โครงสร้าง และแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชา สังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่3 แผนกประถมศึกษา โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2566-2568
โครงสร้างการสอนวิชา สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา................ เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้/ เรื่อง มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชม.) /สัปดาห์ น ้าหนัก คะแนน 1 ประชาธิปไตย ในชั้นเรียน โรงเรียน และ ชุมชน -การมีส่วนร่วม ในกิจกรรมตาม กระบวนการ ประชาธิปไตย มาตรฐานที่ส 2.2 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการ ทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้อย่าง มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้ง เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/1 ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกของ ชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ต่างๆตามกระบวนการประชาธิปไตย ตัวชี้วัดที่ ป.3/2 วิเคราะห์ความแตกต่างของ กระบวนการการตัดสินใจในชั้นเรียน โรงเรียนและชุมชนโดยวิธีการ ออกเสียงโดยตรงและการเลือก ตัวแทนออกเสียง ตัวชี้วัดที่ ป.3/3 ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงในชั้น เรียน โรงเรียน และชุมชนที่เป็นผล จากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม - การเปลี่ยนแปลงในชั้น เรียนโรงเรียน และชุมชน เป็นผลจากการตัดสินใจ ของบุคคลและกลุ่มคน โดยวิธีการออกเสียงโดย ตรงและตัวแทนออก เสียงนอกจากนั้นสมาชิก ในชุมชนทุกคนยังต้องมี บทบาทหน้าที่ในการเข้า ร่วมกิจกรรมต่างๆตาม กระบวนการ ประชาธิปไตย 1(ส.1)
โครงสร้างการสอนวิชา สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา................ เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้/ เรื่อง มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชม.) /สัปดาห์ น ้าหนัก คะแนน 1 ประชาธิปไตย ในชั้นเรียน โรงเรียน และ ชุมชน -การออกเสียง โดยตรงและการ เลือกตัวแทน ออกเสียง มาตรฐานที่ส 2.2 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการ ทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้อย่าง มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้ง เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/2 วิเคราะห์ความแตกต่างของ กระบวนการการตัดสินใจในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน โดยวิธีการ ออกเสียงโดยตรงและการเลือก ตัวแทนออกเสียง - การออกเสียงเลือกตั้ง ตัวแทนในชั้นเรียนและ โรงเรียนเป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการ ประชาธิปไตยซึ่งสมาชิก ทุกคนจะต้องรู้จักเลือก ผู้แทนอย่างเหมาะสมให้ สอดคล้องกับลักษณะ ของผู้แทนที่ดี 1(ส.2) 2 การเปลี่ยน แปลงในชั้น เรียน โรงเรียน และชุมชน -การเปลี่ยน แปลงในชั้น เรียนโรงเรียน และชุมชน มาตรฐานที่ส 2.2 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการ ทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้อย่าง มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้ง เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพี่อ เพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/3 ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงในชั้น เรียน โรงเรียน และชุมชนที่เป็นผล จากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม การเปลี่ยนแปลงในชั้น เรียนและโรงเรียนซึ่งเกิด จากการตัดสินใจของ บุคคลและกลุ่มคนย่อม ส่งผลต่อสมาชิก 2(ส.3-4)
โครงสร้างการสอนวิชา สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา................ เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้/ เรื่อง มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชม.) /สัปดาห์ น ้าหนัก คะแนน 3 ความหลาก หลายทาง วัฒนธรรม -การด าเนินชีวิต ของตนเองและ ผู้อื่นในกระแส วัฒนธรรมที่ หลากหลาย มาตรฐานที่ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของ การเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธ ารงรักษาประเพณี และ วัฒนธรรมไทย ด ารงชีวิตอยู่ร่วมกัน ในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่าง สันติสุข ตัวชี้วัดที่ ป.3/2 บอกพฤติกรรมการด าเนินชีวิตของ ตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแส วัฒนธรรมที่หลากหลาย วัฒนธรรมและประเพณี ของแต่ละครอบครัวมี ความแตกต่างกันซึ่ง ส่งผลต่อพฤติกรรมการ ด าเนินชีวิตด้วย 2(ส.5-6) 1 สินค้าและ บริการในชีวิต ประจ าวัน -สินค้าและ บริการใน ชีวิตประจ าวัน มาตรฐานที่ส 3.1 เข้าใจและ สามารถบริหารจัดการทรัพยากรใน การผลิตและการบริโภค การใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้อย่างมี ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้ง เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/1จ าแนกความ ต้องการและความจ าเป็นในการใช้ สินค้าและบริการในการด ารงชีวิต ตัวชี้วัดที่ ป.3/2วิเคราะห์การใช้จ่าย ของตนเอง ตัวชี้วัดที่ ป.3/3อธิบายได้ว่า ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดมีผลต่อการ ผลิตและบริโภคสินค้าและบริการ - สินค้าและบริการเกิด จากการน าทรัพยากรการ ผลิตหรือปัจจัยการผลิตมา ท าการผลิตให้เป็นสินค้า และบริการ ในทาง เศรษฐศาสตร์แบ่งสินค้า และบริการเป็น2 ประเภท คือ สินค้าและบริการที่ จ าเป็นและสินค้าและ บริการที่ต้องการ เราควร ใช้สินค้าและบริการให้เกิด ประโยชน์สูงสุด เนื่องจาก ทรัพยากรที่น ามาใช้ใน การผลิตมีจ ากัด 2(ส.7-9)
โครงสร้างการสอนวิชา สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา................ เวลา 20 ชั่วโมง หน่วยที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้/ เรื่อง มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชม.) /สัปดาห์ น ้าหนัก คะแนน 2 การวางแผน การใช้จ่ายเงิน -การวางแผน การใช้จ่ายของ ตนเอง มาตรฐานที่ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการ ทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้อย่าง มีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมทั้ง เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/2 วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง -การวิเคราะห์รายจ่าย ของตนเองและฝึกบันทึก รายรับ–รายจ่ายของ ตนเองได้รวมไปถึงการ วางแผนการใช้จ่ายและ สามารถเก็บออมได้ 3 (ส.11-13) 3 การบริหาร จัดการ ทรัพยากร -ทรัพยากรที่มี อยู่จ ากัดมีผลต่อ การผลิตและ บริโภคสินค้า และบริการ มาตรฐานที่ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการ ทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้อย่าง มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้ง เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/1 อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดมี ผลต่อการผลิตและบริโภคสินค้าและ บริการ ตัวชี้วัดที่ ป.3/3 อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดมี ผลต่อการผลิตและบริโภคสินค้าและ บริการ - ทรัพยากรเพื่อการ ผลิตและปัญหา พื้นฐานทางการผลิต 3 (ส.14-16)
