The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โครงการเขื่อนทดน้ำผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์ ปีงบประมาณ 2565

เล่มปี 2565

รายงานการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตรกร
ตามแผนปฏิบัติการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม
และแผนติดตามตรวจผลกระทบสิ่งแวดล้อม

โครงการเขื่อนทดน้ำผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์
ปีงบประมาณ 2565

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กันยายน 2565

รายงานการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสงั คมครัวเรือนเกษตรกร
ตามแผนปฏบิ ตั ิการปอ งกันแกไขผลกระทบสิง่ แวดลอ ม
และแผนตดิ ตามตรวจผลกระทบสงิ่ แวดลอ ม

โครงการเขอื่ นทดนํา้ ผาจุก จังหวัดอตุ รดิตถ
ปง บประมาณ 2565

สาํ นกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2
สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
กันยายน 2565



บทสรุปผูบ ริหาร

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 พิษณุโลก (สศท.2) จัดทํารายงานการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม
ครัวเรือนเกษตรกรตามแผนปฏิบัติการปองกันแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และแผนติดตามตรวจผลกระทบ
สง่ิ แวดลอม โครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวดั อุตรดติ ถ ปงบประมาณ 2565 วัตถุประสงคเพื่อสํารวจภาวะเศรษฐกิจ
และสังคมครวั เรือนเกษตรกรในพื้นที่โครงการ และศกึ ษาทัศนคติ ความพึงพอใจ และผลกระทบเชิงบวกของครัวเรือน
เกษตรกรในพื้นท่ีโครงการฯ โดยกําหนดขอบเขตครัวเรือนเกษตรกรตัวอยาง จํานวน 500 ราย แยกเปนครัวเรือน
เกษตรกรในพื้นท่ีสูบนํ้าดวยไฟฟาเพื่อทดแทนไมไดรบั น้ําจากโครงการ ฯ (พ้ืนท่ีฝงบน) จํานวน 174 ราย พื้นทีฝ่ งซาย
จํานวน 163 ราย และพ้ืนท่ีฝงขวา จํานวน 163 ราย และขอมูลปเพาะปลูก 2564/65 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ
เพ่ือใหผูบริหารและหนวยงานท่ีเก่ียวของนําขอมูลไปใชประกอบการพิจารณากําหนดแนวทางการพัฒนาปรับปรุง
แกไขการดําเนินโครงการ กําหนดนโยบายการพัฒนาการเกษตรในพ้ืนที่ชลประทานและแหลงนํ้าธรรมชาตดิ านการ
เพิ่มประสิทธิภาพการใชที่ดิน การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตการตลาดของสินคาเกษตรของครัวเรือนเกษตรกรใน
พน้ื ทโี่ ครงการ เพื่อลดความยากจนใหค รัวเรือนเกษตรทาํ ใหมีภาวะเศรษฐกิจสังคมทด่ี ขี น้ึ

ผลการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการ เปนการวิเคราะหถึง
สถานภาพทางเศรษฐกจิ ดานรายไดและรายจายของครัวเรือนท่ีเก่ียวของกับการเกษตร พบวา ครัวเรอื นเกษตรกร
ในพื้นที่ฝงบนของโครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุกมีการถือครองที่ดินมากที่สุดเฉล่ีย 62.33 ไรตอครัวเรือน เปนการถือ
ครองเพื่อใชเปนพ้ืนที่การเกษตรมากที่สุดเฉล่ีย 34.28 ไรต อครัวเรือน สวนใหญปลูกขาว (นาปและนาปรัง) สว นใหญ
ใชน้ําจากโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา จึงทําใหมีประสิทธิภาพการใชที่ดินมากกวาพื้นที่ฝงซายและฝงขวา ที่ยังคงอาศัย
น้ําฝนเปนหลัก ทําใหมีคาใชจายในการจัดหานํ้าเพื่อการเกษตรมากกวา และมีทรัพยสินการเกษตรท้ังหมดมากกวา
ครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่ฝงอ่ืน ๆ โดยมีทรัพยสินการเกษตรตนป 2,245,217 บาท และมีทรัพยสินการเกษตร
ปลายป 2,498,348 บาท สวนหนี้สิน และแหลงกูยืมเงินเปนการกูยืมเงินจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ
การเกษตร (ธ.ก.ส.) มากที่สุด โดยเฉพาะฝงซา ยที่มีหน้ีสินเฉลี่ยมากถึง 247,892 บาทตอครัวเรือน สวนรายไดเงินสด
สุทธิ และเงินออมสุทธิของครัวเรือนเกษตรของครัวเรือนเกษตรแตละพื้นที่นั้น พบวา ในพ้ืนท่ีฝงบน ครัวเรือน
เกษตรกรมีรายไดเงินสดสุทธิครัวเรือน 329,484 บาทตอครัวเรือน มีเงินออมสุทธิ 189,723 บาทตอครัวเรือน พ้ืนที่
ฝงซายมีรายไดสุทธิทางการเกษตร 305,734 บาทตอครัวเรือน มีเงินออมสทุ ธิ 117,582 บาทตอครวั เรือน พ้ืนท่ีฝง
ขวามีรายไดสุทธทิ างการเกษตร 173,926 บาทตอครวั เรือน มีเงินออมสทุ ธิ 99,116 บาทตอครัวเรือน โดยครวั เรือน
เกษตรกรสวนใหญในพื้นท่ีฝง ขวารอยละ 83.05 ฝงซายรอยละ 58.46 และฝงบนรอ ยละ 44 เห็นวาโครงการกอสราง
เขื่อนทดนํ้าผาจุกมีประโยชนตอการผลิตสินคาเกษตรมาก โดยเฉพาะชวยเพ่มิ จํานวนแหลงนํ้าในการทําการเกษตรให
มากข้ึน และชวยลดปญหาการเกิดอุทกภัยครัวเรือนนอกจากน้ี ยังพบวา เกษตรในพื้นท่ีฝงบนและฝงซายของ
โครงการเข่ือนทดนํ้าผาจุก ไมประสบปญหาเกี่ยวกับนํ้าอุปโภคบริโภคในครวั เรือน สว นครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนที่
ฝงขวาของโครงการ ประสบปญหาเกี่ยวกับน้ําอุปโภค (ดานการเกษตร) อาทิ ปญหาน้ําแลง และน้าํ ทวมทําใหผลผลิต
ไดรับความเสียหาย ครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่ฝงขวาของโครงการฯ มีคาใชจายในการจัดหาน้ํามากที่สุดเฉลี่ย
19,725 บาทตอ ป รองลงมาไดแก ครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนที่ฝงซาย และฝงบนของโครงการ จํานวน 13,896 บาท
ตอ ป และ7,128 บาทตอป

ทัศนคติ และความพึงพอใจตอการดาํ เนินโครงการภาพรวม พบวา ครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนที่ฝงขวา
ของโครงการฯ มีคะแนนความพึงพอใจตอการดําเนินโครงการเฉล่ียสูงท่ีสุดเทากับ 4.29 คะแนน ในขณะท่ีฝงบนมี
คะแนนเฉล่ียเทากับ 3.98 คะแนน และฝงซา ยมีคะแนนเฉล่ียเทากับ 3.86 คะแนน สําหรับผลกระทบเชิงบวกที่มีตอ
โครงการ เห็นวา การดําเนินโครงการฯ ชวยใหเกษตรกรสามารถดําเนินกิจกรรมการเพาะปลูกพืช และเลี้ยงปศุสตั วได
มากขน้ึ จากความเหมาะสมและความพรอ มของแหลง นํ้าท่ีเออื้ ตอ การผลิตสนิ คาเกษตรทงั้ พืช ปศุสตั ว และประมง แต
ยังคงมีคาใชจายในการจัดหานํ้าทยี่ ังคอนขางสูง หากการกอสรา งเขื่อนและระบบสงนา้ํ เสรจ็ และปลอยนํ้าได จะชวย
ลดคาใชจายในการจัดหานํ้า บรรเทาผลกระทบจากปญหาอุทกภัย น้ําทวมขังในพื้นท่ี และลดความเสียหายของ
ผลผลิตทางการเกษตร เคร่ืองใชในครัวเรือน ท่ีอยูอาศัยไดอยางมาก สําหรับดานการเวนคืนท่ีดิน ประโยชนจาก



การใชบริการสถานีสูบน้ําดวยไฟฟา และความตองการเขารวมโครงการจัดรูปท่ีดินพบวา ครัวเรือนเกษตรกรใน
พ้ืนที่ฝงบนของโครงการ ฯ รอยละ 71.43 ไมไดรับผลกระทบจากการเวนคืนท่ีดิน เน่ืองจากพื้นที่การเกษตรของ
ตนเองไมไดอยูในรัศมีท่ีตองสรางระบบคลองสงนํ้า มีเพียงรอยละ 28.57 ที่ไดรับผลกระทบ แตไดรับเงินคาชดเชย
สําหรับการเวนคืนที่ดินดังกลาว เฉล่ีย 120,000 บาทตอไร ทุกครัวเรือนเกษตรไดรับประโยชนจากการใชบริการ
สถานีสูบนํ้าดวยไฟฟา มีคาใชจายในการจัดหานํ้าเฉลี่ย 375.64 บาทตอไรตอป และทุกครัวเรือนเกษตรกรไมสนใจ
เขารวมโครงการจัดรูปที่ดิน เน่ืองจากไมตองการสูญเสยี ท่ีดินไปกับกิจกรรมการจัดรูปที่ดิน สวนครัวเรือนเกษตรกร
พ้ืนท่ีฝงซายของโครงการฯ รอยละ 61.54 ไมไดรับผลกระทบจากการเวนคืนท่ีดิน มีเพียงรอยละ 38.46 ที่ไดรับ
ผลกระทบ แตไดรับเงินคา ชดเชยสําหรับการเวนคืนที่ดินดังกลาว เฉลี่ย 133,750 บาทตอไร ครัวเรอื นเกษตรกรรอย
ละ 61.54 ไดรับประโยชนจากการใชบริการสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟาพรอ มระบบสงนํ้า มีคาใชจายในการจัดหาน้ําเฉลี่ย
843.82 บาทตอไรตอป โดยครัวเรือนเกษตรกรรอยละ 56.92 ไมสนใจเขารวมโครงการจัดรูปที่ดิน ที่เหลืออีกรอย
ละ 43.08 สนใจจะเขารวมโครงการจัดรูปท่ีดิน เน่ืองจากตองการใหพื้นท่ีทําการเกษตรมีความราบเรียบเสมอเปน
ระนาบเดียวกัน สามารถปลูกพืชไดหลากหลายมากข้ึน ลดปญหาน้ําทวมขังในแปลง อีกทั้งเห็นวาทุกครัวเรอื นจะได
ประโยชนรวมกัน มีระบบจัดสรรน้ําท่ีดีใหทุกแปลงไดอยางทั่วถึงและเพียงพอ ชวยใหการระบายน้ําดีขึ้น การ
คมนาคมสะดวกมากขึ้น ครัวเรือนเกษตรกรพ้ืนทฝ่ี งขวาของโครงการ ฯ รอยละ 78.54 ไมไดรับผลกระทบจากการ
เวนคนื ท่ีดิน ท่ีเหลืออีกรอยละ 25.42 ท่ีไดรบั ผลกระทบ แตไดร ับเงนิ คาชดเชยสาํ หรับการเวนคืนที่ดินดังกลา วเฉล่ีย
146,889 บาทตอไร ครวั เรือนเกษตรกรรอยละ 69.49 ไดร ับประโยชนจ ากการใชบริการสถานสี ูบน้ําดวยไฟฟาพรอม
ระบบสงน้ํา มีคา ใชจายในการจัดหานํา้ เฉล่ีย 832.83 บาทตอไรตอป โดบครัวเรือนเกษตรกรรอยละ 77.97 ไมสนใจ
เขา รว มโครงการจัดรูปทด่ี นิ ท่ีเหลอื อกี รอยละ 22.03 สนใจจะเขารวมโครงการจัดรูปท่ีดิน

สําหรับขอเสนอแนะเชิงนโยบายที่ไดจากการศึกษาครั้งน้ี มีหลายประเด็น ไดแก 1) หนวยงานท่ี
เก่ียวของตองเรงสนับสนุนองคความรู และการประยุกตใชเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมทางการเกษตร เพื่อทดแทน
แรงงานคน เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และลดตน ทนุ การผลติ จากปญหาอายุของสมาชิกครวั เรอื นเกษตรกรสว นใหญ
มีแนวโนมเพ่ิมสูงขึ้น แตคนรุนใหมสนใจประกอบอาชีพเกษตรกรรมลดลง ซ่ึงจะนําไปสูภาวะขาดแคลนแรงงานใน
อนาคต 2) หนวยงานทเี่ กี่ยวของควรสนับสนนุ ดานการผลิต การจัดหาปจจัยการผลิตใหแกเกษตรกรในพื้นท่ี เพ่ือชว ย
ลดตนทุนการผลิตท่ีมีแนวโนมสูงข้ึนอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะปุยและเคมีภัณฑ 3)หนวยงานท่ีเก่ียวของควรสนบั สนุน
ใหครัวเรือนเกษตรกรปรับเปล่ียนการผลิตเปนพืชเศรษฐกิจ พืชอนาคต หรือการผลิตที่มีความหลากหลายของชนิด
สินคามากขึ้น เพ่ือลดความเสี่ยงทางดานรายไดของครัวเรอื นเกษตร 3) หนวยงานกอสรางควรเรงดําเนินการกอสราง
เขื่อนฯ เพ่ือใหเกิดการใชประโยชนด านการบริหารจัดการน้ําเพื่อทําการเกษตร ไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ ลดคา ใชจายใน
การจัดหาน้ําเพื่อทําการเกษตร เกษตรกรจะมีรายไดสุทธิจากการผลิตมากขึ้น 4)หนวยงานท่ีเกี่ยวของ ควรเรงสราง
ความเขาใจ นําเสนอถึงประโยชน ติดตามผลและนําเสนอความกาวหนาของการดําเนินงานของโครงการเขื่อนทดนํ้า
ผาจุก จังหวดั อุตรดิตถ เปนระยะๆ ใหเกษตรกรและผมู ีสวนไดสวนเสียในโครงการทร่ี ับทราบขอมลู ท่ีถกู ตอง เปนไปใน
ทศิ ทางเดียวกนั .



คํานาํ

การจัดทํารายงานภาวะเศรษฐกิจและสังคมครวั เรือนเกษตรกร ตามแผนปฏบิ ัติตามมาตรการปองกันและ
แกไขผลกระทบส่ิงแวดลอมและมาตรการติดตามตรวจผลกระทบส่ิงแวดลอม โครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก
จังหวัดอุตรดิตถ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 เปนการศึกษาใหทราบถึงสภาพทางดานเศรษฐกิจและ
สังคม ตลอดจนทัศนคติ ความพึงพอใจ และผลกระทบเชิงบวกจากครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการ
เพ่ือนําขอมูลไปใชประกอบการพิจารณาปรับปรุงแกไขพัฒนาโครงการ รวมถึงเพ่ือใหครัวเรือนเกษตรกร
สามารถเพ่ิมประสิทธิภาพการใชที่ดิน และประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดสินคาเกษตรใหบรรลุ
วัตถุประสงคของโครงการ ตลอดจนใชเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายการพัฒนาการเกษตรในพ้ืนท่ี
ชลประทาน และแหลง นาํ้ ธรรมชาติตอไป

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ขอขอบพระคณุ ผูที่มีสวนเกี่ยวของ
ทุกทานมา ณ โอกาสน้ี ท้ังครัวเรือนเกษตรกรและหนวยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวของในพ้ืนท่ีจังหวัดอุตรดิตถ
จังหวดั พิษณุโลก และจังหวัดสุโขทัย ท่ีใหความอนุเคราะหในการติดตอประสานงาน ตลอดจนไดรับความรวมมือ
และขอมูลเปนอยางดีย่ิงอันเปนผลทําใหเอกสารฉบับน้ีสําเร็จลุลวงไปดวยดี และหวังเปนอยางยิ่งวาจะเปน
ประโยชนตอผมู สี วนเกี่ยวขอ ง และผูทีส่ นใจตอไป

สาํ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 2
สํานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
กนั ยายน 2565

ง หนา

สารบัญ ค
เร่ือง ง
บทสรุปผบู รหิ าร จ
คาํ นํา ฉ
สารบญั 1
สารบญั ตาราง 1
สารบัญภาพ 1
บทท่ี 1 บทนาํ 1
2
1.1 ความสําคญั ของการศึกษา 4
1.2 วัตถุประสงคของการศกึ ษา 5
1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 5
1.4 วธิ ีการศึกษา 7
1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรบั 15
บทที่ 2 การตรวจเอกสาร แนวคิดและทฤษฎี 15
2.1 การตรวจเอกสาร 17
2.2 แนวคิดและทฤษฎี 22
บทที่ 3 ขอมูลสภาพท่ัวไป 27
3.1 ขอมลู ดานกายภาพ
3.2 สภาพท่วั ไปของโครงการ 29
3.3 ความกา วหนา การกอสรา งโครงการ 29
3.4 ขอ มลู ดา นภาวะเศรษฐกิจสงั คมครัวเรอื นเกษตรกรในพน้ื ท่ีโครงการ
63
เขื่อนทดนาํ้ ผาจุก จงั หวัดอตุ รดติ ถ
บทท่ี 4 ผลการศึกษา 74

4.1 สถานภาพทางเศรษฐกจิ ดา นรายไดแ ละรายจา ยของครวั เรอื นท่ีเกีย่ วของ 76
กับการเกษตร และกจิ กรรมนอกการเกษตรจากครัวเรือนเกษตรกรในพืน้ ท่ี
โครงการ 82
82
4.2 ทศั นคติ ความพงึ พอใจ และผลกระทบเชิงบวกที่มตี อโครงการเข่อื นทดนาํ้ 85
ผาจุก จังหวัดอุตรดติ ถ 87

4.3 (ราง) แนวทางการจดั ทําขอเสนอโครงการเพ่ือบรหิ ารจัดการพนื้ ท่ี และ
สนิ คาเกษตรในพื้นท่โี ครงการเข่อื นทดนํา้ ผาจุก จังหวดั อตุ รดติ ถ

4.4 (ราง) ขอเสนอโครงการเชงิ บรู ณาการ เพ่ือลดผลกระทบ ตดิ ตามตรวจสอบ
ผลกระทบสง่ิ แวดลอม และสง เสริมการปรับเปลี่ยนการผลิตของเกษตรกร
ในพืน้ ท่โี ครงการเขื่อนทดน้ําผาจุกเปนสนิ คา ที่มีอนาคต (Future Crop)
สิ่งแวดลอม ภายใตโ ครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก จังหวัดอุตรดติ ถ

บทท่ี 5 สรุป และขอเสนอแนะ
5.1 สรุป
5.2 ขอ เสนอแนะ

บรรณานกุ รม

จ หนา
31
สารบญั ตาราง 34
เรื่อง 35
ตารางท่ี 4.1 ขอ มลู ท่ัวไปของหวั หนาครัวเรอื นเกษตรกร 36
ตารางที่ 4.2 ขอมลู ทัว่ ไปของสมาชิกครัวเรือนเกษตรกร 36
ตารางท่ี 4.3 จํานวนสมาชิกในครวั เรอื น และลกั ษณะการใชแ รงงานการเกษตร 38
ตารางที่ 4.4 จํานวนสมาชกิ ในครวั เรือน และลกั ษณะการใชแรงงานการเกษตร 39
ตารางที่ 4.5 จํานวนสมาชกิ ในครวั เรือน และลักษณะการใชแ รงงานการเกษตร 41
ตารางท่ี 4.6 ลักษณะการใชประโยชนทดี่ ินเพื่อการเกษตรของครัวเรือนเกษตรกร
ตารางที่ 4.7 แหลงนํ้าท่ีใชเ พ่ือการเกษตร ตามลกั ษณะการถอื ครองที่ดิน 43
ตารางที่ 4.8 แหลง นาํ้ ท่ีใชเพ่ือการเกษตร ตามลักษณะการใชประโยชนท ี่ดินเพ่ือ 44
45
การเกษตร 46
ตารางท่ี 4.9 ทรพั ยส ินการเกษตรของครวั เรอื นเกษตรกร 50
ตารางที่ 4.10 หนี้สนิ ท้ังหมดของครัวเรือนเกษตรกร 51
ตารางท่ี 4.11 แหลงกยู ืมเงนิ ของครัวเรอื นเกษตรกร 52
ตารางท่ี 4.12 ทรัพยส ินนอกการเกษตรปลายปของครัวเรือนเกษตรกร 53
ตารางท่ี 4.13 รายไดแ ละรายจายของครวั เรอื นเกษตรกรในพ้ืนที่ฝงบนของโครงการ
ตารางที่ 4.14 รายไดและรายจายของครวั เรือนเกษตรกรในพน้ื ที่ฝงซายของโครงการ 54
ตารางที่ 4.15 รายไดแ ละรายจายของครวั เรอื นเกษตรกรในพนื้ ทฝ่ี ง ขวาของโครงการ 55
ตารางท่ี 4.16 เปรยี บเทยี บรายไดและรายจา ยของครวั เรอื นเกษตรกรในพืน้ ทีฝ่ ง ขวาของ
56
โครงการ
ตารางท่ี 4.17 การเปนสมาชิกกลุมผใู ชนาํ้ ดวยการสบู น้ําดวยไฟฟาของครัวเรอื นเกษตรกร 57
ตารางที่ 4.18 การเกดิ ประโยชนต อการผลิตสนิ คาเกษตรของโครงการเข่ือนทดนํ้าผาจุก
57
จังหวัดอตุ รดิตถ 58
ตารางที่ 4.19 การแกไขปญหานา้ํ เพื่อการเกษตรของโครงการเขอ่ื นทดนํ้าผาจกุ
59
จังหวัดอตุ รดติ ถ 62
ตารางท่ี 4.20 การประสบปญ หาเก่ียวกบั นาํ้ อปุ โภค (ดานการเกษตร) และการบรโิ ภค 75
80
ในครัวเรือน
ตารางที่ 4.21 คา ใชจายในการจดั หานํ้าของครวั เรือนเกษตรกร
ตารางท่ี 4.22 การไดร ับการสนับสนนุ ปจ จัยการผลติ และการไดรบั บริการจากหนวยงาน

ภาครฐั
ตารางท่ี 4.23 ความเพียงพอของเงนิ ทนุ ของครัวเรือนเกษตรกร
ตารางที่ 4.24 ปญหาเร่ืองดนิ และนาํ้ ของครวั เรือนเกษตรกร
ตารางที่ 4.25 ทศั นคติ ความพงึ พอใจทม่ี ีตอ โครงการเข่ือนทดนํ้าผาจกุ จงั หวัดอุตรดิตถ
ตารางที่ 4.26 การเวนคนื ที่ดิน ประโยชนก ารใชบ รกิ ารสถานีสบู นํ้าดวยไฟฟา และโครงการ

จัดรปู ที่ดนิ

ฉ หนา
11
สารบญั ภาพ
เร่อื ง 12
ภาพท่ี 2.1 ขอ มลู และปจ จยั ท่ีควรพจิ ารณาในกรอบแนวคิด Zoning = Area +

Commodity + Human Resource
ภาพที่ 2.2 กรอบแนวคิดหว งโซคณุ คา (value chain) การผลิตสินคาเกษตร

บทท่ี 1
บทนาํ

1.1 ความสาํ คญั ของการศกึ ษา
โครงการเข่ือนผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ เปนโครงการแกไขปญหาทรัพยากรนํ้าในลุมน้ํานานใหมีปริมาณนํ้า

เพยี งพอและมคี ุณภาพ เพ่อื ใชประโยชนใ นการผลติ และการอุปโภคบรโิ ภค สนับสนุนการสรา งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ท่ีดี
ของประชาชนควบคไู ปกบั การบรรเทาอุทกภัยอยางตอเน่ือง โดยคาํ นึงถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดข้ึนกบั ส่ิงแวดลอม
และทรพั ยากรธรรมชาตอิ ื่นๆ เพ่ือใหเกิดการพัฒนาลุมนํ้านานอยางเปนรูปธรรม สามารถสงนาํ้ ในพ้ืนท่ีชลประทาน
ในเขตโครงการประมาณ 481,400 ไร หากมีการจัดนํ้าอยางเปนระบบจะทําใหมีปริมาณนํ้าเพิ่มข้ึนในชวงฤดูแลง
จํานวน 506 ลานลูกบาศกเมตร ซึ่งเพี ยงพอท่ีจะสามารถสงน้ําใหกับพ้ืนท่ีในเขตจังหวัดอุตรดิตถ
ซ่ึงตองอาศัยโครงการสูบนํ้าดวยไฟฟาท่ีมีคาใชจายในการสูบนํ้าจํานวนมาก ทั้งน้ี โครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก
มที ีต่ ั้งเข่ือนอยูบริเวณแมนํ้านาน หมูที่ 7 บา นคลองนาพง ตําบลผาจุก อําเภอเมอื ง จังหวัดอุตรดิตถ ซงึ่ ไดรับอนมุ ัติ
ใหดําเนินการกอสรางระยะเวลารวม 14 ป (ระหวางป พ.ศ. 2553 - 2566) วงเงินโครงการรวมคาที่ดิน จํานวน
10,500 ลานบาท โดยกรมชลประทานไดดําเนินการตั้งงบประมาณ และจัดสรรไปยังหนวยงานที่เกี่ยวของ
เพื่อดําเนินการตามแผนปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตาม
ตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดลอม ซึ่งในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน
ไดจัดสรรงบประมาณใหแตละหนวยงานท่ีรับผิดชอบในแตละดาน เพื่อใหดําเนินงานในพ้ืนท่ีตามแผนปฏิบัติ
ตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดลอม
โครงการเข่ือนทดนา้ํ ผาจกุ จังหวดั อุตรดิตถ

สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยมสี าํ นกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 พิษณุโลก (สศท.2) เปนหนวยงาน
สวนกลางที่รับผิดชอบดูแลในพ้ืนท่ีจังหวัดอุตรดิตถ มีพันธกิจหลักดานหนึ่ง คือ การติดตามประเมินผลโครงการ
ทส่ี ําคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซ่งึ ในคร้งั น้ีไดร บั มอบหมายใหดาํ เนินการติดตามตรวจสอบดานเศรษฐกิจสงั คม
ตามแผนปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไขผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบ
สิ่งแวดลอม โครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยดําเนินการ
จัดทํารายงานการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเกษตรกรในพื้นท่ีโครงการ ซ่ึงเปนการศึกษาขอมูล
พ้ืนฐานดานตาง ๆ ของครัวเรือนเกษตรกรครอบคลุมทั้งทางดานเศรษฐกิจสังคม ตลอดจนศึกษาถึงทัศนคติ
ปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะจากครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการ เพ่ือนําไปใชประกอบการพิจารณา
ตัดสินใจของผูบริหารระดับสูงในการอนุมัติโครงการ หรือวางแผนพัฒนาปรับปรุงแผนปฏิบัติงาน/กิจกรรมตาง ๆ
ในพืน้ ที่โครงการใหเกดิ ประโยชนสงู สดุ ตอไป

1.2 วัตถปุ ระสงคข องการศึกษา
1.2.1 เพื่อศึกษาขอมูลสถานภาพทางเศรษฐกิจดานรายไดและรายจายของครัวเรือนที่เกี่ยวของกับ

การเกษตร และกิจกรรมนอกการเกษตรจากครวั เรอื นเกษตรกรในพืน้ ทีโ่ ครงการ
1.2.2 เพื่อศึกษาทศั นคติ ความพึงพอใจ และผลกระทบเชงิ บวกจากครวั เรือนเกษตรกรในพื้นทีโ่ ครงการ

1.3 ขอบเขตของการศึกษา
1.3.1 พื้นทช่ี ลประทานของโครงการเข่ือนทดนํา้ ผาจุก จังหวัดอตุ รดติ ถ ไดแ ก
1) พน้ื ที่สูบนํา้ ดวยไฟฟาเพอ่ื ทดแทนไมไ ดร ับนํา้ จากโครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก ครอบคลุมพื้นที่ดงั นี้
- ดานคลองสงนํ้าฝงซาย ไดแก หมูที่ 3 หมูท่ี 4 และหมูท่ี 8 ตําบลผาจุก และหมูท่ี 10

ตําบลบานดา น อาํ เภอเมืองอตุ รดิตถ จงั หวัดอุตรดิตถ

2

- ดานคลองสงนํ้าฝงขวา ไดแก หมูที่ 6 หมูท่ี 7 หมูที่ 8 และหมูท่ี 10 ตําบลงว้ิ งาม อําเภอเมือง
อุตรดิตถ จังหวัดอุตรดิตถ หมูท่ี 11 หมูที่ 13 และหมูท่ี 15 ตําบลง้ิวงาม อําเภอเมืองอุตรดิตถ จังหวัดอุตรดิตถ
และหมูท ี่ 10 ตาํ บลผาจุก อาํ เภอเมืองอตุ รดิตถ จังหวดั อุตรดิตถ

2) พื้นที่ฝงซา ยของเขอ่ื นทดนํ้าผาจุก ครอบคลุมพนื้ ที่ ดงั น้ี
- ตาํ บลนํ้าอาง ตําบลบา นแกง ตําบลวงั แดง ตาํ บลหาดสองแคว อําเภอตรอน จังหวัดอตุ รดิตถ
- ตําบลทามะเฟอง ตําบลทาสัก ตําบลนายาง ตําบลนาอิน ตําบลบานดารา ตําบลในเมือง

