี ารเรยี นร้ดู าเนนิ ชีวิต ประเภทกลุ่มเปา้ หมาย
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจากการปฏบิ ตั ิจริง
3. เพ่ือขยายผลใหป้ ระชาชนนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของ - ประชาชนตาบลแมต่ า
เศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวนั

ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ เชิงคณุ ภาพ
เชงิ ปริมาณ ผรู้ ้อยละ 80 มีความรคู้ วาม
เข้าใจ ตามหลกั ปรัชญาของ
รอ้ ยละ 80 ของ เศรษฐกิจพอเพียง เกดิ การ
กล่มุ เปา้ หมายท่เี ข้ารว่ ม เรยี นรจู้ ากการปฏิบตั ิจรงิ
โครงการสามารถนาความรู้ ขยายผลและนาแนวคิดตาม
ไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้

จาปงี บประมาณ 2564 กศน-กผ-02
กระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
งาน / โครงการ)

 สานกั งาน กศน. (จงั หวัด/กทม.) พะเยา .

....ส..า..น..กั...ง..า..น...ก...ศ..น......(จังหวัด/กทมงบ.)ป..ร..ะ..ม..า..ณ.....จ...า.นพวะนเยา….…..…...…..…..…...…..…..3...,.9..00…………………………บาท

งบดาเนินงาน งบรายจา่ ยอนื่

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

3,900

จพอเพยี ง

จานวนเปา้ หมาย พน้ื ทดี่ าเนินการ
20 คน ตาบลแมต่ า อาเภอเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา

ผู้รบั ผดิ ชอบ
- ช่อื – สกุล นายธนธัส ใจยืน
- โทรศัพท์ 085-6956057

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจ
สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอก

(จาแนกตามง

 หนว่ ยงาน กศน.ตาบลแม่ตา  สถานศึกษา กศน.อาเภอเมืองพะเยา

สอหดนค่วลย้องงากนับ.น...โ.ย..บ...า..ย..ส...า..ค..ญั ....ข...้อ..ท...่.ี .......................................ส..ถ...า.นแศลกึ ะษนาโย.บ...า..ย..ต...า..ม..ภ...า..ร.ก...จิ ...ข...อ้ ..ท...ี่ ...........................................

ชอื่ งาน/โครงการ โครงการจดั กระบวนการเรยี นรพู้ ฒั นาสังคม

วตั ถปุ ระสงค์ กจิ กรรมหลกั
1. เพ่ือให้ประชาชน มีความรู้ความสามารถ และ
1. โครงการจัดกระบวนการเรยี นร
ดาเนินชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชน ให้อยู่ในสังคมได้ ขยะอย่างเปน็ ระบบ
อย่างมีความสขุ 2. โครงการจดั กระบวนการเรียนร
ความเปน็ พลเมืองดีตามวิถีประชาธ
2. เพื่อสร้างจิตสานึกวินัยในชุมชน และการเพ่ิม
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน และ เป้าหมาย
การอนุรกั ษพ์ ลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ประเภทกลุ่มเป้าหมาย

3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้คู่คุณธรรมเสริมสร้าง - ประชาชนทวั่ ไปในตาบลแมต่ า

จิตสานึกของความเป็นพลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธิปไตย

ตวั ชี้วัดความสาเร็จ เชิงคุณภาพ
เชิงปรมิ าณ ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมี

ประชาชนท่วั ไปในตาบลแม่ตา ความรคู้ วามเขา้ ใจ และ

จานวน 25 คน สามารถคดั แยกขยะได้

จาปงี บประมาณ 2564 กศน-กผ-02
กระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
งาน / โครงการ)

 สานักงาน กศน. (จังหวัด/กทม.) พะเยา .

....ส..า..น..กั...ง..า..น...ก...ศ..น......(จงั หวัด/กทมงบ.)ป..ร..ะ..ม..า..ณ.....จ...า.นพวะนเยา….…..…...…..…..…...…..…..6...,.1..82…………………………บาท

งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอนื่

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

6,182

รู้ การบริหารจัดการ

รู้ พ้ืนที่ดาเนินการ
ธปิ ไตย - ตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา จังหวดั พะเยา

จานวนเป้าหมาย ผรู้ บั ผดิ ชอบ
25 คน
- ชอื่ – สกุล นายธนธัส ใจยืน
- โทรศัพท์ 085-6956057

แผนปฏบิ ัติการประจ
สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอก

(จาแนกตามง

 หน่วยงาน กศน.ตาบลแมต่ า  สถานศึกษา กศน.อาเภอเมืองพะเยา

สอหดนคว่ลยอ้ งากนับ.น...โ.ย..บ...า..ย..ส...า..ค..ญั ....ข...้อ..ท...่ี .......................ส..ถ...า.นแศลึกะษนาโย.บ...า..ย..ต...า..ม..ภ...า..ร.ก...ิจ...ข...อ้ ..ท...ี่ .......................

ชือ่ งาน/โครงการ โครงการส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

วัตถุประสงค์ กจิ กรรมหลกั
1. เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้นกั เรียน นักศกึ ษาประชาชนมนี ิสยั รักการ จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นใน กศน.
อ่าน เกดิ การแสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรค์ รจู้ ักใช้เวลาวา่ งให้
เกิดประโยชน และส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนไดเ้ รยี นรตู้ ลอดชวี ิต คนื หนงั สือเรยี นและส่ือต่างๆ ใหบ้
ตลอดเวลา
อนิ เทอร์เนต็
ตวั ช้วี ดั ความสาเร็จ เชิงคณุ ภาพ
เปา้ หมาย
เชิงปรมิ าณ นักเรียน นกั ศกึ ษาประชาชนรู ประเภทกลุ่มเปา้ หมาย
ร้อยละ 80 ของนกั เรียน จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน
นกั ศกึ ษาประชาชนรจู กั ใช้ มีนสิ ยั รกั การอา่ นและสามารถ - เยาวชน/นักเรียน/นักศกึ ษา/
เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน สืบค้นควา้ ข้อมลู ทาง ประชาชนท่วั ไป
อนิ เทอรเ์ นต็ ได้

จาปงี บประมาณ 2564 กศน-กผ-02
กระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
งาน / โครงการ)

 สานักงาน กศน. (จงั หวดั /กทม.) พะเยา .

....ส..า..น..ัก...ง..า..น...ก...ศ..น.....(จงั หวดั /กทมงบ.)ป..ร..ะ..ม..า..ณ.....จ...า.นพวะนเยา….…..…...…..…..…...…..…..…...…..…. …………………………………บาท

งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่น

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

.ตาบล ใหบ้ รกิ ารยืม

บรกิ ารสบื คน้ ทาง

จานวนเปา้ หมาย พ้นื ทด่ี าเนินการ
300 คน ตาบลแมต่ า อาเภอเมอื งพะเยา จงั หวัดพะเยา

ผู้รับผดิ ชอบ
- ชอ่ื – สกุล นายธนธสั ใจยนื
- โทรศัพท์ 085-6956057

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจ
สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอก

(จาแนกตามง

 หนว่ ยงาน กศน.ตาบลแมต่ า  สถานศกึ ษา กศน.อาเภอเมืองพะเยา

สอหดนค่วลย้องงากนบั .น...โ.ย..บ...า..ย..ส...า..ค..ญั ....ข...อ้..ท...่.ี .......................................ส..ถ...า.นแศลกึ ะษนาโย.บ...า..ย..ต...า..ม..ภ...า..ร.ก...ิจ...ข...้อ..ท...ี่ ...........................................

