The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ ป.3 เทอม1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อาภาภรณ์ โกลิบุตร, 2023-06-02 05:41:02

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ ป.3 เทอม1

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ ป.3 เทอม1

โครงสร้าง และแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 แผนกประถมศึกษา โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566-2568


โครงสร้างรายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2566 เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 1 1 ที่มาของศักราช วิธีเทียบศักราช มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญ ของเวลา และยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์มา วิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด ป.3/1 เทียบศักราชที่ส าคัญตามปฏิทิน ที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจ ความหมาย ความส าคัญของ เวลา และยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์มา วิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด ป.3/1 เทียบศักราชที่ส าคัญตามปฏิทิน ที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน การนับช่วงเวลาเป็น พุทธศักราช คริสต์ศักราช และ ฮิจเราะห์ศักราช จะต้องรู้ที่มาของ ศักราช การนับช่วงเวลาเป็น พุทธศักราช คริสต์ศักราช และ ฮิจเราะห์ศักราช จะต้องรู้ที่มาของ ศักราช 2 (ส.1-2) 1 (ส.3)


โครงสร้างรายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2566 เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 2 3 เหตุการณ์ส าคัญ ของโรงเรียนและ ชุมชน ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการ ตั้งถิ่นฐาน พัฒนาการของ ชุมชน มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญ ของเวลา และยุคสมัยทาง ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการ ทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น ระบบ ตัวชี้วัด ป.3/2 แสดงล าดับเหตุการณ์ส าคัญของ โรงเรียนและชุมชนโดยระบุ หลักฐานและแหล่งข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติ จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้าน ความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่าง ต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบ ที่เกิดขึ้น การสืบค้นและ รวบรวมข้อมูลของ โรงเรียนจากหลักฐาน และแหล่งข้อมูลที่ เกี่ยวข้องจะต้องท า อย่างมีระบบขั้นตอน ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และ ปัจจัยทางสังคม เป็น ปัจจัยส าคัญที่มีอิทธิพล ต่อการตั้งถิ่นฐานและ พัฒนาการของชุมชน 2 (ส. 4-5) 1 (ส. 6)


โครงสร้างรายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2566 เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 3 3 ความเหมือน และความ แตกต่างทาง วัฒนธรรมของ ชุมชน ปัจจัยที่มีผลต่อ การสร้างสรรค์ วัฒนธรรมของ ชุมชน ตัวชี้วัด ป.3/1 ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ การตั้งถิ่นฐานและ พัฒนาการของชุมชน มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตจนถึง ปัจจุบัน ในด้าน ความสัมพันธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึง ความส าคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ป.3/1 ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการ ของชุมชน มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจพัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตจนถึง ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และ ปัจจัยทางสังคม เป็นปัจจัย ส าคัญที่มีผลท าให้ วัฒนธรรมประเพณี การนับ ถือศาสนา ความ เชื่อ และ การประกอบอาชีพของแต่ ละชุมชนมีความแตกต่างกัน การสร้างสรรค์ วัฒนธรรมในชุมชนนั้นเกิด จากปัจจัยส าคัญต่าง ๆ เช่น สภาพแวดล้อม ความ 1 (ส. 7) 1 (ส. 8)


โครงสร้างรายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2566 เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 4 4 ผู้สถาปนา อาณาจักรส าคัญ ของไทย พ่อขุนศรีอินทรา ทิตย์ ปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของ เหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญและ สามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่ เกิดขึ้น มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี ความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ ความเป็นไทย ตัวชี้วัด ป.3/1 ระบุพระนามและพระราชกรณีย กิจโดยสังเขปของ พระมหากษัตริย์ไทยที่เป็นผู้ สถาปนาอาณาจักรไทย มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี ความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ ความเป็นไทย เป็นอยู่ อาชีพ ความ เชื่อ ศาสนา และ ขนบธรรมเนียม ประเพณี พระมหากษัตริย์เป็น บุคคลส าคัญใน ประวัติศาสตร์ไทยได้ สร้างสรรค์ความเจริญ มั่นคงของชาติ และ เป็นแบบอย่างที่ดีใน การท าคุณประโยชน์ แก่ชาติบ้านเมือง พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เป็นผู้น าคนไทยที่ขับ ไล่อิทธิพลของขอม และทรงสถาปนา 1 (ส. 9) 1 (ส. 10)


โครงสร้างรายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2566 เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 4 4 สมเด็จพระ รามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) สมเด็จพระเจ้า ตากสินมหาราช ระบุพระนามและพระราชกรณีย กิจโดยสังเขปของ พระมหากษัตริย์ไทยที่เป็นผู้ สถาปนาอาณาจักรไทย มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี ความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ ความเป็นไทย ตัวชี้วัด ป.3/1 ระบุพระนามและพระราชกรณีย กิจโดยสังเขปของ พระมหากษัตริย์ไทยที่เป็นผู้ สถาปนาอาณาจักรไทย มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี ความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ ความเป็นไทย อาณาจักรสุโขทัย สมเด็จพระรามาธิบดี ที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสถาปนากรุงศรี อยุธยาเป็นราชธานี วางระเบียบด้านการ ปกครอง และ ขยายอาณาเขตของ กรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระเจ้าตาก สินมหาราช ทรงเป็น ผู้น าในการขับไล่พม่า หลังเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 และ สถาปนากรุงธนบุรี เป็นราชธานี 1 (ส. 11) 1 (ส. 12)