ตําบลบานโคน ตาํ บลบานหมอ ตาํ บลไรอ อย อาํ เภอพชิ ัย จงั หวดั อตุ รดิตถ
- ตาํ บลคงุ ตะเภา ตาํ บลปาเซา ตาํ บลผาจกุ ตําบลหาดกรวด อาํ เภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ
- ตาํ บลดงประคาํ ตําบลตลกุ เทียม ตาํ บลศรภี ิรมย อําเภอพรหมพิราม จังหวดั พิษณโุ ลก

3) พ้นื ท่ีฝงขวาของเขอ่ื นทดนํ้าผาจกุ ครอบคลมุ พนื้ ท่ี ดังนี้
- ตําบลทาอิฐ ตําบลทาเสา ตําบลบานเกาะ ตําบลวังกะพี้ ตําบลน้ําริด ตําบลง้ิวงาม และ
ตาํ บลผาจกุ อําเภอเมอื งอุตรดิตถ จงั หวัดอตุ รดิตถ
- ตําบลวังแดง และตําบลขอยสงู อําเภอตรอน จังหวัดอตุ รดิตถ
- ตาํ บลชัยจมุ พล ตําบลไผล อ ม ตําบลทุง ยง้ั และตําบลดานแมคาํ มัน อาํ เภอลบั แล จงั หวัดอุตรดิตถ
- ตาํ บลนครเดฐิ จังหวดั สุโขทัย
1.3.2 ประชากรเปาหมาย คือ ครัวเรือนเกษตรกร จํานวน 500 ราย แยกเปนครัวเรือนเกษตรกรของพ้ืนท่ี
สูบน้ําดวยไฟฟา เพ่ือทดแทนไมไดรับนํ้าจากโครงการ ฯ (พ้ืนท่ีฝงบน) จํานวน 174 ราย พื้นที่ฝงซาย จํานวน
163 ราย และพนื้ ทีฝ่ ง ขวา จํานวน 163 ราย
1.3.3 ระยะเวลาของขอมลู ท่ที าํ การศกึ ษา คือ ขอมูลปเ พาะปลูก 2564/65

1.4 วธิ ีการศกึ ษา
1.4.1 การรวบรวมขอ มูล
1) วิธีการรวบรวมขอมูล เปนขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณโดยสุมตัวอยางครัวเรือนเกษตรกร

ในพ้ืนที่โครงการเข่ือนทดน้ําผาจกุ จังหวดั อุตรดิตถ และประกอบกิจกรรมการเกษตร ในชวงระหวางวันท่ี 1 พฤษภาคม 2564
- 30 เมษายน 2565 มรี ายละเอยี ดดังน้ี

1.1) ขอ มูลท่วั ไปของครวั เรอื นเกษตรกร
1.2) การถือครองท่ีดนิ และการใชประโยชนท่ดี ิน
1.3) รายไดเงินสดทางการเกษตร ไดแก รายไดเงินสดดานพืช รายไดเงินสดดานปศุสัตว
รายไดเ งนิ สดดา นเพาะเลยี้ งสัตวนา้ํ และรายไดเ งนิ สดการเกษตรอ่ืน ๆ
1.4) รายจายเงินสดทางการเกษตร ไดแก รายจายเงินสดดานพืช รายจายเงินสดดานปศุสัตว
รายจายเงินสดดา นเพาะเล้ียงสตั วน ํา้ และรายจายเงนิ สดการเกษตรอ่ืน ๆ
1.5) รายไดเ งนิ สดสุทธิทางการเกษตร
1.6) รายไดเ งนิ สดสทุ ธทิ ัง้ หมดในครัวเรือนเกษตรกร
1.7) ภาวะหนีส้ ินท้งั หมดและแหลงกูยืมของครัวเรอื นเกษตรกร
1.8) ทรพั ยสนิ ท้งั หมดของครวั เรอื นเกษตรกร
1.9) ขอมลู เกี่ยวกบั การใชป ระโยชนจากแหลงนํา้ และการบรกิ ารของภาครัฐ
1.10) ทัศนคติ ระดบั ความพึงพอใจ และผลกระทบเชิงบวกทีม่ ตี อ โครงการ ฯ
2) แหลง ขอมูล ขอมลู ทีใ่ ชในการศกึ ษา ประกอบดว ยขอ มูลจาก 2 แหลง ไดแก
2.1) ขอมูลปฐมภมู ิ จะใชแบบสอบถามในการสัมภาษณข อมูลจากครวั เรือนเกษตรกรในพื้นที่
โครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ ปเพาะปลูก 2564/65 แตเน่ืองจากไมทราบขนาดของประชากร

3

ที่แนนอน และไมทราบคาสัดสวนของประชากรในพ้ืนทโ่ี ครงการ ดังนน้ั จึงใชสูตรของคอแครน (Cochran, 1977

อางใน ธรี วุฒิ เอกะกลุ , 2543) ดังน้ี

n= Z2

4e2

โดยท่ี

n = ขนาดของกลุมตัวอยา งทตี่ องการ

p = สัดสว นของลักษณะทีส่ นใจในประชากร (p = 0.50)

e = ระดบั ความคลาดเคลอื่ นของการสมุ ตัวอยางที่ยอมใหเกดิ ขึ้นได

Z = คา Z ทร่ี ะดบั ความเชอ่ื มั่นหรือระดับนยั สาํ คัญ

(ระดับความเชื่อม่นั 95% หรือระดบั นยั สาํ คัญ 0.05 มีคา Z = 1.96)

ดังน้ัน จะไดผลจากการคํานวณขนาดของครัวเรือนเกษตรกรท่ีตองการ เทากับ 384 ราย

แตเพ่ือใหสอดคลองและคุมคา กับงบประมาณที่ไดรับจัดสรร รวมท้ังระยะเวลาในการศึกษา จึงจะสํารวจและจัดเก็บ

ขอมูลครัวเรือนเกษตรกรตัวอยาง จํานวน 500 ราย สําหรับการสุมกลุมตัวอยางในครั้งน้ี จะไมใชความนาจะเปน

(Non-probability Sampling) เน่ืองจากเปนการศึกษาจากกลุมที่เฉพาะเจาะจงหรือมีคุณลักษณะที่สอดคลอง

กับเง่ือนไขที่กําหนดไว คือ ครัวเรือนเกษตรกรท่ีอยูในพื้นที่โครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ และใชวิธี

กําหนดตวั อยางแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ตามเหตุผลใหส อดคลองกับวัตถุประสงคข องโครงการ

2.2) ขอมูลทุติยภูมิ รวบรวมขอมูลโดยการศึกษาและคนควาจากเอกสารงานวิจัย บทความ

และรายงานการศกึ ษาตา ง ๆ ของกรมชลประทาน และหนวยงานอน่ื ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ ง

1.4.2 การวเิ คราะหข อมลู

เปนการวิเคราะหเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) โดยใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)

ในการวิเคราะหขอมลู ภาวะเศรษฐกิจสงั คมครวั เรือนเกษตรกร ปเ พาะปลกู 2564/65 มรี ายละเอยี ด ดังน้ี

1) การวิเคราะหรายไดและรายจายการเกษตร เมื่อนําผลผลิตทางการเกษตรมาขายท่ีไดเปน
เงินสดไมรวมถึงผลผลิตที่นํามาใชในครัวเรือนหักคาใชจายในการผลิตที่เปนเงินสด เปนการวิเคราะหวาในรอบป
การผลิตหน่ึง ๆ ครัวเรือนเกษตรกรมีรายไดจากการประกอบการเกษตรในเขตพื้นที่โครงการเปนเทาไร มีสูตร
ในการคาํ นวณ ดังน้ี

รายไดเงินสดทางการเกษตร = มูลคาจากการขายผลผลติ พืช + ปศุสัตว + สตั วนา้ํ + อน่ื ๆ
รายจา ยเงนิ สดทางการเกษตร = รายจายเงนิ สดดานพืช + ปศสุ ัตว + สัตวนํา้ + อน่ื ๆ

2) การวเิ คราะหรายไดและรายจายของครัวเรือนเกษตรกร เปนการวเิ คราะหรายไดและรายจาย
ทง้ั หมดของครวั เรอื นเกษตรกรทัง้ ในการเกษตรและนอกการเกษตร ไดแก

2.1) รายไดเงินสดสทุ ธิทางการเกษตร เปนการพจิ ารณาวารายไดเ งินสดทางการเกษตรท้ังหมด
หักรายจายเงินสดทางการเกษตรทง้ั หมดเปนเทาไร มสี ตู รในการคาํ นวณดังนี้

รายไดเ งนิ สดสุทธิทางการเกษตร = รายไดเงนิ สดทางการเกษตร - รายจายเงนิ สดทางการเกษตร

2.2) รายไดสุทธิทางเกษตร เปนการพิจารณาวา เมื่อนํารายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตรรวมกับ
มูลคาผลผลิตทางการเกษตรที่ใชในครัวเรือนเกษตรและสวนตางของมูลคาทรัพยสินตนปและปลายป มีสูตรใน
การคาํ นวณดังนี้

รายไดสทุ ธทิ างการเกษตร = รายไดเงินสดสุทธทิ างการเกษตร + มูลคาผลผลิตทางการเกษตรที่ใช
ในครวั เรอื นเกษตร + (สว นตา งของมลู คา ทรพั ยส ินตน ปและปลายป)

4

2.3) รายไดเงินสดสุทธิครัวเรือน หรอื รายไดเ งินสดคงเหลอื เพื่อใชจายในครัวเรือน เปนการ
พิจารณาวาเม่ือนํารายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตรมารวมกับรายไดที่เกดิ จากกิจกรรมนอกการเกษตรแลวครัวเรือน
เกษตรกรจะมรี ายไดเงินสดคงเหลอื เพื่อใชจา ยในครัวเรอื นเทา ไร มีสตู รในการคาํ นวณดังนี้

รายไดเงินสดสทุ ธคิ รัวเรือน = รายไดเ งินสดสุทธทิ างการเกษตร + รายไดเงินสดนอกการเกษตร

2.4) เงินสดคงเหลือกอนหักชําระหนี้ หรือการออม เปนการนํารายไดเงินสดสุทธิครัวเรือน
หักออกดวยรายจายท่ีเปนเงินสดนอกการเกษตรท้ังหมด แลวครัวเรือนเกษตรกรยังคงเหลือเงินสดอยูเปนจํานวน
เทา ไร มสี ูตรในการคาํ นวณดังนี้

เงินสดคงเหลอื กอนหกั ชาํ ระหนี้ = รายไดเงนิ สดสทุ ธคิ รวั เรอื น - รายจายเงนิ สดนอกการเกษตร

2.5) เงนิ ออมสุทธิ เปนการนํารายไดสุทธิทางการเกษตรรวมกับรายไดเงินสดนอกการเกษตร
หักดวยรายจายเงินสดนอกการเกษตรแลวครัวเรือนเกษตรกรยังคงเหลือเงินสดอยูเปนจํานวนเทาไร มีสูตรใน
การคาํ นวณดังน้ี

เงินออมสุทธิ = รายไดสุทธิทางการเกษตร + รายไดเงินสดนอกการเกษตร - รายจายเงินสดนอก
การเกษตร

1.5 ประโยชนทีค่ าดวา จะไดรบั
เพ่ือเสนอผูบรหิ ารและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ นําขอมูลไปใชประกอบการพิจารณากําหนดแนวทางการ

พัฒนาปรับปรุงแกไขการดําเนินโครงการเข่ือนทดนํ้าผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ และกําหนดนโยบายการพัฒนาการ
เกษตรในพ้ืนที่ชลประทาน และแหลงน้ําธรรมชาติดานการเพ่ิมประสิทธิภาพการใชท่ีดิน การเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลติ การตลาดของสนิ คาเกษตรของครัวเรอื นเกษตรกรในพ้ืนทีโ่ ครงการ เพ่ือลดความยากจนใหครวั เรือนเกษตร
ทําใหมภี าวะเศรษฐกจิ สังคมท่ดี ขี น้ึ

บทท่ี 2
การตรวจเอกสาร แนวคิดและทฤษฎี

2.1 การตรวจเอกสาร
2.1.1 ดา นการบรหิ ารจดั การพน้ื ทแี่ ละการบรหิ ารจดั สินคาเกษตรสําคญั ในพ้นื ท่ี
การศึกษาแนวทางการบริหารจัดการพื้นท่ีและการบริหารจัดสินคาเกษตรสําคัญในพื้นท่ีประสบภัย

พิบัติซ้ําซากจากโครงการบางระกําโมเดลในพ้ืนท่ีจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดสุโขทัยคร้ังนี้ ไดนําผลการศึกษา
ผลงานวิจัยจากภาคสวนที่มีประเด็นการศึกษาสอดคลองกันมาพิจารณา ไดแก สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2
(2561) ที่ประเมนิ ผลโครงการบรหิ ารจัดการน้ําเพอ่ื สนับสนุนการเพาะปลูกขาวนาปในพน้ื ที่ลมุ ตาํ่ ในเขตชลประทาน
หรือโครงการบางระกําโมเดล ป 2561 เพื่อใหทราบถึงผลลัพธเบ้ืองตนตามวัตถุประสงคของโครงการ การรับรู
รายละเอยี ดการดําเนินโครงการ รวมทง้ั ความพงึ พอใจตอการดาํ เนนิ การในภาพรวม สาํ หรับโครงการบริหารจัดการ
น้ําเพ่ือสนับสนุนการเพาะปลูกขาวนาปพ้ืนท่ีลุมตํ่าในเขตชลประทาน หรือโครงการบางระกําโมเดล ป 2561
มีวัตถุประสงค เพื่อลดผลกระทบจากอุทกภัยที่จะเกิดขึ้นในเขตชุมชน เพื่อสงเสริมใหเกษตรกรมีรายไดเสริมจาก
การทําอาชีพประมง ซ่ึงเปนวิถีชีวิตของเกษตรกรในพื้นท่ี และเพื่อประหยัดงบประมาณภาครัฐในการใหความ
ชวยเหลือผูประสบภัยพิบตั ิดานเกษตร โดยมีหนวยงานที่เก่ียวของในและนอกสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
รว มบูรณาการและสนบั สนุนการดําเนินการในพน้ื ทเ่ี ปา หมาย 2 จังหวดั 5 อําเภอ ผลการประเมินจากกลมุ ตัวอยา ง
180 ราย พบวา เกษตรกรรอยละ 85.55 มีสวนรวมในการบริหารจัดการนํ้าในชุมชน โดยมีการประชุมรวมกับ
เจาหนาที่ เพ่ือติดตามสถานการณและแกไขปญหา เกษตรกรทุกรายไดรับประโยชนจากการบริหารจัดการน้ําแบบมี
สวนรวม เน่ืองจากมีปริมาณน้ําในการเพาะปลูกขาวที่เพียงพอและน้ํามาทันตอการเพาะปลูก ทําใหสามารถ
เพาะปลูกและเก็บเกี่ยวผลผลิตขาวไดตามแผน/ปฏิทินท่ีโครงการกําหนด โดยเกษตรกรมีการใชพันธุขาวในการ
เพาะปลูกที่หลากหลายและแตกตา งกัน เกษตรกรทุกรายไมไดรับความเสียหายจากอุทกภัย เน่ืองจากมีระบบการ
บริหารจัดการที่ดี โดยรายไดสุทธิเฉลี่ยจากการจําหนายผลผลิตเทียบกับชวงกอนมีโครงการเพ่ิมข้ึนรอยละ 6.77
สําหรับการเปลี่ยนไปประกอบอาชีพอ่ืน พบวา เกษตรกรรอยละ 98.89 มีความเห็นวาจะเพาะปลูกขาวเหมอื นเดิม
เน่ืองจากเห็นวาพ้ืนที่ดังกลาวไมสามารถเพาะปลูกพืชชนิดอื่น ๆ ไดผลดี สําหรับความพึงพอใจในภาพรวมของ
โครงการ พบวา เกษตรกรรอ ยละ 48.33 มีความพึงพอใจตอภาพรวมของโครงการในระดับมาก โดยเกษตรกรมีความ
พึงพอใจในระดับมากตอการปรับปฏิทินการเพาะปลูกใหเร็วขึ้น เพ่ือใหเกษตรกรสามารถเก็บเก่ียวผลผลิตไดทัน
ในชวงฤดูน้ําหลาก การจดั ทําแผนการสงนํ้าในการเพาะปลูกขาว ปริมาณผลผลิต และคุณภาพผลผลิตหลังเขารวม
โครงการ สวนความพึงพอใจดานการตลาดเกี่ยวกับราคารับซื้อและแหลงรับซื้อผลผลิต เกษตรกรมีความพึงพอใจ
ปานกลาง โดยมีขอเสนอแนะเชิงนโยบาย คือ ควรกําหนดแผนการดําเนินการในระยะยาวใหเกิดความชัดเจนและ
เปนไปอยางตอเน่ือง เพ่ือใหโครงการประสบความสําเร็จมากย่ิงข้ึน และสามารถใชเปนตนแบบในการแกไขปญหา
และพัฒนาในพื้นท่ีอ่ืนตอ ไป เพราะโครงการบางระกําโมเดลเปนโครงการท่ีมุงสง เสรมิ และสนับสนุนในการแกไขปญหา
อุทกภัย และพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ําใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน ซึ่งสอดคลองกับ ปรีชา เรืองจันทร (2559)
ท่ีเสนอบทความพิเศษ เร่ือง การดําเนินงานแกไขปญหาอุทกภัยจังหวัดพิษณุโลก (บางระกําโมเดล) โดยมีวัตถุประสงค
เพ่ือประยกุ ตแ นวทางแกปญ หาอทุ กภัยใหเ หมาะสมกับพ้ืนท่ีจังหวดั พิษณุโลก และนําเสนอแนวทางตอ รัฐบาล เพ่ือ
กําหนดมาตรการแกไขปญหาอยางย่ังยืนในระยะยาวตอไป โดยใชข อมูลเอกสารทางอุทกศาสตรจากหนวยงานท่ี
เกีย่ วของ รวมกับขอ มูลในพ้ืนที่จังหวัดพษิ ณุโลกและจังหวัดใกลเคียงที่ไดรับผลกระทบเชนกัน การศกึ ษาครงั้ นีเ้ ปน
การลงพื้นท่เี ก็บรวบรวมขอมูลจากผูมีสวนไดสวนเสียโดยการสัมภาษณ และการสังเกตการณ ผลการศึกษา พบวา
วิธีการแกปญ หาของบางระกําโมเดลมีจุดเดน คือ การวางระบบการทํางานที่มีความสอดคลองกับสภาพพ้ืนที่
มีระบบการระบายนํ้าแบบทางดวนท่มี ีประสิทธิภาพ มกี ารทําแกมลิงเก็บนํ้าขนาดใหญร องรับปริมาณน้ําหลากและ
สาํ รองไวใชในฤดูแลงได มีการทํางานเปนทีม ประกอบดวยการอํานวยการ การเตรยี มการ การชวยเหลือการเยยี วยา

6

การปองกัน และการประเมินผล ซึ่งเปนวิธีการท่ีเหมาะสมในการแกปญหาอุทกภัยในพื้นท่ีจังหวัดพิษณุโลก สงผลให
ประชาชนพึงพอใจในภาพรวม และพบวา หากเพม่ิ มาตรการปองกัน โดยประชาชนมสี วนรว มมากขึน้ โดยเฉพาะใน
พื้นที่อําเภอพรหมพิรามและอําเภอบางระกํา เชน การกําหนดชวงเวลาสงนํ้าเพื่อการเกษตรในระบบชลประทาน
การกําหนดพื้นท่ีหนว งน้ํา เปนตน ซ่ึงการดําเนินการดังกลาวจะชวยลดความเสียหายรุนแรงจากปญ หาอุทกภัยและ
สง ผลใหประชาชนดาํ รงชีพในภาวะนํ้าทวมไดอยางปกติสขุ ซงึ่ เปนหนาที่หนวยงานของรัฐ หรอื สถาบนั การศึกษาวจิ ัย
จะตองศกึ ษาเพื่อประโยชนสุขของมหาชนอยางยั่งยืน

นอกจากน้ี พรชัย ชัยสงคราม (2558) ไดศึกษาความเปนไปไดของนโยบายบริหารพ้ืนท่ีเกษตรกรรม
(Zoning) ความตองการและความคิดเห็นของเกษตรกรในพื้นท่ีอําเภอเมืองกําแพงเพชร จังหวัดกําแพงเพชร
โดยใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล กลุมตัวอยางจํานวน 100 ราย ผลการศึกษา พบวา
เกษตรกรสวนใหญมีเนื้อท่ีถือครองเฉล่ยี 29 ไร โดยเปนของตนเอง การใชประโยชนท่ีดินเปนท่ีอยูอาศยั และท่ีนา
มีโฉนด เกษตรกรสวนใหญปลูกพืชชนิดเดิมรอยละ 86 โดยอาศัยนํ้าฝน พบปญหาดานการขาดแหลงน้ําเพื่อ
การเกษตร เนื่องจากฝนแลง/ท้ิงชวง และขาดแหลงน้ําในการทําการเกษตรเปนปญหาที่มีความสําคัญมากที่สุด
คิดเปน รอยละ 98 และ 96 ตามลาํ ดับ พบปญหาดา นรายไดไ มเพียงพอกับรายจายรอยละ 98 และปญ หาโจรกรรม
การลักเล็กขโมยนอยรอ ยละ 45 โดยเกษตรกรตองการความชวยเหลือจากรัฐโดยจัดสรางแหลงน้ําเพ่ือการเกษตร
รอยละ 98 และความชวยเหลือดานการครองชีพ จัดหาแหลงน้ําเพ่ือการบริโภครอยละ 97 นอกจากน้ี การปรับเปล่ียน
การผลิตเปนพืชชนิดอ่ืน พบวา เกษตรกรสวนใหญรอยละ 86 ไมสนใจปรับเปลี่ยนการผลิต เน่ืองจากขาดแคลน
เงินทุนในการปรับเปลี่ยนการผลิตเปนพืชชนิดอื่น โดยเฉพาะเรอื่ งการปรับสภาพทด่ี ิน เกษตรกรอายุมาก มีพ้ืนที่
ถือครองทางการเกษตรไมมากนัก ทําใหเสี่ยงตอรายไดที่จะไดรับหากปรับเปลี่ยนการผลิตเปนสินคาชนิดอื่น
สําหรับความตองการของเกษตรกรหากปรับเปลี่ยนการผลิต พบวาตองการใหภาครัฐจัดหาแหลงเงินทุนอัตรา
ดอกเบ้ียตา่ํ ชดเชยรายไดทขี่ าดหายไปจากการปรับเปล่ียนเปนสนิ คาชนดิ ใหม จดั หาแหลง รับซอ้ื ผลผลิตของสนิ คาทจ่ี ะ
ปรับเปล่ียน จัดอบรมเพ่ิมพูนความรูเกี่ยวกับเทคนิคการเพ่ิมผลผลิต การลงทุน หรือการจัดหาแหลงนํ้า สําหรับ
แนวทางในการพัฒนาสินคาเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 (2555) ไดศึกษาวิเคราะหแนวทางการ
พฒั นาระบบการผลิตการตลาดมันสําปะหลงั ในพื้นทภี่ าคเหนอื ตอนลา ง โดยศึกษาถงึ ทัศนคติและความตอ งการของ
เกษตรกร ผูประกอบการภาคอุตสาหกรรมมันสําปะหลัง และเจาหนาที่ภาครัฐท่ีเก่ียวของ เพ่ือนํามาประกอบการ
วิเคราะหสภาพแวดลอมภายในและภายนอกดานการผลิตและการตลาดอันจะนําไปสูการจัดทําแนวทางการพัฒนา
ระบบการผลิตและการตลาด ซ่ึงมีกระบวนการระดมความคิดเห็นของผูมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียเหมือน
การดําเนินโครงการบางระกําโมเดล โดยผลการศึกษา พบวาทัศนคติและความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย
บางสวน เห็นวาจํานวนเกษตรกรผูผลติ มันสําปะหลังที่มีความรู ความชาํ นาญ ประสบการณ และมเี ทคนิคการผลิต
ท่ีดีรวมถึงผูประกอบการลานมันเสนและโรงแปงท่ีมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับสถานการณดานการผลิตและ
การตลาดท้ังในและตางประเทศยังคงมีไมมากนัก อีกทั้งงบประมาณของหนวยงานภาครัฐในการดําเนินงานบาง
โครงการมนี อ ยทาํ ใหประโยชนท ี่ไดรับไมครอบคลุมทกุ พืน้ ท่ี สวนดา นการตลาด เหน็ วาชองทางการจําหนายผลผลติ
ของเกษตรกรไมหลากหลาย สวนใหญนิยมจําหนายใหแกลานมันเสนในพื้นที่ นอกจากน้ี ยังเห็นวา
การชวยเหลือและใหบริการดานตาง ๆ ของหนวยงานภาครัฐคอนขางลาชา รวมทั้งบางพื้นที่มีสภาพพ้ืนที่ปลูก
ไมคอยเหมาะสม ประกอบกับเกษตรกรไมเชื่อคําแนะนําของเจาหนาที่ภาครัฐ มีเกษตรกรสวนนอยท่ีพัฒนา
ทางดานการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวตามความตองการของตลาด
และนําเทคโนโลยีการผลิตท่ีทันสมัยมาประยุกตใชในการผลิต สําหรับขอเสนอแนะ เห็นวาภาครัฐควร
ใหความสําคัญกับนโยบายดานการพัฒนาปริมาณและคุณภาพผลผลิต โดยพยายามจัดสรรเงินงบประมาณอยาง
เพียงพอและตอเนื่อง เพื่อสนับสนุนแผนงานโครงการและ การชวยเหลือดานตาง ๆ ใหทันการณ สวน
ดานการตลาดควรจัดเวทีเพื่อระดมความคิดเห็นระหวางผูมีสวนไดสวนเสียเกี่ยวกับการพัฒนาและแกไขปญหา
เกย่ี วกบั คณุ ภาพสินคา โดยเฉพาะเร่ืองของการปลอมปนวัตถตุ าง ๆ ในขน้ั ตอนการสง ออก ในขณะทีด่ านการศึกษา

7

ควรมีการจัดทําฐานขอมูลเกี่ยวกับมันสําปะหลังในพ้ืนท่ีเพื่อบริการขอมูลใหแกผูมีสวนไดสวนเสียทุกภาคสวน
นาํ ไปใชประโยชนในการพัฒนาระบบตอไป ตลอดจนควรศึกษาวิจัยสายพนั ธมุ นั สาํ ปะหลงั ทีเ่ หมาะสมกบั พืน้ ที่ และ
ติดตามความกาวหนาของการดําเนินงานหรอื ประเมินผลโครงการเพ่ือพัฒนาปรับปรุงการดําเนินงานใหบรรลุผล
สัมฤทธิ์เกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสดุ

2.1.2 ดา นภาวะเศรษฐกิจและสงั คมครวั เรือนเกษตรกร
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2556) ไดทําการศึกษาสภาพครัวเรือนเกษตรกรยากจนในภาคตะวันออก

เฉียงเหนือตอนลาง พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีอายุมากกวา 50 ปข้ึนไป มีสมาชิกในครัวเรือน
เฉล่ียเกิน 5 คนตอครัวเรือน และไดรับการศึกษาไมเกินภาคบังคับมากกวารอยละ 90 รวมท้ังไมไดรับการอบรม
ความรทู ี่เปนประโยชนต อการประกอบอาชีพมากกวารอยละ 80 ซึ่งสวนใหญมีอาชีพปลูกพืชเปน หลัก นอกจากน้ี
พ้ืนที่ทําการเกษตรสวนใหญเปนที่นา ซ่ึงอยูนอกเขตชลประทานมากกวารอยละ 90 จากองคประกอบดังกลาว
สงผลใหครัวเรือนเกษตรกรมีรายไดไมเพียงพอตอการยังชีพ ประกอบกับมีทางเลือกในการประกอบอาชีพอื่น ๆ
คอนขางนอย เน่ืองจากขาดการรวมกลุมในดานการผลิตและการตลาด ดังนั้น แนวทางในการแกไขปญหาความ
ยากจนท่ีตอ งเรงดําเนินการ คือ ตองมกี ารบรหิ ารจัดการน้ํา และสนับสนุนใหมีแหลง น้ําเพียงพอในพื้นท่ีการเกษตร
พรอมทั้งมีการพัฒนารูปแบบการจัดการนํ้าที่เหมาะสมกับพืชแตละชนิด มีการปรับปรุงระบบดินและปลูกพืชที่
เหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี ตลอดจนสนับสนุนชองทางการจาํ หนายสนิ คา และสนับสนนุ การรวมกลุมเพ่ือแลกเปลี่ยน
เรียนรู และสรางความเขมแข็งภายในกลุมท้ังดานการผลิตและการตลาด ซ่ึงสอดคลองกับผลการศึกษาปจจัยท่ีมี
อิทธิพลตอรายได รายจาย การออม หนี้สิน ปจจัยที่กําหนดการตัดสินใจกอหนี้และความตองการกูของครัวเรือน
เกษตร ของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563) ซ่ึงพบวา รายไดนอกภาคเกษตร เปนสวนหน่ึงท่ีสําคัญของ
รายไดของครัวเรือนเกษตร ดังนั้น ภาครัฐควรพัฒนาและสงเสริมการผลิตนอกภาคเกษตรใหกับครัวเรือนเกษตร
ควบคูไปกับกิจกรรมการผลิตทางการเกษตร เพ่ือใหครัวเรือนมีรายไดเพิ่มข้ึน โดยเนนการใชทรัพยากรท่ีมีใน
ทองถิ่นในการประกอบอาชีพเสริม ซึ่งจะสงผลดีตอการเพิ่มการออม และความมั่งคั่งหรือทรัพยสินสุทธิของ
ครัวเรอื นเกษตรไปพรอมกัน นอกจากน้ี การศึกษาและการไดรับการอบรมของหัวหนาครัวเรือนเกษตร เปนปจจยั
สําคัญในการเพ่ิมรายไดใหกับครัวเรือนเกษตร ภาครัฐควรสงเสริมการศึกษาและการฝกอบรมในชนบท เพื่อเปน
การเพ่ิมขีดความสามารถในการหารายไดใหกับครัวเรือนเกษตร รวมทั้งเปนการเพ่ิมความมั่งคั่ง ท้ังน้ี ครัวเรือน
เกษตรที่อยูในเขตชลประทานมีโอกาสที่จะมีรายไดมากกวาครัวเรือนท่ีอยูนอกเขตชลประทาน เน่ืองจากมี
น้าํ เพียงพอตอการเพาะปลูก ดังนัน้ จึงควรพัฒนาแหลงนํา้ เสริมสรางระบบบริหารการจดั การแหลงนาํ้ เพ่ือใหเ กิด
การจัดการรวมกันระหวางชุมชนกับภาครัฐ โดยเฉพาะอยางย่ิงการสนับสนุนและพัฒนาแหลงนาํ้ ชุมชน ซึ่งจะเปน
การเพมิ่ รายไดใหก บั ครวั เรือนเกษตร