ชอื่ งาน/โครงการ โครงการบรรณสญั จร

1(วบ.ัตา้เถพนปุ ่อืหรสนะง่ สังเสสงครอื มิ์ชสมุ นชับนส)นุนให้นกั ศกึ ษาประชาชนและผู้ด้อย กิจกรรมหลกั
จัดกจิ กรรมการส่งเสริมการอ่านและก
พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา ได้รบั โอกาสทาง การศึกษาตามอธั ยาศยั ทมี่ ีคณุ ภาพ

การศึกษา ในรูปแบบการศึกษาตามอธั ยาศัย ทม่ี คี ณุ ภาพ เป้าหมาย
ประเภทกลุ่มเป้าหมาย
อย่างทวั่ ถึง และเท่าเทียมกัน
- ประชาชนตาบลแมต่ า
2. เพื่อสนับสนุนการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ นให้กบั ชุมชน

และภาคีเครอื ขา่ ยตามการจดั กิจกรรมการศึกษาตาม

อตัธวั ยชาวี้ ศัดยั ความสาเรจ็

เชงิ ปรมิ าณ เชงิ คุณภาพ

รอ้ ยละ 80 ผู้ทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรม ผูท้ ่เี ข้ารว่ มกจิ กรรม

ไดร้ บั โอกาสและการเรยี นรู้ ไดร้ บั โอกาสและการ
ทางด้านการจดั กจิ กรรมการ เรียนรู้ทางดา้ นการจดั
ส่งเสรมิ การอ่านและการศกึ ษา กจิ กรรมการสง่ เสรมิ การ
รปู แบบการศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่ี อา่ น

มคี ณุ ภาพ

จาปงี บประมาณ 2564 กศน-กผ-02
กระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
งาน / โครงการ)

 สานักงาน กศน. (จงั หวดั /กทม.) พะเยา .

....ส..า..น..ัก...ง..า..น...ก...ศ..น......(จังหวัด/กทมงบ.)ป..ร..ะ..ม..า..ณ.....จ...า.นพวะนเยา….…..…...…..…..…...…..…..…...…..…. …………………………………บาท

งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอ่ืน

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

การศกึ ษารปู แบบ

จานวนเป้าหมาย พ้นื ทีด่ าเนินการ
100 เลม่ ตาบลแมต่ า อาเภอเมืองพะเยา จงั หวัดพะเยา

ผู้รับผดิ ชอบ
- ช่อื – สกลุ นายธนธสั ใจยนื
- โทรศพั ท์ 085-6956057

แผนปฏบิ ตั ิการประจ
สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอก

(จาแนกตามง

 หนว่ ยงาน กศน.ตาบลแมต่ า  สถานศึกษา กศน.อาเภอเมืองพะเยา

สอหดนค่วลย้องากนบั .น...โ.ย..บ...า..ย..ส...า..ค..ัญ....ข...้อ..ท...ี่ .......................ส..ถ...า.นแศลกึ ะษนาโย.บ...า..ย..ต...า..ม..ภ...า..ร.ก...ิจ...ข...อ้ ..ท...่ี .......................

ชอ่ื งาน/โครงการ กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน (บา้ นหนงั สือชมุ ชน)

ว(บตั า้ถนปุ หรนะสังสงคอื ์ชมุ ชน) กจิ กรรมหลกั
1. มสี ถานทใ่ี ห้ประชาชนไดอ่าน หนังสือในชวี ิตประจาวัน 1. อบรมใหค้ วามรกู ับ อาสาสมคั รบ้าน
2. สง่ เสรมิ การเรยี นรขู องประชาชน จากการอา่ นหนงั สือ 2. บรกิ ารหนงั สือเพอ่ื ให้ ความรทู ่ีไดไป
การอ่านใหก้ ับชุมชน
ตวั ช้วี ัดความสาเร็จ เชิงคุณภาพ 3. อนื่ ๆ
เชิงปรมิ าณ 1.ไดสถานทีใ่ หป้ ระชาชน
ได อ่านหนังสอื ใน เปา้ หมาย
รอ้ ยละ 80 ของนกั ศึกษาและ ชวี ิตประจาวนั ประเภทกลุ่มเปา้ หมาย
2. ส่งเสรมิ การเรียนรขู อง
ประชาชนตาบลแม่ตา มนี สิ ยั รัก ประชาชนจากการอ่าน - ประชาชนตาบลแม่ตา
หนังสอื
การอ่าน

จาปงี บประมาณ 2564 กศน-กผ-02
กระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
งาน / โครงการ)

 สานักงาน กศน. (จังหวดั /กทม.) พะเยา .

....ส..า..น..กั...ง..า..น...ก...ศ..น.....(จังหวดั /กทมงบ.)ป..ร..ะ..ม..า..ณ.....จ...า.นพวะนเยา….…..…...…..…..…...…..…..…...…..…. …………………………………บาท

งบดาเนนิ งาน งบรายจ่ายอื่น

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

นหนงั สอื ชมุ ชน
ปเผยแพรและ สง่ เสริม

พื้นท่ีดาเนินการ
ตาบลแมต่ า อาเภอเมอื งพะเยา จงั หวัดพะเยา

จานวนเปา้ หมาย ผรู้ ับผดิ ชอบ
2 แหง่ - ช่ือ – สกุล นายธนธสั ใจยนื
- โทรศัพท์ 085-6956057

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจ
สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอก

(จาแนกตามง

 หน่วยงาน กศน.ตาบลแม่ตา  สถานศึกษา กศน.อาเภอเมืองพะเยา

หนว่ ยงาน.................................................  สถานศกึ ษา .......................................................
สอดคล้องกบั นโยบายสาคัญ ข้อที่.............................. และนโยบายตามภารกจิ ข้อท่ี .......................

ชื่องาน/โครงการ โครงการอบรมบูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจดจิ ิทัล หลกั สูตรการใชโ้ ปรแกรมสานกั งาน

การสรา้ งโอกาสการมีงานทา และหลกั สตู รการคา้ ออนไลน์
วัตถปุ ระสงค์ กิจกรรมหลกั

1. เพ่ือใหผ้ ้เู ขา้ ร่วมโครงการเกิดการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั ที่ 1. จัดอบรมหลักสตู รการเขา้ ใจดิจทิ ัล

ปลอดภยั สามารถใชง้ านสมารท์ โฟนไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและเกิด 2.จัดอบรมหลกั สตู รการคา้ ออนไลน

ประโยชน์ตอ่ ตนเองและสงั คม

2. เพอ่ื ให้ผเู้ ข้าร่วมโครงการมีความรคู้ วามเขา้ ใจในหลักการ

ตลาด การเพิม่ มลู คา่ ใหก้ บั สนิ คา้ และการโปรโมทสนิ คา้

3. เพื่อให้ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการสามารถ นาระบบ เปา้ หมาย
Digital Marketing เป็นชอ่ งทางในการ
ประชาสมั พันธแ์ ละเพิ่มรายได้ ประเภทกล่มุ เปา้ หมาย

ตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็ เชิงคุณภาพ - ผู้นา
เชิงปรมิ าณ -ประชาชนท่ัวไป
- กลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชน

ประชนชนตาบล ผ้ทู ีเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม เกดิ การใช้
แมต่ า25 คน เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทป่ี ลอดภัยสามารถ
ใชง้ านสมารท์ โฟนได้
อย่างถกู ต้องมคี วามรู้ความเขา้ ใจใน

หลักการตลาด การเพม่ิ มูลคา่ ใหก้ บั
สนิ ค้าและการโปรโมทสินคา้ ผา่ น

ชอ่ งทาง Digital Marketing

จาปงี บประมาณ 2564 กศน-กผ-02
กระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
งาน / โครงการ)

 สานกั งาน กศน. (จงั หวัด/กทม.) พะเยา .

