43
เกษตรกรมีทรัพยสินการเกษตรทั้งหมดมูลคา 2,257,807 บาท ทั้งน้ี หากไมคดิ มลู คาท่ีดินจะมที รัพยสนิ การเกษตร
มลู คา 275,662 บาท ของมูลคา ทรพั ยสนิ การเกษตรทั้งหมด (ตารางที่ 4.9)
ตารางท่ี 4.9 ทรัพยสินการเกษตรของครวั เรือนเกษตรกร
หนว ย: บาทตอครัวเรือน
มูลคา ทรพั ยสนิ การเกษตร
รายการ คงท่ี ทรัพยสนิ * ปจ จัย หมุนเวียน รวม รวม
ดําเนินงาน คงเหลือ ท้งั หมด ทงั้ หมด
ทีด่ นิ โรงเรือน/ รวม ผลผลติ รวม เวนทด่ี นิ
อืน่ ๆ พชื สตั ว
พื้นทฝี่ ง บนของโครงการ
ตน ป 1,975,495 103,446 2,078,941 143,282 98 3,887 19,009 22,994 2,245,217 269,772
23,663 2,498,348 262,137
ปลายป 2,236,211 101,191 2,337,402 137,283 155 4,625 18,883
พน้ื ที่ฝงซายของโครงการ
ตน ป 1,765,061 112,543 1,877,604 142,554 77 4,352 17,154 21,583 2,041,741 276,680
21,909 2,236,159 258,989
ปลายป 1,977,170 108,785 2,085,955 128,295 167 4,801 16,941
พน้ื ท่ีฝงขวาของโครงการ
ตน ป 1,832,690 109,321 1,942,011 142,413 82 4,284 23,185 27,551 2,111,975 279,285
28,324 2,257,807 275,662
ปลายป 1,982,145 107,556 2,089,701 139,782 153 4,952 23,219
ท่ีมา: จากการสาํ รวจ
หมายเหต:ุ * ทรพั ยสนิ ดําเนนิ งาน เชน รถไถ เคร่ืองจกั ร และอปุ กรณก ารเกษตร ฯลฯ
4.1.8 หนีส้ ิน และแหลงกยู ืมเงนิ
1) พน้ื ที่ฝงบนของโครงการเขอ่ื นทดนํา้ ผาจกุ
(1) หน้สี นิ
หนส้ี ิน ของครัวเรอื นเกษตรกร ณ วันท่ี 30 เมษายน 2565 พบวา ครัวเรอื นเกษตรกรมีจํานวน
หนี้สินทั้งหมดเฉล่ีย 241,094 บาทตอครัวเรือน แยกเปนหนี้สินในระบบเฉล่ีย 236,879 บาทตอครัวเรอื น ซ่ึงเปน
เงินตนและดอกเบ้ียคางจายเฉลี่ย 233,121 บาทตอครวั เรือน และ 3,758 บาทตอครัวเรอื น ตามลําดับ และเปน
หน้ีสินนอกระบบเฉลี่ย 5,396 บาทตอครัวเรือน ซึง่ เปนเงินตน และดอกเบ้ยี คางจายเฉลย่ี 3,691 บาทตอครัวเรือน
และ 524 บาทตอครัวเรือน ตามลําดับ หรือเปนหน้ีสินในระบบและหน้ีสินนอกระบบ รอยละ 98.25 และ 1.75
ตามลาํ ดับ
(2) แหลงกูย ืม
แหลงกูยืมเงิน ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีการกูยืมเงิน
รอยละ 95.40 และไมมีการกูยืมเงิน รอยละ 4.60 โดยกูยืมเงนิ จากธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร
(ธ.ก.ส.) มากที่สุด รอยละ 89.76 รองลงมา คือ กูยืมเงินจากกองทุนหมูบาน รอยละ 19.28 และสหกรณการเกษตร
รอยละ 15.06 ตามลําดับ
2) พื้นที่ฝง ซายของโครงการเข่อื นทดน้ําผาจกุ
(1) หน้สี ิน
หนส้ี ิน ของครัวเรือนเกษตรกร ณ วันท่ี 30 เมษายน 2565 พบวา ครัวเรือนเกษตรกรมีจํานวน
หนี้สินท้ังหมดเฉล่ีย 247,892 บาทตอครัวเรือน แยกเปนหนี้สินในระบบเฉลี่ย 242,496 บาทตอครัวเรือน
ซึ่งเปนเงินตนและดอกเบี้ยคางจายเฉลี่ย 238,497 บาทตอครัวเรือน และ 3,999 บาทตอครัวเรือน ตามลําดับ
และเปนหนี้สินนอกระบบเฉลี่ย 4,215 บาทตอครัวเรือน ซ่ึงเปนเงินตนและดอกเบ้ียคางจายเฉล่ีย 4,878 บาท
ตอ ครัวเรือน และ 518 บาทตอครัวเรือน ตามลําดับ หรือเปนหนีส้ ินในระบบและหนี้สนิ นอกระบบ รอยละ 97.82
และ 2.18 ตามลําดับ
44
(2) แหลง กูยืม
แหลงกูยืมเงิน ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีการกูยืมเงิน
รอยละ 93.87 และไมมีการกูยืมเงิน รอยละ 6.13 โดยกูยืมเงินจากธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณก ารเกษตร
(ธ.ก.ส.) มากท่ีสุด รอยละ 98.04 รองลงมา คือ สหกรณการเกษตร รอยละ 25.49 และกูยืมเงนิ จากกองทุนหมูบาน
รอยละ 13.07 ตามลาํ ดับ
3) พื้นที่ฝง ขวาของโครงการเข่ือนทดนาํ้ ผาจกุ
(1) หนสี้ ิน
หนี้สิน ของครัวเรือนเกษตรกร ณ วันที่ 30 เมษายน 2565 พบวา ครัวเรอื นเกษตรกรมีจํานวน
หนี้สินท้ังหมดเฉลี่ย 244,474 บาทตอครัวเรือน แยกเปนหน้ีสินในระบบเฉลี่ย 239,665 บาทตอครัวเรือน
ซึ่งเปนเงินตนและดอกเบีย้ คางจายเฉลยี่ 235,813 บาทตอครวั เรือน และ 3,852 บาทตอครวั เรอื น ตามลาํ ดับ และ
เปนหน้ีสินนอกระบบเฉลี่ย 4,809 บาทตอครัวเรือน ซึ่งเปนเงินตนและดอกเบ้ียคางจายเฉลี่ย 4,200 บาท
ตอ ครัวเรือน และ 609 บาทตอครัวเรือน ตามลาํ ดับ หรือเปนหน้ีสินในระบบและหนี้สนิ นอกระบบ รอยละ 98.03
และ 1.97 ตามลําดับ
(2) แหลง กูยืม
แหลงกูยืมเงิน ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีการกูยืมเงิน
รอยละ 96.92 และไมมีการกูยืมเงิน รอยละ 3.08 โดยกูยืมเงนิ จากธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร
(ธ.ก.ส.) มากท่ีสุด รอยละ 88.61 รองลงมา คือ สหกรณการเกษตร รอยละ 22.78 และกูยืมเงนิ จากกองทุนหมูบาน
รอ ยละ 16.46 ตามลําดบั (ตารางท่ี 4.10 และตารางท่ี 4.11)
ตารางที่ 4.10 หนส้ี นิ ทงั้ หมดของครวั เรือนเกษตรกร
รายการ พน้ื ที่ฝง บนของโครงการ พนื้ ที่ฝง ซายของโครงการ พ้นื ทีฝ่ งขวาของโครงการ
บาท/ครัวเรือน รอ ยละ
บาท/ครวั เรือน รอยละ บาท/ครัวเรือน รอ ยละ
จาํ นวนหนสี้ ินในระบบ 236,879 98.25
242,496 97.82 239,665 98.03
เงนิ ตน 233,121 96.69 238,497 96.21 235,813 96.46
3,999 1.61 3,852 1.57
ดอกเบย้ี 3,758 1.56
5,396 2.18 4,809 1.97
จาํ นวนหนส้ี นิ นอกระบบ 4,215 1.75 4,878 1.97 4,200 1.72
518 0.21 609 0.25
เงินตน 3,691 1.53
247,892 100.00 244,474 100.00
ดอกเบ้ยี 524 0.22
รวมท้งั หมด 241,094 100.00
ท่มี า: จากการสาํ รวจ
45
ตารางที่ 4.11 แหลง กูยืมเงนิ ของครวั เรอื นเกษตรกร
รายการ พื้นทฝ่ี งบน พนื้ ทฝี่ งซาย พน้ื ทฝ่ี งขวา
รอ ยละ รอ ยละ รอ ยละ
100.00 100.00
การกยู ืมเงนิ 100.00 6.13 3.08
93.87 96.92
ไมกูยมื 4.60
98.04 88.61
กยู ืม 95.40 25.49 22.78
9.15 12.03
แหลงกูยืมเงิน 13.07 16.46
3.80
ธนาคารเพอ่ื การเกษตร ฯ (ธ.ก.ส.) 89.76 - 5.70
- 4.43
สหกรณก ารเกษตร 15.06 7.84
กลุมเกษตรกร/กลุมออมทรพั ย 5.42
กองทุนหมบู า น 19.28
ธนาคารพาณิชยอ ่ืน ๆ 3.01
นายทุน/พอคา 3.61
ญาติพี่นอง 6.63
ทม่ี า: จากการสาํ รวจ
หมายเหต:ุ เกษตรกร 1 ราย สามารถตอบไดมากกวา 1 คาํ ตอบ
4.1.9 ทรพั ยส ินนอกการเกษตรปลายป
ทรัพยสินนอกการเกษตรของครัวเรือน บงบอกถึงฐานะความเปนอยูและความสะดวกสบายใน
การดาํ รงชีพของครวั เรือนเกษตรกร มีรายละเอยี ดดงั น้ี
1) พน้ื ท่ีฝงบนของโครงการเขอื่ นทดนํา้ ผาจกุ
ทรัพยสินนอกการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา มูลคา ทรัพยสินนอกการเกษตรปลายป
เทากับ 694,152 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนทรัพยสินเกี่ยวกับบานท่ีอยูอาศัยรวมรั้ว ไมรวมทดี่ ิน เทากับ
335,850 บาท หรือรอยละ 48.38 ของมูลคาทรัพยสินนอกการเกษตรทั้งหมด รองลงมา คือ ทรัพยสินเก่ียวกับ
รถจักรยานยนต/รถยนต เทากับ 240,987 บาทตอครัวเรือน และทรัพยสินเก่ียวกับคอมพิวเตอร/อุปกรณ
อิเล็กทรอนิกส เทากับ 73,452 บาท หรอื รอยละ 34.72 และรอยละ 10.58 ของมูลคาทรัพยสินนอกการเกษตร
ทง้ั หมด ตามลําดับ
2) พ้นื ท่ีฝง ซายของโครงการเขอ่ื นทดน้าํ ผาจุก
ทรัพยสินนอกการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา มูลคา ทรัพยสินนอกการเกษตรปลายป
เทากับ 628,721 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนทรัพยสินเก่ียวกับบานที่อยูอาศัยรวมร้ัว ไมรวมทด่ี ิน เทากับ
323,749 บาท หรือรอยละ 51.49 ของมูลคาทรัพยสินนอกการเกษตรทั้งหมด รองลงมา คือ ทรัพยสินเก่ียวกับ
รถจักรยานยนต/รถยนต เทากับ 210,668 บาทตอครัวเรือน และทรัพยสินเกี่ยวกับคอมพิวเตอร/อุปกรณ
อิเล็กทรอนิกส เทากับ 50,021 บาท หรือรอยละ 33.51 และรอยละ 7.96 ของมูลคาทรัพยสินนอกการเกษตร
ทั้งหมด ตามลําดับ
3) พ้นื ที่ฝงขวาของโครงการเขื่อนทดนํา้ ผาจกุ
ทรัพยสินนอกการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา มูลคา ทรัพยสินนอกการเกษตรปลายป
เทากับ 668,185 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนทรัพยสินเกี่ยวกับบานท่ีอยูอาศัยรวมรั้ว ไมรวมที่ดิน เทากับ
291,333 บาท หรือรอยละ 43.60 ของมูลคาทรัพยสินนอกการเกษตรทั้งหมด รองลงมา คือ ทรัพยสินเก่ียวกับ
รถจักรยานยนต/รถยนต เทากับ 289,985 บาทตอครัวเรือน และทรัพยสินเกี่ยวกับคอมพิวเตอร/อุปกรณ
46
อิเล็กทรอนิกส เทากับ 42,357 บาท หรือรอยละ 43.40 และรอยละ 6.34 ของมูลคาทรัพยสินนอกการเกษตร
ทั้งหมด ตามลาํ ดับ (ตารางท่ี 4.12)
ตารางท่ี 4.12 ทรัพยสินนอกการเกษตรปลายปของครวั เรอื นเกษตรกร
รายการ พ้นื ท่ีฝง บน พน้ื ท่ีฝง ซา ย หนว ย: บาทตอครวั เรือน
บานท่อี ยอู าศยั รวมรวั้ ไมร วมที่ดิน มลู คา รอ ยละ มลู คา รอ ยละ พ้นื ท่ฝี ง ขวา
โรงเรือนเกบ็ ของ
รถยนต/ รถจักรยานยนต 335,850 48.38 323,749 51.49 มูลคา รอยละ
เครื่องใชไฟฟา ในครวั เรอื น 3,586 0.52 4,775 0.76
โทรศพั ท/ อปุ กรณสอ่ื สาร 240,987 34.72 210,668 33.51 291,333 43.60
คอมพวิ เตอร/ อปุ กรณอ เิ ลก็ ทรอนกิ ส 3,055 0.44 2,951 0.47 3,988 0.60
เครื่องปม นาํ้ /สบู น้ํา 21,949 3.16 17,446 2.77 289,985 43.40
จกั รเย็บผา /อุปกรณห ตั ถกรรม 73,452 10.58 50,021 7.96 2,754 0.41
เฟอรน เิ จอรในครัวเรือน 2,695 0.39 3,778 0.60 18,963 2.84
สินทรพั ยน อกการเกษตรอนื่ ๆ 1,405 0.20 919 0.15 42,357 6.34
7,703 1.11 10,411 1.66 3,951 0.59
รวมทัง้ หมด 3,470 0.50 4,003 0.63 2,482 0.37
ที่มา: จากการสาํ รวจ 8,653 1.30
694,152 100.00 628,721 100.00 3,719 0.55
668,185 100.00
4.1.10 รายได และรายจา ยของครัวเรือนเกษตรกร
1) พื้นท่ีฝงบนของโครงการเข่ือนทดนํา้ ผาจกุ มรี ายละเอียดตาง ๆ ดงั นี้ (ตารางท่ี 4.13)
รายไดเ งินสดทางการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรมรี ายไดเงนิ สด
ทางการเกษตรรวม เทากับ 401,339 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนรายไดเงินสดทางการเกษตรดานพืช
เทากับ 325,630 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 81.14 ของทั้งหมด รองลงมา คือ รายไดเงินสดทางการเกษตร
ดานอ่ืน ๆเทากับ 69,081 บาทตอครัวเรือน ดานปศุสัตว เทากับ 6,481 บาทตอครวั เรือน และดานเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า
เทากับ 147 บาทตอครัวเรอื น หรือรอ ยละ 17.21 รอยละ 1.61 และรอ ยละ 0.04 ของท้ังหมด ตามลาํ ดบั
รายจายเงินสดทางการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรมีรายจายเงิน
สดทางการเกษตรรวม เทากับ 213,116 บาทตอ ครัวเรือน โดยสวนใหญเปนรายจายเงินสดทางการเกษตรดานพืช
เทากับ 156,293 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 73.34 ของท้ังหมด รองลงมา คือ รายจายเงินสดทางการเกษตร
ดานอ่ืน ๆ เทากับ 50,740 บาทตอครัวเรือน ดานปศุสัตว เทากับ 5,928 บาทตอครัวเรือน และดานเพาะเลี้ยง
สัตวนํ้า เทากับ 155 บาทตอครัวเรือน หรือรอ ยละ 23.81 รอ ยละ 2.78 และรอยละ 0.04 ของทั้งหมด ตามลาํ ดบั
รายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา รายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตร
รวม เทากับ 192,586 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนรายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตรดานพืช เทากับ
173,700 บาทตอ ครัวเรือน หรอื รอยละ 90.19 ของทั้งหมด รองลงมา คือ รายไดเงนิ สดสทุ ธทิ างการเกษตรดานอื่น
ๆ เทากับ 18,341 บาทตอ ครัวเรือน ดา นปศุสัตว เทากับ 553 บาทตอครัวเรือน และดา นเพาะเลย้ี งสตั วนํา้ เทากับ
-8 บาทตอ ครวั เรอื น หรอื รอ ยละ 9.52 และรอยละ 0.29 ของท้งั หมด ตามลําดบั
มูลคา ผลผลติ เกษตรที่ใชในครัวเรือน และสวนตางมูลคาผลผลิตเกษตรตนปและปลายป ของ
ครัวเรอื นเกษตรกร พบวา มูลคา ผลผลิตเกษตรท่ใี ชใ นครัวเรือน และสวนตางมูลคาผลผลิตเกษตรตนปและปลายป
รวม เทากับ 38,874 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนมูลคา ผลผลิตเกษตรท่ีใชในครัวเรือน และสวนตางมูลคา
ผลผลิตเกษตรตนปและปลายปดานพืช เทากับ 24,344 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 62.62 ของทั้งหมด
รองลงมา คือ ดานปศุสัตว เทากับ 14,352 บาทตอครัวเรือน และดานเพาะเล้ียงสัตวนํ้า เทากับ 178 บาท
ตอครัวเรือน หรอื รอยละ 36.92 และรอยละ 0.46 ของทงั้ หมด ตามลาํ ดับ
47
รายไดส ทุ ธทิ างการเกษตร ของครวั เรอื นเกษตรกร พบวา รายไดสุทธทิ างการเกษตรรวม เทา กับ
231,460 บาทตอครวั เรือน โดยสวนใหญเปน รายไดสทุ ธิทางการเกษตรดา นพืช เทากบั 198,044 บาทตอครัวเรือน
หรือรอยละ 85.57 ของทั้งหมด รองลงมา คือ รายไดสุทธิทางการเกษตรอ่ืน เทากับ 18,341 บาทตอครัวเรือน
ดานปศุสัตว เทากับ 14,905 บาทตอครัวเรือน และดานเพาะเล้ียงสัตวน้ํา เทากับ 170 บาทตอครัวเรือน หรือ
รอยละ 7.92 รอ ยละ 6.44 และรอ ยละ 0.07 ของทัง้ หมด ตามลาํ ดบั
รายไดและรายจายเงินสดนอกการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา รายไดเงินสดนอก
การเกษตรรวม เทา กับ 141,261 บาทตอครัวเรือน และรายจายเงินสดนอกการเกษตรรวม เทากบั 182,998 บาท
ตอครวั เรอื น
รายไดเงินสดสุทธิครัวเรือน ของครวั เรือนเกษตรกร หมายถึง รายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตร
รวมกับรายไดเ งินสดนอกการเกษตร พบวา รายไดเ งนิ สดสทุ ธิครวั เรือนรวม เทา กบั 329,484 บาทตอครวั เรือน
เงินสดคงเหลือกอนหักชาํ ระหน้ี หรือเงินออม หมายถึง จาํ นวนเงินคงเหลือจากการใชจายทั้งใน
การเกษตรและนอกการเกษตร ซ่ึงเปนเงินออมท่ีเกษตรกรคงเหลือเพื่อไวใชสอยในปตอไปหรือเมื่อมีความจําเปน
ดงั น้ัน เงินสดคงเหลือกอนหักชําระหนี้รวม เทากับ 150,849 บาทตอ ครัวเรอื น
เงินออมสุทธิ หมายถึง รายไดสุทธิทางเกษตรรวมกับรายไดเงินสดนอกการเกษตรแลวหักออก
ดว ยรายจา ยเงนิ สดนอกการเกษตร ดังนน้ั เงินออมสุทธิรวม เทา กบั 189,723 บาทตอครวั เรอื น
2) พ้นื ทฝ่ี ง ซายของโครงการเขื่อนทดนํา้ ผาจกุ มรี ายละเอยี ดตา ง ๆ ดังนี้ (ตารางที่ 4.14)
รายไดเ งินสดทางการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรมรี ายไดเงินสด
ทางการเกษตรรวม เทากับ 359,523 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนรายไดเงินสดทางการเกษตรดานพืช
เทากับ 290,596 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 80.83 ของทั้งหมด รองลงมา คือ รายไดเงินสดทางการเกษตร
ดานอื่น ๆ เทากับ 68,382 บาทตอครวั เรือน ดา นปศุสัตว เทากับ 508 บาทตอครัวเรอื น และดานเพาะเล้ียงสัตว
นํา้ เทากบั 37 บาทตอครวั เรอื น หรือรอยละ 19.02 รอ ยละ 0.14 และรอยละ 0.01 ของทง้ั หมด ตามลาํ ดับ
รายจายเงินสดทางการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรมีรายจายเงิน
สดทางการเกษตรรวม เทากับ 224,881 บาทตอ ครัวเรือน โดยสวนใหญเปนรายจายเงินสดทางการเกษตรดานพืช
เทากับ 169,221 บาทตอครัวเรือน หรือรอ ยละ 75.25 ของทั้งหมด รองลงมา คือ รายจายเงินสดทางการเกษตร ดาน
อ่ืน ๆ เทากับ 54,882 บาทตอครัวเรือน ดานปศุสัตว เทากับ 653 บาทตอครัวเรือน และดานเพาะเล้ียงสัตวน้ํา