2.2 แนวคิดและทฤษฎี
2.2.1 แนวคดิ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดลอ ม (นํ้า) เชิงพื้นท่ี
การจัดการทรัพยากรและทรัพยากรส่ิงแวดลอมที่เปนระบบจะนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน ซ่ึงมี

ทรัพยากรธรรมชาติเปนฐาน โดยเนนวาทรัพยากรธรรมชาติเปนของสวนรวมของทุกคน การจัดการทรัพยากร
ส่ิงแวดลอมจึงเปนการผสมผสานแนวทางในการดําเนินการหลายสาขารวมกัน รวมทั้งควรมีการสงเสริมให
ประชาชนเขามามีสวนรวมในทุกระดับ และใชมาตรการทางสังคมใหม ๆ ควบคูไปดวยนําเคร่ืองมือ
ทางเศรษฐศาสตรเ ขา มาใชอยา งเหมาะสม เพอ่ื ใหม ีการจัดการทรพั ยากรสิง่ แวดลอมอยางมีประสิทธภิ าพ

1) หลกั การจัดการทรัพยากรทรพั ยากรส่ิงแวดลอ ม
ประยูร วงศจันทรา (2554) ไดกลาววา การจัดการทรัพยากรทรัพยากรสิ่งแวดลอมเปนการนํา

ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทุกชนิดมาใชโดยการชวยเหลือของธรรมชาติ หรือใชเทคโนโลยีในการทําใหทรัพยากร

8

ส่ิงแวดลอมทั้งระหวางการใชและภายหลังการใชแลวใหฟนคืนสภาพเหมือนหรือใกลเคียงเดิม เพ่ือใหเห็นเปน
รูปธรรม จงึ ไดม หี ลกั การจัดการทรัพยากรสงิ่ แวดลอมอยางมขี น้ั ตอนดังนี้

(1) การกําหนดชนิด หรือประเภท และขอบเขตทรัพยากรสิ่งแวดลอมเพ่ือการใชประโยชนอาศัย
พื้นฐานของสมบัติเฉพาะตัวของทรัพยากรส่ิงแวดลอม ซึ่งมีจุดเดนเพื่อการสรางรูปแบบการจัดการเปนตัว
นาํ แนวคดิ ในการกําหนดชนิดหรอื ประเภทกลุมระบบยอย ระบบทรัพยากรสิ่งแวดลอ ม สวนในการกําหนดขอบเขต
และชนิดจะนําไปสูการหาขนาดปริมาณวามีสถานภาพลักษณะใดที่จะนาํ ไปสูก ารสรา งศักยภาพ

(2) การกําหนดกิจกรรมเพ่ือการคงสภาพหรือสรางศักยภาพความยั่งยืนของทรัพยากรสิ่งแวดลอม
หลักการนี้ ถือวาการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดลอมท่ีมีประสิทธิภาพน้ัน มีการกําหนดกิจกรรมลักษณะตาง ๆ
กลาวคือ การนําทรัพยากรส่ิงแวดลอมมาใชอยางไรจะนําจึงจะทําใหทรัพยากรส่ิงแวดลอมน้ันยั่งยืนตลอดไป
น่ันหมายความวาตองมีรูปแบบการจัดการเฉพาะทรัพยากรสิ่งแวดลอม และตองเปนรูปแบบที่มีประสิทธิภาพ
บางกรณีทรัพยากรสง่ิ แวดลอมเกิดความเส่ือมโทรม หรือเปนมลพิษจําเปนตองฟนฟู รักษา ซอมแซม พัฒนาสงวน
และแบงเขตการใชประโยชนเพื่อใหการฟนตัวของธรรมชาติทรัพยากรส่ิงแวดลอม ดังน้ัน กิจกรรมที่กําหนดข้ึน
มานั้นขึ้นอยูกับสถานภาพของทรัพยากรสิ่งแวดลอมเปนสําคัญ จึงตองเลือกกิจกรรมท่ีเหมาะสมที่สุดเพ่ือใหได
ทรพั ยากรสง่ิ แวดลอ มท่ีย่ังยนื ตอไป

2) แนวคดิ การจัดการทรพั ยากรทรพั ยากรสิง่ แวดลอ ม
ประยูร วงศจันทรา (2554) ไดก ลา วถึงการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดลอ มวาเปนสิ่งสาํ คัญท่ีจะตองยึด

หลักการทางอนุรักษวิทยามาดําเนินการ เพื่อใชในการจัดการระเบียบของคนในสังคมในการใชทรัพยากรและ
ทรพั ยากรสิง่ แวดลอมเพอ่ื ประกอบการดําเนินงาน ดงั น้ี

(1) การจัดการทรพั ยากรส่ิงแวดลอ มเปนนิยามเดียวกับการอนุรักษทรัพยากรส่งิ แวดลอ มแตตางกัน
ท่ีการอนุรักษทรัพยากรส่ิงแวดลอมเปนเหมือนทฤษฎีและการปฏิบัติไมไดมีแผนงานปฏิบัติ สวนการจัดการ
ทรพั ยากรสงิ่ แวดลอ มนัน้ เปน ลักษณะการปฏบิ ตั ไิ ด คือ ใหล ุมลกึ ไปถึงการมแี ผนปฏบิ ตั ทิ เี่ ปนรปู ธรรม

(2) การจัดการทรัพยากรทรัพยากรสง่ิ แวดลอ มเปนกระบวนการ กลาวคือ มกี ลไกทรัพยากรสงิ่ แวดลอม
ควบคมุ และมีขั้นตอนการดาํ เนินการอยางมีแบบแผน หรือลักษณะเฉพาะมิใชจ ะทําอะไรก็ได ตองมีจุดเริ่มตนและลงทาย
ท่มี กี ลไกควบคมุ ซง่ึ ยอมรบั ไดในทางปฏบิ ตั แิ ละเปนไปตามหลักการทางวทิ ยาศาสตรทุกประการ

(3) การจดั การทรัพยากรสิ่งแวดลอ มเปน เสมอื นแผนงานในการดาํ เนนิ การทางทรัพยากรส่งิ แวดลอ ม
ซง่ึ การกําหนดแผนงานน้จี ะตองครอบคลุมนโยบายมาตรการแผนงานและโครงการ หรือแผนปฏิบัติทม่ี ขี ั้นตอนและ
พลงั ขบั เคลอ่ื นเปน กลไกควบคุมใหแผนงานดาํ เนินไปได

(4) การจดั การทรัพยากรส่งิ แวดลอมเปนการใชทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอมโดยยดึ หลักและ
วิชาการอนุรักษวิทยา ซึ่งผูใชตองตระหนักดีวาตองมีทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรส่ิงแวดลอมสําหรับมวล
มนุษยตอ ไปในปริมาณท่เี พียงพอและมคี ณุ ภาพ

(5) การจัดการทรัพยากรสิ่งแวดลอมเปนแนวทางหน่งึ ของนิเวศพฒั นาปฏิบัติ หรอื พัฒนาแบบย่ังยืน
กลาวคือ การจัดการทรัพยากรสิ่งแวดลอมเปนหลักการท่ีเปดโอกาสใหใชทรัพยากรได แตตองไมใหคุณคา
ทางนิเวศวิทยาศูนยเสียไป คือ การนําทรัพยากรมาใชตองอยใู นวิสัยท่ีธรรมชาติจะชวยธรรมชาติฟอกตัวเองฟนฟู
ตัวเองไดอยางมปี ระสิทธิภาพ

(6) การจัดการทรัพยากรสิ่งแวดลอมเปนการนําทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรสิ่งแวดลอมมาใช
เอ้ือประโยชนตอ มนษุ ยอยา งย่ังยืน

(7) การจัดการทรัพยากรส่ิงแวดลอมมีไวเพื่อใหมนุษยไดใชสอยและพ่ึงพิงในการดํารงชีวิต ทั้งโดย
ปจ จัย 4 ความสะดวกสบาย ความปลอดภัยของชวี ติ ซ่ึงใชท รพั ยากรจะตอ งเปนไปอยางสมเหตสุ มผลใชอ ยางฉลาด
หรอื ใชตามความจาํ เปน โดยไมกอใหเกดิ ผลกระทบตอ ทรัพยากรสง่ิ แวดลอม และตอ งไมใหเกิดการสูญเปลา เพื่อให
มกี ารใชอยา งยั่งยืนตลอดไป

9

(8) การจดั การทรพั ยากรส่ิงแวดลอ มจะบรรลุแนวทางปฏบิ ัตใิ นการควบคมุ ของเสียมิใหเ กิดข้นึ ภายใน
ระบบทรัพยากรสิ่งแวดลอม เพราะถาเกิดปญหาแลวจะทําใหทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรสิ่งแวดลอมนั้น
มีศักยภาพในการผลิตลดลง อาจจะเผชิญปญหาการขาดแคลนทรัพยากรในอนาคต โดยแนวทางการจัดการ
ทรัพยากรสง่ิ แวดลอมนั้น จะตองกําหนดแนวทางปฏิบัตใิ นการกําจัดไวอ ยา งแนนอนรวมไปถึงการนาํ ของเสียน้ัน ๆ
มาใชใหเ กิดประโยชนต อ ชุมชนดวย

(9) การจัดการทรัพยากรส่ิงแวดลอมตองมีการรักษา สงวน ปรับปรุง ซอมแซม และพัฒนา
ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรสิ่งแวดลอม ทั้งที่อยูในสภาพท่ีกําลังมีการใชและสภาพท่ีทรุดโทรมรอยหรอ
โดยคาดหวงั วาถา มีการจัดการทีด่ ีแลว จะทาํ ใหม ที รพั ยากรธรรมชาตแิ ละทรัพยากรส่งิ แวดลอมใชตลอดไป

(10) การจัดการทรัพยากรส่ิงแวดลอมจะตองมีการจัดองคประกอบภายในระบบทรัพยากรสิ่งแวดลอม
หรือระบบนิเวศใหมีชนิด ปริมาณของแตละชนิด และสัดสวนของทรัพยากรส่ิงแวดลอมในระบบใหไดเกณฑ
มาตรฐานธรรมชาติที่ทุก ๆ ส่ิงมีชีวิตในระบบสามารถอยูไดอยางเปนสุข ทําใหระบบนั้น ๆ อยูในภาวะสมดุล
ตามธรรมชาติ ทง้ั น้เี พื่อจะไดม ศี ักยภาพในการผลติ และปองกันมลพิษทเ่ี กิดขน้ึ

ศศินา ภารา (2550) ไดก ลาวเก่ยี วกับแนวทางในการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ ม ดงั นี้
1) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติชนิดหนึ่งนั้น จะตองคํานึงถึงทรัพยากรชนิดอื่นไปพรอม ๆ กัน
ซึ่งหมายถึง ตองเขาใจระบบทรัพยากรสิ่งแวดลอมไมควรพิจารณาเฉพาะอยางใดอยางหน่ึงเพียงอยางเดียว
เพราะทรัพยากรทุกอยา งตา งมีความเกีย่ วของสัมพนั ธก นั อยา งใกลช ิด
2) ในการวางแผนการจดั การทรพั ยากรสง่ิ แวดลอม จะตองไมแยกมนุษยอ อกจากสภาพแวดลอ มทาง
สังคมหรือทางวัฒนธรรม และสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ท้ังน้ี เน่ืองจากวัฒนธรรมและสังคมมนุษยไดพัฒนา
ตนเองไปพรอม ๆ กับการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาตขิ องสงั คมนัน้
3) โครงการพัฒนาทุกโครงการยอมมีผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรส่ิงแวดลอม
และการพัฒนาเศรษฐกิจตองใชทรัพยากร ผูดําเนินการตามโครงการจึงตองมีความรอบรูและรูจักวิธีการจัดการ
อยา งชาญฉลาด เพอ่ื ทาํ ใหเกิดผลกระทบนอยท่สี ดุ
4) การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรส่ิงแวดลอม เปนพ้ืนฐานสําคัญของการจัดการ
เม่ือมีการวางแผนการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดลอ มจงึ ตองคํานงึ หลกั การอนรุ ักษค วบคกู ันไป
5) การจัดการทุกครั้งจะตองคํานึงถึงการมีสวนเก่ียวของทุกเพศทุกวัยและทุกกลุมบุคคลที่ทํางาน
และมีสวนเก่ียวของ การจัดการจึงจําเปนตองใชกระบวนการการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน จึงควรสนับสนุนให
องคก รทอ งถ่นิ เปนเวทีในการแลกเปล่ียนความคดิ เห็นตอ การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละทรพั ยากรสิง่ แวดลอม
เพือ่ ใหช ุมชนและเอกชนมีสว นรว มในการบริหารจัดการมากขนึ้
6) ความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ เปนส่ิงสําคัญในดานการแสดงออกซึ่งความเจริญ
ทางวฒั นธรรม และความมน่ั คงสมบูรณข องประเทศ และบง บอกถึงนิสัยใจคอของคนในชาติ
7) การทําลายทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรสิ่งแวดลอม ดวยวิธีการและเหตุผลใดก็ตามยอม
เปน การทาํ ลายมรดกของมนษุ ยชาตไิ ปดวย
8) มนุษยไมสามารถสรางทรัพยากรบางชนิดข้ึนมาไดในชวงเวลาสั้น ๆ แมวามนุษยจะมีมันสมอง
อันชาญฉลาดในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม และรูถึงการเปล่ียนแปลงของทรัพยากรส่ิงแวดลอม
บางอยางไดล ว งหนา ก็ตาม
9) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรสิ่งแวดลอม นอกจากจะเพ่ือความกินดีอยูดีของ
มนษุ ยแ ลว ยงั มคี วามจําเปน ตอการพฒั นาคุณภาพชีวติ ทั้งดา นรางกายและจิตใจของบุคคลในชุมชนและประเทศชาติ
10) เมื่อคนพบวามีทรัพยากรเกิดขึ้นที่ใดยอมมีการทําลายเกิดข้ึนท่ีน้ันดวย ในการจัดการจึงตอง
คํานึงถึงการดําเนินการท่ีกอใหเกิดผลประโยชนมากที่สุดและทําใหเกิดผลเสียนอยที่สุดดวย ซ่ึงบางคร้ังอาจใช
มาตรการทางกฎหมายเขามาเกย่ี วขอ ง

10

11) ประชาชนในชาติหรือในโลกเพ่ิมข้ึนทุกขณะโดยท่ีทรัพยากรไดลดลงเรื่อย ๆ ทุกขณะ เชนกัน
หากทุกคนไมเริ่มตนที่อนุรักษ และจัดการทรัพยากรสิ่งแวดลอมใหดีข้ึนในวันน้ี อนาคตขางหนายอมเกิด
ความลําบากในการท่ีจะทาํ ใหเกดิ หรือคงอยขู องทรัพยากร

12) การทํางานใด ๆ โดยขาดการทําความเขาใจและยอมรับจากคนท่ัวไปแลวมักมีปญหาและไมได
รับความชวยเหลือเทาที่ควรจึงตองทําการช้ีแจงปลูกฝงใหสถาบันครอบครัว และชุมชนเกิดความรักในทองถ่ิน
ของตนดวยการสรางความรู ความเขาใจ เผยแพรประชาสัมพันธ สรางความคิด และจิตสํานึกในการรักษา
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละทรัพยากรส่งิ แวดลอมในบริเวณท่ีตนอยู โดยชี้ใหเห็นความสําคัญคุณคาของการดูแลรักษา
การรับประโยชน ผลกระทบตอคุณภาพชีวิต และสุขอนามัยท่ีจะไดรับจากผลของการจัดการท่ีไมดี จะทําให
การดาํ เนินการตาง ๆ งายขึ้น

2.2.2 แนวคดิ การบริหารจัดการสินคาเกษตรที่สําคญั
การวางแผนภาคการเกษตรอยางยั่งยืน โดยกําหนดยุทธศาสตรที่สําคัญ คือ การเพ่ิมประสิทธิภาพ

การผลติ ลดตนทุน และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันดวยการยกระดบั มาตรฐานสินคาเกษตรสรางมูลคา เพิ่ม
ใหสินคาดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึงการผลิตสินคาใหมีความสมดุลระหวางอุปสงคและอุปทาน
ซ่ึงเกิดจากการผสานของแนวคิด Zoning และหวงโซคณุ คา (Value Chain) ดงั นี้ (อางถึงจาก สาํ นกั งานเศรษฐกิจ
การเกษตรท่ี 2 เรื่อง การศกึ ษาวิเคราะหดา นเศรษฐกจิ สนิ คา เกษตรทส่ี าํ คญั ตามแผนที่ Agri-Map, 2562)

1) แนวคดิ Zoning = Area + Commodity + Human Resource
แนวคิด Zoning = Area + Commodity + Human Resource มีสาระสําคัญ คือ การขับเคล่ือน

นโยบายการบริหารจัดการพื้นท่ีเกษตรกรรม (zoning) ในพื้นท่ีหน่ึงใหประสบความสําเร็จตองอาศัยความพรอม
ของปจจัยหลัก 3 ดานในการขับเคลื่อน ประกอบดวย การบริหารจัดการพื้นท่ีและทรัพยากรท่ีเหมาะสม
ผลิตสินคาไดตรงตามความตองการของตลาด รวมทั้งการมีบุคลากรดานการเกษตรทั้งเกษตรกรและเจาหนาท่ี
ที่จะทําหนาที่บริหารจัดการการผลิตทางการเกษตรตลอดหวงโซคุณคาไดอยางมีประสิทธิภาพ แตอยางไรก็ตาม
พบวาขอมูลขอเท็จจริงเก่ียวกับปจจัยทั้ง 3 ดานท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ีตาง ๆ น้ัน มีความแตกตางกัน โดยในบางพื้นท่ีมี
ความพรอมสําหรับการพัฒนา เชน พื้นท่ีมีความเหมาะสมและโครงสรางพื้นฐานเอ้ืออํานวยสินคาหลักในพ้ืนที่มี
ราคาดี มีตลาดรองรับ มีบุคลากรทั้ง Smart Farmer และ Smart Officer ท่ีมีความพรอมในการบริหารจัดการ
การผลิตทางการเกษตรตลอดหวงโซค ุณคาของสินคาเกษตรตาง ๆ ในพ้ืนท่ีนั้น เปนตน แตในบางพ้ืนท่ีที่อยูในเขต
ยงั ขาดความพรอมในบางเร่อื ง หรือมีปญหาที่ตองเรงแกไขกอน การพัฒนาในแตละพื้นท่ีจึงไมสามารถใชรูปแบบ
วิธีการเหมือนกันได หนวยงานในพ้ืนท่ีและคณะกรรมการระดับจังหวัดจะตองกําหนดมาตรการ โครงการ และ
กิจกรรมในการพัฒนาท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับกลุมเปาหมาย พื้นท่ีและสินคาโดยคํานึงถึงขอมูลขอเท็จจริง
จากปจจัยทั้ง 3 ดานทดี่ ําเนินการสาํ รวจ รวบรวม ตรวจสอบขอมลู ตาง ๆ ทเ่ี ก่ยี วของมาแลวเปน สําคัญ

สาํ หรับชนิดของขอมูลที่เปนองคประกอบสําคัญในปจจัยหลักทั้ง 3 ดาน ไดประมวลไวเปนตัวอยาง
ซ่ึงหนวยงานทั้งในสวนกลางและจังหวัดจําเปนตองทราบเพ่ือนํามาพิจารณากําหนดแนวทางการพัฒนาหรือ
ตัดสินใจในการแนะนาํ และสง เสริมแกเกษตรกรอยางเหมาะสม (ภาพท่ี 2.1)

11

ภาพท่ี 2.1 ขอมูลและปจจัยท่ีควรพิจารณาในกรอบแนวคิด Zoning = Area + Commodity + Human Resource
การใหไดมาของขอมูลท่ีสําคัญดังกลาว กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดขอความรวมมือใหหนวยงาน

ท้ังในและนอกสังกัดกระทรวง โดยเฉพาะหนวยงานในระดับจังหวัดดาํ เนินการสาํ รวจ รวบรวม ตรวจสอบขอมูลตาง ๆ
ที่เก่ียวของจากในพ้ืนที่มาเปนระยะ ซ่ึงการบริหารจัดการขอมูลดังกลาวมีความสําคัญและสงผลตอความสําเร็จ
ในการขับเคล่ือนนโยบาย Zoning เปนอยางมาก ซึ่งขอมูลตาง ๆ เหลาน้ีจะเปนปจจัยในการพิจารณากําหนด
มาตรการ โครงการ กิจกรรม เพ่ือพัฒนาการเกษตรใหตรงตามศักยภาพและเหมาะสมกับพื้นท่ี ใหบรรลุเปาหมายของ
การพัฒนาตามกรอบแนวคิด Zoning = Area + Commodity + Human Resource ซึ่งตองมีการบูรณาการ
นโยบายตาง ๆ เขาดวยกัน โดยเฉพาะการพิจารณาความเช่ือมโยงของกรณีที่พบจากขอมูล/ขอเท็จจริงพื้นท่ี และ
ขอมูลจากสวนกลาง ท้ังดานพ้ืนทแี่ ละทรัพยากร (Area & Resource) ดานสินคา (Commodity) และดานทรัพยากร
บุคลากร (Human Resource: Smart Farmer & Smart officer) โดยจับคูกรณีตาง ๆ แลวกําหนด โครงการ/
กิจกรรม แนวทางการตอบสนองตอกรณี รวมท้ังชวงเวลาในการดําเนินการท่ีเหมาะสม ดังตัวอยางการขับเคล่ือน
นโยบายตามกรอบแนวคิด Zoning = Area + Commodity + Human Resource (ภาพท่ี 2.1) กลาวคือ การบรหิ าร
จัดการพ้นื ท่ีเกษตรกรรม (Zoning) เปนการใชประโยชนท่ีดนิ ของประเทศใหเกดิ ประโยชนแ ละมปี ระสิทธภิ าพสงู สุด
ตองอาศัยปจจัยหลักทั้ง 3 ดาน ทัง้ ดานพ้ืนที่และทรพั ยากร (Area & Resource) ดานสนิ คา (Commodity) และ
ดานคน (Human Resource: Smart Farmer & Smart officer) รวมกันขับเคลื่อนนโยบายดังกลาวให
ประสบความสําเร็จ โดยดําเนนิ การขับเคลอ่ื นบูรณาการนโยบายตา ง ๆ ประกอบดวย โครงการ One ID Card for
Smart Farmer เพื่อตรวจสอบสิทธิของเกษตรกรและบริการ e-services ดานตาง ๆ ของกระทรวง การสํารวจ
คัดกรองเกษตรกรและแบงเกษตรกรออกเปน 3 กลุม ประกอบดวย Smart Farmer ตนแบบ Existing Smart
Farmer และ Developing Smart Farmer วาในพ้ืนท่ี มีแตละกลุมเทาไร และนโยบาย Zoning เปนเครื่องมือท่ี
สําคญั ในการพจิ ารณาความเหมาะสมของการผลิตสินคาเกษตรชนิดตาง ๆ ในพื้นที่ รวมทั้งนโยบาย Commodity
เพื่อเปนขอพิจารณาในการกําหนดปริมาณการผลิตสินคาเกษตรชนิดตาง ๆ ในพ้ืนที่เชนกัน หลังจากน้ันนําขอมูล
ทั้งหมดนาํ เสนอในรปู แบบแผนที่และเจาหนาทขี่ องกระทรวงเกษตรและสหกรณในพ้ืนที่ไปดาํ เนนิ การ

สําหรับตัวอยางที่ไดนําเสนอ คือ พ้ืนท่ี ต.บานพริก อ.บานนา จ.นครนายก จากขอมูลพื้นท่ี
เขตความเหมาะสมในการปลูกขาว พบวา ตําบลน้ีอยูในเขตชั้นความเหมาะสมปานกลางและเหมาะสมนอย
เมื่อนําขอมูลเกษตรกรแตละรายลงแผนที่ ทราบไดวา เกษตรกรท่ียงั คงสถานะเปน Developing Smart Farmer
เนื่องจากสาเหตใุ ด เชน ปลูกพืชในพื้นท่ีไมเ หมาะสม มกี ระบวนการผลิตทไ่ี มดี ทําใหสามารถกําหนดโครงการและ
กิจกรรมเพ่อื พัฒนาและสงเสริมเกษตรกรรายน้ัน ๆ ไดตรงตามความตองการ รวมทั้งการดําเนินงานและการติดตอ
ประสานงานของ Smart Officer ท่ีมีความรูความเช่ียวชาญในพ้ืนท่ี และองคค วามรูทางดานการเกษตรสาขาตาง

12

ๆ ของกรมเปนผูใหคําแนะนํา และประสานงานกับทุกภาคสวนท่ีเก่ียวของภายในพื้นที่ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
โดยใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการชวยเหลือใหคาํ ปรึกษากับเกษตรกรในพื้นท่ี รวมท้ังการ
เรยี นรูแ ละถายทอดบทเรยี นซง่ึ กันและกนั ระหวาง Smart farmer ตนแบบกับเกษตรกรรายอน่ื ๆ ซ่ึงจะนาํ ไปสูก าร
พฒั นาเกษตรกรพน้ื ท่ี และสินคาไดอยา งเหมาะสม และสามารถบริหารจัดการการผลิตทางการเกษตรตลอดหว งโซ
คุณคาไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยใชการตลาดเปนตัวช้ีนําในการสงเสริมการผลิต ซึ่งตั้งเปาหมายวาผลิตออก
มาแลวตอ งขายไดใ นราคาที่เกษตรกรอยูได

2) แนวคดิ หวงโซคุณคา (value chain) การผลิตสินคาเกษตร
หวงโซคุณคา (value chain) การผลิตสินคาเกษตร เปนอีกหลักการหนึ่งท่ีที่ผูรวมดําเนินการ

จากทุกภาคสวน ท้ังหนวยงานภาครัฐ เอกชน และเกษตรกรในพื้นท่ีควรทําความเขาใจใหตรงกัน เนื่องจากภายใต
หวงโซคุณคาการผลิตสินคาเกษตรมีกระบวนการและข้ันตอนรวมทั้งผูที่เก่ียวของอยูเปนจํานวนมาก และ
การพัฒนาการผลิตสินคาเกษตรใหมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลตอทรัพยากรใหมากท่ีสุด ตองมี
การดําเนินการอยางสอดคลองกันตง้ั แตตนนํ้าจนถึงปลายน้ํา (อางถงึ จาก สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 เร่ือง
การศกึ ษาวเิ คราะหดานเศรษฐกจิ สินคา เกษตรทส่ี าํ คญั ตามแผนที่ Agri - Map, 2562 ) (ภาพที่ 2.2)

ภาพที่ 2.2 กรอบแนวคิดหว งโซค ณุ คา (value chain) การผลิตสินคา เกษตร
จากภาพที่ 2.2 กรอบแนวคิดหวงโซคุณคา (Value chain) การผลิตสินคาเกษตร อุตสาหกรรม
อาหารและพลังงาน โดยทั่วไปทิศทางของสินคาเกษตรจะเคลื่อนจากตนน้ําสูปลายน้ํา โดยตนนํ้าจะเปนดาน
การผลิตจากการจัดหาปจจัยการผลิตเพ่ือทําการผลิต การปลูกเล้ียงจนไดผลผลิตออกมาสงตอไปท่ีกลางนํ้า
เปนสวนของการแปรรูป ซึ่งตองจัดหาวัตถุดิบตามความตองการปอนสูกระบวนการแปรรูปใหเปนสินคาแตละชนิด
เพอ่ื เขา สูก ลไก ปลายน้าํ ซึง่ เปนกระบวนการดานการตลาดสผู ูบ รโิ ภคท้ังในและตา งประเทศ
สําหรับทิศทางของผลตอบแทนจะเปนในทิศทางตรงขาม กลาวคือ ผูบริโภคจะเปนตนทาง
ของผลตอบแทนใหกับผูที่เก่ียวของในหวงโซคุณคาการผลิตสินคาเกษตรชนิดน้ัน ๆ โดยจายผลตอบแทนใหกับ
พอคา/นกั ธุรกิจทีเ่ ปนผนู ําเสนอสินคาและบรกิ ารทีต่ รงตามความตองการของผูบริโภค โดยพอคา /นักธรุ กจิ จะเลอื ก
ซือ้ สนิ คา ที่มคี ุณภาพ/มาตรฐานจากแหลงแปรรูปซ่ึงอยูกลางนาํ้ ตามปริมาณที่ผูบ รโิ ภคตอ งการ ซ่งึ เปนไปตามกลไก
ตลาด ซ่งึ หากมปี ริมาณเพ่ิมมากขึน้ แหลงแปรรูปก็จะซ้ือผลผลิตทางการเกษตร ซ่งึ เปน วตั ถุดิบในการแปรรปู มากขึ้น
ใหเ กษตรกรสามารถขายผลผลติ ทางการเกษตรไดเ พิม่ ข้นึ