โครงสร้างการสอนวิชา สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา................ เวลา 20 ชั่วโมง หน่ วย ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้/เรื่อง มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระส าคัญ เวลา (ชม.) /สัปดาห์ น ้าหนัก คะแนน 4 ภาษีและการแข่งขัน ทางการค้า -ภาษีที่เกี่ยวข้องกับ ชีวิตประจ าวัน มาตรฐานที่ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทาง เศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ตัวชี้วัดที่ ป.3/2 บอกความส าคัญของภาษีและ บทบาทของประชาชนในการ เสียภาษี -ภาษีเป็นเงินที่รัฐเรียกเก็บ จากบุคคล ทรัพย์สิน หรือ ธุรกิจเพื่อน าไปบริหาร ประเทศ ภาษีมีทั้งภาษีเงิน ได้ภาษีบ ารุงท้องที่ ภาษีมูลค่าเพิ่มภาษี สรรพสามิตผู้มีรายได้ตาม เกณฑ์ที่กฎหมายก าหนด ต้องเสียภาษีให้แก่รัฐเพื่อ รัฐจะได้น าเงินภาษีไปใช้ใน การพัฒนาประเทศ 2 (ส.17-18) ภาษีและการแข่งขัน ทางการค้า -การแข่งขันทาง การค้าที่มีผลท าให้ ราคาสินค้าลดลง มาตรฐานที่ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทาง เศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ตัวชี้วัดที่ ป.3/3 อธิบายเหตุผลการแข่งขันทาง การค้า ที่มีผลท าให้ราคาสินค้า ลดลง -การแข่งขันทางการค้านั้น ท าให้มีผลกระทบที่ท าให้ ราคาสินค้าลดลง 1 (ส.19) สอบระหว่างภาคเรียนที่2 (ส.10) 15 คะแนน สอบปลายภาคเรียนที่2 (ส.20) 15 คะแนน รวมภาคเรียนที่ 2 20 100
สัปดาห์ที่ 1 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 / ……… ชื่อผู้สอน ............................................................................................................ กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 ประชาธิปไตยในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เรื่อง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตย 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ส 2.2 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้ อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/1 ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกของชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตามกระบวนการ ประชาธิปไตย ตัวชี้วัดที่ ป.3/2 วิเคราะห์ความแตกต่างของกระบวนการการตัดสินใจในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน โดยวิธีการ ออก เสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง ตัวชี้วัดที่ ป.3/3 ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชนที่เป็นผลจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม 2.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เป็นผลจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่มคน โดยวิธีการออกเสียง โดยตรงและตัวแทนออกเสียงนอกจากนั้นสมาชิกในชุมชนทุกคนยังต้องมีบทบาทหน้าที่ในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ตาม กระบวนการประชาธิปไตย 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 4.สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น -บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา
5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1.นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด บุคคลที่มีบทบาทส าคัญต่อชุมชน ได้แก่ใครบ้าง (พระสงฆ์ผู้สูงอายุครูต ารวจ ผู้ใหญ่บ้าน และนักเรียน ฯลฯ) 2.ครูให้ตัวแทนนักเรียน 12 คน เล่นเกมจับคู่ โดยครูชี้แจงกติกาการเล่นเกม ให้นักเรียนฟัง 3.เริ่มเล่นเกม ครูให้สัญญาณให้ผู้เล่นจับคู่ภาพกับข้อความ ใครเสร็จทีหลังเพื่อนเป็นฝ่ายแพ้จากนั้นให้ผู้ เล่นน าภาพ แต่ละคู่ไปติดที่ป้ายนิเทศ 4.เมื่อเล่นเกมเสร็จครูชี้แจงให้นักเรียนทราบว่า ภาพดังกล่าวสอดคล้องกับการเป็นสมาชิกในชุมชน ขั้นสอน 1.ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความ สามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน แล้วชี้น าให้นักเรียนเห็นความส าคัญของการท างานร่วมกัน และปฏิบัติตามกติกาของการเรียนรู้แบบร่วมมือ เช่น - การช่วยเหลือกัน และการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล - ทุกคนต้องมีความรับผิดชอบในภาระหรือหน้าที่ของตน - สมาชิกทุกคนมีบทบาทเท่าเทียมกัน - สมาชิกทุกคนต้องมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันอย่างต่อเนื่อง ครูให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีความกระตือรือร้นและตั้งใจท างานร่วมกันให้ประสบความส าเร็จอย่างมีคุณภาพ 2. ครูอธิบายความรู้เรื่อง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน ให้นักเรียนฟัง เช่น - พระสงฆ์ - ผู้สูงอายุ - ครู - นักเรียน - ต ารวจ - ผู้ใหญ่บ้าน - แพทย์ฯลฯ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เพิ่มเติมเรื่อง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน จากหนังสือเรียนหรือห้องสมุด แล้ว บันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในแบบบันทึกการอ่าน 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันท าใบงานที่1 เรื่อง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน โดยแบ่งหน้าที่กันเขียนผัง มโนทัศน์ คนละ 2 หัวข้อ ให้ผู้ที่เรียนอ่อนได้เลือกหัวข้อก่อน 5. สมาชิกแต่ละคนสืบค้นความรู้เพื่อเป็นค าตอบในหัวข้อที่ตนรับผิดชอบ แล้วบันทึกลงในใบงานที่ 1 6. สมาชิกแต่ละคนน าค าตอบมาอภิปรายร่วมกันจนได้ค าตอบที่สมบูรณ์และมีความเข้าใจตรงกันทุกคน 7. สมาชิกแต่ละกลุ่มส่งใบงานที่ 1 จากนั้นครูสุ่มตัวแทนกลุ่มออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน หรือช่วยกันเฉลยค าตอบ ในใบงานตามความเหมาะสมนักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด ขั้นสรุป 1. นักเรียนช่วยกันสรุปบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน
6.การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ(K) 1.สังเกตจากการซักถาม ตอบค าถาม 2.ใบงานที่ 1 เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 1.ค าถามกระตุ้นความคิด 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะกระบวนการ(P) 1.การวิเคราะห์เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 1.ใบงานที่1เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย(A) 1.สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่ง งานได้ทันตามที่ก าหนด 2.สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3.สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 7.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 3) เกมจับคู่ 4) บัตรภาพ 5) บัตรค า 6) ใบงาน เรื่อง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 7.2 แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด 8.กิจกรรมเสนอแนะ - ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ลงชื่อ...........................................ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ...........................................ผู้อ านวยการ