โครงสร้างรายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2566 เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 4 5 พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลก พระบาทสมเด็จ พระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลย เดช ตัวชี้วัด ป.3/1 ระบุพระนามและพระราชกรณีย กิจโดยสังเขปของ พระมหากษัตริย์ไทยที่เป็นผู้ สถาปนาอาณาจักรไทย มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี ความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ ความเป็นไทย ตัวชี้วัด ป.3/1 ระบุพระนามและพระราชกรณีย กิจโดยสังเขปของ พระมหากษัตริย์ไทยที่เป็นผู้ สถาปนาอาณาจักรไทย มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี ความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ ความเป็นไทย พระบาทสมเด็จพระ พุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช ทรง สถาปนาราชวงศ์จักรี และกรุงรัตนโกสินทร์ และสร้างความมั่นคง ให้แก่อาณาจักรไทย พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวภูมิพลอ ดุลยเดช ทรงเป็น ศูนย์รวมใจของคน ไทย ได้ทรงท า คุณประโยชน์ 1 (ส. 13) 2 (ส.14-15)


โครงสร้างรายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่1/2566 เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 5 5 สมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์พระ บรมราชินี นาถ สมเด็จพระ นเรศวรมหาราช ตัวชี้วัด ป.3/2 อธิบายพระราชประวัติและพระ ราชกรณียกิจของ พระมหากษัตริย์ในรัชกาลที่ ๙ โดยบสังเขป มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี ความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ ความเป็นไทย ตัวชี้วัด ป.3/2 อธิบายพระราชประวัติและพระ ราชกรณียกิจของ พระมหากษัตริย์ในรัชกาล ปัจจุบันโดยบสังเขป มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี ความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ ความเป็นไทย ต่อสังคมไทยและ ประเทศชาติหลาย ประการ เพื่อ ประเทศชาติมั่นคง และคนไทยอยู่เย็น เป็นสุข สมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงส่งเสริมด้าน การศึกษาและ อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ ศิลปหัตถกรรม พื้นบ้าน ทรงตั้งศูนย์ ศิลปาชีพหลายแห่ง ท าให้ราษฎรมีงานท า สมเด็จพระนเรศวร มหาราช เป็นกษัตริย์ แห่งกรุงศรีอยุธยาที่ ประกาศอิสรภาพจาก พม่า และทรง วางรากฐานความ มั่นคงให้กับชาติบ้าน 1 (ส. 16) 1 (ส. 17)


โครงสร้างรายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2566 เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 5 5 ชาวบ้าน บางระจัน พระยาพิชัยดาบ หัก ตัวชี้วัด ป.3/3 เล่าวีรกรรมของบรรพบุรุษไทย ที่มีส่วนปกป้องประเทศชาติ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี ความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ ความเป็นไทย ตัวชี้วัด ป.3/3 เล่าวีรกรรมของบรรพบุรุษ ไทยที่มีส่วนปกป้องประเทศชาติ มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มี ความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ ความเป็นไทย ตัวชี้วัด ป.3/3 เล่าวีรกรรมของบรรพบุรุษ ไทยที่มีส่วนปกป้องประเทศชาติ บ้านเมือง ชาวบ้านบางระจัน ได้แสดงวีรกรรมที่ กล้าหาญและความ เสียสละที่ยิ่งใหญ่ใน การต่อต้านกองทัพ พม่าในปลายสมัยกรุง ศรีอยุธยา พระยาพิชัยดาบหัก ได้รับการยกย่องเรื่อง ความซื่อสัตย์ กล้า หาญ และร่วมกอบกู้ เอกราชให้กับชาติ บ้านเมืองกับสมเด็จ พระเจ้าตากสิน มหาราช 1 (ส. 18) 1 (ส. 19)


โครงสร้างรายวิชา ประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1/2566 เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนัก คะแนน 5 ท้าวเทพกษัตรี และท้าวศรีสุนทร มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติ ไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและ ธ ารงค์ความเป็นไทย ตัวชี้วัด ป.3/3 เล่าวีรกรรมของบรรพ บุรุษไทยที่มีส่วนปกป้อง ประเทศชาติ ท้าวเทพสตรี ท้าวศรี สุนทร เป็นวีรสตรี ไทยที่มีความกล้า หาญ สามารถปกป้อง รักษาเมืองถลางจาก การรุกรานของ กองทัพพม่าได้ส าเร็จ (ส. 20) สอบปลายภาคเรียนที่ 1 (ส.20) รวมภาคเรียนที่ 1 20


สัปดาห์ที่ 1-2 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด ป.3/1 เทียบศักราชที่ส าคัญตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน 2. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การนับช่วงเวลาเป็นพุทธศักราช คริสต์ศักราช และฮิจเราะห์ศักราช จะต้องรู้ที่มาของศักราช 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ที่มาของศักราช (K) 2. .บอกที่มาของศักราชได้ (P) 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่นในการท างาน (A) ภาคเรียนที่ 1 / 2566 ชื่อผู้สอน ................................................................ กลุ่มสาระ ประวัติศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......2...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 1 การใช้ศักราชในชีวิตประจ าวัน เรื่อง ที่มาของศักราช


4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น บอกที่มาของศักราชได้ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นกระตุ้นความสนใจ 1. ครูน าตัวอย่างปฏิทินมาแสดงให้นักเรียนดูที่หน้าชั้นเรียน แล้วให้นักเรียนสังเกตรายละเอียดต่างๆ ที่ ปรากฏอยู่บนปฏิทิน 2. ครูสุ่มเรียกให้นักเรียนบอกรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏบนปฏิทินตามที่สังเกตได้ 3. ครูน าตัวอย่างปฏิทินมาแสดงให้นักเรียนดูที่หน้าชั้นเรียน แล้วให้นักเรียนสังเกตรายละเอียดต่างๆ ที่ ปรากฏอยู่บนปฏิทิน ขั้นส ารวจค้นหา 1. ครูน าตัวอย่างปฏิทินมาแสดงให้นักเรียนดูที่หน้าชั้นเรียน แล้วให้นักเรียนสังเกตรายละเอียดต่างๆ ที่ ปรากฏอยู่บนปฏิทิน 2. ครูสุ่มเรียกให้นักเรียนบอกรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏบนปฏิทินตามที่สังเกตได้ ครูตั้งประเด็นค าถามให้นักเรียนตอบ เช่น 1) ตัวเลข 2555 หมายถึงอะไร 2) ตัวเลข 2012 หมายถึงอะไร 3) ตัวเลข 2555 และ 2012 มีที่มา และมีความส าคัญอย่างไร 3. ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นถึงความส าคัญของที่มาของศักราชบนปฏิทินที่มีความเกี่ยวข้องกับ ชีวิตประจ าวัน ของนักเรียน คาบที่1 ขั้นน า ขั้นสอน


4. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด 1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน ครูชี้แจงให้นักเรียนเห็นความส าคัญและปฏิบัติตนตามกติกาของ การเรียนรู้ และการท างานร่วมกันในกลุ่ม 2. ครูให้สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ที่มาของศักราชจากหนังสือเรียน 3. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันอธิบายความรู้เรื่อง ที่มาของศักราช เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ที่ถูกต้อง 4. ครูน าแผนผังแสดงการใช้ศักราชมาให้นักเรียนดู แล้วอธิบายความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจมาก ยิ่งขึ้น 5. ครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรียน 2-3 คน ออกมาอธิบายล าดับที่มาของศักราชประกอบแผนผัง โดยให้ เพื่อนๆ ตรวจสอบความถูกต้อง 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมมือกันท าใบงานที่ 1.1 เรื่อง ที่มาของศักราช โดยให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม หาค าตอบในใบงานด้วยตนเองจนครบทุกข้อ จากนั้นจับคู่กับเพื่อนในกลุ่มผลัดกันอธิบายค าตอบของ ตนเองให้เพื่อนฟัง (นักเรียนอีกคู่หนึ่งก็ปฏิบัติกิจกรรมเช่นเดียวกัน) 7. สมาชิกรวมกลุ่ม 4 คนตามเดิม จากนั้นผลัดกันอธิบายค าตอบของคู่ตนเองให้เพื่อนอีกคู่หนึ่งฟัง และ สรุปค าตอบที่เป็นมติของกลุ่มแล้วบันทึกค าตอบลงในใบงาน ขั้นขยายความเข้าใจ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความส าคัญของที่มาของศักราช ขั้นตรวจสอบผล 1. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุปร่วมกันว่า ที่มาของศักราช ที่ใช้กันในปัจจุบันมี ประวัติอย่างไร ขั้นสรุป คาบที่2


2. ครูตรวจสอบผลการท าแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน 3. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค าถาม พฤติกรรมการท างานรายบุคคล พฤติกรรมการท างานกลุ่ม และจากการน าเสนอผลการท ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน 6. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การ ประเมินผล ความรู้ความ เข้าใจ (K) 1. สังเกตจากการซักถาม ตอบ ค าถาม 2. ที่มาของศักราชได้ 1.ค าถามกระตุ้น ความคิด 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะ/ กระบวนการ (P) 1.บอกที่มาของศักราชได้ 1. ใบงานบอกที่มาของ ศักราชได้ 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) 1. สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงาน ได้ทันตามที่ก าหนด 2. สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1. แบบสังเกต พฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การใช้ศักราชตามปฏิทมินไทยและสากล 2) แบบฝึกหัดประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การใช้ศักราชตามปฏิทมินไทยและสากล


7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) อินเทอร์เน็ต 8. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (........................................................) (.......................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 3 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด ป.3/1 เทียบศักราชที่ส าคัญตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน 2. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การนับช่วงเวลาเป็นพุทธศักราช คริสต์ศักราช และฮิจเราะห์ศักราช จะต้องรู้ที่มาของศักราช 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. การเทียบศักราช (K) 2. .สามารถเทียบศักราชจากพุทธศักราชเป็นคริสต์ศักราชได้ และเทียบคริสต์ศักราชเป็นพุทธศักราชได้(P) 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สาระการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 / 2566 ชื่อผู้สอน ................................................................ กลุ่มสาระ ประวัติศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 1 การใช้ศักราชในชีวิตประจ าวัน เรื่อง วิธีเทียบศักราช


สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น สามารถเทียบศักราชจาก พุทธศักราชเป็น คริสต์ศักราชได้ และเทียบคริสต์ศักราชเป็น พุทธศักราชได้(P) พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นกระตุ้นความสนใจ 1. ครูให้นักเรียนอ่านกรณีตัวอย่าง จากนั้นให้นักเรียนช่วยเทียบปี ค.ศ. เป็น พ.ศ. และค านวณอายุของ หลานๆ ให้คุณยายมณี 2. ครูให้นักเรียนเขียนค าตอบลงในกระดาษแผ่นเล็กๆ แล้วเขียนชื่อก ากับด้านหลังกระดาษ โดยให้ตัวแทน นักเรียนเก็บรวบรวมส่งครู ขั้นส ารวจค้นหา 1. ครูให้นักเรียนอ่านกรณีตัวอย่าง จากนั้นให้นักเรียนช่วยเทียบ ปี ค.ศ. เป็น พ.ศ. และค านวณอายุของหลานๆ ให้คุณยายมณี 2. ครูให้นักเรียนเขียนค าตอบลงในกระดาษแผ่นเล็กๆ แล้วเขียนชื่อก ากับด้านหลังกระดาษ โดยให้ตัวแทน นักเรียนเก็บรวบรวมส่งครู 3. ครูสุ่มหยิบกระดาษค าตอบของนักเรียน 3-5 คน ออกมาอ่าน แล้วให้เจ้าของค าตอบอธิบายวิธีการ เทียบปีเป็น พ.ศ. และค านวณอายุ 4. ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นความส าคัญของการเทียบศักราชว่า การใช้ศักราชที่แตกต่างกัน อาจ ท าให้เกิดความสับสนได้ การรู้วิธีเทียบศักราชจะช่วยท าให้เรารู้ได้ว่าปี พ.ศ. ใด ตรงกับปี ค.ศ. ใด คาบที่1 ขั้นน า ขั้นสอน


5. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด 6. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) แล้วร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง วิธีการ เทียบศักราชแบบต่างๆ จากหนังสือเรียน 7.สมาชิกในแต่ละกลุ่มผลัดกันอธิบายความรู้ตามที่ศึกษา และซักถาม ข้อสงสัยจนสมาชิกในกลุ่มมี ความรู้ความเข้าใจตรงกัน จากนั้นร่วมกันสรุปวิธีการเทียบศักราช ดังนี้ - การเทียบพุทธศักราชเป็นคริสต์ศักราช - การเทียบคริสต์ศักราชเป็นพุทธศักราช ขั้นขยายความเข้าใจ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการเทียบศักราช ขั้นตรวจสอบผล 1. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุปร่วมกันเกี่ยวกับการเทียบศักราช 2. ครูตรวจสอบผลการท าแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน 3. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค าถาม พฤติกรรมการท างานรายบุคคล พฤติกรรมการท างานกลุ่ม และจากการน าเสนอผลการท ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน 6. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การ ประเมินผล ความรู้ความ เข้าใจ (K) 1. สังเกตจากการซักถาม ตอบ ค าถาม 2. สามารถเทียบศักราชจาก พุทธศักราชเป็นคริสต์ศักราชได้ และเทียบคริสต์ศักราชเป็น พุทธศักราชได้(P) 1.ค าถามกระตุ้น ความคิด 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ขั้นสรุป


ทักษะ/ กระบวนการ (P) 1.บอกที่มาของศักราชได้ 1. ใบงานบอกที่มาของ ศักราชได้ 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) 1. สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงาน ได้ทันตามที่ก าหนด 2. สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1. แบบสังเกต พฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การใช้ศักราชตามปฏิทินไทยและสากล 2) แบบฝึกหัดประวัติศาสตร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สามารถเทียบศักราชจาก พุทธศักราชเป็น คริสต์ศักราชได้ และเทียบคริสต์ศักราชเป็นพุทธศักราชได้ 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) อินเทอร์เน็ต 8. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................


ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (........................................................) (.......................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 4-5 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความส าคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด ป.3/2 แสดงล าดับเหตุการณ์ส าคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 2. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การสืบค้นและรวบรวมข้อมูลของโรงเรียนจากหลักฐาน และแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะต้องท า อย่างมีระบบขั้นตอน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เหตุการณ์ส าคัญของโรงเรียนและชุมชน (K) 2. .ล าดับเหตุการณ์ส าคัญของโรงเรียนและชุมชน (P) 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ล าดับเหตุการณ์ส าคัญของโรงเรียนและชุมชน พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 / 2566 ชื่อผู้สอน ................................................................ กลุ่มสาระ ประวัติศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......2...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 1 เหตุการณ์ส าคัญของโรงเรียนและชุมชน เรื่อง เหตุการณ์ส าคัญของโรงเรียนและ ชุมชน


5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นกระตุ้นความสนใจ 1. ครูให้นักเรียนร้องเพลง โรงเรียนของเราน่าอยู่ พร้อมกัน 2 รอบ จากนั้นให้นักเรียนแต่ละคนแสดง เหตุผลว่า เพราะเหตุใดนักเรียนจึงชอบมาโรงเรียน 2. ครูให้นักเรียนร้องเพลง โรงเรียนของเราน่าอยู่ พร้อมกัน 2 รอบ จากนั้นให้นักเรียนแต่ละคนแสดงเหตุผลว่า 3. เพราะเหตุใดนักเรียนจึงชอบมาโรงเรียน 4. ครูตั้งประเด็นค าถามเกี่ยวกับโรงเรียนให้นักเรียนช่วยกันตอบ เช่น - โรงเรียนของเราตั้งขึ้นมากี่ปี - โรงเรียนของเรามีครู และนักเรียนกี่คน - โรงเรียนของเราเคยเปลี่ยนชื่อบ้างหรือไม่ - โรงเรียนของเรามีเรื่องราวส าคัญอะไรเกิดขึ้นบ้าง - ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบอย่างอิสระ จากนั้นครูอธิบายเพื่อเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่า โรงเรียน เป็นสถานที่ที่มีความส าคัญ หากต้องการรู้เรื่องราวต่างๆ ของโรงเรียน คาบที่1 ขั้นน า เพลงโรงเรียนของเราน่าอยู่ โรงเรียนของเราน่าอยู่ คุณครูใจดีทุกคน เด็กๆก็ไม่ซุกซน พวกเราทุกคนชอบมาโรงเรียน ชอบมา ชอบมาโรงเรียน ซ้ า


- รู้จักสืบค้นและรวบรวมข้อมูลต่างๆ ของโรงเรียน 5. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด ขั้นส ารวจค้นหา 2. นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มผลัดกันอธิบายความรู้เกี่ยวกับประเภทของหลักฐานที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับโรงเรียนและชุมชน พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ดังนี้ 1) หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือ 2) หลักฐานที่ไม่ใช่ตัวหนังสือ ขั้นขยายความเข้าใจ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการล าดับเหตุการณ์ส าคัญในโรงเรียน 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ตามความสมัคร ใจ จากนั้นร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง โรงเรียนและ ชุมชนของเรา จากหนังสือ-เรียน 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสืบค้นและรวบรวมข้อมูลต่างๆ ของโรงเรียน โดยน าความรู้พื้นฐานที่ได้จาก การเรียนในขั้นที่ 2 มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อหาค าตอบจากประเด็น ค าถามในขั้นที่ 1 2. สมาชิกแต่ละกลุ่มรวบรวมข้อมูล หลักฐานต่างๆ มาอภิปรายและเรียบเรียงข้อมูลเพื่อตอบประเด็น ค าถาม 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกข้อมูลลงใน ใบงานที่ เรื่อง โรงเรียนของเรา ขั้นสรุป ขั้นสอน คาบที่2