เทากบั 125 บาทตอครัวเรือน หรอื รอยละ 24.40 รอยละ 0.29 และรอยละ 0.06 ของทงั้ หมด ตามลาํ ดับ
รายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา รายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตร
รวม เทากับ 134,642 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนรายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตรดานพืช เทากับ
121,375 บาทตอครัวเรือน หรอื รอยละ 90.15 ของท้งั หมด รองลงมา คือ รายไดเงนิ สดสุทธิทางการเกษตรดา นอ่ืน
ๆ เทากับ 13,500 บาทตอครัวเรือน ดานเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า เทากับ -88 บาทตอ ครัวเรอื น และดานปศุสตั ว เทากับ
-145 บาทตอ ครวั เรอื น และ หรอื รอยละ 10.03 รอยละ -0.07 และรอ ยละ -0.11 ของทง้ั หมด ตามลําดับ
มลู คา ผลผลิตเกษตรที่ใชใ นครัวเรอื น และสวนตางมูลคาผลผลิตเกษตรตนปและปลายป ของ
ครัวเรอื นเกษตรกร พบวา มูลคา ผลผลิตเกษตรที่ใชในครัวเรอื น และสวนตางมูลคา ผลผลิตเกษตรตนปและปลายป
รวม เทากับ 11,466 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนมูลคาผลผลิตเกษตรท่ีใชในครัวเรือน และสวนตางมูลคา
ผลผลิตเกษตรตนปและปลายปดา นพชื เทากับ 8,737 บาทตอครัวเรอื น หรอื รอ ยละ 76.20 ของทั้งหมด รองลงมา
คือ ดานปศสุ ัตว เทากับ 2,789 บาทตอครัวเรือน และดานเพาะเล้ียงสัตวน้ํา เทากับ -60 บาทตอครัวเรือน หรือ
รอยละ 24.32 และรอยละ -0.52 ของทง้ั หมด ตามลําดับ
รายไดสทุ ธิทางการเกษตร ของครวั เรือนเกษตรกร พบวา รายไดสุทธทิ างการเกษตรรวม เทากับ
146,108 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนรายไดสทุ ธิทางการเกษตรดานพืช เทากับ 130,112 บาทตอ ครวั เรือน
หรือรอยละ 89.05 ของทั้งหมด รองลงมา คือ รายไดสุทธิทางการเกษตรอ่ืน เทากับ 13,500 บาทตอครัวเรือน
48
ดานปศุสัตว เทากับ 2,644 บาทตอครัวเรือน และดานเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เทากับ -148 บาทตอครัวเรือน หรือ
รอ ยละ 9.24 รอ ยละ 1.81 และรอยละ -0.10 ของทง้ั หมด ตามลาํ ดบั
รายไดและรายจายเงินสดนอกการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา รายไดเงินสดนอก
การเกษตรรวม เทา กับ 171,092 บาทตอครัวเรอื น และรายจา ยเงินสดนอกการเกษตรรวม เทากบั 199,618 บาท
ตอ ครัวเรอื น
รายไดเงินสดสุทธิครัวเรือน ของครวั เรือนเกษตรกร หมายถึง รายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตร
รวมกับรายไดเงินสดนอกการเกษตร พบวา รายไดเ งนิ สดสทุ ธิครวั เรอื นรวม เทา กบั 305,734 บาทตอครวั เรือน
เงินสดคงเหลือกอนหักชาํ ระหนี้ หรือเงินออม หมายถึง จํานวนเงนิ คงเหลือจากการใชจา ยทั้งใน
การเกษตรและนอกการเกษตร ซ่ึงเปนเงินออมท่ีเกษตรกรคงเหลือเพ่ือไวใชสอยในปตอไป หรือเม่ือมี
ความจําเปนตองใช ดังน้นั เงินสดคงเหลอื กอ นหักชาํ ระหนรี้ วม เทากับ 106,116 บาทตอครวั เรือน
เงินออมสทุ ธิ หมายถึง รายไดส ทุ ธทิ างเกษตรรวมกับรายไดเงินสดนอกการเกษตรแลวหักออก
ดวยรายจา ยเงินสดนอกการเกษตร ดงั น้ัน เงนิ ออมสทุ ธริ วม เทากับ 117,582 บาทตอ ครวั เรอื น
3) พืน้ ท่ีฝง ขวาของโครงการเข่ือนทดนํา้ ผาจกุ มีรายละเอียดตา ง ๆ ดงั น้ี (ตารางที่ 4.15)
รายไดเงนิ สดทางการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรอื นเกษตรกรมรี ายไดเงนิ สด
ทางการเกษตรรวม เทากับ 360,114 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนรายไดเงินสดทางการเกษตรดานพืช
เทากับ 317,187 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 88.07 ของทั้งหมด รองลงมา คือ รายไดเงินสดทางการเกษตร
ดานอ่ืน ๆ เทากับ 40,874 บาทตอครัวเรือน ดานปศุสัตว เทากับ 1,804 บาทตอครัวเรือน และดานเพาะเลี้ยง
สัตวน้ํา เทากบั 279 บาทตอครวั เรือน หรอื รอ ยละ 11.35 รอ ยละ 0.50 และรอยละ 0.08 ของทั้งหมด ตามลําดบั
รายจายเงินสดทางการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรมีรายจาย
เงินสดทางการเกษตรรวม เทากับ 191,434 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนรายจายเงินสดทางการเกษตร
ดานพืช เทากับ 165,257 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 86.33 ของทั้งหมด รองลงมา คือ รายจายเงินสดทาง
การเกษตร ดานอ่ืน ๆ เทากับ 24,712 บาทตอครัวเรือน ดานปศุสัตว เทากับ 1,249 บาทตอครัวเรือน และ
ดานเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เทากับ 216 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ 12.91 รอยละ 0.65 และรอยละ 0.11
ของทง้ั หมด ตามลําดบั
รายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา รายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตร
รวม เทากับ 168,710 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนรายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตรดานพืช เทากับ
151,930 บาทตอครัวเรอื น หรือรอยละ 90.05 ของทั้งหมด รองลงมา คอื รายไดเงนิ สดสุทธิทางการเกษตรดา นอ่ืน
ๆ เทากับ 16,162 บาทตอครวั เรือน ดา นปศุสัตว เทากับ 555 บาทตอ ครัวเรือน และดานเพาะเล้ียงสัตวนํา้ เทากับ
63 บาทตอครวั เรือน หรือรอยละ 9.58 รอ ยละ 0.33 และรอยละ 0.04 ของท้งั หมด ตามลําดับ
มูลคาผลผลิตเกษตรท่ีใชในครัวเรือน และสวนตางมูลคาผลผลิตเกษตรตนปแ ละปลายป ของ
ครัวเรือนเกษตรกร พบวา มูลคา ผลผลติ เกษตรทใ่ี ชในครัวเรอื น และสว นตางมูลคาผลผลิตเกษตรตนปและปลายป
รวม เทากับ 5,216 บาทตอครัวเรือน โดยสวนใหญเปนมูลคาผลผลิตเกษตรที่ใชในครัวเรือน และสวนตางมูลคา
ผลผลติ เกษตรตนปและปลายปดา นพืช เทากับ 3,705 บาทตอ ครัวเรอื น หรือรอยละ 71.03 ของท้ังหมด รองลงมา
คือ ดานปศุสัตว เทากับ 855 บาทตอครัวเรือน และดานเพาะเลี้ยงสัตวนํ้า เทากับ 656 บาทตอครัวเรือน หรือรอยละ
16.39 และรอยละ 12.58 ของทัง้ หมด ตามลําดับ
รายไดสทุ ธิทางการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา รายไดสุทธทิ างการเกษตรรวม เทากับ
173,926 บาทตอ ครัวเรือน โดยสวนใหญเปนรายไดสทุ ธิทางการเกษตรดา นพืช เทากับ 155,635 บาทตอครัวเรอื น
หรือรอยละ 89.48 ของท้ังหมด รองลงมา คือ รายไดสุทธิทางการเกษตรอ่ืน เทากับ 16,162 บาทตอครัวเรือน
ดานปศุสัตว เทากับ 1,410 บาทตอครัวเรือน และดานเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา เทากับ 719 บาทตอครัวเรือน หรือ
รอยละ 9.29 รอ ยละ 0.81 และรอ ยละ 0.41 ของทัง้ หมด ตามลําดับ
49
รายไดแ ละรายจายเงินสดนอกการเกษตร ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา รายไดเ งนิ สดนอกการเกษตร
รวม เทากับ 124,004 บาทตอครัวเรือน และรายจายเงินสดนอกการเกษตรรวม เทากับ 198,814 บาท
ตอ ครวั เรอื น
รายไดเงินสดสุทธิครัวเรือน ของครัวเรอื นเกษตรกร หมายถงึ รายไดเ งนิ สดสทุ ธิทางการเกษตรรวมกับ
รายไดเ งินสดนอกการเกษตร พบวา รายไดเ งินสดสทุ ธิครวั เรอื นรวม เทากับ 292,714 บาทตอครัวเรอื น
เงินสดคงเหลือกอนหักชําระหนี้ หรือเงินออม หมายถึง จํานวนเงินคงเหลือจากการใชจาย
ท้ังในการเกษตรและนอกการเกษตร ซึ่งเปนเงินออมท่ีเกษตรกรคงเหลือเพื่อไวใชสอยในปตอไปหรือเม่ือมีความ
จาํ เปน ดงั นน้ั เงนิ สดคงเหลือกอนหักชําระหนร้ี วม เทากบั 93,900 บาทตอ ครวั เรอื น
เงินออมสุทธิ หมายถึง รายไดสุทธิทางเกษตรรวมกับรายไดเงินสดนอกการเกษตรแลวหักออกดวย
รายจา ยเงนิ สดนอกการเกษตร ดังนน้ั เงนิ ออมสุทธิรวม เทา กบั 99,116 บาทตอครวั เรอื น
จากขอมูลดงั กลา วขา งตน จะเห็นไดวาครัวเรอื นเกษตรกรในพ้ืนทฝ่ี ง บนของโครงการเขื่อนทดนา้ํ ผาจุก
จังหวัดอุตรดิตถ มีเงินออมสุทธิ เทากับ 189,723 บาทตอครัวเรือน ซ่ึงมากกวาครัวเรือนเกษตรกรท่ีอยูในพื้นท่ี
ฝงซาย และพ้ืนที่ฝงขวาของโครงการฯ ท่ีมีเงินออมสุทธิ เทากับ 117,582 บาทตอครัวเรือน และ 99,116 บาท
ตอครัวเรอื น ตามลําดับ สาเหตุสวนหนึ่งเกิดจากครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่ฝงบนของโครงการ ฯ มีประสิทธิภาพ
การใชท่ีดินสูงกวา กลาวอีกนัยหนึ่งคือ ครัวเรือนเกษตรกรมีการใชประโยชนจากที่ดินเพ่ือการเกษตรมากกวา
โดยเฉพาะการปลกู ขาวนาปและนาปรัง สามารถทําการผลิตไดมากกวา 1 รอบการผลิตตอปในพื้นทเ่ี ดมิ เน่ืองจาก
มีแหลงนํ้าจากการใชบรกิ ารสถานสี บู น้ําดวยไฟฟา ประกอบกับมีรายจายเงินสดนอกการเกษตรท่ีตํ่ากวาครัวเรือน
เกษตรกรในพน้ื ทฝ่ี งซา ย และพนื้ ทีฝ่ ง ขวาของโครงการ ฯ (ตารางที่ 4.16)
50
ตารางท่ี 4.13 รายไดและรายจา ยของครวั เรอื นเกษตรกรในพืน้ ทีฝ่ ง บนของโครงการ
หนว ย: บาทตอครวั เรือน
รายการ จํานวน รอยละ
1. รายไดเ งินสดทางการเกษตร 401,339 100.00
1.1 ดานพชื 325,630 81.14
1.2 ดานปศสุ ตั ว 6,481 1.61
1.3 ดานเพาะเลี้ยงสัตวนาํ้ 147 0.04
1.4 รายไดเ งนิ สดทางการเกษตรอ่นื 69,081 17.21
2. รายจายเงินสดทางการเกษตร 213,116 100.00
2.1 ดานพืช 156,293 73.34
2.2 ดา นปศสุ ตั ว 5,928 2.78
2.3 ดานเพาะเลย้ี งสัตวนาํ้ 155 0.04
2.4 รายจา ยเงนิ สดทางการเกษตรอ่นื 50,740 23.81
3. รายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตร1/ 192,586 100.00
3.1 ดา นพืช 173,700 90.19
3.2 ดา นปศสุ ัตว 553 0.29
3.3 ดา นเพาะเลีย้ งสัตวนาํ้ -8 -
3.4 รายไดเ งนิ สดสทุ ธิทางการเกษตรอนื่ 18,341 9.52
4. มูลคาผลผลติ เกษตรท่ใี ชในครวั เรือน 38,874 100.00
4.1 ดานพืช 24,344 62.62
4.2 ดานปศสุ ตั ว 14,352 36.92
4.3 ดา นเพาะเลย้ี งสตั วน าํ้ 178 0.46
4.4 อ่นื ๆ --
5. รายไดสุทธิทางการเกษตร2/ 231,460 100.00
5.1 ดานพืช 198,044 85.57
5.2 ดา นปศุสัตว 14,905 6.44
5.3 ดา นเพาะเล้ยี งสัตวน้ํา 170 0.07
5.4 รายไดส ุทธิทางการเกษตรอืน่ 18,341 7.92
6. รายไดเ งนิ สดนอกการเกษตร 141,261 -
7. รายจา ยเงินสดนอกการเกษตร 182,998 -
8. รายไดเงนิ สดสุทธิครวั เรอื น3/ 329,484 -
9. เงินสดคงเหลอื กอนหักชาํ ระหน4ี้ / (เงินออม) 150,849 -
10. เงินออมสุทธิ5/ 189,723 -
ทมี่ า: จากการคาํ นวณ
หมายเหต:ุ 1/ รายไดเงินสดทางการเกษตร - รายจายเงนิ สดทางการเกษตร / 2/ รายไดเ งนิ สดสทุ ธทิ างการเกษตร + มูลคาผลผลิตเกษตรที่ใชใ นครัวเรือน
3/ รายไดเ งนิ สดสทุ ธทิ างการเกษตร + รายไดเงนิ สดนอกการเกษตร / 4/ รายไดเ งนิ สดสทุ ธิครัวเรอื น - รายจา ยเงินสดนอกการเกษตร
5/ รายไดส ุทธทิ างการเกษตร + รายไดเ งินสดนอกการเกษตร - รายจา ยเงนิ สดนอกการเกษตร
51
ตารางท่ี 4.14 รายไดแ ละรายจายของครวั เรือนเกษตรกรในพน้ื ทีฝ่ ง ซา ยของโครงการ
หนวย: บาทตอครวั เรือน
รายการ จํานวน รอ ยละ
1. รายไดเ งนิ สดทางการเกษตร 359,523 100.00
1.1 ดา นพชื 290,596 80.83
1.2 ดา นปศุสัตว 508 0.14
1.3 ดานเพาะเลย้ี งสตั วน้ํา 37 0.01
1.4 รายไดเ งนิ สดทางการเกษตรอื่น 68,382 19.02
2. รายจา ยเงนิ สดทางการเกษตร 224,881 100.00
2.1 ดา นพืช 169,221 75.25
2.2 ดา นปศสุ ตั ว 653 0.29
2.3 ดา นเพาะเลี้ยงสัตวนํา้ 125 0.06
2.4 รายจายเงนิ สดทางการเกษตรอน่ื 54,882 24.40
3. รายไดเงินสดสุทธิทางการเกษตร1/ 134,642 100.00
3.1 ดา นพชื 121,375 90.15
3.2 ดา นปศสุ ตั ว -145 -0.11
3.3 ดา นเพาะเล้ียงสัตวน้ํา -88 -0.07
3.4 รายไดเ งนิ สดสทุ ธทิ างการเกษตรอ่นื 13,500 10.03
4. มูลคา ผลผลิตเกษตรทใ่ี ชใ นครัวเรือน 11,466 100.00
4.1 ดานพืช 8,737 76.20
4.2 ดานปศุสัตว 2,789 24.32
4.3 ดานเพาะเลี้ยงสัตวน า้ํ -60 -0.52
4.4 อ่ืน ๆ --
5. รายไดสุทธิทางการเกษตร2/ 146,108 100.00
5.1 ดานพืช 130,112 89.05
5.2 ดานปศุสัตว 2,644 1.81
5.3 ดานเพาะเล้ียงสตั วน าํ้ -148 -0.10
5.4 รายไดส ุทธิทางการเกษตรอน่ื 13,500 9.24
6. รายไดเงินสดนอกการเกษตร 171,092 -
7. รายจา ยเงินสดนอกการเกษตร 199,618 -
8. รายไดเ งนิ สดสุทธิครัวเรือน3/ 305,734 -
9. เงินสดคงเหลือกอนหักชาํ ระหน4ี้ / (เงนิ ออม) 106,116 -
10. เงนิ ออมสุทธิ5/ 117,582 -
ท่ีมา: จากการคาํ นวณ
หมายเหต:ุ 1/ รายไดเ งนิ สดทางการเกษตร - รายจายเงนิ สดทางการเกษตร / 2/ รายไดเ งนิ สดสุทธทิ างการเกษตร + มลู คา ผลผลติ เกษตรท่ใี ชใ นครวั เรือน
3/ รายไดเ งนิ สดสุทธทิ างการเกษตร + รายไดเงนิ สดนอกการเกษตร / 4/ รายไดเงนิ สดสุทธิครัวเรอื น - รายจา ยเงนิ สดนอกการเกษตร
5/ รายไดส ทุ ธทิ างการเกษตร + รายไดเ งินสดนอกการเกษตร – รายจา ยเงนิ สดนอกการเกษตร
52
ตารางที่ 4.15 รายไดแ ละรายจายของครัวเรอื นเกษตรกรในพื้นทีฝ่ ง ขวาของโครงการ
หนวย: บาทตอครวั เรอื น
รายการ จาํ นวน รอ ยละ
1. รายไดเงินสดทางการเกษตร 360,144 100.00
1.1 ดา นพืช 317,187 88.07
1.2 ดา นปศุสัตว 1,804 0.50
1.3 ดานเพาะเลี้ยงสตั วน าํ้ 279 0.08
1.4 รายไดเ งนิ สดทางการเกษตรอ่นื 40,874 11.35
2. รายจา ยเงนิ สดทางการเกษตร 191,434 100.00
2.1 ดานพืช 165,257 86.33
2.2 ดา นปศุสัตว 1,249 0.65
2.3 ดานเพาะเล้ียงสตั วน้ํา 216 0.11
2.4 รายจายเงนิ สดทางการเกษตรอ่ืน 24,712 12.91
3. รายไดเ งนิ สดสุทธิทางการเกษตร1/ 168,710 100.00
3.1 ดา นพืช 151,930 90.05
3.2 ดา นปศุสตั ว 555 0.33
3.3 ดานเพาะเลย้ี งสัตวนํา้ 63 0.04
3.4 รายไดเ งนิ สดสทุ ธิทางการเกษตรอ่ืน 16,162 9.58
4. มลู คาผลผลิตเกษตรทใี่ ชใ นครวั เรือน 5,216 100.00
4.1 ดา นพชื 3,705 71.03
4.2 ดานปศสุ ัตว 855 16.39
4.3 ดานเพาะเลยี้ งสัตวน าํ้ 656 12.58
4.4 อ่นื ๆ --
5. รายไดส ุทธิทางการเกษตร2/ 173,926 100.00
5.1 ดา นพชื 155,635 89.48
5.2 ดา นปศสุ ัตว 1,410 0.81
5.3 ดานเพาะเลย้ี งสตั วน้ํา 719 0.41
5.4 รายไดส ุทธิทางการเกษตรอ่ืน 16,162 9.29
6. รายไดเงนิ สดนอกการเกษตร 124,004 -
7. รายจา ยเงนิ สดนอกการเกษตร 198,814 -
8. รายไดเงินสดสทุ ธิครัวเรอื น3/ 292,714 -
9. เงนิ สดคงเหลอื กอนหักชําระหน4ี้ / 93,900 -
10. เงินออมสทุ ธิ5/ 99,116 -
ทม่ี า: จากการคาํ นวณ
หมายเหต:ุ 1/ รายไดเงินสดทางการเกษตร - รายจายเงินสดทางการเกษตร / 2/ รายไดเ งนิ สดสทุ ธทิ างการเกษตร + มูลคา ผลผลิตเกษตรที่ใชใ นครวั เรอื น
3/ รายไดเ งนิ สดสุทธทิ างการเกษตร + รายไดเงนิ สดนอกการเกษตร / 4/ รายไดเงนิ สดสทุ ธิครัวเรือน - รายจา ยเงินสดนอกการเกษตร
5/ รายไดส ุทธิทางการเกษตร + รายไดเ งนิ สดนอกการเกษตร - รายจา ยเงินสดนอกการเกษตร
53
ตารางที่ 4.16 เปรยี บเทียบรายไดและรายจายของครวั เรือนเกษตรกรในพ้ืนทฝ่ี ง ขวาของโครงการ
หนว ย: บาทตอครัวเรือน
รายการ ฝง บน รอยละ ฝง ซา ย รอ ยละ ฝง ขวา รอยละ
1. รายไดเ งินสดทางการเกษตร 401,339 100.00 359,523 100.00 360,144 100.00
1.1 ดา นพชื 325,630 81.14 290,596 80.83 317,187 88.07
1.2 ดานปศุสัตว 6,481 1.61 508 0.14 1,804 0.50
1.3 ดานเพาะเลย้ี งสตั วนาํ้ 147 0.04 37 0.01 279 0.08
1.4 รายไดเ งนิ สดทางการเกษตรอ่ืน 69,081 17.21 68,382 19.02 40,874 11.35
2. รายจา ยเงินสดทางการเกษตร 213,116 100.00 224,881 100.00 191,434 100.00