เอกสารประกอบการสอน เกมจับคู่ วิธีเล่น 1. ตัวแทนนักเรียน (ผู้เล่นเกม) ยืนเข้าแถว 2. ผู้เล่นเกมนับ 1-12 ต่อกันไปเรียงตามล าดับ ผู้ที่ได้เลขคี่ยืนก้าวมาด้านหน้า 1 ก้าว ส่วนผู้ที่ได้เลขคู่ยืนอยู่กับที่ 3. ครูแจกบัตรภาพให้แก่แถวเลขคี่ โดยปิดบัตรเข้าที่ล าตัว ได้แก่ - ภาพพระสงฆ์ - ภาพครู - ภาพต ารวจ - ภาพนักเรียน - ภาพผู้ใหญ่บ้าน - ภาพแพทย์ 4. ครูแจกบัตรค าให้แก่ผู้เล่นแถวเลขคู่ โดยยังไม่ให้เปิดดูดังนี้ รักษาคนไข้ อบรมสั่งสอน จับคนร้าย ดูแลลูกบ้าน แสดงธรรม เรียนหนังสือ 5. ครูแจ้งกติกาว่า ผู้เล่นทุกคนห้ามส่งเสียง เมื่อได้ยินสัญญาณให้ทุกคนหาคู่ โดยการชูภาพหรือบัตรค าให้ทุกคนดู แล้วจึงไป จับคู่กัน ใครเสร็จก่อนให้นั่งลง ส่วนคนที่เสร็จทีหลังเป็นฝ่ายแพ้
รักษาคนไข้ อบรมสั่งสอน จับคนร้าย ดูแลลูกบ้าน แสดงธรรม เรียนหนังสือ บัตรค า
ภาพที่1 ภาพที่2 ภาพที่3 ภาพที่4 ภาพที่5 ภาพที่6 บัตรภาพ
ใบงานที่1 ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนผังมโนทัศน์เรื่อง บุคคลผู้มีบทบาทหน้าที่ส าคัญในชุมชน บุคคลผู้มีบทบาทหน้าที่ ส าคัญในชุมชน
ใบงานที่1 (เฉลย) ค าชี้แจง ให้นักเรียนเขียนผังมโนทัศน์เรื่อง บุคคลผู้มีบทบาทหน้าที่ส าคัญในชุมชน พระสงฆ์ อบรมสั ่งสอนชาวบ้าน ให้เป็นผู้ประพฤติดี ผู้สูงอายุ ให้ค าแนะน าแก่สมาชิกใน ชุมชนด้าน ประสบการณ์ แพทย์ ดูแลรักษาผู้ป่วย ให้ค าแนะน าในการ ป้องกันโรค ครู อบรมสั ่งสอนนักเรียน ให้มีความรู้และความ ประพฤติดี อาสาสมัครชุมชน ต ารวจ ผู้ใหญ่บ้าน นักเรียน ตั้งใจเรียน ช่วยพ่อแม่ท างาน เชื่อฟังค าสั ่งสอน ของครู ดูแลรักษาความสงบ ของชุมชน บ้านเมือง ป้องกัน ปราบปราม โจรผู้ร้าย ดูแลความสงบใน ชุมชน ช่วยเหลือและท า ประโยชน์ แก่ชุมชน ดูแลความสงบสุข ในหมู่บ้าน บุคคลผู้มีบทบาทหน้าที่ ส าคัญในชุมชน
สัปดาห์ที่ 2 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 / ……… ชื่อผู้สอน ............................................................................................................ กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 ประชาธิปไตยในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เรื่อง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตย 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ส 2.2 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้ อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/1 ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกของชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตามกระบวนการ ประชาธิปไตย ตัวชี้วัดที่ ป.3/2 วิเคราะห์ความแตกต่างของกระบวนการการตัดสินใจในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน โดยวิธีการ ออก เสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง ตัวชี้วัดที่ ป.3/3 ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชนที่เป็นผลจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม 2.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เป็นผลจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่มคน โดยวิธีการออกเสียง โดยตรงและตัวแทนออกเสียงนอกจากนั้นสมาชิกในชุมชนทุกคนยังต้องมีบทบาทหน้าที่ในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ตาม กระบวนการประชาธิปไตย 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 4.สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา
5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด บุคคลที่มีบทบาทส าคัญต่อชุมชน ได้แก่ใครบ้าง (พระสงฆ์ผู้สูงอายุครูต ารวจ ผู้ใหญ่บ้าน และนักเรียน ฯลฯ) 2. ครูให้ตัวแทนนักเรียน 12 คน เล่นเกมจับคู่ โดยครูชี้แจงกติกาการเล่นเกม ให้นักเรียนฟัง 3. เริ่มเล่นเกม ครูให้สัญญาณให้ผู้เล่นจับคู่ภาพกับข้อความ ใครเสร็จทีหลังเพื่อนเป็นฝ่ายแพ้จากนั้นให้ผู้ เล่นน าภาพ แต่ละคู่ไปติดที่ป้ายนิเทศ 4. เมื่อเล่นเกมเสร็จครูชี้แจงให้นักเรียนทราบว่า ภาพดังกล่าวสอดคล้องกับการเป็นสมาชิกในชุมชน ขั้นสอน 1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความ สามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้าง อ่อน และอ่อน แล้วชี้น าให้นักเรียนเห็นความส าคัญของการท างานร่วมกัน และปฏิบัติตามกติกาของการเรียนรู้แบบร่วมมือ เช่น - การช่วยเหลือกัน และการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล - ทุกคนต้องมีความรับผิดชอบในภาระหรือหน้าที่ของตน - สมาชิกทุกคนมีบทบาทเท่าเทียมกัน - สมาชิกทุกคนต้องมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันอย่างต่อเนื่อง ครูให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีความกระตือรือร้นและตั้งใจท างานร่วมกันให้ประสบความส าเร็จอย่างมีคุณภาพ 2. ครูอธิบายความรู้เรื่อง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน ให้นักเรียนฟัง เช่น - พระสงฆ์ - ผู้สูงอายุ - ครู - นักเรียน - ต ารวจ - ผู้ใหญ่บ้าน - แพทย์ฯลฯ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เพิ่มเติมเรื่อง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน จากหนังสือเรียนหรือห้องสมุด แล้ว บันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในแบบบันทึกการอ่าน 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันท าใบงาน เรื่อง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน โดยแบ่งหน้าที่กันเขียนผัง มโนทัศน์ คนละ 2 หัวข้อ ให้ผู้ที่เรียนอ่อนได้เลือกหัวข้อก่อน 5. สมาชิกแต่ละคนสืบค้นความรู้เพื่อเป็นค าตอบในหัวข้อที่ตนรับผิดชอบ แล้วบันทึกลงในใบงานที่ 1 6. สมาชิกแต่ละคนน าค าตอบมาอภิปรายร่วมกันจนได้ค าตอบที่สมบูรณ์และมีความเข้าใจตรงกันทุกคน 7. สมาชิกแต่ละกลุ่มส่งใบงานที่ 1 จากนั้นครูสุ่มตัวแทนกลุ่มออกมาน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน หรือช่วยกันเฉลยค าตอบ ในใบงานตามความเหมาะสมนักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด ขั้นสรุป 1. นักเรียนช่วยกันสรุปบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน
6.การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ(K) 1.สังเกตจากการซักถาม ตอบค าถาม 2.ใบงานที่ 1 เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 1.ค าถามกระตุ้นความคิด 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะกระบวนการ(P) 1.การวิเคราะห์เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 1.ใบงานที่1เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย(A) 1.สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่ง งานได้ทันตามที่ก าหนด 2.สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3.สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน 7.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 3) เกมจับคู่ 4) บัตรภาพ 5) บัตรค า 6) ใบงานที่ 6.1 เรื่อง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 7.2 แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด 8.กิจกรรมเสนอแนะ - ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ลงชื่อ...........................................ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ...........................................ผู้อ านวยการ