13

ทงั้ นี้ ปจจัยสําคญั ในการบรหิ ารจัดการใหหวงโซค ณุ คา การผลิตสนิ คาเกษตรแตละชนดิ ใหมีประสิทธิภาพ
คอื การสรา งสมดลุ ระหวางอปุ สงคแ ละอุปทานของสนิ คาเกษตรแตล ะชนิดในตลาดต้งั แตตนน้ําถงึ ปลายน้ําในสภาพ
ปจจุบันประเทศไทยยังประสบปญหาการผลิตที่ไมสอดคลองกับความตองการของตลาดในสินคาเกษตรหลาย ๆ
ชนิด ซง่ึ เปนปญหาสําคัญที่สรางความสญู เสียโอกาสในการพัฒนาตาง ๆ สงผลตอความสามารถในการแขงขันของ
ประเทศ รวมท้ังกอ ใหเกิดปญหาทางเศรษฐกิจและสังคมตามมาในหลายกรณี กระทรวงเกษตรและสหกรณซง่ึ เปน
หนวยงานรับผิดชอบในการขับเคลื่อนการผลิตสินคาเกษตรสวนตนนํ้าเปนหลัก และสนับสนุนการขับเคล่ือน
สวนกลางน้ําและปลายน้ําใหกับหนวยงานตาง ๆ ตองทําความเขาใจโจทยสําคัญท่ีตองเรงดําเนินการท้ังในสวน
ตน นาํ้ กลางนํา้ และปลายน้ํา

2.2.3 แนวคดิ การบรหิ ารจดั การผมู สี ว นเก่ียวขอ งในการดําเนินโครงการ (Stakeholder)
แนวคิดการมีสว นรวมอธิบายตามหลักจรยิ ธรรมสากลแบบเดิมวาไมมคี วามสอดคลองกับสภาวะการและ

ความมีประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารของกิจการ จึงทาํ ใหสงั คมมีการเรยี กรองความรับผิดชอบในการดาํ เนินธุรกิจตอ
สังคมและสิ่งแวดลอม (ศรติ ภูมิโพธิ, 2556) แนวคิดเรื่องจริยธรรมการบริหารจึงปรากฏเปนรูปธรรมและ
มีลักษณะเฉพาะการบริหารมากข้ึน จนไดร บั การยอมรับวาจริยธรรมการบริหาร เปนการบริหารเชิงกลยุทธอ ยาง
หนึ่งท่ีเรียกวา “การบริหารเพ่ือผูมีสวนไดสวนเสีย” Strategic Management: A Stakeholder Approach ของ
Freeman (Freeman, 1984) ซ่ึงเปดเผยขอมูลผลกระทบดานบวกและดานลบของกิจการตอเศรษฐกิจ
สงั คม และส่งิ แวดลอ มจึงนาจะมคี วามสําคัญตอผมู สี วนไดส ว นเสยี ท่ีเกย่ี วของกับกิจการ

2.2.4 แนวคิดการประเมินผลกระทบดา นภาวะเศรษฐกจิ และสังคมครัวเรือนเกษตรกร
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2563) ไดอธิบายวาการสํารวจภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนและ

แรงงานเกษตร เปนการจัดทําขอมูลท่ีเก่ียวของกับสถานภาพทางเศรษฐกิจของเกษตรกร โดยเฉพาะขอมูล
เร่ืองรายได - รายจายเงินสดของครัวเรือนเกษตรทั้งท่ีเกี่ยวของกับการเกษตร และกิจกรรมนอกการเกษตร
ซึ่งขอมูลรายไดเงินสดเกษตร ไดใชเปนตัวชี้วัดผลการดําเนินงานตามมาตรการและนโยบายของรัฐบาลผาน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ ตามคํารับรองการปฏิบัติราชการทั้งนี้รายได - รายจายเงนิ สดทใี่ ชในชีวิตประจําวัน
ของเกษตรกร เปนขอมูลท่ีสะทอนถึงการเปล่ียนแปลงสภาพเศรษฐกิจของประเทศในชวงเวลานั้น เน่ืองจากอาชีพ
เกษตรกรรมยังคงมีบทบาทสําคัญของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในภาพรวมของไทย นอกจากน้ี ขอมูลที่จัดทํา
ยังรวมถึงขอมูลสําคัญอ่ืน เชน การถือครองและการใชประโยชนท่ีดินของเกษตรกร ขอมูลดานสถานภาพหนี้สิน
และทรัพยสินของครัวเรือนเกษตร ขอมูลสถานภาพท่ัวไปของสมาชิกภายในครัวเรือนและแรงงานเกษตร
ซึ่งขอมูลทุกเรอื่ งมีความสําคญั เปน อยา งย่งิ เพราะสามารถนาํ ไปใชป ระโยชนไ ดอยางกวา งขวางและครอบคลมุ โดยที่
ผานมามีหนวยงานทั้งจากภาครัฐและเอกชน นิสิต นักศึกษา นักวิจัย ตลอดจนผูใชขอมูลท่ัวไป นําขอมูลจาก
โครงการสํารวจภาวะเศรษฐกิจ สงั คมครวั เรือนและแรงงานเกษตร ไปใชใหเกิดประโยชนมากมาย กอใหเกิดความ
รว มมอื ระหวางหนว ยงานในการจัดเกบ็ ขอมูล เพอ่ื ใหส ามารถใชป ระโยชนในเรือ่ งเฉพาะ เชน การจดั ทาํ ขอ มลู ภาวะ
เศรษฐกจิ สงั คมครัวเรือนของเกษตรกรท่ที ํานา ฯลฯ

2.2.5 แนวคดิ การวเิ คราะหท ัศนคติ และความพงึ พอใจ

ไดนํามาตรวัดแบบลิเคิรทสเกล (Likert Scale) ที่สรางข้ึนโดย Rensis Liker ถือเปนเคร่ืองมือ
การวัดขอมูลเชิงคุณภาพท่ีนิยมใชกันท่ัวไป เพ่ือใชตัวแปร อาทิ ทัศนคติ ความเขาใจ ความคิดเห็น และความ
พึงพอใจ ซ่ึงวิธีการไดของมาตรวัดแบบลิเคิทสเกล ตองออกแบบสอบถามระดับความคิดเห็นในคําถาม
แตละขอ ไดหลายระดับ (Rensis, 1932) ในการประเมินผลคร้ังนี้ไดแบงคะแนนออกเปน 5 ระดับ โดยกําหนดให
พึงพอใจมากท่ีสุด เทากับ 5 พึงพอใจมาก เทากับ 4 พึงพอใจปานกลาง เทากับ 3 พึงพอใจนอย เทากับ 2 และ
พึงพอใจนอยทีส่ ุด เทา กบั 1 การกาํ หนดเกณฑค ะแนนเปนชว ง ๆ มวี ธิ ีคาํ นวณ ดงั นี้

14

ชว งคะแนนเฉลีย่ = คะแนนมาก - คะแนนนอ ย

จาํ นวนระดบั
โดยท่ี

คะแนนมาก คือ คะแนนท่ีกําหนดมากท่ีสุดตามแบบสอบถาม
คะแนนนอย คือ คะแนนที่กําหนดนอยท่สี ุดตามแบบสอบถาม
จํานวนระดับ คือ กําหนดระดับการวดั ไว 5 ระดับ

เม่อื แทนคาในสูตรจะไดช ว งคะแนนเฉลี่ย = (5-1)/5 = 0.80 จากนั้นนาํ ชวงคะแนนไปกาํ หนดระดับ

ความสาํ เรจ็ ต้งั แต 1 ถงึ 5 ดงั น้ี

คา คะแนน ผลการประเมินผล

1.00 – 1.80 ไมเ ห็นดวยอยางยิ่ง/นอยทสี่ ุด

1.81 – 2.60 ไมเ ห็นดว ย/นอย

2.61 – 3.40 ไมแ นใจ/ปานกลาง

3.41 – 4.20 เหน็ ดว ย/มาก

4.21 – 5.00 เห็นดว ยอยางยงิ่ /มากทีส่ ดุ

บทท่ี 3
ขอมูลสภาพท่วั ไป

3.1 ขอมลู ดา นกายภาพ
3.1.1 ลักษณะทั่วไปของจังหวัด
อุตรดติ ถเปนจังหวัดหนึ่งในภาคเหนือตอนลาง เปนประตูขึ้นสูดินแดนลานนาตะวันออกเปนเมืองกอน

ประวตั ศิ าสตร ตัวเมืองเดิมชื่อ “บางโพทา อิฐ” ไดรับการยกฐานะเปน จงั หวดั เมอื่ พ.ศ. 2476 “อุตรดิตถ” หมายถึง
เมืองทา แหงทิศเหนือ เปนเมืองตํานานแมมายลับแล และเมืองถิ่นกําเนดิ ของวีรบุรษุ กูชาติ “พระยาพิชัยดาบหัก”
ทหารเอกสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช มีระยะทางอยูหางจากกรุงเทพ ฯ โดยทางรถยนต ระยะทาง
491 กิโลเมตร และโดยทางรถไฟ ระยะทาง 485 กิโลเมตร มอี าณาเขตตดิ ตอกบั จงั หวัดใกลเคยี ง ดงั นี้

ทศิ เหนอื ตดิ กบั จังหวดั แพรและจังหวัดนาน
ทศิ ใต ตดิ กับ จงั หวดั พิษณโุ ลก
ทิศตะวันออก ติดกับ จังหวดั พิษณโุ ลกและสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว
ทิศตะวนั ตก ติดกับ จังหวดั สโุ ขทัย

3.1.2 สภาพพ้นื ทีแ่ ละลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ แบง ไดเปน 3 ลกั ษณะ คือ
1) ที่ราบลุมแมนํ้านาน บริเวณสองฝงของแมน้ํานาน และลําน้ําสาขาท่ีไหลมาบรรจบกับแมน้ํานาน

สภาพพ้ืนที่สวนใหญเปนพื้นที่ราบลุมอยูในเขตอําเภอตรอน อําเภอพิชัย บางสวนของอําเภอเมืองอุตรดิตถ
อาํ เภอลบั แล และอาํ เภอทองแสนขัน รอ ยละ 20 ของพนื้ ทีท่ ง้ั หมด

2) ที่ราบระหวางหุบเขาและเชิงเขาบริเวณท่ีอยูตอเน่ืองจากบริเวณที่ราบลุมแมนํ้าทางดานเหนือและ
ดานตะวันออกของจังหวัด ประกอบดวยท่ีราบแคบ ๆ ระหวางหุบเขาตามแนวคลองตรอน แมน้ําปาด
คลองแมพรอง หวยน้ําไคร และลําธารสายตาง ๆ สลับกับภูมิประเทศเปนเขาอยูในเขตอําเภอเมืองอุตรดิตถ
อาํ เภอลบั แล อําเภอนํา้ ปาด อาํ เภอฟากทา อาํ เภอทา ปลา และอําเภอบานโคก รอยละ 20 ของพ้นื ทท่ี ้งั หมด

3) เขตภูเขาและท่ีสูง อยูบริเวณทางดานเหนือและทางตะวันออกของจังหวัด โดยเฉพาะเขต
อําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอลับแล อําเภอนํ้าปาด อําเภอฟากทา อําเภอทาปลา และอําเภอบานโคก รอยละ 60
ของพ้ืนทที่ ัง้ หมด

4) จังหวัดมีพ้ืนท่ีทั้งหมด 7,838 ตารางกิโลเมตร หรอื 4,899,120 ไร เปน อันดับที่ 11 ของ 17 จังหวัด
ภาคเหนือ และอนั ดับที่ 25 ของประเทศ

5) ลกั ษณะการใชท่ดี ิน พื้นที่การเกษตร 1,255,225 ไร คิดเปนรอยละ 26 ของพ้ืนท่ีทง้ั หมด คือ เปนพ้ืนที่
ทํานา 610,057 ไร คดิ เปนรอ ยละ 49 ของพน้ื ท่ีการเกษตร พน้ื ที่ทาํ ไร 268,848 ไร คดิ เปนรอยละ 21 ของพ้ืนท่ีการเกษตร
พื้นท่ีทําสวน 273,879 ไร คิดเปนรอยละ 22 ของพื้นท่ีการเกษตร และพ้ืนท่ีการเกษตรอ่ืน ๆ 102,441 ไร คิดเปน
รอยละ 8 ของพื้นที่การเกษตร สําหรับพ้ืนทีป่ า ไมม จี ํานวน 3,075,568 ไร คดิ เปน รอ ยละ 62 ของพืน้ ท่ีทัง้ หมด

6) ลักษณะภูมิอากาศ จังหวัดอุตรดิตถไดรับอิทธิพลจากกระแสลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
และตะวันตกเฉียงใต ซึ่งมีความชื้นและความรอนสูง ในชวงฤดูรอนอากาศจะรอนจัด มีอุณหภูมิเฉลี่ย
35 องศาเซลเซียส และในชวงฤดูฝนอากาศเย็นสบาย มีฝนตกชุก ซ่ึงปริมาณน้ําฝนของจังหวัดอุตรดิตถ
อยูชว ง 957.30 - 1,695.90 มลิ ลเิ มตร และมจี าํ นวนวันฝนตกประมาณ 99 วนั

3.1.3 ลักษณะดนิ ตามลกั ษณะธรณีสณั ฐาน และวตั ถตุ น กาํ เนิดดนิ มรี ายละเอียดดงั นี้
1) บริเวณที่ราบนํ้าทวมถึง (flood plain) มีเนื้อท่ีประมาณ 36,591 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.75

เปนท่ีราบบริเวณสองฝงแมนํ้านานและลําน้ําสาขา ซ่ึงอาจเกิดนํ้าทวมทุกปในฤดูฝน สภาพพื้นท่ีราบเรียบ
ถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชันรอยละ 0 - 2 ลักษณะดินเกิดจากการทับถมของตะกอนลํานํ้าทุก ๆ ป

16

เปนดินลึก เน้อื ดินสวนใหญเปนดินรว นปนทราย ดินรวนถึงดินเหนียวและมีการทับถมของตะกอนลําน้ําในชวงเวลาที่
แตกตางกัน ดินมีการระบายนา้ํ ดีถึงเลว มคี วามอุดมสมบูรณตามธรรมชาตปิ านกลาง ใชป ระโยชนทีด่ ินในการทํานา
ปลกู พืชไร และพชื ผัก ไดแ ก กลุมชุดดินท่ี 21, 38 และ 59

2) บริเวณสันดินริมนํ้าเกา (old levee) มีเน้ือที่ประมาณ 173,816 ไร หรือคิดเปนรอยละ 3.55
เปนบริเวณท่ีถัดจากที่ราบน้ําทวมถึง เกิดจากการทับถมของตะกอนลํานํ้าเกิดเปนสันดินริมฝงแมน้ํา สภาพพ้ืนท่ี
ราบเรียบถึงลูกคล่ืนลอนลาดเล็กนอย ความลาดชันรอยละ 0 - 5 เนื้อดินเปนพวกดินรวน ดินรวนปนทรายแปง
ถึงดินเหนียว เปนดินลึกมาก การระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง ความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง มีการใช
ประโยชนที่ดนิ ในการปลกู พืชไร พชื ผัก และไมผ ล ไดแก กลุมชุดดินท่ี 33 และ 60

3) บริเวณตะพักลําน้ําคอนขางใหม (semi-recent terrace) มีเนื้อท่ีประมาณ 501,711 ไร หรือ
คิดเปนรอ ยละ 10.24 เปนบริเวณทีถ่ ดั จากที่ราบน้าํ ทวมถึงและสันดินรมิ น้าํ เกาเกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ํา
ที่มีอายุคอนขางใหม สภาพพ้ืนท่ีราบเรยี บถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชันรอยละ 0 - 2 ลักษณะดินเปนดินลึกมาก
เน้ือดินเปนดินรวนปนทรายแปง ดินรวนเหนยี วปนทรายแปงถึงดินเหนียว มีการระบายน้ําเลว ความอุดมสมบูรณ
ตามธรรมชาติต่ําถึงปานกลาง มีการใชประโยชนที่ดินในการทํานา บางแหงที่มีแหลงนํ้าสามารถปลูกพืชไรและ
พชื ผักในฤดูแลง ไดแก กลมุ ชดุ ดินที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 และ 15

4) บริเวณตะพักลํานํ้าเกา (old alluvium terrace) มีเนื้อท่ีประมาณ 682,346 ไร หรือคิดเปน
รอ ยละ 13.92 แบง เปน 2 ลักษณะ คอื

4.1) บริเวณตะพักลํานํ้าระดับตํ่า (low terrace) มีเน้ือที่ 194,228 ไร หรือคิดเปนรอยละ 3.96
เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ําเกาบนตะพักลําน้ําระดับตํ่า สภาพพื้นท่ีราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ
ความลาดชันรอ ยละ 0 - 2 ลักษณะดินสวนใหญเปนดินลึกมาก มีบางแหงท่ีเปนดินตน้ื ปนกรวดหรือลูกรัง เนอ้ื ดิน
เปนดินรวนปนทราย ดินรวน ถึงดินรวนเหนียวปนทราย มีการระบายน้ําคอนขางเลวความอุดมสมบูรณ
ตามธรรมชาติตํา่ มกี ารใชป ระโยชนทดี่ นิ ในการทาํ นาไดแ ก กลุมชุดดนิ ที่ 16, 17, 18, 22, 24 และ 25

4.2) บริเวณตะพักลํานํ้าเการะดับกลางถึงสูง (middle to high terrace) มีเน้ือท่ี 488,118 ไร
หรือคิดเปนรอยละ 9.96 เกิดจากการทับถมของตะกอนลํานํ้าเกาบนตะพักลํานํ้าระดับกลางถึงสูง สภาพพ้ืนท่ี
เปนแบบคอ นขางราบเรียบถึงลูกคล่ืนลอนชนั ความลาดชนั รอยละ 2 - 20 ลักษณะดินเปนดนิ ตื้นถึงลึกมาก เนอื้ ดิน
เปนดินรว นปนทราย ดนิ รวน ถึงดนิ เหนยี วปนทราย มีการระบายนํา้ ดี ความอุดมสมบรู ณตามธรรมชาตติ า่ํ มีการใช
ประโยชนที่ดินในการปลูกพืชไร และไมผลตาง ๆ บางแหงยังคงสภาพเปนปาเต็งรัง ไดแก กลุมชุดดินท่ี 35, 40,
41, 44, 48 และ 49

5) บริเวณพื้นผิวท่ีเหลือคางจากการกรอน และที่ลาดเชิงเขา (erosion surface and footslope)
มีเนื้อท่ี 589,742 ไร หรือคิดเปนรอยละ 12.04 เปนบริเวณท่ีเกิดจากการผุพังสลายตัวอยูกับท่ีหรือเคลื่อนที่
ไปเล็กนอยตามแรงโนมถวงของโลกของวัตถุตนกําเนิดดิน ไดแก หินดินดาน หินทราย หินควอทไซท หินฟลไลท
และหินแอนดีไซท เปนตน สภาพพ้ืนที่เปนแบบลูกคล่ืนลอนลาดถึงเนินเขา ความลาดชันรอยละ 5 - 35 ลักษณะ
ดินและความอุดมสมบูรณของดินข้ึนกับวัตถุตนกําเนิดดิน เปนดินตื้นถึงลึกมาก เน้ือดินเปนดินรวน รวนปน
ดินเหนียว รวนปนทรายถึงดินเหนยี ว มีการระบายน้ําดี ความอุดมสมบรู ณตามธรรมชาตติ ํ่าถึงปานกลาง มีการใช
ประโยชนท ด่ี นิ ในการปลกู พชื ไร และไมผลชนิดตาง ๆ ไดแ ก กลมุ ชุดดินท่ี 26, 28, 29, 31, 36, 46, 47, 55 และ 56

6) บริเวณเนินเขาและภูเขาสูงชัน (hills and mountains) มีเนื้อท่ี 2,726,027 ไร หรือคิดเปน
รอยละ 55.64 เปนบริเวณที่มีสภาพพื้นท่ีสูงชัน ความลาดชันมากกวารอยละ 35 ประกอบดวยดินหลายชนิด
เกิดขึ้นปะปนกันยังไมมีการสํารวจและจําแนกดิน ลักษณะและคุณสมบัติตาง ๆ ของดิน ตลอดจนความ
อุดมสมบูรณของดินไมแนนอนขึ้นกับหินท่ีเปนวัตถุตนกําเนิดดินบริเวณน้ัน ๆ เปนพ้ืนที่ท่ีไมเหมาะสมในการทํา
การเกษตรใด ๆ เน่ืองจากมีความลาดชันมากเกินไปเสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดินอยางรุนแรงควรสงวนไว
เปนพื้นทปี่ าไมธ รรมชาติ

17

7) พนื้ ท่ีดินหนิ โผล (rock land) มีพ้นื ที่ 22,946 ไร หรือคิดเปนรอ ยละ 0.47
8) พ้ืนท่แี หลง น้ํา (water land) มีเน้ือที่ 165,941 ไร หรอื คดิ เปน รอยละ 3.39
ท้งั นี้ ความเหมาะสมของทดี่ ินสาํ หรับการปลกู พืชจากขอมลู ทรพั ยากรดนิ ในจังหวดั อุตรดิตถ สามารถ
สรุปความเหมาะสมของที่ดินสาํ หรบั การปลูกพชื ชนดิ ตา ง ๆ ดงั นี้

(1) ดินที่มีศักยภาพเหมาะสมตอการทํานา มีเนื้อท่ี 699,950 ไร หรือคิดเปนรอยละ 14.29
พบบรเิ วณท่ีราบและท่รี าบน้ําทวมถึง สวนใหญเกิดจากการพัฒนาและทับถมของตะกอนท่ีมากับน้ํา ทําใหเกิดเปน
ทรี่ าบเปน บริเวณกวางตามอําเภอตาง ๆ และตามหุบเขา ลักษณะดินเปนดนิ เหนยี ว มีการระบายนํ้าเลว ความอดุ ม
สมบูรณตามธรรมชาติตํ่าถึงปานกลาง สวนมากพบทางดานตะวันออกและตะวันตกเฉียงใตของจังหวัด ไดแก
อาํ เภอตรอน อําเภอพชิ ยั และตอนใตของอําเภอลับแล นอกนั้นพบกระจดั กระจายอยทู ุกอาํ เภอ

(2) ดินท่ีมีศักยภาพเหมาะสมสําหรับพืชไร มีเนื้อท่ี 526,038 ไร หรือคิดเปนรอยละ 10.70
สวนมากพบตามที่ราบและสันดินริมแมนํ้านานและลําน้ําสาขา และบริเวณที่ลาดเชิงเขา สภาพพ้ืนท่ีท่ัวไปมี
ความลาดชันเล็กนอยถึงลูกคล่ืนลอนชัน หรือเชิงเขาความลาดชันรอยละ 2 - 20 ประกอบดวยดินหลายกลุม
แตกตางกันไปตามลักษณะและอิทธิพลของวัตถุตนกําเนิด เนื้อดินปานกลางถึงละเอียด มีการระบายนํ้าดี พ้ืนที่
สว นใหญกระจายอยูตามอําเภอตาง ๆ ท่พี บมาก คอื อาํ เภอตรอน อําเภอพชิ ัย และอาํ เภอเมือง

(3) ดินท่ีมีศักยภาพเหมาะสมสําหรับไมผล มีเน้ือที่ 554,858 ไร หรือคิดเปนรอยละ 11.30
สวนมากพบตามที่ราบและสันดินริมแมน้ํานานและแมนํ้าสาขา บริเวณท่ีลาดเชิงเขาและเนินเขา ความลาดชัน
รอยละ 2 - 35 ลักษณะดินเปนดินลึก มีการระบายนํ้าดี เนื้อดินเปนดินรวนปนทราย ดินรวนถึงดินเหนียว
ความอุดมสมบูรณต่ําถึงปานกลาง พบกระจัดกระจายอยูตามอําเภอตาง ๆ พบมากท่ีอําเภอตรอน อําเภอพิชัย
อําเภอลับแล และอาํ เภอทาปลา

3.1.4 ศักยภาพที่สาํ คญั ของจงั หวัดอตุ รดติ ถ มรี ายละเอยี ดดังนี้
1) ดา นเกษตรกรรม มีพ้ืนที่ทําการเกษตรจํานวนมาก คิดเปนรอยละ 26 ของพ้ืนที่ท้ังหมด โดยพ้ืนท่ี

ทําการเกษตรสวนใหญเ ปน นาขา วและสวนผลไม ซ่ึงเปน แหลงผลติ อาหารทสี่ ําคัญของประเทศ
2) ดานการคาชายแดน มีชายแดนตดิ ตอลาว ระยะทาง 135 กิโลเมตร มีการคาชายแดนในแตละป

ณ จุดผอนปรนทางการคาชองภูดู ชองหวยตาง และชองมหาราช มูลคาการคาชายแดนกวา 200 ลานบาทตอป
ซึ่งกําลังจะไดรับการยกระดบั เปน จุดผานแดนถาวรชองภูดู และมีเสน ทางเช่ือมโยงกับจังหวัดตาง ๆ และประเทศ
เพือ่ นบา นไดโดยสะดวก

3) ดานการทองเท่ียว มีแหลงทองเท่ียวจํานวนมากท้ังดานประวัติศาสตรและธรรมชาติ เชน ภูสอยดาว
ฯลฯ สามารถเช่ือมโยงกับจังหวัดในภูมิภาคน้ีและประเทศเพื่อนบานไดโดยเปนประตูเช่ือม 4 เมืองมรดกโลก
ซ่ึงที่ใกลท่ีสุด คือ กําแพงเพชร สุโขทัย ศรีสัชนาลัย และหลวงพระบาง รวมทั้งเปนจุดเชื่อมโยงสูประเทศในกลุม
อนิ โดจีนและอาเซยี นได โดยสามารถเดินทางไดสะดวกอีกเสนทางหนง่ึ ของประเทศ

4) จุดท่ีต้ังเปนประตเู ชอื่ มโยงระหวางภาคเหนอื ตอนบนและภาคอีสานตอนบน
5) แหลงนํา้ มคี วามอุดมสมบูรณและมแี หลงขนาดใหญ (เข่ือนสริ กิ ิต)ิ์ และมีแมนา้ํ ท่ีสําคัญ 3 สาย คอื
แมน ํ้านาน แมน ้าํ ปาด และคลองตรอน ซ่งึ มีฝนตกชุก
6) เสนทางคมนาคมมีความสะดวกท้ังทางรถไฟและรถยนต รวมทั้งมีพื้นท่ีที่จะพัฒนาเปนศูนยขนสง
สินคา ทางรางรถไฟ (Container Yard: CY) ที่ใหญที่สดุ ในภาคเหนือ

3.2 สภาพทัว่ ไปของโครงการ
3.2.1 สภาพปญหาและเหตุผลความจําเปน ในการดําเนินโครงการ
เม่ือพิจารณาถึงความเหมาะสมของโครงการ พบวา การแกไขปญหาทรพั ยากรน้ําในลุมน้ํานานจะตอง

ทาํ ใหลุมนาํ้ นานมีนํ้าอยางเพียงพอและมีคุณภาพ เพ่ือประโยชนใ นการผลติ และการอุปโภค - บริโภคสนับสนนุ การ

18

สรางเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีของประชาชน ควบคูไปกับการบรรเทาอุทกภัยไดอ ยางตอเน่อื ง โดยคํานึงถึงผลกระทบท่ี

อาจเกดิ ข้ึนกับสภาพแวดลอมและทรพั ยากรธรรมชาติอื่น ๆ และเพอ่ื ใหเ กิดการพฒั นาลมุ นํ้านา นอยางเปน รูปธรรม

จึงไดคัดเลือกโครงการนํารองท่ีมีลําดับความเหมาะสมในการพัฒนาสูง คือ โครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก จังหวัด

อุตรดิตถ และจากการจัดการนํ้าอยางเปนระบบจะทําใหมีปริมาณนํ้าที่เพิ่มข้ึนในฤดูแลง 506 ลานลูกบาศกเมตร

ซึ่งจะเพียงพอท่ีจะสามารถสงน้ําใหกับพื้นท่ีในเขตจังหวัดอุตรดิตถที่ประสบปญหาการขาดแคลนนํ้า นอกจากน้ัน

ปจ จบุ ันการใชนํา้ ในพ้ืนที่เพาะปลกู ของจงั หวดั อุตรดติ ถตองอาศัยโครงการสูบนา้ํ ดวยไฟฟา ทําใหตองเสียคาใชจ าย

ในการสูบน้ําเปนจํานวนมาก จึงมีราษฎรเรียกรองใหกรมชลประทานดําเนนิ การกอ สรางโครงการเขอื่ นทดนาํ้ ผาจุก

จังหวัดอตุ รดติ ถ

3.2.2 วตั ถุประสงคข องโครงการ

1) การบริหารจัดการน้ําในลุมนํ้านานตอนลาง บริเวณอําเภอเมือง อําเภอลับแล อําเภอตรอน

อําเภอพิชัย จังหวดั อุตรดติ ถ อําเภอพรหมพิราม และอาํ เภอวดั โบสถ จงั หวดั พิษณโุ ลก เกิดประสทิ ธิภาพสงู สุด

2) สามารถสง นํ้าในพน้ื ท่ีชลประทานในเขตโครงการ ประมาณ 481,400 ไร

3) สงน้ําเพอื่ การอปุ โภค - บริโภค อุตสาหกรรมและรักษาระบบนเิ วศในแมน ํ้านา น

3.2.3 ท่ตี ัง้ โครงการ

โครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ มีท่ีต้ังหัวงานอยูทพี่ ิกัดในแผนท่ี 1 : 50,000

ระวาง 5044 II พกิ ัด 47 QPV 347517 บริเวณบานคลองนาพง หมูที่ 7 ตําบลผาจุก อําเภอเมือง จงั หวัดอุตรดติ ถ

ตวั เขื่อนปดกั้นลํานํ้านาน มรี ะบบคลองสง น้าํ ชลประทานโดยอาศัยแรงโนมถวงทั้งฝงซายและฝง ขวาของแมน้ํานาน

ครอบคลุมพ้ืนท่ีโครงการรวม 811,940 ไร

3.2.4 ลกั ษณะของโครงการ

1. ทีต่ ้ังเขื่อนทดนํา้ บานคลองนาพง หมทู ี่ 7 ตําบลผาจุก อําเภอเมือง จงั หวดั อุตรดติ ถ

2. ลกั ษณะอทุ กวิทยา

- พน้ื ท่รี บั นํา้ ฝน 16,181 ตร.กม.

