โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พืน้ ทเี่ ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
บทที่ 2
สรปุ ปจั จยั ดา้ นนโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการและแผนพัฒนาทส่ี ่งผลต่อการพัฒนา
ชมุ ชนชายแดนบ้านเหมืองแพร่
ชุมชนชายแดนบ้านเหมืองแพร่ตั้งอยู่บริเวณชายแดนอำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย ดังนั้น ปัจจัยด้านนโยบาย
ยุทธศาสตร์ หรือโครงการระดับต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาชุมชนจะมีประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการค้า
ชายแดน การเดินทางและการขนส่ง รวมถึงการรักษาความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยอิทธิพลจากปัจจัยนโยบาย
เหล่านี้จะสง่ ผลต่อการพัฒนาโครงสร้างชุมชนทีอ่ าจเกิดการเปลีย่ นแปลงข้ึนในอนาคต การพิจารณาปจั จัยเหล่านี้
สามารถจำแนกการวิเคราะหไ์ ดเ้ ป็นระดับ ดงั นี้
2.1 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์โครงการทีส่ ำคัญ และความร่วมมอื ระหว่างประเทศ
ปัจจัยด้านนโยบาย ยุทธศาสตร์ หรือโครงการที่เกิดจากความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การค้า และ
ความร่วมมือด้านการพัฒนาระหว่างประเทศ ประกอบด้วยนโยบายหลัก ได้แก่ การรวมกลุ่มประชาคมอาเซียน
(AEC) การพฒั นาความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจในอนภุ าคลมุ่ แมน่ ำ้ โขง (GMS) มปี ระเดน็ สำคัญ ดังน้ี
2.1.1 กลุ่มประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)
ประกอบด้วย 10 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไน เวียดนาม
สปป.ลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และ กัมพูชา มีประชากรรวมกันเกือบ 500 ล้านคน
(รปู ท่ี 2.1.1-1) โดยผ้นู ำประเทศสมาชกิ อาเซียน ได้ตกลงกนั ท่ีจะจัดตั้งประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community)
ซ่ึงประกอบด้วย 3 โครงสร้างหลัก คือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community:AEC)
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (Socio-Cultural Pillar) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (Political
and Security Pillar)
ทมี า : ธนาคารพัฒนาเอเชยี (ADB), พ.ศ. 2559 2-1
รปู ท่ี 2.1.1-1 ประเทศสมาชกิ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น
รายงานการศกึ ษาฉบบั สดุ ทา้ ย (Final Report)
บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายที่สง่ ผลต่อการพฒั นาพ้นื ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พ้นื ทีเ่ ฉพาะชุมชนชายแดนบ้านเหมืองแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
สาระสำคัญของยุทธศาสตร์ที่สำคัญของการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะทำให้อาเซียน
มีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น ได้แก่ การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน โดยอาเซียนได้กำหนด
กลไกและมาตรการใหม่ ๆ ที่จะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการดำเนินมาตรการด้านเศรษฐกิจที่มีอยู่แล้ว เร่งรัดการรวมกลุ่ม
เศรษฐกิจในสาขาที่มีความสำคัญลำดับแรก อำนวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายบุคคล แรงงานฝีมือ และผู้เชี่ยวชาญ
และเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลไกสถาบันในอาเซียนการเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกันของอาเซียน ทั้งน้ี
อาเซียนได้กำหนด 12 สาขาอุตสาหกรรมสำคัญลำดับแรก อยู่ภายใต้ตลาดและฐานการผลิตเดียวกันของอาเซียน ได้แก่
เกษตร ประมง ผลิตภัณฑ์ยาง ผลิตภัณฑ์ไม้ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ การขนส่งทางอากาศ
สุขภาพ e-ASEAN ท่องเทย่ี ว และโลจิสติกส์ รวมทง้ั ความรว่ มมอื ในสาขาอาหาร เกษตร และปา่ ไม้
สำหรับในยุทธศาสตร์ด้านการเป็นภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน มีองค์ประกอบ
ที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่คือ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยมุ่งเน้นเพื่อทำให้เกิดการสร้างภูมิภาค
ท่ีมคี วามสามารถในการแขง่ ขันสงู มีความเจรญิ รงุ่ เรอื ง และมีเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ
นอกจากน้ใี นการกำหนดยทุ ธศาสตร์การเข้าสปู่ ระชาคมอาเซียนในปี พ.ศ.2558 ภายใต้แนวทาง
การพัฒนา ประกอบด้วย 8 ยุทธศาสตร์ (ตารางที่ 2.1.1-1) โดยมียุทธสาสตร์ที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
คอื ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 และ 8 โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี
ตารางท่ี 2.1.1-1 ประเดน็ ยทุ ธศาสตรก์ ารเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น ปี พ.ศ. 2558
ประเดน็ สาระสำคญั
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การคา้ และการลงทุนมีเปา้ หมาย
ในการพัฒนาศักยภาพภาคการผลิต บริการ การค้าและการลงทุน เพือ่ รองรบั การเปดิ เสรีและใชโ้ อกาส
จากการเปน็ ตลาดและฐานการผลติ เดียว
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การพัฒนาคุณภาพชีวติ และการคมุ้ ครองทางสังคม มีเปา้ หมายให้ประชาชนไดร้ ับการคมุ้ ครอง
ทางสงั คมและประกันความเสย่ี ง มีสภาพแวดล้อมความเปน็ อยทู่ มี่ ่นั คงและปลอดภยั
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานและโลจสิ ตกิ ส์ มเี ป้าหมายในการพัฒนาโครงสรา้ งพืน้ ฐานให้มีความ
เช่อื มโยงและมีขีดความสามารถในการรองรับ พร้อมทั้งมีกฎ ระเบยี บทอี่ ำนวยความสะดวกท้ังการคา้
และการลงทนุ
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ มเี ป้าหมายในการพัฒนามาตรฐานการศกึ ษาอาเซียน รวมทั้งทักษะฝีมือ
และภาษา กลุ่มเป้าหมายท่ีสำคัญ ได้แก่ การศึกษาแรงงาน/ผู้ประกอบการ และเจา้ หน้าทีร่ ฐั
ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ มีเป้าหมายในการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบที่อำนวยความ
สะดวกการค้า การลงทุน และสอดรับกับพันธกรณแี ละข้อตกลงต่างๆ
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญของอาเซียนมีเป้าหมายให้ประชาชน
ทุกกลุ่มเ ข้าใจแล ะ ต ร ะ หนั กรู้ถึง ความส ำ คั ญ ข อ งการ เ ป็น ปร ะ ช าคมอ าเ ซีย น โดยมีกลุ่มเป้าหมาย
ทีส่ ำคัญ ได้แก่ ภาคประชาชน ภาคแรงงาน/ผูป้ ระกอบการ และภาครฐั
ยุทธศาสตร์ท่ี 7 การเสริมสร้างความมั่นคง มีเป้าหมายในการสร้างความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง
เพอ่ื นำไปสู่ภูมิภาคท่มี บี รรทดั ฐาน เอกภาพ และสันตภิ าพร่วมกนั
ยุทธศาสตร์ท่ี 8 การเพ่ิมศักยภาพของเมืองเพ่ือเช่ือมโยงโอกาสจากอาเซียน มีเป้าหมายในการพัฒนาเมืองใหม้ ี
ศักยภาพทจ่ี ะเชือ่ มโยงกับประเทศสมาชิกอาเซยี นทั้งในดา้ นอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว บริการ การลงทนุ
และการคา้ ชายแดน
ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ (สศช.)
รายงานการศึกษาฉบบั สุดทา้ ย (Final Report)
2 - 2 บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายท่ีสง่ ผลตอ่ การพฒั นาพน้ื ท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพืน้ ทเ่ี ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2.1.2 โครงการพฒั นาความร่วมมือทางเศรษฐกจิ ในอนุภาคลุ่มแม่นำ้ โขง
(Greater Mekong Subregion : GMS)
โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง( Greater Mekong
Subregion : GMS) เป็นความร่วมมือของ 6 ประเทศ คือ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา สปป. ลาว กัมพูชา
เวียดนาม จีน (มณฑลยูนนาน) และไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2535 โดยมีธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB : Asian
Development Bank) เป็นผู้ให้การสนับสนุนหลัก วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวทางการค้า
การลงทุนอุตสาหกรรม การเกษตร และการบรกิ าร สนับสนนุ การจ้างงานและยกระดับความเป็นอย่ขู องประชาชน
ในพื้นที่ให้ดีขึ้น ส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือทางเทคโนโลยีและการศึกษาระหว่างกัน ตลอดจน
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ส่งเสริมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมและเพิ่มขีดความสามารถรวมทั้งโอกาส
ทางเศรษฐกิจในเวทีการค้าโลก สาขาความร่วมมือของ GMS ประกอบด้วย 9 สาขา คือการคมนาคมขนส่ง
การสื่อสารโทรคมนาคม พลังงาน สิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การค้า การลงทุน
และดา้ นเกษตรกรรม (รปู ที่ 2.1.2-1)
แผนงานลำดบั ความสำคัญสูง (Flagship Programs) จำนวน 11 แผนงาน ได้แก่
1) แผนงานพัฒนาแนวพืน้ ท่ีเศรษฐกิจเหนอื -ใต้ (North-South Economic Corridor)
2) แผนงานพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic
Corridor)
3) แผนงานพัฒนาแนวพ้ืนทเี่ ศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridor)
4) แผนงานพัฒนาเครอื ข่ายโทรคมนาคม (Telecommunications Backbone)
5) แผนงานซื้อ-ขายไฟฟ้าและการเชื่อมโยงเครือข่ายสายส่งไฟฟ้า (Regional Power
Interconnection and Trading Arrangements)
6) แผนงานการอำนวยความสะดวกการค้าและการลงทุนข้ามพรมแดน (Facilitating Cross
Border Trade and Investment)
7) แผนงานเสริมสร้างการมีส่วนร่วมและความสามารถในการแข่งขันของภาคเอกชน
(Enhancing Private Sector Participation and Competitiveness)
8) แผนงานพฒั นาทรพั ยากรมนุษยแ์ ละทกั ษะความชำนาญ(Developing Human Resources
and Skills Competencies)
9) กรอบยทุ ธศาสตร์การพฒั นาสิ่งแวดล้อม (Strategic Environment Framework)
10) แผนงานการป้องกันน้ำท่วมและการจัดการทรัพยากรน้ำ (Flood Control and Water
Resource Management)
11) แผนงานการพฒั นาการท่องเทย่ี ว (GMS Tourism Development)
รายงานการศึกษาฉบบั สดุ ท้าย (Final Report) 2-3
บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายที่สง่ ผลต่อการพฒั นาพน้ื ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพื้นท่เี ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมืองแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
ทมี่ า : ธนาคารพฒั นาเอเชีย(ADB), พ.ศ. 2559
รูปท่ี 2.1.2-1 โครงการพฒั นาความร่วมมือทางเศรษฐกจิ อนภุ าคลมุ่ แม่น้ำโขง
(Greater Mekong Subregion)
รายงานการศกึ ษาฉบบั สุดท้าย (Final Report)
2 - 4 บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายทสี่ ง่ ผลต่อการพฒั นาพ้นื ท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พนื้ ท่ีเฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
การพัฒนาเส้นทางคมนาคมทางถนนตามแนวระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridors)
เพอ่ื เชื่อมโยงการพฒั นาระหว่างกนั นับเป็นการเปดิ โอกาสทางธุรกจิ ของอาเซียนและประเทศไทยอกี ทางหน่งึ
แนวพ้ืนทเี่ ศรษฐกจิ ซึ่งมแี นวโนม้ สง่ ผลต่อการพฒั นาพนื้ ทช่ี ุมชนชายแดนบา้ นเหมืองแพร่ ประกอบดว้ ย
2 เส้นทาง คือ
- แนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ - ใต้ (North - South Economic Corridor : NSEC) เป็นเส้นทาง
ท่ีส่งเสรมิ ความเชอื่ มโยงจากคาบสมุทรมลายูสูพ่ นื้ ทีเ่ ศรษฐกจิ หลกั ของอาเซียน คือ สาธารณรัฐประชาชนจนี และอทิ ธพิ ล
ต่อเนื่องจากเส้นทางเศรษฐกิจหลักนี้ จะส่งผลต่อแนวเส้นทางเศรษฐกิจรอง (Northeastern Corridor) ซึ่งเป็นแนว
เส้นทางเศรษฐกิจที่ผ่านจังหวัดและด่านชายแดนของจังหวัดเลย และเป็นเส้นทางเศรษฐกิจที่อยู่ใกล้พื้นท่ี
ชมุ ชนบ้านเหมอื งแพรม่ ากท่ีสุด
- แนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก (East - West Economic Corridor : EWEC)
ซึ่งมีจุดมุ่งหมายของการเชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจระหว่างมหาสมุทรอันดามันกับทะเลจีนใต้ โดยเน้นความเชื่อมโยงของ
การค้าและการขนส่งระหวา่ งประเทศต่าง ๆ ทีอ่ ยใู่ นแนวเสน้ ทางเศรษฐกิจเป็นหลกั
1) แนวพนื้ ท่ีเศรษฐกจิ เหนือ - ใต้ (North South Economic Corridor : NSEC)
แนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (The North South Economic Corridor : NSEC)
ภายใตแ้ ผนงานความรว่ มมือทางเศรษฐกิจในอนภุ ูมภิ าคลุ่มแมน่ ้ำโขง 6 ประเทศ (GMS) ประกอบดว้ ย 2 เส้นทาง
หลัก ได้แก่ เชอ่ื มโยงจนี - สหภาพเมียนมา/สปป. ลาว - ไทย (คุนหมงิ - เชยี งรงุ่ - ตา้ หล่ัว - เชียงตงุ - ท่าขี้เหล็ก/
แม่สาย - กรุงเทพฯ และคุนหมิง - เชียงรุ่ง - บ่อเต้น – หลวงนำ้ ทา - ห้วยทราย/เชียงของ - กรุงเทพฯ) ระยะทาง
ประมาณ 1,280 กิโลเมตร และจีน-เวียดนาม (คุนหมิง – ฮานอย - ไฮฟอง) โดยธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย
(Asian Development Bank : ADB) ได้ให้ความช่วยเหลือดำเนินการศึกษาโอกาสศักยภาพการพัฒนาตามแนว
พ้ืนที่ดงั กล่าว มวี ัตถปุ ระสงค์ ดงั นี้
(1) เพื่ออํานวยความสะดวกการค้าและการพัฒนาระหว่าง สปป. ลาว สาธารณรัฐแห่ง
สหภาพเมียนมา ไทย เวยี ดนาม และจนี
(2) เพื่อลดต้นทุนค่าขนส่งในพื้นที่ภายใต้โครงการและทําให้การเคลื่อนย้ายสินค้า
และคนมีประสทิ ธภิ าพ
(3) เพอ่ื ลดความยากจน สนบั สนนุ การพฒั นาในพนื้ ที่ชนบทและชายแดน เพ่มิ รายได้ของ
กลุม่ คนรายได้ต่ำ สร้างโอกาสในการจ้างงานสําหรับสตรี และสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ียวในพืน้ ท่ี
(4) เพื่อการกระจายสินค้า ลําเลียงวตั ถุดิบ และส่งเสริมตลาดท่องเท่ียว จังหวัดเชียงราย
ซึ่งมีศักยภาพในการเป็นประตูการค้าของไทยเพื่อรองรับการเชื่อมโยงระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ - ใต้ (NSEC)
สาขาความร่วมมือ ที่มีศักยภาพในการพัฒนาร่วมกันตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ – ใต้ (North - South
Economic Corridor : NSEC) ได้แก่
- เกษตรและแปรรูปเกษตรรวมถึงอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและ Contract
Farming
- อตุ สาหกรรมทใี่ ช้วัตถุดิบในพ้ืนที่ เช่น แรธ่ าตุ ไม้ หรือ พลงั งาน (ไฟฟ้าพลังนำ้ )
- อุตสาหกรรมเบา เชน่ รองเท้า ส่งิ ทอและเสื้อผา้ กระดาษ เคร่อื งอปุ โภคบรโิ ภค
- วัสดกุ อ่ สรา้ ง เชน่ ปนู ซเี มนต์ เหลก็ และเหล็กกลา้
- เครอ่ื งจักรกลการเกษตร
- อตุ สาหกรรมที่ใชเ้ ทคโนโลยรี ะดบั สงู เชน่ ยานยนต์ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์
- อุตสาหกรรมบรกิ าร เช่น โลจิสตกิ ส์และท่องเทย่ี ว
- อตุ สาหกรรมครัวเรอื น เชน่ การทอ่ งเท่ยี วแบบโฮมสเตย์
รายงานการศึกษาฉบบั สดุ ทา้ ย (Final Report) 2-5
บทท่ี 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายที่ส่งผลตอ่ การพฒั นาพ้ืนที่
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพ้นื ทเ่ี ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2) แนวพ้นื ที่เศรษฐกิจตะวนั ออก-ตะวนั ตก (East West Economic Corridor : EWEC)
แนวพน้ื ท่พี ัฒนาเศรษฐกจิ ตะวันออก-ตะวนั ตก(East West Economic Corridor : EWEC)
ภายใต้แผนงานความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง 6 ประเทศ ( GMS) ได้ริเริ่มขึ้นใน
การประชุมกับรัฐมนตรโี ครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภมู ภิ าคลุม่ น้ำโขง(Greater Mekong Sub
region : GMS) ครั้งที่ 8 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เพื่อเป็นแผนงานลําดับความสำคัญสูงของโครงการ
พัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (Greater Mekong Sub region : GMS) เส้นทางแนว
พื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก (East West Economic Corridor : EWEC) เป็นการ “ตัดขวาง”
ที่เชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออกและมหาสมุทรอินเดียทางตะวันตก ทั้งนี้ เส้นทาง EWEC
โดยมีจุดเริ่มต้นคือ เมืองดานัง ในเวียดนาม (ซึ่งเป็นเมืองท่าสําคัญของเวียดนาม) ตัดผ่าน สปป.ลาวและไทย
มายังเมืองเมาะละแหม่ง หรือเมาะลําไย (Mawlamyine) ในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา จุดข้ามแดนสําคัญ
ในเส้นทาง R2 คือ สะพานมิตรภาพไทย - ลาวแห่งที่ 2 จังหวัดมุกดาหาร (สร้างเสร็จแล้ว) กับสะหวันนะเขต
และด่านชายแดน อําเภอแม่สอด จังหวัดตาก กับเมืองเมยี วะดีของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา รวมระยะทาง
1,530 กิโลเมตร ฝั่งสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา 260 กิโลเมตร ภูเขาสูง 220 กิโลเมตร ลาดยาง 2 เลน
ในไทยมีเส้นทาง R2 ผ่าน คือ จังหวัดตาก จังหวัดสุโขทัย จังหวัดพิษณุโลก อําเภอหล่มสัก อําเภอชุมแพ
จังหวัดขอนแกน่ จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ จงั หวัดมกุ ดาหาร มวี ัตถปุ ระสงค์ คือ
(1) เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และอํานวยความสะดวกทางการค้า
และการลงทุน และการพฒั นาระหวา่ งประเทศ สปป. ลาว สาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมา ไทย และเวียดนาม
(2) เพื่อลดต้นทุนการขนส่งในพื้นที่ และทําให้การเคลื่อนย้ายสินค้าและคนโดยสาร
มีประสิทธภิ าพมากขนึ้
(3) เพือ่ ลดความยากจน สนบั สนุนการพัฒนาในพื้นท่ชี นบทและพื้นทชี่ ายแดนเพม่ิ รายได้
ในกลมุ่ คนท่มี รี ายได้ต่ำ สรา้ งโอกาสการจ้างงานสำหรับสตรี และส่งเสริมการท่องเทีย่ ว
(4) เพอ่ื สร้างโอกาสในการพฒั นาอตุ สาหกรรมการเกษตรและการทอ่ งเท่ียว
2.1.3 ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี - เจ้าพระยา - แม่โขง (Areyawady-
ChaoPhraya- Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS)
ยทุ ธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ อิรวดี - เจ้าพระยา - แมโ่ ขง (Ayeyawady - Chao Phraya
Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS) เป็นแนวคิดท่ีไทยได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นํากัมพูชา
สปป. ลาว และสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ในช่วงการประชุมผู้นําอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS
เมื่อ 29เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้รับการสนับสนุนในหลักการจากผู้นําประเทศเพื่อนบ้าน
ทั้งนี้ ผู้นําประเทศสมาชิกได้ลงนามร่วมกันในปฏิญญาพุกาม ซึ่งมีความร่วมมือระหว่างกันในสาขาความร่วมมือ
สําคญั 5 สาขา และใหค้ วามเหน็ ชอบในแผนปฏบิ ตั ิการซึ่งประกอบดว้ ยโครงการร่วม 46 โครงการ และโครงการ
ทวภิ าคี 224 โครงการ ซึง่ จะมกี ารดําเนนิ การภายในระยะเวลา 10 ปี
วัตถุประสงค์ของกรอบยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี -เจ้าพระยา-แม่โขง
(ACMECS) คือเพื่อลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก เพื่อส่งเสริมความเจริญอย่างยั่งยืน
ในอนุภูมิภาค โดยการส่งเสริมและก่อให้เกิดความเข้มแข็งให้แก่กรอบความร่วมมืออาเซียน อีกทั้งเพื่อส่งเสริม
ใหพ้ ื้นท่ชี ายแดนของประเทศสมาชกิ เปน็ พื้นทแ่ี ห่งการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความเจริญกา้ วหน้าทางสังคม
วัฒนธรรม พรอ้ มท้งั เป็นการผสานผลประโยชน์ทงั้ ในระดับท้องถ่นิ ระดบั ชาติ และระดับภมู ิภาคใหเ้ ป็นผลประโยชน์
นอกจากนี้ กรอบยุทธศาสตร์ยังมุ่งส่งเสริมและต่อยอดโครงการความร่วมมือที่มีอยู่แล้วในภูมิภาคบนพื้นฐาน
ของความสมัครใจยึดหลักฉันทาคติ และการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เท่าเทียมกัน สามารถสรุปประเด็นสาขา
รายงานการศึกษาฉบับสุดท้าย (Final Report)
2 - 6 บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทส่ี ่งผลต่อการพฒั นาพ้นื ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พน้ื ทีเ่ ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
ความรว่ มมอื ภายใต้กรอบยทุ ธศาสตรค์ วามร่วมมือทางเศรษฐกจิ อิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง (ACMECS) ท้ัง 8 สาขา
ได้ดังแสดงใน (ตารางท่ี 2.1.3-1 )
ตารางท่ี 2.1.3-1 วตั ถปุ ระสงค์ สาขาความร่วมมอื และการพฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐาน ในกรอบความร่วมมอื
ทางเศรษฐกิจ อิรวดี – เจ้าพระยา - แม่โขง (Areyawady - ChaoPhraya)
ประเดน็ รายละเอยี ด
วัตถปุ ระสงค์
1. ลดชอ่ งวา่ งทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศสมาชกิ เพ่ือสง่ เสริมความเจรญิ
สาขาความร่วมมือ ยัง่ ยนื ในอนภุ ูมภิ าคบนพ้นื ฐานของการชว่ ยเหลือตนเองและการเลง็ เหน็ ถงึ
ผลประโยชนร์ ่วมกัน
การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐาน
2. เน้นการลดความยากจนโดยตง้ั อยบู่ นพน้ื ฐานของการช่วยเหลือตนเองและ
ทมี่ า: บรษิ ทั ทป่ี รกึ ษา,พ.ศ. 2560 การเปน็ หุ้นสว่ นทีเ่ ท่าเทียมกนั
3. เนน้ การทํางานทสี่ ่งเสรมิ และตอ่ ยอดโครงการความรว่ มมือทีม่ ีอยแู่ ลว้ ใน
ภูมิภาคเพ่ือส่งเสรมิ ให้พ้ืนทีช่ ายแดนของประเทศสมาชกิ เปน็ พน้ื ทแี่ ห่งการเจรญิ
เตบิ โตทางเศรษฐกิจและความเจรญิ กา้ วหน้าทางสังคมวฒั นธรรม
1. การอำนวยความสะดวกดา้ นการค้าและการลงทนุ
2. ความร่วมมือดา้ นการเกษตร
3. ความรว่ มมือดา้ นอุตสาหกรรม
4. การเชอ่ื มโยงคมนาคม
5. การร่วมมือดา้ นการท่องเทย่ี ว
6. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
7. ดา้ นสาธารณสุข
8. ความร่วมมอื ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือสง่ เสรมิ และอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดล้อมในอนุภมู ภิ าคอย่างยง่ั ยืน
1. การเชือ่ มโยงธุรกิจ การคา้ ธรุ กรรมการเงิน
2. ด้านการขนส่ง
3. ตลาดกลางสินค้าเกษตรร่วม
4. เชื่อมโยงแหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว
5. เขตประกอบการอุตสาหกรรม เขตการผลติ รว่ ม เนน้ อตุ สาหกรรมที่ใช้แรงงาน
6. พฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐานร่วมกนั “เมอื งค่แู ฝด” (Sister Cities)
รายงานการศึกษาฉบบั สดุ ท้าย (Final Report) 2-7
บทท่ี 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทส่ี ง่ ผลต่อการพฒั นาพืน้ ท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พ้ืนทเี่ ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2.1.4 สรุปผลการวเิ คราะห์ ดา้ นนโยบาย และยทุ ธศาสตร์ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ
นโยบายและยุทธศาสตรค์ วามร่วมมือระหว่างประเทศซ่ึงประกอบดว้ ย
1. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) มีความสำคัญ
กับพื้นที่โครงการในประเด็นเรื่อง การเพิ่มโอกาสกลุ่มประกอบการธุรกิจขนาดเล็กให้มีคุณภาพและศักยภาพมาก
ยิ่งขึ้น รวมถึงเพิ่มโอกาสการพัฒนาของจังหวัดเลยให้มีโอกาสในการค้าขายสินคา้ กบั ประเทศเพื่อนบ้านมากย่งิ ขน้ึ
นอกจากนยี้ งั เปน็ การการส่งเสรมิ ให้จงั หวดั เลยเปน็ เมอื งทอ่ งเทยี่ วการบรกิ ารส่สู ากลมากยง่ิ ขึ้นอีกด้วย
2. โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง (Greater Mekong
Subregion : GMS) ส่งผลให้จังหวัดเลยท่ีมีอาณาเขตติดกับประเทศเพื่อนบ้านและจุดเชื่อมต่อการเดินทาง
หลายจุด ควรส่งเสริมศักยภาพด้านโลจิสติกส์และการกระจายสินค้าสู่กลุ่มประเทศในภูมิภาคได้อย่างสะดวก
เพิ่มโอกาสในการแลกเปลี่ยนสินค้า และการลงทุนของจังหวัดเลย มีการแลกเปลี่ยนด้านพลังงานไฟฟ้า และ
ทรัพยากรแร่ธาตุระหว่างจังหวัดเลยและ สปป.ลาว ขยายโอกาสการลงทุนและการผลิตด้านการเกษตร
แก่ผู้ประกอบการรายยอ่ ยในจังหวัดและระดับนักลงทุนระหว่างประเทศ รวมถึงสร้างการเชื่อมโยงแหลง่ ท่องเที่ยว
ส่งเสริมการท่องเทยี่ วของจงั หวัด
3. กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี เจา้ พระยา แม่โขง (Areyawady - ChaoPhraya-
Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS) ทำให้การพัฒนาการคมนาคมพื้นที่ชายแดนให้มี
การเดนิ ทางทีม่ ีความสะดวกมากยง่ิ ขน้ึ จังหวดั เลยซง่ึ มศี ักยภาพดา้ นการท่องเที่ยว มีแหล่งท่องเที่ยวทีส่ ำคญั รวมถึง
ประเพณีวัฒนธรรมท่ีมีความโดดเด่นสามารถพัฒนาให้มีความเชื่อมโยงด้านการท่องเทีย่ วกับประเทศเพ่อื นบ้านได้
และในส่วนของการเป็นฐานการผลิตด้านการเกษตรท่ีสำคัญ และมีศักยภาพ จึงเป็นโอกาสในการพัฒนาฐาน
การผลิตให้มคี ุณภาพและการส่งออกทไ่ี ด้มาตรฐาน
ซึ่งทั้ง 3 หัวข้อสามารถสรุปประเด็นที่สำคัญและความเกี่ยวข้องกับพื้นที่ดังแสดงใน
(ตารา 2.1.4-1) ตอ่ ไปนี้
รายงานการศึกษาฉบับสดุ ทา้ ย (Final Report)
2 - 8 บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายที่สง่ ผลต่อการพฒั นาพ้ืนที่
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พืน้ ทีเ่ ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง กระทรวงมหาดไทย
ตารางที่ 2.1.4-1 ตารางสรปุ นโยบาย และยุทธศาสตร์ความร่วมมอื ระหว่างประเทศ
นโยบาย ประเดน็ ทสี่ ำคัญ ความเกี่ยวข้องกับพืน้ ท่ี
1. ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน - เสาหลักการจดั ตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (ASEAN Economic Community หรอื AEC) ภายในปี 2558 - เพิ่มโอกาสกล่มุ ประกอบการธรุ กจิ ขนาดเลก็ ให้มี
เพอื่ ใหอ้ าเซียนมกี ารขายสินค้า บริการ การลงทนุ แรงงานฝมี ืออยา่ งเสรี และเงนิ ท่ีเสรีมากขน้ึ คุณภาพและศกั ยภาพมากยงิ่ ขนึ้
- การเป็นตลาดสินคา้ และบรกิ ารเดียวจะชว่ ยสนับสนุนการพัฒนาเครอื ขา่ ยการการผลิตในภูมิภาค - เพ่มิ โอกาสการพฒั นาของจงั หวัดเลยใหม้ ีโอกาสใน
และเสรมิ สร้างศกั ยภาพของอาเซยี นในการเปน็ ศูนยก์ ลางการผลติ ของโลก และเป็นส่วนหนึง่ ของห่วงโซ่อปุ ทานโลก การค้าขายสินคา้ กับประเทศเพอ่ื นบ้านมากยิ่งขึ้น
- การสร้างภมู ภิ าคอาเซียนให้มีความสามารถในการแข่งขันสูง มคี วามเจรญิ ร่งุ เรืองและมีเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ - เพิม่ โอกาสในการสง่ เสริมให้จงั หวดั เลยเป็นเมือง
- การพัฒนาทางเศรษฐกิจทเี่ ท่าเทยี ม มี 2 องค์ประกอบคือ ทอ่ งเท่ยี วการบรกิ ารสูส่ ากลมากยิง่ ขน้ึ
(1) การพฒั นาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SME)
(2) ความริเริ่มในการรวมกล่มุ อาเซียน (Initiatives for ASEAN Integration : IAI) เพอื่ ลดช่องวา่ งการพฒั นาท้ัง
ในระดบั SME และเสริมสร้างการรวมกลมุ่ ของกัมพูชา สปป. ลาว สาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมา และเวยี ดนาม
- การเปน็ ภมู ิภาคทีม่ ีการบรู ณาการเขา้ กับเศรษฐกิจโลกอาเซียน บูรณาการเข้ากับเศรษฐกจิ โลก โดยดำเนนิ 2 มาตราการ
(1) การจดั ทำเขตการคา้ เสรี (FTA) และความเปน็ หนุ้ ส่วนทางเศรษฐกจิ อยา่ งใกล้ชดิ (CEP) กบั นอกประเทศอาเซียน
(2) การมีส่วนร่วมในเครอื ขา่ ยหว่ งโซอ่ ุปทานโลก
- ในอนาคต AEC จะเปน็ อาเซยี น +3 โดยจะเพมิ่ ประเทศจนี เกาหลีใต้ และญีป่ นุ่ เข้ามาอยดู่ ว้ ยและต่อไปกจ็ ะมีการ
เจรจาอาเซยี น+6 จะมีประเทศจนี เกาหลใี ต้ ญปี่ ุ่น ออสเตรเลีย นิวซแี ลนด์ และอินเดีย
2. โครงการพัฒนาความร่วมมอื - ส่งเสริมให้เกิดการขยายตวั ทางการค้า การลงทนุ อตุ สาหกรรม การเกษตร และการบรกิ าร สนับสนนุ การจา้ งงาน - จงั หวดั เลยมีอาณาเขตติดกบั ประเทศเพ่ือนบ้าน
ทางเศรษฐกิจในอนุภาคลมุ่ แม่น้ำโขง และยกระดับความเปน็ อยู่ ของประชาชนในพื้นทีใ่ หด้ ขี ึน้ สง่ เสรมิ และพฒั นาความร่วมมือทางเทคโนโลยี และ และจดุ เชื่อมต่อการเดินทางหลายจุดจึงควรส่งเสริม
(Greater Mekong Subregion การศึกษาระหว่างกนั ตลอดจนการใช้ทรพั ยากร ธรรมชาติทีส่ ่งเสริมกนั อยา่ งมีประสิทธิภาพสง่ เสรมิ และเพม่ิ ขดี ศกั ยภาพด้านโลจิสตกิ สแ์ ละการกระจายสินคา้ สูก่ ลุ่ม
: GMS) ความสามารถรวมท้ังโอกาสทางเศรษฐกจิ ในเวทกี ารคา้ โลก ประเทศในภูมภิ าคไดอ้ ย่างสะดวก
รายงานการศึกษาฉบับสุดท้าย (Final Report) 2-9
บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายที่สง่ ผลต่อการพฒั นาพื้นที่
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พ้ืนท่ีเฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง กระทรวงมหาดไทย
ตารางท่ี 2.1.4-1 ตารางสรุปนโยบาย และยทุ ธศาสตร์ความร่วมมอื ระหว่างประเทศ (ต่อ)
นโยบาย ประเดน็ ทสี่ ำคญั ความเกี่ยวข้องกับพื้นท่ี
- การพัฒนาโครงข่ายคมนาคมและเสน้ ทางการขนสง่ เสน้ ทาง R3 จะชว่ ยใหก้ ารค้าตามแนวชายแดนเพ่ิมข้ึนอกี มาก - เพมิ่ โอกาสในการแลกเปลย่ี นสินค้า และการลงทุนของ
โดยเฉพาะเขต “สเ่ี หลยี่ มมรกต” ระหว่างไทย - สปป. ลาว – สาธารณรฐั แห่งสหภาพเมียนมา จีน เพ่ิมขึ้น จังหวดั เลย
- การพัฒนาเกดิ ความรว่ มมอื ทางธรุ กจิ ใหม่ ดว้ ยเส้นทางทเี่ ช่ือมโยงเปน็ โครงข่ายเดยี วกันของประเทศสมาชิกจะทำให้ - มกี ารแลกเปลี่ยนดา้ นพลงั งานไฟฟ้า และทรพั ยากรแรธ่ าตุ
จากภาคธุรกิจ จะเกดิ ธุรกิจใหม่ ไดแ้ ก่ ธุรกจิ การทอ่ งเท่ยี วธุรกิจดา้ นการประมงแลกเปลย่ี น และซอื้ ขายสนิ คา้ จาก ระหวา่ งจังหวัดเลยและ สปป.ลาว
พนื้ ถ่นิ เป็นต้น - ขยายโอกาสการลงทุนและการผลติ ด้านการเกษตรแก่
- ดา้ นเศรษฐกจิ อสุ าหกรรมลดข้ันตอนการผลติ ไปได้และยังชว่ ยลดการใชว้ ตั ถดุ บิ ทรัพยากรภายในภาค ลดปรมิ าณการ ผู้ประกอบการรายยอ่ ยในจงั หวดั และระดบั นักลงทนุ
นำเขา้ วัตถุดบิ จากต่างประเทศ ทงั้ เปน็ การเพิ่มศกั ยภาพด้านการผลิตอุตสาหกรรม และการขนส่งใหก้ ับภาคตะวันออก และ ระหว่างประเทศ
ยงั เปน็ การลดการยา้ ยถิน่ ของแรงงานตา่ งด้าวเข้าสู่บริเวณชายแดนจะทำใหแ้ หลง่ ทอ่ งเทยี่ วตะวันออก ระหว่างภาค - สร้างการเชือ่ มโยงแหลง่ ท่องเท่ยี วสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ยี ว
ตา่ ง ๆ และประเทศเพ่ือนบ้าน ของจงั หวดั
.3.กรอบความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ - สง่ เสรมิ การพฒั นาอยา่ งสมดลุ โดยครอบคลุมความร่วมมอื 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้า และ - การพัฒนาการคมนาคมพื้นท่ีชายแดนใหม้ ีการเดินทาง
อริ วดี –เจา้ พระยา แมโ่ ขง การลงทนุ ความร่วมมือ ทางด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม การเช่ือมโยงเส้นทางคมนาคม การทอ่ งเที่ยว และ ทม่ี ีความสะดวกมากยงิ่ ขึ้น
(Areyawady - ChaoPhraya - การสง่ เสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอยา่ งยง่ั ยนื - จงั หวัดเลยมศี กั ยภาพด้านการทอ่ งเทยี่ ว มแี หล่ง
Mekong - การม่งุ เน้นการพัฒนาเพ่ือเพิ่มปริมาณ และมลู ค่าทางเศรษฐกจิ ด้านการสง่ เสรมิ การเปดิ ตลาดการค้าใหมส่ ง่ เสรมิ ให้มี ท่องเท่ยี วท่สี ำคญั รวมถึงประเพณวี ฒั นธรรมที่มีความ
Economic Cooperation การยา้ ยฐานการผลติ ไปยงั ประเทศเพ่ือนบา้ น และการปฎิรูประบบการค้าชายแดน การจดั ตัง้ ตลาดกลางค้าส่งออก โดดเดน่ สามารถพัฒนาให้มีความเชอ่ื มโยงดา้ นการท่องเท่ยี ว
Strategy : ACMECS) - การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และประวัติศาสตร์เพอ่ื เชอื่ มโยงกับแหล่งท่องเทีย่ วของประเทศเพื่อนบ้าน กบั ประเทศเพอ่ื นบ้านได้
- การพัฒนาเสน้ ทางคมนาคม เช่ือมโยงประเทศสมาชกิ อย่างเปน็ ระบบปรบั ปรุงทา่ อากาศยาน เชอื่ มโยงเสน้ ทางการบนิ - จังหวัดเลยเปน็ ฐานการผลติ ด้านการเกษตรท่สี ำคัญมี
คมนาคมทางบก ศักยภาพ จงึ เปน็ โอกาสในการพฒั นาฐานการผลิตใหม้ ี
- การเสริมสรา้ งความสัมพันธร์ ะหว่างไทยกบั ประเทศเพ่ือนบ้านด้านความมัน่ คงทางเศรษฐกจิ และสงั คมในระดบั วิภาคี คณุ ภาพและการส่งออกที่ไดม้ าตรฐาน
เน้นการพัฒนาทงั้ ทางด้านทกั ษะ และฝีมือเพื่อรองรบั การพฒั นาในสาขาตา่ ง ๆ
ทม่ี า : โดยบริษัทที่ปรกึ ษา, พ.ศ. 2560
รายงานการศึกษาฉบับสุดท้าย (Final Report)
2 - 10 บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทส่ี ง่ ผลตอ่ การพัฒนาพน้ื ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พ้ืนท่เี ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2.2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการทสี่ ำคญั และความร่วมมือระดบั ประเทศ
2.2.1 นโยบายและยุทธศาสตร์ท่สี ำคญั ของประเทศไทย
1. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติฉบับที่ 12 พ.ศ.2560 - 2564
กรอบแนวคิดและหลักการในช่วงของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12
(พ.ศ.2560-2564) ประเทศไทยจะยังคงประสบสภาวะแวดล้อมและบรบิ ทของการเปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ ท่ีอาจก่อให้เกิด
ความเสี่ยงทั้งจากภายใน และภายนอกประเทศ อาทิ กระแสการเปิดเศรษฐกิจเสรี ความท้าทายของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
การเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ การเกิดภัยธรรมชาติที่รุนแรง ประกอบกับสภาวการณ์ด้านต่าง ๆ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ทั้งนี้ได้มีการกำหนดจุดม่งุ หมายในการพัฒนาไวด้ ังนี้
(1) เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบ วินัย ค่านิยม
ที่ดีมีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจน เป็นคนเก่งที่มีทักษะ
ความรคู้ วามสามารถและพัฒนาตนเองไดต้ อ่ เน่ืองตลอดชีวติ
(2) เพื่อให้คนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็นธรรมใน การเข้าถึง
ทรัพยากรและบริการทางสงั คมท่ีมคี ณุ ภาพ ผ้ดู อ้ ยโอกาสไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพ รวมทั้งชมุ ชนมี ความเข้มแขง็ พ่ึงพา
ตนเองได้
(3) เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืน สร้างความเข้มแข็ง
ของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมที่เข้มข้นมากขึ้น สร้างความเข้มแข็ง
ของเศรษฐกิจฐานราก และสรา้ งความม่นั คงทางพลังงาน อาหาร และนำ้
(4) เพื่อรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้สามารถสนับสนุน
การเติบโตท่ีเปน็ มิตรกับส่งิ แวดลอ้ มและการมคี ณุ ภาพชีวิตท่ดี ขี องประชาชน
(5) เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัย และมี การทำงาน
เชิงบูรณาการของภาคีการพัฒนา
(6) เพื่อให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค โดยการพัฒนาภาคและเมือง เพื่อรองรับ
การพฒั นายกระดับฐานการผลิตและบรกิ ารเดมิ และขยายฐานการผลิตและบรกิ ารใหม่
(7) เพือ่ ผลกั ดันให้ประเทศไทยมีความเช่ือมโยงกับประเทศตา่ ง ๆ ทง้ั ในระดับ อนภุ ูมภิ าค ภูมิภาค
และนานาชาติได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ประเทศไทยมีบทบาทในด้านการค้า การบริการและ
การลงทุนภายใตก้ รอบความร่วมมือต่าง ๆ ทัง้ ในระดับอนภุ ูมภิ าค ภมู ภิ าค และโลก
เป้าหมาย
เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว ได้กำหนดเป้าหมายรวมการพัฒนาของ แผนพัฒนาฯ
ฉบบั ท่ี 12 ประกอบด้วย
(1) คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยที่สมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและ พฤติกรรมตามบรรทัดฐาน
ทีด่ ีของสังคม มคี วามเปน็ พลเมืองตืน่ รู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อยา่ งรู้ เทา่ ทนั สถานการณ์ มีความรับผิดชอบ
แลทำประโยชน์ต่อส่วนรวม มีสุขภาพกายและใจที่ดี มีความเจริญ งอกงามทางจิตวิญญาณ มีวิถีชีวิตที่พอเพียง
และมคี วามเป็นไทย
(2) ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานราก มีความเข้มแข็ง
ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมที่มี คุณภาพอย่างทั่วถึง
และเป็นธรรม กลุ่มทม่ี รี ายไดต้ ่ำสดุ ร้อยละ 40 มีรายไดเ้ พมิ่ ขึน้ อยา่ งน้อยร้อยละ 35
(3) ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจฐานบริการ
และดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาด กลางและขนาดเล็กที่เข้มแข็ง
สามารถใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสร้างสรรค์คุณค่าสินค้าและบริการ มีระบบการผลิตและให้บริการ
รายงานการศึกษาฉบบั สดุ ท้าย (Final Report) 2 - 11
บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายที่สง่ ผลตอ่ การพฒั นาพน้ื ที่
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพืน้ ทีเ่ ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธิการและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
จากฐานรายได้เดิมที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรู้ชั้นสูงใหม่ ๆ ที่เป็นมิตรกับ
สงิ่ แวดลอ้ มและชุมชน
(4) ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงทางอาหาร พลังงาน และน้ำ โดยเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ เพื่อรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานและขนส่ง ขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่างถูกหลักสุขาภิบาล
เพม่ิ ขึ้นและรักษาคุณภาพนำ้ และคณุ ภาพอากาศในพืน้ ท่วี กิ ฤตให้อยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน
(5) มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สร้างภาพลักษณ์ดี
และเพิ่มความเชื่อมั่นของนานาชาติต่อประเทศไทย ความขัดแย้งทางอุดมการณ์และความคิดในสังคมลดลง
ปัญหาอาชญากรรมลดลง ปริมาณความสูญเสียจากภัยโจรสลัดและการลักลอบขนส่ง สินค้าและค้ามนุษย์ลดลง
มีความพรอ้ มที่ปกปอ้ งประชาชนจากการกอ่ การร้ายและภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ
(6) มรี ะบบบริหารจัดการภาครัฐท่มี ีประสิทธภิ าพ ทนั สมยั โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอำนาจ
และมีส่วนร่วมจากประชาชน บทบาทภาครัฐในการให้บริการซึ่งภาคเอกชน ดำเนินการแทนได้ดีกว่าลดลง
เพิ่มการใช้ระบบดิจิทัลในการให้บริการ และการบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอิสระมาก
รวมถึงมีบุคลากรภาครัฐที่มีความรคู้ วามสามารถและปรับตัวได้ทันกับยุคดจิ ิทัลเพม่ิ ขึ้น
นอกจากนี้ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฯ ได้มีการกำหนดยุทธศาสตร์การพฒั นาไว้
โดยกรอบการพฒั นาโครงสรา้ งของประเทศ ดังนี้
1) ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศในกรอบแผนฯ 12
ทั้งหมด 10 ยุทธศาสตร์ โดยมี 6 ยุทธศาสตร์เป็นยุทธศาสตร์หลัก และ 4 ยุทธศาสตร์ท่ี
เป็นปจั จยั สนบั สนุน ดังนี้
(1) การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย์
(2) ยุทธศาสตรก์ ารสร้างความเปน็ ธรรมและลดความเหล่ือมล้ำในสงั คม
(3) ยทุ ธศาสตร์การสรา้ งความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อยา่ งย่ังยนื
(4) ยุทธศาสตรก์ ารเติบโตที่เป็นมิตรกับสิง่ แวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาทีย่ ัง่ ยนื
(5) ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง
และยง่ั ยืน
(6) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ
ธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย
(7) ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานและระบบโลจิสตกิ ส์
(8) ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรม
(9) ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาภาค เมอื ง และพน้ื ท่เี ศรษฐกิจ ในช่วงแผนพฒั นาฯ ฉบับที่ 12
(10) ยทุ ธศาสตร์ความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศเพื่อการพัฒนา
2) ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)
ในการที่จะบรรลุวิสัยทัศน์และทำให้ประเทศไทยพัฒนาไปสู่อนาคตที่พึงประสงค์นั้น
จำเป็นจะต้องมีการวางแผนและกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะยาวและกำหนดแนวทางการพัฒนาของ
ทุกภาคสว่ นให้ขับเคล่อื นไปในทิศทางเดียวกัน ดงั น้นั จงึ จำเป็นจะตอ้ งกำหนดยทุ ธศาสตรช์ าติในระยะยาวเพื่อถ่ายทอด
แนวทางการพัฒนาสู่การปฏิบัติในแต่ละชว่ งเวลาอยา่ งต่อเนื่องและมีการบรู ณาการและสรา้ งความเข้าใจถึงอนาคต
ของประเทศไทยร่วมกัน และเกิดการรวมพลังของทุกภาคส่วนในสังคมทั้งประชาชน เอกชน ประชาสังคมใน
การขับเคลื่อนการพัฒนาเพื่อการสร้าง และรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ และบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทย
มีความมั่นคงมั่งคั่งยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วย การพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพี ยง
”หรือคติพจน์ประจำชาติ“มั่นคงมั่งคั่งยั่งยืน” เพื่อให้ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขัน มีรายได้สูงอยู่ใน
รายงานการศึกษาฉบับสุดทา้ ย (Final Report)
2 - 12 บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายทส่ี ง่ ผลตอ่ การพฒั นาพน้ื ที่
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พนื้ ทเ่ี ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
กลุ่มประเทศพฒั นาแลว้ คนไทยมีความสขุ อยู่ดีกินดีสังคมมีความมัน่ คงเสมอภาคและเป็นธรรมซึ่งยุทธศาสตรช์ าติ
ทีจ่ ะใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ 20 ปีต่อจากน้ีไปจะประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร์มีสาระสำคัญของแต่
ละยุทธศาสตร์ โดยยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการคมนาคมขนส่งและโลจสิ ติกส์ บรรจุอยู่ในยุทธศาสตร์
ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั โดยสรุปได้ดงั น้ี
(1) ยุทธศาสตร์ดา้ นความมั่นคงมเี ปา้ หมายท้ังในการสร้างเสถียรภาพภายในประเทศและ
ช่วยลดและป้องกันภัยคุกคามจากภายนอกรวมทั้งสร้างความเชื่อมั่นในกลุ่มประเทศอาเซียนและประชาคมโลก
ทม่ี ีต่อประเทศไทย
(2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันเพื่อให้ประเทศไทยสามารถ
พัฒนาไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วซึ่งจำเป็นต้องยกระดับผลิตภาพการผลิต และการใช้นวัตกรรมในการเพ่ิม
ความสามารถในการแข่งขัน และการพัฒนาอย่างยั่งยืนทั้งในสาขาอุตสาหกรรมเกษตร และบริการการสร้าง
ความมั่นคง และปลอดภัยด้านอาหารการเพิ่มขีดความสามารถทางการค้า และการเป็นผู้ประกอบการ
รวมทั้งการพัฒนาฐานเศรษฐกิจแห่งอนาคต ทั้งนี้ภายใต้กรอบการปฏิรูปและพัฒนาปัจจัยเชิงยุทธศาสตร์ทุกด้าน
อันได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมการพัฒนาทุนมนุษย์
และการบริหารจัดการทั้งในภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน กรอบแนวทางที่ต้องให้ความสำคัญในการพัฒนา
การคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ ได้แก่ การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจ
พิเศษชายแดนและพัฒนาระบบเมือง ศูนย์กลางความเจริญจัดระบบผังเมืองที่มีประสิทธิภาพ และมีส่วนร่วม
มีการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและโครงสร้างพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจที่สอดคล้องกับศักยภาพ การลงทุน
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในด้านการขนส่งด้านพลังงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และการวิจัย
และพัฒนา และการเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก สร้างความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับนานาประเทศ
ส่งเสริมความร่วมมือกับนานาชาติในการสร้างความมั่นคงด้านต่าง ๆ เพิ่มบทบาทของไทยในองค์กรระหว่าง
ประเทศรวมถงึ สร้างองคค์ วามรู้ดา้ นการตา่ งประเทศ
(3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน เพื่อพัฒนาคนและสังคมไทย
ให้เป็นรากฐานที่แข็งแกร่งของประเทศมีความพร้อมทางกาย ใจ สติปัญญา มีความเป็นสากลมีทักษะการคิด
วิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย มีคุณธรรมจริยธรรม รู้คุณค่าความเป็นไทยมีครอบครัว
ท่มี ่นั คง
(4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม
เพื่อเร่งกระจายโอกาสการพัฒนาและสร้างความมั่นคงให้ทั่วถึง ลดความเหลื่อมล้ำไปสู่สังคมที่เสมอภาค
และเป็นธรรม
(5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เพื่อเร่งอนุรักษ์ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติ และมีความมั่นคงด้านน้ำ รวมทั้ง
มีความสามารถในการป้องกันผลกระทบ และปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติธรรมชาติ
และพัฒนามุ่งสู่การเปน็ สังคมสีเขยี ว
(6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อให้
หน่วยงานภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ มีสมรรถนะสูงมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลกระจาย
บทบาทภารกิจไปส่ทู อ้ งถน่ิ อย่างเหมาะสมมีธรรมาภบิ าล
3) ยทุ ธศาสตรก์ ารคา้ ชายแดน
ภายใต้ศักยภาพของทำเลที่ตั้งที่อยู่กึ่งกลางของภูมิภาค และมีระบบคมนาคมเชื่อมโยง
อย่างทั่วถึง ประกอบกับมีแนวโน้มการลงทุนในพื้นที่ภายใต้กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน
รายงานการศกึ ษาฉบบั สดุ ทา้ ย (Final Report) 2 - 13
บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายท่ีสง่ ผลต่อการพฒั นาพื้นท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พนื้ ทเ่ี ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
เช่น GMS BIMSTEC ACMECS และ IMT-GT หอการค้าไทยจึงได้กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์
ยทุ ธศาสตร์การคา้ ชายแดน โดยมกี ารกำหนดวสิ ัยทัศน์ไว้ ดงั น้ี
“ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการค้าชายแดน การท่องเที่ยว และบริการต่อเนื่องของภูมิภาค
อนิ โดจีน”
พันธกิจ
(1) สร้างสังคมเป็นธรรมและเป็นสังคมที่มีคุณภาพ ทุกคนมีความมั่นคงในชีวิตได้รับ
การคุ้มครองทางสังคมที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและกระบวนการยุติธรรม
อย่างเสมอภาค ทุกภาคส่วนได้รับการเสริมพลังให้สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา ภายใต้ระบบบริหาร
จดั การภาครัฐท่ีโปรง่ ใส เป็นธรรม
(2) พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีคุณธรรม เรียนรู้ตลอดชีวิต มีทักษะและการดำรงชีวิต
อย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง สามารถปรับตัวรู้เท่าทัน
กับการเปล่ียนแปลง
(3) พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมีคุณภาพบนฐานความรู้ ความคิด
สร้างสรรค์ และภูมิปัญญา สร้างความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน ปรับโครงสร้างการผลิตและการบริโภค
ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พร้อมสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
และสังคม
(4) สร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการมี
ส่วนร่วมของชุมชน รวมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
เปา้ ประสงค์
(1) มูลคา่ การคา้ ชายแดนไทย-สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมา เพ่มิ ข้ึนร้อยละ 8 ตอ่ ปี
(2) มูลค่าการค้าชายแดนไทย-สปป. ลาว เพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 8 ต่อปี
(3) มลู ค่าการคา้ ชายแดนไทย-กัมพูชา เพิ่มขึ้นร้อยละ 8 ต่อปี
(4) มูลค่าการค้าชายแดนไทย-มาเลเซยี เพิ่มข้นึ ร้อยละ 8 ตอ่ ปี
ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา
(1) ยกระดับด่านการค้าชายแดน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
ของประเทศไทยกับประเทศเพ่อื นบา้ น มีกลยุทธย์ กระดบั จดุ ผ่านแดนและขยายด่าน
(2) เชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม เพื่อใช้เป็นฐานในการขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจและสังคม
ท้งั ในปจั จุบันและอนาคต โดยมกี ลยทุ ธ์ดงั น้ี
- กำหนดยุทธศาสตร์การคมนาคมทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศ เพื่อเชื่อมโยง
เครือข่ายการขนส่งระหว่างกันกับประเทศเพื่อนบ้าน ในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจตั้งแต่กรอบเล็ก
(ACMECS, IMT.GT) ไปจนถึงกรอบใหญ่ (ASEAN) และต้องใหส้ อดคลอ้ งกนั
- เร่งรัดโครงการและงบประมาณในการปรับปรุง และสร้างถนน ทางรถไฟและสะพาน
เพอื่ เช่ือมโยงเสน้ ทางคมนาคมทางบกภายในประเทศ
- สร้างความร่วมมือในการสร้างถนน ทางรถไฟ และสะพานเชื่อมโยงประเทศ
เพื่อนบ้านบริเวณชายแดน
- ปฏิรูปเส้นทางการคมนาคมทางรถไฟ และยกระดับการขนส่งทางรถไฟ
สู่มาตรฐานสากล เพ่อื รองรับการเช่ือมโยงการคมนาคมระหวา่ งประเทศในภมู ิภาคอาเซียน
- สรา้ งความร่วมมือในการเปดิ เสน้ ทางการบนิ เพ่ือเชื่อมโยงกับประเทศเพ่ือนบ้าน
รายงานการศึกษาฉบบั สุดทา้ ย (Final Report)
2 - 14 บทท่ี 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทส่ี ่งผลตอ่ การพัฒนาพน้ื ที่
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พื้นที่เฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
(3) ปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบ เพื่อสร้างโอกาสในการขยายตลาด และสร้างรายได้
ใหแ้ ก่ธุรกจิ บรเิ วณชายแดน โดยมีกลยทุ ธป์ รบั ปรงุ แก้ไขกฎระเบียบทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
(4) เสริมสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เพื่อสร้างแหล่งงานในพื้นที่ชายแดนระหว่าง
ไทยกับประเทศเพอื่ นบา้ น โดยมีกลยทุ ธเ์ สริมสร้างความร่วมมือในกรอบความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ
(5) ปรับปรุงสง่ิ อำนวยความสะดวกทางการคา้ การทอ่ งเที่ยว การขนสง่ ระหว่างประเทศ
เพ่ือเพิ่มขดี ความสามารถทางการคา้ การลงทุน และการบริการของประเทศ
จะเห็นได้ว่าโดยยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศที่จะมีอิทธิพลต่อการพัฒนาพื้นที่ชุมชนบ้าน
เหมืองแพร่ มยี ทุ ธหลักทส่ี ำคัญ ได้แก่ “ยทุ ธศาสตร์การค้าชายแดน” ในขณะท่กี ารพัฒนาโครงสร้างของเมืองจะ
เป็นไปตามกรอบ “ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในกรอบแผนฯ 12” โดยเฉพาะ “ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค
เมือง และพื้นท่ีเศรษฐกิจ” เปน็ หลกั
2.2.2 นโยบายและยุทธศาสตรข์ อง สปป.ลาว
สปป.ลาว หรือสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน สปป.ลาว เปน็ หนง่ึ ในประเทศสมาชกิ ของสมาคม
ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน (Association of South East Asian Nations: ASEAN)
ซึ่งเป็นกลุ่มความร่วมมือที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของภูมิภาค
(กรมอาเซียน, 2555)
สปป.ลาว เป็นประเทศที่วางเป้าหมายที่จะพ้นจากการเป็นประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุดให้ได้ภายใน
ปี ค.ศ. 2020 (ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 7) ซึ่งในการดำเนินการดังกล่าว องค์กรความ
ร่วมมือระหว่างประเทศต่าง ๆ ได้ยื่นมือให้ความช่วยเหลือเพื่อพัฒนาให้ สปป.ลาว ก้าวพ้นจากการเป็น
ประเทศพัฒนาน้อยที่สุดเช่นกัน (United Nations, 2008) นอกจากความร่วมมือภายนอกดังกล่าวแล้ว
หนึ่งในปจั จัยภายในที่เปน็ พลังขับเคลื่อนให้ สปป.ลาว พัฒนาไดอ้ ยา่ งรวดเร็วก็คือการพัฒนาทางด้านอตุ สาหกรรม
โดยการเพิ่มความสามารถในการสร้างผลผลิต การผลิตสินค้าเพื่อการส่งออกทั้งนี้เพื่อนำรายได้เข้าสู่ประเทศ
และเป็นการรักษาดุลการค้าของประเทศ และ สปป.ลาว เองมีความตั้งใจที่จะส่งออกพลังงานเป็นสินค้า
เพอื่ นำรายได้เขา้ สูป่ ระเทศอกี ทางหน่ึงด้วย
จากนโยบายส่งเสริมการผลิตพลังงานดังกล่าวของรัฐบาล ในปัจจุบันไฟฟ้าจึงเป็นสินค้าส่งออกหลัก
ที่สำคัญอย่างหนึ่งของ สปป. ลาว ซึ่งรายได้จากการส่งออกไฟฟ้าของ สปป.ลาว แต่ละปีมีอัตราเฉลี่ยสูงข้ึน
อยา่ งต่อเนื่อง ดงั นน้ั กจิ การพลงั งานจงึ ถือเป็นอกี หน่ึงธุรกจิ หลกั ท่สี ร้างรายไดท้ ี่สำคัญตอ่ ประเทศ
1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ.2554-พ.ศ.2558) ในการประชุม
สมชั ชาพรรคประชาชนปฏิวัติ สปป. ลาว สมัยที่ 9 ระหว่างวันที่ 17-21 มนี าคม 2554 นายสมสะหวาด เล่งสะหวัด
รองนายกรัฐมนตรีได้เสนอแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2554-2558) ซึ่งมีสาระสําคัญ
ว่าการพัฒนาเศรษฐกิจจะเป็นแกนหลักของการพัฒนาประเทศใน ระยะ 5 ปีข้างหน้า เน้นการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ปรับปรุงหลักธรรมาภิบาล และอำนวยความสะดวกให้ภาคเศรษฐกิจ ภาครัฐ และภาคเอกชนมีส่วนร่วม
ในการพฒั นาเศรษฐกจิ แห่งชาติ
แผนพัฒนาฯ ดังกล่าวกำหนดให้เศรษฐกิจต้องขยายตัวอย่างมั่นคง ให้ GDP เพิ่มข้ึน
ร้อยละ 8 ต่อปีและให้ประชากรมี GDP ต่อหัว 1,700 ดอลลาร์สหรัฐ ภายในปี พ.ศ. 2558 ในการน้ี สปป.ลาว
ตอ้ งใช้งบประมาณ 127,000 พนั ลา้ นกีบ หรอื ร้อยละ 32 ของ GDP ซง่ึ ร้อยละ 10-12 จะมาจากงบประมาณรัฐบาล
ร้อยละ 24-26 จากเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ ร้อยละ 50-56 จากการลงทุนจากต่างประเทศ และร้อยละ
10-12 จากเงินกู้ธนาคาร โดยตั้งเป้าหมายให้เงินเฟ้อต่ำกว่าร้อยละ 8 (อัตราขยายตัวของ GDP) ให้หน้ีสาธารณะ
ต่ำกว่าร้อยละ 45 ของ GDP และให้เงินออมของเอกชนเพิ่มขึ้นร้อยละ 25 ต่อปี เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม การขยายตวั ของภาคเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ในระยะ 5 ปเี ป็นดังนี้
รายงานการศึกษาฉบบั สดุ ทา้ ย (Final Report) 2 - 15
บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายท่ีส่งผลตอ่ การพฒั นาพ้นื ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พื้นทเ่ี ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
- ภาคเกษตรกรรมและป่าไม้ขยายตัวร้อยละ 3.2 ต่อปี มีสัดส่วนร้อยละ 23 ของ GDP
สร้างงานได้ 210,000 ตำแหน่ง
- ภาคอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 15 ต่อปี มีสัดส่วนร้อยละ 39 ของ GDP สร้างงาน
ได้ 14,000 ตำแหนง่
- ภาคบริการ ขยายตัวร้อยละ 6.5 ต่อปี มีสัดส่วนร้อยละ 38 ของ GDP สร้างงาน
ได้ 53,000 ตำแหนง่
นอกจากนี้การพัฒนาต้องมีลักษณะยั่งยืน ให้การพัฒนาทางสังคมวัฒนธรรม ดำเนินควบคู่ไปกับ
การพัฒนาเศรษฐกจิ และการรักษาส่ิงแวดลอ้ ม มปี จั จัยพนื้ ฐานสำหรบั การเปล่ียนเป็นประเทศอตุ สาหกรรมและทันสมัย
(industrialization and modernization) ใน 5 ปีที่ผ่านมา สปป. ลาว สามารถรักษาอัตราเงินเฟ้อ ที่ร้อยละ 4-6
ส่งออกสินค้ามูลค่า 5.69 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ นำเข้าสินค้ามูลค่า 6.61 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลการค้า
0.92 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
2.2.3 สรปุ นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการที่สำคญั และความร่วมมือระดับประเทศ
ยทุ ธศาสตร์ โครงการที่สำคญั และความรว่ มมือระดับประเทศ ประกอบด้วย
1. นโยบายและยุทธศาสตร์ของไทย ได้แก่ (1) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตฉิ บับที่ 12
พ.ศ. 2560 -2564 (2) ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) (3) ยุทธศาสตร์การคา้ ชายแดน (4) ยุทธศาสตร์
กระทรวงคมนาคม (5) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของไทย (6) แผนการพัฒนาระบบโลจิสติกส์
อตุ สาหกรรม (7) แผนพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วแหง่ ชาติ โดยยุทธศาสตร์ของไทยสง่ ผลให้เปดิ โอกาสให้บคุ ลากรในพ้ืนที่
ให้มีความรู้ความสามารถพัฒนาศักยภาพพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อการเชื่อมโยงการค้าการท่องเที่ยว
ระดับประเทศ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของจังหวัดเลยให้มีศักยภาพ เพื่อรองรับการพัฒนาในอนาคตส่งเสริม
ศักยภาพด้านการเศรษฐกิจในจังหวดั เลย และการผลิตด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
พัฒนาด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดเลย ให้มีศักยภาพในด้านการรองรับนักท่องเที่ยวและมีความเป็นสากล
พัฒนาด้านการศึกษา และด้านพลังงานของจังหวัด พัฒนาด่านการค้าชายแดนของจังหวัดเลย ให้มีศักยภาพ
ด้านการชื้อขายสินค้าและด้านการขนส่งที่สะดวกมากยิ่งข้ึน สร้างรายได้ให้จังหวัดและคนในพื้นที่ และเพิ่มโอกาส
การพัฒนาความเปน็ มืออาชีพด้านการจัดการโลจสิ ติกส์ในสถานประกอบการภาคอตุ สาหกรรมในจังหวดั เลย
2. นโยบายและยุทธศาสตร์ ของ สปป.ลาว โดยมีแนวทางพัฒนาสังคมเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม
ให้กลายเป็นสังคมเกษตรกรรมเพื่อการส่งออกและการแปรรูป และนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ในการเป็น
สังคมอุตสาหกรรมที่ทันสมัยในท้ายที่สุด จากนโยบายส่งเสริมการผลิตพลังงานดังกล่าวของรัฐบาล ในปัจจุบัน
ไฟฟ้าจึงเป็นสินค้าส่งออกหลักที่สำคัญอย่างหนึ่งของ สปป. ลาว ซึ่งรายได้จากการส่งออกไฟฟ้าของ สปป. ลาว
แต่ละปีมีอัตราเฉลี่ยสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นกิจการพลังงานจึงถือเป็นอีกหนึ่งธุรกิจหลักที่สร้างรายได้ที่สำคัญ
ต่อประเทศ ปัจจุบัน กฟผ.ได้รับซื้อไฟฟ้าจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำไซยะบุรี เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำแบบ
ฝายน้ำล้น ตั้งอยู่บนแม่น้ำโขงในแขวงไซยะบุรี สปป.ลาว ส่งกลับมายังประเทศไทยที่อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย
จึงเป็นอีกหนึ่งโครงการที่จะผลิตพลังงานไฟฟ้าเพื่อจำหน่ายให้แก่ประเทศไทยภายใต้บันทึกความเข้าใจระหว่าง
รฐั บาลไทยกับรฐั บาล สปป.ลาว
3. ความร่วมมือในกรอบพหุภาคีเพื่อเสริมสร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจไทยและลาว จากอดีตจนถึง
ปัจจุบันไทย และ สปป.ลาว มีความร่วมมือในกรอบพหุภาคีเพื่อเสริมสร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจไทยและลาว
ทั้งในด้านไฟฟ้าและพลังงาน และให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน สปป.ลาว ทางด้านพัฒนาเครือข่ายคมนาคม
รายงานการศึกษาฉบับสุดทา้ ย (Final Report)
2 - 16 บทท่ี 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายทส่ี ่งผลต่อการพฒั นาพน้ื ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พืน้ ที่เฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
และโครงสร้างพื้นฐาน และความร่วมมือในการสร้างสะพานข้ามแม่น้ำโขง โครงการก่อสร้างทางรถไฟ รวมถึง
การสร้างถนนต่าง ๆ เพื่อเชื่อมโยงเส้นทางเศรษฐกิจทั้งสองประเทศ จากความร่วมมือในกรอบพหุภาคี
เพอ่ื เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ ไทยและลาวทำใหก้ ารเช่ือมโยงด้านการคมนาคมขนสง่ และเส้นทางเศรษฐกิจ
ของจงั หวดั เลยมีความสะดวกมากข้นึ และเชือ่ มโยงการคา้ กบั ประเทศเพือ่ นบา้ นสะดวกมากขึ้น
ซง่ึ ท้งั 3 หวั ขอ้ สามารถสรปุ ประเด็นที่สำคญั และความเกี่ยวข้องกบั พน้ื ท่ีดัง (ตาราง 2.2.3-1) ตอ่ ไปนี้
รายงานการศึกษาฉบบั สดุ ท้าย (Final Report) 2 - 17
บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทส่ี ่งผลต่อการพฒั นาพน้ื ที่
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพนื้ ทีเ่ ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
ตารางท่ี 2.2.3-1 ตารางสรปุ นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการทีส่ ำคัญ และความรว่ มมือระดับประเทศ
นโยบาย ประเดน็ ทีส่ ำคญั ความเกยี่ วข้องกับพน้ื ที่
1. นโยบายและยุทธศาสตรข์ องไทย
ยังคงมีความต่อเนื่องจากวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และกรอบหลักการของการวางแผนที่ - เป็นการเปิดโอกาสใหบ้ ุคลากรในพ้ืนท่ใี ห้มีความรู้ความสามารถ
(1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม นอ้ มนำและประยกุ ต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยดึ คนเปน็ ศนู ย์กลางของการพัฒนาอยา่ งมีส่วนร่วม พัฒนาศกั ยภาพ พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงเพือ่ การเชื่อมโยง
แหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 12 พ.ศ.2560 -2564 การพัฒนาที่ยึดหลักสมดุล ยั่งยืน โดยวิสัยทัศน์ของการพัฒนาใน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ให้ความสำคัญกับ การค้าการทอ่ งเท่ียวระดับประเทศ
การกำหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่การเปลี่ยนผ่านประเทศไทย จากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศ - พฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานของจงั หวัดเลยให้มศี กั ยภาพเพือ่ รองรับ
(2) ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่มีรายได้สูง มีความมั่นคง และยั่งยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข และนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ระยะ การพัฒนาในอนาคต
(พ.ศ.2560 – 2579) ยาว “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ของประเทศ พัฒนาศักยภาพมนุษย์ทุกช่วงวัย มุ่งเน้นลดการเหลื่อมล่ำทาง
สงั คม สร้างความเข้มแข็งทางด้านเศรษฐกจิ อยา่ งยง่ั ยืนม่งุ เนน้ การพฒั นาทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อมสง่ เสริม
ความมั่นคงในด้านต่าง ๆ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการภาครัฐ มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้า
พื้นฐานและระบบโลจิสติกส์การคมนาคมขนสง่ ส่งเสริมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่าง ๆ และ
ส่งเสริมความรว่ มมือระหว่างประเทศท้ังในเชิงรกุ และเชิงรบั ท้ังในเวทีระดับโลก ระดบั ภูมภิ าค และระดับ
อนภุ ูมภิ าค อาทิ การดำเนินงานเปา้ หมายการพฒั นาที่ย่ังยืน (SDGs) การประมง การคา้ มนษุ ย์ และอืน่ ๆ
ใหเ้ ข้าสูม่ าตรฐานสากลและเปน็ ท่ียอมรับของประชาคมโลก
ยุทธศาสตร์ชาติจะเป็นแผนแม่บทหลักในการพัฒนาประเทศเพื่อให้ส่วนราชการและหน่วยงานต่าง ๆ - ส่งเสรมิ ศักยภาพด้านการเศรษฐกิจในจังหวัดเลยและการผลติ
ใช้เป็นแนวทางในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ ดา้ นการเกษตรและอุตสาหกรรมทเ่ี ป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
และสังคมแห่งชาติ แผนเฉพาะด้านต่าง ๆ เช่น ด้านความมั่นคง เศรษฐกิจ การศึกษา ศิลปวัฒนธรรม ฯลฯ - พัฒนาดา้ นการท่องเทย่ี วของจังหวดั เลยให้มีศกั ยภาพในดา้ น
แผนปฏิบัติการในระดับกระทรวงและในระดับพื้นที่ ให้มีความสอดคล้องกันตามห้วงเวลา นอกจากนี้ การรองรับนกั ทอ่ งเทย่ี วและมีความเปน็ สากล
ยุทธศาสตร์ชาติจะใช้เป็นกรอบในการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากรอื่น ๆของประเทศ เพื่อขับเคลื่อนการ - พฒั นาดา้ นการศกึ ษา และด้านพลังงานของจังหวัดเลย