สัปดาห์ที่ 3 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 / 2562 ชื่อผู้สอน ............................................................................................................ กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 ประชาธิปไตยในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เรื่อง การออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ส 2.2เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้ อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/2วิเคราะห์ความแตกต่างของกระบวนการการตัดสินใจในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน โดยวิธีการ ออก เสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง 2.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การออกเสียงเลือกตั้งตัวแทนในชั้นเรียนและโรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการประชาธิปไตยซึ่งสมาชิกทุกคนจะต้อง รู้จักเลือกผู้แทนอย่างเหมาะสมให้สอดคล้องกับลักษณะของผู้แทนที่ดี 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลักษณะของตัวแทนในชั้นเรียนและโรงเรียนได้ 4.สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - การออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1.ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างลักษณะของตัวแทนใน ชั้นเรียนและโรงเรียน 2. ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับลักษณะของตัวแทนในชั้นเรียนและโรงเรียน
ขั้นสอน 58 1. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกันศึกษาความรู้เกี่ยวกับลักษณะของตัวแทนในชั้น เรียนและโรงเรียน จากหนังสือเรียน แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษา 2. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด 3. นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มผลัดกันอธิบายความรู้ที่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของตัวแทนในชั้นเรียนและ โรงเรียน 4. สมาชิกแต่ละกลุ่มน าความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาเป็นพื้นฐานในการท าใบงาน เรื่อง ลักษณะของตัวแทน ในชั้นเรียนและโรงเรียน เสร็จแล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง 5. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันเขียนแผนผังความคิดแสดงวิธีการเลือกตัวแทนอย่างถูกต้องและเหมาะสม 6. ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอแผนผังความคิดหน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสม ขั้นสรุป 1. ครูเฉลยค าตอบในใบงานและให้สมาชิกแต่ละกลุ่มตรวจสอบความถูกต้องและแก้ไขในส่วนที่บกพร่องนักเรียน ช่วยกันสรุปลักษณะของตัวแทนในชั้นเรียนและโรงเรียน 6.การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ(K) 1.สังเกตจากการซักถาม ตอบค าถาม 2.ใบงานที่ลักษณะของ ตัวแทนในชั้นเรียนและ โรงเรียน 1.ค าถามกระตุ้นความคิด 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะกระบวนการ(P) 1.การวิเคราะห์เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 1.ใบงานลักษณะของตัวแทน ในชั้นเรียนและโรงเรียน 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย(A) 1.สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่ง งานได้ทันตามที่ก าหนด 2.สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3.สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน
7.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 3) ใบงานเรื่อง ลักษณะของตัวแทนในชั้นเรียนและโรงเรียน 7.2แหล่งการเรียนรู้ - 8.กิจกรรมเสนอแนะ - ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ลงชื่อ...........................................ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ...........................................ผู้อ านวยการ
ใบงาน 6.3ลักษณะของตัวแทนในชั้นเรียนและโรงเรียน ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี้ 1. นักเรียนคิดว่า การมีหัวหน้าห้อง มีผลดีหรือมีประโยชน์อย่างไร 2. นักเรียนคิดว่า การมีประธานนักเรียน มีผลดีหรือมีประโยชน์อย่างไร 3. นักเรียนคิดว่า การมีคณะกรรมการ ห้องเรียนหรือโรงเรียน มีประโยชน์อย่างไร
สัปดาห์ที่ 4 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 / ……… ชื่อผู้สอน ............................................................................................................ กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 ประชาธิปไตยในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียนและชุมชน 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ส 2.2 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้ อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/3 ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชนที่เป็นผลจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม 2.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียนและโรงเรียนซึ่งเกิดจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่มคนย่อมส่งผลต่อสมาชิก 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียนและโรงเรียนซึ่งเกิดจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่ม พร้อมกับบอกผลดีที่เกิดขึ้นต่อ สมาชิกได้ 4.สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การตัดสินใจของบุคคล และกลุ่มที่มีผลต่อการเปลี่ยน แ ปลงในชั้นเรียน และโรงเรียน การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน เช่น การเลือกหัวหน้าห้อง คณะกรรมการห้องเรียน การเปลี่ยนแปลงในโรงเรียน เช่น การเลือกประธาน นักเรียน คณะกรรมการนักเรียน พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา
5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1. ครูให้นักเรียนดูภาพสภาพแวดล้อมของห้องเรียนและโรงเรียนที่เปลี่ยนแปลงไป 2. ครูให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี้ -สภาพแวดล้อมของโรงเรียนเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้างการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลดีอย่างไร และผลเสียอย่างไร ขั้นสอน 1. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่1) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การเปลี่ยนแปลงใน ชั้นเรียนและโรงเรียน จากหนังสือเรียน 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมถึงผลดีของการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียนและโรงเรียน 3. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท าใบงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียนและโรงเรียน 4. สมาชิกแต่ละคนผลัดกันอธิบายผลงานของตนในใบงาน ให้สมาชิกคนอื่นภายในกลุ่มฟังทีละคน 5. สมาชิกในกลุ่มร่วมกันอภิปรายสรุปถึงผลของการเปลี่ยนแปลง ในชั้นเรียนและโรงเรียน 6. นักเรียนแต่ละคนน าใบงาน ส่งครูแล้วครูคัดเลือกผู้ที่มีผลงานดีติดป้ายนิเทศหน้าชั้นเรียน ขั้นสรุป 1.นักเรียนร่วมกันสรุปผลดีของการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียนและโรงเรียน 6.การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ(K) 1.สังเกตจากการซักถาม ตอบค าถาม 2.ใบงาน เรื่อง การ เปลี่ยนแปลงในชั้นเรียนและ โรงเรียน 1.ค าถามกระตุ้นความคิด 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะกระบวนการ(P) 1.การวิเคราะห์เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 1.ใบงานที่1เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย(A) 1.สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่ง งานได้ทันตามที่ก าหนด 2.สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3.สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน
7.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 3) เกมจับคู่ 4) บัตรภาพ 5) บัตรค า 6) ใบงานที่ 6.1 เรื่อง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 7.2 แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด 8.กิจกรรมเสนอแนะ - ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ลงชื่อ...........................................ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ...........................................ผู้อ านวยการ
ภาพห้องเรียนสมัยเก่า ภาพห้องเรียนสมัยใหม่ ภาพสวนหย่อมที่ทรุดโทรม ภาพสวนหย่อมที่ได้รับการดูแล บัตรภาพ
สัปดาห์ที่ 5-6 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 / ……… ชื่อผู้สอน ............................................................................................................ กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 ประชาธิปไตยในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เรื่อง การด าเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นในกระแส วัฒนธรรมที่หลากหลาย 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ส 2.1เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีมีค่านิยมที่ดีงาม และธ ารงรักษาประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ด ารงชีวิตอยู่ร่วมกัน ในสังคมไทย และ สังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัดที่ ป.3/2บอกพฤติกรรมการด าเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย 2.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด วัฒนธรรมและประเพณีของแต่ละครอบครัวมีความแตกต่างกันซึ่งส่งผลต่อพฤติกรรมการด าเนินชีวิตด้วย 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 4.สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น การตัดสินใจของบุคคล และกลุ่มที่มีผลต่อการเปลี่ยน แปลงในชุมชน การเปลี่ยนแปลงในชุมชน เช่น การเลือกผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก อบต. อบจ. พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา
5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1.ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียนและโรงเรียนด้วยการตอบค าถามต่อไปนี้ - ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียนและโรงเรียนของนักเรียนอย่างไรบ้าง - การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลดีอย่างไร ขั้นสอน 1. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) แล้วให้ แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การ เปลี่ยนแปลงในชุมชน จากหนังสือเรียน ในหัวข้อ ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในชุมชนและผลของการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี 2. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด ข้อ 1-2 3. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มน าความรู้ที่ได้จากการศึกษามา ผลัดกันอธิบายในสาระส าคัญ 4. สมาชิกในกลุ่มจับคู่กันเป็น 2 คู่ แล้วให้แต่ละคู่ช่วยกันท า ใบงาน เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในชุมชน โดยให้แต่ละคน คิดหาค าตอบด้วยตนเอง เสร็จแล้วให้จับคู่เดิมและผลัดกันอภิปรายค าตอบให้คู่ของตนฟัง 5. ครูสุ่มตัวแทนแต่ละคู่ออกมาน าเสนอค าตอบในใบงาน หน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นสรุป 1. สมาชิกทุกคนในกลุ่มร่วมกันสรุปผลดีของการเปลี่ยนแปลงในชุมชน แล้วบันทึกลงในสมุดน าส่งครู 2. ครูให้นักเรียนน าความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในชุมชนมาเป็นข้อมูลในการให้ความร่วมมือกับการท ากิจกรรมต่างๆ ของชุมชน 6.การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ(K) 1.สังเกตจากการซักถาม ตอบค าถาม 2.ใบงานการเปลี่ยนแปลงใน ชุมชน 1.ค าถามกระตุ้นความคิด 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะกระบวนการ(P) 1.การวิเคราะห์เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 1.ใบงานการเปลี่ยนแปลงใน ชุมชน 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย(A) 1.สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่ง งานได้ทันตามที่ก าหนด 2.สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3.สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน
7.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 3) เกมจับคู่ 4) บัตรภาพ 5) บัตรค า 6) ใบงานการเปลี่ยนแปลงในชุมชน 7.2 แหล่งการเรียนรู้ - 8.กิจกรรมเสนอแนะ - ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ลงชื่อ...........................................ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ...........................................ผู้อ านวยการ
ใบงาน 6.6การเปลี่ยนแปลงในชุมชน ค าชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ภาพ แล้วเขียนค าบรรยายภาพแสดงการเปลี่ยนแปลง 1. ค าบรรยาย 2. ค าบรรยาย 3. ค าบรรยาย
4. ค าบรรยาย ข้อคิดที่ได้จากภาพ