ขั้นตรวจสอบผล 1. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุปร่วมกันว่า วิธีการสืบค้นเหตุการณ์ส าคัญใน โรงเรียนท าได้ด้วยวิธีใดบ้าง 2. ครูตรวจสอบผลการท าแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน 3. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค าถาม พฤติกรรมการท างานรายบุคคล พฤติกรรมการท างานกลุ่ม และจากการน าเสนอผลการท ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน 6. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การ ประเมินผล ความรู้ความ เข้าใจ (K) 1. สังเกตจากการซักถาม ตอบ ค าถาม 2. เหตุการณ์ส าคัญของโรงเรียน และชุมชน 1.ค าถามกระตุ้น ความคิด 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะ/ กระบวนการ (P) 1.ล าดับเหตุการณ์ส าคัญของ โรงเรียนและชุมชน 1. ใบงานเหตุการณ์ ส าคัญของโรงเรียนและ ชุมชน 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) 1. สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงาน ได้ทันตามที่ก าหนด 2. สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1. แบบสังเกต พฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เหตุการณ์ส าคัญของโรงเรียนและชุมชน


2) แบบฝึกหัดประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เหตุการณ์ส าคัญของโรงเรียนและชุมชน 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) อินเทอร์เน็ต 8. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ.............................................ฝ่ายวิชาการ (........................................................) (.......................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 6 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ เหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ป.3/1 ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน 2. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยทางสังคม เป็นปัจจัยส าคัญที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและ พัฒนาการของชุมชน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานพัฒนาการของชุมชน(K) 2. บอกปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานพัฒนาการของชุมชน(P) 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่นในการท างาน (A) ภาคเรียนที่ 1 / 2566 ชื่อผู้สอน ................................................................ กลุ่มสาระ ประวัติศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 3 การตั้งถิ่นฐาน การด าเนินชีวิตและวัฒนธรรมในชุมชน เรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ตั้งถิ่นฐานพัฒนาการของ ชุมชน


4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น บอกปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานพัฒนาการของ ชุมชน พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นกระตุ้นความสนใจ 1) ครูน าบัตรภาพมาแสดงที่หน้าชั้นเรียน แล้วให้นักเรียนพิจารณาว่า ภาพดังกล่าวมีความสัมพันธ์ หรือมีความเชื่อมโยง กันอย่างไร 2) ครูน าบัตรภาพมาแสดงที่หน้าชั้นเรียน แล้วให้นักเรียนพิจารณาว่า ภาพดังกล่าวมีความสัมพันธ์ หรือมี ความเชื่อมโยงกันอย่างไร 3) ครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรียน 2-3 คน ออกมาอธิบายความสัมพันธ์หรือความเชื่อมโยงของภาพต่างๆ ขั้นส ารวจค้นหา 1. ครูก าหนดประเด็นในการเชื่อมโยงว่า วิถีชีวิตริมน้ า จากนั้นอธิบายความสัมพันธ์ หรือความเชื่อมโยง กันของภาพดังกล่าวให้นักเรียนสังเกตเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและการด าเนินวิถี ชีวิตของคนในชุมชน 2. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด 3. นักเรียนรวมกลุ่มกันตามความสมัครใจ กลุ่มละ 4 คน จากนั้นให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ ตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน จากหนังสือเรียน 4. สมาชิกในแต่ละกลุ่มผลัดกันอธิบายลักษณะของปัจจัยทางภูมิศาสตร์ และปัจจัยทางสังคม จากนั้น ร่วมกันจ าแนกความแตกต่างของปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยทางสังคม คาบที่1 ขั้นน า ขั้นสอน


5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันจ าแนกบัตรภาพที่ครูน ามาแสดงในขั้นที่ 1 ว่า บัตรภาพใดเป็นปัจจัย ทางภูมิศาสตร์ และบัตรภาพใดเป็นปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชนและการพัฒนา ของชุมชน 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปผล แล้วส่งตัวแทนออกมาน าเสนอผลการจ าแนกที่หน้าชั้นเรียน พร้อมอธิบาย ประกอบ ขั้นขยายความเข้าใจ 1) นักเรียนร่วมกันอธิบายและยกตัวอย่างปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยทางสังคมที่มีผลต่อวิถีชีวิตของ คนในชุมชนและการพัฒนาของชุมชน เช่น 2) การเลือกตั้งถิ่นฐานบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ าจะส่งผลต่อการประกอบอาชีพ และการด ารงชีวิตอย่างไร 3) การลงแขกเกี่ยวข้าว แสดงให้เห็นถึงปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยทางสังคมอย่างไร 4) นักเรียนแต่ละกลุ่มอธิบายค าตอบและยกตัวอย่างประกอบ ขั้นตรวจสอบผล 1. ครูให้นักเรียนสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุปปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน 2. ครูตรวจสอบผลการท าแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน 3. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค าถาม พฤติกรรมการท างานรายบุคคล พฤติกรรมการท างานกลุ่ม และจากการน าเสนอผลการท ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน 6. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การ ประเมินผล ความรู้ความ เข้าใจ (K) 1. สังเกตจากการซักถาม ตอบ ค าถาม 2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่น ฐานพัฒนาการของชุมชน 1.ค าถามกระตุ้น ความคิด 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ขั้นสรุป


ทักษะ/ กระบวนการ (P) 1.บอกปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้ง ถิ่นฐานพัฒนาการของชุมชน 1. ใบงานปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อการตั้งถิ่น ฐานพัฒนาการของ ชุมชน 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) 1. สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงาน ได้ทันตามที่ก าหนด 2. สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1. แบบสังเกต พฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน พัฒนาการของชุมชน 2) แบบฝึกหัดประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานพัฒนาการ ของชุมชน 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) อินเทอร์เน็ต 8. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................


ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (........................................................) (.......................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 7 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ เหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ป.3/1 ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน 2. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด ปัจจัยทางภูมิศาสตร์และปัจจัยทางสังคม เป็นปัจจัยส าคัญที่มีผลท าให้วัฒนธรรมประเพณี การนับถือ ศาสนา ความ เชื่อ และการประกอบอาชีพของแต่ละชุมชนมีความแตกต่างกัน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรมของชุมชน(K) 2. บอกความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรมของชุมชน(P) 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่นในการท างาน (A) ภาคเรียนที่ 1 / 2566 ชื่อผู้สอน ................................................................ กลุ่มสาระ ประวัติศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 3 วัฒนธรรมในชุมชน เรื่อง ความเหมือนและความแตกต่างทาง วัฒนธรรมของชุมชน


4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น บอ กค วามเหมือนและค ว ามแตกต่างท าง วัฒนธรรมของชุมชน พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นกระตุ้นความสนใจ 1. ครูน าบัตรภาพมาแสดงที่หน้าชั้นเรียน แล้วให้นักเรียนพิจารณาว่า ประเพณีดังกล่าวมีความส าคัญ อย่างไร และเป็นประเพณีของจังหวัดใด 2. ครูชี้แจงถึงความส าคัญของประเพณีต่างๆ เพื่อเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นความแตกต่างของประเพณี ทางศาสนาของแต่ละท้องถิ่น 3. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด 4. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน ขั้นส ารวจค้นหา 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรมของ ชุมชน จากหนังสือเรียน และห้องสมุด ในประเด็นที่ก าหนด ดังนี้ 1) ความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรมประเพณี 2) ความเหมือนและความแตกต่างทางศาสนาและความเชื่อ 3) ความเหมือนและความแตกต่างทางการประกอบอาชีพ คาบที่1 ขั้นน า ขั้นสอน


2. สมาชิกในแต่ละกลุ่มผลัดกันอธิบายความรู้จากประเด็นที่ได้ศึกษา 3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาในชั่วโมงที่แล้ว จากนั้นครูตั้งประเด็น ค าถามให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น เช่น - เพราะเหตุใด คนที่นับถือศาสนาเดียวกันในแต่ละชุมชนจึงมีกิจกรรมทางศาสนาแตกต่างกัน - เพราะเหตุใด ชุมชนภาคใต้จึงไม่มีประเพณีขอฝน - การประกอบอาชีพที่แตกต่างกันมีผลต่อประเพณี หรือความเชื่อของคนในชุมชนอย่างไร 4. ครูตรวจสอบค าตอบ และอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า การประกอบอาชีพต่างๆ ในชุมชน ก็ เป็นปัจจัยส าคัญที่ท าให้เกิดความเชื่อและประเพณีที่ส าคัญ ขั้นขยายความเข้าใจ 1)นักเรียนร่วมกันอธิบายและยกตัวอย่างบอกความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรมของชุมชน - ความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรมประเพณี - ความเหมือนและความแตกต่างทางศาสนาและความเชื่อ - ความเหมือนและความแตกต่างทางการประกอบอาชีพ ขั้นตรวจสอบผล 1) ครูให้นักเรียนสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุปความแตกต่างทางวัฒนธรรมของชุมชน - ความเหมือนและความแตกต่างทางวัฒนธรรมประเพณี - ความเหมือนและความแตกต่างทางศาสนาและความเชื่อ - ความเหมือนและความแตกต่างทางการประกอบอาชีพ 2) ครูตรวจสอบผลการท าแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน 3) ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค าถาม พฤติกรรมการท างานรายบุคคล พฤติกรรมการท างานกลุ่ม และจากการน าเสนอผลการท ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป


6. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การ ประเมินผล ความรู้ความ เข้าใจ (K) 1. สังเกตจากการซักถาม ตอบ ค าถาม 2. ความแตกต่างทางวัฒนธรรม ของชุมชน 1.ค าถามกระตุ้น ความคิด 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะ/ กระบวนการ (P) 1.บอกความแตกต่างทาง วัฒนธรรมของชุมชน 1. ใบงานความ แตกต่างทางวัฒนธรรม ของชุมชน 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) 1. สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงาน ได้ทันตามที่ก าหนด 2. สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1. แบบสังเกต พฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน พัฒนาการของชุมชน 2) แบบฝึกหัดประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ความแตกต่างทางวัฒนธรรมของชุมชน 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) อินเทอร์เน็ต


8. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (........................................................) (.......................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 8 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ เหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความส าคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชี้วัด ป.3/1 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน ตัวชี้วัด ป.3/2 เปรียบเทียบความเหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่น ๆ 2. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การสร้างสรรค์วัฒนธรรมในชุมชนนั้นเกิดจากปัจจัยส าคัญต่าง ๆ เช่น สภาพแวดล้อม ความ เป็นอยู่ อาชีพ ความเชื่อ ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณี 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรมของของชุมชน(K) 2. บอกปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรมของของชุมชน(P) 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่นในการท างาน (A) ภาคเรียนที่ 1 / 2566 ชื่อผู้สอน ................................................................ กลุ่มสาระ ประวัติศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 3 วัฒนธรรมในชุมชน เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรมของ ชุมชน


4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น บอกปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างสรรค์วัฒนธรรมของของ ชุมชน พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นกระตุ้นความสนใจ 1. ครูให้นักเรียนดูบัตรภาพ เกี่ยวกับข้าวของเครื่องใช้ บ้าน กิจกรรม และปะเพณีต่างๆแล้วให้นักเรียน ช่วยกันตอบว่าเป็นภาพอะไร ใช้งานอย่างไร และเคยพบเจอหรือไม่ 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะของภาพแต่ละภาพ และบอกถึงเหตุผลในการใช้และเหคุผลในการ สร้าง 3. ครูอธิบายถึงปัจจัยต่างที่มีผลต่อการสร้างสรรค์สิ่งของต่างๆและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในแต่ละ ชุมชน และยกตัวอย่างประกอบ ขั้นส ารวจค้นหา 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม แจกภาพวิธีชีวิตของคนในแต่ละชุมชนที่แตกต่างกัน แล้วให้สมาชิกในกลุ่ม ช่วยกันวิเคราะห์ ตามหัวข้อที่ก าหนด ดังนี้ - วัฒนธรรมนี้คือ - มีลักษณะส าคัญดังนี้ - ปัจจัยที่ท าให้เกิดวัฒนธรรมนี้ คือ 2. ในแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียน 3. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปและท า ใบงานเรื่อง วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาในท้องถิ่น คาบที่1 ขั้นน า ขั้นสอน