พัฒนาอยา่ งมีเอกภาพให้บรรลุเป้าหมาย โดยจะตอ้ งอาศัยการประสานความร่วมมือจากหลายภาคสว่ น ภายใต้
ระบบประชารัฐ คือ ความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชนและประชาสังคม ทัง้ นร้ี ัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทยจะไดม้ ีการกำหนดเกี่ยวกับบทบาทของยุทธศาสตร์ชาตแิ ละแนวทางในการนำยทุ ธศาสตร์ชาติ
ไปสู่การปฏิบัติ เพื่อที่ส่วนราชการ และหน่วยงานต่าง ๆ จะสามารถขับเคลื่อนการพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง
และบรู ณาการ
รายงานการศึกษาฉบับสุดทา้ ย (Final Report)
2 - 18 บทท่ี 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายท่ีส่งผลต่อการพฒั นาพื้นท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพืน้ ที่เฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
ตารางที่ 2.2.3-1 ตารางสรปุ นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการท่สี ำคญั และความร่วมมือระดับประเทศ (ตอ่ )
นโยบาย ประเด็นทีส่ ำคญั ความเกี่ยวข้องกบั พ้นื ที่
(3) ยุทธศาสตรก์ ารคา้ ชายแดน ส่งเสริมประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการค้าชายแดน การท่องเที่ยว และบริการต่อเนื่องของภูมิภาค - พัฒนาดา่ นการค้าชายแดนของจงั หวดั เลยใหม้ ีศักยภาพดา้ น
อินโดจีน ยกระดับด่านการค้าชาย เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางด้านการค้ากับประเทศเพื่อน การชือ้ ขายสนิ คา้ และดา้ นการขนสง่ ท่สี ะดวกมากย่งิ ข้ึนเพื่อ
(4) ยุทธศาสตร์กระทรวงคมนาคม บ้านเชื่อมโยงทางด้านคมนาคมในทุก ๆ ด้านสร้างโอกาสในการขยายตลาดและสร้างรายได้แก่ชุมชน สรา้ งรายไดใ้ ห้จงั หวัดและคนในพื้นที่
(5) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ บริเวณชายแดน เพิ่มขีดความสามารถทางด้านการค้าการลงรวมถึงสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการค้า
การท่องเที่ยว - พฒั นาจุดผา่ นแดนของจงั หวัดเลยใหม้ กี ารคมนาคมและขนสง่
โลจสิ ติกส์ ของไทย ท่สี ะดวกเพือ่ เชือ่ มโยงการค้ากับประเทศเพือ่ นบา้ น
เชื่อมโยงโครงข่ายระบบขนส่งภายในประเทศและพัฒนาจุกเชื่อมต่อประเทศเพื่อนบ้านเพื่อเป็น
(6) แผนการพัฒนาระบบโลจสิ ติกส์ เครือ่ งมือในการกระจายความเจริญสภู่ ูมิภาคอยา่ งย่ังยืน พัฒนาระบบโลจิสตกิ ส์เพอ่ื เพิ่มขดี ความสามารถ - พฒั นาจดุ ผา่ นแดนถาวร/ ช่วั คราว/ จดุ ผอ่ นปรนของ จงั หวดั เลย
อตุ สาหกรรม ในการแขง่ ขนั ของประเทศ การพัฒนาระบบการขงสง่ และการจราจรอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ท่ีมศี กั ยภาพทางการคา้ ให้เปน็ ด่านถาวร ท่ีได้มาตรฐานสากล
เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและสง่ สริมอาชีพของคนในพ้นื ท่ี
(7) แผนพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วแห่งชาติ ส่งเสริมการลงทุนพัฒนาพื้นที่การค้าและบริการในเขตเมืองที่ห่างจากพื้นที่ชายแดนประมาณ
30-50 กิโลเมตร เพื่อรองรับการขยายตัวทางการค้าบริเวณชายแดน โดยพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจ - เพ่ิมโอกาสการพฒั นาความเป็นมืออาชพี ดา้ นการจดั การ
ท่สี ามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนในประเทศเพอื่ นบา้ นพัฒนาจดุ ผา่ นแดนถาวร/ ชั่วคราว/ โลจสิ ติกสใ์ นสถานประกอบการภาคอตุ สาหกรรมในจงั หวดั เลย
จุดผอ่ นปรนท่ีมีศักยภาพทางการคา้ ให้เปน็ ดา่ นถาวรท่ีได้มาตรฐานสากลสนบั สนุนการขยายฐานการผลิต
และโซ่อุปทานของธุรกิจไปยังเมืองชายแดนของประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ - ส่งเสริมดา้ นการทอ่ งเท่ียวของจังหวัดเลยพัฒนาส่งิ อำนวยความ
อาชีพ และยกระดับกำลังซื้อของประเทศเพื่อนบ้าน สนับสนุนการพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหก รรม สะดวกต่าง ๆ เพือ่ รองรับนักทอ่ งเทย่ี วโดยเพิ่มการมสี ว่ นรว่ มทง้ั
ทวาย เพอื่ ขยายฐานการผลติ ของไทยเข้าไปเป็นส่วนประกอบหลกั ของโซอ่ ุปทานของภูมภิ าค ภาครฐั และเอกชน
สร้างความเป็นมืออาชีพด้านการจัดการโลจิสติกส์ในสถานประกอบการของภาคอุตสาหกรรม
เชื่อมโยงระหว่างหน่วยธุรกิจในโซ่อุปทานของภาคอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามรถแข่งขันของโซ่
อปุ ทานในภาคอุตสาหกรรม
มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยวฟื้นฟูแหล่ง
ท่องเที่ยวใหเ้ กิดความย่ังยืน พัฒนาด้านการบริการ สนับสนุนการท่องเที่ยวเพิ่มการมีส่วนรว่ มทัง้ ภาครัฐ
ภาคเอกชนและทอ้ งถ่ิน
รายงานการศึกษาฉบับสดุ ทา้ ย (Final Report) 2 - 19
บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทส่ี ง่ ผลตอ่ การพัฒนาพนื้ ท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพ้นื ท่เี ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธิการและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
ตารางท่ี 2.2.3-1 ตารางสรปุ นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการทสี่ ำคัญ และความร่วมมือระดบั ประเทศ (ต่อ)
นโยบาย ประเดน็ ที่สำคญั ความเก่ยี วข้องกับพ้นื ท่ี
2. นโยบายแลยทุ ธศาสตร์ ของ สปป.ลาว สปป. ลาว มีแนวทางพัฒนาสังคมเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม ให้กลายเป็นสังคมเกษตรกรรมเพื่อการ - ปัจจบุ ัน กฟผ. ไดร้ ับซ้อื ไฟจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังนำ้
ส่งออกและการแปรรูป และนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ในการเป็นสังคมอุตสาหกรรมที่ทันสมัยใน ไซยะบรุ ี เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานน้ำแบบฝายนำ้ ลน้ ตั้งอยู่
3. ความร่วมมอื ในกรอบพหภุ าคีเพื่อเสริมสร้าง ท้ายที่สุด จากนโยบายส่งเสริมการผลิตพลังงานดังกล่าวของรัฐบาล ในปัจจุบันไฟฟ้าจึงเป็นสินค้าส่งออก บนแม่น้ำโขงในแขวงไซยะบุรี สปป.ลาวสง่ กลับมายัง
ศักยภาพทางเศรษฐกิจไทยและลาว หลักที่สำคัญอย่างหน่ึงของ สปป. ลาว ซึ่งรายได้จากการสง่ ออกไฟฟ้าของ สปป. ลาว แต่ละปมี อี ตั ราเฉลี่ย ประเทศไทยท่ีอำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย จึงเปน็ อกี หนง่ึ
สูงขึ้นอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ดังน้นั กิจการพลังงานจงึ ถอื เป็นอีกหนงึ่ ธุรกจิ หลักทีส่ ร้างรายไดท้ สี่ ำคัญต่อประเทศ โครงการท่จี ะผลติ พลงั งานไฟฟ้าเพือ่ จำหนา่ ยให้แก่
ทมี่ า : โดยบริษัทท่ีปรึกษา,พ.ศ. 2560 ประเทศไทยภายใตบ้ นั ทกึ ความเขา้ ใจระหว่าง
จากอดีตจนถึงปัจจบุ ันไทยและ สปป.ลาวมีความร่วมมือในกรอบพหุภาคีเพือ่ เสริมสร้างศักยภาพทาง รัฐบาลไทยกบั รฐั บาล สปป.ลาว
เศรษฐกิจไทยและลาว ทั้งในด้านไฟฟ้าและพลังงาน และให้ความช่วยเหลือและสนับสนุน สปป.ลาว
ทางดา้ นพฒั นาเครอื ขา่ ยคมนาคมและโครงสรา้ งพนื้ ฐาน และความร่วมมือในการสร้างสะพานข้ามแม่นำ้ โขง - จากความร่วมมอื ในกรอบพหภุ าคเี พอ่ื เสรมิ สร้าง
โครงการกอ่ สรา้ งทางรถไฟ รวมถงึ การสรา้ งถนนต่าง ๆ เพอ่ื เช่อื มโยงเส้นทางเศรษฐกิจทั้งสองประเทศ ศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ ไทยและลาวทำให้การเชอ่ื มโยง
ด้านการคมนาคมขนสง่ และเส้นทางเศรษฐกจิ ของ
จงั หวัดเลยมคี วามสะดวกมากข้นึ และเชอ่ื มโยงการค้า
กับประเทศเพ่อื นบา้ น สะดวกมากขึน้
รายงานการศึกษาฉบับสุดท้าย (Final Report)
2 - 20 บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายท่ีสง่ ผลต่อการพัฒนาพ้ืนท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพ้นื ท่เี ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2.3 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการท่ีสำคัญ และความร่วมมอื ระดับภาค กลุม่ จังหวดั ทอ้ งถ่ิน
2.3.1 ยุทธศาสตร์และทิศทางการพฒั นาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
จากบริบทการเปลยี่ นแปลง บทบาทของภาค และการกาํ หนดเปา้ ประสงคด์ ังกลา่ วข้างตน้ สามารถ
กําหนดกรอบแนวทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 -2558) 4 แนวทาง คือ
- เพ่ิมศกั ยภาพฐานการผลติ ใหแ้ ขง็ แกร่ง มี ความสมดุล และมีความสามารถในการแขง่ ขนั
- พัฒนาคนให้มคี ุณภาพภายใตแ้ นวทางการเรียนรู้ตลอดชีวิต
- สร้างความเปน็ ธรรมในสังคมและความเขม้ แขง็ ของชุมชน
- การบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มเพือ่ การพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื
1. แนวทางที่ 1 : เพิ่มศักยภาพฐานการผลิตให้แข็งแกร่ง มีความสมดุล และมีความสามารถ
ในการแข่งขัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในด้านเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ซึ่งเป็นฐานการผลิตหลัก
ของภาคให้สามารถสร้างมูลค่าการผลิตให้สูงขึ้นและมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สร้างการจ้าง งาน
และสรา้ งรายได้ใหก้ ับประชาชนในพื้นท่ี ลดระดับความแตกต่างของรายได้และการเคลอื่ นยา้ ยแรงงานระหว่างภาค
โดยให้ความสําคัญกับการพัฒนาห่วงโซ่การผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชเศรษฐกิจด้านอาหาร
และพลังงาน และอุตสาหกรรมการเกษตรที่เกี่ยวเนื่อง และการส่งเสริมการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว
เช่ือมโยงกบั ภูมภิ าค โดยมีแนวทางดําเนนิ การ ดงั น้ี
1.1 เร่งต่อยอดและใชป้ ระโยชน์จากความตกลงตา่ ง ๆ ในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
กบั ประเทศเพือ่ นบ้าน โดย
1) พัฒนาเมืองและด่านชายแดนให้เป็นประตูการค้า การท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับ
กลุ่มอนุภาคลุ่มน้ำโขง โดยสนับสนุนการค้าชายแดนและการท่องเที่ยวเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านให้มากขึ้น
ด้วยการเร่งพัฒนาบริการพื้นฐานของเมืองพร้อมทั้งระบบสาธารณูปโภคและสิ่งอํานวยความสะดวกขั้นพื้นฐาน
ของเมืองหลักชายแดน และด่านชายแดน บริเวณจังหวัดมุกดาหาร หนองคาย นครพนม และ อุบลราชธานี
และพัฒนาเมืองสนับสนุน อุดรธานีสกลนคร ให้พร้อมสนับสนุนการเป็นประตูการค้าเชื่อมโยงกับกลุ่มอนุภาค
ลมุ่ น้ำโขงและเอเชยี ตะวนั ออก
2) เสริมสร้างศักยภาพจังหวัดนครพนมให้เป็นเมืองเศรษฐกิจชายแดน มีความพร้อม
ในการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานรองรับสะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 3
ให้มีศักยภาพที่เอื้อต่อการค้าการลงทุนและการท่องเท่ียว อาทิด่านศุลกากร คลังสินค้า (Warehouse) สถานที่
จอดรถสนิ ค้า (Truck Terminal)
3) พัฒนาเมืองชายแดนให้เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของภูมิภาค เชื่อมโยง
การคา้ การลงทุนการทอ่ งเท่ยี วและวัฒนธรรม
4) เสรมิ สร้างศกั ยภาพในการรบั รแู้ ละเตรียมความ พรอ้ มในการเข้าส่ปู ระชาคมอาเซียน
และการเปิดเสรีทางการค้าในกรอบความร่วมมือต่าง ๆ แก่ภาคีการพัฒนาของภาคทั้งในส่วนภาคธุรกิจ ชุมชน
และท้องถิ่น
5) การจัดระเบียบช่องทางในการขนส่งสินค้าผ่านแดนให้มี ความชัดเจน เช่น การรับรองการตรวจ
สนิ ค้าต่าง ๆ (การเปดิ ต)ู้ การตรวจสุขลกั ษณะ และการจดั เกบ็ ค่าธรรมเนียม เป็นตน้
6) พัฒนาบุคลากร โดยสนับสนุนใหจ้ ังหวดั ชายแดนและจังหวัดศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ
ของภาคมีเจ้าหน้าท่ีภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนมีทักษะด้านภาษาที่สามารถสื่อสารกับประเทศ เพื่อนบ้าน
รวมทงั้ ภาษาสากลหลกั ในภมู ิภาค
7) พัฒนาจังหวัดชายแดน ให้มีองค์กรหรือหน่วยงานด้านวิเทศสัมพันธ์ ที่สามารถ
ทาํ หนา้ ที่ประสานเชือ่ มโยงและพฒั นาความร่วมมือกับประเทศเพอื่ นบ้านได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
รายงานการศึกษาฉบับสุดท้าย (Final Report) 2 - 21
บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายที่สง่ ผลตอ่ การพัฒนาพนื้ ที่
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพืน้ ท่ีเฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธิการและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
1.2 สร้างความมั่นคงและความสมดุลด้านการผลิตพืชอาหารและพืชพลังงานของภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื โดยใชป้ ระโยชนจ์ ากโครงการความร่วมมอื อิระวดี-แมโ่ ขง-เจา้ พระยาหรือ ACMECs โดย
1) ขยายฐานการผลิตพืชเศรษฐกิจโดยเฉพาะพืชพลังงานไปยังประเทศเพื่อนบ้าน
พร้อมกับสนับสนุน การเกษตรแบบข้อตกลง (Contact Farming) ที่มีการแบ่งปันผลประโยชน์อย่างเท่าเทียม
และเนน้ การผลติ ท่ีย่งั ยืน เพือ่ ป้องกนั การขยายพน้ื ที่ปลูกพืชพลงั งานจากการรกุ ลำ้ พ้ืนที่ป่าไม้ท่ีมนี ้อยอยูแ่ ลว้
2) ส่งเสริมการผลิตพืชที่เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงานทดแทน โดยยังคงความสมดุล
และความมั่นคงของพืชอาหารที่สามารถตอบสนองความต้องการในระบบเศรษฐกิจ จากการเร่งรัดนโยบาย
และมาตรการกำหนดพ้นื ทีเ่ พาะปลูกพชื อาหารและพลงั งานตามศกั ยภาพของพนื้ ท่ี
3) ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการเผยแพร่ความรู้และข้อมูลข่าวสารในการผลิต การตลาด
ของพืชอาหารและพชื พลงั งาน เพือ่ ใช้ประกอบการตัดสินใจแกเ่ กษตรกร
1.3 เพมิ่ ศักยภาพการผลิตทางการเกษตรท้งั ในและนอกเขตชลประทาน โดย
1) พัฒนาการผลิตในพื้นที่ที่อยู่นอกเขตชลประทานเน้นการผลิตเพื่อสร้างความมั่นคง
ดา้ นอาหารของเกษตรกรรายยอ่ ย สนบั สนุนการใช้พนั ธ์ขุ า้ วพ้นื เมอื งที่เหมาะสมกบั สภาพภมู สิ ังคมและลกั ษณะทาง
กายภาพของพ้ืนที่
2) เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำในเขตชลประทาน และปรับโครงสร้างการผลิตกระจาย
การผลิตให้หลากหลายเพื่อ เพิ่มโอกาสและความเข้มข้นของการใช้แรงงานโดยผลิตพืชและสินค้าเกษตร
ทม่ี ีมลู ค่าเพมิ่ สูงสอดคล้องกับความตอ้ งการของตลาด
3) ส่งเสริมการเพาะปลูกที่ใช้น้ำน้อย เช่น พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ องุ่น เมล็ดพันธ์ุ
คณุ ภาพสูง
4) ส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดใหม่ๆ เช่น ยางพารา พืชผัก สมุนไพร ในพื้นท่ี
ที่มีศักยภาพ และเร่งพัฒนาพันธุ์พืชให้เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ และส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ต่อเนื่องให้ครบ
วงจรในหว่ งโซก่ ารผลิตเพอ่ื ใหเ้ ปน็ แหล่งรายได้ใหม่ของภาค
5) พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำให้เป็นวาระแห่งชาติว่าด้วยการจัดการน้ำ รวมทั้งการพัฒนา
ชลประทานระบบท่อเนื่องจากสภาพภูมิประเทศ และสภาพภูมิอากาศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีสภาพความแห้งแล้ง
ทีเ่ กิดขน้ึ เร็ว
6) พัฒนาการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอด ห่วงโซ่อุปทาน รวมทั้งการสร้างความสัมพันธ์
ทดี ีและสร้างอำนาจตอ่ รองระหว่างเกษตรกรผผู้ ลติ กับโรงงาน
7) ยกระดับมาตรฐานสนิ คา้ เกษตรไปสมู่ าตรฐานข้ันสูง โดยเนน้ การผลิตสินค้าปลอดภัย
โดยใช้วิธีการปลูกพืชหมุนเวียน การใช้ปุ๋ยอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมีโดยเฉพาะการพัฒนาศักยภาพการผลิตพืชผัก
ไปสู่มาตรฐานเกษตร อินทรีย์ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานในระดับสากล เพื่อสนองความต้องการของตลาด
ในประเทศและตา่ งประเทศ
8) พัฒนาปรบั ปรุงคุณภาพดิน และแกไ้ ขปัญหาดนิ เค็มให้ครอบคลมุ พนื้ ท่ีภาค
1.4 เพิ่มความมั่นคงของอาชีพเกษตรเพื่อรักษาภาคเกษตรและเกษตรกรรายย่อย
ให้อย่ไู ด้ โดย
1) ส่งเสริมระบบสหกรณ์ให้เข้ามามีบทบาทนำในการพัฒนากระบวนการผลิตเพื่อ
แกไ้ ขปญั หาประสิทธภิ าพและผลิตภาพแรงงานตำ่ โดยรัฐควรสนับสนนุ แหลง่ เงนิ ทนุ และเทคโนโลยี
2) พัฒนากระบวนการแทรกแซงราคาสินค้าเกษตรที่สอดคล้องกับกลไกตลาด
เพื่อให้ราคาสินค้าเกษตร เช่น ข้าว มันสำปะหลัง ฯลฯ มีเสถียรภาพเป็นแรงจูงใจดึงดูดคนรุ่นใหม่หันมาทําอาชีพ
เกษตรกรรม สร้างหลักประกันให้ เกษตรกรอยู่ได้อย่างมีศักดิ์ศรีและไม่มีหนี้สิน โดยเน้นความต่อเนื่อง
รายงานการศึกษาฉบับสดุ ท้าย (Final Report)
2 - 22 บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทส่ี ง่ ผลต่อการพัฒนาพ้ืนท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพน้ื ท่เี ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
ของโครงการประกันรายได้เกษตรกรที่มุ่งช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยอย่างทั่วถึง ในขณะที่ไม่สร้างภาระ
ดา้ นงบประมาณของภาครัฐในระยะยาว
3) ในขณะเดียวกันควรพัฒนาระบบประกันพืชผลที่มีประสิทธิภาพมากกว่าโครงการ
ประกันรายได้เกษตรกร เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ให้กับประชาชน โดยมีภาคธุรกิจเข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาท
ดําเนินการแทนภาครัฐ โดยยึดความต้องการของเกษตรกรในพน้ื ทเี่ ปน็ หลัก
1.5 พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกับฐานการผลิตของท้องถิ่น
โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปสินค้าเกษตรด้านอาหารและพลั งงานทดแทนที่เชื่อมโยงกับ ฐานวัตถุดิบ
ของภาค โดย
1) ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตตลอดห่วงโซ่การผลิต อาทิ ส่งเสริมให้เกษตรกร
ที่ปลูกมันสำปะหลัง ทําการผลิตแบบมีสัญญา (Contact Farming) กับโรงงานผลิตพลังงานทดแทน
และการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังและอ้อย ด้วยการพัฒนาพันธุ์ดี เพื่อลดความกดดันความ
ต้องการพนื้ ท่ีหรอื การขยายพ้ืนที่เพาะปลูกที่จะมีผลกระทบต่อการรกุ ลำ้ พืน้ ท่ปี ่าไม้
2) ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมีบทบาทนนำในการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมในลักษณะ
คลัสเตอร์เช่น นครราชสีมา ขอนแก่น กาฬสินธ์ุเป็นเขตอุตสาหกรรม อาหารและพลังงานทดแทน นครราชสีมา
ขอนแก่น ชัยภูมิ เป็นเขตอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องแต่งกาย นครราชสีมา ขอนแก่น เป็นเขตอุตสาหกรรม
ชิ้นส่วนยานยนต์และอิเล็กทรอนิกส์ โดยเน้นการส่งเสริมอุตสาหกรรมท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมเพื่อให้การพัฒนา
พื้นที่มีการเจริญเติบโตอย่างย่ังยืน
3) พัฒนาเศรษฐกิจบนฐานความรู้และแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์บนพื้นฐาน
ของการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสร้างนวัตกรรมในการผลิตสินค้าและบริการ และการเพิ่มมูลค่า
จากศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยส่งเสริมให้จังหวัดที่มีศักยภาพพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองศูนย์กลาง
ทางเศรษฐกิจ อาทิ ขอนแก่น เป็นเมืองเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) การศึกษาและบริการ
ทางการแพทย์ นครราชสีมา เป็นเมืองแฟชั่น อุดรธานี เป็นเมืองอาหารอีสาน เลย เป็นเมืองเครื่องดื่มจากผลไม้
เป็นต้น
1.6 ส่งเสริมวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ให้มีบทบาทในภาคและมีความเข็ม
แขง็ มากขึน้ เพื่อเตรยี มการรองรับโอกาสและผลกระทบจากการเปดิ เสรีทางการค้าและการลงทนุ โดย
1) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตจากการบ่มเพาะผู้ประกอบการ และส่งเสริมการสร้าง
ตราสินค้า (Brand) ของสินคา้ ทุกระดับในภาค
2) พัฒนาแหล่งทุนและปรับปรุงกฎระเบียบด้านการเงินให้เอื้อต่อการพัฒนาให้ความ
ชว่ ยเหลอื SME ขนาดเล็กให้สามารถแข่งขันดาํ เนนิ ธุรกิจได้
3) พัฒนาหลักสูตรการศึกษาและการฝกึ อบรมในดา้ นการพัฒนา SME เป็นการเฉพาะ
อาทิ การจดั ตั้ง School of SME การพัฒนาหลักสูตรปรญิ ญาตรหี รือสงู กว่าในสาขาการบรหิ ารจดั การ SME
1.7 พัฒนาผลิตภัณฑช์ ุมชนบนพนื้ ฐานองค์ความรภู้ มู ปิ ญั ญาไทย โดย
1) ส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีศักยภาพให้ได้มาตรฐานเพื่อสร้างมูลค่า
การผลิตให้สูงขึ้น อาทิ กลุ่มผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผ้าย้อม คราม ผลิตภัณฑ์ดินเผา อาหารแปรรูป และพืชสมุนไพร
โดยเน้นการยกระดับคุณค่าของสินค้า (Value creation) บนพื้นฐานการใช้องค์ความรู้และภูมิปัญญาไทยใน
การสร้างนวัตกรรมภายใต้แนวคิดของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative economy)
2) สง่ เสริมการบริหารจัดการเพ่อื ยกระดบั การผลิตไปสวู่ ิสาหกจิ ชุมชน ท่ีสามารถขยาย
ฐานการผลติ การลงทุน และสามารถขยายเครือข่ายชอ่ งทางการตลาดให้มากข้ึน
รายงานการศกึ ษาฉบับสุดทา้ ย (Final Report) 2 - 23
บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายท่สี ง่ ผลตอ่ การพัฒนาพ้ืนท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพื้นท่ีเฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
1.8 เพิ่มศักยภาพด้านการท่องเที่ยวและภาคบริการ โดยใช้จุดแข็งด้านวัฒนธรรมและ