สัปดาห์ที่ 7 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 / ……… ชื่อผู้สอน ............................................................................................................ กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 ประชาธิปไตยในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เรื่อง สินค้าและบริการในชีวิตประจ าวัน 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ส 3.1เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้ อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/1จ าแนกความต้องการและความจ าเป็นในการใช้สินค้าและบริการในการด ารง ชีวิต ตัวชี้วัดที่ ป.3/2วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง ตัวชี้วัดที่ ป.3/3อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดมีผลต่อการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการ 2.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด สินค้าที่จ าเป็นประกอบด้วยปัจจัย 4 เป็นสิ่งที่มนุษย์มีความจ าเป็นต่อการด ารงชีวิต 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายและจ าแนกประเภทของสินค้าที่เป็นสินค้าที่จ าเป็นได้ 2. ยกตัวอย่างสินค้าที่มีความจ าเป็นต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์ได้ 4.สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - สินค้าที่จ าเป็นในการด ารงชีวิตที่เรียกว่าปัจจัย 4 พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1.ครูแจกภาพให้นักเรียนทุกคน คนละ 1 ภาพ เป็นภาพสินค้าและบริการที่จ าเป็นส าหรับนักเรียน เช่น อาหารชนิดต่างๆ ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค เครื่องนุ่งห่ม และบริการต่างๆ
2.ครูให้นักเรียนแต่ละคนน าภาพที่ตนได้ไปติดที่ใต้บัตรข้อความสินค้าที่จ าเป็นและบริการที่จ าเป็นบนกระดานหน้าชั้นเรียน 3.ครูตรวจสอบความถูกต้อง แล้วชมเชยนักเรียนที่ติดภาพได้ถูกต้อง และแก้ไขในภาพที่ไม่ถูกต้อง พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล ขั้นสอน ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน โดยวิธีการจับสลาก แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ความหมาย และประเภทของสินค้าและบริการ จากหนังสือเรียน ในหัวข้อต่อไปนี้ - ความหมายของสินค้าและบริการ - สินค้าที่จ าเป็น สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มน าความรู้ที่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับความหมายของสินค้าและบริการ และสินค้าที่จ าเป็นมาสนทนา แลกเปลี่ยนความรู้กันภายในกลุ่ม ในประเด็นต่อไปนี้ 1) สินค้าและบริการคืออะไร 2) สินค้าที่จ าเป็นได้แก่อะไรบ้าง 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันท าใบงาน เรื่อง สินค้าที่จ าเป็นตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอค าตอบในใบงาน หน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง 4.นักเรียนแต่ละคนบันทึกรายชื่อสินค้าที่จ าเป็นในบ้านของตนเองลงในสมุด โดยจ าแนกเป็นหัวข้อต่างๆ ดังนี้ 1) อาหาร 2) ที่อยู่อาศัย 3) เครื่องนุ่งห่ม 4) ยารักษาโรค 5.นักเรียนแต่ละคนน าค าตอบที่บันทึกไว้มาเล่าให้สมาชิก ในกลุ่มฟังสมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปสินค้าที่จ าเป็น ขั้นสรุป 1. นักเรียนร่วมกันสรุปความหมายของสินค้าและบริการ และประเภทของสินค้าและบริการที่จ าเป็น 6.การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ(K) 1.สังเกตจากการซักถาม ตอบค าถาม 2.ใบงานสินค้าที่จ าเป็น 1.ค าถามกระตุ้นความคิด 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะกระบวนการ(P) 1.การวิเคราะห์เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 1.ใบงานสินค้าที่จ าเป็น 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย(A) 1.สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่ง งานได้ทันตามที่ก าหนด 2.สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3.สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน
7.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 3) เกมจับคู่ 4) บัตรภาพ 5) บัตรค า 6) ใบงานสินค้าที่จ าเป็น 7.2 แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด 8.กิจกรรมเสนอแนะ - ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ลงชื่อ...........................................ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ...........................................ผู้อ านวยการ
สินค้าที่จ าเป็น บริการที่จ าเป็น บัตรข้อความ
ภาพอาหาร ภาพบ้าน ภาพยารักษาโรค ภาพเสื้อผ้า ที่มา: ภาพที่1 http://www.learners.in.th/blogs/posts/515647 ภาพที่2 http://phuketlandd.com/article/real-estate-property-22/ ภาพที่3 http://www.healthmee.com/ ภาพที่4 http://www.listdd.com/node/47772 1 2 3 4 บัตรภาพ
ภาพรถโดยสาร ภาพการขายอาหาร ภาพช่างตัดผม ภาพการรักษาพยาบาลของแพทย์ ที่มา: ภาพที่5 http://www.bangkokvoice.com/wp-content/uploads/2011/11/ขสมก.jpg ภาพที่6 http://www.thaigreenmarket.com/greenshoppage.php?id=282 ภาพที่7 http://www.dek-d.com/board/view/2036118/ ภาพที่8 http://www.banmuang.co.th/2012/02/เสริมประสิทธิภาพการรัก/ 5 6 7 8
ใบงานที่ 7.1 สินค้าที่จ าเป็น ค าชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ภาพ แล้วเขียนอธิบายถึงความจ าเป็นของสินค้าในแต่ละภาพ 1. ค าบรรยาย 2. ค าบรรยาย 3. ค าบรรยาย 4. ค าบรรยาย 5. ค าบรรยาย 6. ค าบรรยาย
ใบงานที่ 7.1 สินค้าที่จ าเป็น ค าชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ภาพ แล้วเขียนอธิบายถึงความจ าเป็นของสินค้าในแต่ละภาพ 1. ค าบรรยาย 2. ค าบรรยาย 3. ค าบรรยาย 4. ค าบรรยาย 5. ค าบรรยาย 6. ค าบรรยาย (พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
สัปดาห์ที่ 8 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 / ……… ชื่อผู้สอน ............................................................................................................ กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 ประชาธิปไตยในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เรื่อง สินค้าที่จ าเป็นในชีวิตประจ าวัน 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ส 3.1เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้ อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/1จ าแนกความต้องการและความจ าเป็นในการใช้สินค้าและบริการในการด ารง ชีวิต ตัวชี้วัดที่ ป.3/2วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง ตัวชี้วัดที่ ป.3/3อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดมีผลต่อการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการ 2.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การเลือกซื้อสินค้าและบริการจะต้องมีหลักในการเลือกซื้อและเลือกการบริการก่อนตัดสินใจ เพื่อให้ได้รับประโยชน์จากการ ซื้อสินค้าและบริการให้คุ้มค่ามากที่สุด 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหลักการเลือกซื้อสินค้าที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิตได้ 4.สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - หลักการเลือกสินค้าที่จ าเป็น พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1.ครูให้ตัวแทนนักเรียน 3 คน แสดงบทบาทสมมุติเรื่องความเหมือนที่แตกต่าง (ดูจากเอกสารประกอบการสอน) 2.ครูให้นักเรียนช่วยกันตอบค าถาม ตัวละครแต่ละคนมีนิสัยแตกต่างกันอย่างไรใครควรปรับปรุงตนเอง จงอธิบายเหตุผล 3.ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจถึงหลักการเลือกซื้อสินค้าที่จ าเป็น