ขั้นขยายความเข้าใจ 1. นักเรียนร่วมกันอธิบายและยกตัวอย่างวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาในท้องถิ่น ขั้นตรวจสอบผล 2) ครูให้นักเรียนสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาในท้องถิ่น 3) ครูตรวจสอบผลการท าแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน 4) ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค าถาม พฤติกรรมการท างานรายบุคคล พฤติกรรมการท างานกลุ่ม และจากการน าเสนอผลการท ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน 6. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การ ประเมินผล ความรู้ความ เข้าใจ (K) 1. สังเกตจากการซักถาม ตอบ ค าถาม 2. วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิ ปัญญาในท้องถิ่น 1.ค าถามกระตุ้น ความคิด 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะ/ กระบวนการ (P) 1.บอกวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิ ปัญญาในท้องถิ่น 1. ใบงานวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา ในท้องถิ่น 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ขั้นสรุป


คุณลักษณะนิสัย (A) 1. สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงาน ได้ทันตามที่ก าหนด 2. สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1. แบบสังเกต พฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน พัฒนาการของชุมชน 2) แบบฝึกหัดประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาในท้องถิ่น 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) อินเทอร์เน็ต 8. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (........................................................) (.......................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 9 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ความเป็น ไทย ตัวชี้วัด ป.3/1 ระบุพระนามและพระราชกรณียกิจโดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ไทยที่เป็นผู้สถาปนาอาณาจักรไทย 2. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด พระมหากษัตริย์เป็นบุคคลส าคัญในประวัติศาสตร์ไทยได้สร้างสรรค์ความเจริญมั่นคงของชาติ และ เป็นแบบอย่างที่ดีในการท าคุณประโยชน์แก่ชาติบ้านเมือง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ผู้สถาปนาอาณาจักรส าคัญของไทย(K) 2. บอกประวัติผู้สถาปนาอาณาจักรส าคัญของไทยได้(P) 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น บอกประวัติผู้สถาปนาอาณาจักรส าคัญของไทยได้ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 / 2566 ชื่อผู้สอน ................................................................ กลุ่มสาระ ประวัติศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 การสถาปนาอาณาจักรไทย เรื่อง ผู้สถาปนาอาณาจักรส าคัญของไทย


5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นกระตุ้นความสนใจ 1. ครูเล่าถึงสาเหตุของการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ให้นักเรียนฟัง เพื่อให้นักเรียนตระหนักและเห็นถึง ความส าคัญของความสามัคคีของคนในชาติ ขั้นส ารวจค้นหา 1. ครูเล่าถึงสาเหตุของการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ให้นักเรียนฟัง เพื่อให้นักเรียนตระหนักและเห็นถึง ความส าคัญของความสามัคคีของคนในชาติ 2. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่าง บุคคลที่ช่วยกอบกู้เอกราชไทยที่นักเรียนรู้จัก 3. ครูให้นักเรียนดูภาพพระมหากษัตริย์ไทยที่กอบกู้เอกราชไทยในอดีตและอธิบายประวัติและวีรกรรมที่ กล้าหาญของพระมหากษัตริย์แต่ละพระองค์ 4. ครูมอบหมายให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม ขั้นขยายความเข้าใจ 1. นักเรียนร่วมกันอธิบาย ผู้สถาปนาอาณาจักรไทยในอาณาจักรต่างๆ ขั้นตรวจสอบผล 3) ครูให้นักเรียนสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุป ผู้สถาปนาอาณาจักรไทยในอาณาจักรต่างๆ 3) ครูตรวจสอบผลการท าแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน 4) ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค าถาม พฤติกรรมการท างานรายบุคคล พฤติกรรมการท างานกลุ่ม และจากการน าเสนอผลการท ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน คาบที่1 ขั้นน า ขั้นสรุป ขั้นสอน


6. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การ ประเมินผล ความรู้ความ เข้าใจ (K) 1. สังเกตจากการซักถาม ตอบ ค าถาม 2. ผู้สถาปนาอาณาจักรไทยใน อาณาจักรต่างๆ 1.ค าถามกระตุ้น ความคิด 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะ/ กระบวนการ (P) 1.บอกประวัติผู้สถาปนาอาณาจักร ไทยในอาณาจักรต่างๆ 1. ใบงานผู้สถาปนา อาณาจักรไทยใน อาณาจักรต่างๆ 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) 1. สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงาน ได้ทันตามที่ก าหนด 2. สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1. แบบสังเกต พฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้สถาปนาอาณาจักรไทยในอาณาจักรต่างๆ 2. แบบฝึกหัดประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้สถาปนาอาณาจักรไทยในอาณาจักรต่างๆ 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) อินเทอร์เน็ต


8. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (........................................................) (.......................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 10 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ความเป็น ไทย ตัวชี้วัด ป.3/1 ระบุพระนามและพระราชกรณียกิจโดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ไทยที่เป็นผู้สถาปนาอาณาจักรไทย 2. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เป็นผู้น าคนไทยที่ขับไล่อิทธิพลของขอม และทรงสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. พ่อขุนศรีอินทราทิตย์(K) 2. บอกประวัติพ่อขุนศรีอิทราทิตย์ได้(P) 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น บอกประวัติพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ได้ พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 / 2566 ชื่อผู้สอน ................................................................ กลุ่มสาระ ประวัติศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 การสถาปนาอาณาจักรไทย เรื่อง พ่อขุนศรีอินทราทิตย์