ประวัติศาสตร์สรา้ งนวตั กรรมการท่องเท่ียว โดย
1) สง่ เสรมิ การท่องเที่ยวโดยนำมิติทางวัฒนธรรมและ ประเพณดี ั้งเดมิ ของแต่ละท้องถ่ิน
เช่น งานบุญบั้งไฟ ประเพณีแซนตาโดน แห่เทียนพรรษา ฯลฯ มาต่อยอดเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวเพื่อ
เพ่มิ คุณคา่ ของแหล่งทอ่ งเทย่ี วต่าง ๆ ในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ
2) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์โดยให้บุรีรั มย์และนครราชสีมา
เป็นศูนย์ท่องเที่ยวอารยธรรมขอม (ปราสาทหินพิมาย ปราสาทเขาพนมรุ้ง ปราสาทเมืองต่ำ ปราสาทตาเมือธม
ปราสาทตาเมือนโต๊ด และปราสาทเขาพระวิหาร) ขอนแก่น กาฬสินธุ์และอุดรธานีเป็นศูนย์ท่องเที่ยวยุคก่อน
ประวตั ศิ าสตร์ (ซากไดโนเสาร์) และชมุ ชนโบราณบา้ นเชียง
3) พฒั นาฟื้นฟสู ภาพแหล่งทอ่ งเท่ียวและสิ่งอำนวยความสะดวกให้ไดม้ าตรฐาน และเนน้
การสร้างคุณค่าของการท่องเที่ยวผ่านความหมายจากเรื่องราวความเป็นมาทางประวัติศาสตร์และวั ฒนธรรม
พื้นบ้านของท้องถิ่น (story) โดยส่งเสริมภาคธุรกิจให้มีบทบาทในการลงทุนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถ
นำเสนอประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
พรอ้ ม ๆ กบั การคน้ หาอตั ลกั ษณ์ของท้องถนิ่ ทีส่ ามารถสรา้ งความภาคภูมิใจและความรัก ถ่นิ ฐานของคนในท้องถ่ิน
และสามารถนำไปสู่การส่งเสรมิ การท่องเที่ยวอย่างสรา้ งสรรค์
1.9 พฒั นาโครงสร้างพื้นฐานรองรบั การเติบโตทางเศรษฐกจิ โดย
1) เร่งพัฒนาระบบ logistic ในแนว EWEC โดยเฉพาะโครงข่ายเส้นทางรถไฟรางคู่ใน
ปัจจุบันให้ถึงนครราชสีมา และขยายสู่พื้นที่จังหวัดชายแดน (กทม. - นครราชสีมา - ขอนแก่น - หนองคาย)
และโครงการรถไฟความเร็วสงู
2) ขยายเส้นทางถนนหลักเพื่อเชื่อมโยงการขนส่งและคมนาคมระหว่างเมืองศูนย์กลาง
เศรษฐกิจหลักและเมืองชายแดน ของภาคและของประเทศรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรม การค้าและการ
ท่องเทีย่ ว โดยเร่งโครงการทางด่วนพเิ ศษ (Motor way) เชือ่ มตอ่ บางปะอิน - สระบุรี - นครราชสมี า
3) พัฒนาศูนย์กระจายสินค้าในพื้นที่จังหวัด ที่เป็นประตูการค้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
และอนิ โดจีน
4) เร่งรัดการเจรจาว่าด้วยข้อตกลงการใช้เส้นทางคมนาคมผ่านแดน (Cross Border
Transport Agreement) ในกรอบ GMS เพอ่ื สนับสนุนการค้าการลงทนุ และการทอ่ งเทย่ี วกับประเทศเพอ่ื นบ้าน
2. แนวทางที่ 2 : พัฒนาคนให้มีคุณภาพภายใต้แนวทางการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อยกระดับ
คุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเน้นการพัฒนาทั้งด้านการศึกษาและด้านสุขภาพ สร้างคนดีมีความรู้ มีจริยธรรม
มีสุขภาพกายและจิต เสริมสร้างคุณภาพแรงงานให้มีทักษะมีความรู้และมีสุขอนามัยยกระดับสู่แรงงานมีฝีมือ
และมีประสิทธิภาพการผลิตที่สูงขึ้น เป็นปัจจัยหลักที่นําไปสู่การเติบโตทางเศรษฐกิจของภาคและของประเทศ
อย่างย่งั ยืนและการอยู่ดีมีสุขของประชาชนในพ้นื ที่ โดยมแี นวทางดาํ เนินการ ดงั น้ี
2.1 พัฒนาคุณภาพคน ให้พร้อมรองรับโอกาสด้านอาชีพ ที่มาจากการขยายตัวของการค้า
และการลงทุนจากการเปิดเสรใี นกรอบอาเซยี น โดย
1) สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งความรู้จากการสืบค้น รวบรวม และจัดทำฐานข้อมูล
ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปใช้แก้ไขปัญหาระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่นได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
2) พัฒนาศักยภาพทักษะฝีมือแรงงานเพื่อรองรับโอกาสการ ขยายตัวทางอุตสาหกรรม
และการคา้ การลงทุนในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกจิ กบั ประเทศเพื่อนบา้ นและ การเปดิ เสรใี นกรอบอาเซียน
รายงานการศกึ ษาฉบับสุดท้าย (Final Report)
2 - 24 บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทส่ี ง่ ผลต่อการพัฒนาพื้นท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พืน้ ท่ีเฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
3) พฒั นาคน ชุมชนและทอ้ งถิน่ ใหส้ ามารถรบั ขอ้ มูลข่าวสารทถ่ี ูกต้องสามารถกลน่ั กรอง
ข้อมูล ข่าวสาร เพื่อรู้เท่าทัน สามารถปรับตัวได้อย่างทันท่วงทีเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้อย่างเหมาะสมและ
นาํ ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั
2.2 พัฒนาระบบการศึกษาให้สามารถรองรับคนทุกวัย เพื่อแก้ปัญหาการขาดโอกาสใน
การเรียนต่อ และปญั หาคณุ ภาพการศกึ ษาทต่ี ำ่ จงึ ควร
1) พัฒนาระบบการศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ ความต้องการและภูมิปัญญา
ท้องถ่นิ
2) ส่งเสริมการกระจายบทบาททางการศกึ ษาใหแ้ กอ่ งคก์ รปกครองส่วน ท้องถนิ่ มากข้ึน
3) เพ่มิ โอกาสและช่องทางการเข้าถึงบรกิ ารด้านศกึ ษาของประชาชน โดยส่งเสริมการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศในการพัฒนาการศึกษาทกุ ระดบั
4) สง่ เสริมหลกั สตู รการศกึ ษาให้เด็กรกั ถิน่ ฐานและวัฒนธรรมประเพณีท่ดี งี าม
5) ยกระดับการศึกษาของภาคให้เป็นศูนย์กลางของอนุภูมิภาค โดยเน้นการผลิต
บุคลากรที่มีความรู้ด้านภาษา เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านโลจิสติกส์และการผลิตแรงงานฝีมือในทุกสาขา
โดยเฉพาะแรงงานเพ่ือสาขาการผลติ ท่ีมศี ักยภาพในพ้นื ที่ภาค อาทิ อุตสาหกรรมพลังงาน อตุ สาหกรรม ท่องเที่ยว
และอุตสาหกรรมเกษตร
2.3 เพมิ่ ผลติ ภาพแรงงานเกษตร โดย
1) สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ที่จะนําสู่การผลิตเพื่อ ความมั่นคงด้านอาหาร
โดยส่งเสริมการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นผสมผสานกับเทคโนโลยีสมัยใหม่และงานวิจัยของสถาบันการศึกษา
ในท้องถ่นิ เพื่อเพม่ิ คณุ ภาพและความหลากหลายของการผลิต
2) สร้างความรู้และทักษะในการทําการเกษตรแบบประณีต เกษตรอินทรีย์เพื่อเพ่ิม
มูลค่าการผลิตสินค้าเกษตรด้วยคุณภาพที่สอดคล้องกับ พฤติกรรมผู้บริโภคที่เน้นอาหารที่ช่วยเสริมสร้างสุขภาพ
และสนิ คา้ ทไี่ ม่เป็นอันตรายต่อส่ิงแวดล้อม
3) พัฒนาความรู้ทักษะฝีมือแรงงานในภาคเกษตร อาทิ การกรีดยางที่มีคุณภาพ
การทําต้นพนั ธุ์ การทาํ ยางแผ่น การเล้ยี งโคขุน เปน็ ตน้
4) สร้างแรงจูงใจให้เยาวชนคนรุ่นใหม่รักถิ่นฐานและคืนสู่อาชีพเกษตรกร บนพื้นฐาน
การศึกษา และองคค์ วามรทู้ ่ีไดส้ ืบทอดจากปราชญ์ทอ้ งถ่ิน
2.4 ส่งเสริมจริยธรรมและค่านิยมที่ดีงาม เพื่อปลูกฝังคนรุ่นใหม่ให้เป็นคนดีมีศีลธรรม
จากปัญหาการแพร่ระบาดของวัฒนธรรมตะวันตกผ่านสื่อและช่องทางอื่นรวมทั้งกระแสบริโภคนิยมที่ทําให้
คนในสังคมมกี ารแขง่ ขันกันมากขนึ้ ขาดความสนใจปฏบิ ัตติ นใหอ้ ยู่ในกรอบจรยิ ธรรมและค่านยิ มทด่ี งี าม จึงควรให้
ความสําคญั กับ
1) การส่งเสรมิ จรยิ ธรรมในสังคม เพื่อสรา้ งคนดมี ีคณุ ธรรม
2) เชิดชูยกย่องคนดีในสังคมให้ เป็นต้นแบบแก่คนรุ่นใหม่โดยเน้นความสำเร็จในชีวิต
ดา้ นจรยิ ธรรมมากกว่าฐานะทางเศรษฐกจิ
3) รื้อฟื้น วัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงาม เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้มีโอกาสเรียนรู้เข้าใจ
เขา้ ถงึ นําไปสูก่ ารดําเนนิ ชีวิตทถี่ ูกต้อง
4) ส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้อบอุ่น โดยเพิ่มบทบาทของชุมชนและท้องถิ่นใน
การสร้างแรงจูงใจให้ พอ่ แมด่ ูแลครอบครัว และมีบทบาทเสรมิ ในการดูแลเยาวชนให้อยใู่ นกรอบจริยธรรมประเพณี
ทด่ี งี าม
2.5 ส่งเสริมสุขภาวะของประชาชนโดยเน้นท้ังทางดา้ นการรักษาและการป้องกัน จากปัญหา
การอพยพแรงงานจากประเทศเพ่ือนบ้าน และปัญหาแรงงานส่วนใหญ่ไร้ฝีมือและมีรายได้ต่ำ และการขาดความรู้
รายงานการศึกษาฉบับสุดทา้ ย (Final Report) 2 - 25
บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายทสี่ ่งผลต่อการพฒั นาพื้นท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พืน้ ทเี่ ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธิการและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
ด้านโภชนาการที่ดีพอ ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดจากประเทศเพื่อนบ้าน ส่งผลให้ประชาชนใน พื้นท่ี
ตกอย่ใู นภาวะเจ็บป่วย รวมทัง้ แรงกดดนั จากปัญหาทางเศรษฐกจิ และปัญหาทางสงั คมสง่ ผลให้มปี ัญหาด้านสุขภาพ
ทง้ั ร่างกายและจิตใจ จงึ จำเป็นตอ้ งแก้ไข
1) รณรงค์เรื่องการดูแลสุขภาพ การออกกําลังกาย การป้องกันความเครียด และการดูแล
ดา้ นโภชนาการ ดา้ นเคหะสถาน และด้านการสขุ าภบิ าลตา่ ง ๆ
2) การดูแลเฝ้าระวังและป้องกันปัญหายาเสพตดิ
3) การป้องกันปัญหาเยาวชนที่ถูกบั่นทอนจากวัฒนธรรมตะวันตก และการเข้าสู่
สังคมเมืองมากขน้ึ
4) ส่งเสริมให้ชมุ ชนและท้องถิ่นมสี ่วนร่วมในการดูแลสุขภาพคนทุกวัย และลด ละ เลิก
อบายมขุ
2.6 พัฒนาบริการด้านสุขภาพ จากปัญหาด้านสุขภาวะของประชาชนที่ยังมีอยู่ในระดับสูง
จากรูปแบบการบริโภคและการขาดการดูแลสุขอนามัยที่ดี ขณะเดียวกันจากศักยภาพของสถาบันการศึกษา
และสถานบริการดา้ นสขุ ภาพที่มีอยู่สามารถยกระดับให้เปน็ ศนู ย์กลางทางการแพทย์ของอนุภูมิภาคเพื่อเสริมสร้าง
ประสทิ ธภิ าพการดูแลคนในพน้ื ที่อย่างเพยี งพอ และสามารถขยายโอกาสทางเศรษฐกจิ จากการใหบ้ ริการในวงกว้าง
จงึ ควร
1) เร่งพัฒนาบริการด้านการแพทย์ให้เป็นศูนย์กลางของอนุภูมิภาคโ ดยการเพ่ิม
สัดส่วนแพทย์ต่อประขากรให้สูงขึ้น และส่งเสริมงานศึกษา วิจัย ฝึกอบรมและการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้
ทางการแพทย์และสาธารณสขุ ในพืน้ ท่ใี ห้มากขน้ึ
2) เร่งสร้างระบบป้องกันและรักษาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
ให้เทียบเคียงกับภูมิภาคอื่น และเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการเปิดเสรีของอาเซียนและการเป็นศูนย์กลาง
ของอนุภมู ิภาคลุม่ นำ้ โขง
3) สร้างระบบเฝ้าระวังโรคระบาด ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคในท้องถิ่น และโรคที่มาจาก
การเคล่ือนย้ายแรงงาน
3. แนวทางที่ 3 : สร้างความเป็นธรรมในสังคมและความเข้มแข็งของชุมชน เพื่อสร้างโอกาส
ในการอาชีพ มีความมั่นคงด้านรายได้ลดความเลื่อมล้ำทางสังคม และเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ
โดยมีแนวทางดําเนนิ การ ดังนี้
3.1 สร้างโอกาสและความมั่นคงในการอาชีพ บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และความสำเร็จของปราชญ์ชาวบ้านเปน็ แรงจูงใจเพอื่ สืบทอดอาชพี เกษตร โดยเป้าหมายหลกั คอื
1) การจูงใจคนรุ่นใหม่โดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนที่สนใจ และลูกหลานของเกษตรกร
ในการประกอบอาชีพการเกษตร โดยการเรียนรู้และขยายผลจากปราชญ์ชาวบ้านที่ประสบความสำเร็จจาก
การยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในภาคเป็นแรงบนั ดาลใจและเป็นตัวอยา่ งของความสำเร็จ
2) ส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาในท้องถิ่น มีบทบาทเป็นมหาวิทยาลัยที่มุ่งให้บริการ
ชุมชนและท้องถิ่น โดยผลิตบุคลากรและหลักสูตร รวมทั้งมีการศึกษาวิจัยที่ตอบสนองความต้องการและวิถี
การผลติ ของทอ้ งถิน่
3) ส่งเสริมการขยายเครือข่ายการทําเกษตรอินทรีย์ เกษตรประณีต เกษตรผสมผสาน
ให้มากขนึ้
4) สง่ เสรมิ และสนับสนุนทนุ แกแ่ รงงานและเยาวชนเพ่ือเข้าส่ภู าคการเกษตร
รายงานการศึกษาฉบับสดุ ท้าย (Final Report)
2 - 26 บทท่ี 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทสี่ ง่ ผลตอ่ การพัฒนาพ้ืนท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพื้นทเ่ี ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
3.2 การรื้อฟื้นประเพณีและวัฒนธรรมที่มีคุณค่าให้เปน็ ทุนทางสังคม เพื่อเพิ่มแรงยดึ เหน่ียว
ของความสัมพันธ์ทางสังคมที่เริ่มอ่อนแอจากผลกระทบความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมจากภายนอก
และการแพรร่ ะบาดของวฒั นาธรรมตะวนั ตกทเ่ี ขา้ มาตามกระแสโลกาภวิ ัตน์ โดยสนบั สนุนการใช้มติ ิทางวัฒนธรรม
เพื่อสร้างความมั่นคงของชมุ ชน โดย
1) ฟื้นฟูวัฒนธรรมและประเพณีของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีความเกี่ยวพัน
ต่อวิถีชีวิตในภาคเกษตร โดยเฉพาะวัฒนธรรมข้าวของเกษตรกรไทบ้านที่สืบทอดมายาวนานให้เป็นแกนหลัก
ในการยึดโยงประชาสังคม และต่อยอดองคค์ วามรเู้ ปน็ พลงั สืบทอดวถิ ีการผลิตทางการเกษตรอยา่ งยงั่ ยืน
2) ใช้ทุนทางสังคมที่มีอยู่ในชุมชนสร้างกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อรื้อฟื้นประเพณีและ
วฒั นธรรมท่ีเสรมิ สร้างความสมั พนั ธ์ของคนในชุมชน
3) ส่งเสริมเยาวชนเรียนรู้ด้านประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อสร้างความรัก
และผกู พันตอ่ ชุมชน ลดกระแสการบริโภควัฒนธรรมตะวนั ตกและลดการย้ายถ่ินทอี่ ยู่
4) สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านหัตถกรรม เช่น การทอผ้าไหม ด้านการแพทย์
ทางเลือกสมุนไพร ด้านศิลปะการแสดงและอื่น ๆ เพื่อสร้างงานสร้างอาชีพและยึดโยงให้เกิดความเข้มแข็ง
ของชมุ ชน
5) สง่ เสรมิ และยกยอ่ งคนดีเพื่อเปน็ ตน้ แบบ และสร้างแรงจงู ใจใหค้ นทําความดี
3.3 สร้างความเข้มแข็งทุนทางการเงินของชุมชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัว
รองรับการเปลี่ยนแปลงของภาคและสรา้ งภมู ิคุ้มกนั โดย
1) พัฒนาแหล่งเงินทุนฐานรากของชุมชน โดยเน้นการพัฒนาต่อยอดความสำเร็จ
ของกลมุ่ ออมทรัพย์เดมิ
2) ส่งเสริมเครือข่ายระบบสวัสดิการชุมชนและระบบสหกรณ์ให้เข็มแข็งครอบคลุม
ท่ัวทงั้ ภาค
3) สร้างโอกาสของประชาชนในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยยกระดับกองทุนหมู่บ้าน
ให้เป็นธนาคารชุมชนที่สามารถบริหารจัดการได้มาตรฐาน โดยการสนับสนุนองค์ความรู้และการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้จากตัวอยา่ งความสำเรจ็ และปราชญช์ าวบา้ น
4) ส่งเสรมิ ใหอ้ งค์กรปกครอง ส่วนท้องถน่ิ เข้ามามีบทบาทสนบั สนุนมากข้ึน
5) ส่งเสริมการออมทุกระดับและทุกกลุ่มอาชีพ โดยให้ความรู้ ด้านการจัดการการเงิน
ส่วนบคุ คลและครวั เรอื น และขยายผลกองทนุ สวัสดิการชุมชนหรือองค์กรการเงนิ ฐานรากอืน่ ๆ ใหม้ ีความเข็มแข็ง
ครอบคลมุ ทุก
3.4 เพิ่มบทบาทภาครัฐและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรที่ดินในพื้นที่ชุมชน เพื่อ
สรา้ งโอกาสในการอาชีพของประชาชนที่ยากไร้หรือด้อยโอกาส โดย
1) เร่งการแก้ไขปัญหาการขาดที่ดินทำ กิน ตามแนวทางต่าง ๆ อาทิ การออกโฉนด
ชุมชน การจัดรูปทด่ี นิ และธนาคารท่ีดนิ
2) กระตุ้นการใช้ประโยชน์จากที่ดิน โดยใช้นโยบายการจัดเก็บภาษีที่ดินเพื่อนําไปสู่
การแกป้ ญั หาความเหลอ่ื มลำ้ ของรายได้
3.5 พัฒนาเมืองและชุมชนใหเ้ ปน็ เมอื งนา่ อยู่ โดย
1) ส่งเสริมการพัฒนาชุมชนทุกระดับทั้ง ระดับจังหวัด เทศบาล อบต. และหมู่บ้าน
ใหเ้ ปน็ เมืองน่าอย่คู รอบคลมุ ทุกพื้นที่ เพอ่ื ปรับปรุงวถิ ชี วี ิตของ ประชาชน ควบคมุ ดแู ล สร้างเสริมสภาวะแวดล้อม
ให้อยู่ในสภาพดีสะอาด ปลอดภัยจากมลพิษและมลภาวะต่าง ๆ โดยเน้นความสมดุลของเมืองในทุกมิติควบคู่
ไปกับการจัดการดา้ นบริการสาธารณะต่าง ๆ และพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานของเมอื งอยา่ งเหมาะสมและมีดุลยภาพ
โดยใช้หลกั การมีส่วนร่วมของประชาชนเพอื่ ให้เกดิ การพัฒนาอย่างต่อเนอื่ งและย่ังยนื
รายงานการศกึ ษาฉบับสุดท้าย (Final Report) 2 - 27
บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายทีส่ ง่ ผลต่อการพัฒนาพน้ื ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพื้นทเ่ี ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง กระทรวงมหาดไทย
2) ส่งเสริมให้มีการทาํ แผนชุมชนครอบคลมุ ทุกพื้นที่ โดยเน้นทุกมติ ิทัง้ ในด้านเศรษฐกจิ
สงั คม และสิง่ แวดล้อม เพ่อื ปรับปรงุ คุณภาพชวี ติ ของประชาชนให้สอดคลอ้ งกบั กับแนวคิดการพฒั นาเมืองน่าอยู่
3) ปรับปรุงกระบวนการวางแผนการพัฒนา โดยให้มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกัน
ทุกระดับต้งั แต่แผนชุมชน แผนตำบล แผนอาํ เภอ แผนจังหวัดและกลุ่มจังหวดั ให้สามารถตอบสนองกลุม่ เปา้ หมาย
และเป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั
4) ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจต่อการดําเนินงานโครงการตามนโยบาย
ของรัฐบาลในระดับพน้ื ท่ี
3.6 เสริมสร้างความมั่นคงของประชาชน โดยสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการทางสังคม
อย่างทั่วถึง และเป็นธรรม จากสถานะภาพของประชาชนที่ส่วนใหญ่ทำงานอยู่นอกระบบ และจากสภาพปัญหา
ทางสังคมที่มาจากการปรับตัวเข้าสู่สังคมเมืองมากขึ้น และมีการอพยพแรงงานไปทำงานต่างถิ่น เกิดปัญหาเด็ก
และคนชรา หรือผู้พิการ หรือผู้เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพังขาดการดูแลรักษาที่ดีและไม่มีหลักประกัน
ทางสงั คมจึงควร
1) ขยายโอกาสในการเขา้ ถึงระบบสวสั ดิการสงั คมของรฐั อย่างทัว่ ถึง
2) ส่งเสริมให้ชุมชนและองค์กรปกครองท้องถิ่น ตลอดจนองค์กรอาสาสมัครในรูปแบบ
ตา่ ง ๆ มบี ทบาทมาก ขนึ้ ในการดแู ล ชว่ ยเหลอื หรอื รักษาพยาบาลผู้สงู อายุและผูถ้ ูกทอดทงิ้
3) สร้างระบบเฝ้าระวังทางสังคมติดตามสถานการณ์ในพื้นที่และสร้างเครือข่าย
ความช่วยเหลืออยา่ งเป็นระบบ
4. แนวทางที่ 4 : การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน
เพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความอุดมสมบูรณ์ทั้งในด้านป่าไม้ แหล่งน้ำ ดิน
ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รักษาและพัฒนาความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งก ารใช้ประโยชน์
จากทรัพยากรอย่างคุ้มค่า บนพื้นฐานการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพภายใต้แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
โดยมีแนวทางดาํ เนินการ ดังนี้
4.1 อนุรกั ษ์ฟน้ื ฟแู ละปรับปรงุ พน้ื ท่ีป่าไม้ โดย
1) การอนุรักษ์พื้นที่ป่าเดิม ด้วยการบริหาร จัดการแบบมีส่วนร่วม โดยเฉพาะความร่วมมือ
ของชมุ ชนโดยรอบพืน้ ทป่ี ่า
2) ฟื้นฟูสภาพป่าเสื่อมโทรมโดย การปลูกปา่ ในพ้ืนที่ป่าสงวนเส่ือมโทรม พื้นท่ปี ่าชุมชน
และการส่งเสริมการสร้างฝายชะลอน้ำหรือฝายชุ่มชื้น โดยส่งเสริมการดําเนินงานทั้งของภาครัฐ ภาคเอกชน
และชุมชน
4.2 ส่งเสรมิ บทบาทของชุมชนและประชาชนในการเพ่มิ พื้นทป่ี า่ และดูแลรักษาป่า โดย
1) สนับสนุนการปลูกไม้ยืนต้น เช่น สัก ยางนา ในทุกพื้นที่ ทั้งพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม
พนื้ ทรี่ กรา้ ง พ้ืนที่หวั ไรป่ ลาย นา และอน่ื ๆ และส่งเสริมให้ระบบการเงินชมุ ชนสนบั สนุนการปลกู ไมย้ ืนต้นดังกล่าว
โดยรัฐจัดเงินสนับสนุน กองทุนหรือระบบสวัสดิการชุมชนโดยคิดจากจำนวนต้นไม้ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ของชุมชน
ดงั กลา่ ว
2) ส่งเสริมบทบาทชุมชนในการดูแลป้องกันการบุกรุกทำลายป่า การป้องกันไฟไหม้ปา่
โดยเนน้ สง่ เสริมโครงการป่า ชมุ ชน และโครงการธนาคารต้นไม้
3) ส่งเสริมการใช้ประโยชนจ์ ากการปลูกไม้ยืนต้นในการขายคารบ์ อนเครดิต โดยพัฒนา
ช่องทางการซ้อื ขายคารบ์ อนเครดติ จากพ้ืนที่การปลูกปา่ และสวนยางพาราใหมใ่ นพืน้ ที่ภาคอีสาน
รายงานการศกึ ษาฉบบั สุดท้าย (Final Report)
2 - 28 บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายท่ีสง่ ผลต่อการพัฒนาพื้นท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพนื้ ทเี่ ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
4.3 การค้นหาและต่อยอดภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ เสริม
การ ใชป้ ระโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ โดย
1) ส่งเสริมการผลิตทางการเกษตรที่ฟื้นความอุดมสมบูรณ์ ของสภาพแวดล้อม เช่น การรื้อฟื้น
กิจกรรมบวชต้นไม้หรือประเพณีรักษาป่าดอนปู่ตา เพื่อรักษาป่าการทำวนเกษตร เพื่อฟื้นฟูความชุ่มช้ืน
ของสภาพแวดล้อม
2) การทําเกษตรอินทรีย์และเกษตรปราณีตเพื่อเป็นการฟื้นฟูดิน และยับย้ัง
การแพร่กระจายของดนิ เคม็ ควบคไู่ ปกบั การยกระดบั คุณภาพสินค้า
3) เร่งแก้ไขปัญหาปัญหาดินเค็มให้ ครอบคลุมพื้นที่ภาคโดยการส่งเสริมและขยายผล
โครงการทีป่ ระสบความสำเร็จในชว่ งทผ่ี า่ นมา
4) ส่งเสริมการ ค้นคว้า และต่อยอดการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ
โดยเฉพาะพชื สมนุ ไพร เพือ่ สร้างมลู ค่าทางเศรษฐกิจใหม้ ากขนึ้
4.4 เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการทรพั ยากรน้ำ ให้เหมาะสม ทวั่ ถงึ และเป็นธรรม โดย
1) ทำการวางแผนบริหารจดั การลมุ่ นำ้ ทง้ั ระบบ เพื่อการป้องกันปญั หาน้ำทว่ ม
2) สนบั สนนุ การใชภ้ ูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ในการจดั การทรพั ยากรนำ้ โดยการสบื คน้ ต่อยอด