- ปริมาณน้าํ ทาเฉล่ยี รายป 5,409 ลา น ลบ.ม.

- ปริมาณนา้ํ หลากออกแบบ 3,977 ลบ.ม./วินาที

- ระดบั นาํ้ หลากในรอบ 100 ป +65.30 ม.(ร.ท.ก.)

- ระดับน้าํ หลากในรอบ 1,000 ป +67.10 ม.(ร.ท.ก.)

3. ลกั ษณะความจตุ ามลาํ น้ํา

- ระดบั เกบ็ กักปกติ +68.50 ม.(ร.ท.ก.)

- ระดับเก็บกักตาํ่ สุด +68.00 ม.(ร.ท.ก.)

- ความจุทีร่ ะดบั เก็บกักปกติ 46.76 ลา น ลบ.ม.

- พน้ื ที่ผิวน้าํ ท่ีระดบั เกบ็ กักปกติ 5.60 ตร.กม.

4. เขอ่ื นทดนํา้

- ชนดิ อาคารคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ควบคุมดว ยประตูบานโคง

- ระดับสันเขอื่ น 72.00 ม.(ร.ท.ก.)

- ความสงู 17 เมตร

- จํานวนชอ ง (ประตู) 9 บาน

- ขนาดบาน กวาง x สูง 12.50 x 8.00 เมตร

- ระดบั ธรณีประตู +61.00 ม.(ร.ท.ก.)

- ความกวางตอมอ 2.50 เมตร

- ความกวางทอ งลาํ น้าํ 132.50 เมตร

19

- ระดับหลงั ตอมอ +72.00 ม.(ร.ท.ก.)

5. ประตปู ากคลองสง นา้ํ สายใหญฝง ขวา

- ชนิด อาคารคอนกรีตเสรมิ เหล็ก

- ระดับสนั ฝาย +64.05 ม.(ร.ท.ก.)

- ระดบั สนั อาคาร +72.00 ม.(ร.ท.ก.)

- ขนาดบานควบคมุ (จํานวน x กวาง x สูง) 2 x 4 x 4 เมตร

- ความยาวคลอง 103.70 กิโลเมตร

- ระบายนาํ้ ไดสูงสดุ ประมาณ 46 ลบ.ม./วนิ าที

- พ้ืนทชี่ ลประทาน 275,700 ไร

6. ประตปู ากคลองสงน้าํ สายใหญฝง ซาย

- ชนดิ อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก

- ระดับสันฝาย +64.55 ม.(ร.ท.ก.)

- ระดับสนั อาคาร +72.00 ม.(ร.ท.ก.)

- ขนาดบานควบคุม (จาํ นวน x กวาง x สงู ) 2 x 4 x 4 เมตร

- ความยาวคลอง 70 กิโลเมตร

- ระบายนํ้าไดสงู สดุ ประมาณ 40 ลบ.ม./วินาที

- พนื้ ท่ีชลประทาน 205,735 ไร

7. โรงไฟฟา พลังนํา้ กอสรา งในคลองผนั นํา้ ระหวางกอสรา ง

- ความกวางกนคลอง 20 เมตร

- ความลกึ คลองผันนา้ํ 15 เมตร

- ระดับกนคลอง +54.00 ม.(ร.ท.ก.)

- ความยาวคลอง 800 เมตร

- ขนาดโรงไฟฟา (กวา ง x ยาว) 20 x 30 เมตร

8. เครือ่ งจกั รกลไฟฟา พลงั นํา้

- ชนิด Bulb

- กาํ ลังผลติ 2 x 8,500 กิโลวตั ต

- แรงดนั หวั นํ้า 11.70 เมตร

- อัตราการไหลตอ เครื่อง 87 ลบ.ม./วนิ าที

- ระดับการตดิ ตัง้ (Unit Centerline) +52.80 ม.(ร.ท.ก.)

- ระดบั นา้ํ ตํ่าสุดดานทายน้ํา +56.30 ม.(ร.ท.ก.)

- พลังงานไฟฟาเฉล่ยี ปล ะ 99 ลา นหนวย

3.2.5 สภาพท่ัวไปของลกั ษณะโครงการ สรุปไดด ังน้ี

1. เข่อื นทดนา้ํ และอาคารประกอบ

เข่ือนทดนํ้าผาจุก ตัวอาคารเข่ือนทดนํ้าเปนอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ควบคุมดวยบานระบาย

เหล็กโคง จํานวน 9 บาน กวาง 12.50 เมตร สูง 8 เมตร มีระดับเก็บกักปกติ +68.50 ม.(ร.ท.ก.) ระดับเก็บกัก

ต่ําสุด +68.00 ม.(ร.ท.ก.) ระดับสันอาคาร +72.00 ม.(ร.ท.ก.) ปริมาณนํ้าหลากออกแบบในรอบ 100 ป มีอัตรา

น้ําหลากสูงสุดเทากับ 3,977 ลบ.ม/วนิ าที มรี ะดับนํ้าสูงสุดท่ี +65.30 ม.(ร.ท.ก.) ปริมาณนํ้าหลากที่ใชตรวจสอบ

ความปลอดภัยเขื่อนในรอบ 1,000 ป มีอัตรานํ้าหลากสูงสุดเทากับ 5,408 ลบ.ม./วินาทีมีระดับนํ้าเก็บกักสูงสุด

ที่ +67.10 ม.(ร.ท.ก.) โดยที่ระดับนาํ้ ตา่ํ กวาระดบั ตลง่ิ ท่มี ีคา ระดบั ต่าํ สุดอยูที่ +70.00 ม.(ร.ท.ก.)

20

ในสวนของระดับน้ําเก็บกักต่ําสุดหนาเขื่อนทดนํ้าที่พอเพียงท่ีจะสงเขาประตูระบายปากคลองได
มคี าเทา กับ +68.00 ม.(ร.ท.ก.) เนื่องจากเขื่อนทดนํ้าอยูทางดานทายน้ําของเข่ือนสิริกิต์ิ และรับนํา้ จากการระบาย
นาํ้ ของเขื่อนสิรกิ ิติ์เปนหลกั ซึ่งจะมีบางชวงเวลาที่เขื่อนสิริกติ ์ิหยุดการระบายนาํ้ ดงั น้ัน เขื่อนทดน้าํ ผาจุกจึงจําเปน
จะตองกักเก็บน้ําสํารองหนาเขื่อนใหเพียงพอกับปริมาณความตองการนํ้าของพ้ืนท่ีชลประทานในแตละวันที่มี
ความตองการสูงสุดประมาณ 4 ลาน ลบ.ม/วัน ทําใหระดับเก็บกักสงู สุดของเข่ือนทดนา้ํ ผาจุก มีคา เทา กบั 68.50 ม.(ร.ท.ก.)
แ ล ะ จ า ก ก า ร สํ า ร ว จ ร ะ ดั บ ต ล่ิ ง ฝ ง ซ า ย แ ล ะ ผึ้ ง ข ว า แ ม นํ้ า น า น ท า ง ด า น เห นื อ น้ํ า ข อ ง เข่ื อ น ท ด น้ํ า ผ า จุ ก
มีคาระดับต่ําสุด +70.00 ม.(ร.ท.ก.) และ +72.00 ม.(ร.ท.ก.) ตามลําดับ ซึ่งสูงกวา ระดับเก็บกักสูงสุดอยู 1.50 เมตร
จงึ ไมจ าํ เปนตอ งทาํ คันปอ งกนั นาํ้ ทว มทางดานเหนือน้ํา

2. บันไดปลา
อาคารเข่ือนทดนํ้าไดออกแบบใหมีบันไดปลาชนิด lcehabor แบบมีผนังซึ่งเปนที่นิยมอยางกวางขวาง

เพราะสามารถใชไดท้ังในลํานํ้าที่มีปริมาณน้ํามากและปริมาณน้ํานอย ถาออกแบบใหชวงของ Over Wall
มชี ว งความสูงมากกส็ ามารถใชก บั ลาํ นํ้าทม่ี ีอัตราการเปลย่ี นของระดบั นา้ํ มากไดดวย

3. โรงไฟฟาพลังนา้ํ
ตั้งอยูบนฝงทายของเข่ือนทดนํ้าผาจุก มีระดบั พ้ืนอาคาร +72.00 ม.(ร.ท.ก.) อาคารคอนกรีตเสริม

กวา ง 30 เมตร ยาว 60 เมตร สูง 10 เมตร มกี ําลังผลิตตดิ ต้ัง 2 X 8,500 กิโลวตั ต ปรมิ าณนํ้าออกแบบ 87 ลบ.ม/
วนิ าท/ี เคร่อื ง ความสงู หวั นํา้ ออกแบบ 11.70 เมตร ผลิตพลังงานไฟฟาเฉลยี่ ปล ะ 99 ลานหนว ย

4. ระบบชลประทาน
เข่อื นทดนํ้าผาจุก เปนอาคารหัวงานที่ทาํ หนาที่ทดน้ําในแมน ้ํานานใหเพียงพอที่จะสงนา้ํ คลองสงนํ้า

สายใหญฝงซายและฝงขวาของโครงการ โดยคลองสงนํ้าสายใหญฝงซายเปนคลองดาดคอนกรีตมีความจุ
40 ลบ.ม./วินาที ยาว 90 กิโลเมตร สงน้ําใหกับพ้ืนที่ชลประทานฝงซาย 205,700 ไร และคลองสงน้ําสายใหญ
ฝงขวา เปนคลองดาดคอนกรีตมีความจุ 46 ลบ.ม./วินาที ยาว 103.65 กิโลเมตร สงนํ้าใหกับชลประทานฝงขวา
275,700 ไร

(1) อาคาร ปตร.ปากคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย ขนาดกวางกันคลอง 30 เมตร ลึก 5.55 เมตร
ลาดดานขาง 1 : 1.50 ความจุคลองชกั นา้ํ ประมาณ 250 ลบ.ม./วินาที โดยสงนา้ํ ใหก ับโรงไฟฟาพลงั น้ําอีกประมาณ
200 ลบ.ม/วินาที่ ซ่ึงแยกออกจากแมน้ํานานฝงซายทางดานเหนือของเขื่อนทดนํ้าประมาณ 230 เมตร
ประกอบดวย ชองระบายน้ําขนาดกวาง 4 เมตร จํานวน 2 ชอง มีตอมอกลางหนา 0.60 เมตร ควบคุมบังคับ
ปริมาณน้ําโดยติดตั้งประตูบานระบายชนิด Vertical Slide Gate ขนาด 4 x 4 เมตร จํานวน 2 บาน สามารถ
ระบายนา้ํ ไดส ูงสุดประมาณ 40 ลบ.ม./วินาที โดยระดบั น้ําใชการสูงสุดดานทา ยน้ํา ปตร.ปากคลอง (Full Supply
Level) เทากับ +67.75 ม.(ร.ท.ก.) ระดับหลังอาคาร +72.00 ม.(ร.ท.ก.) ระดับธรณีบานระบาย +64.55 ม.(ร.ท.ก.)
และระดับทองคลองสง นํ้าสายใหญฝ ง ซา ย +64.25 ม.(ร.ท.ก.)

(2) อาคาร ปตร.ปากคลองสงนํ้าสายใหญฝงขวา ประกอบดวย ทอระบายนํ้า (Box Culvert)
ขนาดกวาง 4 เมตร จํานวน 2 แถว ยาวประมาณ 60 เมตร ลอดผานหลังคันเข่ือนทดนํ้าฝงขวาไปเช่ือมตอกับ
คลองสงนํ้าโดยมีอาคาร Transition คอนกรีตเสริมเหล็ก เช่ือมตอระหวางทอลอดและคลองสงนํ้า ควบคุมบังคับ
ปริมาณนํ้าโดยติดต้ังประตูบานระบายชนิด Vertical Slide Gate ขนาด 4 x 4 เมตร จํานวน 2 บาน สามารถ
ระบายนํ้าไดสูงสดุ ประมาณ 46 ลบ.ม./วินาที โดยระดบั นํ้าใชการสูงสุดดานทายน้ํา ปตร.ปากคลอง (Full Supply
Level เทา กับ +67.75 ม.(ร.ท.ก.) ระดับหลังอาคาร +72.00 ม.(ร.ท.ก.) ระดบั ธรณีบานระบาย +64.05 ม.(ร.ท.ก)
และระดับทอ งคลองสงน้าํ สายใหญฝงซายเทากบั +64.05 ม.(ร.ท.ก.)

21

3.2.6 ผลกระทบดา นบวกและประโยชนทีค่ าดวาจะไดรบั
1. ดา นการเกษตรกรรมและการชลประทาน
พ้ืนที่การเกษตรชลประทานเพ่ิมขึ้นประมาณ 295,729 ไร จากเดิมที่เปนพื้นที่เกษตรน้ําฝนสภาพ

การใชท่ีดินมีความเหมาะสมกับศักยภาพของดินทางการเกษตร นอกจากนี้ ยังสามารถลดคาใชจายในดานการสบู นํ้า
ดวยไฟฟา

2. ดานการใชน ํา้
สามารถควบคุมปริมาณการใชน้ําไดอยางมีประสิทธิภาพท้ังในฤดูฝนและฤดูแลง รวมท้ังสามารถ

แกไขปญหาการขาดแคลนน้ําและมีนํ้าเพียงพอสําหรับกิจกรรมตาง ๆ ไดแก การอุปโภค - บริโภค เกษตรกรรม
อุตสาหกรรม การทองเที่ยว และรักษาระบบนิเวศในแมน้ํานานไดอีกอยางนอย 20 ปขางหนา และทําให
การบริหารจัดการการใชน ้ํามปี ระสิทธิภาพมากขึน้ เน่ืองจากมกี ารจดั ดงั องคกรบริหารการใชน าํ้

3. ดานเศรษฐกิจและสังคม
เกษตรกรมีรายไดเ พิ่มขึ้นและมีรายไดที่แนน อนมากข้ึน เกิดการจางงานในพ้ืนที่มากขึน้ กอใหเกิด

อตุ สาหกรรมในทอ งถิน่ ลดการอพยพแรงงานเขา ไปในเมอื งและเพม่ิ มูลคา ทรัพยส นิ มากขึน้
4. ดา นทรพั ยากรประมงและระบบนิเวศวิทยาทางนํา้
มีความอุดมสมบูรณของสัตวน้ําในธรรมชาติและจากการเพาะเล้ียงเพ่ิมขึ้น เนื่องจากจะมีน้ํา

ในแหลง นาํ้ ตลอดป
5. ดา นทรพั ยากรสตั วป า
โครงการทําใหมีนํ้าในแหลงน้ําและเกิดความอุดมสมบูรณของแหลงนํ้าธรรมชาติเพ่ิมขึ้น ทาํ ใหสัตว

มีแหลงอาศยั แหลงอาหาร และแหลง เพาะพันธุท่อี ุดมสมบรู ณ
6. ดา นการคมนาคมขนสง
การกอสรางถนนเพื่อเปนเสนทางในการบํารุงรักษาคลองชลประทานจะเปนประโยชนตอ

การคมนาคมขนสงผลผลิตทางการเกษตร ทําใหการคมนาคมสะดวกรวดเรว็ ประหยัดเวลาและคาใชจายได และ
ยังสามารถเขาถึงทีต่ ัง้ แหลง ทอ งเท่ยี วไดส ะดวกยิ่งข้ึน

7. ดานน้ําใตด นิ
พ้ืนท่ีชลประทานอาจมีน้ําใตดินเพิ่มข้ึน และน้ําใตดินบริเวณที่มีเหล็ก และแมงกานีสปนเปอนสูง

คาดวา ความเขม ขน จะลดลงไดบ า ง เนื่องจากมปี ริมาณนา้ํ ใตด ินทีเ่ พิม่ ขึ้น
8. ดา นสาธารณสุข
ประชาชนในพนื้ ท่โี ครงการจะมสี ขุ ภาพอนามัยดีขึ้นจากการมีสภาพเศรษฐกิจของครวั เรือนทด่ี ีขน้ึ
9. ดา นการทอ งเท่ียว
ทําใหเกิดแหลงทองเที่ยวใหมเพิ่มข้ึนที่บริเวณหัวงานเขื่อนทดนํ้าผาจุก และจะมีคมนาคมเขาสู

แหลงทองเท่ียวในพื้นทไ่ี ดสะดวกขึ้นในพืน้ ที่ชลประทาน
10. ดานการบรรเทาน้าํ ทวม
สภาพน้าํ ทว มในพ้ืนทีช่ ลประทานจะลดลง เนอื่ งจากมีคลองระบายน้าํ เพิ่มขึ้น

3.2.7 ผลกระทบดานลบ
1. ดา นการชดเชยทรพั ยส นิ
สูญเสียพ้ืนที่เกษตรกรรมและพ้ืนที่สาธารณประโยชนรวม 15,255 ไร เพื่อกอสรางคลองสงน้ํา

ชลประทาน ซึ่งตองมีมาตรการชดเชยคา ความเสียหายของทรัพยสนิ อยา งเปน ธรรมและโปรง ใส
2. ดา นการคมนาคมขนสง

22

ระยะกอสรา งจะมีการขนสงวัสดุกอสรางซ่ึงอาจเกิดฝุนละออง การจราจรหนาแนน เสียงดัง และ
อุบัติเหตุในบริเวณใกลเคียงพ้ืนที่กอสราง และการกอสรางคลองชลประทานบริเวณจุดตัดถนนทางรถไฟ และ
ชมุ ชน อาจทาํ ใหก ารคมนาคมไมส ะดวกและปลอดภัย

3. ดานคุณภาพนา้ํ ผิวดิน
ในระยะกอสรางน้ําในแมน้ําบริเวณกอสรางอาคาร อาจมีความขุนเพิ่มขึ้นในบริเวณหัวงานเขื่อน

และพ้ืนที่ชลประทาน และอาจมีการปนเปอนของสารเคมีทางการเกษตรในแมนํ้า หากมีการใชสารเคมีท่ีไม
เหมาะสมและถูกตองตามหลักวิชาการ และถามีการขยายตัวดานการเกษตร ปศุสัตว อุตสาหกรรม อาจมีนํ้าท้ิง
ปนเปอนลงสูแมน้าํ นานเพิม่ มากข้นึ

4. ดา นทรพั ยากรประมงและนเิ วศวิทยาทางนา้ํ
ผลกระทบตอคุณภาพน้ําและการไหลของนํ้าในระยะกอสราง ซึ่งจะสงผลถึงระบบนิเวศนํ้าใน

บรเิ วณหวั งานเขื่อนและพนื้ ทชี่ ลประทานดว ย
5. ดา นสัตวป า
ผลกระทบตอสัตวปาในพ้ืนที่โครงการ ซี่งพบนกเปนสวนใหญนั้นมีผลกระทบที่มีความรุนแรงนอย

และเกดิ ขึน้ เฉพาะบรเิ วณที่มกี จิ กรรมกอ สรางหรือปรบั ปรงุ พน้ื ทเ่ี ทาน้ัน
6. ดานการบรหิ ารการใชน ํา้
หากการจัดสรรการใชน้ําไมสามารถดําเนินการไดตามแผนท่ีวางไว จะเกิดผลกระทบตอการใชน้ํา

ของกิจกรรมตา ง ๆ ได และอาจเกิดปญหาความขัดแยงในชุมชนเรอ่ื งการแยงน้ําใช นอกจากนี้ หากไมมีการจัดการ
นํ้าทงิ้ ทมี่ ปี ระสิทธิภาพเพยี งพออาจเกิดปญหามลพษิ ทางนา้ํ จากน้ําทงิ้

3.2.9 แผนปฏบิ ตั ิการลดผลกระทบสงิ่ แวดลอ มและตดิ ตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดลอม
ใน ก า ร ป อ ง กั น แ ก ไข ผ ล ก ร ะ ท บ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม แ ล ะ ติ ด ต า ม ต ร ว จ ส อ บ ผ ล ก ร ะ ท บ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม จ า ก

การดําเนินการโครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ ไดมีการจัดทํารายงานแผนปฏิบัติการฯซึ่งประกอบไป
ดวยแผนตาง ๆ รวมท้ังส้ิน 18 แผน ไดแก แผนปฏิบัติการลดผลกระทบสิ่งแวดลอมจํานวน 7 แผน และ
แผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดลอม จํานวน 11 แผน โดยใชงบประมาณในระยะเวลาดําเนินการตาม
แผนครอบคลุมทงั้ ระยะกอสรา งโครงการและระยะดาํ เนนิ การโครงการรวมท้ังส้ิน 121.6650 ลานบาท
3.3 ความกาวหนา การกอ สรางโครงการ

1. งานจางกอสรางเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบพรอมสวนประกอบอื่น สัญญาเลขท่ี กจ.8/2554
(กสพ.1) ลงวันท่ี 24 มีนาคม 2554 ผูรับจาง บริษัท สี่แสง การโยธา (1979) จํากัด อายุสัญญา 1,080 วัน
(11 มิถุนายน 2554 - 25 พฤษภาคม 2557) ตอมากรม ฯ ไดอนุมัติขยายอายุสัญญา ตามมติคณะรัฐมนตรี
เม่ือวันท่ี 6 มีนาคม 2555 ไดระยะเวลาเพ่ิม 180 วัน อนุมัติขยายอายุสัญญาตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่
25 พฤศจิกายน 2556 ไดระยะเวลาเพ่ิม 150 วัน ตามแกไขเพิ่มเติมคร้ังท่ี 1/2557 ลงวันท่ี 2 กรกฎาคม 2557
ไดระยะเวลาเพิ่ม 240 วัน แกไขเพ่ิมเติมครั้งที่ 2/2557 ลงวันท่ี 8 กันยายน 2557 แกไขเพิ่มเติมคร้ังท่ี 3/2558
ลงวันท่ี 24 กรกฎาคม 2558 ไดระยะเวลาเพ่ิม 74 วัน แกไขเพิ่มเติมครั้งท่ี 4/2558 ลงวันที่ 10 กันยายน 2558
แกไขเพ่ิมเติมครั้งที่ 5/2559 ลงวันที่ 9 กุมภาพันธ 2559 แกไขสัญญาเพ่ิมเติมคร้ังท่ี 6/2559 ลงวนั ท่ี 22 เมษายน 2559
ไดระยะเวลาเพิ่ม 300 วัน กรมอนุมัติงดคาปรับเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2559 จํานวน 60 วัน แกไขเพ่ิมเติม
ครั้งท่ี 7/2560 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2559 ไดระยะเวลาเพ่ิม 20 วัน กรม ฯ อนุมัติขยายอายุสัญญาเม่ือวันที่
13 มีนาคม 2560 จํานวน 236 วันแกไขเพิ่มเติมคร้ังท่ี 8/2560 ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2560 และแกไขเพ่ิมเติม
คร้ังท่ี 9/2560 ลงวันท่ี 30 พฤษภาคม 2561 ไดระยะเวลาเพ่ิม 210 วัน กรม ฯ อนุมัติงดคาปรับ เมื่อวันท่ี
31 กรกฎาคม 2561 จํานวน 210 วัน รวมระยะเวลากอสราง 2,760 วัน เร่ิมนับอายุสัญญาวันที่ 11 มิถุนายน 2554
ครบกําหนดอายสุ ญั ญาวนั ที่ 30 ธันวาคม 2561 วงเงินทั้งสัญญา 1,039,791,074.15 บาท

23

- ผรู ับจางดาํ เนินการแลว เสรจ็ ตามสัญญา
- สงมอบงานทั้งสญั ญาเมือ่ วันท่ี 25 ธนั วาคม 2561
- สํานักงานกอสรางชลประทานขนาดใหญท่ี 4 ไดสงมอบงานกอสรางใหโครงการสงน้ําและบํารุงรักษา
ผาจกุ สาํ นักงานชลประทานท่ี 3 เมอื่ วนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2562
2. งานจางที่ปรึกษาควบคุมงาน (เข่ือนทดนํ้าและอาคารประกอบพรอมสวนประกอบอ่ืน) สัญญา
เลขที่ จ.41/2554 (กสพ.1) ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2554 ประกอบดวย บริษัท มหานคร คอนซัลแตนท จํากัด,
บริษัท วาย พี คอนซัลแตนท จํากดั , บริษทั ไทยคอนซลั แตนท เอน็ จิเนยี ร่ิง จํากดั และบริษทั สามารถ เอ็นจิเนยี ริ่ง
คอนซัลแตนท จํากัด เร่ิมนับอายุสัญญาวันท่ี 12 กรกฎาคม 2554 จนกวางานกอสรางแลวเสร็จ การเบิกคาจาง
เปน ไปตามเงอ่ื นไขของสัญญา คือ เบิกตามเปอรเ ซน็ ต ผลงานของ ผูร ับจาง (บริษัท ส่ีแสง การโยธา (1979) จํากดั )
วงเงนิ คา จาง 29,938,600 บาท ผรู ับจางดาํ เนินการแลวเสรจ็ ตามสัญญา
3. งานจางกอสรางสถานีสูบนํ้าและอุปกรณ ประกอบพรอมระบบสงนํ้าตําบลผาจุก อําเภอเมือง
จังหวัดอุตรดิตถ สัญญาเลขท่ี กจ.3/2559 (สพด.) ลงวันท่ี 24 ธันวาคม 2558 ผูรับจาง หางหุนสวนจํากัด
กัลยากรเจริญกิจ อายุสัญญา 330 วัน เร่ิมนับอายุสัญญาวันที่ 13 มกราคม 2559 ครบกําหนดอายุสัญญาวันที่
7 ธันวาคม 2559 วงเงนิ ทั้งสญั ญา 58,632,000.00 บาท ผรู ับจางดาํ เนินการแลวเสรจ็ ตามสญั ญาสํานักงานกอสราง
ชลประทานขนาดใหญท ่ี 4 ไดสง มอบงานกอสรา งใหโครงการสงนา้ํ และบํารุงรกั ษาผาจุก สํานกั งานชลประทานที่ 3
เม่อื วนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2562 กรมลงนามในรายงานการสงมอบ - รับมอบงานกอสราง เมือ่ วันท่ี 21 สิงหาคม 2562
4. งานจางกอสรางสถานีสูบนํ้าและอุปกรณประกอบพรอมระบบสงนํ้า ตําบลงิ้วงาม อําเภอเมือง
จังหวัดอุตรดิตถ สัญญาเลขที่ กจ.4/2559 (สพด.) ลงวันท่ี 24 ธันวาคม 2558 ผูรับจาง หางหุนสวนจํากัด
กัลยากรเจริญกิจ อายุสัญญา 330 วัน เริ่มนับอายุสัญญาวันท่ี 13 มกราคม 2559 ครบกําหนดอายุสัญญาวันที่
7 ธันวาคม 2559 วงเงนิ ทั้งสัญญา 58,558,000.00 บาท ผูรบั จา งดําเนนิ การแลว เสร็จตามสญั ญา
5. งานจางกอสรางเพ่ิมประสิทธิภาพการระบายนํ้าคลองนํ้าริด โครงการเข่ือนทดน้ําผาจุกจังหวัดอุตรดิตถ
สัญญาเลขที่ สพญ. 4 กจ.1/2560 ลงวันท่ี 13 ธันวาคม 2559 ผรู ับจาง หางหุน สว นจํากัดเพชรสามคั คี อายุสัญญา 240 วัน
เร่ิมนับอายุสัญญาวันที่ 20 มกราคม 2560 ครบกําหนดอายุสัญญาวันท่ี 16 กันยายน 2560 วงเงินทั้งสัญญา
5,724,958 บาท
- ผูรับจางดําเนินการแลวเสร็จตามสัญญาสํานักงานกอสรางชลประทานขนาดใหญท่ี 4 ไดสงมอบงาน
กอ สรา งใหโครงการสง นํา้ และบาํ รุงรกั ษาผาจกุ สาํ นกั งานชลประทานที่ 3 เมื่อวนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2562
- กรม ฯ ลงนามในรายงานการสง มอบ - รับมอบงานกอสราง เมอื่ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2562
6. งานจางกอสรางโครงการพัฒนาพ้ืนที่แกมลงิ ฝงขวา (บึงมาย) โครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดติ ถ
สญั ญาเลขท่ี กจ.20/2560 (สพด.) ลงวันท่ี 28 เมษายน 2560 ผูรบั จาง หางหุนสว นจํากัดทองไกรลาศ อายุสัญญา
600 วัน เริ่มนับอายุสัญญาวันที่ 10 พฤษภาคม 2560 ครบกําหนดอายุสัญญาวันท่ี 30 ธันวาคม 2561 วงเงิน
สัญญา 61,137,418.45 บาท
- ผูร ับจา งดําเนินการแลวเสร็จตามสญั ญา
- สงมอบงานทง้ั สญั ญาเมื่อวนั ที่ 16 พฤศจกิ ายน 2561
- สํานักงานกอสรางชลประทานขนาดใหญท่ี 4 ไดสงมอบงานกอสรางใหโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษา
ผาจุก สาํ นักงานชลประทานท่ี 3 เม่อื วนั ที่ 17 พฤษภาคม 2562
- กรม ฯ ลงนามในรายงานการสง มอบ - รบั มอบงานกอ สราง เม่อื วันท่ี 21 สิงหาคม 2562
7. งานจางกอสรางระบบสงนํ้าของสถานีสูบนํ้าตําบลง้ิวงาม อําเภอเมือง จังหวดั อุตรดติ ถ โครงการเข่ือนทดนํ้าผาจุก
จังหวัดอุตรดิตถ สัญญาเลขที่ กจ 21/2560 (สพด.) ลงวันท่ี 25 เมษายน 2560 ผูรับจาง บริษัท ดับเบ้ิลยู เค ซี จํากัด
อายุสัญญา 600 วัน ตอมาไดมีการแกไขสัญญาคร้ังที่ 1/2562 ลงวันที่ 23 ส.ค. 2562 ไดระยะเวลาเพ่ิม 90 วัน