2.1 ดา นพืช 156,293 73.34 169,221 75.25 165,257 86.33
2.2 ดานปศุสัตว 5,928 2.78 653 0.29 1,249 0.65
2.3 ดา นเพาะเลี้ยงสตั วนา้ํ 155 0.04 125 0.06 216 0.11
2.4 รายจา ยเงนิ สดทางการเกษตรอืน่ 50,740 23.81 54,882 24.40 24,712 12.91
3. รายไดเ งนิ สดสทุ ธิทางการเกษตร1/ 192,586 100.00 134,642 100.00 168,710 100.00
3.1 ดานพชื 173,700 90.19 121,375 90.15 151,930 90.05
3.2 ดานปศสุ ตั ว 553 0.29 -145 -0.11 555 0.33
3.3 ดา นเพาะเลี้ยงสตั วนํา้ -8 - -88 0.07 63 0.04
3.4 รายไดเงนิ สดสุทธทิ างการเกษตรอื่น 18,341 9.52 13,500 10.03 16,162 9.58
4. มูลคา ผลผลติ เกษตรทใี่ ชในครัวเรอื น 38,874 100.00 11,466 100.00 5,216 100.00
4.1 ดา นพืช 24,344 62.62 8,737 76.20 3,705 71.03
4.2 ดา นปศุสตั ว 14,352 36.92 2,789 24.32 855 16.39
4.3 ดานเพาะเล้ียงสตั วนาํ้ 178 0.46 -60 -0.52 656 12.58
4.4 อ่นื ๆ ------
5. รายไดส ุทธทิ างการเกษตร2/ 231,460 100.00 146,108 100.00 173,926 100.00
5.1 ดา นพืช 198,044 85.57 130,112 89.05 155,635 89.48
5.2 ดา นปศุสัตว 14,905 6.44 2,644 1.81 1,410 0.81
5.3 ดา นเพาะเลี้ยงสตั วน าํ้ 170 0.07 -148 -0.10 719 0.41
5.4 รายไดส ทุ ธิทางการเกษตรอน่ื 18,341 7.92 13,500 9.24 16,162 9.29
6. รายไดเ งนิ สดนอกการเกษตร 141,261 - 171,092 - 124,004 -
7. รายจา ยเงนิ สดนอกการเกษตร 182,998 - 199,618 - 198,814 -
8. รายไดเ งินสดสุทธคิ รวั เรือน3/ 329,484 - 305,734 - 292,714 -
9. เงนิ สดคงเหลือกอนหักชําระหน4ี้ / 150,849 - 106,116 - 93,900 -
10. เงินออมสทุ ธิ5/ 189,723 - 117,582 - 99,116 -
ทมี่ า: จากการคาํ นวณ
หมายเหต:ุ 1/ รายไดเงนิ สดทางการเกษตร - รายจายเงินสดทางการเกษตร / 2/ รายไดเ งนิ สดสทุ ธทิ างการเกษตร + มลู คา ผลผลติ เกษตรทใ่ี ชในครวั เรอื น
3/ รายไดเ งนิ สดสุทธทิ างการเกษตร + รายไดเงนิ สดนอกการเกษตร / 4/ รายไดเ งินสดสทุ ธิครวั เรอื น - รายจายเงนิ สดนอกการเกษตร
5/ รายไดสทุ ธทิ างการเกษตร + รายไดเ งนิ สดนอกการเกษตร - รายจา ยเงนิ สดนอกการเกษตร
54
4.1.11 การใชป ระโยชนจากแหลง น้าํ และการบริการของภาครฐั
1) การเปนสมาชกิ กลมุ ผใู ชน ํา้
พนื้ ที่ฝง บนของโครงการเขอ่ื นทดนํ้าผาจุก : การเปนสมาชกิ กลุม ผูใชน ้ําดวยการสบู นํ้าดวย
ไฟฟาของครัวเรอื นเกษตร พบวา ครวั เรอื นเกษตรกรเปน สมาชิกกลุม ผูใชน ํา้ ฯ รอ ยละ 100
พน้ื ท่ฝี ง ซายของโครงการเขือ่ นทดนํา้ ผาจกุ : การเปนสมาชกิ กลุมผูใชน า้ํ ดวยการสบู นํา้ ดว ย
ไฟฟาของครัวเรือนเกษตร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญเปนสมาชิกกลุมผูใชน้ํา ฯ รอยละ 67.69 และไม
เปน สมาชกิ ฯ รอ ยละ 32.31
พน้ื ที่ฝง ขวาของโครงการเขอื่ นทดนา้ํ ผาจกุ
การเปนสมาชิกกลุมผูใชนํ้าดวยการสูบนํ้าดวยไฟฟาของครัวเรือนเกษตร พบวา ครัวเรือนเกษตรกร
สวนใหญเปน สมาชกิ กลมุ ผูใชน้าํ ฯ รอ ยละ 50.85 และไมเปน สมาชกิ ฯ รอยละ 49.15 (ตารางท่ี 4.17)
ตารางท่ี 4.17 การเปนสมาชิกกลมุ ผูใชน้ําดวยการสบู น้าํ ดวยไฟฟาของครวั เรือนเกษตรกร
หนว ย: รอยละ
รายการ พืน้ ที่ฝงบน พนื้ ท่ฝี งซา ย พ้นื ที่ฝงขวา
ของโครงการฯ ของโครงการฯ ของโครงการฯ
การเปน สมาชกิ 100.00 100.00 100.00
เปน สมาชิก 100.00 67.69 50.85
ไมเปน สมาชิก 32.31 49.15
-
ท่ีมา: จากการสาํ รวจ
2) ประโยชนตอการผลิตสินคา เกษตร
พื้นท่ีฝงบนของโครงการเข่ือนทดนํ้าผาจุก : ประโยชนตอการผลิตสินคาเกษตรของ
ครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสว นใหญมีความเห็นวา โครงการเขอื่ นทดนํ้าผาจุก จังหวัดอตุ รดติ ถ มี
ประโยชนตอการผลิตสินคาเกษตรระดับมาก รอยละ 44.00 รองลงมา คือ มีประโยชนตอการผลิตสินคาเกษตร
ระดับปานกลาง รอ ยละ 24.62 ไมเกิดประโยชนใด ๆ รอยละ 12.00 และระดับนอ ย รอยละ 4.00 ตามลําดบั
พื้นท่ีฝงซายของโครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก : ประโยชนตอการผลิตสินคาเกษตรของ
ครัวเรอื นเกษตรกร พบวา ครัวเรอื นเกษตรกรสวนใหญมคี วามเห็นวาโครงการเข่อื นทดนํ้าผาจุก จงั หวัดอตุ รดิตถ มี
ประโยชนตอการผลิตสินคาเกษตรระดับมาก รอยละ 58.46 รองลงมา คือ มีประโยชนตอการผลิตสินคาเกษตร
ระดบั ปานกลาง รอ ยละ 40.00 ระดับนอย รอยละ 10.77 และไมเกิดประโยชนใด ๆ รอยละ 6.15 ตามลําดับ
พื้นที่ฝงขวาของโครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก : ประโยชนตอการผลิตสินคาเกษตรของ
ครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีความเห็นวา โครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก จังหวัดอุตรดติ ถ มี
ประโยชนตอการผลิตสินคาเกษตรระดับมาก รอยละ 83.05 รองลงมา คือ มีประโยชนตอการผลิตสินคาเกษตร
ระดับปานกลาง รอยละ 15.25 และระดบั นอย รอ ยละ 1.69 ตามลําดับ (ตารางท่ี 4.18)
จะเห็นไดวาครวั เรือนเกษตรกรสวนใหญในพ้ืนท่ีทั้งฝง บน ฝงซา ย และฝงขวาของโครงการเข่ือน
ทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ มีความเห็นวาโครงการดังกลาว มีประโยชนตอการผลิตสินคาเกษตรของครัวเรือน
เกษตรกร เนอื่ งจากมแี หลงน้ําในการทําการเกษตรมากข้นึ ชว ยลดปญหาการเกิดอุทกภยั อยางไรก็ตาม มคี รัวเรือน
เกษตรกรบางสว นทมี่ คี วามเหน็ วาไมเ กดิ ประโยชนใด ๆ เนื่องจากมีแหลง นํ้าในการทําการเกษตรอยูแลว
55
ตารางท่ี 4.18 การเกดิ ประโยชนต อ การผลิตสนิ คาเกษตรของโครงการเข่ือนทดน้าํ ผาจุก จงั หวัดอุตรดิตถ
รายการ พน้ื ทฝ่ี ง บน พน้ื ทฝ่ี ง ซาย หนว ย: รอ ยละ
ของโครงการฯ ของโครงการฯ
พน้ื ทีฝ่ ง ขวา
ของโครงการฯ
การเกิดประโยชน 100.00 100.00 100.00
ประโยชนม าก 44.00 58.46 83.05
ประโยชนป านกลาง 40.00 24.62 15.25
ประโยชนน อ ย 4.00 10.77 1.69
ไมเ กิดประโยชนใด ๆ 12.00 6.15
-
ทม่ี า: จากการสํารวจ
4.1.12 การแกไขปญ หานํ้าเพ่อื การเกษตร
1) พ้นื ที่ฝงบนของโครงการเขื่อนทดนํา้ ผาจกุ
การแกไขปญหานํ้าเพื่อการเกษตรของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรทุกครัวเรือน
มีความเห็นวาโครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ สามารถแกไขปญหาน้ําเพื่อการเกษตรได
รอยละ 100.00 โดยสวนใหญเปนการแกไขปญหาดานการลดคาใชจายในการจัดหาน้ํา รอยละ 81.63 รองลงมา
คือ ดานการมีน้ําทําการเกษตรเพ่ิมขึ้นในฤดแู ลง รอยละ 20.41 ดานการเพิ่มจํานวนรอบการผลิตได รอยละ 4.08
ดานครัวเรือนสามารถขยายพื้นที่เกษตรได รอยละ 4.08 และดานการบรรเทาความเสียหายจากอุทกภัย
รอยละ 2.04 ตามลาํ ดับ
2) พืน้ ทฝี่ งซายของโครงการเข่อื นทดนํา้ ผาจกุ
การแกไขปญหาน้ําเพื่อการเกษตรของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ
มคี วามเห็นวาโครงการเขื่อนทดนาํ้ ผาจุก จงั หวดั อุตรดิตถ สามารถแกไ ขปญหาน้าํ เพ่ือการเกษตรได รอยละ 84.62
และไมสามารถแกไขปญหาได รอยละ 15.38 โดยสว นใหญเปนการแกไขปญหาดา นการมีน้ําทําการเกษตรเพิ่มขึ้น
ในฤดแู ลง รอ ยละ 78.18 รองลงมา คือ ดา นการเพิ่มจํานวนรอบการผลติ ได รอ ยละ 52.73 ดานการลดคาใชจายใน
การจัดหานํ้า รอยละ 32.73 ดานครัวเรือนสามารถขยายพ้ืนที่เกษตรได รอยละ 16.36 และดานการบรรเทา
ความเสียหายจากอุทกภัย รอยละ 7.27 ตามลําดบั
3) พน้ื ที่ฝงขวาของโครงการเขื่อนทดนํา้ ผาจุก
การแกไขปญหานํ้าเพ่ือการเกษตรของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรทุกครัวเรือน
มีความเห็นวาโครงการเข่ือนทดนํ้าผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ สามารถแกไขปญหานํ้าเพื่อการเกษตรได
รอยละ 100.00 โดยสวนใหญเปนการแกไขปญหาดานการมีนํ้าทําการเกษตรเพิ่มข้ึนในฤดูแลง รอยละ 83.0.5
รองลงมา คือ ดานการเพ่ิมจํานวนรอบการผลิตได รอยละ 66.10 ดานการลดคาใชจายในการจัดหาน้ํา
รอยละ 18.64 ดานการบรรเทาความเสียหายจากอุทกภัย รอยละ 8.47 และดานครัวเรือนสามารถขยายพื้นท่ี
เกษตรได รอยละ 8.47 ตามลําดับ (ตารางที่ 4.19)
56
ตารางที่ 4.19 การแกไ ขปญหานาํ้ เพ่อื การเกษตรของโครงการเขือ่ นทดน้าํ ผาจุก จงั หวดั อตุ รดติ ถ
หนว ย: รอยละ
รายการ พนื้ ทฝ่ี ง บน พน้ื ทฝ่ี งซา ย พื้นที่ฝง ขวา
ของโครงการฯ ของโครงการฯ ของโครงการฯ
การชว ยแกไ ขปญหา 100.00 100.00 100.00
15.38 -
ไมชว ยแกไขปญหา - 84.62
78.18 100.00
ชว ยแกไขปญหา 100.00 52.73 83.05
32.73 66.10
มีนํ้าทาํ การเกษตรเพ่มิ ขึ้นในฤดแู ลง 20.41 7.27 18.64
16.36 8.47
เพ่ิมจํานวนรอบการผลติ ได 4.08 8.47
ลดคาใชจา ยในการจัดหานาํ้ 81.63
บรรเทาความเสียหายจากอุทกภยั 2.04
ครวั เรอื นสามารถขยายพืน้ ท่ีเกษตรได 4.08
ทีม่ า: จากการสาํ รวจ
หมายเหต:ุ เกษตรกร 1 ราย สามารถตอบไดม ากกวา 1 คาํ ตอบ
4.1.13 การประสบปญหาเกีย่ วกับนาํ้ อปุ โภค (ดา นการเกษตร) และการบริโภคในครัวเรอื น
1) พน้ื ท่ฝี ง บนของโครงการเขอ่ื นทดน้ําผาจุก
การประสบปญหาเก่ยี วกับนํ้าอุปโภค (ดานการเกษตร) และการบริโภคของครัวเรือนเกษตรกร
พบวา ครัวเรือนเกษตรกรทุกครัวเรือนไมประสบปญหาเกี่ยวกับนํ้าอุปโภค (ดานการเกษตร) และการบริโภคใน
ครวั เรือน รอยละ 100.00
2) พ้นื ทีฝ่ ง ซา ยของโครงการเข่ือนทดนา้ํ ผาจุก
การประสบปญหาเกี่ยวกับน้ําอุปโภค (ดา นการเกษตร) และการบรโิ ภคของครวั เรือนเกษตรกร
พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมประสบปญหาเกี่ยวกับน้ําอุปโภค (ดานการเกษตร) และการบริโภคใน
ครัวเรือน รอยละ 63.08 และประสบปญหารอยละ 36.92 โดยเปนการประสบปญหาน้ําทวมผลผลิตเสียหาย
รอ ยละ 50.00 และนํา้ แลงผลผลิตเสียหาย รอยละ 50.00
3) พ้ืนทีฝ่ งขวาของโครงการเข่อื นทดนาํ้ ผาจุก
การประสบปญหาเก่ียวกับนํ้าอุปโภค (ดานการเกษตร) และการบริโภคของครัวเรอื นเกษตรกร
พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมประสบปญหาเก่ียวกับน้ําอุปโภค (ดานการเกษตร) และการบริโภคใน
ครัวเรือน รอยละ 59.32 และประสบปญหารอยละ 40.68 โดยสวนใหญประสบปญหานํ้าแลงผลผลิตเสียหาย
รอยละ 87.50 และนา้ํ ทวมผลผลิตเสยี หาย รอยละ 12.50 ตามลาํ ดบั (ตารางที่ 4.20)
57
ตารางที่ 4.20 การประสบปญหาเกย่ี วกับนา้ํ อุปโภค (ดานการเกษตร) และการบรโิ ภคในครัวเรอื น
หนวย: รอยละ
รายการ พื้นท่ีฝง บน พน้ื ที่ฝงซา ย พนื้ ทฝ่ี ง ขวา
ของโครงการฯ ของโครงการฯ ของโครงการฯ
การประสบปญ หา 100.00 100.00 100.00
ไมป ระสบปญหา 100.00 63.08 59.32
ปญหาปญหา 36.92 40.68
นํ้าทวมผลผลิตเสียหาย - 50.00 12.50
นํ้าเคม็ /น้ํากรอยผลผลติ เสียหาย -
นาํ้ แลงผลผลติ เสยี หาย - - -
- 50.00 87.50
ที่มา: จากการสํารวจ
4.1.14 คา ใชจ ายในการจดั หาน้ําของครวั เรอื นเกษตรกร
1) พื้นท่ีฝง บนของโครงการเขือ่ นทดนาํ้ ผาจกุ
คาใชจายในการจัดหาน้ําของครัวเรอื นเกษตรกร พบวา ครวั เรือนเกษตรกรทุกครัวเรือนมีคา ใชจ าย
ในการจัดหาน้ํา รอยละ 100.00 โดยมีคาใชจายเฉล่ีย 7,128 บาทตอ ป ซึ่งสวนใหญเปนคาใชจายในการจัดหาน้ํา
จากการใชบริการสถานสี บู นํา้ ดว ยไฟฟา
2) พนื้ ที่ฝง ซา ยของโครงการเขือ่ นทดนาํ้ ผาจกุ
คาใชจายในการจัดหานํ้าของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีคาใชจาย
ในการจัดหาน้ํา รอ ยละ 67.69 และไมม ีคาใชจ ายในการจดั หานํา้ รอยละ 32.31 โดยมคี าใชจ ายเฉล่ีย 19,725 บาทตอป
ซงึ่ เปนคาใชจา ยจากคานํ้ามนั และคา ไฟฟา ในการสบู นา้ํ เพ่อื การเกษตร
3) พื้นทฝ่ี ง ขวาของโครงการเขื่อนทดนํา้ ผาจกุ
คาใชจายในการจัดหาน้ําของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีคาใชจาย
ในการจัดหานา้ํ รอ ยละ 61.02 และไมม ีคาใชจายในการจดั หานํา้ รอยละ 38.98 โดยมคี า ใชจ ายเฉลี่ย 13,896 บาทตอป
ซึ่งเปนคา ใชจายจากคา น้าํ มัน และคา ไฟฟา ในการสูบน้ําเพื่อการเกษตร (ตารางที่ 4.21)
ตารางท่ี 4.21 คา ใชจา ยในการจัดหานา้ํ ของครวั เรือนเกษตรกร
รายการ พืน้ ที่ฝง บนของโครงการ พนื้ ทฝ่ี ง ซายของโครงการ พ้นื ทีฝ่ ง ขวาของโครงการ
รอ ยละ บาทตอ ป รอ ยละ บาทตอ ป รอยละ บาทตอ ป
คาใชจายในการจัดหานา้ํ เพอ่ื การเกษตร 100.00 7,128 100.00 19,725 100.00 13,896
61.02 -
มี 100.00 - 67.69 - 38.98 -
ไมม ี - - 32.31 -
ท่มี า: จากการสาํ รวจ
58
4.1.15 การไดร บั การสนบั สนุนปจ จยั การผลิต และการไดรบั บริการจากหนวยงานภาครัฐ
1) พ้นื ทฝ่ี งบนของโครงการเขอื่ นทดน้ําผาจกุ
การไดรับการสนับสนุนปจจัยการผลิต และไดรับบริการจากหนวยงานภาครัฐของครัวเรือน
เกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรทุกครวั เรือนไมไดรับการสนับสนุนปจจัยการผลิต หรือคิดเปนรอยละ 100.00
และไมไ ดรบั บริการจากหนว ยงานภาครัฐในการตรวจวเิ คราะหดนิ นาํ้ และโรคพชื รอ ยละ 100.00
2) พ้ืนท่ีฝง ซายของโครงการเขอ่ื นทดนาํ้ ผาจกุ
การไดรับการสนับสนนุ ปจจัยการผลิตของครัวเรอื นเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสว นใหญ
ไมไดรับการสนับสนุนปจจัยการผลิต รอยละ 90.77 และไดรับการสนับสนุนปจจัยการผลิต รอยละ 9.23
โดยปจ จัยการผลิตท่ไี ดร ับการสนบั สนนุ เชน พันธผุ ัก ปุยพชื สด เปน ตน สวนการไดร บั บรกิ ารจากหนว ยงานภาครัฐ
พบวา ครวั เรือนเกษตรกรสวนใหญไมไดรับบริการจากหนวยงานภาครัฐในการตรวจวิเคราะหดิน นํ้า และโรคพืช
รอ ยละ 83.08 และไดร บั บริการจากหนว ยงานภาครัฐ รอ ยละ 16.92
3) พ้นื ทฝี่ งขวาของโครงการเข่อื นทดน้าํ ผาจุก
การไดรับการสนับสนุนปจจัยการผลิตของครัวเรอื นเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสว นใหญ
ไมไดรับการสนับสนุนปจจัยการผลิต รอยละ 83.05 และไดรับการสนับสนุนปจจัยการผลิต รอยละ 16.95
โดยปจจยั การผลิตทไ่ี ดร บั การสนบั สนนุ เชน พันธผุ ัก ปุยพชื สด เปนตน สวนการไดร ับบรกิ ารจากหนวยงานภาครัฐ
พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมไดรับบริการจากหนวยงานภาครัฐในการตรวจวิเคราะหดิน นํ้า และโรคพืช
รอ ยละ 81.36 และไดร บั บรกิ ารจากหนวยงานภาครัฐ รอ ยละ 18.64 (ตารางท่ี 4.22)
ตารางที่ 4.22 การไดร ับการสนบั สนุนปจ จัยการผลิต และการไดร ับบริการจากหนว ยงานภาครฐั
รายการ พนื้ ท่ฝี ง บน พ้ืนท่ฝี ง ซา ย พนื้ ที่ฝง ขวา
ของโครงการฯ ของโครงการฯ ของโครงการฯ
การไดรบั การสนับสนุนปจจัยการผลติ 100.00 100.00 100.00
90.77 83.05
ไมไ ดร บั 100.00 9.23 16.95
100.00 100.00
ไดรบั - 83.08 81.36
16.92 18.64
การไดรับบริการวิเคราะหดนิ /น้ํา/โรคพชื 100.00
ไมไดรับ 100.00
ไดร บั -
ทม่ี า: จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ: เกษตรกร 1 ราย สามารถตอบไดมากกวา 1 คําตอบ
4.1.16 ความเพยี งพอของแหลงเงนิ ทุนของครวั เรือนเกษตรกร
1) พน้ื ทฝ่ี ง บนของโครงการเขือ่ นทดนํา้ ผาจกุ
แหลงเงนิ ทุนของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครวั เรือนเกษตรกรสวนใหญม ีแหลงเงินทุนที่เพียงพอ
รอยละ 73.47 และไมมีแหลงเงินทุนที่เพียงพอ รอยละ 26.53 โดยสาเหตุดานตนทุนการผลิตสูงขึ้นเปนปจจัย