 สานักงาน กศน. (จังหวัด/กทม.) ...................พะเยา.......................
..............................
งบประมาณ จานวน ………………6,600.-………………………บาท

นเพ่ือ งบดาเนนิ งาน งบรายจา่ ยอ่นื

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

ล Digital Literacy 6,600.-

น์

จานวนเปา้ หมาย พ้นื ที่ดาเนินการ
25 คน - ตาบลแม่ตา อาเภอเมืองพะเยา จงั หวดั พะเยา

ผู้รับผิดชอบ
- ช่อื – สกุล นายธนธัส ใจยนื
- โทรศัพท์ 085-6956057

แผนปฏบิ ตั ิการประจ
สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอก

(จาแนกตามง

 หนว่ ยงาน กศน.ตาบลแมต่ า  สถานศกึ ษา กศน.อาเภอเมืองพะเยา

หน่วยงาน.................................................  สถานศึกษา .......................................................
สอดคล้องกบั นโยบายสาคญั ขอ้ ที่.............................. และนโยบายตามภารกิจ ขอ้ ท่ี .......................

ชือ่ งาน/โครงการ โครงการภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สารดา้ นอาชพี

วัตถปุ ระสงค์ กจิ กรรมหลกั

1. เพื่อฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารด้าน ฝกึ ปฏิบตั จิ ริง การออกเสยี งตาม
พดู อา่ น เขยี น ภาษาอังกฤษแล
อาชีพให้กับประชาชนในเขตอาเภอเมืองพะเยา สถานการณ์จริง

2. เพอ่ื ให้กลุ่มเปา้ หมายสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ เป้าหมาย
ประเภทกลมุ่ เปา้ หมาย
การส่ือสารในชวี ิตประจาวันได้
- ประชาชนอาเภอเมืองพะเยา
3. เพ่ือให้ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายทีผ่ ่านการอบรม

ตามโครงการภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ

ตสวัาชมวี้าดัรถควนาามคสวาาเมร็จรู้ทีไ่ ด้รับไปประยุกตใ์ ช้ในการ
ประกอบอเชาิงชปีพรแมิ ลาณะการดาเนินชวี ิตปรเะชจิงคาุณวันภไาดพ้

ร้อยละ 80 ของประชาชนทเ่ี ข้า ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ

ร่วมโครงการสามารถนาความรู้ สามารถใชภ้ าษาองั กฤษ

ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่อื สารที่ เพื่อการสอ่ื สารใน

ได้รบั ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการ ชีวิตประจาวันได้

ประกอบอาชีพและการดาเนนิ

ชวี ิตประจาวนั ได้

จาปีงบประมาณ 2564
กระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
งาน / โครงการ)

 สานักงาน กศน. (จังหวัด/กทม.) พะเยา .

 สานกั งาน กศน. (จังหวดั /กทม.) ...................พะเยา.......................

.............................. งบประมาณ จานวน …………………………๔๐,000………………………บาท

งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอื่น

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

40,000

มหลกั ภาษา การฟงั
ละการนาไปใช้ใน

พื้นทด่ี าเนนิ การ
ตาบลแมต่ า อาเภอเมอื งพะเยา จงั หวัดพะเยา

จานวนเปา้ หมาย ผรู้ ับผิดชอบ
40 คน ผู้รบั ผิดชอบ

- ชือ่ – สกุล นายธนธสั ใจยืน
- โทรศัพท์ 085-6956057

สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอก
(จาแนกตามง

 หน่วยงาน กศน.ตาบลแม่ตา  สถานศึกษา กศน.อาเภอเมืองพะเยา

หนว่ ยงาน.................................................  สถานศึกษา .......................................................
สอดคล้องกับนโยบายสาคญั ขอ้ ท่ี.............................. และนโยบายตามภารกิจ ขอ้ ท่ี .......................

ชือ่ งาน/โครงการ โครงการ Smart ONIE เพือ่ สร้าง Smart Farmer

วตั ถุประสงค์ กิจกรรมหลกั
การจดั การเรียนรดู้ า้ นการเกษตรตาม
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้มีองค์ความรู้ด้านการ เพื่อสร้าง Smart Farmer เพ
บรหิ ารจดั การงานเกษตรเพิ่มข้นึ ประชาชนได้พัฒนาความรดู้ า้ นเกษต
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้เป็นเกษตรกรต้นแบบ ใหเ้ ป็น Smart Farmer ตามความเห
(Master Trainer) และความต้องการของชุมชน ผ่านวิธ
หลากหลายทั้งนี้เพื่อนาไปสู่การขับเ
ตวั ชว้ี ัดความสาเร็จ ONIE ในการจัดการศึกษาและกา
ศกั ยภาพของประชาชน
เชิงปรมิ าณ เชงิ คุณภาพ
เปา้ หมาย
ประชาชน ประชาชนกลมุ่ เปูาหมายท่ีผ่านการอบรม ประเภทกลุ่มเปา้ หมาย

พ้นื ท่ี ตามโครงการ Smart ONIE เพื่อสร้าง - ประชาชนตาบลแมต่ า

ตาบลแม่ปืม Smart Farmer สามารถเป็นเกษตรกร

จานวน 1 คน ต้นแบบ(Master Trainer) นาความรู้ท่ี

ได้รับไปขยายผลกับเกษตรกรอ่ืนๆ ให้

สามารถประกอบอาชพี ดา้ นการเกษตร มี

ความภูมิใจในการเป็นเกษตรกร รวมทั้ง

เป็นแบบอย่างให้กับคนรุ่นหลัง ให้เกิด

ค ว า ม รั ก ห ว ง แ ห น ใ น อ า ชี พ ด้ า น

การเกษตร

กระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
งาน / โครงการ)

 สานักงาน กศน. (จงั หวัด/กทม.) พะเยา .