และถา่ ยทอดองค์ความรู้พื้นบา้ นและทอ้ งถนิ่ ผสมผสานกับเทคโนโลยสี มัยใหม่เพือ่ การจัดการปัญหาพ้ืนฐานซ้ำซาก
เช่น ภัยแล้ง น้ำท่วม และควรจัดหาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรอย่างเพียงพอและให้มีการน ำรูปแบบ (Model)
การประยุกตใ์ ชป้ รัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงทป่ี ระสบผลสำเร็จ นำไปขยายผลอย่างมีประสทิ ธิภาพ
3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการทรัพยากร เช่น สนับสนนุ
บทบาทของคณะกรรมการลุ่มน้ำโขง ชี มูล ให้มีอำนาจในการเสนอแนะโครงการและจัดสรรงบประมาณใน
การพัฒนาแหล่งน้ำและแก้ไขปัญหาน้ำแล้ง น้ำท่วม โดยเชื่อมโยงกับคณะกรรมการแหล่งน้ำของต ำบลหรือ
หมู่บ้าน และกลุ่มผู้ใช้น้ำ เป็นต้น รวมทั้งส่งเสริมชุมชนและองค์กรปกครองท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการบริหาร
จัดการน้ำในพื้นที่ชุมชนโดยเน้นความสมดุลและความยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมชุมชนและองค์กรปกครองท้องถ่ิน
มสี ว่ นร่วมในการบริหารจดั การนำ้ ในพื้นท่ชี ุมชนโดยเนน้ ความสมดุลและความยั่งยนื
4) ศึกษาพัฒนาระบบชลประทานให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และภูมิอากาศของภาค
อาทิ ระบบทอ่ ส่งนำ้ เพ่อื ลดการสญู เสียของนำ้ เปน็ ต้น
4.5 พัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กที่เหมาะสมกับภูมิสังคมและสภาพทางกายภาพของพื้นที่
และพัฒนาระบบชลประทาน ให้มีแหล่งกักเก็บน้ำเพียงพอกับความต้องการ ทั้งภาคเกษตร อุตสาหกรรม และ
การอปุ โภคบริโภค ท้งั ในเขตเมอื งและชนบท โดย
1) การปรับปรงุ แหล่งนำ้ เดิมให้มีปริมาตรกักเก็บไดเ้ พ่ิมขนึ้ เนน้ พฒั นาแหล่งนำ้ ขนาดเลก็
เช่น การพัฒนาแหลง่ น้ำ 1 ตําบล 1 อ่างเก็บน้ำและส่งเสรมิ การขุดบ่อน้ำขนาดเล็กในไร่นา รวมทั้งจัดหาแหล่งน้ำ
ใหมท่ ่ีมีศกั ยภาพตามทกี่ รมชลประทานระบอุ กี 7.1 ล้านไร่ โดยเฉพาะพ้นื ทลี่ ุ่มน้ำมูล ท่ียงั มีสดั ส่วนในการกักเก็บตำ่
2) การพัฒนาแหล่งน้ำให้เหมาะสมกับพื้นที่ เช่น ลำน้ำชีมีความลาดชันสูงเป็นเพียง
ร่องน้ำ น้ำท่วมในฤดูฝน และน้ำแห้งในฤดูแล้ง ควรทําฝายหรือแก้มลิงเพื่อกักเก็บน้ำ ส่งเสริมการผันน้ำ
จากลำน้ำชมี ูลมาใช้ รวมท้งั ควรนำผลการศึกษาพฒั นาแหล่งนำ้ ทมี่ อี ยมู่ าปฏบิ ตั ใิ หเ้ กิดรูปธรรมท่ีชัดเจน
3) การพัฒนาแหล่งน้ำ ระบบชลประทาน และแหล่งน้ำขนาดเล็กในไร่นาให้ทั่วถึง
ทุกชุมชน
4.6 ควบคุม กำกบั ดูแล คุณภาพส่ิงแวดล้อมให้อยใู่ นระดบั มาตรฐาน ไม่กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบ
ตอ่ สขุ ภาพของประชาชน โดย
1) ส่งเสรมิ ให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทในการดูแล รักษา ควบคุม คุณภาพ
ดนิ น้ำ อากาศ ให้อยู่ในระดับมาตรฐานไมส่ ง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพอนามยั
รายงานการศกึ ษาฉบบั สุดทา้ ย (Final Report) 2 - 29
บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายทสี่ ง่ ผลตอ่ การพฒั นาพ้ืนที่
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพื้นที่เฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธิการและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2) พัฒนา ระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยที่เกิดจากความแปรปรวนของธรรมชาติ
โดยเฉพาะภัยจากน้ำป่าไหลหลาก ดินถล่ม และความแห้งแล้ง พร้อมกับวางแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ในพื้นทเี่ ส่ียงครอบคลุมทั้งภาค
3) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะ น้ำเสีย มลพิษทางอากาศ และฝุ่นละออง
รวมทั้งการส่งเสรมิ ให้ท้องถ่นิ เพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการบริหารจัดการ โดยให้มกี ารจัดเกบ็ ค่าธรรมเนียมท่ีเหมาะสม
ในการบำบัดและกำจัดขยะและน้ำเสีย ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนให้รับรู้และร่วมในการตัดสินใจ
ในการบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ
2.3.2 ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 (อุดรธานีหนองคาย เลย
หนองบวั ลำภู และบึงกาฬ)
มีสถานที่ตั้งทําการอยู่ในจังหวัดทุกจังหวัดในกลุ่มจังหวัด ได้ให้ความ เห็นชอบแผนพัฒนา
กล่มุ จงั หวดั 4 ปี (พ.ศ.2561 - 2564)
วสิ ยั ทศั น์กลุม่ จังหวัด
“เป็นศูนย์กลางการพัฒนาเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวเชิงอัตลักษณ์และการเกษตรปลอดภัยที่เป็น
มิตรกับสิง่ แวดล้อมของอนภุ ูมภิ าคลมุ่ แม่น้ำโขง”
ยุทธศาสตร์
(1) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ การผลิต และการบริการที่เป็นทิตร
กับส่งิ แวดลอ้ ม
(2) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับการท่องเที่ยวเชิงอัตลักษณ์ด้านอารยธรรม ประวัติศาสตร์
วฒั นธรรม และประเพณี ของอนภุ ูมภิ าคลุ่มแม่น้ำโขง
(3) ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มศักยภาพการผลิตทางการเกษตรและการสร้างมูลค่าเพิ่มเพ่ือ
การแข่งขัน
2.3.3 แผนพฒั นาจังหวดั เลย พ.ศ.2561-2564
วสิ ยั ทศั น์
“เมืองนา่ อยู่ เมอื งแห่งการท่องเทยี่ ว การคา้ และการลงทนุ ภายใตก้ ารพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื ”
พนั ธกจิ
(1) พฒั นาโครงสร้างพื้นฐานและสงิ่ อา้ นวยความสะดวก
(2) พัฒนามาตรฐานการท่องเที่ยว
(3) สง่ เสริมการอนุรักษ์และฟนื้ ฟทู รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมอย่างย่ังยนื
(4) ยกระดบั คุณภาพและผลติ ผลทางการเกษตร
(5) สง่ เสริมการคา้ ชายแดนและการลงทุน
(6) เสริมสรา้ งสงั คมใหน้ ่าอยู่และยกระดบั การให้บริการ
(7) เสรมิ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนทุกภาคส่วน ในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาความมัน่ คง
ยุทธศาสตร์การพฒั นา
(1) ยุทธศาสตร์ที่1 : การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ควบคู่กับการอนุรักษ์ฟื้นฟู
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
(2) ยุทธศาสตร์ท่ี 2 : การส่งเสริมและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพ่ิม
สนิ ค้าเกษตร
รายงานการศกึ ษาฉบบั สุดท้าย (Final Report)
2 - 30 บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายที่สง่ ผลต่อการพัฒนาพื้นท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พ้นื ที่เฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
(3) ยุทธศาสตร์ที่3 : การส่งเสริมและสนับสนุนเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมการผลิตและ
การบรกิ ารเชงิ สรา้ งสรรค์
(4) ยุทธศาสตร์ท่ี 4 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการบรหิ ารจัดการภาครัฐเพ่ือยกระดับสสู่ ากล
(5) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 : การเสรมิ สรา้ งและรักษาความม่นั คง
2.3.4 สรุปผลการวิเคราะห์ด้านนโยบายยุทธศาสตร์ โครงการที่สำคัญและความร่วมมือ
ระดับภาค กลุม่ จงั หวดั และทอ้ งถน่ิ
นโยบายยุทธศาสตร์ โครงการที่สำคัญและความร่วมมือระดับภาค กลุ่มจังหวัด และท้องถิ่น
ประกอบด้วย
1. ยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีนโยบายในการส่งเสริม
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติโดยประชาชนในท้องถิ่น การขยายความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัด
สร้างความรแู้ ละเพม่ิ ศกั ยภาพดา้ นการเกษตรของจังหวดั รวมถึงการพฒั นากลุ่มคนทกุ เพศทกุ วัยในจังหวัดให้พร้อม
ต่อการพัฒนางานทั้งในภาคการเกษตร ด้านภาษา ด้านโลจิสติกส์ และด้านอุตสาหกรรมเกษตร ตลอดจนขยาย
ความหลากหลายของตลาดการค้า การเกษตร และการท่องเท่ียวใหแ้ กจ่ งั หวัดเลย
2. ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 (อุดรธานีหนองคาย เลย
หนองบัวลําภู และบึงกาฬ) เนื่องด้วยกลุ่มจังหวัดมีศักยภาพทั้งด้านการค้าและและการท่องเที่ยวและมีศักยภาพ
ทางด้านกายภาพจึงมุ่งเน้นเป็นศูนย์กลางการลงทุนด้านการค้า เกษตรกรรม อุ ตสาหกรรม การบริการ
การท่องเที่ยวของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงและประชาคมอาเซียน พัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันด้านการลงทุนอุตสาหกรรมการค้าและบริการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรให้
ไดม้ าตรฐานอย่างครบวงจร สง่ ผลให้เกิดความรว่ มมือดา้ นการค้า การลงทนุ การทอ่ งเท่ยี วและการเกษตร ระหว่าง
กลุ่มจังหวัด อุดรธานีหนองคาย เลย หนองบัวลําภู และบึงกาฬ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข็งขัน
ในตลาดสากล
3. นโยบาย ยุทธศาสตร์ และโครงการพัฒนาระดับจังหวัด คือ แผนพัฒนาจังหวัดเลย
พ.ศ. 2561 –2564 ทางจังหวัดมุ่งเน้นให้เป็นเมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยวและลงทุน ภายใต้การพัฒนา
ที่ยั่งยืน ส่งเสริมทางด้านเศรษฐกิจพอเพียงพัฒนาด้านการท่องเที่ยวและการบริการให้ได้มาตรฐานสงเสริมสินค้า
การเกษตรให้ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน และส่งเสริมการค้าชายแดน แนวทางในการวางผังพื้นที่เฉพาะชุมชน
ชายแดนบ้านเหมืองแพร่ ในประเด็นการเป็นเมืองน่าอยู่ การส่งเสริมเศรษฐกิจการค้าชายแดน ส่งเสริมการเกษตร
และการทอ่ งเที่ยวในพน้ื ท่ี
โดยทั้ง 3 หัวข้อสามารถสรุประเด็นที่สำคัญและความเกี่ยวข้องกับพื้นที่ดัง (ตาราง 2.3.4-1)
ตอ่ ไปนี้
รายงานการศกึ ษาฉบับสุดทา้ ย (Final Report) 2 - 31
บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายทีส่ ง่ ผลตอ่ การพัฒนาพืน้ ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพื้นที่เฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
ตารางท่ี 2.3.4-1 ตารางสรปุ ผลการวิเคราะหด์ า้ นนโยบายยุทธศาสตร์ โครงการที่สำคญั และความร่วมมือระดบั ภาค กลุ่มจงั หวัด และท้องถิ่น
นโยบาย ประเด็นที่สำคัญ ความเกยี่ วขอ้ งกับพ้ืนที่
1 ยทุ ธศาสตร์และทศิ ทางการ แนวทางที่ 1 : เพิ่มศักยภาพฐานการผลิตให้แข็งแกร่ง มีความสมดุล - ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติโดยประชาชนในท้องถิ่น
พฒั นาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื และมีความสามารถในการแข่งขัน : นโยบายเน้นในส่วนการสร้างความ การขยายความรู้และภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ในจังหวดั เลย
เข้มแข็งของเศรษฐกิจเมืองชายแดนหลักที่เชื่อมโยงระเบียงเศรษฐกิจ - สร้างความรูแ้ ละเพ่มิ ศักยภาพดา้ นการเกษตรของจงั หวดั เลย
ระหว่างประเทศก่อน จากนั้นจึงพัฒนาความร่วมมือด้านความร่วมมือ - พัฒนากลุ่มคนทุกเพศทุกวัยในจังหวัดให้พร้อมต่อการพัฒนางานท้ัง
ด้านอาหาร การเกษตร การชลประทาน การสร้างความมั่นคงให้กับ ในภาคการเกษตร ด้านภาษา ด้านโลจสิ ติกส์ และด้านอุตสาหกรรมเกษตร
เกษตรกรรายย่อย รวมถึงการส่งเสริมอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร - ขยายความหลากหลายของตลาดการคา้ การเกษตร และการทอ่ งเทีย่ ว
อาหาร และพลังงานในกรอบภมู ิปัญญาไทย และการคา้ แบบวสิ าหกิจขนาด ให้แก่จังหวดั เลย
กลางและขนาดย่อม (SME) นอกจากนี้ยังส่งเสริมการท่องเที่ยวในบริบท
ของวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ โดยใช้เทคโนโลยีใหม่สร้างความสร้างสรรค์
การสร้างระบบโครงข่ายคมนาคมเพอ่ื ตอบรับโจทย์ทกุ ประเดน็ ท่ไี ดต้ งั้ ไว้
แนวทางที่ 2 : พัฒนาคนให้มีคุณภาพภายใต้แนวทางการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต : เน้นการพัฒนาคนทุกวัยให้พร้อมต่อการพัฒนางานทั้งในภาค
การเกษตร ด้านภาษา ด้านโลจิสตกิ ส์ และดา้ นอตุ สาหกรรมเกษตร เปน็ ต้น
ทั้งนี้เป็นการส่งเสริมของภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและสาธารณสุข
ท่มี ีเป้าหมายให้ประชาชนแขง็ แรง
แนวทางที่ 3 : สร้างความเป็นธรรมในสังคมและความเข้มแข็งของ
ชุมชน : เน้นการพัฒนาสังคม อาชีพ การสืบทอดอาชีพเกษตรกรรม
การฟนื้ ฟทู างวฒั นธรรม เพื่อให้เกิดชุมชนท่นี ่าอยู่ และมีความมั่นคงในกลุ่ม
สงั คม
รายงานการศกึ ษาฉบับสุดทา้ ย (Final Report)
2 - 32 บทท่ี 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายทสี่ ง่ ผลตอ่ การพัฒนาพนื้ ที่
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พื้นทีเ่ ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
ตารางที่ 2.3.4-1 ตารางสรุปผลการวิเคราะห์ดา้ นนโยบายยทุ ธศาสตร์ โครงการทีส่ ำคัญและความร่วมมือระดบั ภาค กลมุ่ จงั หวดั และท้องถิน่ (ต่อ)
นโยบาย ประเดน็ ทีส่ ำคัญ ความเกย่ี วขอ้ งกับพื้นท่ี
แนวทางท่ี 4 : การบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมเพื่อ
การพฒั นาท่ยี ่ังยืน
- การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติโดยประชาชนในทอ้ งถิ่น การขยายความรู้
และภูมิปญั ญาท้องถ่ินในการการอนุรกั ษป์ ่าไม้ การแก้ปัญหาดนิ และบริหาร
จัดการน้ำ
- การพฒั นาตามยุทธศาสตร์ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื จะสง่ ผลตอ่ ประชาชน
ในประเด็นของการพัฒนาตนเองและสังคมให้พร้อมต่อการเกษตรท่ี
เป้าหมายด้านความมั่นคงทางอาหาร การสร้างโอกาสของวิสาหกิจขนาด
ย่อม ทั้งนี้จะต้องควบคู่กับการมีสังคมท่ีเข้มแข็งในกรอบของวฒั นธรรมและ
ปรัชญาท้องถน่ิ และกรอบทรพั ยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ ม
2 ยุทธศาสตร์กลุ่มจงั หวดั ภาค เนื่องด้วยกลุ่มจังหวัดมีศักยภาพทั้งด้านการค้าและและการท่องเที่ยวและมี - เกิดความร่วมมือด้านการค้า การลงทุน การท่องเที่ยวและการเกษตร
ตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน 1 ศักยภาพทางด้านกายภาพจึงมุ่งเน้นเป็นศูนย์กลางการลงทุนด้านการค้า ระหว่างกลุ่มจังหวัด อุดรธานีหนองคาย เลย หนองบัวลําภู และบึงกาฬ
(อุดรธานหี นองคาย เลย เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การบริการ การท่องเที่ยวของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำ และเพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง็ ขันในตลาดสากล
หนองบัวลาํ ภู และบึงกาฬ) โขงและประชาคมอาเซียน พัฒนาศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันด้านการลงทุนอุตสาหกรรมการค้าและบริการ
สง่ เสริมและพฒั นาสนิ ค้าเกษตรใหไ้ ดม้ าตรฐานอยา่ งครบวงจร
3 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และ ทางจังหวัดมุ่งเน้นให้เป็นเมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยวและลงทุน - นำไปเปน็ แนวทางในการวางผังพ้ืนทีเ่ ฉพาะชมุ ชนชายแดนบ้านเหมืองแพร่
โครงการพฒั นาระดับจงั หวดั ภายใต้การพัฒนาที่ยั่งยืน ส่งเสริมทางด้านเศรษฐกิจพอเพียงพัฒนาด้าน ในประเด็นการเป็นเมืองน่าอยู่ การส่งเสริมเศรษฐกิจการค้าชายแดน
(1) แผนพฒั นาจังหวดั เลย การท่องเที่ยวและการบริการให้ได้มาตรฐานสงเสริมสินค้าการเกษตรให้ สง่ เสริมการเกษตรและการท่องเทีย่ วในพื้นท่ี
พ.ศ. 2561 –2564
ให้มคี ุณภาพไดม้ าตรฐาน และสง่ เสริมการค้าชายแดน
ที่มา: โดยบริษทั ที่ปรึกษา,พ.ศ. 2560
รายงานการศกึ ษาฉบับสุดทา้ ย (Final Report) 2 - 33
บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายท่ีสง่ ผลตอ่ การพฒั นาพน้ื ท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พนื้ ที่เฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2.4 ความมนั่ คงระหวา่ งประเทศ
2.4.1 การบริหารจัดการชายแดน
การจัดระบบการบริหารจัดการชายแดน เป็นไปตามกรอบของการจัดระบบการบริหารจัดการ
ชายแดนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาข้ามพรมแดน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ
(พ.ศ. 2558 - 2564) มนี โยบาย ดังนี้
1. นโยบายความมนั่ คงแห่งชาติ (พ.ศ.2558-2564)
ส่วนท่ี 1 นโยบายเสริมสร้างความมั่นคงท่ีเปน็ แกน่ หลักของชาติ
1) เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
2) สรา้ งความเป็นธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันทใ์ นชาติ
3) ปอ้ งกนั และแกไ้ ขการก่อความไมส่ งบในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
สว่ นที่ 2 นโยบายความมั่นคงแหง่ ชาตทิ วั่ ไป
1) จดั ระบบการบริหารจัดการชายแดนเพอ่ื ป้องกันและแกไ้ ขปญั หาขา้ มพรมแดน
2) สร้างเสริมศกั ยภาพการปอ้ งกันและแกไ้ ขปัญหาภัยคกุ คามข้ามชาติ
3) ปกป้อง รกั ษาผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล
4) จัดระบบ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาผูห้ ลบหนเี ขา้ เมือง
5) เสริมสร้างความเขม้ แข็งและภมู คิ ้มุ กันความมนั่ คงภายใน
6) เสรมิ สรา้ งความมน่ั คงของชาตจิ ากภยั การทจุ รติ คอรร์ ัปชัน
7) เสริมสรา้ งความมน่ั คงของทางเทคโนโลยีสารสนเทศและไซเบอร์
8) รกั ษาความมน่ั คงของฐานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
9) เสรมิ สร้างความมนั่ คงทางพลงั งานและอาหาร
10) พัฒนาระบบการเตรยี มพร้อมแห่งชาติเพ่ือเสรมิ สรา้ งความมน่ั คงของชาติ
11) เสรมิ สร้างและพฒั นาศักยภาพการปอ้ งกนั ประเทศ
12) พัฒนาระบบงานข่าวกรองใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
13) เสริมสร้างดลุ ยภาพในการดเนนิ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2.4.2 สรุปประเด็นที่สง่ ผลตอ่ พนื้ ทโ่ี ครงการ
นโยบายที่ 4 การจัดระบบการบริหารจัดการชายแดนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาข้ามพรมแดน
อยู่ในนโยบายหลกั สว่ นที่ 2 นโยบายความมน่ั คงแหง่ ชาตทิ ว่ั ไป โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์การจดั ระบบการบริหารจำแนก
เป็น 4 ประเด็นหลกั คอื
1. วตั ถปุ ระสงค์การจดั ระบบการบริหาร
1) เสริมสร้างความเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง กระชับความร่วมมือ
กับประเทศเพื่อนบ้านในการแก้ปัญหาข้ามพรมแดน อาทิการลักลอบเข้าเมือง ปัญหาแรงงานข้ามชาติ
การก่อการร้าย การค้าสิ่งของผิดกฎหมายการค้ามนุษย์ โรคระบาด และโรคติดต่อร้ายแรง รวมถึงร่วมมือ
กับประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนา และเสริมสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในพื้นท่ีชายแดน โดยเฉพาะ
การไม่นำประเด็นเส้นเขตแดนมาเป็นอุปสรรคในการพัฒนาและเสริมสร้างความเจริญเติบโตร่วมกันบนพื้นฐาน
การรักษาสมดลุ ระหว่างผลประโยชน์ทางเศรษฐกจิ กบั การรักษาความมัน่ คงของชาติ
รายงานการศึกษาฉบบั สุดทา้ ย (Final Report)
2 - 34 บทท่ี 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายทสี่ ่งผลต่อการพัฒนาพื้นท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพนื้ ทเี่ ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2) ปรับปรุงกลไก และพัฒนาศักยภาพการตรวจคนเข้าเมือง การติดตาม ตรวจสอบ
การเข้า - เอก การขออยู่ต่อในประเทศไทยและพัฒนาระบบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ประสานร่วมมือและแลกเปลี่ยน
ข้อมูลกับประเทศเพ่อื นบา้ นอย่างใกล้ชิด
3) ส่งเสริมการใช้มิติทางสังคมและวัฒนธรรม ในการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดี
ทุกระดับกับประเทศเพอ่ื นบ้าน และพฒั นาความเขม้ แข็งของคน ชุมชน และพืน้ ท่ชี ายแดนรว่ มกนั
4) จัดระเบยี บการพัฒนาพ้ืนท่ีชายแดนใหม้ ีศกั ยภาพทางดา้ นเศรษฐกิจ และการเปน็ ประตู
เชื่อมโยงการค้า ที่มีความสมดุลทั้งในมิติเศรษฐกิจและสังคมกับมิติความมั่นคง และร่วมมือกับประเทศเพื่อน
บา้ นในการบรหิ ารจัดการชายแดน การพฒั นาดา่ นชายแดน และการพัฒนาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ
2.4.3 สถานการณ์การด้านความมน่ั คงระหว่างประเทศ
ประเทศไทย และ สปป.ลาว มีหลายกลไกเพอื่ ส่งเสรมิ ความร่วมมือด้านการปกครองและความมนั่ คง
กลไกที่ดูแลภาพรวมความสัมพันธ์ทั้งหมด ได้แก่ คณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือไทย - ลาว (Joint
Commission : JC) ซึ่งมีรฐั มนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของทั้งสองฝา่ ยเปน็ ประธานร่วม ประเด็นหารือ
ในกรอบความร่วมมือนี้ครอบคลุมทุกมิติ เช่น การรักษาความสงบเรียบร้อยบริเวณชายแดน การเปิดจุดผ่านแดน
การเชื่อมโยงเส้นทาง คมนาคม แรงงาน เป็นต้น ความร่วมมือทางการเมืองและความมั่นคง มีกลไกในแต่ละ
สาขา ดงั น้ี
1. การสำรวจและจดั ทำหลักเขตแดน
ไทยและสปป.ลาว มีพรมแดนต่อกันทั้งทางบกและทางน้ำ(แม่น้ำโขงและแม่น้ำเหือง)
มีคณะกรรมาธิการเขตแดนร่วม (Joint Boundary Commission : JBC) ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
การต่างประเทศ ของทั้งฝ่ายเป็นประธานร่วม เป็นกลไกในการสำรวจและจัดทำหลักเขตแดน ปัจจุบันได้จัดทำ
หลกั เขตแดนทางบก เสร็จแลว้ มากกวา่ ร้อยละ 95
2. การรักษาความสงบเรียบร้อยบรเิ วณชายแดน
ตลอดแนวชายแดนกว่า 1,810 กิโลเมตร มีการรักษาความสงบเรียบร้อยบริเวณชายแดน