ท่ีสงผลใหแหลงเงนิ ทุนไมเพียงพอมากท่ีสุด รอยละ 100.00 รองลงมา คือ สาเหตุดา นรายไดลดลง รอยละ 76.92
ดา นมหี นส้ี ินมากข้ึน รอยละ 46.15 และดานคา ใชจา ยในครัวเรือนสูงขน้ึ 38.46 ตามลาํ ดับ
2) พน้ื ที่ฝง ซา ยของโครงการเขือ่ นทดน้าํ ผาจุก
แหลงเงนิ ทุนของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครวั เรือนเกษตรกรสวนใหญมีแหลงเงินทุนท่ีเพียงพอ
รอยละ 95.38 และไมมีแหลงเงินทุนที่เพียงพอ รอยละ 4.62 โดยสาเหตุดานตนทุนการผลิตสูงข้ึนเปนปจจัย
ท่ีสงผลใหแหลงเงินทุนไมเพียงพอมากท่ีสุด รอยละ 100.00 รองลงมา คือ ดานมีหนี้สินมากขึ้น รอยละ 66.67
ดานคา ใชจา ยในครวั เรอื นสงู ขึน้ 66.67 และดานรายไดล ดลง รอยละ 33.33 ตามลาํ ดบั
59
3) พืน้ ที่ฝง ขวาของโครงการเข่ือนทดนํา้ ผาจุก
แหลงเงินทุนของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรอื นเกษตรกรสวนใหญมีแหลงเงินทุนท่ีเพียงพอ
รอยละ 91.53 และไมมีแหลงเงินทุนที่เพียงพอ รอยละ 8.47 โดยสาเหตุดานตนทุนการผลิตสูงขึ้นเปนปจจัย
ที่สงผลใหแหลงเงินทุนไมเพียงพอมากท่ีสุด รอยละ 100.00 รองลงมา คือ ดานรายไดลดลง รอยละ 60.00
ดานมีหนี้สนิ มากขึ้น รอยละ 60.00 และดานคาใชจา ยในครวั เรือนสูงขนึ้ 40.00 ตามลําดบั (ตารางที่ 22)
เห็นไดวา ครวั เรือนเกษตรสวนใหญในพื้นท่ีทั้งฝงบน ฝงซาย และฝงขวาของโครงการเข่ือนทดน้ํา
ผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ มีแหลงเงินทุนที่เพียงพอ แตพบวายังมีครัวเรือนเกษตรกรบางสวนที่ประสบปญหาแหลง
เงินทุนไมเพียงพอตอการใชจายในครัวเรือน เนื่องจากปจจุบันครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญประสบปญหาตนทุน
การผลิตสูงข้ึนจากราคาปจจัยการผลิต เชน ปุยเคมี สารกําจัดศัตรูพืช ฯลฯ ขณะที่รายไดลดลง มีหน้ีสินและ
คาใชจา ยในครัวเรือนสูงข้นึ (ตารางท่ี 4.23)
ตารางท่ี 4.23 ความเพยี งพอของเงนิ ทนุ ของครวั เรอื นเกษตรกร
รายการ พนื้ ที่ฝง บน พ้ืนท่ฝี ง ซา ย พืน้ ที่ฝงขวา
ของโครงการฯ ของโครงการฯ ของโครงการฯ
ความเพียงพอของเงินทุน 100.00 100.00 100.00
95.38 91.53
เพียงพอ 73.47 4.62 8.47
100.00 100.00
ไมเ พยี งพอ 26.53 33.33 60.00
66.67 60.00
ตน ทุนการผลิตสูงขึน้ 100.00 66.67 40.00
รายไดลดลง 76.92
มีหนี้สนิ มากข้ึน 46.15
คาใชจายในครัวเรือนสงู ขนึ้ 38.46
ท่ีมา: จากการสาํ รวจ
หมายเหตุ: เกษตรกร 1 ราย สามารถตอบไดม ากกวา 1 คาํ ตอบ
4.1.17 ปญ หาของครัวเรอื นเกษตรกรในพืน้ ทีโ่ ครงการ
1) ปญหาเร่อื งดนิ
พื้นที่ฝง บนของโครงการเข่อื นทดน้ําผาจกุ : ดิน และสภาพดินที่ทาํ การเกษตร พบวา
ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมประสบปญหาดินและสภาพดินที่ทําการเกษตร รอยละ 91.84 และประสบปญหา
ดิน ฯ รอยละ 8.16 โดยสวนใหญเกิดจากปญหาดินปนทราย รอยละ 50.00 และปญหาดินเปนลูกรัง/หินกรวด
รอยละ 50.00 สวนคุณสมบัติของดิน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรทุกครัวเรือนไมประสบปญหาดินเปร้ียว/ดินเค็ม
รอยละ 100.00 สําหรบั ความเหมาะสมของสภาพพื้นท่ีการปลูกพืช พบวา ครวั เรือนเกษตรกรทุกครวั เรือนมีสภาพ
พ้ืนที่เหมาะสมตอการปลูกพืช รอยละ 100.00 สวนความเหมาะสมของสภาพพ้ืนท่ีการเลี้ยงสัตว พบวา ครวั เรือน
เกษตรกรสวนใหญมีสภาพพื้นท่ีเหมาะสมตอการเลี้ยงสัตว รอยละ 95.92 และมีสภาพพื้นท่ีไมเหมาะสม
ตอ การเลี้ยงสตั ว รอ ยละ 4.08
พื้นที่ฝงซายของโครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก : ดิน และสภาพดินท่ีทําการเกษตร พบวา
ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมประสบปญหาดินและสภาพดินท่ีทําการเกษตร รอยละ 84.62 และประสบปญหา
ดิน ฯ รอยละ 15.38 โดยสวนใหญเกิดจากปญหาสภาพพ้ืนทเี่ ปนท่ลี ุมน้ํา รอยละ 60.00 รองลงมา คือ ปญ หาดิน
ปนทราย รอ ยละ 20.00 และปญ หาดินเปนลูกรงั /หินกรวด รอยละ 20.00 สวนคุณสมบัติของดิน พบวา ครวั เรอื น
เกษตรกรสว นใหญไ มป ระสบปญ หาดินเปรย้ี ว/ดินเคม็ รอ ยละ 100.00 และประสบปญหา ฯ รอ ยละ 9.23 โดยสว น
ใหญเกิดจากปญหาดนิ เปร้ียว รอยละ 66.67 และปญหาดินเคม็ รอยละ 33.33 ซ่ึงแกไขปญหาดินเปรยี้ วโดยการใสปุย
หมัก ปุยคอก และปุยพชื สด เพื่อเพมิ่ แรธ าตุภายในดนิ สวนปญหาดนิ เค็มนั้น มกี ารแกไขโดยใชส ารตา งๆ เชน ปูนขาว
60
ฯลฯ โรยลงบนพื้นท่ีเพาะปลูก สําหรับความเหมาะสมของสภาพพ้ืนท่ีการปลูกพืช พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวน
ใหญมีสภาพพ้ืนที่เหมาะสมตอการปลูกพืช รอยละ 96.92 และมีสภาพไมเหมาะสมตอการปลูกพืช รอยละ 3.08
สว นความเหมาะสมของสภาพพ้นื ท่กี ารเลีย้ งสัตว พบวา ครวั เรอื นเกษตรกรสวนใหญมสี ภาพพื้นท่ีเหมาะสมตอ การ
เลยี้ งสัตวร อ ยละ 69.32 และมสี ภาพพน้ื ท่ไี มเ หมาะสมตอการเลยี้ งสตั ว รอ ยละ 30.77
พ้นื ที่ฝงขวาของโครงการเขอ่ื นทดนํ้าผาจุก : ดิน และสภาพดนิ ท่ีทําการเกษตร พบวา ครัวเรอื น
เกษตรกรสวนใหญไมประสบปญหาดินและสภาพดินท่ีทําการเกษตร รอยละ 88.14 และประสบปญหาดิน ฯ รอย
ละ 11.86 โดยสวนใหญเกิดจากปญหาสภาพพื้นที่เปนทลี่ ุมน้ํา รอยละ 57.14 รองลงมา คือ ปญหาดินเปนลูกรัง/
หินกรวด รอยละ 28.57 และปญหาดินปนทราย รอยละ 14.29 สวนคุณสมบตั ิของดิน พบวา ครัวเรอื นเกษตรกร
สวนใหญไมประสบปญหาดินเปรี้ยว/ดนิ เค็ม รอยละ 93.22 และประสบปญหา ฯ รอยละ 6.78 โดยสว นใหญเกิด
จากปญหาดินเปรีย้ ว รอยละ 50.00 และปญหาดินเค็ม รอยละ 50.00 ซึง่ แกไขปญหาดินเปรยี้ วโดยการใสปุยหมัก
ปุยคอก และปุยพืชสด เพ่ือเพิ่มแรธาตุภายในดิน สวนปญหาดินเคม็ นั้น มีการแกไขโดยใชสารตางๆ เชน ปูนขาว
ฯลฯ โรยลงบนพ้ืนที่เพาะปลูก สําหรับความเหมาะสมของสภาพพ้ืนท่ีการปลูกพืช พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวน
ใหญมีสภาพพ้ืนท่ีเหมาะสมตอการปลูกพืช รอยละ 98.31 และมีสภาพไมเหมาะสมตอการปลูกพืช รอยละ 1.69
สวนความเหมาะสมของสภาพพ้นื ทกี่ ารเลยี้ งสัตว พบวา ครัวเรอื นเกษตรกรสว นใหญมีสภาพพ้ืนท่เี หมาะสมตอ การ
เล้ยี งสตั วร อ ยละ 74.58 และมีสภาพพ้ืนทไ่ี มเ หมาะสมตอการเล้ยี งสตั ว รอ ยละ 25.42
2) ปญ หาเรอื่ งนํ้า
พน้ื ทฝ่ี ง บนของโครงการเขอื่ นทดนํ้าผาจุก
น้าํ และคณุ ภาพของนํา้ พบวา ครัวเรอื นเกษตรกรทกุ ครวั เรือนไมประสบปญ หานํ้าและ
คณุ ภาพของน้ํา รอยละ 100.00 สวนกรณีบอนํา้ ในไรนา พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไ มไ ดใชประโยชนจาก
บอนํ้าในไรน า รอยละ 93.88 เนื่องจากไมมีบอนํ้าในพื้นท่ีของตนเอง และใชประโยชนจากบอนํ้าในไรนา รอยละ
6.12 ซึ่งครัวเรอื นเกษตรกรท่ีมีบอนํ้าในไรนา จะใชเพื่อการปลูกพืชฤดแู ลงเปนหลัก สว นการระบายนํา้ กรณีท่ีมีฝน
ตก พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมประสบปญหาการระบายนํ้ากรณีที่มีฝนตก รอยละ 97.96 และประสบ
ปญ หา ฯ รอยละ 2.04 สําหรับแหลงนา้ํ ในหมูบา น พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมแี หลง นํ้าในหมบู าน รอยละ
91.84 และไมมีแหลงน้ําในหมูบาน รอยละ 8.16 โดยสวนใหญจะใชแ หลงน้ําในหมูบานเพ่ือประโยชนการเกษตร
และในครัวเรือนของตนเอง สวนความเพียงพอของนํ้าทําการเกษตรกรณีที่เขื่อนยังสรา งไมเสรจ็ พบวา ครัวเรือน
เกษตรกรทุกครัวเรือนมีความพอเพียงของน้ําทําการเกษตรกรณีเข่ือนยังสรางไมเสร็จ รอ ยละ 100.00 เนื่องจาก
อาศยั นา้ํ ฝนในการเพาะปลกู และมีแหลงนาํ้ จากสถานีสูบนาํ้ ดว ยไฟฟา
พ้นื ท่ฝี ง ซา ยของโครงการเขอื่ นทดนาํ้ ผาจกุ : นาํ้ และคุณภาพของนา้ํ พบวา ครัวเรอื น
เกษตรกรสวนใหญไมประสบปญหานา้ํ และคณุ ภาพของน้ํา รอ ยละ 98.46 และประสบปญหา ฯ รอยละ 1.54 สว น
กรณบี อน้ําในไรน า พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสว นใหญไ มไดใชป ระโยชนจากบอน้าํ ในไรนา รอยละ 75.38
เนอ่ื งจากไมมีบอน้ําในพ้นื ท่ขี องตนเอง และใชประโยชนจ ากบอ น้ําในไรน า รอยละ 24.62 ซ่ึงครัวเรือนเกษตรกรทม่ี ี
บอนาํ้ ในไรน า จะใชเพอื่ การปลูกพืชฤดูแลง รอ ยละ 100.00 และเล้ียงปลา รอยละ 37.50 สว นการระบายนํ้ากรณี
ทม่ี ฝี นตก พบวา ครวั เรือนเกษตรกรสวนใหญไมประสบปญหาการระบายนาํ้ กรณีทมี่ ีฝนตก รอยละ 78.46 และ
ประสบปญหา ฯ รอ ยละ 21.54 สาํ หรับแหลง น้ําในหมบู า น พบวา ครวั เรือนเกษตรกรสว นใหญม ีแหลง นํา้ ใน
หมูบาน รอ ยละ 64.62 และไมมีแหลง นาํ้ ในหมูบา น รอ ยละ 35.38 โดยสวนใหญจ ะใชแหลงนา้ํ ในหมบู า นเพ่อื
ประโยชนการเกษตร และในครัวเรอื นของตนเอง สวนความเพยี งพอของน้าํ ทาํ การเกษตรกรณที เ่ี ขอ่ื นยังสรา งไม
เสร็จ พบวา ครวั เรือนเกษตรกรสว นใหญมคี วามเพียงพอของนาํ้ ทาํ การเกษตรกรณีเขื่อนยังสรางไมเสร็จ รอ ยละ
69.23 เน่ืองจากอาศัยน้ําฝนในการเพาะปลูก ขุดบอ บาดาล และสบู น้ําจากแหลง ใกลเ คยี ง ซงึ่ มตี น ทนุ คาใชจ าย
และไมม ีความเพยี งพอของนาํ้ ทาํ การเกษตร ฯ รอ ยละ 30.77
61
พื้นท่ีฝงขวาของโครงการเขือ่ นทดน้ําผาจกุ : นาํ้ และคณุ ภาพของน้ํา พบวา ครัวเรือน
เกษตรกรสวนใหญไมประสบปญหานํา้ และคณุ ภาพของน้าํ รอ ยละ 9831 และประสบปญหา ฯ รอยละ 1.69 สว น
กรณบี อน้ําในไรน า พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสว นใหญไมไดใ ชประโยชนจ ากบอ น้าํ ในไรนา รอ ยละ 50.85
เน่ืองจากไมมบี อ นาํ้ ในพ้นื ทข่ี องตนเอง และใชป ระโยชนจ ากบอ นาํ้ ในไรนา รอยละ 49.15 ซ่งึ ครวั เรือนเกษตรกรท่มี ี
บอ นาํ้ ในไรน า จะใชเพ่อื การปลกู พืชฤดูแลง รอ ยละ 100.00 และเลย้ี งปลา รอยละ 41.40 สวนการระบายน้ํากรณี
ที่มฝี นตก พบวา ครวั เรือนเกษตรกรสวนใหญไมประสบปญหาการระบายนํา้ กรณีทมี่ ีฝนตก รอ ยละ 89.83 และ
ประสบปญหา ฯ รอยละ 10.17
สําหรับแหลงน้ําในหมูบาน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีแหลงนํ้าในหมูบาน รอยละ
71.19 และไมมีแหลง น้ําในหมูบาน รอยละ 28.81 โดยสวนใหญจะใชแหลงนาํ้ ในหมูบานเพื่อประโยชนการเกษตร
และในครัวเรือนของตนเอง สวนความเพียงพอของนํ้าทําการเกษตรกรณีท่ีเขื่อนยังสรางไมเสร็จ พบวา ครัวเรือน
เกษตรกรสวนใหญมีความเพียงพอของน้ําทําการเกษตรกรณีเข่ือนยังสรางไมเสร็จ รอยละ 61.02 เนื่องจากอาศัย
น้ําฝนในการเพาะปลูก ขุดบอบาดาล และสูบนํ้าจากแหลงใกลเคียง ซึ่งมีตนทุนคาใชจาย และไมมีความเพียงพอ
ของน้าํ ทาํ การเกษตร ฯ รอยละ 38.98 (ตารางที่ 4.24)
62
ตารางท่ี 4.24 ปญ หาเรื่องดนิ และน้ําของครัวเรอื นเกษตรกร
รายการ พ้นื ที่ฝง บน พื้นท่ีฝง ซา ย หนว ย: รอยละ
ของโครงการ ของโครงการ พ้ืนทีฝ่ ง ขวา
1.ปญ หาเร่อื งดนิ ของโครงการ
1.1 ดนิ และสภาพดนิ ทท่ี าํ การเกษตร 100.00 100.00
ไมมปี ญ หา 91.84 84.62 100.00
มีปญหา 8.16 15.38 88.14
ดนิ ปนทราย 50.00 20.00 11.86
สภาพพ้นื ท่เี ปนท่ีลุม นา้ํ 60.00 14.29
ดินเปนลูกรงั /หนิ กรวด - 20.00 57.14
50.00 100.00 28.57
1.2 คณุ สมบตั ิของดนิ 100.00 90.77 100.00
ไมมีปญหา 97.96 9.23 93.22
มีปญ หา 2.04 66.67 6.78
ดินเปรี้ยว 100.00 33.33 50.00
ดินเค็ม 100.00 50.00
- 3.08 100.00
1.3 ความเหมาะสมของสภาพพื้นที่การปลกู พชื 100.00 96.92 1.69
ไมมคี วามเหมาะสม 100.00 98.31
มีความเหมาะสม - 30.77 100.00
100.00 69.23 25.42
1.4 ความเหมาะสมของสภาพพน้ื ที่การเล้ียงสัตว 100.00 74.58
ไมม คี วามเหมาะสม 4.08 100.00
มคี วามเหมาะสม 95.92 98.46 100.00
1.54 98.31
2. ปญหาเรอ่ื งนํ้า 100.00 100.00 1.69
2.1 นํ้า และคุณภาพของนํ้า 100.00 75.38 100.00
ไมม ปี ญหา 24.62 50.85
มีปญหา - 37.50 49.15
100.00 100.00 41.40
2.2 กรณบี อน้ําในไรน า 93.88 100.00 100.00
ไมใ ชประโยชน 6.12 78.46 100.00
ใชป ระโยชน 21.54 89.83
เลี้ยงปลา - 100.00 10.17
ปลูกพชื ฤดูแลง 100.00 35.38 100.00
100.00 64.62 28.81
2.3 การระบายน้าํ กรณีทีม่ ฝี นตก 97.96 100.00* 71.19
ไมมีปญหา 2.04 100.00* 100.00*
มีปญหา 100.00 100.00 100.00*
8.16 30.77 100.00
2.4 แหลง นํา้ ในหมูบาน 91.84 69.23 38.98
ไมม ีแหลง นํา้ 100.00* 61.02
มีแหลงน้ํา 100.00*
ใชในการเกษตร 100.00
ใชใ นครวั เรอื น
-
2.5 ความเพยี งพอของน้ําทาํ การเกษตรกรณเี ข่อื นยังสรางไมเสร็จ 100.00
ไมเ พียงพอ
เพียงพอ
ท่มี า: จากการสํารวจ
หมายเหต:ุ * เกษตรกร 1 ราย สามารถตอบไดม ากกวา 1 คําตอบ
63
4.2 ทัศนคติ ความพงึ พอใจ และผลกระทบเชิงบวกทม่ี ตี อโครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก จังหวัดอตุ รดิตถ
4.2.1 ทัศนคติ และความพงึ พอใจ
1) พ้ืนที่ฝง บนของโครงการเข่อื นทดนํ้าผาจกุ
1.1) การดําเนินโครงการตรงกับความตองการ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีความพึงพอใจ
ตอ การดําเนนิ โครงการทีต่ รงกับความตอ งการอยูระดับมาก รอยละ 44.90 รองลงมา คอื ความพึงพอใจระดับมาก
ท่ีสุด รอยละ 26.53 ระดับปานกลาง รอยละ 24.49 และระดับนอยที่สุด รอยละ 4.08 ตามลําดับ โดยมีคะแนน
เฉล่ีย เทากบั 3.90 คะแนน ซง่ึ จดั อยูในระดับมาก
1.2) ประสิทธภิ าพการผลติ และผลผลิตเพิ่มขึ้น พบวา ครวั เรอื นเกษตรกรสวนใหญมีความพึงพอใจ
ตอประสิทธิภาพการผลิตและผลผลิตเพิ่มขึ้นอยูระดับมาก รอยละ 40.82 รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับปาน
กลาง รอยละ 28.57 ระดับมากที่สุด รอยละ 26.53 และระดับนอยท่ีสุด รอยละ 4.08 ตามลําดับ โดยมีคะแนน
เฉลีย่ เทากับ 3.86 คะแนน ซง่ึ จัดอยใู นระดบั มาก
1.3) จํานวนครั้งในการใชพ้ืนที่ทําการเกษตรเพ่ิมขึ้น พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอจํานวนคร้ังในการใชพื้นท่ีทําการเกษตรเพ่ิมขึ้นอยูระดับมาก รอยละ 42.86 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับปานกลาง รอยละ 28.57 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 24.49 และระดับนอยที่สุด รอยละ 4.08
ตามลาํ ดับ โดยมคี ะแนนเฉลยี่ เทากบั 3.84 คะแนน ซง่ึ จัดอยใู นระดบั มาก
1.4) ผลผลิตท่ีไดมีคุณภาพดีข้ึนและเกษตรกรมีรายไดเพิ่มข้ึน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ
มีความพึงพอใจตอผลผลิตท่ีไดมีคุณภาพดีขึ้นและเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้นอยรู ะดับมาก รอยละ 44.90 รองลงมา
คอื ความพงึ พอใจระดับปานกลาง รอยละ 28.57 ระดบั มากท่ีสุด รอ ยละ 22.45 และระดับนอ ยท่สี ดุ รอยละ 4.08
ตามลาํ ดบั โดยมีคะแนนเฉลี่ย เทากับ 3.82 คะแนน ซ่งึ จัดอยใู นระดับมาก
1.5) ความสามารถในการปลูกพืชฤดูแลงไดผลดีขึ้น พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอความสามารถในการปลูกพืชฤดูแลงไดผลดีขึ้นอยูระดับมาก รอยละ 42.86 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับปานกลาง รอยละ 28.57 ระดับมากที่สุด รอยละ 24.49 และระดับนอยท่ีสุด รอยละ 4.08
ตามลาํ ดบั โดยมคี ะแนนเฉลี่ย เทากับ 3.84 คะแนน ซึ่งจัดอยูในระดับมาก
1.6) ความสามารถในการแกไขปญหาขาดแคลนนํ้าในชวงฝนท้ิงชวง พบวา ครัวเรือนเกษตรกร
สวนใหญมีความพึงพอใจตอความสามารถในการแกไขปญหาขาดแคลนนํ้าในชวงฝนท้ิงชวงอยูระดับมาก