 สานักงาน กศน. (จงั หวัด/กทม.) ...................พะเยา.......................
.............................. งบประมาณ จานวน ……………1,675………………………บาท

งบดาเนินงาน งบรายจ่ายอน่ื

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

1,675

มโครงการ Smart ONIE พืน้ ที่ดาเนินการ
พื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ ตาบลแมต่ า อาเภอเมอื งพะเยา จงั หวัดพะเยา
ตรและยกระดับเกษตรกร
หมาะสมกับบริบทชุมชน
ธีการและกระบวนการท่ี
เคล่ือน กศน. สู่ Smart
ารเรียนรู้ที่เสริมสร้าง

จานวนเป้าหมาย ผรู้ บั ผดิ ชอบ
1 คน - ชื่อ – สกลุ นายธนธัส ใจยนื
- โทรศัพท์ 085-6956057

คารับรองการปฏิบตั ริ าชการ
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ระหว่าง
ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมืองพะเยา

และ
ครู กศน.ตาบลแมต่ า

คารับรองการปฏิบัตริ าชการ
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

1. คารบั รองระหว่าง ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเมอื งพะเยา ผู้รับคารบั รอง
นางจารุณี แกว้ ประภา และ ผทู้ าคารับรอง

นายธนสั ใจยืน ครู กศน.ตาบลแม่ตา

2. คารับรองนี้เป็นคารับรองฝุายเดียว มิใช่สัญญาและใช้สาหรับระยะเวลา 1 ปี เร่ิมตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่
30 กันยายน 2564

3. รายละเอียดของคารับรอง ได้แก่ แผนการปฏิบัติงานประจาปีงบประมาณ 2564 ของ กศน.อาเภอเมืองพะเยา
ตามท่ปี รากฏอยู่ในเอกสารประกอบท้ายคารับรองน้ี

4. ข้าพเจ้า นายอดสิ อน ขยุ่ คา ในฐานะผ้บู งั คับบัญชาของ............................................................ ได้พิจารณา แผนการปฏิบัติงาน
ประจาปีงบประมาณ 2564 ของ กศน.ตาบล..........................ตามท่ีกาหนดในเอกสารประกอบท้ายคารับรองนี้ และข้าพเจ้า
ยินดีจะให้คาแนะนา กากับ และตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการของ........................................................... ให้เป็นไปตามคา
รับรองทจี่ ัดทาขน้ึ นี้

5. ขา้ พเจา้ ..................................................... ได้ทาความเข้าใจคารับรองตาม 3 แล้ว ขอให้คารับรองกับผู้อานวยการสานักงาน
กศน.จงั หวัดพะเยา ว่าจะม่งุ มั่นปฏบิ ัตริ าชการใหเ้ กิดผลงานท่ีดตี ามเปาู หมายของตัวช้ีวัดแต่ละตัวในระดับสูงสุด เพื่อให้
เกิดประโยชนส์ ุขแกป่ ระชาชนตามท่ีใหค้ ารบั รองไว้

6. ผูร้ ับคารับรองและผู้ทาคารับรองได้เข้าใจคารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการและเหน็ พ้องกันแล้ว จงึ ไดล้ งลายมือชอ่ื ไวเ้ ป็นสาคัญ

........................................ ........................................
( นางจารณุ ี แกว้ ประภา ) ( นายธนธสั ใจยืน )
ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเมืองพะเยา ครู กศน.ตาบลแมต่ า
วนั ที่........เดอื น..............พ.ศ....... วนั ท.ี่ .......เดือน..............พ.ศ........





คารับรองการปฏิบตั ริ าชการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ระหว่าง
ผอู้ านวยการสานักงาน กศน.จงั หวดั พะเยา

และ
ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอ.......................

คารับรองการปฏิบตั ิราชการ
สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

นางมีนา กิตชิ านนท์ 2. คารบั รองระหว่าง ผู้รับคารบั รอง
นายธนธัส ใจยนื ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวดั พะเยา ผู้ทาคารบั รอง
และ

หวั หนา้ กศน.ตาบลแม่ตา

2. คารับรองน้ีเป็นคารับรองฝุายเดียว มิใช่สัญญาและใช้สาหรับระยะเวลา 1 ปี เร่ิมต้ังแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง
วนั ที่ 30 กันยายน 2564

3. รายละเอียดของคารับรอง ได้แก่ แผนการปฏิบัติงานประจาปีงบประมาณ 2564 ของ กศน.อาเภอ.....................
ตามท่ปี รากฏอยู่ในเอกสารประกอบทา้ ยคารับรองนี้

4. ข้าพเจา้ นายปณั ณพงศ์ ท้าวอาจ ในฐานะผู้บังคับบัญชาของ............................................................ ได้พิจารณา แผนการ
ปฏิบัติงานประจาปีงบประมาณ 2564 ของ กศน.อาเภอ..........................ตามทก่ี าหนดในเอกสารประกอบท้ายคารับรองนี้
และข้าพเจ้ายินดีจะให้คาแนะนา กากับ และตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการของ........................................................... ให้
เป็นไปตามคารับรองทจ่ี ัดทาขึ้นนี้

5. ข้าพเจ้า ..................................................... ได้ทาความเข้าใจคารับรองตาม 3 แล้ว ขอให้คารับรองกับผู้อานวยการ
สานกั งาน กศน.จังหวัดพะเยา วา่ จะมุง่ มน่ั ปฏบิ ัตริ าชการให้เกิดผลงานท่ีดีตามเปูาหมายของตัวช้ีวัดแต่ละตัวในระดับ
สูงสดุ เพ่อื ใหเ้ กดิ ประโยชน์สขุ แกป่ ระชาชนตามที่ใหค้ ารบั รองไว้

6. ผู้รับคารับรองและผู้ทาคารับรองได้เข้าใจคารับรองการปฏิบัติราชการและเห็นพ้องกันแล้ว จึงได้ลงลายมือช่ือไว้เป็น

สาคญั

........................................ ........................................
(นางมนี า กิติชานนท์) ( นายธนธสั ใจยืน )
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมอื งพะเยา หัวหน้า กศน.ตาบลแมต่ า
วันท.ี่ .......เดือน..............พ.ศ....... วนั ท.ี่ .......เดอื น..............พ.ศ........

นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วสิ ยั ทศั น์
คนไทยทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะท่ีจาเป็น

และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลัก
ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
พนั ธกิจ

1. จดั และส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่มี ีคุณภาพ สอดคล้อง กับหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดับการศึกษา และพัฒนา
สมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลมุ่ เปูาหมายใหเ้ หมาะสมในแต่ละชว่ งวัย ให้พร้อมรับ การเปลี่ยนแปลง
และการปรับตัวในการดารงชีวติ ได้อย่างเหมาะสม ก้าวสูก่ ารเป็นสังคมแห่งการเรียนรูต้ ลอดชีวติ อยา่ งยัง่ ยนื

2. พัฒนาหลักสตู ร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัด
และประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และบริบท ใน
ปัจจบุ ัน

3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนาเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางและโอกาส
การเรียนรู้ รวมถึงการเพ่ิมประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ให้กับประชาชนกลุม่ เปูาหมายอยา่ งทว่ั ถึง

4. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วม ใน
การสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ
ใหก้ ับประชาชน

5. ฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพ่ือการบริหารราชการท่ีดี บนหลัก ของธรร
มาภิบาล มีประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และคล่องตวั มากยงิ่ ขนึ้

6.ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ
จรยิ ธรรมที่ดี เพ่อื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของการให้บรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพมากย่ิงข้นึ
เปา้ ประสงค์

1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส ทาง

การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษา ตาม

อัธยาศัยท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละ

กล่มุ เปาู หมาย

2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม หน้าที่ความเป็น
พลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ท่ีสอดคล้องกับหลัก
ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อ
พัฒนา ไปสูค่ วามมน่ั คงและยงั่ ยืนทางด้านเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสงิ่ แวดล้อม

3. ประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านแหล่งเรียนรู้ ช่อง
ทางการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง วิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม สามารถคิดวิเคราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตุผล และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน รวมถึง
การแก้ปญั หาและพฒั นาคุณภาพชวี ิตได้อยา่ งสรา้ งสรรค์

4. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลักสูตร ส่ือ นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้ และกระบวนการ
เรียนรู้ในรูปแบบท่ีหลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหา และ
พัฒนาคุณภาพชีวิตตามความต้องการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบท ด้าน
เศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และสิ่งแวดลอ้ ม

5. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัล มาพัฒนา
เพ่ือเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ และนามาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และโอกาสการเรียนรู้ ให้กับ
ประชาชน

6. ชุมชนและภาคเี ครือข่ายทกุ ภาคส่วน มสี ว่ นร่วมในการจดั สง่ เสริม และสนับสนุนการศึกษา นอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศยั รวมทง้ั การขบั เคลอื่ นกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน

7. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการองค์กรท่ีทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเป็นไป ตาม
หลกั ธรรมาภิบาล

8. บุคลากร กศน. ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมทักษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน
และการให้บริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงการปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมี
ประสทิ ธิภาพ





จุดเนน้ การดาเนนิ งานประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2554

1. นอ้ มนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษาส่กู ารปฏบิ ตั ิ

1.1 สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศูนย์สาธติ และเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อ
เป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบต่าง ๆ ทั้งดิน น้า ลม แดด รวมถึงพืชพันธ์ุต่าง ๆ และส่งเสริม
การใช้พลังงานทดแทนอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

1.2 จัดใหม้ ี “หนึ่งชุมชน หนง่ึ นวัตกรรมการพฒั นาชุมชน” เพ่ือความกินดี อยู่ดี มีงานทา

1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมท้ังปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดท่ีถูกต้องด้านคุณธรรม
จริยธรรม มีทัศนคติที่ดีต่อบ้านเมือง และเป็นผู้มีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา ผ่านกิจกรรมการ
พฒั นา ผู้เรียนโดยการใช้กระบวนการลกู เสอื และยวุ กาชาด

2. สง่ สรมิ การจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิตสาหรบั ประชาชนทเ่ี หมาะสมกับทุกช่วงวัย

2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง
นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน
ผรู้ บั บรกิ าร และสามารถออกใบรบั รองความรู้ความสามารถเพ่ือนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพได้

2.2 สง่ เสรมิ และยกระดบั ทกั ษะภาษาอังกฤษใหก้ บั ประชาชน (English for ALL)

2.3 ส่งเสริมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสาหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ ท่ี
เหมาะสมรองรบั สงั คมสูงวัย หลักสูตรการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตและส่งเสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และหลักสูตร การดูแล
ผสู้ งู วัย โดยเนน้ การมีส่วนร่วมกบั ภาคีเครอื ข่ายทกุ ภาคส่วนในการเตรียมความพรอ้ มเขา้ สูส่ งั คมสงู วยั

3. พัฒนาหลกั สูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศกึ ษา แหลง่ เรยี นรู้ และรูปแบบ การจัดการศึกษา
และการเรียนรู้ ในทกุ ระดับ ทกุ ประเภท เพื่อประโยชนต์ อ่ การจดั การศกึ ษาทีเ่ หมาะสม กบั ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย มี
ความทนั สมัย สอดคลอ้ งและพร้อมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปัจจุบัน ความต้องการ ของผูเ้ รียน และ
สภาวะการเรยี นรใู้ นสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต

3.1 พัฒนาระบบการเรียนรู้ ONIE Digital Leaming Platform ท่ีรองรับ DEEP ของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ และช่องทางเรยี นรรู้ ูปแบบอน่ื ๆ ทัง้ Online On-site และ On-air

3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/
Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให้
สามารถ “เรียนรู้ได้อย่างทว่ั ถึง ทกุ ที่ ทุกเวลา”

3.3 พัฒนาระบบรับสมคั รนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบ
สะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบอิเล็กทรอนิกส์ (E-
exam)

4. บูรณาการความรว่ มมือในการส่งเสรมิ สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรูใ้ ห้กบั ประชาชนอย่างมี
คุณภาพ

4.1 ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้ัง
ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การมีส่วนรว่ มของชมุ ชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชีพที่เป็นอัตลักษณ์และบริบทของชุมชน
สง่ เสริมการตลาดและขยายช่องทางการจาหน่ายเพอื่ ยกระดบั ผลิตภัณฑ/์ สนิ ค้า กศน.

4.2 บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ท้ังในส่วนกลาง และ
ภมู ิภาค

5. พัฒนาศกั ยภาพและประสทิ ธิภาพในการทางานของบุคลากร กศน.

5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills)
ใหก้ ับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรบั ความเป็นรฐั บาลดิจทิ ลั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รวมท้ังพัฒนาครูให้มีทักษะ
ความรู้ และความชานาญในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิตส่ือการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะ
การคดิ วเิ คราะหอ์ ย่างเป็นระบบและมเี หตผุ ล เป็นข้นั ตอน

5.2 จดั กิจกรรมเสรมิ สร้างความสมั พนั ธ์ ของบคุ ลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทางาน
ร่วมกันในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขนั กีฬา การอบรมเชิงปฏิบตั ิการพัฒนาประสทิ ธิภาพ ในการทางาน

6. ปรับปรงุ และพัฒนาโครงสร้างและระบบบรหิ ารจดั การองคก์ ร ปัจจัยพ้นื ฐานในการจัดการศึกษา และการ
ประชาสัมพันธส์ รา้ งการรบั รู้ต่อสาธารณะชน

6.1 เร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. ... ให้สาเร็จ และปรับโครงสร้าง การบริหาร
และอตั รากาลังให้สอดคลอ้ งกับบริบทการเปล่ียนแปลง เร่งการสรรหา บรรจุ แต่งต้ังทม่ี ปี ระสิทธิภาพ

6.2 นานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทางานและข้อมูล
สารสนเทศด้านการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดต้ังศูนย์ข้อมูลกลาง กศน. เพื่อจัดทา
ข้อมูล กศน. ท้ังระบบ (ONE ONIE)

6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานท่ี และสภาพแวดล้อมโดยรอบของหน่วยงาน
สถานศึกษา และแหล่งเรยี นรูท้ กุ แหง่ ให้สะอาด ปลอดภยั พรอ้ มให้บริการ

6.4 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนทั่วไปเก่ียวกับการบริการทางวิชาการ/กิจกรรม ด้าน
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านวิชาการ ของ
หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อรูปแบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/มหกรรม
วชิ าการ กศน.

การจัดการศกึ ษาและการเรียนรใู้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019

(COVID - 19) ของสานกั งาน กศน.

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) เม่ือเดือนธันวาคม 2562
ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับช้ัน ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได้
ออกประกาศและมมี าตรการเฝาู ระวงั เพือ่ ปูองกันการแพร่กระจายของเช้ือไวรัสดังกล่าว อาทิ กาหนดให้มี การเว้น
ระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing) หา้ มการใชอ้ าคารสถานทขี่ องโรงเรยี นและสถาบนั การศึกษา ทุกประเภท
เพ่ือจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทากิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจานวนมาก การปิด
สถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกาหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการเรียนรู้ แบบ
ออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึง การ
สือ่ สารแบบทางไกลหรอื ดว้ ยวิธีอิเล็กทรอนิกส์

ในส่วนของสานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดาเนินงานในภารกิจ
ต่อเน่ืองต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจาวัน และการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับการชีวิตแบบปกติวิถีใหม่
(New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสาคัญกับการดาเนินงานตามมาตรการการปูองกัน การ
แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทุกประเภท หากมีความ