ขั้นสอน 1.นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง หลักการเลือกซื้อสินค้าที่ จ าเป็น จากหนังสือเรียน ในหัวข้อต่อไปนี้ 1) หลักการเลือกซื้อสินค้าที่ควรปฏิบัติ 2) สิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติเมื่อซื้อสินค้า 2.สมาชิกแต่ละคนน าความรู้ที่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับหลักการเลือกซื้อสินค้าที่จ าเป็นมาผลัดกันอธิบายภายในกลุ่ม ในประเด็นส าคัญ ดังนี้ 1) หลักการเลือกซื้อสินค้าที่ควรปฏิบัติ - หลักประโยชน์ - หลักประหยัด- หลักความปลอดภัย 2) สิ่งที่ไม่ควรปฏิบัติเมื่อซื้อสินค้าครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการเลือกซื้อสินค้าที่จ าเป็น ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันสรุปหลักการเลือกซื้อสินค้าที่จ าเป็น 6.การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ(K) 1.สังเกตจากการซักถาม ตอบค าถาม 1.ค าถามกระตุ้นความคิด 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะกระบวนการ(P) 1.การวิเคราะห์เรื่อง หลักการ เลือกซื้อสินค้าที่จ าเป็น - 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย(A) 1.สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่ง งานได้ทันตามที่ก าหนด 2.สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3.สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน
7.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 3) เกมจับคู่ 4) บัตรภาพ 5) บัตรค า 7.2 แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด 8.กิจกรรมเสนอแนะ - ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ลงชื่อ...........................................ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ...........................................ผู้อ านวยการ
สัปดาห์ที่ 9 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 / ……… ชื่อผู้สอน ............................................................................................................ กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 ประชาธิปไตยในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เรื่อง สินค้าที่จ าเป็นในชีวิตประจ าวัน 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ส 3.1เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้ อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/1จ าแนกความต้องการและความจ าเป็นในการใช้สินค้าและบริการในการด ารง ชีวิต ตัวชี้วัดที่ ป.3/2วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง ตัวชี้วัดที่ ป.3/3อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดมีผลต่อการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการ 2.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด สินค้าและบริการที่มีอยู่ในชีวิตประจ าวันล้วนมีประโยชน์ต่อการด ารงชีวิตแตกต่างกันไป 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.บอกประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบริการได้ 4.สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - ประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบริการที่สนองความ ต้องการของมนุษย์ พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา
5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า ครูให้นักเรียนดูภาพสินค้าและบริการต่างๆ เช่น - สินค้าประเภทปัจจัย 4 ได้แก่อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค - สินค้าที่มีประโยชน์ในด้านการให้ความสะดวกสบาย ได้แก่ รถยนต์รถจักรยานยนต์บริการรถโดยสารประจ าทาง และรถไฟ - เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทต่างๆ - การบริการประกันชีวิต และประกันอุบัติเหตุ ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง ประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบริการ จากหนังสือเรียน 2. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ประโยชน์และคุณค่าของ สินค้าและบริการ ตามหัวข้อที่ก าหนดในใบงาน เรื่อง ประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบริการ 3. ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอค าตอบในใบงาน หน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง และอธิบายเพิ่มเติม ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันสรุปประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบริการ 6.การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ(K) 1.สังเกตจากการซักถาม ตอบค าถาม 2.ใบงานเรื่องประโยชน์และคุณค่า ของสินค้าและบริการ 1.ค าถามกระตุ้นความคิด 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะกระบวนการ(P) 1.การวิเคราะห์เรื่องประโยชน์ และคุณค่าของสินค้าและบริการ ใบงานเรื่องประโยชน์และ คุณค่าของสินค้าและบริการ 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย(A) 1.สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่งงานได้ ทันตามที่ก าหนด 2.สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3.สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน
7.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 3) เกมจับคู่ 4) บัตรภาพ 5) บัตรค า 6)ใบงานเรื่องประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบริการ 7.2 แหล่งการเรียนรู้ - 8.กิจกรรมเสนอแนะ - ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ลงชื่อ.......................................ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ...........................................ผู้อ านวยการ
สัปดาห์ที่ 11 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 /……… ชื่อผู้สอน ............................................................................................................ กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 ประชาธิปไตยในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เรื่อง การวางแผนการใช้จ่ายของตนเอง 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้อย่างมี ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/2 วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง 2 .สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การวางแผนการใช้จ่ายเงินท าให้มีการเตรียมตัวล่วงหน้าในการใช้จ่ายเงินให้เหมาะสมกับรายได้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. วางแผนการใช้จ่ายเงินของตนเองได้ 4.สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - วางแผนการใช้จ่ายเงินของตนเอง พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1. ครูให้นักเรียนอ่านบทกลอนพร้อมกัน ดังนี้ มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท อย่าให้ขาดสิ่งของต้องประสงค์ มีน้อยใช้น้อยค่อยบรรจง อย่าจ่ายลงให้มากจะยากนาน 2. ครูให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์เกี่ยวกับความหมาย แล้วบอกประโยชน์ของการวางแผนการใช้จ่ายเงิน 3. ครูอ่านข้อความให้นักเรียนฟัง ดังนี้ เดชาอยากได้รองเท้าใหม่จึงเก็บเงินค่าขนมหยอดกระปุกไว้ จนเต็ม จากนั้นเดชาจึงน าเงินที่หยอดกระปุกไปซื้อรองเท้าคู่ใหม่
4. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่า นักเรียนเห็นด้วยกับการกระท าของเดชาหรือไม่ เพราะเหตุใด ขั้นสอน 1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน โดยวิธีการจับสลาก 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง การวางแผนการใช้จ่ายเงินของตนเอง จากหนังสือเรียน 3. ครูให้นักเรียนแต่ละคนในกลุ่มผลัดกันเล่าการวางแผนการใช้จ่ายเงินของตนเอง ในประเด็นต่อไปนี้ 1) วางแผนใช้เงินวันละเท่าไร 2) จะเก็บออมเงินได้วันละเท่าไร 3) คาดว่าจะมีเงินเหลือประมาณเดือนละเท่าไร 4) จะน าเงินที่เหลือไปใช้ท าอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบาย เหตุผลว่าใช้เงินนั้นอย่างคุ้มค่าหรือไม่ 4. สมาชิกคนอื่นในกลุ่มซึ่งเป็นผู้ฟังร่วมกันวิเคราะห์การวางแผนการใช้จ่ายเงินของเพื่อนว่า เหมาะสมหรือไม่ พร้อม ทั้งอธิบายเหตุผล ขั้นสรุป 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปการวางแผนการใช้จ่ายเงินที่เหมาะสมว่า ควรปฏิบัติอย่างไร 2. ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอผลงานการวางแผนการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมหน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบ ความถูกต้อง และให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 3. นักเรียนร่วมกันสรุปข้อคิดหรือแนวทางการปฏิบัติตนในการวางแผนการใช้จ่ายเงินของตนเองอย่างเหมาะสม 6.การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ(K) 1.สังเกตจากการซักถาม ตอบค าถาม 1.ค าถามกระตุ้นความคิด 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะกระบวนการ(P) 1.การวิเคราะห์เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน - 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย(A) 1.สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่ง งานได้ทันตามที่ก าหนด 2.สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3.สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน
7.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 3) เกมจับคู่ 4) บัตรภาพ 5) บทกลอน 6) บทความ 7.2 แหล่งการเรียนรู้ - 8.กิจกรรมเสนอแนะ - ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ลงชื่อ...........................................ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ...........................................ผู้อ านวยการ
สัปดาห์ที่ 12 โรงเรียนขจรเกียรติโคกกลอย แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 2 / ……… ชื่อผู้สอน ............................................................................................................ กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ......1...... คาบ หน่วยการเรียนที่ 4 ประชาธิปไตยในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เรื่อง การวางแผนการใช้จ่ายของตัวเอง 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานที่ส 3.1เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จ ากัดได้ อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการด ารง ชีวิตอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัดที่ ป.3/2วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง 2.สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด การท าบัญชีรายรับ-รายจ่าย จะท าให้ทราบการใช้จ่ายเงินว่าเหมาะสมหรือไม่ เพื่อจะได้หาแนวทางปรับการใช้จ่ายเงินให้ เหมาะสมต่อไป 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ท าบัญชีรายรับ-รายจ่ายเพื่อวิเคราะห์การใช้จ่ายเงินได้ 4.สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - ใช้บัญชีรับจ่ายวิเคราะห์การใช้จ่ายที่จ าเป็นและ เหมาะสม พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา 5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1. ครูให้นักเรียนช่วยกันบอกรายจ่ายของนักเรียนใน 1 วัน ว่ามีอะไรบ้าง ครูจดรวบรวมค าตอบบนกระดาน 2. นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นว่า รายจ่ายใดที่เหมาะสม และรายจ่ายใดที่ฟุ่มเฟือย
3. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจถึงการท าบัญชีรายรับ-รายจ่าย ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนการศึกษาความรู้เกี่ยวกับตัวอย่างข้อมูลและบัญชีรายรับ-รายจ่ายของเด็กชายโต้ง จากหนังสือเรียน 2. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มลงมือค้นคว้าข้อมูลความรู้ตามที่ได้วางแผนไว้ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3. สมาชิกในกลุ่มน าความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาเป็นพื้นฐานในการท าใบงาน เรื่อง การท าบัญชีเพื่อวิเคราะห์การใช้จ่าย 4. ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอค าตอบในใบงานที่ 8.1 หน้าชั้นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง 5. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด ขั้นสรุป 1. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปประโยชน์ของการท าบัญชีเพื่อวิเคราะห์การใช้จ่าย 6.การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผล จุดประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ความเข้าใจ(K) 1.สังเกตจากการซักถาม ตอบค าถาม 2.ใบงานที่ 1 เรื่อง การท า บัญชีเพื่อวิเคราะห์การใช้จ่าย 1.ค าถามกระตุ้นความคิด 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน ทักษะกระบวนการ(P) 1.การวิเคราะห์เรื่อง บทบาท หน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 1.ใบงานเรื่อง การท าบัญชีเพื่อ วิเคราะห์การใช้จ่าย 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน คุณลักษณะนิสัย(A) 1.สังเกตจากการเรียนมีความ รับผิดชอบต่องานที่สั่งและส่ง งานได้ทันตามที่ก าหนด 2.สังเกตจากการเรียนใฝ่เรียนรู้ 3.สังเกตจากการมุ่งมั่นในการ ท างาน 1.แบบสังเกตพฤติกรรม 70%ขึ้นไปถือว่าผ่านเกณฑ์การ ประเมิน
7.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.3 3) เกมจับคู่ 4) บัตรภาพ 5) บัตรค า 6) ใบงานที่ 6.1 เรื่อง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในชุมชน 7.2 แหล่งการเรียนรู้ - ห้องสมุด 8.กิจกรรมเสนอแนะ - ลงชื่อ...........................................ผู้สอน ลงชื่อ...........................................ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ...........................................ผู้อ านวยการ