รอ ยละ 44.90 รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับปานกลาง รอยละ 26.53 ระดบั มากที่สุด รอยละ 24.49 และ
ระดับนอยทส่ี ดุ รอ ยละ 4.08 ตามลาํ ดับ โดยมีคะแนนเฉลีย่ เทากับ 3.86 คะแนน ซงึ่ จดั อยูในระดับมาก
1.7) การบรรเทาปญหาน้าํ ทวมขงั ในพน้ื ทเี่ กษตรและทีอ่ ยูอาศัย พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ
มีความพึงพอใจตอการบรรเทาปญหานํ้าทวมขังในพื้นที่เกษตรและที่อยูอาศัยอยูระดับมาก รอยละ 42.86
รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับปานกลาง รอยละ 26.53 ระดับมากที่สุด รอยละ 24.49 ระดับนอยท่ีสุด
รอ ยละ 4.08 และระดับนอย รอยละ 2.04 ตามลาํ ดับ โดยมีคะแนนเฉลย่ี เทากับ 3.82 คะแนน ซึ่งจดั อยใู นระดับมาก
1.8) ความเพียงพอของน้ําทําใหคุณภาพดินดีข้ึนและลดการใชสารเคมี พบวา ครัวเรือนเกษตรกร
สวนใหญมีความพึงพอใจตอความเพียงพอของนํ้าทําใหคุณภาพดินดีข้ึนและลดการใชสารเคมีอยูระดับมาก
รอยละ 44.90 รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับปานกลาง รอยละ 28.57 ระดับมากที่สุด รอยละ 22.45 และ
ระดับนอ ยทส่ี ุด รอยละ 4.08 ตามลาํ ดับ โดยมคี ะแนนเฉลย่ี เทากับ 3.82 คะแนน ซึง่ จัดอยใู นระดบั มาก
1.9) การบริหารจัดการน้ําดีขึ้นในชวงท่ีเข่ือนยงั สรางไมเสร็จ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพงึ พอใจตอการบรหิ ารจัดการนํ้าดีขึ้นในชว งที่เขื่อนยงั สรางไมเสรจ็ อยูร ะดับมาก รอ ยละ 44.90 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับปานกลาง รอยละ 26.53 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 22.45 ระดับนอยท่ีสุด รอ ยละ 4.08 และ
ระดับนอย รอ ยละ 2.04 ตามลาํ ดบั โดยมคี ะแนนเฉล่ีย เทากบั 3.80 คะแนน ซึ่งจัดอยใู นระดบั มาก
64
1.10) การประชาสัมพันธและสรางการรับรูของหนวยงานตาง ๆ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวน
ใหญมีความพึงพอใจตอการประชาสัมพันธและสรางการรับรูของหนวยงานตาง ๆ อยูระดับมาก รอยละ 44.90
รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับปานกลาง รอยละ 26.53 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 22.45 ระดับนอยท่ีสุด
รอ ยละ 4.08 และระดบั นอย รอ ยละ 2.04 ตามลาํ ดับ โดยมีคะแนนเฉลี่ย เทา กับ 3.96 คะแนน ซึง่ จัดอยใู นระดับมาก
1.11) การบูรณาการระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอการบูรณาการระหวางหนวยงานท่ีรับผิดชอบอยูระดับมาก รอยละ 38.78 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับมากท่ีสุด รอยละ 32.65 ระดับปานกลาง รอยละ 24.49 และระดับนอยท่ีสุด รอยละ 4.08
ตามลําดับ โดยมคี ะแนนเฉลีย่ เทา กับ 4.04 คะแนน ซึ่งจัดอยูในระดับมาก
1.12) ภาพรวมของความพึงพอใจท่ีมีตอโครงการ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอภาพรวมของความพึงพอใจที่มีตอโครงการอยูระดับมาก รอยละ 36.73 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับมากท่ีสุด รอยละ 34.70 ระดับปานกลาง รอยละ 20.49 และระดับนอยที่สุด รอยละ 4.08
ตามลําดบั โดยมคี ะแนนเฉล่ีย เทากับ 3.98 คะแนน ซงึ่ จัดอยใู นระดับมาก
2) พื้นทีฝ่ ง ซายของโครงการเขอ่ื นทดนาํ้ ผาจุก
(1) การดําเนินโครงการตรงกับความตองการ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีความพึงพอใจ
ตอการดําเนินโครงการท่ีตรงกับความตองการอยูระดับปานกลาง รอยละ 38.46 รองลงมา คือ ความพึงพอใจ
ระดับมาก รอยละ 30.77 ระดับมากที่สุด รอยละ 27.69 และระดับนอย รอยละ 3.08 ตามลําดับ โดยมีคะแนน
เฉล่ีย เทากบั 3.83 คะแนน ซงึ่ จดั อยใู นระดบั มาก
(2) ประสิทธิภาพการผลติ และผลผลติ เพิ่มข้ึน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีความพึงพอใจ
ตอประสิทธิภาพการผลิตและผลผลิตเพ่ิมขึ้นอยูระดับมาก รอยละ 44.62 รองลงมา คือ ความพึงพอใจ
ระดับปานกลาง รอยละ 27.68 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 24.62 และระดับนอย รอยละ 3.08 ตามลําดับ โดยมี
คะแนนเฉลี่ย เทา กับ 3.91 คะแนน ซงึ่ จัดอยใู นระดับมาก
(3) จํานวนครั้งในการใชพื้นที่ทําการเกษตรเพิ่มขึ้น พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอจํานวนคร้ังในการใชพื้นท่ีทําการเกษตรเพ่ิมข้ึนอยูระดับมาก รอยละ 43.08 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับปานกลาง รอยละ 29.23 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 23.08 และระดับนอย รอยละ 4.61
ตามลําดบั โดยมคี ะแนนเฉลี่ย เทากบั 3.85 คะแนน ซ่ึงจดั อยูในระดับมาก
(4) ผลผลิตท่ีไดมีคุณภาพดีข้ึนและเกษตรกรมีรายไดเพิ่มข้ึน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ
มีความพึงพอใจตอผลผลิตท่ีไดมีคณุ ภาพดขี ้ึนและเกษตรกรมีรายไดเ พ่ิมข้ึนอยูระดับมาก รอยละ 38.46 รองลงมา
คือ ความพึงพอใจระดับปานกลาง รอยละ 30.77 ระดับมากที่สุด รอยละ 27.69 และระดับนอย รอยละ 3.08
ตามลาํ ดบั โดยมีคะแนนเฉลีย่ เทา กับ 3.91 คะแนน ซึ่งจัดอยใู นระดับมาก
(5) ความสามารถในการปลูกพืชฤดูแลงไดผลดีขึ้น พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอความสามารถในการปลูกพืชฤดูแลงไดผลดีขึ้นอยูระดับมาก รอยละ 49.23 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับมาก รอยละ 26.15 ระดบั ปานกลาง รอยละ 21.54 และระดับนอย รอยละ 3.08 ตามลําดับ
โดยมคี ะแนนเฉลย่ี เทากับ 3.98 คะแนน ซึ่งจดั อยใู นระดบั มาก
(6) ความสามารถในการแกไขปญหาขาดแคลนนํ้าในชวงฝนท้ิงชวง พบวา ครัวเรือนเกษตรกร
สวนใหญมีความพึงพอใจตอ ความสามารถในการแกไขปญหาขาดแคลนนํ้าในชวงฝนท้งิ ชวงอยูระดับมาก รอยละ
49.23 รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับมากท่ีสุด รอยละ 26.15 ระดับปานกลาง รอยละ 21.54 และระดบั นอย
รอยละ 3.08 ตามลาํ ดับ โดยมีคะแนนเฉลีย่ เทา กบั 3.98 คะแนน ซงึ่ จดั อยใู นระดบั มาก
(7) การบรรเทาปญหานํ้าทวมขังในพื้นที่เกษตรและท่ีอยูอาศัย พบวา ครัวเรอื นเกษตรกรสวนใหญ
มีความพึงพอใจตอการบรรเทาปญหาน้ําทวมขังในพื้นท่ีเกษตรและที่อยูอาศัยอยูระดับปานกลาง รอยละ 40.00
65
รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับมาก รอยละ 35.38 ระดับมากที่สุด รอยละ 15.38 ระดับนอย รอยละ 7.69
และระดบั นอยที่สุด รอ ยละ 1.55 ตามลําดับ โดยมคี ะแนนเฉลย่ี เทากับ 3.55 คะแนน ซงึ่ จัดอยใู นระดับมาก
(8) ความเพียงพอของน้ําทําใหคุณภาพดินดีข้ึนและลดการใชสารเคมี พบวา ครัวเรือนเกษตรกร
สวนใหญมีความพึงพอใจตอความเพียงพอของน้ําทําใหคุณภาพดินดีขึ้นและลดการใชสารเคมีอยูระดับปานกลาง
รอยละ 46.16 รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับมาก รอยละ 27.49 ระดับมากที่สุด รอยละ 18.46 และ
ระดับนอ ย รอยละ 7.69 ตามลําดับ โดยมีคะแนนเฉลยี่ เทา กบั 3.57 คะแนน ซง่ึ จัดอยใู นระดบั มาก
(9) การบริหารจัดการนํ้าดีข้ึนในชวงท่ีเข่ือนยังสรางไมเสร็จ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอการบริหารจัดการน้ําดีข้ึนในชวงที่เขื่อนยังสรางไมเสร็จอยูระดับปานกลาง รอยละ 43.08
รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับมาก รอยละ 23.08 ระดับนอย รอยละ 23.08 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 7.68
และระดับนอ ยทีส่ ุด รอยละ 3.08 ตามลําดับ โดยมีคะแนนเฉลย่ี เทากับ 3.09 คะแนน ซ่ึงจัดอยใู นระดับปานกลาง
(10) การประชาสมั พันธแ ละสรางการรับรูของหนวยงานตา ง ๆ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ
มีความพึงพอใจตอการประชาสัมพันธและสรางการรับรูของหนวยงานตาง ๆ อยูระดับปานกลาง รอยละ 33.85
รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับนอย รอยละ 26.15 ระดับมาก รอยละ 24.62 ระดับมากท่ีสุด รอยละ 13.84
และระดับนอ ยทีส่ ดุ รอยละ 1.54 ตามลําดบั โดยมีคะแนนเฉลย่ี เทากบั 3.23 คะแนน ซึง่ จดั อยูในระดับปานกลาง
(11) การบูรณาการระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอการบูรณาการระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบอยูระดับปานกลาง รอยละ 40.00 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับมาก รอยละ 27.69 ระดับนอย รอยละ 16.93 และระดับมากท่ีสดุ รอยละ 15.38 ตามลําดับ
โดยมีคะแนนเฉลีย่ เทากบั 3.42 คะแนน ซ่ึงจัดอยูใ นระดับมาก
(12) ภาพรวมของความพึงพอใจท่ีมีตอโครงการ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอภาพรวมของความพึงพอใจท่ีมีตอโครงการอยูระดับปานกลาง รอยละ 33.85 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับมากท่ีสุด รอยละ 32.31 ระดับมาก รอยละ 27.69 และระดับนอย รอ ยละ 6.19 ตามลําดับ
โดยมีคะแนนเฉล่ยี เทากบั 3.86 คะแนน ซ่งึ จดั อยูใ นระดบั มาก
3) พืน้ ที่ฝงขวาของโครงการเขอื่ นทดนาํ้ ผาจกุ
(1) การดําเนินโครงการตรงกับความตองการ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมคี วามพึงพอใจ
ตอการดําเนินโครงการที่ตรงกับความตองการอยูระดับมากที่สุด รอยละ 44.07 รองลงมา คือ ความพึงพอใจ
ระดบั มาก รอยละ 32.20 และระดบั ปานกลาง รอ ยละ 23.73 ตามลาํ ดบั โดยมีคะแนนเฉลย่ี เทากบั 4.20 คะแนน
(2) ประสิทธิภาพการผลิตและผลผลติ เพ่ิมข้ึน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีความพึงพอใจ
ตอประสิทธิภาพการผลิตและผลผลิตเพ่ิมขึ้นอยูระดับมาก รอยละ 47.46 รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับมากที่สุด
รอยละ 33.90 ระดับปานกลาง รอยละ 16.95 และระดับนอย รอยละ 1.69 ตามลําดับ โดยมีคะแนนเฉลี่ย
เทา กบั 4.14 คะแนน ซ่ึงจัดอยใู นระดับมาก
(3) จํานวนครั้งในการใชพื้นท่ีทําการเกษตรเพิ่มข้ึน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอจํานวนคร้ังในการใชพื้นที่ทําการเกษตรเพิ่มขึ้นอยูระดับมากท่ีสุด รอยละ 50.85 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับมาก รอยละ 27.12 ระดับปานกลาง รอยละ 16.95 และระดับนอย รอยละ 3.39 และ
ระดบั นอยที่สุด รอยละ 1.69 ตามลาํ ดบั โดยมคี ะแนนเฉลยี่ เทากบั 4.22 คะแนน ซึ่งจัดอยูใ นระดับมากทสี่ ดุ
(4) ผลผลิตที่ไดมีคุณภาพดีข้ึนและเกษตรกรมีรายไดเพิ่มข้ึน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอผลผลิตท่ีไดมีคุณภาพดีข้ึนและเกษตรกรมีรายไดเ พิ่มข้ึนอยูระดับมาก รอยละ 44.07 รองลงมา
คือ ความพึงพอใจระดับมากท่ีสุด รอยละ 28.81 ระดับปานกลาง รอยละ 23.73 และระดับนอย รอยละ 1.69
ตามลาํ ดบั โดยมีคะแนนเฉลยี่ เทา กบั 3.95 คะแนน ซึ่งจัดอยูใ นระดับมาก
(5) ความสามารถในการปลูกพืชฤดูแลงไดผลดีข้ึน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอความสามารถในการปลูกพืชฤดูแลงไดผลดีขึ้นอยูระดับมากท่ีสุด รอยละ 50.85 รองลงมา คือ
66
ความพึงพอใจระดับมาก รอ ยละ 42.38 ระดับปานกลาง รอยละ 5.08 และระดับนอย รอยละ 1.69 ตามลําดับ
โดยมีคะแนนเฉลย่ี เทากับ 4.42 คะแนน ซึ่งจัดอยูในระดับมากที่สุด
(6) ความสามารถในการแกไขปญหาขาดแคลนนํ้าในชวงฝนทิ้งชวง พบวา ครัวเรือนเกษตรกร
สวนใหญมีความพึงพอใจตอความสามารถในการแกไขปญหาขาดแคลนนํ้าในชวงฝนท้ิงชวงอยูระดับมากท่ีสุด
รอยละ 59.33 รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับมาก รอยละ 33.90 ระดับปานกลาง รอยละ 3.39 และ
ระดับนอย รอยละ 1.69 และระดับนอยท่ีสุด รอ ยละ 1.69 ตามลําดับ โดยมีคะแนนเฉลี่ย เทากับ 4.47 คะแนน
ซง่ึ จัดอยูใ นระดบั มากทส่ี ดุ
(7) การบรรเทาปญหาน้ําทวมขังในพ้ืนที่เกษตรและที่อยอู าศัย พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ
มีความพึงพอใจตอการบรรเทาปญหาน้ําทวมขังในพื้นท่ีเกษตรและท่ีอยูอาศัยอยูระดับปานกลาง รอยละ 37.29
รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับมาก รอ ยละ 35.59 ระดับมากที่สุด รอยละ 15.26 ระดับนอย รอยละ 10.17
และระดับนอ ยที่สุด รอ ยละ 1.69 ตามลาํ ดบั โดยมคี ะแนนเฉลย่ี เทากบั 3.53 คะแนน ซึง่ จัดอยใู นระดบั มาก
(8) ความเพียงพอของนํ้าทําใหคุณภาพดินดีข้ึนและลดการใชสารเคมี พบวา ครัวเรือนเกษตรกร
สวนใหญมีความพึงพอใจตอความเพียงพอของนํ้าทําใหคุณภาพดินดีขึ้นและลดการใชสารเคมีอยูระดับมาก
รอยละ 38.98 รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับปานกลาง รอยละ 30.51 ระดับมากที่สุด รอยละ 18.65
ระดับนอย รอยละ 8.47 ตามลําดับ และระดับนอยท่ีสุด รอยละ 3.39 โดยมีคะแนนเฉลี่ย เทากับ 3.61 คะแนน
ซ่งึ จัดอยใู นระดบั มาก
(9) การบริหารจัดการน้ําดีข้ึนในชวงที่เข่ือนยังสรางไมเสร็จ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอการบริหารจัดการน้ําดีขึ้นในชวงท่ีเข่ือนยังสรางไมเสร็จอยูระดับปานกลาง รอยละ 42.38
รองลงมา คอื ความพึงพอใจระดับมาก รอยละ 22.03 ระดับนอยที่สุด รอยละ 18.65 ระดับนอย รอยละ 15.25
และระดบั มากท่ีสุด รอ ยละ 1.69 ตามลําดบั โดยมีคะแนนเฉลย่ี เทากบั 2.73 คะแนน ซ่ึงจัดอยใู นระดบั ปานกลาง
(10) การประชาสมั พันธและสรางการรับรูของหนวยงานตา ง ๆ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญ
มีความพึงพอใจตอการประชาสัมพันธและสรางการรบั รูของหนวยงานตาง ๆ อยูระดับปานกลาง รอยละ 38.98
รองลงมา คือ ความพึงพอใจระดับมาก รอยละ 25.43 ระดับมากที่สุด รอยละ 18.64 และระดับนอย
รอ ยละ 16.95 ตามลําดบั โดยมีคะแนนเฉลี่ย เทากบั 3.46 คะแนน ซ่ึงจัดอยใู นระดบั มาก
(11) การบูรณาการระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอการบูรณาการระหวางหนวยงานที่รับผิดชอบอยูระดับปานกลาง รอยละ 50.85 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับมาก รอยละ 35.59 ระดับนอย รอยละ 8.48 และระดับมากที่สุด รอยละ 5.08 ตามลําดับ
โดยมีคะแนนเฉลยี่ เทากับ 3.37 คะแนน ซง่ึ จดั อยูใ นระดับปานกลาง
(12) ภาพรวมของความพึงพอใจที่มีตอโครงการ พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมี
ความพึงพอใจตอภาพรวมของความพึงพอใจที่มีตอโครงการอยูระดับมากท่ีสุด รอยละ 50.85 รองลงมา คือ
ความพึงพอใจระดับมาก รอยละ 27.12 และระดับปานกลาง รอยละ 22.03 ตามลําดับ โดยมีคะแนนเฉลี่ย
เทา กับ 4.29 คะแนน ซึ่งจดั อยใู นระดบั มากท่สี ุด (ตารางที่ 4.25)
67
ตารางท่ี 4.25 ทศั นคติ ความพึงพอใจท่มี ีตอ โครงการเขื่อนทดน้าํ ผาจุก จงั หวัดอุตรดิตถ
รายการ พื้นท่ฝี ง บน พ้ืนทฝี่ ง ซา ย หนว ย: รอ ยละ
ของโครงการ ของโครงการ
1. การดาํ เนินโครงการตรงกบั ความตองการ พนื้ ท่ีฝง ขวา
ระดบั มากทส่ี ดุ 100.00 100.00 ของโครงการ
ระดบั มาก 26.53 27.69
ระดบั ปานกลาง 44.90 30.77 100.00
ระดับนอย 24.49 38.46 44.07
ระดับนอ ยที่สดุ 3.08 32.20
คะแนนเฉลี่ย (เตม็ 5 คะแนน) - 23.73
4.08 -
2. ประสิทธิภาพการผลติ และผลผลติ เพม่ิ ข้ึน -
ระดับมากท่สี ุด 3.90 3.83 -