จาเป็นต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมีมาตรการปูองกันท่ีเข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้าง
มอื ผรู้ บั บริการต้องใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการใช้ส่ือดิจิทัล
และเทคโนโลยอี อนไลนใ์ นการจดั การเรยี นการสอน

ภารกิจต่อเน่อื ง
๑. ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้

1.1 การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

1) สนบั สนนุ การจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวยั จนจบการศึกษาข้ันพืน้ ฐานโดยดาเนินการ ให้ผู้เรียน
ได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียน การสอนอย่าง
ทั่วถึงและเพยี งพอเพอ่ื เพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาทม่ี ีคุณภาพโดยไมเ่ สียค่าใช้จ่าย

2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้กับกลุ่มเปูาหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาส
ทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัด การศึกษา
ทางไกล

3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน
ท้ังด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรียน
และระบบการให้บริการนักศึกษาในรปู แบบอื่น ๆ

4) จัดให้มีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ที่มีความ
โปร่งใส ยุตธิ รรม ตรวจสอบได้ มมี าตรฐานตามท่ีกาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของกลุ่มเปูาหมาย
ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

5) จดั ให้มีกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพื่อ
เป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับการปูองกัน และแก้ไข
ปัญหายาเสพติดการแข่งขันกีฬา การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง การส่งเสริมการปกครอง ในระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา
และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนากิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์อ่ืน ๆ นอกหลักสูตรมา
ใชเ้ พิม่ ชั่วโมงกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนจบตามหลกั สูตรได้

1.2 การส่งเสริมการรูห้ นงั สือ

1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกัน ท้ัง
ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

2) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สื่อ แบบเรียนเครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดาเนินงานการ ส่งเสริม
การรหู้ นงั สือท่สี อดคลอ้ งกับสภาพและบริบทของแต่ละกลุ่มเปูาหมาย

3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายท่ีร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะการ จัด
กระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้ไม่รู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครส่งเสริมการรู้หนังสือใน
พื้นที่ท่มี ีความตอ้ งการจาเป็นเป็นพิเศษ

4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การ
พัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ของ
ประชาชน

1.3 การศึกษาตอ่ เนือ่ ง

1) จดั การศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการ
มีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการ
รวมถงึ การเน้นอาชพี ช่างพน้ื ฐาน ที่สอดคล้องกับศกั ยภาพของผเู้ รยี น ความต้องการและศักยภาพของแต่ละพ้ืนที่ มี
คุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน
สรา้ งความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน การพัฒนา หน่ึง
ตาบลหน่ึงอาชีพเด่น การประกวดสินค้าดีพรีเมี่ยม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึงการส่งเสริมและจัดหา
ชอ่ งทางการจาหน่ายสนิ ค้าและผลิตภัณฑ์ และให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือ
การมงี านทาอยา่ งเป็นระบบและตอ่ เนื่อง

2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเปูาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ีสอดคล้อง
กับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเปูาหมายมีทักษะการดารงชีวิตตลอดจน สามารถ
ประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคม ได้อย่างมี
ความสุขสามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อม
สาหรบั การปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ยี นแปลงของขา่ วสารข้อมลู และเทคโนโลยีสมยั ใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมท่ี
มีเนอื้ หาสาคญั ตา่ ง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพ่ือการปูองการการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COMID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การ
ปูองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและ
ทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การอบรม
ส่งเสรมิ ความสามารถพเิ ศษต่าง ๆ เป็นตน้

3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณา
การในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดกิจกรรม จิตอาสา การ

สร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเปูาหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพื้นที่ เคารพ
ความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม พหุวัฒนธรรม
โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันสร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้าง
จิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบต่อหน้าท่ีความเป็นพลเมือง ท่ีดี
ภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การ
เป็นจิตอาสา การบาเพ็ญประโยชน์ในชุมชนการ บริหารจัดการํน้า การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม การชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกันในการพฒั นาสังคมและชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยนื

4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ใน
รูปแบบต่าง ๆ ใหก้ บั ประชาชน เพอ่ื เสรมิ สรา้ งภูมิคมุ้ กัน สามารถยืนหยดั อยไู่ ดอ้ ย่างมั่นคง และมีการบริหารจัดการ
ความเสย่ี งอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดลุ และยงั่ ยนื

1.4 การศกึ ษาตามอัธยาศัย

1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การ
เรียนรู้ให้เกิดข้ึนในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น การพัฒนา กศน. ตาบล ห้องสมุด
ประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการท่ีทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย
สง่ เสรมิ การอ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคล่ือนท่ี ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณ์เพื่อจัดกิจกรรม
ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายให้บริการกับประชาชนในพ้ืนที่ต่าง ๆ อย่างทั่วถึง สม่าเสมอ รวมท้ัง
เสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร ส่ืออุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการอ่าน
อยา่ งหลากหลายรูปแบบ

2) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของ
ประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงศิลปะวิทยาการประจาท้องถ่ิน
โดยจดั ทาและพัฒนานทิ รรศการส่อื และกิจกรรมการศึกษาท่ีเน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรงบันดาลใจ ด้าน
วิทยาศาสตรส์ อดแทรกวิธกี ารคดิ เชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการ
กระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์
รวมทั้งสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมท้ังระดับภูมิภาค และ
ระดับโลกเพ่ือให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนาความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต การพัฒนา
อาชีพ การรักษาส่ิงแวดล้อม การบรรเทาและปูองกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมท้ังมีความสามารถในการปรับตัว
รองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีเป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง (Disruptive Changes) ได้อย่าง
มีประสทิ ธภิ าพ

3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อส่งเสริม การ
จัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พิพิธภัณฑ์
ศนู ยเ์ รียนรู้ แหลง่ โบราณคดี วดั ศาสนาสถาน ห้องสมดุ รวมถึงภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ เปน็ ต้น

2. ด้านหลักสูตร สือรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และ
การประกันคุณภาพการศกึ ษา

2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถน ะ และ
หลกั สูตรทอ้ งถิน่ ทส่ี อดคล้องกบั สภาพบรบิ ทของพน้ื ทีแ่ ละความต้องการของกลุ่มเปูาหมายและชุมชน

2.2 ส่งเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออ่ืน ๆ ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
กลมุ่ เปาู หมายท่ัวไปและกลมุ่ เปูาหมายพเิ ศษ เพอ่ื ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรไู้ ด้ทุกที่ ทุกเวลา

2.3 พัฒนารปู แบบการจดั การศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย หลากหลายช่องทางการเรียนรู้ ด้วยระบบ
หอ้ งเรยี นและการควบคมุ การสอบรปู แบบออนไลน์

2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์
เพอ่ื ให้มีคณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกลุม่ เปาู หมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง
มกี ารประชาสมั พันธใ์ ห้สาธารณชนไดร้ ับรแู้ ละสามารถเข้าถึงระบบการประเมนิ ได้

2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับ
การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานใหไ้ ดม้ าตรฐานโดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ล็กทรอนกิ ส์

(e-Exam) มาใชอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การ วัด
และประเมนิ ผล และเผยแพร่รปู แบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม
อัธยาศยั รวมท้งั ใหม้ ีการนาไปสู่การปฏบิ ัติอยา่ งกวา้ งขวางและมีการพฒั นาใหเ้ หมาะสมกบั บริบทอย่างต่อเน่ือง