24

รวมระยะเวลากอสราง 933 วัน เร่ิมนับอายุสัญญาวันที่ 6 พฤษภาคม 2560 ครบกําหนดอายุสัญญาวันท่ี
24 พฤศจิกายน 2562 วงเงินสัญญา 65,018,308.30 บาท

- ผรู ับจา งดําเนินการแลว เสร็จตามสญั ญา
- สงมอบงานทง้ั สญั ญาเมื่อวันที่ 2 ธนั วาคม 2562
8. งานจางกอสรางระบบสงนํ้าของสถานีสบู นํ้าตําบลผาจุก อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดติ ถ โครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก
จังหวัดอุตรดิตถ สัญญาเลขที่ กจ.17/2560 (สพด.) ลงวันท่ี 25 เมษายน 2560 ผูรับจาง หางหุนสวนจํากัด
วรายุทธ (เลี่ยงฮะ) การปโตรเลียม อายุสัญญา 600 วนั เร่ิมนับอายุสัญญาวันท่ี 9 พฤษภาคม 2560 ครบกําหนด
อายุสญั ญาวันที่ 29 ธันวาคม 2561 วงเงนิ ทัง้ สัญญา 133,000,000 บาท
- ผูร ับจา งดาํ เนินการแลว เสรจ็ ตามสญั ญา
- สงมอบงานทง้ั สญั ญาเมอ่ื วนั ที่ 24 ธันวาคม 2561
- สํานักงานกอสรางชลประทานขนาดใหญท่ี 4 ไดสงมอบงานกอสรางใหโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาผาจุก
สาํ นกั งานชลประทานที่ 3 เมื่อวันท่ี 17 พฤษภาคม 2562
- กรม ฯ ลงนามในรายงานการสงมอบ - รบั มอบงานกอสราง เม่ือวันท่ี 21 สิงหาคม 2562
9. งานจางกอสรางโครงการพัฒนาพื้นที่แกมลงิ ฝงซาย (บงึ กะโล) โครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จงั หวัดอตุ รดิตถ
สัญญาเลขที่ กจ.16/2560 (สพด.) ลงวันที่ 28 เมษายน 2560 ผูรับจาง หางหุนสวนจํากัดเล็กเจริญกอสราง
อายุสัญญา 600 วัน (22 สิงหาคม 2560 - 13 เมษายน 2562) ตอมาไดมีการแกไขสัญญาคร้ังท่ี 1/2562 ลงวันท่ี
22 กรกฎาคม 2562 ไดระยะเวลาเพิ่ม 282 วัน รวมระยะเวลากอสราง 983 วันเริ่มนับอายุสัญญาวันท่ี 22 สงิ หาคม 2560
ครบกาํ หนดอายุสญั ญาวนั ที่ 30 เมษายน 2563 วงเงนิ ท้ังสญั ญา 168,999,318.80 บาท
- ผรู ับจางดาํ เนินการแลว เสร็จตามสญั ญา
- สง มอบงานทั้งสัญญาเมื่อวนั ที่ 18 มนี าคม 2563
10. งานจางกอสรางระบบสงน้ําสายใหญฝงขวาและอาคารประกอบ สวนที่ 1 สัญญาเลขที่กจ. 18/2556
(กสพ.) ลงวันท่ี 20 มิถุนายน 2556 ผูรับจาง บริษัท สี่แสงการโยธา (1979) จํากัดอายุสัญญา 1,940 วัน
(5 กรกฎาคม 2556 - 13 มิถุนายน 2560) ตอมาไดมีการแกไขสัญญาครั้งท่ี 1/2561 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2561
ไดระยะเวลาเพิ่มจํานวน 1,940 วนั และการแกไ ขสัญญาครัง้ ท่ี 2/2562ลงวันที่ 14 มิถนุ ายน 2562 รวมระยะเวลา
กอสราง 3,301 วัน เรม่ิ นับอายุสัญญาวันที่ 5 กรกฎาคม 2556 ครบกําหนดอายสุ ัญญาวันท่ี 18 กรกฎาคม 2565
วงเงนิ ท้ังสญั ญา 1,981,999,362.56 บาท
- แผนงานสะสม รอ ยละ 92.569
- ผลงานสะสม รอยละ 38.955
- ชากวาแผน รอ ยละ 53.614
ปญ หาและอุปสรรค
1. ขออนุมัติในหลักการแกไขแบบกอสรางระบบสงน้ําสายใหญฝงขวา พรอมอาคารประกอบสวนท่ี 1
(ครัง้ ท่ี 6) แกไขแบบกอสรางอาคารประกอบในคลองสงน้ํา เพ่ิมเติมอาคารประกอบในคลองสงนํ้าและการแกไข
ปรบั ยกระดับคันคลองสงนํ้าใหสอดคลอ งกับสภาพพ้ืนท่ี คณะกรรมการตรวจการจางไดขออนุมัติในหลักการแกไข
แบบกอสรางระบบสง นํา้ สายใหญฝงขวา ฯ (คร้ังท่ี 7) ซึ่งมี 3 ประเด็น คอื การแกไขแบบกอสรางอาคารประกอบ
ในคลองสงนํ้า การเพ่ิมเติมอาคารประกอบในคลองสงน้ํา และการเพ่ิมเติมอาคารประกอบในคลองสงนํ้าชวงท่ี
ตัดผานโบราณสถานทุงย้ัง รธว. ลงนามอนุมัติในหลักการเมื่อวันท่ี 9 ธนั วาคม 2563 ปจ จุบันดําเนินการออกแบบ
แลวเสร็จ อาคารประกอบในคลองสงนํ้า (สะพานขา มคลอง จํานวน 5 แหง ทอลอดคลองสงน้ํา (ทอ สงน้าํ ดวยพลัง
ไฟฟา ) จาํ นวน 2 แหง และรางเทขามคลองสงนํา้ จาํ นวน 3 แหง ) ปจจุบันดาํ เนนิ การออกแบบเสร็จ การแกไขแบบ
คลองสงน้าํ ที่ตัดผานเขตทางหลวง จาํ นวน 2 แหง และการแกไขแบบกอสรางอาคารประกอบในคลองสงนํ้าบริเวณ
ท่ีตัดผานเขตทางหลวง จํานวน 6 แหง ปจจุบัน สพญ.4 ไดขออนุมัติในหลักการแกไขแบบกอสราง เมื่อวันที่

25

27 ธนั วาคม 2564 และอยูระหวางเสนอ รธส. เห็นชอบในหลักการแกไ ขแบบ การแกไ ขปรับขนาดรางเทขา มคลอง
สงนํ้า กม.21+370 ใหมีขนาดท่ีสอดคลองกับปริมาณน้ําของสายใหญ ปจจุบันอยูระหวางฝายออกแบบ ฯ ไดสง
แบบรางรางเทให สพญ.4 ตรวจสอบ เมอ่ื วันที่ 21 มีนาคม 2565

2. การจัดหาทด่ี ินเพอื่ การกอสรา ง
2.1 การสงมอบพ้ืนที่กอสราง คณะกรรมการตรวจการจางไดสงมอบพ้ืนที่ใหผูรับจางม 22 ครั้ง

รวมความยาวท้ังสิ้น 55.129 กิโลเมตร คิดเปนรอยละ 91.882 ของพื้นที่ทั้งหมดที่ใหผูรับจางดําเนินการกอสราง
ตามสัญญา

2.2 พ้ืนท่ีที่ถูกเขตชลประทาน สวนใหญเปนท่ีดินที่มีเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน คือ
โฉนดท่ีดิน น.ส.3 หรือ น.ส.3 ก. จึงตองดําเนินการจัดหาที่ดินโดยวิธีการเวนคืนตาม พ.ร.ฎ. วาดวยการเวนคืน
อสังหารมิ ทรัพย พ.ศ. 2530 กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดขอตราพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตที่ดินในบริเวณ
ทองที่ท่ีจะตองเวนคืนที่ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาใชแลวต้ังแตวันที่ 22 มีนาคม 2556 เปนระยะเวลา 4 ป
และไดมีประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เร่ือง กําหนดใหการเวนคืนอสังหาริมทรัพยเปนกรณีท่ีมีความจําเปน
โดยเรงดวน และไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อใหมีผลบังคับใชแลวต้ังแตวันท่ี 8 ตุลาคม 2556 และไดป ระกาศ
พระราชกฤษฎีกาเวนคืนฉบับใหมใหมีผลบังคับใชแลวต้ังแตวันท่ี 14 สิงหาคม 2560 เปนระยะเวลา 4 ป ซ่ึงหมด
ผลบงั คบั ใชประกาศพระราชกฤษฎีกา ฯ แลว แตยงั ไมสามารถจดั หาทีด่ ินไดแลว เสรจ็ ท้ังหมด จึงมคี วามจาํ เปนตอ ง
ขอออกประกาศพระราชกฤษฎีกา ฯ อีกครงั้ ปจจุบันอยรู ะหวา งกรมชลประทานเสนอสํานักงบประมาณ

11. งานจางกอสรางระบบสงน้ําสายใหญฝงซาย พรอมอาคารประกอบสัญญาเลขที่ กจ.5/2558 (กสพ.)
ลงวนั ท่ี 27 มีนาคม 2558 ผูรับจาง บรษิ ัท อรลกั ษณส งิ หบุรี (1994) จํากัด อายุสัญญา 1,440 วัน (21 เมษายน 2558 -
30 มีนาคม 2562) ตอมาไดมีการแกไขสัญญาคร้ังท่ี 1/2562 ลงวันที่ 28 มกราคม2562 ไดระยะเวลาเพิ่มจํานวน
390 วัน แกไขสัญ ญ า คร้ังท่ี 2/2562 ลงวันท่ี 28 กุมภาพั นธ 2562 และแกไขสัญ ญ าครั้งที่ 3/2563
ลงวันท่ี 3 กันยายน 2563 ไดระยะเวลาเพ่ิม 720 วัน รวมระยะเวลากอสราง 2,688 วัน เร่ิมนับอายุสัญญาวันท่ี
21 เมษายน 2558 ครบกําหนดอายุสัญญาวนั ท่ี 29 สิงหาคม 2565 วงเงินท้ังสัญญา 1,474,294,471.00 บาท

- แผนงานสะสม รอยละ 95.094
- ผลงานสะสม รอยละ 86.833
- ชากวา แผน รอ ยละ 8.261
ปญ หาและอุปสรรค
1. ขออนุมัติรับราคาและแกไขสัญญางานกอสรางระบบสงน้ําสายใหญฝงซายพรอมอาคารประกอบ
โครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ สัญญาเลขท่ี กจ.5/2558 (กพส.) ลงวันท่ี 27 มีนาคม 2564 และ
ที่แกไขเพิ่มเติม กรรมการ ฯ เสนอขออนุมัติรับราคาตามบันทึก สพญ. 07/358/2564 ลงวันที่ 14 กรกฎาคม
2564 ซึ่งเปนการขอแกไขสัญญา คร้ังที่ 4 เฉพาะประเด็นของสะพานกม. 19+958.811 และไดสงเรื่องเสนอ
ขออนุมัติรับราคาอีกครั้งแลว ปจจุบันอยูระหวางข้ันตอนการขออนมุ ัติรบั ราคาและแกไขสัญญา และตามหนังสือ
หองรองอธิบดีฝายกอสราง ดวนท่ีสุด ที่ รธส.96/2563 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2563 กระบวนการขออนุมัติแกไข
สญั ญาและการขออนมุ ัตงิ ดคาปรับตอ งมกี ารประชุมของผูท ่ีเก่ียวขอ ง เพื่อใหความเห็นชอบในหลักการแกไขสัญญา
กอ นดําเนนิ การในขน้ั ตอนตอ ไป
2. ขออนุมัติในหลักการตัดงานออกจากสัญญา การตัดงานสะพานทางหลวง 3 แหงออกจากสัญญา
คณะกรรมการ ฯ ไดมีหนังสือถึงผูรับจางใหพิจารณายินยอมตัดงานจากสัญญาเมือ่ วันที่ 12 กรกฎาคม 2564 และ
ผูรับจางมีหนังสือที่ อล.334/2564 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2564 ยินยอมใหตัดงานออกจากสัญญา คณะกรรมการ ฯ
ไดมีบันทึกขออนุมัติตัดงานออกจากสญั ญา เมอ่ื วนั ท่ี 4 สงิ หาคม 2564 จากการประชุมขออนมุ ัติรับราคาและแกไ ข
สัญญา เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2564 ที่ประชุมมีมติใหแกไขเพิ่มเติมเหตุผลความจําเปนที่ตองขอตัดงานออก
จากสัญญา และเมื่อไดรับอนุมัติใหตัดงานก็ใหแกไขสัญญาในคร้ังที่ 4 พรอมกับสะพานทางหลวงชนบท

26

กม.19+958.811 สพญ.4 ตรวจสอบแบบกอสรางสะพานของกรมทางหลวง เพื่อประกอบการจัดทํารางบันทึก
เหตุผลความจาํ เปน ทต่ี องตดั งานสะพานทัง้ 3 แหง ออกจากสญั ญา

3. การขออนุมัติในหลักการแกไขแบบกอสรางระบบสงน้ําสายใหญฝงซาย พรอมอาคารประกอบ
สพญ.4 ไดอนุมัติหลักการแกไขแบบกอสรา งคลองสงนํ้าสายใหญฝงซายพรอมอาคารประกอบ (คร้ังท่ี 5) เมื่อวันท่ี
16 มิถุนายน 2564 สํานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปตยกรรมรับเรื่องพิจารณา เม่ือวันที่25 มิถุนายน 2564
ตามบันทึกท่ี สพญ. 4588/2553/2564 ลงวันท่ี 25 มิถุนายน 2564 ปจจุบัน รธว. อนุมัติในหลักการแกไข
แบบดังกลาวแลว เม่ือวันท่ี 10 กันยายน 2564 สพญ.4 จัดสงขอมูลสํารวจ Site Plan เพื่อประกอบการพิจารณา
แกไขแบบกอ สรางแลว เมอื่ วนั ที่ 20 กันยายน 2564

12. งานจางกอสรางระบบสงน้ําสายใหญฝงซาย พรอมอาคารประกอบ (สัญญาท่ี 2) สัญญาเลขที่
กจ.40/2563 (สพด.) ลงวันที่ 14 กรกฎาคม 2563 ผูรับจาง บริษัท ชัยเจริญไมตรี จํากัด อายุสัญญา 1,080 วัน
เร่ิมนับอายุสัญญาวันที่ 23 กรกฎาคม 2563 ครบกําหนดอายุสัญญา วันท่ี 7 กรกฎาคม 2566 วงเงินทั้งสัญญา
916,534,400 บาท

- แผนงานสะสม รอยละ 45.323
- ผลงานสะสม รอยละ 21.376
- ชากวาแผน รอ ยละ 23.947
ปญหาและอุปสรรค
1. เนื่องจากสถานการณการระบาดโรคโควิค - 19 ทําใหไมสามารถเคลือ่ นยายแรงงานมาเพ่ิมไดตาม
แผนงานทวี่ างไวได
2. การจดั หาท่ีดินเพอ่ื การกอ สรา ง

2.1 ปจจุบนั คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ไดสงมอบพืน้ ทแี่ ลวจาํ นวน 3 ครง้ั ดงั น้ี
(1) งานกอสรางคลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย (สัญญาที่2) สงมอบพ้ืนท่ีรวมความยาว

ทง้ั ส้นิ 21.4 กม. คดิ เปน รอ ยละ 86.99 ของพื้นทีท่ ัง้ หมดทีต่ องสงมอบใหผรู ับจางดาํ เนินตามสญั ญา
(2) งานพัฒนาแกมลิง บึงหลม ชวงหลงั ฤดูฝนที่ผานมาราษฎรในพื้นที่ไดทํานาปรังในบริเวณ

ท่ีทิ้งดิน ซ่ึงคาดการณเก็บเก่ียวประมาณสิ้นเดือน เมษายน 2565 ทางบริษัท ฯ จึงจะเริ่มดําเนินการขุดลอกดิน
และนําดนิ ไปทง้ิ บริเวณดงั กลา วไดอกี ตอ ไป

(3) คลองสงนํ้าสายซอย 28R - LMC และ 29R - LMC อยรู ะหวา งสง มอบพ้ืนที่
2.2 พ้ืนที่ท่ีถูกเขตชลประทานสวนใหญเปนท่ีดินท่ีมีเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายท่ีดิน คือ
โฉนดท่ีดิน น.ส.3 หรือ น.ส.3 ก. จึงตองดําเนินการจัดหาที่ดินโดยวิธีการเวนคืนตาม พ.ร.ฎ. วาดวยการเวนคืน
อสังหาริมทรัพย พ.ศ.2530 กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดขอตราพระราชกฤษฎีกากําหนดเขตท่ีดินในบริเวณ
ทองท่ีท่ีจะตองเวนคืนที่ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหมีผลบังคับใชแลวต้ังแตวันท่ี 22 มีนาคม 2556
เปนระยะเวลา 4 ป และไดมปี ระกาศสํานกั นายกรัฐมนตรี เร่ือง กําหนดใหการเวนคนื อสังหาริมทรัพยเปนกรณีทม่ี ี
ความจําเปนโดยเรงดวน และไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพ่ือใหมีผลบังคับใชแลวตั้งแตวันท่ี 8 ตุลาคม 2556
ปจจุบันไดประกาศพระราชกฤษฎีกาเวนคืนฉบับใหมใหมีผลบังคับใชแลวต้ังแตวันท่ี 14 สิงหาคม 2560
เปนระยะเวลา 4 ป ซ่ึงหมดผลบังคับใชประกาศพระราชกฤษฎีกา ฯ แลว แตยังไมสามารถจัดหาที่ดินไดแลว เสรจ็
ท้ังหมด จึงมีความจําเปนตองขอออกประกาศพระราชกฤษฎีกา ฯ อีกครั้ง ปจจุบันอยูระหวางกรมชลประทาน
เสนอสํานักงบประมาณ
ทั้งนี้ กรมชลประทาน ไดดําเนินการกอสรางโครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ โดยมีผลงานสะสม
ทง้ั โครงการ ฯ จนถึงเดือนมิถนุ ายน 2565 คดิ เปน รอยละ 72.13 ของการกอสรางทง้ั หมด

27

3.4 ขอ มลู ดานภาวะเศรษฐกจิ สังคมครวั เรอื นเกษตรกรในพน้ื ท่โี ครงการเข่อื นทดนาํ้ ผาจุก จงั หวดั อตุ รดิตถ
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 2 ไดดาํ เนินการสํารวจและจัดเก็บขอมูล เพ่ือจัดทํารายงานภาวะเศรษฐกิจ

สังคมครัวเรือนเกษตรกร ตามแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก
จังหวัดอุตรดิตถ ซึ่งผลการศึกษาของ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (2557) ในพื้นท่ีฝงซายของโครงการ ฯ
พบวา ครัวเรือนเกษตรกรมีรายไดเงินสดทางการเกษตร 429,822 บาทตอครัวเรือน และมีรายจายเงินสด
ทางการเกษตร 257,830 บาทตอ ครัวเรอื น สงผลใหมรี ายไดเ งินสดสทุ ธทิ างการเกษตร 171,992 บาทตอ ครัวเรอื น
ขณะท่ีมูลคาผลผลิตการเกษตรที่ใชในครัวเรือนและสวนตางมูลคาผลผลิตการเกษตรตนปและปลายป เทากับ
17,542 บาทตอครัวเรือน สงผลใหมีรายไดสุทธิทางการเกษตร 189,534 บาทตอครัวเรือน สวนรายไดเงินสด
นอกการเกษตร 93,933 บาทตอครวั เรือน และรายจายเงินสดนอกการเกษตร 141,584 บาทตอครัวเรือน ดังน้ัน
ครัวเรือนเกษตรกรมีรายไดเงินสดสุทธิครัวเรือน เทากับ 265,925 บาท และมีเงินสดคงเหลือกอนหักชําระหน้ี
(เงินออม) 124,341 บาทตอ ครวั เรอื น และมีเงนิ ออมสุทธิ 141,883 บาทตอครัวเรือน นอกจากนี้ จากผลการศึกษา
เพ่ิมเติม พบวา ครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนที่ฝงซายของโครงการ ฯ สวนใหญมักประสบปญหาสภาพพื้นที่ไมเหมาะสม
ตอ การเล้ียงสัตว และประสบปญหาทําการเกษตรไดเ พียงปล ะ 1 คร้ัง เน่ืองจากขาดแคลนนํา้ รวมถึงประสบปญ หา
โรคพืชและแมลงศัตรพู ชื ตลอดจนขาดแคลนแรงงานในพืน้ ท่ี

ซ่ึงสอดคลอ งกบั ผลการศึกษาของ สํานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 2 (2558) ในพืน้ ท่ีฝง ขวาของโครงการ ฯ
โดยพบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมักประสบปญหาสภาพพื้นที่ไมเหมาะสมตอการเล้ียงสัตว และประสบ
ปญหาทําการเกษตรไดเพียงปละ 1 ครั้ง เน่ืองจากขาดแคลนนํ้า รวมถึงประสบปญหาโรคพืชและแมลงศัตรูพืช
ขณะที่ครัวเรือนเกษตรกรมีรายไดเงินสดทางการเกษตร 255,568 บาทตอครัวเรือน และมีรายจายเงินสดทาง
การเกษตร 173,109 บาทตอครัวเรอื น สงผลใหมีรายไดเงนิ สดสุทธิทางการเกษตร 74,147 บาทตอครวั เรือน ขณะท่ี
มูลคาผลผลิตการเกษตรท่ีใชในครัวเรือนและสวนตางมูลคาผลผลิตการเกษตรตนปและปลายป เทากับ 17,016
บาทตอ ครวั เรือน สงผลใหมีรายไดสุทธทิ างการเกษตร 91,163 บาทตอ ครัวเรือน สว นรายไดเงินสดนอกการเกษตร
144,698 บาทตอครัวเรือน และรายจายเงินสดนอกการเกษตร 136,733 บาทตอครัวเรือน ดังน้ัน ครัวเรือนเกษตร
มีรายไดเงินสดสุทธิครัวเรือน 205,075 บาท และมีเงินสดคงเหลือกอนหักชําระหน้ี (เงินออม) 68,342 บาท
ตอครวั เรอื น และมเี งินออมสุทธิ 85,358 บาทตอครวั เรอื น

นอกจากน้ี จากผลการศึกษาของ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 2 (2560) ในพ้ืนที่สูบน้ําดวยไฟฟา
เพื่อทดแทนที่ไมไดรับนํ้าจากโครงการ ฯ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรมีรายไดเงินสดทางการเกษตร 191,870 บาท
ตอครัวเรือน และมีรายจายเงินสดทางการเกษตร 112,671 บาทตอครัวเรือน สงผลใหมีรายไดเงินสดสุทธิ
ทางการเกษตร 79,199 บาทตอครัวเรือน ขณะท่ีมูลคาผลผลิตการเกษตรที่ใชในครัวเรือนและสวนตางมูลคา
ผลผลิตการเกษตรตนปและปลายป เทากับ 10,936 บาทตอครัวเรอื น สง ผลใหมีรายไดสุทธทิ างการเกษตร 90,135 บาท
ตอครัวเรือน สวนรายไดเงินสดนอกการเกษตร 112,550 บาทตอครัวเรือน และรายจายเงินสดนอกการเกษตร
101,190 บาทตอครัวเรือน ดังนั้น ครัวเรือนเกษตรกรมีรายไดเงินสดสุทธิครัวเรือน เทากับ 191,749 บาท และ
มีเงินสดคงเหลือกอนหักชําระหนี้ (เงินออม) 90,559 บาทตอครัวเรือน และมีเงินออมสุทธิ 101,495 บาทตอ
ครัวเรือน ท้ังนี้ จากการศึกษาขอมูลเพิ่มเติม พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมักประสบปญหาขาดแคลนนํ้า
เนื่องจากไมมีแหลงนํ้าในหมูบ าน สงผลใหสามารถการเกษตรไดเพียงปละ 1 ครั้ง รวมถึงประสบปญหาโรคพืชและ
แมลงศัตรูพชื

จะเห็นไดวาเงินออมสุทธิของครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่ฝงซายของโครงการ ฯ ซึ่งเปนการนํารายไดสุทธิ
ทางการเกษตรรวมกับรายไดเงนิ สดนอกการเกษตร แลวหักออกดวยรายจายเงนิ สดนอกการเกษตร เพือ่ ใหท ราบวา
ครัวเรือนเกษตรกรมีเงินสดคงเหลืออยูจํานวนเทาใด เทากับ 141,883 บาทตอครัวเรือน ซึ่งมากกวาครัวเรือน
เกษตรกรในพ้ืนท่ีฝงขวา และพ้ืนท่ีสูบน้ําดวยไฟฟาเพ่ือทดแทนที่ไมไดรับน้ําจากโครงการ ฯ ท่ีมีเงินออมสุทธิ
เทากับ 85,358 บาทตอครัวเรือน และ 101,495 บาทตอครัวเรือน ตามลําดับ เนื่องจากมีรายไดเงินสด

28

ทางการเกษตรมากกวา อยางไรก็ตาม ครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนที่ฝงซาย ฝงขวา และพื้นท่ีสูบนํ้าดวยไฟฟา
เพ่ือทดแทนท่ีไมไดรับน้ําจากโครงการ ฯ มีความเห็นวา โครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก จะสามารถบรรเทาปญหา
ขาดแคลนน้ําในชวงฝนท้ิงชวง และชวยใหสามารถปลูกพืชในชวงฤดูแลงได แตเกษตรกรบางสวนมีความกังวล
เก่ียวกับการเวนคืนท่ีดิน เนื่องจากตองสูญเสียพ้ืนทําการเกษตรบางสวน เพ่ือใชในการกอสรางคลองสงน้ําของ
โครงการ ฯ

บทที่ 4
ผลการศกึ ษา

การสํารวจขอ มูลภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรอื นเกษตรกร ตามแผนปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแกไข
ผลกระทบส่ิงแวดลอม และมาตรการติดตามตรวจผลกระทบสิ่งแวดลอม ดานเศรษฐกิจสังคม ภายใตโครงการ
เข่ือนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 เปนการสํารวจและจัดเก็บขอมูลในปเพาะปลูก
2564/65 (ระหวา งวันท่ี 1 พฤษภาคม 2564 - 30 เมษายน 2565) โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี
4.1 สถานภาพทางเศรษฐกจิ ดานรายไดแ ละรายจา ยของครวั เรอื นทีเ่ กี่ยวขอ งกบั การเกษตร และกิจกรรมนอก

การเกษตรจากครวั เรือนเกษตรกรในพน้ื ท่โี ครงการ
4.1.1 ขอ มลู ทัว่ ไปของครัวเรือนเกษตรกร
1) พืน้ ท่ีฝงบนของโครงการเขือ่ นทดน้าํ ผาจุก
เพศ ของหัวหนา ครวั เรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเปนเพศชาย รอยละ 75.86

และเปนเพศหญิง รอยละ 24.14
อายุ ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีอายุระหวาง 56 - 65 ป

รอยละ 37.93 รองลงมา คือ มีอายุมากกวา 65 ปขึ้นไป รอยละ 34.48 มีอายุระหวาง 46 - 55 ป รอยละ 19.54
และมีอายรุ ะหวา ง 30 - 45 ป รอ ยละ 8.05 ตามลาํ ดับ ซงึ่ หัวหนาครวั เรอื นมีอายเุ ฉลย่ี เทากบั 60.19 ป

ระดับการศึกษา ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเรียนจบ
ช้ันประถมศึกษาตอนตน (ป.4) รอยละ 56.32 รองลงมา คือ เรียนจบช้ันประถมศึกษาตอนปลาย (ป.6, ป.7)
รอยละ 16.67 เรียนจบมัธยมศกึ ษาตอนตน (ม.3) รอยละ 9.77 เรยี นจบมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.6) รอยละ 6.91
เรียนจบอาชีวะ (ปวช./ปวส.) รอยละ 6.32 เรียนจบระดับปริญญาตรีหรือสูงกวา รอยละ 3.44 และไมรูหนังสือ
(อา น/เขยี นไมได) รอยละ 0.57 ตามลาํ ดบั