ระดบั มาก
ระดบั ปานกลาง 100.00 100.00 4.20
ระดับนอ ย 26.53 24.62
ระดบั นอยทส่ี ุด 40.82 44.62 100.00
คะแนนเฉลย่ี (เตม็ 5 คะแนน) 28.57 27.68 33.90
3.08 47.46
3. จาํ นวนครงั้ ในการใชพ นื้ ท่ีทําการเกษตรเพ่มิ ขึ้น - 16.95
ระดบั มากท่ีสุด 4.08 - 1.69
ระดบั มาก
ระดบั ปานกลาง 3.86 3.91 -
ระดับนอ ย
ระดบั นอ ยทีส่ ดุ 100.00 100.00 4.14
คะแนนเฉล่ีย (เตม็ 5 คะแนน) 24.49 23.08
42.86 43.08 100.00
4. ผลผลิตท่ีไดม คี ณุ ภาพดีขึน้ และเกษตรกรมีรายไดเ พม่ิ ขนึ้ 28.57 29.23 50.85
ระดับมากท่ีสดุ 4.61 27.12
ระดบั มาก - 16.95
ระดับปานกลาง 4.08 - 3.39
ระดับนอ ย 1.69
ระดบั นอ ยทส่ี ดุ 3.84 3.85
คะแนนเฉล่ีย (เตม็ 5 คะแนน) 4.22
100.00 100.00
5. ความสามารถในการปลูกพืชฤดูแลงไดผ ลดีข้ึน 22.45 27.69 100.00
ระดบั มากที่สุด 44.90 38.46 28.81
ระดบั มาก 28.57 30.77 44.07
ระดับปานกลาง 3.08 23.73
ระดับนอ ย - 1.69
ระดับนอยท่สี ุด 4.08 -
คะแนนเฉลีย่ (เตม็ 5 คะแนน) -
3.82 3.91
3.95
100.00 100.00
24.49 26.15 100.00
42.86 49.23 50.85
28.57 21.54 42.38
3.08 5.08
- 1.69
4.08 -
-
3.84 3.98
4.42
68
ตารางที่ 4.25 ทัศนคติ ความพงึ พอใจทีม่ ีตอ โครงการเข่ือนทดน้ําผาจกุ จังหวดั อตุ รดิตถ (ตอ )
รายการ พนื้ ทฝี่ ง บน พ้นื ท่ฝี ง ซา ย หนวย: รอ ยละ
ของโครงการ ของโครงการ
6. ความสามารถในการแกไขปญ หาขาดแคลนนา้ํ ในชว งฝนท้งิ ชวง พื้นทีฝ่ ง ขวา
ระดับมากท่ีสุด 100.00 100.00 ของโครงการ
ระดบั มาก 24.49 26.15
ระดบั ปานกลาง 44.90 49.23 100.00
ระดับนอ ย 26.53 21.54 59.33
ระดบั นอ ยทส่ี ุด 3.08 33.90
คะแนนเฉลีย่ (เตม็ 5 คะแนน) - 3.39
4.08 - 1.69
7. การบรรเทาปญ หานา้ํ ทวมขังในพนื้ ท่ีเกษตรและทอี่ ยูอาศัย 1.69
ระดับมากที่สดุ 3.86 3.98
ระดับมาก 4.47
ระดบั ปานกลาง 100.00 100.00
ระดบั นอ ย 24.49 15.38 100.00
ระดับนอยท่ีสุด 42.86 35.38 15.26
คะแนนเฉลยี่ (เตม็ 5 คะแนน) 26.53 40.00 35.59
2.04 7.69 37.29
8. ความเพยี งพอของน้าํ ทาํ ใหค ุณภาพดนิ ดขี ้ึนและลดการใชส ารเคมี 4.08 1.55 10.17
ระดบั มากทีส่ ดุ 1.69
ระดับมาก 3.82 3.55
ระดับปานกลาง 3.53
ระดับนอย 100.00 100.00
ระดับนอ ยที่สุด 22.45 18.46 100.00
คะแนนเฉลยี่ (เตม็ 5 คะแนน) 44.90 27.49 18.65
28.57 46.16 38.98
9. การบรหิ ารจัดการนํ้าดีข้นึ ในชว งที่เขอ่ื นยงั สรางไมเ สรจ็ 7.69 30.51
ระดบั มากที่สุด - 8.47
ระดบั มาก 4.08 - 3.39
ระดับปานกลาง
ระดับนอ ย 3.82 3.57 3.61
ระดับนอ ยทส่ี ุด
คะแนนเฉลี่ย (เตม็ 5 คะแนน) 100.00 100.00 100.00
22.45 7.68 1.69
10. การประชาสัมพนั ธและสรา งการรับรขู องหนว ยงานตา ง ๆ 44.90 23.08 22.03
ระดบั มากที่สุด 26.53 43.08 42.38
ระดบั มาก 2.04 23.08 15.25
ระดับปานกลาง 4.08 3.08 18.65
ระดับนอ ย
ระดับนอยทสี่ ดุ 3.80 3.09 2.73
คะแนนเฉลี่ย (เตม็ 5 คะแนน)
100.00 100.00 100.00
32.65 13.84 18.64
38.78 24.62 25.43
24.49 33.85 38.98
26.15 16.95
- 1.54
4.08 -
3.23
3.96 3.46
69
ตารางท่ี 4.25 ทศั นคติ และความพึงพอใจท่มี ีตอโครงการเข่อื นทดนํ้าผาจกุ จังหวัดอุตรดิตถ (ตอ )
หนวย: รอ ยละ
รายการ พื้นทฝี่ ง บน พน้ื ทีฝ่ ง ซาย พืน้ ทีฝ่ ง ขวา
ของโครงการ ของโครงการ ของโครงการ
11. การบรู ณาการระหวา งหนวยงานทร่ี บั ผิดชอบ 100.00 100.00 100.00
ระดับมากท่สี ดุ 36.73 15.38 5.08
ระดับมาก 38.78 27.69 35.59
ระดับปานกลาง 20.41 40.00 50.85
ระดับนอย - 16.93 8.48
ระดับนอยทส่ี ดุ 4.08 - -
คะแนนเฉลยี่ (เตม็ 5 คะแนน) 4.04 3.42 3.37
12. ภาพรวมของความพึงพอใจที่มีตอ โครงการ 100.00 100.00 100.00
ระดับมากทส่ี ุด 34.70 32.31 50.85
ระดับมาก 36.73 27.69 27.12
ระดับปานกลาง 20.49 33.85 22.03
ระดบั นอ ย - 6.15 -
ระดบั นอยท่ีสุด 4.08 - -
คะแนนเฉลย่ี (เตม็ 5 คะแนน) 3.98 3.86 4.29
ทีม่ า: จากการสํารวจ
4.2.2 ผลกระทบเชิงบวกที่มีตอ โครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดติ ถ
จากการสํารวจขอมูลภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือนเกษตรกร รวมทั้งทัศนคติและความพึงพอใจ
ของครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนท่ีฝงบน ฝงซาย และฝงขวาของโครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก สามารถสรุปผลกระทบ
บวกที่มตี อโครงการ ฯ ไดด งั น้ี
1) โครงการเข่ือนทดนํ้าผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ จะชวยใหครัวเรือนเกษตรกร สามารถดําเนินการ
เพาะปลูกพืชและเล้ียงสัตวไดมากขึ้น เน่ืองจากพื้นท่ีมีความเหมาะสม จะเห็นไดจากครัวเรือนเกษตรกรท่ีอยูใน
พื้นที่ฝงบนของโครงการ ฯ ซ่ึงมีรายไดมากกวาพ้ืนที่อ่ืนโดยเฉพาะรายไดจากการปลูกพืช เนื่องจากมีแหลงน้ํา
จากการใชบริการสถานสี ูบนํา้ ดวยไฟฟา ซ่งึ สง ผลตอประสทิ ธิภาพการใชท ด่ี ินทใี่ หสงู ขนึ้ ดวย
2) ปจจุบันครวั เรือนเกษตรกร มคี าใชจ า ยในการจดั หานาํ้ ตอปเพ่ือทําการเกษตรคอ นขางสูง โดยเฉพาะ
ครัวเรอื นเกษตรกรในพื้นทฝ่ี งซาย และฝงขวาของโครงการ ฯ ดงั น้นั หากดาํ เนินการกอสรางเขื่อนและระบบสงน้าํ
เสร็จแลว จนสามารถปลอ ยนํ้าได จะชวยใหครัวเรือนเกษตรกรสามารถลดคาใชจายในการจัดหานํา้ ได
3) โครงการเขือ่ นทดน้ําผาจุก จังหวดั อตุ รดิตถ จะบรรเทาผลกระทบจากปญหาอทุ กภัย หรือน้าํ ทวมขัง
ในพื้นที่ เน่ืองจากการสรางระบบสง นาํ้ จะชวยใหสามารถระบายนํ้าไดดีข้ึน ผลผลิตทางการเกษตรและเคร่ืองใชใน
ครวั เรือนเสยี หายนอ ยลง
4) ความพึงพอใจในภาพรวมของครัวเรือนเกษตรกรตอโครงการเข่ือนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ
อยูในระดับมาก สะทอนใหเห็นวาเกษตรกรมีความพึงพอใจตอโครงการ ฯ และมีประโยชนตอครัวเรือนเกษตรกร
ในพน้ื ทเี่ ปนอยา งมาก อาทิ มีแหลงน้าํ เพยี งพอ ลดคา ใชจ ายในการจดั หาน้าํ และปลูกพืชไดมากขึน้ ฯลฯ
4.2.3 การเวนคนื ทด่ี ิน ประโยชนก ารใชบ รกิ ารสถานสี ูบน้าํ ดว ยไฟฟา และโครงการจัดรูปท่ดี นิ
1) พ้นื ท่ีฝงบนของโครงการเขอื่ นทดน้ําผาจกุ
การเวนคืนที่ดิน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมไดรับผลกระทบจากการเวนคืนท่ีดิน
รอยละ 71.43 เนื่องจากพ้ืนที่การเกษตรของตนเองไมไดอยูในรัศมีท่ีตองสรางระบบคลองสงน้ํา และไดรับ
ผลกระทบจากการเวนคนื ทด่ี นิ รอ ยละ 28.57 ซึง่ ไดร ับเงินคาชดเชยเฉล่ยี 120,000 บาทตอไร
70
ประโยชนการใชบริการสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟา พบวา ครัวเรือนเกษตรกรทุกครัวเรือนไดรับ
ประโยชนจากการใชบริการสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟา รอยละ 100 เน่ืองจากมกี ารสรางสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟาพรอม
ระบบสงน้ํา สงผลใหเกษตรกรซึ่งเปนสมาชิกกลุมผูใชนํ้าอยูแลวไดใชประโยชน ซึ่งมีคาใชจายในการจัดหาน้ํา
เฉลี่ย 375.64 บาทตอ ไรตอ ป
โครงการจัดรูปที่ดิน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรทุกครัวเรือนไมไดสนใจจะเขารวมโครงการ
จัดรูปที่ดิน รอยละ 100 เน่อื งจากพ้ืนที่ของตนเองไมมีปญหา จึงไมตองการสูญเสียท่ีดินในการจัดรูปที่ดิน รวมถึง
ในพื้นท่ีมแี หลงน้ําทเี่ พียงพออยแู ลว
2) พ้นื ท่ีฝง ซายของโครงการเขอื่ นทดน้าํ ผาจกุ
การเวนคืนที่ดิน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมไดรับผลกระทบจากการเวนคืนที่ดิน
รอยละ 61.54 เนื่องจากพื้นท่ีการเกษตรของตนเองไมไดอยูในรัศมีที่ตองสรางระบบคลองสงนํ้า และไดรับ
ผลกระทบจากการเวนคืนท่ดี นิ รอ ยละ 38.46 ซ่ึงไดร บั เงนิ คาชดเชยเฉล่ยี 133,750 บาทตอ ไร
ประโยชนการใชบริการสถานีสูบน้ําดวยไฟฟา พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไดรับประโยชน
จากการใชบริการสถานีสูบน้ําดวยไฟฟา รอยละ 61.54 เนื่องจากมีการสรา งสถานีสูบนํ้าดว ยฟาพรอ มระบบสงนํ้า
สง ผลใหเกษตรกรซ่งึ เปนสมาชกิ กลุมผูใชนํา้ อยูแลวไดใ ชประโยชน ซ่ึงมคี า ใชจายในการจัดหาน้าํ เฉลี่ย 843.82 บาท
ตอ ไรตอ ป และไมไ ดรบั ประโยชนจากสถานีสบู นํ้าดว ยไฟฟา รอ ยละ 38.46
โครงการจัดรูปท่ีดิน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมไดมีความสนใจจะเขารวมโครงการ
จดั รูปที่ดนิ รอ ยละ 56.92 เนื่องจากไมตอ งการสูญเสียท่ีดินในการจัดรูปที่ดิน และมีความสนใจจะเขารวมโครงการ
จัดรูปท่ีดิน รอยละ 43.08 เนื่องจากตองการใหพ้ืนที่ทําการเกษตรเปนระนาบเดียวกัน สามารถปลูกพืชได
หลากหลายมากข้ึน ทุกครัวเรือนไดประโยชนรวมกัน มีน้ําไหลทั่วถึงและเพียงพอ ตลอดจนชวยใหการระบายน้ําดี
และการคมนาคมสะดวก
3) พ้ืนท่ีฝง ขวาของโครงการเขื่อนทดน้ําผาจกุ
การเวนคนื ท่ีดิน ของครัวเรือนเกษตรกร พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไ มไดร ับผลกระทบจาก
การเวนคืนที่ดิน รอ ยละ 78.54 เนื่องจากพ้ืนท่ีการเกษตรของตนเองไมไดอยูในรัศมีท่ีตองสรางระบบคลองสงน้ํา
และไดรับผลกระทบจากการเวนคนื ทดี่ ิน รอยละ 25.42 ซึ่งไดร บั เงนิ คาชดเชยเฉลย่ี 146,889 บาทตอไร
ประโยชนการใชบริการสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟา พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไดรับประโยชน
จากการใชบริการสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟา รอยละ 69.49 เนื่องจากมีการสรางสถานีสูบนํ้าดวยฟาพรอมระบบสงน้ํา
สงผลใหเกษตรกรซ่งึ เปนสมาชิกกลมุ ผใู ชนา้ํ อยูแลวไดใ ชป ระโยชน ซง่ึ มคี า ใชจา ยในการจดั หาน้าํ เฉล่ีย 832.83 บาท
ตอไรต อป และไมไดรบั ประโยชนจ ากสถานีสูบน้าํ ดว ยไฟฟา รอยละ 30.51
โครงการจัดรูปท่ีดิน พบวา ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญไมไดมีความสนใจจะเขารวมโครงการ
จัดรปู ทด่ี นิ รอยละ 77.97 เนื่องจากไมต องการสูญเสียท่ีดนิ ในการจัดรูปท่ีดิน และมคี วามสนใจจะเขารวมโครงการ
จัดรูปท่ีดิน รอยละ 22.03 เน่ืองจากตองการใหพื้นท่ีทําการเกษตรเปนระนาบเดียวกัน สามารถปลูกพืชได
หลากหลายมากข้ึน ทุกครัวเรือนไดประโยชนรว มกัน มีน้ําไหลทั่วถึงและเพียงพอ ตลอดจนชวยใหการระบายนํ้าดี
และการคมนาคมสะดวก (ตารางท่ี 4.26)
จะเห็นไดวาครวั เรอื นเกษตรกรท่ีอยูพ้ืนท่ีฝงบนของโครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก จะไดรบั ผลกระทบจาก
การเวนคืนที่ดินนอยกวาพ้ืนที่อื่น ๆ ปจจุบันไดมีการสรางสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟาในพ้ืนท่ีแลว ชวยใหครัวเรือน
เกษตรกรมีแหลงนํ้าในการทําการเกษตรมากข้ึน แมวาจะตองเสียคาใชจายในการจัดหาน้ํา ดังนั้น จึงเห็นวา
การสรางเข่ือนทดนํ้าผาจุก อาจมีความจําเปนลดลงเม่ือเทียบกับความตองการของครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนท่ี
ฝงซาย และฝงขวาของโครงการ ฯ ท่ีประสบปญหาขาดแคลนแหลงนํ้าทําการเกษตร สะทอนไดจากการไดรับ
ประโยชนจากสถานีสูบนํา้ ดวยฟา ซง่ึ มีคอนขางนอยกวาพ้ืนท่ีฝงบนของโครงการ ฯ รวมถึงความตอ งการท่ีจะเขา
รว มการจัดรปู ทดี่ ินในพ้ืนที่
71
ตารางท่ี 4.26 การเวนคืนท่ีดิน ประโยชนการใชบริการสถานีสบู นาํ้ ดว ยไฟฟา และโครงการจดั รปู ที่ดิน
หนว ย: รอ ยละ
รายการ พืน้ ทฝี่ ง บน พื้นทฝี่ งซา ย พื้นทีฝ่ ง ขวา
ของโครงการฯ ของโครงการฯ ของโครงการฯ
การเวนคนื ท่ดี ิน 100.00 100.00 100.00
ไมไ ดร ับผลกระทบ 71.43 61.54 78.54
ไดรบั ผลกระทบ (ถูกเวนคืน) 28.57 38.46 25.42
ประโยชนก ารใชบ รกิ ารสถานสี ูบนา้ํ ดวยไฟฟา 100.00 100.00 100.00
ไมไดรับประโยชน - 61.54 69.49
ไดรับประโยชน 100.00 38.46 30.51
โครงการจัดรปู ที่ดนิ 100.00 100.00 100.00
สนใจเขา รวม - 43.08 22.03
ไมส นใจเขา รว ม 100.00 56.92 77.97
ท่มี า: จากการสาํ รวจ
4.2.4 ปญหาดา นการผลิต การจดั จําหนายสินคาเกษตรดานพชื ดานปศุสัตว และดานการเพาะเลี้ยงสตั วนํ้า
1) ปญหาดานการผลิตและจําหนา ยสนิ คาเกษตรดา นพชื
1.1) ปญหาดานการผลติ
(1) พ้ืนท่ีทําการเกษตรของชุมชนสวนใหญ ปลูกขาว และ พืชไร อาทิ ขาวโพดเลี้ยงสัตว มัน
สาํ ปะหลัง และ ออ ยโรงงาน สามารถทาํ การเพาะปลูกไดเ พยี ง 1 รอบการผลติ ตอป
(2) โรคและแมลงศตั รูพืชรบกวน สงผลใหผลผลิตทางการเกษตรเกิดความเสียหาย อาทิ การ
ปลูกขาว ประสบปญหาเพล้ยี กระโดดสนี ํ้าตาล เพล้ียไฟ และหนอนมว นใบ และการปลกู ขาวโพดเล้ยี งสัตว ประสบ
ปญ หาหนอนกระทูระบาดทาํ ลายตน และฝกขาวโพดฯ ทาํ ใหผลผลติ ไดน อยไมค มุ คากบั การลงทุน
(3) ขาดแคลนแรงงานคนในทองถิ่น เนื่องจากเกษตรกรสวนใหญมีแนวโนมอายุสูงข้ึน อีกท้ัง
อัตราราคาคาจางแรงงานในพ้ืนที่คอนขางสูง และหายาก ซ่ึงบางครั้งเกษตรกรตองยอมปลอยใหผลผลิตเสียหาย
หากหาแรงงานไดไ มทนั เวลา
(4) ปจจัยการผลติ มีราคาสูง อาทิ พันธุพืช ปุยเคมี และยาปราบศตั รพู ชื
1.2) ดานการจาํ หนายผลผลติ
(1) ราคาผลผลติ ทางการเกษตรตกต่าํ
(2) เกดิ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID-19) ซง่ึ เปนอปุ สรรคตอการจําหนายผลผลิตทางการเกษตร
2) ปญหาดา นการผลติ และจําหนา ยสินคาเกษตรดานปศุสตั ว/ดานการเพาะเลยี้ งสัตวนาํ้
2.1) ปญหาดานการผลิต
(1) พันธุม ีราคาสงู อาทิ พนั ธปุ ลา
(2) อาหารสัตวม รี าคาสงู และขาดแคลน อาทิ อาหารโคเน้ือ และอาหารปลา
(3) ขาดแคลนเงนิ ลงทุนในการเล้ียงสตั ว
(4) ปญ หาจากการขาดแคลนแหลงนํ้าและสภาพส่ิงแวดลอมท่อี าจสงผลกระทบตอการเลี้ยงปศสุ ัตว
และการเพาะเล้ียงสัตวน ้ํา
(5) เกดิ โรคระบาดในสัตว
(6) ขาดแคลนพ้นื ทีเ่ ลีย้ งสัตว
72
2.2) ปญหาดานการจาํ หนายผลผลิต
(1) ราคาสนิ คาตกตา่ํ ไมแ นนอน และผนั ผวน
(2) ขาดแคลนเงินทนุ เพอ่ื พัฒนาดา นการตลาด เพราะเกษตรกรบางรายอายมุ ากไมส ามารถเขาถงึ แหลง เงินทนุ ได
(3) ไมม ีสถานที่ หรอื จดุ จาํ หนายผลผลติ ในพื้นที่
4.2.5 ความตองการชวยเหลือ และขอรับการสนับสนุนเพิ่มเติมจากหนวยงานภาครัฐในดานตางๆ ของ
เกษตรกรในพืน้ ทโี่ ครงการเข่อื นทดนํ้าผาจุก
1) ดานการพัฒนาอาชีพ
1.1) พ้ืนท่ีฝงบนของโครงการเขือ่ นทดนาํ้ ผาจุก
(1) ชุมชนในพ้ืนท่ี ตําบลผาจุก ตองการใหภาครัฐจัดหาอาชีพเสริมใหชุมชน เชน การ
สนับสนุนพันธุสัตว/พันธุปลาใหเกษตรกรที่สนใจอยากเล้ียงเปนอาชีพเสริม สงเสริมและมีการใหความรูดานการ
ปลกู พชื ทส่ี งเสรมิ ใหก บั เกษตรกรทีส่ นใจพรอ มทัง้ จัดหาตลาดรองรบั ใหกับเกษตรกรดว ย
(2) ชุมชนในพ้ืนที่ ตําบลง้ิวงาม ตองการใหมีการสงเสริมการเล้ียงปลา สนับสนุนสงเสริมใหมี
การแปรรูปสรางผลติ ภัณฑของชุมชน ตลอดจนสง เสริมการตลาดรองรับและเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมตอการประกอบ
อาชพี ของเกษตรกร
1.2) พืน้ ทฝี่ ง ซายของโครงการเขื่อนทดนาํ้ ผาจุก
(1) ชุมชนในพ้ืนท่ี ตําบลนํ้าอาง อําเภอตรอน ตองการใหสนับสนุนสงเสริมการทอผาส้ินตีน
จกพรอมจดั หาตลาดรองรบั ดว ย
(2) ชุมชนในพ้ืนที่ตําบลวังกระพ้ี อําเภอเมือง ตองการองคความรูดานการเลี้ยง สุกร และ
ไกไ ข และการทําโคกหนองนา
(3) ชุมชนในพื้นที่ตําบลบานโคน และ ตําบลนายาง อําเภอพิชัย ตองการทํากิจกรรม