5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นกระตุ้นความสนใจ 1. ครูน าบัตรภาพมาแสดงให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนเชื่อมโยงเรื่องราวจากภาพ 2. ครูตั้งประเด็นค าถามเกี่ยวกับภาพ ดังนี้ 3. ครูน าบัตรภาพมาแสดงให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนเชื่อมโยงเรื่องราวจากภาพ ขั้นส ารวจค้นหา 1. ครูน าบัตรภาพมาแสดงให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนเชื่อมโยงเรื่องราวจากภาพ 2. ครูตั้งประเด็นค าถามเกี่ยวกับภาพ ดังนี้ 3.วัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย มีความส าคัญอย่างไร 4. พ่อขุนศรีอินทราทิตย์มีความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์อย่างไร 5. ประเพณีเผาเทียนเล่นไฟสืบทอดมาจากสมัยใด 6. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบค าถามอย่างอิสระ จากนั้นครูอธิบาย - เพื่อเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาของภาพต่างๆตั้งแต่สมัยสุโขทัย 7. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด 8. นักเรียนรวมกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้ เรื่อง พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ผู้สถาปนากรุงสุโขทัย จากหนังสือเรียน และห้องสมุด โดยครูก าหนด ประเด็นในการศึกษา ดังนี้ คาบที่1 ขั้นน า ขั้นสอน


9. พระราชประวัติ 10. พระราชกรณียกิจที่ส าคัญ 11. นักเรียนแต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบในการศึกษาความรู้ตามความเหมาะสม หรือตามความ สนใจ 12. ครูตั้งประเด็นค าถามให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอธิบาย หรือตอบค าถาม ดังนี้ 13. บุคคลใดบ้างที่มีบทบาทส าคัญในการเป็นผู้น าชาวไทย - ก่อนการสถาปนากรุงสุโขทัย 14. พ่อขุนศรีนาวน าถม มีบทบาทส าคัญอย่างไร 15. การขับไล่ขอมมีผลต่ออาณาจักรสุโขทัย - อย่างไร 16. ครูตรวจสอบความถูกต้อง แล้วอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ขั้นขยายความเข้าใจ 1. นักเรียนร่วมกันอธิบาย ประวัติพ่อขุนศรีอิทราทิตย์ ขั้นตรวจสอบผล 2) ครูให้นักเรียนสรุปความรู้ผู้สถาปนาอาณาจักรไทย พ่อขุนศรีอิทราทิตย์ 3) ครูตรวจสอบผลการท าแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจก่อนเรียนของนักเรียน 4) ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค าถาม พฤติกรรมการท างานรายบุคคล พฤติกรรมการท างานกลุ่ม และจากการน าเสนอผลการท ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป


6. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัด เกณฑ์การ ประเมินผล ความรู้ความ เข้าใจ (K) 1. สังเกตจากการซักถาม ตอบ ค าถาม 2. พ่อขุนศรีอิทราทิตย์ 1.ค าถามกระตุ้น ความคิด 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะ/ กระบวนการ (P) 1.บอกประวัติพ่อขุนศรีอิทราทิตย์ 1. ใบงานพ่อขุนศรีอิท ราทิตย์ 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย (A) 1. สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงาน ได้ทันตามที่ก าหนด 2. สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3. สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1. แบบสังเกต พฤติกรรม 70% ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 7. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้สถาปนาอาณาจักรไทยในอาณาจักรต่างๆ 2. แบบฝึกหัดประวัติศาสตร์ป.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พ่อขุนศรีอิทราทิตย์ 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องสมุด 3) อินเทอร์เน็ต


8. กิจกรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชื่อ............................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...................................................ฝ่ายวิชาการ (........................................................) (.......................................................) ลงชื่อ................................................... ผู้บริหาร (...........................................................)


สัปดาห์ที่ 11 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธ ารงค์ความเป็น ไทย ตัวชี้วัด ป.3/1 ระบุพระนามและพระราชกรณียกิจโดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ไทยที่เป็นผู้สถาปนาอาณาจักรไทย 2. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี วางระเบียบด้าน การปกครอง และขยายอาณาเขตของกรุงศรีอยุธยา 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) (K) 2. บอกประวัติสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) (P) 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้และมุ่งมั่นในการท างาน (A) 4. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น บอกประวัติสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 / 2566 ชื่อผู้สอน ................................................................ กลุ่มสาระ ประวัติศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 การสถาปนาอาณาจักรไทย เรื่อง สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)


5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นกระตุ้นความสนใจ 1. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด 2. ครูน าบัตรภาพมาแสดงให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนพิจารณาว่า บุคคลในภาพคือใคร และเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นในภาพมีความส าคัญอย่างไร ขั้นส ารวจค้นหา 1. ครูน าบัตรภาพมาแสดงให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนพิจารณาว่า บุคคลในภาพคือใคร และเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นในภาพมีความส าคัญอย่างไร 2. ครูเล่าเรื่องราวประกอบภาพให้นักเรียนเข้าใจว่า ภาพดังกล่าว - เป็นภาพที่วาดจากจินตนาการเพื่อให้เห็นเหตุการณ์ส าคัญที่ - พระเจ้าอู่ทอง ทรงควบคุมการสร้างกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี - เมื่อ พ.ศ. 1893 ณ บริเวณเกาะเมืองอยุธยาในปัจจุบัน 3. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่า พระเจ้าอู่ทอง มีความส าคัญต่อกรุงศรีอยุธยาอย่างไร 4. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ ทอง) เพื่อหาค าตอบว่า 5. พระเจ้าอู่ทอง มีความส าคัญต่อกรุงศรีอยุธยาอย่างไร 6. ครูก าหนดวัตถุประสงค์ที่นักเรียนแต่ละกลุ่มจะต้องร่วมกันปฏิบัติ ดังนี้ 7. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจที่ส าคัญของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) 8. เรียงล าดับเหตุการณ์พระราชกรณียกิจที่ส าคัญ คาบที่1 ขั้นน า ขั้นสอน


Click to View FlipBook Version