เพื่อให้ประชาชนของทั้งสองฝ่ายดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุขจึงเป็นเรื่องสำคัญ หน่วยงานความมั่นคงที่มีบทบาท
สำคัญใน เรื่องนี้ คือ กระทรวงกลาโหมและกระทรวงมหาดไทย กลไกความร่วมมือระหว่างกระทรวงกลาโหม
และกระทรวงป้องกนั ประเทศ สปป.ลาว ไดแ้ ก่ คณะกรรมการร่วมมือรักษาความสงบเรียบร้อยตามชายแดนท่ัวไป
ไทย - ลาว (General Border Committee : GBC) จัดตั้งเมื่อปี 2533 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
และรฐั มนตรีว่าการกระทรวงป้องกนั ประเทศ สปป.ลาว เป็นประธานรว่ มจดั ประชุมครง้ั แรกเม่อื ปี 2534
ในปี 2536 คณะกรรมการร่วมมือรักษาความสงบเรียบร้อยฯ (GBC) ได้ตั้งคณะอนุกรรมการ
รว่ มมอื รักษา ความสงบเรียบร้อยตามชายแดนทั่วไปไทย - ลาว (อนุ GBC) กำหนดประชุมปีละ 2 ครงั้ เพ่ือติดตาม
การปฏิบัติงาน ภายในกรอบนโยบาย GBC และเสนอผลการดำเนินงานและข้อพจิ ารณาในประเดน็ ท่เี กี่ยวขอ้ ง เช่น
ปัญหาคนเขา้ เมืองผิดกฎหมาย ความรว่ มมอื ระหวา่ งกองทพั ความร่วมมอื ในการรกั ษาเสน้ เขตแดน เปน็ ตน้
ในระดับท้องถิ่น จังหวัดและแขวงชายแดนไทย-ลาว มีการประชุมประสานงานของ
คณะกรรมการร่วมมอื รักษาความสงบเรียบร้อยตามชายแดนทัว่ ไปไทย - ลาว ระดบั จงั หวดั - แขวง มผี วู้ ่าราชการ
จงั หวดั กบั เจา้ แขวงเปน็ ประธานร่วม โดยมงุ่ หวงั ให้สามารถแกไ้ ขปัญหาที่อาจเกดิ ขน้ึ ให้ยุติในระดับทอ้ งถ่นิ
ในส่วนของกระทรวงมหาดไทยและกระทรวงป้องกันความสงบ สปป. ลาว กลไกประสานงาน
ระดับสูงสุดคือการประชุมคณะผู้ว่าราชการจังหวัด - เจ้าแขวงชายแดนไทย - ลาว มีรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงป้องกนั ความสงบ สปป.ลาว เปน็ ประธานรว่ ม จงั หวดั ทมี่ ชี ายแดน
ติด สปป.ลาว มี 12 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย พะเยา น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก เลย หนองคาย บึงกาฬ นครพนม
มกุ ดาหาร อำนาจเจริญ อุบลราชธานี
รายงานการศกึ ษาฉบบั สุดทา้ ย (Final Report) 2 - 35
บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายทส่ี ่งผลตอ่ การพฒั นาพ้นื ที่
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพน้ื ท่ีเฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
ฝั่งลาวมี 9 แขวงที่ติดชายแดนไทย ได้แก่ บ่อแก้ว ไซยบุรี เวียงจันทน์ นครหลวงเวียงจันทน์
บอลิคำไซ คำม่วน สะหวันนะเขต สาละวัน และจำปาสัก (แขวงเวียงจันทน์เป็นเขตการปกครองต่างหากจาก
นครหลวงเวียงจันทน์ ซึ่งเป็นเมืองหลวง) ประเด็นสำคัญที่หารือกัน ได้แก่ การเปิดจุดผ่านแดน การอำนวยความ
สะดวกในการขา้ มแดน และการรักษาความสงบเรยี บรอ้ ยบรเิ วณชายแดน
3. การดำเนนิ กิจกรรมในแม่น้ำโขงและแม่น้ำเหือง
แม่น้ำโขงและแม่น้ำเหือง เป็นแม่น้ำที่เป็นเขตแดนระหว่างประเทศ ในอดีตเคยมีปัญหาการ
ลักลอบดูดทรายและปัญหาตลิ่งถูกกัดเซาะ ทั้งสองฝ่ายจึงได้ตั้งคณะกรรมการร่วมไทย-ลาว เพื่อดูแลการดำเนิน
กิจกรรมต่าง ๆ ตามแม่น้ำโขงและแม่น้ำเหือง (Joint Committee for Management on Mekong River and
Heung River : JCMH) เป็นกลไกปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา มปี ลดั กระทรวงมหาดไทยเป็นประธานฝา่ ยไทย
4. ความร่วมมือดา้ นการป้องกนั และปราบปรามยาเสพติด
สำนักงาน ป.ป.ส. และสำนกั งานคณะกรรมการแห่งชาตลิ าวเพ่อื ควบคมุ และตรวจตรายาเสพติด
มีการประชุมหารืออย่างสม่ำเสมอเพื่อร่วมกันแก้ปัญหายาเสพติด ทั้งในด้านการปราบปรามและด้านการ
บำบดั รักษาและฟน้ื ฟสู มรรถภาพผู้ตดิ ยาเสพตดิ ความร่วมมือที่เป็นรปู ธรรม เช่น
• การตั้งสำนักงานประสานงานปราบปรามยาเสพติดชายแดน (Border Liaison Office)
9 แห่ง
• ไทยสนับสนุนการก่อสร้างและด้านวิชาการแก่ศูนย์บำบัดรักษาและฟืน้ ฟูสมรรถภาพผ้ตู ิดยา
เสพติดที่ แขวงจำปาสกั
• การใหท้ นุ ฝึกอบรมแก่บุคลากรลาว
• การแลกเปล่ยี นขา่ วสารเพ่ือจับกุมเครือข่ายค้ายาเสพติด
• สถาบันวิจยั และพัฒนาพื้นท่ีสงู (องค์การมหาชน) และกระทรวงการต่างประเทศมีโครงการ
นำองค์ความรู้ ด้านการปลูกพืชทดแทนพืชเสพติดของมูลนิธิโครงการหลวงและการพัฒนาการเกษตรบนพื้นที่สูง
อย่าง ยั่งยืนไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตของประชาชนภายหลังเลิกปลูกฝิ่นใน สปป.ลาว
พื้นที่นำร่อง คือ บ้านนาห้วยอุ่น และบ้านนาแสนคำ เมืองไซ แขวงอุดมไซ โดยเกษตรกรสนใจปลูก มะม่วง
พลมั พชี องุ่น เสาวรส เลี้ยงสกุ ร และการผลิตปุ๋ยชวี ภาพ
นอกจากนี้ ความรว่ มมอื ในระดับทวิภาคี ไทยและ สปป.ลาว ต่างเปน็ สมาชกิ กรอบความร่วมมือ
7 ฝ่ายว่าด้วย ความร่วมมือในการควบคุมยาเสพติด ซึ่งประกอบด้วย ไทย สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม พม่า จนี
และสำนักงานยาเสพตดิ และอาชญากรรมแหง่ สหประชาชาติ (UNODC)
5 หนว่ ยงานที่มีหน้าทรี่ ับผิดชอบความมัน่ คงบรเิ วณพ้นื ที่ศกึ ษา
หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบรักษาความมั่นคงและความเรียบร้อยบริเวณพื้นวางผัง
โดยสำนักงานศูนย์อำนวยการประสานงานเพื่อความมั่นคงพื้นที่อําเภอนาแห้ว ตั้งอยู่ที่ บ้านนาท่อน ตำบลนาพงึ
ซงึ่ ขน้ึ ตรงกับกรมทหารราบที่ 8 ค่ายสหี ราชเดโชชัย จ.ขอนแก่น
รายงานการศกึ ษาฉบับสุดท้าย (Final Report)
2 - 36 บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทสี่ ง่ ผลต่อการพัฒนาพ้นื ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพ้ืนที่เฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง กระทรวงมหาดไทย
2.5 จุดผา่ นแดนและการเช่ือมโยงกบั พืน้ ท่ีใกล้เคียง
2.5.1 ภาพรวม บทบาท สถานะ ที่ต้งั ของจดุ ผ่านแดนบา้ นเหมืองแพร่
1. การเช่ือมโยงระดับภูมิภาค
กรอบความร่วมมือ GMS (Greater Mekong Subregion) หรืออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
6 ประเทศ ประกอบไปด้วย ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีนตอนใต้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 โดยครอบคลุม
เนอ้ื ท่ี 2.34 ลา้ นตารางกิโลเมตร มปี ระชากรรวม 257.5 ลา้ นคน
GMS Economic Corridors หรือ ระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง มีวัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมการขยายตัวด้านอุตสาหกรรม การเกษตร การค้า การลงทุนและบริการ เพื่อให้เกิดการจ้างงาน ,
ยกระดับการครองชีพ, การถ่ายทอดเทคโนโลยีและการศึกษาระหว่างกัน, การใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่สง่ เสริมกัน
อย่างมีประสิทธิภาพ และช่วยเพิ่มขีดความสามารถและโอกาสการแข่งขันในเวทีการค้าโลก ผ่านกลยุทธ์หลัก
3 ด้าน คือสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยงระหว่างกัน (Connectivity) เพื่อให้เกิดการเพิ่มขีดความสามารถใน
การแข่งขัน (Competitiveness) โดยการรวมกลุ่มกันในอนุภูมิภาค (Community) โครงการได้รับเงินอุดหนุน
จากธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย หรือ ADB (Asian Development Bank) ในการพัฒนาสาธารณูปโภค
ขั้นพื้นฐานหลายแขนง โดยเน้นความร่วมมือ 9 สาขา ได้แก่ คมนาคมขนส่ง โทรคมนาคม พลังงาน การค้า
การลงทุน เกษตร สิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ปัจจุบันแผนงานที่เป็น
เป้าหมายสำคญั (Flagship Programs) ประกอบด้วย 11 แผนงาน ได้แก่
1) แผนงานพัฒนาแนวพื้นทเ่ี ศรษฐกจิ เหนอื -ใต้ (North-South Economic Corridor)
2) แผนงานพัฒนาแนวพนื้ ที่เศรษฐกิจตะวนั ออก-ตะวนั ตก (East-West Economic Corridor)
3) แผนงานพัฒนาแนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกจิ ตอนใต้ (Southern Economic Corridor)
4) แผนงานพฒั นาเครือขา่ ยโทรคมนาคม (Telecommunications Backbone)
5) แผนงานซื้อขายไฟฟ้าและการเชื่อมโยงเครือข่ายสายส่งไฟฟ้า(Regional Power
Interconnection and Trading Arrangements)
6) แผนงานการอำนวยความสะดวกการค้าและการลงทุนข้ามพรมแดน (Facilitating Cross-
Border Trade and Investment)
7) แผนงานเสริมสรา้ งการมีสว่ นร่วมและความสามารถในการแขง่ ขันของภาคเอกชน
(Enhancing Private Sector Participation and Competitiveness)
8) แผนงานพฒั นาทรพั ยากรมนุษยแ์ ละทักษะความชำนาญ (Developing Human
Resources and Skills Competencies)
9) กรอบยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ ม (Strategic Environment Framework)
10) แผนงานการปอ้ งกนั นำ้ ทว่ มและการจัดการทรพั ยากรนำ้ (Flood Control and Water
Resource Management)
11) แผนงานการพัฒนาการท่องเท่ยี ว (GMS Tourism Development) (รูปท่ี 2.5.1-1)
รายงานการศกึ ษาฉบบั สุดท้าย (Final Report) 2 - 37
บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทีส่ ่งผลต่อการพัฒนาพื้นที่
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พน้ื ทีเ่ ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธิการและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
แผนที่ 2.5.1-1 แสดงการเชื่อมโยงดา้ นคมนาคมและแนวระเบยี งเศรษฐกจิ
ท่มี า : กระทรวงคมนาคม.,พ.ศ. 2557
รายงานการศกึ ษาฉบบั สุดทา้ ย (Final Report)
2 - 38 บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทสี่ ง่ ผลต่อการพฒั นาพื้นท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พน้ื ที่เฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง กระทรวงมหาดไทย
2. จดุ ผ่านแดนและจดุ ผอ่ นปรนในจังหวัดเลย
จังหวัดเลยมีจุดผ่านแดนและจุดผ่อนปรนหลายจุดซึ่งติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว (สปป.ลาว) โดยการเดินทางเชื่อมโยงเกือบทั้งหมดใช้เรือข้ามแม่น้ำโขง ยกเว้นจุดผ่านแดนถาวร
สะพานมิตรภาพข้ามแม่น้ำเหืองทำใหป้ ริมาณผู้ผา่ นแดนและสินค้าผา่ นแดนทบ่ี รเิ วณดงั กล่าวมีมากกวา่ จดุ ผา่ นแดน
อ่ืน ๆ สำหรบั เสน้ ทางในเขต สปป.ลาว สว่ นใหญก่ ็ไมส่ ามารถเช่ือมตอ่ ในแนวทิศเหนอื -ทิศใต้ได้ เพราะลกั ษณะภูมิ
ประเทศเป็นภูเขาสูง ต้องเดินทางขนานตามแนวแม่น้ำโขงเพื่อไปยังบริเวณเมืองเวียงจันทร์หรืออำเภอท่าลี่
จงึ จะมีแนวถนนในแนวทิศเหนือ-ทิศใต้ทเ่ี ชื่อมโยงไปเส้นทางเศรษฐกจิ ระดับภมู ิภาคต่อไปได้ สำหรบั ดา่ นพรมแดน
และจดุ ผอ่ นปรนต่าง ๆ ในจังหวดั เลย มีดังนี้
- จุดผ่อนปรนบ้านเหมืองแพร่ ใช้ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 2113 ซึ่งแยกมาจากทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข 21 ผ่านอำเภอด่านซ้าย ปัจจุบันการเดินทางระหว่างสองประเทศใช้การเดินข้ามลำน้ำเหือง
หรือใช้เรือหรือแพไม้ในกรณีที่น้ำมีความสูงมากขึ้น กิจกรรมการค้าเน้นตลาดการค้าที่ตลาดการค้าชายแดน
บ้านเหมืองแพร่ซึ่งจะมีเฉพาะวันพระเท่านั้น การค้าเกือบทั้งหมดเป็นการขายผลิตภัณฑ์จากประเทศไทย
และลกู ค้าสว่ นใหญ่เป็นชาวลาวท่ีเดินทางจากชมุ ชนขนาดเลก็ บริเวณใกล้ ๆ จุดผ่านแดนรัศมี 2 กิโลเมตรในเขต
เมืองบ่อแตนของ สปป.ลาว มูลค่าทางการค้าชายแดนระหวา่ ง 2 ประเทศเปน็ มลู คา่ ระดบั ท้องถ่นิ เทา่ น้นั
- จุดผ่อนปรนบ้านนาข่า ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2114 ซึ่งแยกมาจากทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข 21 ผ่านอำเภอด่านซ้าย ปัจจุบันการเดินทางระหว่างสองประเทศใช้การเดินข้ามลำน้ำเหือง
หรือใช้เรือหรือแพไม้ในกรณีที่น้ำมีความสูงมากขึ้น กิจกรรมการค้าเน้นตลาดการค้าที่ตลาดการค้าชายแดน
บ้านนาข่าซึ่งจะมีเฉพาะทุกวันพฤหัส การค้าเกือบทั้งหมดเป็นการขายผลิตภัณฑ์จากประเทศไทยและลูกค้า
ส่วนใหญ่เป็นชาวลาวที่เดินทางค่อนข้างสะดวกโดยมีเส้นทางที่เชื่อมโยงจากจุดผ่อนปรนตรงขึ้นไปทางทิศเหนือ
ถึงศูนย์กลางเมืองบอ่ แตน ด้วยเหตุนี้จึงทำให้มีปรมิ าณการค้ามากกว่าจุดผ่อนปรนอื่น ๆ บริเวณใกล้เคียง อย่างไร
ก็ตามมลู คา่ การคา้ ชายแดนระหวา่ ง 2 ประเทศเปน็ มูลค่าระดบั ท้องถิน่ เทา่ น้ัน
- จุดผ่อนปรนบ้านฮาฮี ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2099 และ 2399 ซึ่งแยกมาจาก
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 ผ่านอำเภอท่าลี่ เข้าสู่ชุมชนบ้านอาฮีซึ่งเป็นกลุ่มชุมชนขนาดใหญ่ฝั่งประเทศไทย
อย่างไรก็ตามบริเวณฝั่ง สปป.ลาว ไม่มีชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานติดต่อกัน มีเพียงชุมชนขนาดเล็กบริเวณใกล้เคียง
ซึ่งใช้เส้นทางขนานลำน้ำเหืองฝั่ง สปป.ลาว เป็นเส้นทางสายหลักเชื่อมโยงไปยังบริเวณจุดผ่านแดนถาวรสะพาน
มิตรภาพขา้ มแมน่ ำ้ เหอื งเท่าน้ัน ดว้ ยลกั ษณะดงั กลา่ วจึงมีปริมาณการค้าชายแดนเพียงเลก็ น้อยเท่าน้ัน
- ด่านพรมแดนบ้านนากระเซ็ง ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2115 และ 2195 ที่แยกมา
จากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201 ซึ่งมาจากจังหวัดเลยผ่านอำเภอท่าลี่ ปัจจุบันการเดินทางระหว่าง
สองประเทศใช้การเดินข้ามลำน้ำเหืองหรือใช้เรือกรณีที่น้ำมีความสูงมากขึ้น ชุมชนบ้านนากระเซ็งเป็นบริเวณ
ตลาดการค้าเดิมก่อนที่จะมีสะพานมิตรภาพข้ามแม่น้ำเหือง ฝั่ง สปป.ลาว เป็นเมืองแก่นท้าวและมีเส้นทางเชื่อม
ไปยังเมืองบ่อแตนทางทิศตะวันตก อย่างไรก็ตามกิจกรรมการค้าจะเน้นการบริการชุมชนโดยมีตลาดการค้า
ชายแดนบ้านนากระเซง็ เฉพาะวันพระเท่านั้น ทั้งนี้เนื่องจากการขนส่งสินค้าอุปโภค-บรโิ ภคซึ่งมีมูลคา่ มากจะเนน้
การผา่ นแดนที่จดุ ผา่ นแดนถาวรสะพานมิตรภาพข้ามแม่น้ำเหอื งซึง่ อยู่บรเิ วณใกลเ้ คียงเป็นหลกั
- จุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพข้ามแม่น้ำเหือง อำเภอท่าลี่ เป็นด่านที่มีสะพานข้าม
แม่น้ำเหืองสามารถเชื่อมต่อการเดินทางจากบริเวณบ้านแก่นท้าวของ สปป.ลาว ตรงขึ้นไปทางทิศเหนือ
ตามทางหลวงหมายเลข 4 ถึงยังแขวงไชยบุรีและแขวงหลวงพระบางซึ่งเป็นเมืองที่อยู่อาศัยขนาดใหญ่ทางตอน
เหนือของ สปป.ลาว กิจกรรมทางการค้าระหวา่ งประเทศประกอบด้วยกิจกรรมการขนสง่ สนิ ค้าตา่ ง ๆ ได้แก่ วัสดุ
อุปกรณ์การก่อสร้าง สินค้าประเภทพลังงาน สินค้าประเภทไม้ สินค้าอุปโภค-บริโภคต่าง ๆ กิจกรรมทาง
การท่องเที่ยวของประชาชนระหว่าง 2 ประเทศ นอกจากนี้เส้นทางนี้ถูกใช้เป็นเส้นทางสายหลักของชาวลาว
จากแขวงไชยะบุรีทีเ่ ดินทางเข้าจับจ่ายซื้อของอุปโภค-บริโภค ณ ชุมชนเมืองเลย รวมถึงการใช้บริการสาธารณสขุ
รายงานการศกึ ษาฉบบั สุดทา้ ย (Final Report) 2 - 39
บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายทสี่ ง่ ผลต่อการพฒั นาพน้ื ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพ้นื ทเ่ี ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
และการรกั ษาพยาบาลของโรงพยาบาลในฝ่ังประเทศไทยซ่ึงมีความพร้อมทางการรกั ษามากกว่า ดว้ ยเหตนุ ีเ้ สน้ ทาง
จุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพข้ามแม่น้ำเหือง อำเภอท่าลี่ ในปัจจุบันจึงเป็นด่านที่มีปริมาณและมูลค่า
การขนส่งสินค้าผ่านมากที่สุดโดยมีบทบาทเป็นเส้นทางเศรษฐกิจหลักระหว่าง 2 ประเทศ อย่างไรก็ตาม
การผลักดันเส้นทางนี้สู่การเป็นเส้นทางเศรษฐกิจตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeastern Economic Corridor)
ซึ่งจะเชื่อมโยงประเทศไทย สปป.ลาว และเวียดนาม ยังไม่อยู่ในสภาวะที่ถูกผลักดันจากกลุ่มประเทศอาเซียน
ทชี่ ัดเจนมากขึ้นจากระดับแนวคดิ ทีไ่ ดเ้ ตรียมไว้
- จุดผ่อนปรนบ้านหนองผือ ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2115 ซึ่งแยกมาจากทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข 201 ผ่านอำเภอท่าล่ี เข้ามาในเขตขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองผือ ปัจจุบันการเดินทาง
ระหว่างสองประเทศใช้เรือข้ามฝั่งโดยจะสามารถใช้เส้นทางนี้ได้เฉพาะวันอังคารและวันพฤหัสบดีเท่าน้ัน
กิจกรรมทางการค้าเป็นการเดินทางจากฝั่ง สปป.ลาวเข้ามาซื้อเครื่องอุปโภค-บริโภค ที่ฝั่งประเทศไทยเป็นหลัก
อย่างไรก็ตาม เมื่อจุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพข้ามแม่น้ำเหือง อำเภอท่าลี่ ที่อยู่บริเวณใกล้เคียงเปิดใช้
ทำให้ปริมาณการเดินทางและการซื้อขายสินค้าลดลง คงเหลือเพียงการเชื่อมโยงกันในระดับชุมชนชายแดน
ระหว่างประเทศเท่าน้ัน สำหรับเส้นทางที่เชื่อมต่อเข้าถึงบริเวณจุดผอ่ นปรน อยู่ในเขตบ้านแก่นท้าว คือ เส้นทาง
หลวงหมายเลข 4 ในเขต สปป.ลาว โดยเป็นเส้นทางเดียวกับเส้นทางจากจุดผ่านแดนถาวรสะพานมิตรภาพ
เช่อื มโยงไปยงั แขวงไชยะบรุ แี ละแขวงหลวงพระบางเชน่ เดยี วกนั
- จุดผ่านแดนถาวรด่านบ้านเชียงคาน ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 211 ที่ต่อมาเป็น
เส้นเดียวกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201 ซึ่งมาจากเมืองเลย เข้าสู่อำเภอเชียงคาน ชุมชนที่ตั้งอยู่ตรงข้าม
กับเมืองชะนะคาม แขวงเวียงจันทน์ การเดินทางข้ามลำน้ำโขงด้วยเรือข้ามแม่น้ำโขง โดยสินค้าที่มีการซื้อขาย
ส่งออกส่วนใหญ่เป็นสินค้าจำพวกยานพาหนะและส่วนประกอบ สินค้าอุปโภค และสินค้าจำเข้าได้แก่ ไม้
ไม้แปรรูป และสินค้าแร่จากฝั่งลาว จากบริเวณด่านในแขวงเวียงจันทน์ โดยเส้นทาง ไม่สามารถเชื่อมต่อ
ในแนวทิศเหนือ-ทิศใต้ได้ ทำให้มีการเดินทางและขนส่งสินค้าผ่านแดนมีจำนวนไม่มากนัก กรณีขนส่งสินค้าจะใช้
ท่ีจุดผา่ นแดนถาวรสะพานมติ รภาพขา้ มแมน่ ำ้ เหือง อำเภอทา่ ล่ี หรอื เดนิ ทางไปทีเ่ วียงจนั ทนเ์ ป็นหลกั
- จุดผ่านแดนถาวรด่านบ้านคกไผ่ ใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 211 ที่ต่อมาเป็น
เส้นเดียวกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201 ซึ่งมาจากเมืองเลย เดินทางเลียบริมแม่น้ำโขงเข้ามาในเขต
ตำบลปากชม ชมุ ชนท่ตี ง้ั อยตู่ รงข้ามกับบา้ นวัง เมืองสานะคาม การค้าสว่ นใหญ่จะเปน็ สินคา้ จำพวก สินค้าอุปโภค
บริโภค ส่วนสินค้าที่นำเข้าส่วนใหญ่จะเป็นไม้แปรรูป แร่แบไรท์ และของป่าจากฝั่งลาว ซึ่งในฤดูฝนจะมีน้ำหลาก
การขนส่งสินค้าจะใช้เรือบั๊ค (แพยนต์) ในการลำเลียงขนส่งสินค้าข้ามแม่น้ำโขงของท้ังสองฝัง่ เส้นทางที่เชื่อมโยง
จากบ้านวังสามารถเชื่อมตอ่ ไปยังเมอื งหลวง เวียงจนั ทน์ ของ สปป.ลาว โดยเปน็ ถนนลูกรังและถนนยางระยะทาง
ประมาณ 160 กโิ ลเมตร ดงั นนั้ กจิ กรรมทางการค้าจงึ เปน็ การขนสง่ ระดบั ชุมชนเท่านัน้ (แผนท่ี 2.5.1-2)
รายงานการศกึ ษาฉบบั สุดทา้ ย (Final Report)
2 - 40 บทท่ี 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายที่สง่ ผลต่อการพัฒนาพน้ื ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พ้ืนที่เฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
แผนท่ี 2.5.1-2 แสดงที่ตง้ั ดา่ นชายแดนของพ้นื ที่จงั หวดั เลย
รายงานการศกึ ษาฉบับสดุ ทา้ ย (Final Report) 2 - 41
บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายที่ส่งผลตอ่ การพัฒนาพืน้ ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพน้ื ทเ่ี ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2.5.2 ความเช่ือมโยงกับประเทศเพื่อนบา้ น
เส้นทางเศรษฐกิจ Northeastern Economic Corridor ถือเป็นเส้นทางเศรษฐกิจที่สำคัญเส้นทาง
หนึ่งที่เชื่อมโยงกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยผ่านจังหวัดเลยของประเทศไทยเข้าสู่แขวงเวียงจันทน์
แขวงไชยบุรี และแขวงหลวงพระบาง ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) และด้วยเหตุว่า
เส้นทางนี้สามารถเชื่อมต่อไปยังประเทศเวียดนามและประเทศจีนได้จึงเป็นเส้นทางเศรษฐกิจ ที่กลุ่มประเทศ
อาเซยี นให้ความสำคัญในลำดับตน้
ปัจจุบัน เส้นทางนี้มีบทบาทเป็นเส้นทางขนส่งสินค้า การเดินทางของภาคธุรกิจ และการเดินทาง
ของนักท่องเที่ยวท่องเที่ยวทั้งชาวไทย ชาวลาว ชาวจีน ตลอดจนนักท่องเที่ยวกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นหลัก
จากการศึกษาและสำรวจพบว่าเส้นทางการค้าและการเชื่อมโยงระหว่างประเทศไทยกับ สปป.ลาว สายนี้สร้าง
มูลค่าทางเศรษฐกิจท่ีหลากหลาย ในบริบทต่อไปนี้
- การขนส่งสินค้าเคร่อื งอปุ โภค-บริโภค ระหว่างประเทศ
- การขนส่งสินค้าอุตสาหกรรมเพื่อกิจการสาธารณูปโภคและการทำเขื่อนขนาดใหญ่เพื่อผลิต
กระแสไฟฟ้าใน สปป.ลาว เป็นเสน้ ทางขนส่งเหลก็ และอุปกรณก์ อ่ สรา้ งต่าง ๆ สู่แขวงไชยบรุ ี
- การท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงระหว่างพื้นที่ท่องเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยกับ
เมอื งหลวงพระบาง ใน สปป.ลาว
สำหรับพื้นที่วางผังบริเวณบ้านเหมืองแพร่ ตำบลนาแห้ว ถือได้ว่ายังไม่ได้รับอิทธิพลทางการค้า
ระหว่างประเทศจากเส้นทางเศรษฐกิจ (Northeastern Economic Corridor) ดังกล่าว กิจกรรมเศรษฐกิจ
การเกษตรกรรม การค้าพาณิชย์ และการท่องเที่ยวซึ่งถือเป็นรายได้หลักของชุมชนบ้านนาแห้วและชุมชนบ้าน
เหมืองแพร่ เกดิ ข้ึนบนเส้นทางทเี่ ชอ่ื มโยงระหวา่ งพ้ืนที่วางผังกับศนู ย์กลางอำเภอเมอื งเลยเป็นหลกั
อย่างไรก็ตาม ด้วยความเชื่อมโยงทางวัฒนธรรมของกลุ่มพื้นที่ชุมชนชายแดนทั้งในประเทศไทย