การเกษตรเดิม และตอ งการใหภ าครฐั สนับสนนุ เมลด็ พันธพุ ืช ปจจัยการผลติ ปุย-ยา ราคาถกู ใหกบั เกษตรกร
(4) ชุมชนในพื้นท่ีตําบลวังแดง อําเภอพิชัย ตองการใหสงเสริมความรูดา นอาชีพหลากหลาย
อาทิ การทําปลาสม ปลาเค็ม หมูแดดเดียว ขนมตางๆ เพื่อเปนอาชีพเสริมท่ีสรางรายไดเขามาตลอดป พรอมทั้ง
จัดหาตลาดรองรบั และเพอ่ื จําหนา ยสินคาของชมุ ชน
(5) ชุมชนในพื้นที่ตําบลคงุ ตะเภา อาํ เภอเมือง ตองการองคค วามรูดานการแปรรูปไมไผ อาทิ
การสานตะกรา และตอ งการความรูดา นการทาํ เกษตรอินทรยี
1.3) พ้นื ทฝ่ี ง ขวาของโครงการเขือ่ นทดนํา้ ผาจกุ
(1) ชุมชนในพื้นท่ีตาํ บลวังแดง อาํ เภอตรอน ตองการใหภาครัฐจัดหาอาชีพเสริมสรางรายได
ใหชุมชน เนนผลิตภัณฑที่ตลาดตองการ พรอมท้ังสนับสนุนจัดต้ังใหเปนโรงงานผลิตช่ัวคราวในระหวางท่ีการ
กอ สรา งเขือ่ นฯ ยงั ไมแ ลวเสรจ็ ใหหนวยงานภาครฐั เปน ผูรบั ซอื้ และกระจายผลผลติ ทั้งหมด
(2) ชุมชนในพื้นท่ีตําบลขอยสูง อําเภอตรอน ตองการใหสงเสริมการการปลูกพืชผักสวน
ผสมผสาน หรือจัดหาอาชีพเสรมิ สรา งรายไดอนื่ ๆ พรอ มทั้งจัดหาตลาดรองรบั ใหชุมชน
(3) ชุมชนในพื้นท่ีตําบลทุงย้งั อําเภอลับแล ตองการใหมีการจางแรงงานคนในชุมชน ที่เสีย
ประโยชนจ ากการถูกเวนคืนท่ดี ินในการกอ สรา งเขื่อนฯ เพื่อเปนรายไดเ สรมิ ในชว งท่ขี าดรายได
(4) ชุมชนในพ้ืนท่ีตําบลดานแมคํามัน อ.ลับแล ตองการใหภาครัฐสนับสนุนการจัดต้ังกลุม
โค-กระบือ ในพื้นท่ี พรอมท้ังสนับสนุนพันธสุ ัตวแ ละแหลงเงินทุน และตองการใหมีการพัฒนากลุมทอผาเดิมของ
ชมุ ชน
73
(5) ชุมชนในพื้นที่ตําบลไผลอม อําเภอลับแล ตองการใหภาครัฐชวยแนะนําแนวทางการทํา
อาชีพเสริมเพ่ิมรายไดใหกับเกษตรกร อาทิ การแปรูปขาว พรอมทั้งสงเสริมดานการตลาด และตองการใหมีการ
จางแรงงานเกษตรกรในพื้นทใ่ี นการกอสรางเขื่อนฯ
(6) ชุมชนในพื้นที่ตําบลทาเสา อําเภอเมือง ตองการใหสนับสนุนเงนิ ทุนในการพัฒนาอาชีพ
เสริม
2) ดานการจัดรูปที่ดิน
จากการสอบถามเกษตรเปนรายกลุม ท้ังฝงบน ฝงซา ย และฝงขวา พบวาเกษตรกรมีความสนใจใน
การจัดรูปที่ดิน แตดานคาใชจายในการจัดรูปที่ดิน/ปรับพื้นท่ีการเกษตร ใหหนวยงานภาครัฐเปนผูรับผิดชอบ
ท้ังหมด และกอนดําเนินงานควรมีการสงเสริมความรู ดานจัดรูปท่ีดินใหแกเกษตรกร เพื่อใหเกิดความเขาใจ
ทถี่ ูกตอง และใหเกษตรกรเขา มามีสว นรว มเพื่อพัฒนาพ้ืนทีร่ ว มกบั รัฐ
3) ดานอน่ื ๆ
(1) ตองการใหแกปญหาดานการระบายนํ้าออกจากพ้ืนท่ีเกษตร เน่ืองจากทอระบายนํ้าที่สรางไว
มีขนาดเล็กเกินไป ทําใหการระบายน้ําออกไมทัน สงผลใหเกิดนํ้าทวมในพ้ืนท่ีของเกษตรกร และพืชผลทางการ
เกษตรเสียหาย
(2) ตองการใหเปดโอกาสใหเกษตรกรท่ีอายุตั้งแต 60 ปข้นึ ไป ไดเ ขารวมโครงการตา งๆ ของภาครัฐ
ไดท ุกโครงการ เพราะสวนใหญเกษตรกรท่ที ําการเกษตรจะอยใู นกลมุ อายทุ ส่ี งู วยั
(3) ตองการใหภาครัฐมีการควบคุมราคาปจจัยการผลิตท่ีมีราคาสูงขึ้น เชน พันธุพืช ปุย ยา และ
นํา้ มนั ใหอยูร ะดบั ทเ่ี หมาะสม
(4) หาอาชีพเสรมิ ใหเกษตรกรในชุมชน ในชว งการกอสราง เพราะเกษตรกรเสยี ประโยชนจากการ
ไมไดใ ชพ ื้นทที่ ําการเกษตร พรอมทงั้ หาตลาดรองรบั จากการสง เสริมอาชพี
(6) ตอ งการใหมเี จาหนา ที่เขามาการเขา มาควบคมุ ดูแลการกอ สรา งเข่ือนฯ อยางตอ เน่ือง เพอื่ แกไ ข
ไดทัน หากเกดิ ขอ ผิดพลาดจากการกอ สราง
(7) ในพื้นที่ท่ียังไมไดดําเนินการกอสรางเขื่อนฯ เจาหนาท่ีโครงการควรเขามาช้ีแจงรายละเอียด
โครงการ และวางแผนปองกันผลกระทบทอี่ าจเกดิ ขึน้ จากการกอ สรางคลองซอย รวมกับเกษตรกรในพืน้ ท่กี อนท่จี ะ
ดาํ เนนิ การกอ สรา ง
4.2.6 ขอ คนพบ
1) ดา นการส่อื สารชี้แจงทาํ ความเขาใจรว มกนั ระหวา งผมู ีสว นไดส ว นเสียของโครงการ การชแี้ จงและ
ทาํ ความเขาใจกับเกษตรกรยังไมช ัดเจน ผูรับเหมางานมีหลายชุดขาดการประสานงานกันทําใหการแกปญหาที่เคย
ตกลงไวกับเกษตรกร ไมไดร บั การแกไข
2) ดา นการบูรณาการรว มกันระหวางหนว ยงานหลักและหนวยงานสนับสนุนดา นการพฒั นาสง เสรมิ ฯ
ยงั มนี อ ย อาจเนื่องจากคลองสง น้ํายงั สรางไมแลว เสร็จ
3) ดา นการมสี วนรว มของคนในชุมชน มีความใสใจ และใหร ว มมือกนั อยา งตอ เนอ่ื ง
4.2.7 ขอคิดเห็น และขอ เสนอแนะเพม่ิ เติมของครัวเรือนเกษตรกร
1) สนับสนุนปจจัยการผลติ ทางการเกษตรใหแ กเกษตรกร เน่อื งจากตนทุนการผลติ สูงขึน้
2) อบรมใหความรูดานการผลิตและการตลาดใหแกเกษตรกร เชน การแนะนําการปลูกพชื ฤดูแลง
3) ดูแลราคาสินคาเกษตรใหมีเสถียรภาพ เน่ืองจากปจจุบันราคาสินคาเกษตรตกตํ่าโดยเฉพาะราคา
สินคา ขา ว
4) สนับสนุนเงนิ แหลงทุนดอกเบยี้ ตา่ํ ใหแกเกษตรกร
74
5) อยากใหสรางถนนฝงเดียว เพ่ือไมตองเวนที่ดินคืนมาก หากตองมีการเวนคืนท่ีดินขอใหจายคา
เวนคืนที่ดนิ อยางเหมาะสม
6) หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ควรเขาพ้ืนที่เพ่ือดูแลเกษตรกรที่ไดรับผลกระทบอยา งตอเน่ืองเพ่ือ
สรา งความม่นั ใจ และสรา งทัศนคตทิ ดี่ ี ใหเ กษตรกร
7) เจา หนาทีท่ เี่ กี่ยวของควรช้ีแจงรายละเอยี ดโครงการใหกับเกษตรกรอยางครบถว น ถึงผลได ผลเสีย
ที่เกษตรกรไดรับจากโครงการ รวมท้ังและรายละเอียดเสนทางน้ําท่ีชัดเจนใหกับเกษตรกรท่ีเกี่ยวของโดยตรง
ไมเพยี งเฉพาะผนู าํ ชมุ ชนเทาน้นั
8) ในการเขาพื้นท่ีเกษตรเพื่อวางหลักเขต ควรมีการแจงใหเจาของพื้นท่ีใหไดรับทราบลวงหนากอน
เพ่ือปองกันปญหาความขดั แยง ดา นการลกุ ลาํ้ เขา พื้นทไี่ ด
4.3 (ราง) แนวทางการจัดทําขอเสนอโครงการเพื่อบริหารจัดการพืน้ ท่ี และสินคาเกษตรในพื้นทโี่ ครงการเขื่อน
ทดนํ้าผาจุก จงั หวดั อุตรดติ ถ
4.3.1 โครงการสงเสรมิ การบรหิ ารจัดการสนิ คาเกษตรดานพชื ในพืน้ ท่โี ครงการเขือ่ นทดนํา้ ผาจุก
1) ดานการผลิต
1.1) สงเสริมสนับสนุนองคความรูดานการผลิตสินคาเกษตรปลอดภัย/เกษตรอินทรีย เพ่ือสราง
มูลคาเพ่ิมใหกับสินคา และสอดคลองกับความตองการของตลาดในปจจุบันท่ีผูบริโภคหันมาสนใจบริโภคอาหาร
เพือ่ สขุ ภาพมากข้นึ รวมท้ังการสรา งระบบการเขา ถงึ แหลงผลติ /แหลง จําหนายสินคา (ระบบตรวจสอบยอ นกลบั )
1.2) หนวยงานที่เก่ียวของใหการสนับสนุนองคความรูเก่ียวกับการปองกันและกําจัดโรคแมลง
ศัตรูพืชทง้ั ขา วและพืชไร โดยประยกุ ตใ ชเทคโนโลยีและนวัตกรรม และภมู ปิ ญญาทองถ่ิน
1.3) สนับสนุนปจจัยการผลิต อาทิ เมล็ดพันธุ ปุยยาราคาถูก และสงเสรมิ การใชสารชีวภัณฑ วัสดุ
เหลือใชท างการเกษตรในทองถน่ิ มาผลติ สารปองกนั และกําจัดโรคแมลงศตั รพู ืชไวใ ชเ อง รวมทั้งสนับสนนุ การใชปุย
ตามคาวิเคราะหดิน เพื่อทดแทนการใชสารเคมีทางการเกษตรท่ีมีราคาสูง และเปนการลดตนทุนการผลิต
โดยเฉพาะในพื้นที่ฝง ซายของโครงการ (ตําบลบานโคน และ ตําบลนายาง อําเภอพชิ ยั )
1.4) สนับสนุนการใชเ คร่ืองจักรกลการเกษตรเพ่ือทดแทนแรงงานคน เน่ืองจากเกษตรกรสวนใหญมี
แนวโนม อายสุ ูงขึ้น ประกอบกับอตั ราคาจางแรงงานในทองถ่ินคอ นขางสงู และหายาก
1.5) พัฒนาแหลงนํ้าและระบบการระบายนํ้าเพื่อการเกษตรที่สามารถรองรับปริมาณนํ้า และการ
ระบายนํ้าในชว งฤดฝู นไดท นั เพ่อื ปองกนั การเกิดน้ําทว มขังพ้ืนท่ีของเกษตรกร และพชื ผลทางการเกษตรเสยี หาย
1.6) พัฒนาระบบฐานขอมูลสนิ คา เกษตร และโครงสรา งพนื้ ฐานดานการผลติ และการตลาดในพื้นที่โครงการ
เพ่ือใชประโยชนในการวางแผนพัฒนาพื้นที่ไดอ ยางสอดคลอ งกับความตองการ และเกิดประสิทธิผลตอเกษตรกรอยางเปน
รูปธรรม
2) ดานการแปรรปู
สนบั สนนุ สงเสรมิ ใหม กี ารแปรรปู ผลติ ภณั ฑจากขาว และการสรา งตราสินคา (Brand) ใหแ ก
เกษตรกรในพืน้ ท่ีตาํ บลไผล อม อาํ เภอลับแล
3) ดา นการตลาด
สนับสนุนการจําหนายผลผลติ ในลกั ษณะการซอื้ ขายลวงหนา ในรูปแบบเกษตรพันธสัญญา
(Contract Farming) รวมทั้งการสรางเครือขายเชื่อมโยงการตลาดสินคาเกษตรในพื้นท่ีโครงการในรูปแบบกลุม
เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และสหกรณการเกษตร โดยบูรณาการรวมกับภาคเอกชนจัดกิจกรรม Business
Matching และเพม่ิ ชอ งทางการจาํ หนายผานชองทางตลาด Online
75
4.3.2 โครงการสง เสรมิ การบริหารจัดการสนิ คาเกษตรดา นปศุสัตวและประมง ในพืน้ ท่ีโครงการเขอื่ นทด
นํ้าผาจกุ
1) ดานการผลติ
1.1) การสนับสนุนองคความรดู า นการเล้ยี งปศสุ ัตว อาทิ สุกร และไกไข การเพาะเลยี้ งสตั วน ํา้
และการทําโคกหนองนา ใหกับเกษตรกรในพ้นื ทต่ี าํ บลวงั กระพี้ อาํ เภอเมือง
1.2) สงเสริมสนับสนุนปจจัยการผลิตปศุสัตวและการเพาะเลี้ยงสัตวนํ้าใหกับเกษตรกรในพ้ืนที่
โครงการนําไปเปนพอแมพ ันธุ รวมถงึ อาหารสัตวแ ละยารกั ษาโรคท่ีจําเปน เพ่ือเปนการลดตนทุนการผลิตท่ีมรี าคา
เพ่ิมสงู ขึ้น สามารถประกอบเปนอาชพี เสริมเพิ่มรายไดใ หแกครัวเรือน โดยเฉพาะในพ้นื ทต่ี าํ บลผาจกุ
1.3) สงเสรมิ การรวมกลุมเกษตรกรผเู ล้ียงโค/กระบอื ในพ้ืนท่ีตาํ บลดา นแมค ํามนั อ.ลับแล
1.4) สนับสนุนการเขาถึงแหลงเงนิ ลงทนุ ดอกเบ้ียตํ่า เพ่ือใหเกษตรกรนําไปตอยอดในการเล้ียงสัตว
และการประมง
1.5) พัฒนาและปรับปรุงแหลงนํ้าใหมีปริมาณเพียงพอสําหรับการเล้ียงปศุสัตวและการเพาะเล้ียง
สตั วน าํ้ จดื รวมท้ังปรับสภาพแวดลอมทเ่ี หมาะสมตอการเล้ยี ง และการปอ งกันการเกิดโรคระบาด
1.6) สนับสนุนใหเกษตรกรจัดสรรพ้ืนที่บางสวนสําหรับกการปลูกพืชอาหารสัตว อาทิ แปลงปลูก
หญา เลีย้ งโค เพื่อใหเ กษตรกรมเี สบียงอาหารสตั วท เ่ี พยี งพอ และลดปญ หาไมมีพื้นทเี่ ลีย้ ง
1.7) พฒั นาระบบฐานขอมูลสินคาเกษตร และโครงสรางพ้ืนฐานดา นการผลิตและการตลาดในพื้นท่โี ครงการ
เพื่อใชประโยชนในการวางแผนพัฒนาพน้ื ท่ีไดอยางสอดคลองกับความตองการ และเกิดประสิทธิผลตอ เกษตรกรอยางเปน
รูปธรรม
2) ดา นการแปรรูป
สนับสนุนสงเสริมใหมีการแปรรูปสัตวนํ้า และสรางผลิตภัณฑและตราสินคา (Brand) ของชุมชน
โดยเฉพาะในพืน้ ทฝ่ี ง บน ตาํ บลงิ้วงาม
3) ดา นการตลาด
1) สนับสนุนการจําหนายผลผลิตในลักษณะการซื้อขายลวงหนาในรูปแบบเกษตรพันธสัญญา
(Contract Farming) เพอื่ ใหเกษตรกรมีความมั่นใจดานการตลาดและราคาจําหนายผลผลิต
2) การสรางเครือขายเชื่อมโยงการตลาดสินคาเกษตรในพ้ืนท่ีโครงการในรูปแบบกลุมเกษตรกร
วิสาหกิจชุมชน และสหกรณการเกษตร โดยบูรณาการรวมกับภาคเอกชนจัดกิจกรรม Business Matching และ
เพิ่มชองทางการจาํ หนายตลาด Online ผานแพลตฟอรม ตา งๆ
3) สนับสนุนแหลงเงินลงทุนดอกเบ้ียต่ําใหแกกลุมหรือสหกรณการเกษตรท่ีมีศักยภาพเพ่ือพัฒนา
โครงสรา งพ้ืนฐาน และชองทางการตลาด
4.3.3 โครงการสง เสรมิ ดานอาชีพ และดา นอ่นื ๆ ในพื้นทโ่ี ครงการเขอื่ นทดนา้ํ ผาจกุ
1) สนับสนุนองคความรูการทอผาซิ่นตีนจกในพื้นท่ี ตําบลนํ้าอาง อําเภอตรอน การแปรรูปผลิตภัณฑ
ตางๆ อาทิ การทําปลาสม ปลาเค็ม หมูแดดเดียว และขนม ในพ้ืนที่ตําบลวังแดง อําเภอพิชัย การแปรรูปไมไผ
อาทิ การสานตะกรา ในพื้นท่ีตําบลคุงตะเภา อําเภอเมือง และเกษตรผสมผสาน ในพื้นท่ีตําบลขอยสูง อําเภอ
ตรอน
2) หนวยงานภาครัฐควรสงเสรมิ ใหมีการจางแรงงานคนในชุมชนตําบลทุงยั้ง และตําบลไผลอม อําเภอ
ลับแล ที่เสยี ประโยชนจากการถูกเวนคนื ที่ดนิ ในการกอ สรา งเขอื่ นฯ เพ่ือเปนรายไดเสริม
76
3) หนวยงานภาครัฐที่เก่ียวของควรสนับสนุนเงินทุนในการจัดรูปที่ดิน/ปรับพ้ืนที่การเกษตร และองค
ความรูดานจัดรูปท่ดี ินใหแกเกษตรกรท้ังในพื้นท่ีฝงบน ฝง ซาย และฝงขวา เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ถูกตอง และให
เกษตรกรเขา มามสี วนรว มเพอ่ื พฒั นาพืน้ ท่ีรว มกับภาครัฐ
4.4 (ราง) ขอเสนอโครงการเชิงบูรณาการ เพ่ือลดผลกระทบ ติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดลอม และ
สงเสริมการปรับเปล่ียนการผลิตของเกษตรกรในพน้ื ที่โครงการเข่อื นทดน้าํ ผาจกุ เปนสินคาท่ีมีอนาคต (Future
Crop) สิง่ แวดลอม ภายใตโ ครงการเขอื่ นทดน้าํ ผาจกุ จังหวดั อุตรดิตถ
จากผลการศกึ ษา ผลการประชุมหารือกับผูมีสวนไดสวนเสียในพ้ืนที่โครงการฯ สามารถนํามาประมวล
วิเคราะหขอมูล และจัดทํา(ราง) ขอเสนอโครงการเชิงบูรณาการ เพ่ือใหหนวยงานท่ีมีสวนเกี่ยวของนาํ ไปพิจารณา
ประกอบการจัดทําขอเสนอโครงการยอย กิจกรรมตางๆ โดยขอเสนอโครงการดังกลาว ประกอบดวย 1
แผนปฏิบัติการ และ 1 แผนงาน ดังน้ี
4.4.1 แผนปฏิบัติการลดผลกระทบส่ิงแวดลอมและติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดลอม ภายใต
โครงการเขอื่ นทดนา้ํ ผาจุก จงั หวัดอุตรดติ ถ
4.4.2 แผนงานดานสงเสริมการปรับเปลี่ยนการผลิตของเกษตรกรในพื้นท่ีโครงการเข่ือนทดนํา้ ผาจุก เปน
สินคา ที่มอี นาคต (Future Crop) หรอื สนิ คา ทางเลอื กของเกษตรกร
1) โครงการสง เสรมิ การบริหารจัดการสนิ คา เกษตรดานพชื ในพืน้ ที่โครงการเข่อื นทดน้ําผาจกุ
2) โครงการสงเสริมการบริหารจัดการสินคา เกษตรดานปศุสัตว และการเพาะเล้ียงสัตวน้ํา ในพ้ืนที่
โครงการเขื่อนทดนาํ้ ผาจกุ
3) โครงการสงเสรมิ ดา นอาชพี และดา นอนื่ ๆ ในพนื้ ทโ่ี ครงการ เขอ่ื นทดนํา้ ผาจุก
พิจารณารายละเอียดไดดังนี้
(ราง) ขอ เสนอโครงการ รายละเอียด
ความสอดคลอ งเชื่อมโยงกับทิศทางการพฒั นาภาค แผนระดบั ท่ี 1 : ยทุ ธศาสตรช าติ 20 ป (พ.ศ.2561 – 2580)
และยุทธศาสตรในแตละระดบั ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปน
ขอ เสนอโครงการ จํานวน 1 แผนปฏิบัตกิ าร และ มิตรตอ สิ่งแวดลอม เนนการพัฒนาเพื่อบรรลุเปาหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน
1 แผนงาน ดังนี้ ในทกุ มติ ิ ท้ังดา นสงั คม เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม ธรรมาภบิ าล และความเปน
1. แผนปฏบิ ัตกิ ารลดผลกระทบสงิ่ แวดลอมและ หุนสวนความรวมมือระหวางกันอยางบูรณาการ ใชพื้นที่เปนตัวตั้งในการ
ติดตามตรวจสอบผลกระทบสงิ่ แวดลอม ภายใต กําหนดกลยุทธและแผนงาน และการใหทุกฝายทเ่ี กี่ยวของไดเขามามีสวน
โครงการเขอื่ นทดนํา้ ผาจกุ จังหวัดอุตรดติ ถ รวมดําเนินการบนพื้นฐานการเติบโตรวมกัน ไมวาจะเปนทางเศรษฐกิจ
สงิ่ แวดลอม และคณุ ภาพชีวิต
2.แผนงานดานสงเสรมิ การปรับเปลย่ี นการผลิต แผนระดับท่ี 2 ไดแก แผนแมบทประเดน็ (3) เกษตร แผนแมบทยอย
ของเกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการเขอ่ื นทดน้าํ ผาจุก การพัฒนาระบบนิเวศการเกษตร
เปนสินคาท่ีมีอนาคต (Future Crop) หรือสนิ คา : เนนความสําคัญเพ่ิมประสิทธิภาพ การจัดการและรักษาฐานทรพั ยากร
ทางเลอื กของเกษตรกร ทางการเกษตรที่สําคัญ เพื่อสนับสนุนการสรางมูลคาและความม่ันคง
2.1 โครงการสง เสรมิ การบริหารจัดการสินคา อาหาร รวมท้ังการพัฒนาระบบติดตามเฝาระวังและวางระบบเตือนภัย
เกษตรดา นพชื ในพืน้ ทโี่ ครงการเขอ่ื นทดนาํ้ ผาจุก และกลไกการจัดการปญหาทอ่ี าจจะเกดิ ข้นึ กับสินคาเกษตรและผลิตภณั ฑ
2.2 โครงการสง เสรมิ การบริหารจดั การสินคา ในมิติตาง ๆ ทั้งดานอุปสงคและอุปทาน อาทิ เสถียรภาพราคาสินคา โดย
เกษตรดา นปศุสตั ว และการเพาะเลยี้ งสตั วน ํา้ ใน กําหนดมาตรการรองรบั มาตรการเตือนภัย มาตรการการปรับตวั ระบบ
พน้ื ทโ่ี ครงการเขอื่ นทดน้ําผาจุก สํารองอาหารในภาวะวิกฤติ และการประกันความเสี่ยงใหทันกับ