2.7 พฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาใหไ้ ดม้ าตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายใน
ท่ีสอดคล้องกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยพัฒนา
บุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดาเนินการ
ประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้การประเมินภายในด้วยตนเอง และจัดให้มี ระบบ

สถานศกึ ษาพเ่ี ลย้ี งเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สาหรับสถานศึกษาท่ียังไม่ได้เข้ารับการประเมินคุณภาพ ภายนอก
ให้พัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาใหไ้ ด้คุณภาพตามมาตรฐานทีก่ าหนด

3. ด้านเทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษา

3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อให้เช่ือมโยงและตอบสนอง ต่อ
การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพ่ือกระจายโอกาสทางการศึกษา
สาหรับกล่มุ เปาู หมายตา่ ง ๆ ใหม้ ีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เท่า
ทัน สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การส่อื สาร เชน่ รายการพัฒนาอาชีพเพอื่ การมงี านทา รายการติวเข้มเติมเต็ม
ความรู้ รายการ รายการทากินก็ได้ ทาขายกด็ ี ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวทิ ยศุ กึ ษา สถานีวทิ ยโุ ทรทัศน์เพื่อการศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอินเทอรเ์ น็ต

3.2 พฒั นาการเผยแพร่การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยี
ดจิ ิทัล และชอ่ งทางออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อ่ืน ๆ เพื่อส่งเสริม ให้ครู กศน.
นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY)

3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพ่ือการศึกษาเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการ
ออกอากาศให้กลุ่มเปูาหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยขยาย
เครอื ขา่ ยการรับฟังให้สามารถรับฟงั ได้ทกุ ท่ี ทุกเวลา ครอบคลมุ พ้นื ทีท่ ัว่ ประเทศและเพิม่ ช่องทาง ให้สามารถรับชม
รายการโทรทัศน์ได้ท้ังระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมที่จะ รองรับการ
พัฒนาเปน็ สถานวี ทิ ยโุ ทรทัศน์เพ่อื การศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาเพื่อให้ได้หลายช่องทางทั้งทาง อินเทอร์เน็ต
และรูปแบบอื่น ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคลื่อนท่ี และ Tablet รวมทั้งส่ือ Offline ในรูปแบบ ต่าง ๆ
เพ่ือใหก้ ลมุ่ เปาู หมายสามารถเลอื กใชบ้ ริการเพื่อเขา้ ถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรไู้ ด้ตามความต้องการ

3.5 สารวจ วจิ ยั ตดิ ตามประเมินผลด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอย่างต่อเน่ืองเพ่ือนาผล มาใช้
ในการพฒั นางานให้มคี วามถกู ตอ้ ง ทนั สมยั และสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของประชาชน
ได้อยา่ งแท้จริง

4. ดา้ นโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอันเก่ียวเน่อื งจากราชวงศ์

4.1 ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการดาเนินงานโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริหรอื โครงการ อันเกี่ยวเนื่อง
จากราชวงศ์

4.2 จัดทาฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ
หรือโครงการอันเก่ียวเน่ืองจากราชวงศ์เพ่ือนาไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ พัฒนางานได้
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดาเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ เพื่อให้
เกดิ ความเข้มแขง็ ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

4.4 พฒั นาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ าู หลวง”เพ่อื ใหม้ ีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหน้าทีท่ ่กี าหนดไว้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพ้ืนท่ีสูง ถิ่นทุรกันดาร
และพืน้ ท่ีชายขอบ

5. ด้านการศึกษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ พื้นทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พิเศษและพน้ื ทบี่ ริเวณ ชายแดน

5.1 พัฒนาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีตอบสนองปัญหา และความ
ตอ้ งการของกลุ่มเปูาหมายรวมทัง้ อตั ลกั ษณแ์ ละความเป็นพหวุ ัฒนธรรมของพนื้ ที่

2) พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเน่ืองเพื่อให้ ผู้เรียน
สามารถนาความรู้ทไ่ี ดร้ ับไปใช้ประโยชนไ์ ด้จริง

3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นักศึกษา
กศน.ตลอดจนผ้มู าใช้บรกิ ารอย่างทว่ั ถึง

5.2 พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ

1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการจัดทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และบริบท
ของแต่ละจังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ

2) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาด ให้เกิดการ
พฒั นาอาชีพไดต้ รงตามความต้องการของพน้ื ที่

5.3 จัดการศกึ ษาเพ่อื ความมัน่ คงของศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน(ศฝช.)

1) พัฒนาศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพ่ือให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การประกอบ
อาชีพดา้ นเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรตู้ ้นแบบการจดั กจิ กรรมตามแนวพระราชดารปิ รชั ญา เศรษฐกิจพอเพียง
สาหรับประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวิธีการเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย

2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง
กลุ่มเปูาหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนาด้านอาชีพ
ท่ีเนน้ เร่อื งเกษตรธรรมชาติทส่ี อดคล้องกบั บริบทของชุมชนชายแดน ใหแ้ ก่ประชาชนตามแนวชายแดน

6. ดา้ นบุคลากรระบบการบรหิ ารจัดการ และการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วน

6.1 การพฒั นาบุคลากร

1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท้ังก่อนและระหว่าง การดารง
ตาแหน่งเพอ่ื ให้มเี จตคตทิ ด่ี ใี นการปฏบิ ัตงิ านให้มคี วามรแู้ ละทักษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ให้ตรงกับสายงาน ความ
ชานาญ และความต้องการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดาเนินงานของหน่วยงานและ
สถานศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพรวมทงั้ สง่ เสริมให้ข้าราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพื่อเลื่อนตาแหน่ง หรือเลื่อน
วทิ ยฐานะโดยเน้นการประเมินวทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ์

2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะท่ีจาเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการ
นิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพ่ือร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยใน
สถานศึกษา

3) พัฒนาหัวหน้า กศน.ตาบล/แขวงให้มีสมรรถนะสูงข้ึน เพ่ือการบริหารจัดการ กศน.ตาบล/แขวง และ
การปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อานวย ความ
สะดวกในการเรียนรูเ้ พื่อใหผ้ เู้ รียนเกดิ การเรียนร้ทู ่มี ปี ระสทิ ธิภาพอย่างแท้จรงิ

4) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ ได้อย่าง
มีคุณภาพโดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และ
ประเมินผล และการวิจยั เบอ้ื งตน้

5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถ
และมคี วามเปน็ มอื อาชพี ในการจัดบริการสง่ เสริมการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตของประชาชน

6) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ บริหาร
การดาเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน.อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

7) พฒั นาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตาม
อธั ยาศัยได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมท้ังภาคีเครือข่ายทั้งใน และ
ต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน
ร่วมกันในรปู แบบทหี่ ลากหลายอย่างต่อเน่ืองอาทิ การแขง่ ขนั กีฬา การอบรมเชงิ ปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ใน
การทางาน

6.2 การพัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและอตั รากาลงั

1) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานที่และวัสดุอุปกรณ์ ให้มี ความ
พร้อมในการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้

2) สรรหา บรรจุ แต่งต้ัง และบริหารอัตรากาลังที่มีอยู่ท้ังในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และ
ลูกจา้ ง ให้เป็นไปตามโครงสร้างการบริหารและกรอบอัตรากาลัง รวมท้ังรองรับกับบทบาทภารกิจตามที่กาหนดไว้
ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ในการปฏิบัตงิ าน