การประกอบอาชีพ ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ ประกอบ
อาชีพเกษตรกรเต็มเวลาในฟารมของตนเอง รอยละ 76.44 รองลงมา คือ ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย รอยละ 9.20
ทํางานประจํามีเงินเดือน รอยละ 7.47 รับจางนอกภาคการเกษตร รอยละ 4.02 รับจางภาคการเกษตร
นอกฟารม รอ ยละ 2.30 และวา งงาน รอยละ 0.57 ตามลาํ ดับ

การเปนสมาชิกกลุม ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเปนสมาชิก
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) รอยละ 78.16 รองลงมา คือ เปนสมาชิกองคกรชุมชน
ทองถ่ิน รอยละ 9.77 สมาชิกสหกรณ รอยละ 6.32 สมาชิกกลุมเกษตรกร/กลุมออมทรัพย รอยละ 3.45 และ
ไมเปนสมาชิกกลุมใด ๆ รอ ยละ 2.30 ตามลําดบั

2) พืน้ ที่ฝง ซายของโครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก
เพศ ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเปนเพศชาย รอยละ 79.14

และเปนเพศหญิง รอ ยละ 20.86
อายุ ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีอายุระหวาง 56 - 65 ป

รอยละ 38.65 รองลงมา คือ มีอายุระหวาง 46 - 55 ป รอยละ 23.93 มีอายุมากกวา 65 ปข ้ึนไป รอยละ 20.25
และมีอายรุ ะหวา ง 30 - 45 ป รอ ยละ 17.17 ตามลําดับ ซ่งึ หัวหนา ครัวเรอื นมอี ายุเฉลีย่ เทา กับ 58.29 ป

ระดับการศึกษา ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเรียนจบ
ชั้นประถมศึกษาตอนตน (ป.4) รอยละ 55.21 รองลงมา คือ เรียนจบชั้นประถมศึกษาตอนปลาย (ป.6, ป.7)
รอยละ 14.72 เรียนจบมัธยมศึกษาตอนตน (ม.3) รอยละ 10.43 เรียนจบมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) รอยละ 7.36
เรียนจบระดับปริญญาตรีหรือสูงกวา รอยละ 5.53 เรียนจบอาชีวะศึกษา (ปวช./ปวส.) รอยละ 3.68 สามารถ
อานออกเขยี นได รอยละ 1.84 และไมร ูหนังสือ (อาน/เขียนไมได) รอยละ 1.23 ตามลําดับ

30

การประกอบอาชีพ ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ ประกอบ
อาชีพเกษตรกรเต็มเวลาในฟารมของตนเอง รอยละ 86.50 รองลงมา คือ ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย
รอยละ 4.29 รับจางนอกภาคการเกษตร รอยละ 3.68 ทาํ งานประจํามีเงินเดือน รอยละ 2.45 เปนคนชรา/พิการ
รอ ยละ 1.84 และรบั จางภาคการเกษตรนอกฟารม รอยละ 1.24 ตามลาํ ดับ

การเปนสมาชิกกลุม ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครวั เรือนเกษตรกรสวนใหญเปนสมาชิก
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) รอยละ 73.01 รองลงมา คือ เปนสมาชิกองคกรชุมชน
ทองถ่ิน รอยละ 9.81 สมาชิกกลุมเกษตรกร/กลุมออมทรัพย รอยละ 9.20 และสมาชิกสหกรณ รอยละ 7.98
ตามลําดับ

3) พ้นื ที่ฝงขวาของโครงการเข่อื นทดนาํ้ ผาจุก
เพศ ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเปนเพศชาย รอยละ 67.48

และเปน เพศหญิง รอยละ 32.52
อายุ ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีอายุระหวาง 56 - 65 ป

รอยละ 38.04 รองลงมา คือ มีอายุระหวา ง 46 - 55 ป รอยละ 30.06 มีอายุมากกวา 65 ปข้ึนไป รอยละ 23.93
และมีอายุระหวาง 30 - 45 ป รอ ยละ 7.97 ตามลาํ ดับ ซ่งึ หวั หนา ครัวเรือนมีอายุเฉลีย่ เทา กับ 57.03 ป

ระดับการศึกษา ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเรียนจบ
ชั้นประถมศึกษาตอนตน (ป.4) รอยละ 46.63 รองลงมา คือ เรียนจบชั้นประถมศึกษาตอนปลาย (ป.6, ป.7)
รอยละ 15.95 เรียนจบมัธยมศึกษาตอนตน (ม.3) รอยละ 13.50 เรียนจบมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)
รอยละ 9.82 เรียนจบระดับปริญญาตรีหรือสูงกวา รอยละ 6.75 และเรียนจบอาชีวะศึกษา (ปวช./ปวส.)
รอยละ 3.07 ตามลาํ ดับ

การประกอบอาชีพ ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ ประกอบ
อาชีพเกษตรกรเต็มเวลาในฟารมของตนเอง รอยละ 78.53 รองลงมา คือ ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย
รอยละ 10.42 รับจางนอกภาคการเกษตร รอยละ 7.98 รับจางภาคการเกษตรนอกฟารม รอยละ 1.84 และ
ทํางานมีเงินเดอื นประจาํ รอยละ 1.23 ตามลําดบั

การเปนสมาชิกกลุม ของหัวหนาครัวเรือน พบวา หัวหนาครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเปนสมาชิก
ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) รอยละ 74.24 รองลงมา คือ เปนสมาชิกสหกรณ
รอยละ 12.27 สมาชิกองคกรชุมชนทองถ่ิน รอยละ 9.20 สมาชิกกลุมเกษตรกร/กลุมออมทรัพย รอยละ 4.29
ตามลาํ ดบั (ตารางที่ 4.1)

31

ตารางท่ี 4.1 ขอ มลู ท่ัวไปของหวั หนาครวั เรือนเกษตรกร

รายการ สัดสว นครวั เรอื นเกษตรกร (รอ ยละ)

พ้ืนที่ฝง บน พ้ืนทีฝ่ งซา ย พื้นท่ีฝง ขวา

เพศ 100.00 100.00 100.00

ชาย 75.86 79.14 67.48

หญงิ 24.14 20.86 32.52

อายุ 100.00 100.00 100.00

ระหวา ง 30 - 45 ป 8.05 17.17 7.97

ระหวา ง 46 - 55 ป 19.54 23.93 30.06

ระหวาง 56 - 65 ป 37.93 38.65 38.04

มากกวา 65 ป ขึ้นไป 34.48 20.25 23.93

อายุเฉลยี่ (ป) 60.19 ป 58.29 ป 57.03 ป

ระดบั การศึกษา 100.00 100.00 100.00

ไมรูหนงั สือ (อา น/เขยี นไมไ ด) 0.57 1.23 -

อา นออกเขียนได - 1.84 4.29

ประถมศกึ ษาตอนตน (ป.4) 56.32 55.21 46.63

ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.6, ป.7) 16.67 14.72 15.95

มัธยมศึกษาตอนตน (ม.3) 9.77 10.43 13.50

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.6) 6.91 7.36 9.82

อาชวี ะศกึ ษา (ปวช./ปวส.) 6.32 3.68 3.07

ปรญิ ญาตรหี รือสงู กวา 3.44 5.53 6.75

การประกอบอาชีพ 100.00 100.00 100.00

เกษตรกรเตม็ เวลา (ฟารม ของตนเอง) 76.44 86.50 78.53

รบั จา งภาคการเกษตร (นอกฟารม ) 2.30 1.24 1.84

รบั จา งนอกภาคการเกษตร 4.02 3.68 7.98

ทาํ งานมีเงินเดอื นประจาํ 7.47 2.45 1.23

คา ขาย/ธุรกิจสวนตัว 9.20 4.29 10.42

วา งงาน 0.57 - -

คนชรา/ผูพิการ - 1.84 -

ท่ีมา: จากการสํารวจ

32

ตารางที่ 4.1 ขอมลู ทัว่ ไปของหัวหนาครัวเรอื นเกษตรกร (ตอ )

รายการ สัดสว นครวั เรอื นเกษตรกร (รอยละ)

พน้ื ทฝ่ี ง บน พ้นื ท่ีฝง ซา ย พน้ื ที่ฝงขวา

การเปนสมาชิกกลมุ 100.00 100.00 100.00

ธนาคาร ธ.ก.ส. 78.16 73.01 74.24

สหกรณ 6.32 7.98 12.27

กลุมเกษตรกร/กลุมออมทรพั ย 3.45 9.20 4.29

องคกรชุมชนทอ งถ่ิน 9.77 9.81 9.20

ไมเปน สมาชิกกลมุ ใด ๆ 2.30 - -

ท่มี า: จากการสํารวจ

4.1.2 สมาชิกครวั เรอื นเกษตรกร
1) พนื้ ทฝ่ี ง บนของโครงการเขอื่ นทดน้ําผาจุก
เพศ ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 51.15

และเปนเพศชาย รอ ยละ 48.85
อายุ ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีอายุระหวาง 56 - 65 ป

รอยละ 31.61 รองลงมา คือ มีอายุนอยกวา 30 ป รอยละ 24.71 มีอายุระหวาง 30 - 45 ป รอยละ 15.52
มีอายุระหวาง 46 - 55 ป รอยละ 14.37 และมีอายุมากกวา 65 ป ขึ้นไป รอยละ 13.79 ตามลําดับ ซ่ึงสมาชิก
ครวั เรอื นมอี ายุเฉลย่ี เทากับ 41.89 ป

ระดับการศึกษา ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเรียนจบ
ช้ันประถมศึกษาตอนตน (ป.4) รอยละ 27.01 รองลงมา คือ เรียนจบชั้นประถมศึกษาตอนปลาย (ป.6, ป.7)
รอยละ 26.44 เรียนจบมัธยมศึกษาตอนตน (ม.3) รอยละ 13.22 ไมรูหนังสือ (อาน/เขียนไมได) รอยละ 11.49
เรียนจบมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) รอยละ 9.20 เรียนจบระดบั ปริญญาตรีหรือสูงกวา รอ ยละ 5.75 อานออกเขียนได
รอ ยละ 4.02 และเรียนจบอาชวี ะ (ปวช./ปวส.) รอยละ 2.87 ตามลาํ ดบั

การประกอบอาชีพ ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ ประกอบ
อาชีพเกษตรกรเต็มเวลาในฟารมของตนเอง รอยละ 50.57 รองลงมา คือ เรียนหนังสือ รอยละ 22.99
เปนคนชรา/ผูพิการ รอยละ 10.35 รับจางนอกภาคการเกษตร รอยละ 5.75 ทํางานประจํามีเงินเดือน รอยละ 4.02
เปนผูวางงาน/แมบาน รอ ยละ 3.45 ประกอบธุรกิจสวนตวั /คาขาย รอยละ 1.72 และรับจางภาคการเกษตรนอกฟารม
รอ ยละ 1.15 ตามลาํ ดบั

การเปนสมาชิกกลุม ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมไดเปน
สมาชกิ กลมุ ใด ๆ รอ ยละ 65.65 รองลงมา คอื เปนสมาชิกธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณก ารเกษตร (ธ.ก.ส.)
รอยละ 21.26 สมาชิกสหกรณ รอยละ 12.07 สมาชิกกลุมเกษตรกร/กลุมออมทรัพย รอยละ 2.87 และสมาชิก
องคก รชมุ ชนทองถน่ิ รอยละ 1.15 ตามลาํ ดบั

2) พืน้ ทฝ่ี ง ซา ยของโครงการเขือ่ นทดนาํ้ ผาจกุ
เพศ ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชกิ ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเปนเพศหญิง รอ ยละ 52.15

และเปน เพศชาย รอ ยละ 48.85
อายุ ของสมาชกิ ครัวเรอื น พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีอายุตํา่ กวา 30 ป รอยละ 31.90

รองลงมา คือ มีอายุระหวาง 46 - 55 ป รอยละ 18.40 มีอายุระหวาง 56 - 65 ป รอยละ 18.40 มีอายุมากกวา
65 ป ข้ึนไป รอยละ 15.96 และมีอายุระหวาง 30 - 45 ป รอยละ 15.34 ตามลําดับ ซ่ึงสมาชิกครัวเรือน
มอี ายเุ ฉลีย่ เทากับ 31.28 ป

33

ระดับการศึกษา ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเรียนจบ
ช้ันประถมศึกษาตอนตน (ป.4) รอยละ 25.15 รองลงมา คือ เรียนจบช้ันประถมศึกษาตอนปลาย (ป.6, ป.7)
รอยละ 14.72 เรียนจบระดับปริญญาตรีหรือสูงกวา รอยละ 13.50 ไมรูหนังสือ (อาน/เขียนไมได) รอยละ 12.88
เรียนจบมัธยมศึกษาตอนตน (ม.3) รอยละ 11.66 เรียนจบมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) รอยละ 9.20
อา นออกเขยี นได รอ ยละ 7.98 และเรยี นจบอาชวี ะ (ปวช./ปวส.) รอยละ 4.91 ตามลาํ ดบั

การประกอบอาชีพ ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ ประกอบ
อาชีพเกษตรกรเต็มเวลาในฟารมของตนเอง รอยละ 49.08 รองลงมา คือ เรียนหนังสือ รอยละ 17.18
ทํางานประจํามีเงินเดือน รอยละ 9.20 เปนคนชรา/ผูพิการ รอยละ 9.20 เปนผูวางงาน/แมบาน รอยละ 4.91
ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย รอ ยละ 4.30 รับจางนอกภาคการเกษตร รอยละ 3.68 และรับจางภาคการเกษตร
นอกฟารม รอ ยละ 2.45 ตามลาํ ดบั

การเปนสมาชิกกลุม ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมได
เปนสมาชิกกลุมใด ๆ รอยละ 62.58 รองลงมา คือ เปนสมาชิกธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร
(ธ.ก.ส.) รอยละ 25.77 สมาชิกสหกรณ รอยละ 6.13 สมาชิกกลุมเกษตรกร/กลุมออมทรพั ย รอยละ 4.29 และ
สมาชิกองคก รชมุ ชนทอ งถนิ่ รอยละ 1.23 ตามลําดบั

3) พื้นที่ฝงขวาของโครงการเข่อื นทดน้ําผาจุก
เพศ ของสมาชิกครวั เรือน พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเปนเพศชาย รอยละ 50.92

และเปน เพศหญงิ รอ ยละ 49.08
อายุ ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชกิ ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีอายุตาํ่ กวา 30 ป รอยละ 28.22

รองลงมา คอื มอี ายุระหวาง 46 - 55 ป รอยละ 21.47 มีอายุมากกวา 65 ป ขึ้นไป รอยละ 18.41 มีอายุระหวา ง
56 - 65 ป รอยละ 17.18 และมีอายุระหวาง 30 - 45 ป รอยละ 14.72 ตามลําดับ ซ่ึงสมาชิกครัวเรือน
มีอายเุ ฉลี่ย เทากับ 37.35 ป

ระดับการศึกษา ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเรียนจบ
ช้ันประถมศึกษาตอนตน (ป.4) รอยละ 35.58 รองลงมา คือ เรียนจบช้ันประถมศึกษาตอนปลาย (ป.6, ป.7)
รอยละ 17.79 ไมรูหนังสือ (อาน/เขียนไมได) รอยละ 15.34 เรียนจบมัธยมศึกษาตอนตน (ม.3) รอยละ 9.20
อานออกเขียนได รอยละ 7.98 เรียนจบมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) รอยละ 7.36 เรยี นจบระดับปริญญาตรหี รือ
สงู กวา รอ ยละ 3.68 และเรยี นจบอาชวี ะ (ปวช./ปวส.) รอยละ 3.07 ตามลาํ ดับ

การประกอบอาชีพ ของสมาชิกครัวเรือน พบวา สมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ ประกอบ
อาชีพเกษตรกรเต็มเวลาในฟารมของตนเอง รอยละ 52.76 รองลงมา คือ เรียนหนังสือ รอยละ 19.02
เปนคนชรา/ผูพิการ รอยละ 11.05 ทํางานประจํามีเงินเดือน รอยละ 6.13 รับจางภาคการเกษตรนอกฟารม
รอยละ 4.91 รับจางนอกภาคการเกษตร รอยละ 2.45 ประกอบธุรกิจสวนตัว/คาขาย รอยละ 2.45 และ
เปนผูวางงาน/แมบาน รอยละ 1.23 ตามลําดับการเปนสมาชิกกลุม ของสมาชิกครัวเรอื น พบวา สมาชิกครัวเรือน
เกษตรกรสวนใหญไมไดเปน สมาชิกกลุมใด ๆ รอ ยละ 53.37 รองลงมา คือ เปน สมาชกิ ธนาคารเพ่ือการเกษตรและ
สหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) รอยละ 32.52 สมาชิกสหกรณ รอยละ 7.98 สมาชิกกลุมเกษตรกร/กลุมออมทรัพย
รอ ยละ 4.29 และสมาชกิ องคก รชุมชนทอ งถิ่น รอ ยละ 1.84 ตามลําดับ (ตารางท่ี 4.2)

34

ตารางที่ 4.2 ขอมูลทว่ั ไปของสมาชิกครวั เรอื นเกษตรกร

รายการ สดั สวนครวั เรือนเกษตรกร (รอ ยละ)

พื้นทฝ่ี งบน พ้ืนท่ฝี งซา ย พื้นที่ฝง ขวา

เพศ 100.00 100.00 100.00

ชาย 48.85 48.85 50.92

หญงิ 51.15 52.15 49.08

อายุ 100.00 100.00 100.00

นอ ยกวา 30 ป 24.71 31.90 28.22

ระหวาง 30 - 45 ป 15.52 15.34 14.72

ระหวาง 46 - 55 ป 14.37 18.40 21.47

ระหวา ง 56 - 65 ป 31.61 18.40 17.18

มากกวา 65 ป ขึน้ ไป 13.79 15.96 18.41

อายุเฉลย่ี (ป) 41.89 ป 31.28 ป 37.35 ป

ระดับการศกึ ษา 100.00 100.00 100.00

ไมรูหนังสอื (อาน/เขียนไมได) 11.49 12.88 15.34

อา นออกเขยี นได 4.02 7.98 7.98

ประถมศกึ ษาตอนตน (ป.4) 27.01 25.15 35.58

ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.6, ป.7) 26.44 14.72 17.79

มธั ยมศึกษาตอนตน (ม.3) 13.22 11.66 9.20

มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) 9.20 9.20 7.36

อาชีวะศึกษา (ปวช./ปวส.) 2.87 4.91 3.07

ปรญิ ญาตรหี รือสงู กวา 5.75 13.50 3.68

การประกอบอาชพี 100.00 100.00 100.00

เกษตรกรเตม็ เวลา (ฟารมของตนเอง) 50.57 49.08 52.76

รับจางภาคการเกษตร (นอกฟารม) 1.15 2.45 4.91

รับจางนอกภาคการเกษตร 5.75 3.68 2.45

ทาํ งานมีเงนิ เดือนประจํา 4.02 9.20 6.13

คาขาย/ธรุ กิจสวนตวั 1.72 4.30 2.45

เรียนหนงั สอื 22.99 17.18 19.02

วา งงาน/แมบ าน 3.45 4.91 1.23

คนชรา/ผพู กิ าร 10.35 9.20 11.05

การเปนสมาชกิ กลมุ 100.00 100.00 100.00

ธนาคาร ธ.ก.ส. 21.26 25.77 32.52

สหกรณ 12.07 6.13 7.98

กลุมเกษตรกร/กลุมออมทรพั ย 2.87 4.29 4.29

องคกรชุมชนทองถน่ิ 1.15 1.23 1.84

ไมเปนสมาชกิ กลมุ ใด ๆ 65.65 62.58 53.37

ท่มี า: จากการสาํ รวจ

35

4.1.3 จาํ นวนสมาชกิ ในครัวเรือน และลกั ษณะการใชแ รงงานการเกษตร
1) พ้นื ที่ฝง บนของโครงการเขอ่ื นทดน้ําผาจุก
จํานวนสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด หมายถึง จํานวนคนท้ังหมดในครัวเรือนที่อาศัยและ

อยูกินรว มกันในชวงระหวางวันที่ 1 พฤษภาคม 2564 - 30 เมษายน 2565 และไมน อ ยกวา 6 เดือน โดยมีจาํ นวน
สมาชิกท้ังหมดในครัวเรือนประมาณ 3.38 คนตอครัวเรือน โดยเปนเพศชายเฉลี่ย 1.66 คนตอครัวเรือน และ
เปนเพศหญิงเฉล่ีย 1.72 คนตอครัวเรือน เม่ือพิจารณาสมาชิกที่เปนแรงงานในการเกษตรทั้งโครงการ ฯ พบวา
การทํางานการเกษตรเต็มเวลา รอยละ 43.88 ทํางานการเกษตรบางเวลา รอยละ 13.10 และไมทํางาน
การเกษตร รอ ยละ 43.02 (ตารางที่ 4.3)
ตารางท่ี 4.3 จํานวนสมาชกิ ในครัวเรอื น และลักษณะการใชแรงงานการเกษตร

หนว ย: รอยละ

รายการ เพศ เฉลี่ย ลกั ษณะการใชแ รงงานการเกษตร รวม
หัวหนาครัวเรอื น (คน/ครวั เรอื น) เต็มเวลา บางเวลา ไมทาํ งาน

สมาชิกครวั เรอื น ชาย 0.76 85.61 10.61 3.78 100.00

รวมทงั้ ครวั เรือน หญิง 0.24 80.95 11.90 7.15 100.00

ท่ีมา: จากการสํารวจ รวม 1.00 84.48 10.92 4.60 100.00

ชาย 0.90 25.48 13.38 61.14 100.00

หญิง 1.48 27.62 14.40 57.98 100.00

รวม 2.38 26.81 14.01 59.18 100.00

ชาย 1.66 52.94 12.11 34.95 100.00

หญิง 1.72 35.11 14.05 50.84 100.00

รวม 3.38 43.88 13.10 43.02 100.00

2) พ้ืนที่ฝง ซา ยของโครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก
จาํ นวนสมาชิกในครวั เรอื นทั้งหมด หมายถึง จาํ นวนคนทั้งหมดในครวั เรอื นทอ่ี าศยั อยูรวมกนั ในชว ง

ระหวางวันที่ 1 พฤษภาคม 2564 - 30 เมษายน 2565 และไมนอยกวา 6 เดือน โดยมีจํานวนสมาชิกท้ังหมด
ในครัวเรือน 3.62 คนตอครวั เรือน โดยเปนเพศชายเฉลี่ย 1.82 คนตอครัวเรือน และเปนเพศหญิงเฉลี่ย 1.80 คน
ตอครัวเรือน เม่ือพิจารณาสมาชกิ ที่เปนแรงงานในการเกษตรทั้งโครงการ ฯ พบวา การทาํ งานการเกษตรเตม็ เวลา
รอยละ 43.96 ทํางานการเกษตรบางเวลา รอ ยละ 14.14 และไมทํางานการเกษตร รอยละ 41.90 (ตารางที่ 4.4)

36

ตารางท่ี 4.4 จํานวนสมาชิกในครัวเรือน และลกั ษณะการใชแรงงานการเกษตร

หนวย: รอ ยละ

รายการ เพศ เฉลย่ี ลกั ษณะการใชแรงงานการเกษตร รวม
(คน/ครัวเรอื น) เต็มเวลา บางเวลา ไมทาํ งาน

หวั หนา ครวั เรอื น ชาย 0.79 84.13 10.82 5.05 100.00

หญิง 0.21 82.03 9.75 8.22 100.00

รวม 1.00 83.39 10.32 6.29 100.00

สมาชกิ ครวั เรอื น ชาย 1.03 25.27 14.50 60.23 100.00

หญิง 1.59 27.11 13.69 59.20 100.00

รวม 2.62 26.60 13.42 59.98 100.00

รวมทั้งครวั เรอื น ชาย 1.82 51.94 14.47 33.59 100.00

หญิง 1.80 35.11 14.05 50.84 100.00

รวม 3.62 43.96 14.14 41.90 100.00

ทม่ี า: จากการสํารวจ

3) พ้ืนท่ีฝง ขวาของโครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก

จํานวนสมาชิกในครัวเรือนทั้งหมด หมายถึง จํานวนคนทั้งหมดในครัวเรือนท่ีอาศัยและอยูกิน

รวมกนั ในชวงระหวางวนั ท่ี 1 พฤษภาคม 2564 - 30 เมษายน 2565 และไมน อยกวา 6 เดอื น โดยมจี ํานวนสมาชิก

ท้ังหมดในครัวเรือนประมาณ 3.75 คนตอครัวเรือน โดยเปนเพศชายเฉลี่ย 12.33 คนตอครัวเรือน และ

เปนเพศหญิงเฉล่ีย 1.42 คนตอครัวเรือน เม่ือพิจารณาสมาชิกที่เปนแรงงานในการเกษตรทั้งโครงการ ฯ พบวา

การทํางานการเกษตรเต็มเวลา รอยละ 47.13 ทํางานการเกษตรบางเวลา รอยละ 10.24 และไมทํางาน

การเกษตร รอยละ 42.63 (ตารางที่ 4.5)

ตารางท่ี 4.5 จํานวนสมาชกิ ในครัวเรือน และลักษณะการใชแ รงงานการเกษตร

หนว ย: รอ ยละ

รายการ เพศ เฉลีย่ ลกั ษณะการใชแรงงานการเกษตร รวม
หัวหนาครัวเรอื น (คน/ครวั เรอื น) เตม็ เวลา บางเวลา ไมท ํางาน

สมาชิกครวั เรือน ชาย 0.67 85.44 9.81 4.75 100.00

รวมท้ังครวั เรือน หญงิ 0.33 82.76 8.14 9.10 100.00

ที่มา: จากการสาํ รวจ รวม 1.00 83.38 8.36 8.26 100.00

ชาย 1.66 28.16 12.49 59.35 100.00

หญิง 1.09 26.42 13.89 59.69 100.00

รวม 2.75 27.94 12.58 59.48 100.00

ชาย 2.33 52.68 14.27 33.05 100.00

หญิง 1.42 41.32 11.57 47.11 100.00

รวม 3.75 47.13 10.24 42.63 100.00

37

4.1.4 ลักษณะการใชป ระโยชนที่ดนิ เพ่ือการเกษตร การถอื ครองทีด่ ิน และการใชป ระโยชนทด่ี ิน
1) พ้นื ท่ีฝง บนของโครงการเข่อื นทดน้าํ ผาจุก
ลักษณะการใชประโยชนที่ดินเพ่ือการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา พื้นที่การเกษตร

ปเพาะปลูก 2564/65 เฉลีย่ 34.28 ไรต อครัวเรือน สวนใหญจะเปนพื้นที่ปลูกขาว (นาปแ ละนาปรัง) เฉล่ีย 25.05
ไรตอครัวเรอื น รองลงมา คือ พื้นที่ปลกู พืชไร เฉลี่ย 6.36 ไรตอครัวเรือน พื้นที่ปลูกไมผลและไมยืนตน เฉลี่ย 2.51
ไรตอครัวเรอื น พื้นที่เล้ียงปศสุ ัตวใ นโรงเรือน (คอก) เฉลี่ย 0.11 ไรตอครวั เรือน พ้ืนท่ีทุงหญาเลย้ี งสัตว เฉล่ีย 0.09
ไรตอครัวเรือน พ้ืนท่ีรกรางวางเปลา เฉล่ีย 0.07 ไรตอครัวเรือน พ้ืนท่ีเพาะเล้ียงประมงตามธรรมชาติ/สรางเอง
เฉล่ีย 0.05 ไรตอครัวเรือน พื้นท่ีหวย/หนอง/คลอง/บึง (ท่ีถือครอง) เฉล่ีย 0.04 ไรตอครัวเรือน และพ้ืนท่ีปลูก
พืชผัก/สมุนไพร เฉล่ีย 0.02 ไรตอครัวเรือน ตามลาํ ดบั

ลักษณะการใชประโยชนท่ีดินจรงิ เพ่ือการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา พื้นท่ีการเกษตร
ปเพาะปลูก 2564/65 เฉลี่ย 62.23 ไรต อครัวเรือน สวนใหญจ ะเปนพื้นทป่ี ลูกขาว (นาปแ ละนาปรัง) เฉลี่ย 47.59
ไรตอครัวเรือน รองลงมา คือ พื้นที่ปลูกพืชไร เฉล่ีย 11.77 ไรตอครัวเรือน พ้ืนที่ปลูกไมผลและไมยืนตน
เฉลย่ี 2.51 ไรตอ ครัวเรือน พ้ืนท่ีเลย้ี งปศสุ ัตวใ นโรงเรอื น (คอก) เฉล่ีย 0.11 ไรตอครัวเรือน พ้ืนทท่ี ุงหญา เล้ียงสัตว
เฉลี่ย 0.09 ไรตอ ครัวเรือน พื้นที่รกรางวางเปลา เฉลี่ย 0.07 ไรตอครัวเรือน พื้นที่เพาะเลี้ยงประมงตามธรรมชาติ/
สรางเอง เฉล่ีย 0.05 ไรตอ ครัวเรือน พ้นื ทห่ี วย/หนอง/คลอง/บึง (ที่ถอื ครอง) เฉลย่ี 0.04 ไรต อ ครัวเรอื น และพนื้ ท่ี
ปลกู พชื ผกั /สมนุ ไพร เฉลีย่ 0.02 ไรต อครวั เรอื น ตามลําดับ ทัง้ นี้ มปี ระสิทธิภาพการใชทด่ี นิ รอ ยละ 181.53