และสปป.ลาว ถือได้ว่ามีความสัมพันธ์เข้มแข็ง โดยในแต่ละปีชุมชนบ่อแตนใน สปป.ลาว ชุมชนบ้านเหมืองแพร่
และชมุ ชนบ้านแสงภาของประเทศไทยจะมกี ิจกรรมประเพณี งานบญุ และกิจกรรมประจำปรี ่วมกันโดยมกี ารเวียน
จัดกิจกรรมกันไปแต่ละชุมชนในแต่ละปี ทั้งนี้รวมถึงงานบุญต่าง ๆ ที่อำเภอด่านซ้ายซึ่งถือเป็นงานประเพณีร่วม
วัฒนธรรมของชาวไทยและชาวลาวเป็นกิจวัตร ด้วยกิจกรรมทางวัฒนธรรมดังกล่าวรวมถึงกิจกรรมเศรษฐกิจ
การค้าพืชผลการเกษตร จึงทำให้มีเส้นทางเชื่อมโยงชุมชนต่าง ๆ ทั้งในอำเภอด่านซ้าย อำเภอนาแห้ว และเมือง
บอ่ แตน ผ่านจดุ ผ่อนปรน จดุ ผา่ นแดนตา่ ง ๆ ตามแนวชายแดนโดยตลอด (แผนที่ 2.5.2-1)
รายงานการศึกษาฉบบั สุดท้าย (Final Report)
2 - 42 บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายท่สี ่งผลต่อการพัฒนาพื้นที่
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพน้ื ท่เี ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมืองแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
แผนที่ 2.5.2-1 แสดงความเชื่อมโยงกับประเทศเพอ่ื นบ้าน
รายงานการศึกษาฉบบั สุดท้าย (Final Report) 2 - 43
บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทส่ี ่งผลตอ่ การพัฒนาพน้ื ท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพืน้ ท่ีเฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จังหวัดเลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2.5.3 ความเชอื่ มโยงในพ้นื ทจ่ี ังหวัดเลย
พน้ื ทีว่ างผังบา้ นเหมอื งแพร่อยู่ในเขตตำบลนาแห้ว ถือเปน็ จดุ ทอ่ งเทยี่ วหนง่ึ ในเส้นทางการท่องเท่ียว
หลักของพื้นที่จังหวัดเลย โดยใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 2294 2195 และ 1268เมืองเลย-ภูเรือ-นาแห้ว
(หมู่บ้านเหมือนแพร่) – อุทยานแห่งชาติภูสวนทราย นอกจากนี้จากพื้นที่นาแห้ว ยังสามารถเชื่อมโยงไปยัง
อําเภอด่านซ้าย ซึ่งมีแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม รวมถึงยังเป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อไปยังจังหวัดพิษณุโลก
ซ่ึงเป็นพ้นื ที่เศรษฐกจิ ในแนวระเบยี งเศรษฐกิจหลักของประเทศ (แผนที่ 2.5.3-1)
2.5.4 สรุปความเชื่อมโยงของพ้ืนที่วางผงั กับพน้ื ท่เี ก่ียวเน่ือง
พื้นที่วางผังบ้านเหมืองแพร่อยู่ในเขตตำบลนาแห้ว มีเส้นทางติดต่อและเชื่อมโยงกับ สปป.ลาว
และมีการเชื่อมโยงด้านการปกครอง การค้าขาย และการท่องเที่ยว ตามเส้นทางสายหลักสู่เมืองเลยและ
สถานท่ีท่องเที่ยวอื่น ในจังหวดั เลยได้สะดวก สามารถสรุปความเชื่อมโยงและบทบาทของชุมชนบ้านเหมืองแพร่
ได้ ดงั นี้
- แม้ว่าชุมชนบ้านเหมืองแพร่ในเขตตำบลนาแห้ว จะมีเส้นทางเชื่อมต่อกับระเบียงเศรษฐกิจ
Northeastern Economic Corridor แต่ปัจจุบันเส้นทางเศรษฐกิจดังกลา่ วยังไม่ไดร้ ับการส่งเสริมการคา้ ระหว่าง
ประเทศจึงยงั ไมส่ ่งผลตอ่ ชุมชนชายแดนท่อี ยใู่ กลท้ ้ังหมด
- ชุมชนบ้านเหมือนแพร่ทำหน้าที่เป็นชุมชนบริการการท่องเที่ยวและเป็นแหล่งท่องเที่ยว
ในเส้นทางการท่องเที่ยวธรรมชาติของจังหวัดเลย เชื่อมโยงอุทยานแห่งชาติภูเรือ อุทยานแห่งชาติภูสวนทราย
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง รวมถึงอําเภอด่านซ้าย ซึ่งถือได้ว่ามีศักยภาพในการพัฒนาส่งเสริมชุมชน
บา้ นเหมอื งแพร่ในดา้ นการท่องเทย่ี วได้ในลำดบั ต่อไป
- ชุมชนบ้านเหมืองแพร่เชื่อมโยงกับพื้นที่บ้านเหมืองแพร่ใน สปป.ลาว และมีเส้นทางเชื่อม
ต่อไปยังเมืองบ่อแตน ซึ่งในปัจจุบันชุมชนบ้านเหมืองแพร่ทำหน้าที่เป็นชุมชนบริการการค้าและแหล่งงาน
ให้แก่ประชาชนบางส่วนจาก สปป.ลาว ดังนั้นในอนาคตซึ่งมีแนวโน้มในการส่งเสริมการเติบโตของเศรษฐกิจ
ชุมชนบา้ นเหมอื งแพร่ จำเป็นต้องมกี ารบรหิ ารจัดการความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศไปพร้อมกันด้วยในอีกทางหนึ่ง
รายงานการศึกษาฉบับสุดท้าย (Final Report)
2 - 44 บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายท่สี ่งผลตอ่ การพัฒนาพืน้ ที่
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพน้ื ท่เี ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมืองแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
แผนที่ 2.5.3-1 แสดงความเช่ือมโยงของพื้นที่จงั หวดั เลย
รายงานการศึกษาฉบบั สุดท้าย (Final Report) 2 - 45
บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายทส่ี ่งผลตอ่ การพัฒนาพน้ื ท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พนื้ ท่เี ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธิการและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2.6 กฎหมายและมาตรการทางผงั เมืองที่เกย่ี วขอ้ งกบั การพัฒนาพ้นื ที่
2.6.1 กฎหมายและมาตรการทางผังเมืองทีเ่ ปน็ กรอบในการพัฒนาเมอื งและสิ่งแวดลอ้ ม
1. พระราชบญั ญัตกิ ารผังเมือง พ.ศ. 2562
พระราชบัญญัติการผงั เมือง พ.ศ. 2562 ไดป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา เมือ่ วนั ที่ 24 พฤษภาคม
พ.ศ. 2562 และจะมผี ลใช้บงั คับวนั ที่ 25 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562 โดยมสี าระสำคญั ดงั หัวขอ้ ต่อไปน้ี
1.1) ประเภทของผัง แบง่ ออกเป็น 2 กลุ่ม 5 ประเภท ไดแ้ ก่
(1) ผังนโยบายการใช้ประโยชน์พื้นที่ คือการกำหนดกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์
ของการพัฒนาประเทศในด้านการใช้พื้นที่เพื่อให้หน่วยงานของ รัฐดำเนินการ (ใช้บังคับเฉพาะหน่วยงานของรัฐ)
แบง่ เป็น 3 ประเภท คอื
• ผังนโยบายระดับประเทศ เป็นกรอบนโยบายและ ยุทธศาสตร์ของ
การพัฒนาประเทศในด้านการใช้พื้นที่ การพัฒนาเมือง บริเวณที่ เกี่ยวข้อง และชนบท โครงสร้างพื้นฐานหลัก
การพฒั นาพ้นื ทพ่ี เิ ศษ การรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม และการอน่ื ๆ ทจี่ ำเป็น
• ผังนโยบายระดับภาค เป็นแนวทางในการพัฒนาและการ ดำรงรักษาพื้นท่ี
ที่มีขอบเขตเกินหนึ่งจังหวัดในด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน การพัฒนาเมือง และชนบท การคมนาคมและการขนส่ง
การสาธารณูปโภค สาธารณปู การ และบริการ สาธารณะ รวมทัง้ การบำรงุ รักษาทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
• ผังนโยบายระดับจังหวัด เป็นแนวทางในการพัฒนาและการดำรงรักษาพื้นท่ี
ระดับจังหวัดในด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน การพัฒนาเมืองและ ชนบท การคมนาคมและการขนส่ง
การสาธารณปู โภค สาธารณูปการ และบริการ สาธารณะ รวมทั้งการบำรุงรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
(2) ผังกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน คือ การกำหนดกรอบ แนวทางและแผนงาน
การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดเพื่อการพัฒนาเมืองและ การดำรงรักษาเมือง บริเวณที่เกี่ยวข้อง
และชนบท (ใชบ้ งั คบั ทงั้ หนว่ ยงานของรฐั และเอกชน) แบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ
• ผังเมืองรวม เป็นแผนผัง นโยบาย และโครงการ รวมทั้ง มาตรการควบคุม
โดยทั่วไปในพื้นที่หนึ่งพ้ืนที่ใด เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาเมือง และการดำรงรักษาเมือง บริเวณที่เกี่ยวข้อง
หรือชนบท ในด้านการใช้ประโยชน์ใน ทรัพย์สิน การคมนาคมและการขนส่ง การสาธารณูปโภค สาธารณูปการ
บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม เพอื่ บรรลวุ ตั ถุประสงคข์ องการผังเมอื ง
• ผังเมืองเฉพาะ เป็นแผนผงั และโครงการดำเนนิ การเพื่อพัฒนา หรือดำรงรักษา
บริเวณเฉพาะแห่งหรือกิจการที่เกี่ยวข้องในเมือง บริเวณที่เกี่ยวข้อง หรือ ชนบท เพื่อประโยชน์ในการสร้างเมือง
ใหม่ การพัฒนาเมือง การอนุรักษเ์ มอื ง หรือการ ฟืน้ ฟเู มอื ง
1.2) คณะกรรมการให้ความเหน็ ชอบผงั แบง่ ออกเป็น 3 ระดับ คอื
(1) คณะกรรมการนโยบายการผังเมอื งแห่งชาติ
(2) คณะกรรมการผงั เมือง
(3) คณะกรรมการผังเมืองจังหวดั
1.3) ผู้มีอำนาจวางและจดั ทำผังประเภทต่าง ๆ
(1) กรมโยธาธิการและผังเมือง เป็นผู้วางและจัดทำผังนโยบาย ระดับประเทศ
ผังนโยบายระดับภาค ผังนโยบายระดับจังหวัด ผังเมืองรวม (ทุกพื้นที่) และผังเมืองเฉพาะ (ผังเมืองเฉพาะกรณี
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร้องขอหรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยสั่งโดยค ำแนะนำของคณะกรรมการ
ผงั เมืองจังหวดั หรอื คณะกรรมการผังเมอื งสงั่ (เฉพาะกรณีไม่มกี ารเวนคืน ร้ือย้ายอาคาร ฯ)
(2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ไม่ต้องขออนุมัติวางและจัดทำผังจากคณะกรรมการ
ผังเมอื ง)
รายงานการศึกษาฉบบั สดุ ท้าย (Final Report)
2 - 46 บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายท่สี ง่ ผลต่อการพัฒนาพืน้ ท่ี
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผงั พื้นทีเ่ ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมืองแพร่ จังหวดั เลย
กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
1.4) ผงั เมอื งแต่ละประเภทไม่กำหนดระยะเวลาการบงั คับใช้
(1) ผังนโยบายระดับประเทศ ผังนโยบายระดับภาค และผังนโยบายระดับจังหวัด
ใหก้ รมโยธาธกิ ารและผงั เมืองจดั ใหม้ ีการทบทวนผงั ทุกหา้ ปีหรอื ในกรณีท่มี ีความจำเปน็
(2) ผังเมืองรวม ให้กรมโยธาธิการและผังเมืองหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณี
จดั ทำรายงานการประเมินผลผังตามระยะเวลาท่ีคณะกรรมการผังเมือง หรอื คณะกรรมการผังเมืองจังหวัดกำหนด
แลว้ แต่กรณี แต่ไม่เกนิ ห้าปีนับแต่วันท่ี ผังเมืองรวมใชบ้ งั คบั หรือนบั แต่วนั ทีค่ ณะกรรมการฯ พิจารณารายงานการ
ประเมนิ ผล ครง้ั ท่ีผา่ นมาเสร็จส้ิน
1.5) รูปแบบและวิธีการรับฟังความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชนของ
ผังทุกประเภทให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทีค่ ณะกรรมการผังเมอื งกำหนด
1.6) กำหนดรูปแบบการประกาศใชบ้ งั คับผงั ประเภทตา่ ง ๆ ดังน้ี
(1) ผงั นโยบายระดบั ประเทศ และผงั นโยบายระดบั ภาค
(2) ผังนโยบายระดับจังหวัด
(3) ผังเมืองรวม
(4) ผงั เมอื งเฉพาะ
1.7) การพัฒนาตามผัง กำหนดให้การวางและจัดทำผังจะต้องสอดคล้องและเชื่อมโยงกับ
ผังแต่ละระดับ ตั้งแต่ผังนโยบายระดับประเทศ ผังนโยบายระดับภาค ผังนโยบายระดับจังหวัด ผังเมืองรวม และ
ผงั เมืองเฉพาะ
1.8) เพิ่มมาตรากรณีความหมายของ “การใช้ประโยชน์ที่ดินมาก่อนผังเมืองรวม
บงั คับใช้”
1.9) เพิ่มมาตรากรณีใหค้ ณะกรรมการนโยบายการผังเมืองแห่งชาติมีอำนาจ หน้าที่จัดทำ
ธรรมนูญว่าด้วยการผังเมือง เพื่อใช้เป็นหลักการพื้นฐานที่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการผังเมืองพึงปฏิบัติและ
ได้กำหนดให้ธรรมนูญว่าด้วยการผังเมืองที่คณะรัฐมนตรีให้ ความเห็นชอบแล้วมีผลผูกพันหน่วยงานของรัฐ
และหนว่ ยงานอ่ืนที่เกีย่ วข้องท่ีจะต้อง ดำเนินการต่อไปตามหน้าทแ่ี ละอำนาจของตน
1.10) บทกำหนดโทษ มีการเพ่มิ อตั ราโทษสงู ขึ้น และเพม่ิ โทษปรับรายวัน
2. ผังเมืองตามพระราชบญั ญัติการผงั เมืองทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การวางผังพน้ื ทเี่ ฉพาะ
ผังเมืองตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 ที่เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนา
ผังพื้นที่เฉพาะ ได้แก่ ผังประเภท “ผังกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน” ตามมาตรา 8 หมวด 2 การวางและจัดทำ
ผงั เมอื ง มี 2 ประเภท คือ
2.1) ผังเมืองรวม
เป็นกรอบแนวทางในการวางโครงสร้างการพัฒนาเมืองและการจัดทำผังพื้นที่เฉพาะ
โดยมมี าตรา ดงั นี้
มาตรา 25 การวางและจัดทำผังเมืองรวมจะต้องสอดคล้องกับผังนโยบายระดับภาค
และผังนโยบายระดับจังหวัด ต้องสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และเป็นไปตามหลักเกณฑ์
วิธกี ารและมาตรฐานทีค่ ณะกรรมการผงั เมอื งกำหนด
มาตรา 33 ผังเมืองรวมให้ออกเป็นประกาศกระทรวงมหาดไทยหรือข้อบัญญัติท้องถิ่น
และต้องมีสาระสำคัญตามมาตรา ๒๒ ข้อบัญญัติท้องถิ่น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้
ในกรณีที่มีประกาศกระทรวงมหาดไทยหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นให้ใช้บังคับผังเมืองรวมหลายฉบับ ใช้บังคับใน
พน้ื ทเ่ี ดยี วกนั ให้ใช้บังคบั ผังเมืองรวมทีไ่ ดป้ ระกาศใช้ในภายหลัง
รายงานการศกึ ษาฉบบั สุดทา้ ย (Final Report) 2 - 47
บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพัฒนา และกฎหมายท่ีส่งผลตอ่ การพฒั นาพื้นที่
โครงการศกึ ษา ออกแบบวางผังพ้นื ทเี่ ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธิการและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย
2.2) ผังเมืองเฉพาะ
เป็นกรอบแนวทางในการนำองค์ประกอบและรายละเอียดของแผนผังเมืองเฉพาะ
เป็นแนวทางในการวางและจดั ทำผงั พ้ืนทเี่ ฉพาะ ตามมาตราต่อไปนี้
มาตรา 39 การวางและจัดทำผังเมืองเฉพาะให้ตราเป็นพระราชบัญญัติ หรือพระราช
กฤษฎีกา แลว้ แต่กรณี
มาตรา 40 ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อให้เป็นไปตาม
ผงั เมืองเฉพาะ ให้การเวนคนื อสังหารมิ ทรพั ย์เป็นไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการเวนคืนอสงั หารมิ ทรพั ย์
มาตรา 40 ผังเมอื งเฉพาะประกอบด้วย
(1) วตั ถปุ ระสงคใ์ นการวางและจดั ทำผังเมอื งเฉพาะ
(2) แผนท่ีแสดงเขตของผงั เมืองเฉพาะ
(3) แผนผงั ทีท่ ้ายขึ้นเป็นฉบับเดียวหรือหลายฉบับ โดยมสี าระสำคญั ดงั ต่อไปน้ี
(ก) แผนผังแสดงการกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินซึ่งจำแนกเป็นประเภทกิจการ
พร้อมทั้ง แนวเขตการแบ่งทด่ี ินออกเป็นประเภทและยา่ น
(ข) แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง โดยแสดงการเชื่อมต่อ
โครงขา่ ย การคมนาคมและการขนสง่ ไวด้ ว้ ย พร้อมทัง้ รายละเอียดแสดงแนวและขนาดทางสาธารณะ
(ค) แผนผังแสดงรายละเอยี ดของกิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการและบริการ
สาธารณะตามโครงสรา้ งพน้ื ฐาน
(ง) แผนผังแสดงที่โล่ง
(จ) แผนผังแสดงการกำหนดระดบั พ้นื ดนิ
(ฉ) แผนผังแสดงบริเวณที่ตั้งของสถานที่หรือวัตถุที่มีประโยชน์หรือคุณค่าใน
ทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม และประวตั ศิ าสตรห์ รือโบราณคดี ที่จะพงึ ส่งเสรมิ ดำรงรักษาหรือบรู ณะ
(ช) แผนผังแสดงบริเวณที่มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือภูมิประเทศ
ทงี่ ดงาม หรอื มคี ุณค่าในทางธรรมชาติ รวมทั้งต้นไมเ้ ดย่ี วหรือต้นไมห้ มู่ทจ่ี ะพึงส่งเสรมิ หรือบำรงุ รกั ษา
(ซ) แผนผังแสดงพื้นที่สีเขียวและพื้นที่อนุรักษ์ ในกรณีที่ผังเมืองเฉพาะไม่มี
สาระสำคัญประการใดตาม (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช) หรือ (ซ) จะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ผงั เมอื ง โดยมเี หตุผลอนั สมควร และใหร้ ะบุเหตุผลดงั กล่าวไว้ในผงั เมอื งเฉพาะนั้นด้วย
3. ผงั เมอื งรวมจังหวัดเลย
ผังเมืองรวมจังหวัดเลย (แรกประกาศ) ประกาศบังคับเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.2558
ปัจจุบันกฎกระทรวงอยู่ระหว่างการบังคับใช้ ซึ่งจะส่งผลต่อการวิเคราะห์การใช้ประโยชน์ที่ดินในปัจจุบัน
รวมถึงเป็นกรอบแนวทางในการกำหนดการใช้ประโยชน์ของการวางผังพื้นที่เฉพาะชุมชนในอนาคต แผนผังแสดง
กำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินของผังเมืองรวมจังหวัดเลย ประกอบด้วย ที่ดินประเภทชุมชน ที่ดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินค้า ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ที่ดินประเภท
ท่โี ล่งเพ่อื การรักษาคณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม (รปู ท่ี 2.6.1-1) ดังนี้
รายงานการศึกษาฉบบั สุดท้าย (Final Report)
2 - 48 บทท่ี 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายท่ีสง่ ผลต่อการพัฒนาพ้ืนท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผงั พืน้ ทเี่ ฉพาะชุมชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวัดเลย
กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
รปู ท่ี 2.6.1-1 แผนผังกำหนดการใช้ประโยชนท์ ด่ี ินท้ายกฎกระทรวง ผังเมืองรวมจังหวดั เลย พ.ศ.2558 2 - 49
รายงานการศกึ ษาฉบับสดุ ทา้ ย (Final Report)
บทที่ 2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายที่ส่งผลต่อการพฒั นาพื้นท่ี
โครงการศึกษา ออกแบบวางผังพน้ื ทเี่ ฉพาะชมุ ชนชายแดนบา้ นเหมอื งแพร่ จงั หวดั เลย
กรมโยธาธกิ ารและผงั เมอื ง กระทรวงมหาดไทย
4. พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสริมและรกั ษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแหง่ ชาติ พ.ศ.2535
พระราชบัญญัติฉบับนี้ถือเป็นแม่บทสำคัญในการควบคุมจัดการและดูแลทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อมของประเทศ โดยเฉพาะในบรเิ วณพน้ื ทซ่ี งึ่ จะมีการพัฒนาไม่ว่าโดยรัฐหรอื เอกชนก็ตาม ทัง้ น้ีเพื่อเป็นการ
ป้องกนั และดูแลคุณภาพสงิ่ แวดล้อม รวมถงึ ทรพั ยากรธรรมชาติต่าง ๆ ใหม้ มี าตรฐานและมีความสมดุลอย่างย่ังยืนต่อ
การใช้ประโยชน์ของประชาชน โดยต้องมีการวางแผนจัดการที่ดี มีการควบคุมทั้งด้านนโยบาย และการปฏิบัติจาก
ผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน โดยเฉพาะในด้านการควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด รวมทั้งการกำหนดบทลงโทษ
ต่อผู้ฝ่าฝืน
5. ร่างพระราชบัญญัติการบรหิ ารจัดการขยะแหง่ ชาติ
ร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้จัดทําขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดระบบ
บริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ. 2557 เป็นแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะแห่งชาติตามพระราช
บัญญัตินี้ และให้ถือว่าแผนปฏิบัติการที่ได้จัดทําขึ้นตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดระบบบริหาร
จัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ. 2557 เพื่อเป็นแผนปฏิบตั ิการการบริหาร จัดการขยะตามพระราชบัญญัตินี้
โดยมีสาระสำคัญในการกำหนดโครงสร้างของระบบการจัดการขยะทั้งระบบ โดยมีบทสาระสำคัญ 7 บท และ
บทเฉพาะกาลอีก 1 บท มเี นื้อความสำคญั ดังน้ี
หมวด 1 คณะกรรมการบริหารจัดการขยะ
มาตรา 5 ให้มีคณะกรรมการบริหารจัดการขยะแหง่ ชาติ เป็นส่วนของการจัดตง้ั อำนาจบรหิ าร
จัดการและการดำเนินงานของคณะกรรมการ
หมวด 2 แผนบริหารจัดการขยะ เป็นการกำหนดโครงสร้าง ขั้นตอน และแนวทางการจัดทำ
แผนบริหารจัดการขยะ มีรายละเอียดทีต่ ้องมปี ระเด็นสำคัญ ได้แก่ สถานการณ์ขยะของประเทศ ปัญหาอุปสรรค
ในการจัดการขยะ เป้าหมายในการ จัดการขยะ และแนวทางการดาํ เนินการจัดการขยะ ซึ่งอย่างน้อยต้องกําหนด
แผนงาน งบประมาณ หน่วยงานของรัฐทีม่ ีหนา้ ท่ีดำเนินการ การกำากบั การดำเนินการ และระบบการบริหารงาน
เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือและประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐกบั ภาคเอกชน ตลอดจน แนวทางการสร้าง
ความเขา้ ใจใหแ้ กป่ ระชาชน
หมวด 3 การบรหิ ารจดั การขยะ
มีสาระสำคัญในส่วนการกำหนดแนวทางการบริหารจัดการขยะตามอำนาจหน้าที่ของรัฐบาล
ในระดับพ้นื ที่ โดยให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ดงั ตอ่ ไปนี้
(1) การกําหนดแนวทางให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลดวัตถุดิบ และขยะใน
กระบวนออกแบบ การผลิต การใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์
ใหมห่ รือใช้ซ้ำ ตลอดจนนำหลักทางวชิ าการ งานวิจัย และเทคโนโลยีมาใช้ เพ่ือลดปริมาณขยะ
(2) การจัดทําโครงสร้างพื้นฐานและการบริหารจัดการที่เอื้อต่อการคัดแยก การเคลื่อนย้าย
และการกำจัดขยะตง้ั แต่แหล่งกำเนดิ ขยะจนถงึ ท่ีกำจดั ขยะ
(3) การกําหนดความรับผิดชอบของผู้ประกอบการในผลิตภัณฑ์ที่ตนผลิตขึ้น หรือนำเข้ามา
ในราชอาณาจักร ตั้งแต่การออกแบบและใช้วัตถุดิบเพื่อลดปริมาณขยะ การเรียก ผลิตภัณฑ์คืน เพื่อนำกลับมา
ใชป้ ระโยชน์ใหมห่ รอื ใช้ซำ้ และการกำจดั ขยะจากผลิตภัณฑ์ หรอื กระบวนการผลิต
(4) การกําหนดเกณฑ์มาตรฐานในการจัดการขยะ วิธีการกำจัด และการควบคุม ดูแลระบบ
การกำจัดขยะ ให้เป็นไปตามหลักวิชาการที่ถูกต้องเหมาะสม รวมทั้งการติดตามตรวจสอบ ฟื้นฟูระบบการกำจัด
ขยะ เพอ่ื มใิ ห้เกิดปญั หาต่อสิง่ แวดล้อมหรอื สุขภาพของประชาชน
(5) การกําหนดแนวทางส่งเสริมกิจกรรมด้านการลดขยะ การคัดแยก และการใช้ประโยชน์
จากขยะ โดยให้ความชว่ ยเหลอื ในดา้ นการเงิน การตลาด หรอื มาตรการทางภาษี
รายงานการศกึ ษาฉบับสดุ ท้าย (Final Report)
2 - 50 บทที่ 2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ โครงการพฒั นา และกฎหมายที่ส่งผลตอ่ การพัฒนาพ้ืนท่ี