3) แสวงหาความรว่ มมือจากภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคสว่ นในการระดมทรพั ยากรเพ่ือนามาใช้ ในการปรับปรุง
โครงสรา้ งพื้นฐานให้มคี วามพรอ้ มสาหรบั ดาเนนิ กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย และการ
สง่ เสรมิ การเรียนรสู้ าหรับประชาชน

6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ

1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันทั่วประเทศ อย่างเป็น
ระบบเพ่ือให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช้เป็นเคร่ืองมือสาคัญในการบริหาร การวางแผน
การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเร่งรัด การ
เบกิ จา่ ยงบประมาณให้เปน็ ตามเปูาหมายท่กี าหนดไว้

3) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ เชื่อมโยงกัน
ทั่วประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ ผู้เรียนและ
การบรหิ ารจัดการอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย เพื่อ
สามารถนามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และชุมชน
พรอ้ มทงั้ พฒั นาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหน่วยงานและสถานศกึ ษา

5) สร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมท้ังในประเทศ และ
ต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพ่ือสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือ
ในการส่งเสริม สนบั สนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ใหก้ บั ประชาชนอย่างมคี ุณภาพ

6) ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการ ลา
ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้หอ้ งประชมุ เป็นต้น

7) พัฒนาและปรบั ระบบวธิ ีการปฏิบัตริ าชการให้ทนั สมยั มคี วามโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิ
ชอบ บรหิ ารจัดการบนขอ้ มูลและหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ มงุ่ ผลสมั ฤทธ์มิ ีความโปร่งใส

6.4 การกากบั นิเทศตดิ ตามประเมนิ และรายงานผล

1) สรา้ งกลไกการกากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และ
การศึกษาตามอัธยาศยั ใหเ้ ช่ือมโยงกับหนว่ ยงาน สถานศึกษา และภาคีเครอื ขา่ ยทั้งระบบ

2) ใหห้ น่วยงานและสถานศกึ ษาท่ีเกีย่ วขอ้ งทกุ ระดบั พัฒนาระบบกลไกการกากบั ตดิ ตามและ รายงานผล
การนานโยบายสูก่ ารปฏิบัติ ใหส้ ามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแตล่ ะเร่อื งได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ

3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และส่ืออ่ืน ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกากับ นิเทศ
ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปี ของ
หน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคารับรองการปฏิบัติราชการประจาปี ของสานักงาน
กศน.ให้ดาเนินไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ กี าร และระยะเวลาทีก่ าหนด

5) ให้มีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ต้ังแต่
ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และ
การพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

แผนปฏบิ ัติการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

กศน.ตาบลแม่ตา

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งพะเยา
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดพะเยา

สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

การอนุมตั แิ ผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองพะเยา
สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั พะเยา
เพื่อให้การบรหิ ารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตาบลแม่ตา บรรลุเปูาประสงค์
ตามที่ สานักงาน กศน.จังหวัดพะเยากาหนด จึงได้มีการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256 4
ซ่ึงประกอบไปด้วยข้อมูลพื้นฐาน ทิศทางการดาเนินงานของ กศน.อาเภอเมืองพะเยา สานักงาน กศน.จังหวัด
พะเยา และแผนงานโครงการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รวมท้ังสิ้น 9 โครงการ โดยจัดการศึกษาบรรลุ
ตาม ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานของ สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ทั้งน้ี ตั้งแต่
วนั ที่ 29 เดือน กนั ยายน พ.ศ. 256๓

ลงช่อื .....................................................................ผเู้ สนอ
( นายธนธัส ใจยนื )
ครู กศน.ตาบลแมต่ า

ลงชอ่ื ...................................................................ผู้เห็นชอบ
(นายศิริเรืองชยั แก้วประจกั ษ์)

ประธานคณะกรรมการ กศน.ตาบล

ลงชือ่ ...................................................................ผ้อู นมุ ัติ
( นางจารุณี แก้วประภา)

ตาแหนง่ ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเมอื งพะเยา

คานา

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กศน.ตาบลแม่ตา สังกัด กศน.อาเภอเมืองพะเยา จัดทา
ขึ้นตามบทบัญญัติของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2564
มาตรา 16 ทีก่ าหนดใหส้ ว่ นราชการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ เป็นแผนสี่ปีที่สอดคล้องกับแผนการบริหารราชการ
แผ่นดิน และให้จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี โดยให้ระบุสาระสาคัญเกี่ยวกับนโยบายการปฏิบัติราชการของ
ส่วนราชการ เปูาหมายและผลสัมฤทธ์ิของงาน รวมท้ังประมาณการรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรอื่นท่ีจะต้อง
ใช้โดย กศน.ตาบลแม่ตา สังกัด กศน.อาเภอเมืองพะเยาได้นานโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 สานักงาน กศน. มาเป็นกรอบในการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564

สาระของแผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ของ กศน.ตาบลแม่ตา สังกัด กศน.อาเภอเมือง
พะเยา แสดงใหเ้ หน็ สรุปภาพรวมงานโครงการ กิจกรรม เปูาหมาย และงบประมาณที่ดาเนินการในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ของสถานศึกษาที่จะขบั เคลื่อนงานตามบทบาทภารกจิ หลักของสานกั งาน กศน.จังหวัดพะเยาให้บรรลุ
วิสัยทัศน์ของ กศน.อาเภอเมืองพะเยา “ประชาชนในอาเภอเมืองพะเยา ได้รับการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษา
อาชีพเพอ่ื การมีงานทาที่มีคุณภาพไดท้ กุ ที่ ทุกเวลา อยา่ งท่วั ถงึ และเท่าเทยี มกัน เพือ่ ใหเ้ กดิ สังคมฐานความรู้ การมี
อาชพี และการมคี วามสามารถเชิงการแข่งขันในประชาคมอาเซียนอย่างยั่งยืน”

กศน.ตาบลแม่ตา สังกัด กศน.อาเภอเมืองพะเยา ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ให้ความร่วมมือในการ
จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ฉบับน้ีจนสาเร็จได้เป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่า
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จะเป็นแนวทางในการบริหาร/โครงการ และงบประมาณของ
สถานศึกษา ตลอดจนเป็นเครื่องมือในการกากับติดตามผลการดาเนินงานของบุคลากรของสถานศึกษา รวมท้ังเป็น
ข้อมลู สาหรับหนว่ ยงานและผู้สนใจกิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตอ่ ไป

ลงชอ่ื .......................................................
( นายธนธสั ใจยืน )
ครู กศน.ตาบลแม่ตา

สารบัญ หนา้

การอนุมตั แิ ผนปฏบิ ัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1
คานา 9
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พนื้ ฐานของกศน.ตาบล 14
สว่ นท่ี 2 ขอ้ มลู พนื้ ฐานเพ่ือการวางแผน 38
สว่ นท่ี 3 ทิศทางการดาเนนิ งาน 48
สว่ นท่ี 4 รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ
สว่ นที่ 5 แผนงาน/โครงการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ประกอบดว้ ยแบบฟอรม์ ดงั ตอ่ ไปนี้
4.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม
4.2 แบบ กศน.กผ.-01
4.3 แบบ กศน.กผ.-02
4.4 แผนการจดั กศน.จาแนกตามกลุม่ เปาู หมาย
4.5 แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ จาแนกตามไตรมาส
4.6 โครงการ


Click to View FlipBook Version