2) พน้ื ที่ฝงซา ยของโครงการเขอื่ นทดนํ้าผาจกุ
ลักษณะการใชประโยชนท่ีดินเพื่อการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา พ้ืนท่ีการเกษตร

ปเพาะปลูก 2564/65 เฉลี่ย 29.09 ไรตอครัวเรือน สวนใหญจะเปนพ้ืนท่ีปลูกขาว (นาปและนาปรัง) เฉลี่ย 22.46 ไร
ตอ ครวั เรือน รองลงมา คอื พนื้ ที่ปลกู พืชไร เฉลี่ย 6.05 ไรตอครัวเรือน พ้ืนท่ีปลกู ไมผลและไมยืนตน เฉลย่ี 1.80 ไร
ตอครัวเรือน พื้นที่เลี้ยงปศุสัตวในโรงเรือน (คอก) เฉล่ีย 0.05 ไรตอครัวเรือน พ้ืนที่เพาะเล้ียงประมง
ตามธรรมชาติ/สรา งเอง เฉล่ีย 0.05 ไรต อครวั เรือน พื้นท่ีปลูกพืชผัก/สมุนไพร เฉล่ีย 0.04 ไรต อครวั เรือน พ้ืนที่ทุงหญา
เล้ียงสัตว เฉลี่ย 0.02 ไรตอครัวเรือน พ้ืนท่ีรกรางวางเปลา เฉลี่ย 0.02 ไรตอครัวเรือน และพื้นท่ีหวย/หนอง/
คลอง/บงึ (ทีถ่ ือครอง) เฉล่ยี 0.02 ไรตอ ครวั เรือน ตามลาํ ดับ

ลักษณะการใชประโยชนท่ีดินจรงิ เพ่ือการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา พ้ืนท่ีการเกษตร
ปเพาะปลูก 2564/65 เฉล่ีย 46.22 ไรตอครัวเรือน สวนใหญจะเปนพ้ืนท่ีปลูกขาว (นาปและนาปรัง) เฉลี่ย 34.72 ไร
ตอครัวเรือน รองลงมา คอื พื้นที่ปลูกพืชไร เฉลย่ี 9.68 ไรตอครัวเรือน พ้ืนท่ีปลกู ไมผลและไมยนื ตน เฉลยี่ 1.62 ไร
ตอ ครัวเรือน พน้ื ท่ีเลี้ยงปศุสตั วใ นโรงเรอื น (คอก) เฉลี่ย 0.05 ไรตอครวั เรือน พ้ืนทเ่ี พาะเลย้ี งประมงตามธรรมชาติ/
สรางเอง เฉลี่ย 0.05 ไรต อครัวเรือน พืน้ ที่ปลูกพืชผัก/สมุนไพร เฉลี่ย 0.04 ไรตอครวั เรือน พ้ืนท่ที ุงหญาเลี้ยงสัตว
เฉลี่ย 0.02 ไรตอครัวเรือน พื้นท่ีรกรางวางเปลา เฉลี่ย 0.02 ไรตอครัวเรือน และพ้ืนท่ีหวย/หนอง/คลอง/บึง
(ท่ีถอื ครอง) เฉล่ยี 0.02 ไรต อ ครัวเรือน ตามลําดับ ท้ังน้ี มปี ระสทิ ธิภาพการใชท่ีดนิ รอยละ 171.30

3) พน้ื ท่ีฝง ขวาของโครงการเขอื่ นทดนํา้ ผาจุก
ลักษณะการใชประโยชนที่ดินเพ่ือการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา พื้นท่ีการเกษตร

ปเพาะปลูก 2564/65 เฉล่ีย 31.32 ไรต อครัวเรือน สว นใหญจะเปนพื้นท่ีปลูกขาว (นาปและนาปรัง) เฉลี่ย 21.04 ไร
ตอ ครวั เรือน รองลงมา คอื พ้นื ทปี่ ลูกพืชไร เฉล่ีย 6.26 ไรตอครัวเรอื น พ้ืนท่ปี ลกู ไมผ ลและไมยืนตน เฉลี่ย 2.29 ไร
ตอครัวเรือน พ้ืนที่เลี้ยงปศุสัตวในโรงเรือน (คอก) เฉล่ีย 0.08 ไรตอครัวเรือน พ้ืนที่รกรางวางเปลา เฉล่ีย 0.08 ไร
ตอครัวเรือน พ้ืนที่ทุงหญาเล้ียงสัตว เฉล่ีย 0.07 ไรตอครัวเรือน พื้นท่ีเพาะเล้ียงประมงตามธรรมชาติ/สรางเอง
เฉล่ีย 0.03 ไรตอครัวเรือน พ้ืนที่หวย/หนอง/คลอง/บึง (ท่ีถือครอง) เฉล่ีย 0.03 ไรตอครัวเรือน และพ้ืนที่ปลูก
พืชผัก/สมุนไพร เฉล่ีย 0.02 ไรตอ ครัวเรือน ตามลําดับ

38

ลักษณะการใชประโยชนท่ีดินจริงเพ่ือการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา พื้นที่การเกษตร
ปเพาะปลูก 2564/65 เฉลี่ย 48.51 ไรต อครัวเรือน สวนใหญจะเปนพื้นที่ปลูกขาว (นาปและนาปรัง) เฉลี่ย 35.94 ไร
ตอครัวเรือน รองลงมา คือ พื้นที่ปลูกพืชไร เฉลี่ย 10.02 ไรตอครวั เรือน พ้ืนท่ีปลูกไมผลและไมยนื ตน เฉลี่ย 2.24 ไร
ตอครัวเรือน พื้นที่เลี้ยงปศสุ ัตวในโรงเรือน (คอก) เฉล่ีย 0.08 ไรตอครัวเรือน พ้ืนท่ีรกรางวางเปลา เฉล่ีย 0.08 ไร
ตอครัวเรือน พื้นท่ีทุงหญาเลี้ยงสัตว เฉล่ีย 0.07 ไรตอครัวเรือน พ้ืนท่ีเพาะเล้ียงประมงตามธรรมชาติ/สรางเอง
เฉล่ีย 0.03 ไรตอครัวเรือน พื้นที่หวย/หนอง/คลอง/บึง (ที่ถือครอง) เฉลี่ย 0.03 ไรตอครัวเรือน และพื้นท่ีปลูก
พชื ผัก/สมนุ ไพร เฉลยี่ 0.02 ไรต อ ครวั เรอื น ตามลําดับ ทง้ั น้ี มีประสทิ ธิภาพการใชท ดี่ นิ รอ ยละ 171.90 (ตารางท่ี 4.6)

ตารางที่ 4.6 ลักษณะการใชประโยชนทีด่ ินเพื่อการเกษตรของครวั เรือนเกษตรกร

รายการ พน้ื ท่ีฝง บน พ้นื ท่ฝี ง ซา ย หนวย: ไรต อ ครัวเรอื น
พ้นื ท่ี พน้ื ท*่ี พ้นื ท่ี พนื้ ท*่ี พนื้ ท่ฝี ง ขวา
ลักษณะการใชท ด่ี ินเพ่อื การเกษตร การเกษตร ใชจ รงิ การเกษตร ใชจ ริง
พน้ื ทป่ี ลูกขาว (นาปและนาปรัง) พืน้ ที่ พนื้ ท*่ี
พืน้ ทปี่ ลูกพชื ไร 25.05 47.59 21.04 34.72 การเกษตร ใชจรงิ
พื้นท่ีปลูกไมผ ลและไมย นื ตน 6.36 11.77 6.05 9.68
พื้นทป่ี ลกู พืชผกั /สมนุ ไพร 2.51 2.51 1.80 1.62 22.46 35.94
พน้ื ทเ่ี ลยี้ งปศสุ ตั วในโรงเรือน (คอก) 0.02 0.02 0.04 0.04 6.26 10.02
พื้นที่ทุงหญาเล้ียงสตั ว 0.09 0.09 0.05 0.05 2.29 2.24
พน้ื ที่เพาะเล้ยี งประมงตามธรรมชาต/ิ สรา งเอง 0.09 0.09 0.02 0.02 0.02 0.02
พน้ื ท่รี กรา งวา งเปลา 0.05 0.05 0.05 0.05 0.08 0.08
พน้ื ที่หว ย/หนอง/คลอง/บงึ (ท่ถี อื ครอง) 0.07 0.07 0.02 0.02 0.07 0.07
รวม 0.04 0.04 0.02 0.02 0.03 0.03
ประสทิ ธิภาพการใชทีด่ ิน (รอ ยละ) 34.28 62.23 29.09 46.22 0.08 0.08
พ้นื ทปี่ ลกู บานอยอู าศัย (ไรต อ ครวั เรือน) 100.00 181.53 100.00 171.30 0.03 0.03
พื้นทกี่ ารเกษตรเฉลยี่ (ผนื ตอครวั เรอื น) 31.32 48.51
0.78 0.68 100.00 171.90
3.85 3.53
0.57
4.02

ที่มา: จากการสาํ รวจ

หมายเหต:ุ พื้นท่ีการเกษตรเฉลี่ยตอ ครัวเรอื น ไมน ับรวมพ้นื ท่ีปลกู บานอยอู าศยั

* คอื การใชประโยชนท ่ดี ินเพ่ือการเกษตรกร กรณีท่ีมกี ารปลกู พชื หมนุ เวียนในพ้นื ทีเ่ ดมิ

ประสิทธภิ าพการใชทด่ี นิ (Cropping Intensity) = พนื้ ท่ีเพาะปลกู จรงิ x 100
พ้ืนทก่ี ารเกษตรทง้ั หมด

4.1.5 แหลง น้ําท่ีใชเ พ่ือการเกษตร ตามลักษณะการถือครองทดี่ นิ
1) พืน้ ที่ฝงบนของโครงการเข่ือนทดน้ําผาจกุ
แหลงน้ําท่ีใชเพื่อการเกษตรตามลักษณะการถือครองท่ีดิน ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา

ลักษณะการถือครองที่ดินของครัวเรือนเกษตรกร มีทั้งรูปแบบที่ดินของตนเอง ท่ีเชา และท่ีไดทําฟรี ซึ่งมีท่ีดินถือ
ครองเฉลี่ย 62.33 ไรตอครัวเรือน โดยครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีการใชนํ้าจากโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา เฉลี่ย
38.11 ไรต อครัวเรือน รองลงมา คอื น้ําฝน เฉลี่ย 12.69 ไรต อ ครัวเรอื น สูบเองจากแหลงธรรมชาติ (แมน้ํา/คลอง/
บงึ ) เฉล่ีย 9.28 ไรตอ ครวั เรอื น บอบาดาล (ท่ีขดุ เจาะดว ยตนเอง) เฉลี่ย 1.89 ไรต อ ครัวเรือน และบอ/สระในไรน า
เฉลย่ี 0.26 ไรต อ ครัวเรอื น ตามลําดับ

39

2) พ้นื ที่ฝง ซายของโครงการเข่อื นทดนํ้าผาจกุ
แหลงนํ้าที่ใชเพื่อการเกษตรตามลักษณะการถือครองที่ดิน ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา

ลักษณะการถือครองท่ีดินของครัวเรือนเกษตรกร มที ้ังรูปแบบที่ดินของตนเอง ท่ีเชา และท่ีไดทําฟรี ซ่ึงมีที่ดินถือ
ครองเฉล่ีย 46.22 ไรตอครัวเรือน โดยครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีการใชนํ้าจากนํ้าฝน เฉลี่ย 17.78 ไรตอ
ครัวเรือน รองลงมา คือ สูบเองจากแหลงธรรมชาติ (แมนาํ้ /คลอง/บึง) เฉลย่ี 13.60 ไรต อครวั เรือน โครงการสูบนํ้า
ดว ยไฟฟา เฉลีย่ 12.18 ไรตอครวั เรอื น บอบาดาล (ท่ขี ุดเจาะดวยตนเอง) เฉล่ยี 2.36 ไรตอ ครัวเรือน และบอ/สระ
ในไรน า เฉล่ยี 0.30 ไรต อ ครัวเรือน ตามลาํ ดับ

3) พืน้ ท่ีฝง ขวาของโครงการเขอ่ื นทดน้าํ ผาจุก
แหลงนํ้าท่ีใชเพื่อการเกษตรตามลักษณะการถือครองที่ดิน ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา

ลักษณะการถือครองที่ดินของครัวเรือนเกษตรกร มีท้ังรูปแบบท่ีดินของตนเอง ที่เชา และที่ไดทําฟรี ซ่ึงมีท่ีดนิ ถือ
ครองเฉลี่ย 48.51 ไรตอครัวเรือน โดยครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีการใชน้ําจากนํ้าฝน เฉลี่ย 22.19 ไรตอ
ครัวเรือน รองลงมา คือ สูบเองจากแหลงธรรมชาติ (แมนา้ํ /คลอง/บึง) เฉล่ีย 12.49 ไรต อ ครวั เรอื น โครงการสูบนํ้า
ดว ยไฟฟา เฉล่ีย 10.63 ไรตอครัวเรือน บอ /สระในไรน า เฉลี่ย 1.75 ไรต อ ครัวเรือน และบอบาดาล (ที่ขุดเจาะดวย
ตนเอง) เฉลีย่ 1.45 ไรตอ ครัวเรือน ตามลําดบั (ตารางท่ี 4.7)
ตารางที่ 4.7 แหลงนํ้าทีใ่ ชเ พอ่ื การเกษตร ตามลกั ษณะการถือครองท่ดี นิ

หนว ย: ไรต อ ครัวเรือน

รายการ ลักษณะการถือครองท่ดี ิน รวม

พน้ื ทฝ่ี ง บนของโครงการ ท่ีตนเอง ที่เชา ทไ่ี ดท าํ ฟรี
นา้ํ ฝน
สูบเองจากแหลงธรรมชาติ (แมน ้ํา/คลอง/บึง) 9.02 3.25 0.42 12.69
บอ /สระในไรนา
บอ บาดาล (ที่ขดุ เจาะดว ยทุนตนเอง) 6.08 2.84 0.36 9.28
โครงการสบู น้ําดว ยไฟฟา
รวมพืน้ ท่ีทง้ั หมด 0.07 0.15 0.04 0.26

พ้ืนทฝ่ี ง ซา ยของโครงการ 1.16 0.73 - 1.89
นํา้ ฝน
สูบเองจากแหลงธรรมชาติ (แมน ้ํา/คลอง/บงึ ) 28.91 6.71 2.49 38.11
บอ/สระในไรนา
บอบาดาล (ทข่ี ดุ เจาะดว ยทนุ ตนเอง) 45.24 13.68 3.31 62.23
โครงการสูบนํา้ ดว ยไฟฟา
รวมพนื้ ทท่ี ้งั หมด 14.11 2.38 1.29 17.78

พื้นทฝ่ี ง ขวาของโครงการ 8.99 4.17 0.44 13.60
นํ้าฝน
สูบเองจากแหลงธรรมชาติ (แมน ้าํ /คลอง/บึง) 0.12 0.06 0.02 0.30
บอ/สระในไรนา
บอ บาดาล (ที่ขดุ เจาะดว ยทนุ ตนเอง) 1.34 1.02 - 2.36
โครงการสูบน้าํ ดวยไฟฟา
รวมพนื้ ทีท่ ้งั หมด 8.56 3.44 0.18 12.18

ท่มี า: จากการสาํ รวจ 33.12 11.07 1.93 46.22

15.86 4.18 2.15 22.19

8.85 3.13 0.51 12.49

1.32 0.43 - 1.75

1.09 0.36 - 1.45

6.56 3.84 0.23 10.63

33.68 11.94 2.89 48.51

40

4.1.6 แหลงน้าํ ทใี่ ชเพ่ือการเกษตร ตามลักษณะการใชประโยชนท่ีดนิ เพอ่ื การเกษตร
1) พ้นื ที่ฝง บนของโครงการเข่อื นทดนาํ้ ผาจกุ
แหลงนํ้าที่ใชเพ่ือการเกษตรตามลักษณะการใชประโยชนท่ีดิน ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา

ลักษณะการใชประโยชนท่ีดินเพ่ือการเกษตรของครัวเรือนเกษตรกร มีท้ังใชประโยชนในท่ีนา ท่ีพืชไร ที่ไมผล/
ไมยืนตน ท่ีพืชผัก/สมุนไพร ที่เล้ียงปศุสัตว ทุงหญาเล้ียงสัตว ท่ีเพาะเล้ียงประมง ท่ีรกรางวางเปลา และท่ีหวย/
หนอง/คลอง/บงึ ซง่ึ มกี ารใชประโยชนท ี่ดินเฉลีย่ 62.33 ไรต อ ครวั เรือน โดยครวั เรอื นเกษตรกรสวนใหญมกี ารใชนํ้า
จากโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา เฉล่ีย 35.85 ไรตอครัวเรือน รองลงมา คือ นํ้าฝน เฉล่ีย 13.16 ไรตอครัวเรือน
สูบเองจากแหลงธรรมชาติ (แมนํ้า/คลอง/บึง) เฉลี่ย 10.69 ไรตอครัวเรือน บอบาดาล (ที่ขุดเจาะดวยตนเอง)
เฉลยี่ 1.91 ไรตอ ครัวเรือน และบอ /สระในไรนา เฉลี่ย 0.62 ไรตอครวั เรอื น ตามลาํ ดับ

2) พื้นที่ฝง ซายของโครงการเขอ่ื นทดนํ้าผาจกุ
แหลงน้ําท่ีใชเพื่อการเกษตรตามลักษณะการใชประโยชนท่ีดิน ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา

ลักษณะการใชประโยชนท่ีดินเพื่อการเกษตรของครัวเรือนเกษตรกร มีท้ังใชประโยชนในที่นา ท่ีพืชไร ที่ไมผล/
ไมยืนตน ท่ีพืชผัก/สมุนไพร ที่เล้ียงปศุสัตว ทุงหญาเลี้ยงสัตว ที่เพาะเล้ียงประมง ท่ีรกรางวางเปลา และที่หวย/
หนอง/คลอง/บึง ซ่ึงมีการใชประโยชนท่ีดินเฉลี่ย 46.22 ไรตอครัวเรอื น โดยครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีการใช
น้ําฝน เฉล่ีย 25.42 ไรตอครัวเรือน รองลงมา คือ สูบเองจากแหลงธรรมชาติ (แมนํ้า/คลอง/บึง) เฉล่ีย 9.70 ไร
ตอครัวเรือนโครงการสูบนํ้าดวยไฟฟา เฉลี่ย 8.75 ไรต อครวั เรือน บอ บาดาล (ที่ขุดเจาะดวยตนเอง) เฉลีย่ 1.44 ไร
ตอ ครวั เรือน และบอ /สระในไรนา เฉลีย่ 0.91 ไรต อครวั เรือน ตามลาํ ดับ

3) พืน้ ท่ีฝง ขวาของโครงการเขอ่ื นทดนํ้าผาจกุ
แหลงน้ําที่ใชเพ่ือการเกษตรตามลักษณะการใชประโยชนท่ีดิน ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา

ลักษณะการใชประโยชนที่ดินเพ่ือการเกษตรของครัวเรือนเกษตรกร มีท้ังใชประโยชนในท่ีนา ท่ีพืชไร ที่ไมผล/
ไมยืนตน ที่พืชผัก/สมุนไพร ท่ีเล้ียงปศุสัตว ทุงหญาเล้ียงสัตว ท่ีเพาะเล้ียงประมง ที่รกรางวางเปลา และที่หวย/
หนอง/คลอง/บึง ซ่ึงมีการใชประโยชนที่ดินเฉล่ีย 48.51 ไรตอครัวเรอื น โดยครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีการใช
นํ้าฝน เฉลี่ย 28.67 ไรตอครัวเรือน รองลงมา คือ สูบเองจากแหลงธรรมชาติ (แมนํ้า/คลอง/บึง) เฉลี่ย 9.66 ไร
ตอ ครัวเรือนโครงการสูบนํ้าดวยไฟฟา เฉลยี่ 8.67 ไรต อครัวเรอื น บอบาดาล (ที่ขุดเจาะดวยตนเอง) เฉลี่ย 1.03 ไร
ตอ ครวั เรอื น และบอ /สระในไรน า เฉลยี่ 0.48 ไรต อครวั เรอื น ตามลําดับ (ตารางท่ี 4.8)

41

ตารางท่ี 4.8 แหลงนํ้าทใี่ ชเพ่อื การเกษตร ตามลักษณะการใชป ระโยชนท่ดี ินเพ่ือการเกษตร

หนวย: ไรต อครวั เรือน

ลกั ษณะการใชประโยชนท ีด่ นิ เพือ่ การเกษตร

รายการ ทน่ี า ทีพ่ ืชไร ทไ่ี มผล/ ทพ่ี ชื ผกั / ทเ่ี ลีย้ ง ทุงหญา ที่เพาะเล้ยี ง ท่รี กรา ง ทห่ี วย/หนอง รวม
วา งเปลา คลอง/บึง
ไมยืนตน สมนุ ไพร ปศุสัตว เล้ยี งสัตว ประมง

พนื้ ที่ฝง บนของโครงการ

นาํ้ ฝน 9.99 2.53 0.41 0.01 0.02 0.09 - 0.07 0.04 13.16
- - 10.69
สบู เองจากแหลง ธรรมชาติ 8.09 1.99 0.53 0.01 0.02 - 0.05 - - 0.62
- - 1.91
บอ /สระในไรนา 0.48 0.11 0.03 - - - - - - 35.85

บอ บาดาล (ทข่ี ดุ เจาะดวยทนุ ตนเอง) 1.43 0.35 0.08 - 0.05 - - 0.07 0.04 62.23

โครงการสบู น้ําดว ยไฟฟา 27.60 6.79 1.46 - - - -

รวมทง้ั หมด 47.59 11.77 2.51 0.02 0.09 0.09 0.05

พืน้ ที่ฝง ซา ยของโครงการ

น้าํ ฝน 19.10 5.32 0.89 0.02 0.01 0.02 0.02 0.02 0.02 25.42
- - 9.70
สบู เองจากแหลง ธรรมชาติ 7.29 2.04 0.34 - - - 0.03 - - 0.91
- - 1.44
บอ /สระในไรน า 0.69 0.19 0.03 - - - - - - 8.75

บอบาดาล (ท่ีขดุ เจาะดวยทนุ ตนเอง) 1.04 0.29 0.05 0.02 0.04 - - 0.02 0.02 46.22

โครงการสูบน้ําดว ยไฟฟา 6.60 1.84 0.31 - - - -

รวมทั้งหมด 34.72 9.68 1.62 0.04 0.05 0.02 0.05

พนื้ ท่ฝี ง ขวาของโครงการ

นํา้ ฝน 21.20 5.92 1.32 0.01 0.02 0.07 0.02 0.08 0.03 28.67
- - 9.66
สบู เองจากแหลงธรรมชาติ 7.19 2.00 0.46 - - - 0.01 - - 0.48
- - 1.03
บอ/สระในไรน า 0.36 0.10 0.02 - - - - - - 8.67

บอ บาดาล (ทข่ี ุดเจาะดว ยทนุ ตนเอง) 0.72 0.20 0.04 0.01 0.06 - - 0.08 0.03 48.51

โครงการสูบน้ําดวยไฟฟา 6.47 1.80 0.40 - - - -

รวมทั้งหมด 35.94 10.02 2.24 0.02 0.08 0.07 0.03

ท่มี า: จากการสาํ รวจ

42

4.1.7 ทรัพยสนิ และหน้ีสนิ ของครวั เรอื นเกษตรกร
1) พืน้ ท่ีฝงบนของโครงการเขอ่ื นทดนํา้ ผาจุก
มูลคาทรัพยสินการเกษตรเฉล่ียตอครัวเรือนตนป ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ทรัพยสิน

การเกษตรสวนใหญของครัวเรือนเกษตรกร จะเปนทรัพยสินคงท่ีมูลคา 2,078,941 บาท ของมูลคาทรัพยสิน
การเกษตรทง้ั หมด ซง่ึ จะเปนมลู คาของทดี่ นิ 1,975,495 บาท ของมูลคา ทรพั ยส ินการเกษตรทั้งหมด รองลงมา คือ
ทรพั ยสนิ ดําเนนิ งานมูลคา 143,282 บาท และทรัพยส ินหมุนเวยี นมูลคา 22,994 บาท ดังนนั้ เกษตรกรมที รพั ยส ิน
การเกษตรทั้งหมดมูลคา 2,245,217 บาท ทั้งน้ี หากไมคิดมลู คา ที่ดนิ จะมีทรัพยส ินการเกษตรมลู คา 269,772 บาท
ของมูลคาทรัพยส นิ การเกษตรทงั้ หมด

สําหรับมูลคาทรัพยสินการเกษตรเฉลี่ยตอครัวเรือนปลายป ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา
ทรัพยสินการเกษตรสวนใหญของครัวเรือนเกษตรกร จะเปนทรัพยสินคงท่ีมูลคา 2,337,402 บาท ของมูลคา
ทรัพยสินการเกษตรทั้งหมด ซ่ึงจะเปนมูลคาของท่ีดิน 2,236,211 บาท ของมูลคาทรัพยสินการเกษตรท้ังหมด
รองลงมา คือ ทรัพยสินดําเนินงานมูลคา 137,283 บาท และทรัพยสินหมุนเวียนมูลคา 23,663 บาท ดังน้ัน
เกษตรกรมีทรัพยสินการเกษตรทง้ั หมดมูลคา 2,498,348 บาท ทั้งนี้ หากไมคิดมูลคาท่ีดินจะมที รัพยส ินการเกษตร
มลู คา 262,137 บาท ของมลู คา ทรพั ยสนิ การเกษตรทง้ั หมด

2) พน้ื ที่ฝง ซา ยของโครงการเขอื่ นทดนา้ํ ผาจกุ
มูลคาทรัพยสินการเกษตรเฉลี่ยตอครัวเรือนตนป ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ทรัพยสิน

การเกษตรสวนใหญของครัวเรือนเกษตรกร จะเปนทรัพยสินคงที่มูลคา 1,877,604 บาท ของมูลคาทรัพยสิน
การเกษตรทง้ั หมด ซึ่งจะเปนมูลคาของท่ีดนิ 1,965,601 บาท ของมลู คาทรพั ยส ินการเกษตรท้งั หมด รองลงมา คือ
ทรพั ยสินดําเนนิ งานมูลคา 142,554 บาท และทรัพยส ินหมุนเวียนมูลคา 21,583 บาท ดังนั้น เกษตรกรมีทรัพยส ิน
การเกษตรทัง้ หมดมูลคา 2,041,741 บาท ทั้งนี้ หากไมคิดมูลคา ท่ีดินจะมีทรัพยส ินการเกษตรมูลคา 276,680 บาท
ของมูลคา ทรัพยส ินการเกษตรท้งั หมด

สําหรับมูลคาทรัพยสินการเกษตรเฉล่ียตอครัวเรือนปลายป ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา
ทรัพยสินการเกษตรสวนใหญของครัวเรือนเกษตรกร จะเปนทรัพยสินคงที่มูลคา 2,085,955 บาท ของมูลคา
ทรัพยสินการเกษตรท้ังหมด ซ่ึงจะเปนมูลคาของที่ดิน 1,977,170 บาท ของมูลคาทรัพยสินการเกษตรทั้งหมด
รองลงมา คือ ทรัพยสินดําเนินงานมูลคา 128,295 บาท และทรัพยสินหมุนเวียนมูลคา 21,909 บาท ดังนั้น
เกษตรกรมีทรัพยสินการเกษตรท้ังหมดมูลคา 2,236,159 บาท ทั้งนี้ หากไมค ดิ มูลคาท่ีดนิ จะมีทรัพยสนิ การเกษตร
มูลคา 258,989 บาท ของมูลคาทรัพยสนิ การเกษตรทง้ั หมด

3) พน้ื ทฝ่ี ง ขวาของโครงการเข่ือนทดน้าํ ผาจุก
มูลคาทรัพยสินการเกษตรเฉลี่ยตอครัวเรือนตนป ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ทรัพยสิน

การเกษตรสวนใหญของครัวเรือนเกษตรกร จะเปนทรัพยสินคงที่มูลคา 1,942,011 บาท ของมูลคาทรัพยสิน
การเกษตรทั้งหมด ซ่งึ จะเปนมลู คา ของท่ดี ิน 1,832,690 บาท ของมูลคาทรัพยสินการเกษตรทั้งหมด รองลงมา คือ
ทรัพยสินดําเนินงานมูลคา 142,413 บาท และทรัพยส ินหมุนเวยี นมลู คา 27,551 บาท ดังนั้น เกษตรกรมที รัพยส ิน
การเกษตรทง้ั หมดมลู คา 2,111,975 บาท ทัง้ น้ี หากไมค ดิ มูลคา ที่ดินจะมีทรพั ยส ินการเกษตรมูลคา 279,285 บาท
ของมูลคาทรพั ยสนิ การเกษตรทั้งหมด

สําหรับมูลคาทรัพยสินการเกษตรเฉลี่ยตอครัวเรือนปลายป ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา
ทรัพยสินการเกษตรสวนใหญของครัวเรือนเกษตรกร จะเปนทรัพยสินคงท่ีมูลคา 2,089,701 บาท ของมูลคา
ทรัพยสินการเกษตรทั้งหมด ซึ่งจะเปนมูลคาของที่ดิน 1,982,145 บาท ของมูลคาทรัพยสินการเกษตรท้ังหมด
รองลงมา คือ ทรัพยสินดําเนินงานมูลคา 139,782 บาท และทรัพยสินหมุนเวียนมูลคา 28,324 บาท ดังนั้น


Click to View FlipBook Version