2.3 โครงการสง เสรมิ ดา นอาชีพ และดานอื่น ๆ ใน สถานการณ
พ้ืนท่โี ครงการ เข่อื นทดนาํ้ ผาจกุ แผนแมบ ทการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนาํ้ 20 ป (พ.ศ.2561-
77
(ราง) ขอ เสนอโครงการ รายละเอียด
2580) ดานที่ 6 การบริหารจัดการน้ํา (คณะกรรมการทรัพยากรน้ํา
แหงชาติ และคณะกรรมการลุม นํา้ ฯลฯ)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (ยทุ ธศาสตรท ่ี
4 บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลและ
ยั่งยนื )
(รา ง) กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 13
ยุทธศาสตรท ี่ 2 ดานความสามารถในการแขงขนั ท่ปี ระเทศไทยกาํ ลงั เผชิญ
ขอจํากัดในการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตรท่ี 4 ดานโอกาสและ
ความเสมอภาคทางสงั คม ที่โอกาสของเกษตรกรไทยในการขยับสถานะสูง
กวาเสนความยากจนนอยลง ในขณะที่ความเหลื่อมล้ําเพิ่มสูงข้ึน
ยุทธศาสตรท ่ี 5 ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จากการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมอิ ากาศมแี นวโนม ทวีความรุนแรงขน้ึ และจะเปนภยั คกุ คามสําคัญ
ท้ังตอทรพั ยากรธรรมชาติและคุณภาพชวี ิต
แผนระดับท่ี 3 ไดแก
แผนปฏบิ ัติราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ประจําป 2564
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ภายใตแผนปฏิบัติราชการกระทรวง
เกษตรและสหกรณ 3 ป (ป 2563-2565) ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) ภายใตวิสัยทัศน
ภาคเกษตรมั่นคง เกษตรกรม่ังคั่ง ทรัพยากรเกษตรยั่งยืน และมีความ
เกีย่ วขอ ง
แผนพฒั นาภาคเหนอื ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๕ อนุรกั ษและฟน ฟปู า
ตนน้ําใหคงความสมบูรณ จัดระบบบรหิ ารจัดการนํ้าอยางเหมาะสมและ
เช่ือมโยงพ้ืนท่ีเกษตรใหทั่วถึงปองกันและแกไขปญหามลพิษหมอกควัน
อยางย่ังยืน ท่ีมุงเนนการพัฒนาการจัดการนาํ้ เชิงลุมน้ําท้ังระบบในลุมนํ้า
หลักของภาค และพัฒนาแหลงกักเก็บน้ําธรรมชาติขนาดใหญที่สําคัญ
เพอ่ื ใหเกิดความสมดุลทั้งในดา นการจัดหา การใช และอนรุ กั ษ
แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณภาคเหนือ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3
พัฒนาศักยภาพการผลิตสินคาเกษตรอินทรีย เกษตรปลอดภัย เกษตรแปรรูป
มูลคาสูง ท่ีมุงเนนท้ัง 5 กลยุทธ ไดแก สนับสนุนปจจัยการผลิตใหแก
เกษตรกรเพ่ือใหพึ่งพาตนเองไดอยางย่ังยืน สรางกลไกและเครือขายการ
ขับเคล่ือนการพฒั นาการผลิตสนิ คา บริหารจดั การโครงสรางพืน้ ฐานที่เอือ้
ตอการผลิตอยางมีประสิทธิภาพ สงเสริมการรวมกลุม เช่ือมโยงเครือขาย
ระหวางผูผลิต และสรางเกษตรกรรุนใหมใหเขาสูระบบเกษตรอินทรีย
เกษตรปลอดภยั ใหมากขึน้
แผนพฒั นากลมุ จงั หวัดเหนือลาง 1 ประเดน็ พัฒนาท่ี 2 พัฒนาการ
บรหิ ารทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม และพลงั งานสะอาด ตลอดจน
อนรุ ักษฟน ฟูอยา งเปน ระบบและยัง่ ยืน
การวิเคราะหหวงโซคุณคา (Value Chain) และ 1. แผนปฏิบัติการลดผลกระทบส่ิงแวดลอมและติดตามตรวจสอบ
Gap Analysis ของพืน้ ที่และสนิ คาเกษตรในพ้นื ที่ ผลกระทบสิ่งแวดลอม ภายใตโ ครงการเขื่อนทดนํ้าผาจกุ จังหวัดอตุ รดิตถ
โครงการเข่อื นทดนํา้ ผาจกุ โดยดําเนินงานใน 3 ระยะ ไดแก แผนปฏิบัติการลดผลกระทบ
(ราง) ขอ เสนอโครงการ 78
รายละเอยี ด
ส่ิงแวดลอมในระยะกอสราง แผนปฏิบัติการลดผลกระทบส่ิงแวดลอมใน
ระยะดําเนนิ การ และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบสงิ่ แวดลอม (หนวยงาน
รับผดิ ชอบหลัก: กรมชลประทาน ) ดงั น้ี
ตนทาง
1) ประชาสัมพั น ธโครงการ สรางความเขาใจใหชุมชน(กรม
ชลประทาน)
2) ชดเชยทรัพยส นิ (กรมชลประทานและหนวยงานทเ่ี กยี่ วของ)
3) ลดผลกระทบดานนิเวศวิทยาทางน้ําและทรัพยากรประมง (กรม
ประมง)
4) ปรับปรุงสภาพภูมิสถาปตยกรรมบริเวณพื้นที่หัวงานเขื่อนและ
สภาพภูมิทัศนพ้ืนท่ีใกลเคียงแนวคลองชลประทานที่ตัดผานชุมชน (กรม
ชลประทาน)
5) ปองกันแกไขผลกระทบดานโบราณคดีและประวัติศาสตร (กรม
ศลิ ปากร)
กลางทาง
1) บรหิ ารจดั การนํ้าในพนื้ ท่แี บบมสี ว นรวมทุกภาคสวนที่เก่ยี วขอ ง
(กรมชลประทาน)
2) สรางความเขม แข็งใหกลมุ ผใู ชน ํ้าในพ้นื ทโี่ ครงการ (กรม
ชลประทาน/ กรมสงเสริมสหกรณ)
3) สง เสรมิ และพัฒนาการเกษตรหลงั มีโครงการ (กรมชลประทานและ
หนว ยงานท่เี กีย่ วของ)
ปลายทาง
1) ติดตามตรวจสอบดา นคณุ ภาพน้าํ ผิวดิน (กรมชลประทาน)
2) ติดตามตรวจสอบดานเศรษฐกิจสังคม (กรมชลประทาน และ
สาํ นักงานเศรษฐกจิ การเกษตร)
3) ตดิ ตามตรวจสอบดา นอทุ กวทิ ยาน้าํ ผวิ ดิน (กรมชลประทาน)
4) ติดตามตรวจสอบดานนํ้าใตดินและคุณภาพนํ้าใตดิน(กรม
ชลประทาน)
5) ติดตามตรวจสอบดานนิเวศวิทยาทางนํ้าและทรัพยากรประมง
(กรมประมง)
6) ติดตามตรวจสอบดานทรพั ยากรดนิ และการใชท ี่ดนิ (กรมพฒั นาทดี่ นิ )
7) ติดตามตรวจสอบการดําเนินกิจกรรมทางการเกษตร และติดตาม
สถานการณการผลิตสินคเกษตรสําคัญในพ้ืนท่ีโครงการ (กรมสงเสริม
การเกษตร)
8) ติดตามเฝาระวังโรคติดตอนําโดยยุง (กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสขุ )
9) ติดตามเฝาระวังโรคพยาธิใบไมของคน (กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสุข)
10) ติดตามการปฏิบัติตามการปองกันแกไขและลดผลกระทบ
สง่ิ แวดลอ ม และตดิ ตามตรวจสอบผลกระทบสิง่ แวดลอ ม (กรมชลประทาน)
(ราง) ขอ เสนอโครงการ 79
รายละเอียด
11) ประเมินการปฏิบัติตามการปองกันแกไขและลดผลกระทบ
ส่ิงแวดลอม (สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ ม)
2. แผนงานดานสงเสริมการปรับเปลี่ยนการผลิตของเกษตรกรในพ้ืนท่ี
โครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก เปนสินคาท่ีมีอนาคต (Future Crop) หรือ
สนิ คา ทางเลือกของเกษตรกร ไดแก
2.1 โครงการสงเสริมการบริหารจัดการสินคา เกษตรดานพชื ในพ้ืนท่ี
โครงการเข่ือนทดน้าํ ผาจุก ดําเนินการในรูปแบบเชิงบูรณาการเพื่อขับเคล่ือน
แผนงานโครงการในระยะ 3 ป (ปงบประมาณ 2566-2568) ในพื้นท่ี
โครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุกระหวางหนวยงานในสังกัด กษ. เพื่อสงเสริม
สนับสนุน และพัฒนาตอยอดดานการผลิต การแปรรูป และการตลาด
ประกอบดว ยกจิ กรรมยอย ดงั นี้
ตนทาง
1) สงเสริมสนับสนุนองคความรูดานการผลิตสินคาเกษตรปลอดภัย/
เกษตรอินทรีย เพื่อสรางมูลคาเพ่ิมใหกับสินคา และสอดคลองกับความ
ตอ งการของตลาดในปจ จุบันที่ผบู รโิ ภคหนั มาสนใจบรโิ ภคอาหารเพ่ือสขุ ภาพ
มากขึ้น รวมทั้งการสรางระบบการเขาถึงแหลงผลิต/แหลงจําหนายสินคา
(ระบบตรวจสอบยอนกลับ)
2) สนับสนุนองคความรูเ ก่ียวกับการปองกันและกําจัดโรคแมลงศตั รูพืช
ท้ังขาวและพืชไร โดยประยุกตใชเทคโนโลยีและนวัตกรรม และภูมิปญญา
ทองถิ่น
3) สนับสนุนปจจัยการผลิต อาทิ เมล็ดพันธุ ปุยยาคุณภาพดี ราคาไม
แพง และสงเสริมการใชสารชีวภัณฑ วัสดุเหลอื ใชทางการเกษตรในทองถ่ิน
มาผลิตสารปอ งกันและกาํ จดั โรคแมลงศัตรพู ืชไวใชเ อง
4) สนับสนุนการใชปุยตามคาวิเคราะหดิน เพื่อทดแทนการใชสารเคมี
ทางการเกษตรที่มีราคาสูง และเปนการลดตนทนุ การผลิต โดยเฉพาะในพนื้ ที่
ฝง ซา ยของโครงการ (ตาํ บลบา นโคน และ ตาํ บลนายาง อําเภอพิชัย)
5) สนับสนุนการใชเคร่ืองจักรกลการเกษตรเพ่ือทดแทนแรงงานคน
เนื่องจากเกษตรกรสวนใหญมีแนวโนมอายุสูงข้ึน ประกอบกับอัตราคาจาง
แรงงานในทอ งถิน่ คอนขางสูงและหายาก
6) พัฒนาแหลงน้ําและระบบการระบายน้ําเพ่ือการเกษตรท่ีสามารถ
รองรับปริมาณนํ้า และการระบายน้ําในชวงฤดฝู นไดทัน เพื่อปองกันการเกิด
นา้ํ ทวมขงั พ้นื ทขี่ องเกษตรกร และพชื ผลทางการเกษตรเสียหาย
7) พัฒนาระบบฐานขอมูลสินคาเกษตร และโครงสรางพื้นฐานดานการ
ผลิตและการตลาดในพื้นท่ีโครงการเพื่อใชประโยชนในการวางแผนพัฒนา
พื้นท่ีไดอยางสอดคลองกับความตองการ และเกิดประสิทธิผลตอเกษตรกร
อยา งเปน รปู ธรรม
กลางทาง
สนับสนุนสงเสริมใหมีการแปรรูปผลิตภัณฑจากขาว และสรางตรา
สินคา (Brand) ใหแก ผลิตภัณฑของเกษตรกรในพื้นท่ีตําบลไผลอม
อาํ เภอลับแล จงั หวดั อตุ รดติ ถ
(ราง) ขอ เสนอโครงการ 80
รายละเอียด
ปลายทาง
ส นั บ ส นุ น ก า ร จํ า ห น า ย ผ ล ผ ลิ ต ใน ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ซื้ อ ข า ย ล ว ง ห น า
ในรูปแบบเกษตรพันธสัญญา (Contract Farming) รวมทั้งการสราง
เครือขายเช่ือมโยงการตลาดสินคา เกษตรในพื้นท่ีโครงการในรูปแบบกลุม
เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และสหกรณการเกษตร โดยบูรณาการรวมกับ
ภาคเอกชนจัดกิจกรรม Business Matching และเพิ่มชองทางการ
จําหนา ยผานชองทางตลาด Online
2.2 โครงการสงเสริมการบริหารจัดการสินคาเกษตรดานปศุสัตวและ
ประมงในพืน้ ทโ่ี ครงการเขอ่ื นทดนํา้ ผาจุก
ตนทาง
1) สนับสนุนองคความรูดานการเล้ียงปศุสัตว อาทิ สุกร และไกไข การ
เพาะเลยี้ งสัตวนาํ้ และการทําโคกหนองนา ใหกับเกษตรกรในพ้ืนที่ ตําบล
วังกระพ้ี อําเภอเมอื ง จงั หวัดอุตรดติ ถ
2) สงเสริมสนับสนุนปจจัยการผลิตปศุสัตวและการเพาะเล้ียงสัตวนํ้า
ใหกับเกษตรกรในพ้ืนท่โี ครงการนําไปเปนพอแมพันธุ รวมถึงอาหารสตั วแ ละ
ยารักษาโรคที่จําเปน เพ่ือเปนการลดตนทุนการผลิตที่มีราคาเพิ่มสูงขึ้น
สามารถประกอบเปนอาชีพเสริมเพิ่มรายไดใหแกครัวเรือน โดยเฉพาะใน
พน้ื ที่ตําบลผาจุก
3) สงเสริมการรวมกลุมเกษตรกรผูเล้ียงโค/กระบือ ในพื้นที่ตําบลดาน
แมคาํ มนั อาํ เภอลับแล
4) สนับสนุนการเขา ถึงแหลงเงินลงทนุ ดอกเบ้ียตํา่ เพื่อใหเกษตรกรนําไป
ตอยอดในการเลีย้ งสัตวและการประมง
5) พัฒนาและปรับปรุงแหลงน้ําใหมีปริมาณเพียงพอสําหรับการเล้ียง
ปศสุ ัตวแ ละการเพาะเล้ียงสัตวนํ้าจืด รวมท้ังปรับสภาพแวดลอมที่เหมาะสม
ตอการเล้ยี ง และการปองกนั การเกิดโรคระบาด
6) สนับสนุนใหเกษตรกรจัดสรรพื้นท่ีบางสวนสําหรับกการปลูกพืช
อาหารสัตว อาทิ แปลงปลูกหญาเล้ียงโค เพ่ือใหเกษตรกรมีเสบียงอาหารสัตว
ท่ีเพียงพอ และลดปญ หาไมมพี ้ืนที่เลยี้ ง
7) พัฒนาระบบฐานขอมูลสินคาเกษตร และโครงสรางพ้ืนฐานดานการ
ผลิตและการตลาดในพื้นท่ีโครงการเพ่ือใชประโยชนในการวางแผนพัฒนา
พ้ืนที่ไดอยางสอดคลองกับความตองการ และเกิดประสิทธิผลตอเกษตรกร
อยา งเปน รูปธรรม
กลางทาง
สนับสนุนสงเสริมใหมีการแปรรูปสัตวน้ํา และสรางผลิตภัณฑและ
ตราสนิ คา (Brand) ของชุมชน โดยเฉพาะในพน้ื ทีฝ่ ง บน ตําบลงว้ิ งาม
ปลายทาง
1) สนับสนุนการจําหนายผลผลิตในลักษณะการซื้อขายลวงหนา
ในรปู แบบเกษตรพันธสญั ญา
(Contract Farming) เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นใจดานการตลาดและราคา
จาํ หนา ยผลผลติ
2) สรางเครือขายเช่ือมโยงการตลาดสินคาเกษตรในพ้ืนท่ีโครงการใน
(ราง) ขอ เสนอโครงการ 81
รายละเอยี ด
รูปแบบกลุมเกษตรกร
วสิ าหกิจชุมชน และสหกรณการเกษตร โดยบูรณาการรวมกับภาคเอกชนจัด
กิจกรรม Business Matching และเพ่ิมชองทางการจําหนายตลาด Online
ผา นแพลตฟอรม ตางๆ
3) สนับสนุนแหลงเงินลงทุนดอกเบี้ยต่ําใหแกกลุมหรือสหกรณ
การเกษตรท่มี ศี กั ยภาพเพื่อพฒั นาโครงสรา งพน้ื ฐาน และชองทางการตลาด
2.3 โครงการสงเสริมดานอาชีพ และดานอ่ืน ๆ ในพ้ืนท่ีโครงการ
เขื่อนทดนํ้าผาจกุ
1) สนับสนุนองคความรูการทอผาซ่ินตีนจกในพื้นที่ ตําบลน้ําอาง
อําเภอตรอน การแปรรูปผลิตภัณฑตางๆ อาทิ การทําปลาสม ปลาเค็ม
หมูแดดเดียว และขนม ในพื้นท่ีตําบลวังแดง อําเภอพิชัย การแปรรูปไมไผ
อาทิ การสานตะกราในพ้ืนที่ตําบลคุงตะเภา อําเภอเมือง และเกษตร
ผสมผสาน ในพืน้ ที่ตาํ บลขอยสูง อาํ เภอตรอน
2) ควรสงเสริมใหมีการจางแรงงานคนในชุมชน ตําบลทุงยั้ง และ
ตําบลไผลอม อําเภอลับแล ท่ีเสียประโยชนจากการถูกเวนคืนท่ีดินในการ
กอ สรางเขื่อนฯ เพ่อื เปน รายไดเสริม
3) ควรสนับสนุนเงินทุนในการจัดรูปที่ดิน/ปรับพื้นท่ีการเกษตร ใหองค
ความรูดานจัดรปู ท่ีดินใหแกเกษตรกรท้ังในพ้ืนที่ฝงบน/ซาย/ขวา เพ่ือสรา ง
แรงจูงใจใหเ กษตรกรหนั มาจัดรปู ท่ีดินใหมากขน้ึ
บทท่ี 5
สรุป และขอ เสนอแนะ
5.1 สรุป
5.1.1 สถานภาพทางเศรษฐกิจดานรายไดและรายจายของครัวเรือนท่ีเก่ยี วของกับการเกษตร และ
กจิ กรรมนอกการเกษตรจากครวั เรอื นเกษตรกรในพนื้ ท่ีโครงการ
การถือครองทดี่ นิ และการใชประโยชนท ่ดี ิน : ครัวเรอื นเกษตรกรในพืน้ ท่ีฝง บนของโครงการ
เขอ่ื นทดน้าํ ผาจุกมีพ้ืนท่ีการเกษตรมากที่สุดเฉลีย่ 34.28 ไรตอครัวเรอื น ซง่ึ มมี ากกวาพื้นที่ฝง ขวาของโครงการฯ
(เฉลีย่ 31.32 ไรตอครัวเรือน) และพื้นที่ฝง ซายของโครงการฯ (เฉลยี่ 29.09 ไรต อครวั เรือน) โดยสวนใหญป ลกู
ขาว (นาปและนาปรัง) เฉลย่ี 25.05 ไรต อครัวเรือน และมีประสทิ ธภิ าพการใชท ีด่ นิ มากทส่ี ุดเชนกัน อยูที่รอยละ
181.53 รองลงมา ไดแกพน้ื ที่ฝง ขวา และฝง ซา ยของโครงการ เชน เดยี วกับการถอื ครองท่ดี ิน ทีค่ รวั เรือนพนื้ ทฝ่ี ง
บนของโครงการมีมากท่ีสุด เฉล่ีย 62.33 ไรต อครัวเรือน ซ่งึ สว นใหญใชนาํ้ จากโครงการสบู นาํ้ ดวยไฟฟา (เฉลีย่
38.11 ไรตอครวั เรือน) โดยถอื ครองที่ดนิ มากกวาพื้นท่ฝี ง ขวาของโครงการฯที่ถอื ครองที่ดนิ เฉลี่ย 48.51 ไรตอ
ครัวเรอื น) และครัวเรือนเกษตรในพ้ืนทฝ่ี ง ซายของโครงการฯ ทถ่ี ือครองท่ีดนิ เฉล่ีย 46.22ไรตอครวั เรือน โดย
ครัวเรอื นเกษตรทง้ั สองพื้นท่ิ สวนใหญใชนํา้ จากนา้ํ ฝน
ทรพั ยสินการเกษตร : ครัวเรือนเกษตรในพนื้ ที่ฝง บนของโครงการฯ มที รัพยส นิ การเกษตร
ทัง้ หมดมากกวา ครวั เรอื นเกษตรกรในพืน้ ทฝ่ี ง อน่ื ๆ โดยมที รัพยสนิ การเกษตรตน ป 2,245,217 บาท และมี
ทรัพยส ินการเกษตรปลายป 2,498,348 บาท รองลงมาไดแก พื้นทฝ่ี งซา ย และพ้ืนที่พื้นทฝ่ี งขวา
หนีส้ ิน และแหลงกูยมื เงนิ : ครวั เรอื นเกษตรกรในทกุ พืน้ ทโี่ ครงการ มีหน้ีสนิ ที่เกดิ จากการกูยมื
เงนิ จากธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) มากทีส่ ดุ โดยครวั เรอื นเกษตรกรในพ้ืนที่ฝงซาย
ของโครงการมีหนส้ี นิ เฉลีย่ มากทสี่ ดุ จาํ นวน 247,892 บาทตอครัวเรือน รองลงมาไดแ ก ครวั เรือนเกษตรกรในพ้ืนที่
ฝงขวา และฝงบน จํานวน 244,474 บาทตอครวั เรือน และ 241,094 บาทตอครัวเรือน ตามลําดับ
ทรัพยสินนอกการเกษตรปลายป : ครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนที่ฝง บนมีทรัพยสินดงั กลาวมากท่ีสุด
จํานวน 694,152 บาทตอครัวเรือน รองลงมาไดแ ก ครวั เรอื นเกษตรกรในพื้นท่ีฝง ขวา และฝงซายจํานวน 668,185
บาทตอ ครัวเรอื น และ 628,721 บาทตอครัวเรือน ตามลําดบั โดยทรพั ยส นิ สว นใหญของครวั เรือนเกษตรในพื้นท่ี
โครงการเปนเก่ียวกับบานท่ีอยูอาศัยรวมร้ัว แตไมรวมที่ดิน คิดเปนรอ ยละ 48.38 43.60 และ 51.49 ของมูลคา
ทรัพยสนิ นอกการเกษตรทงั้ หมด
รายได รายจา ยใน-นอก ภาคเกษตร รายไดเ งนิ สดสทุ ธิ และเงนิ ออมสทุ ธิของครวั เรอื นเกษตร :
ครัวเรือนเกษตรในพ้ืนท่ีฝงบนของโครงการฯ มีรายไดสุทธิทางการเกษตร 231,460 บาทตอครัวเรือน (เปนเงนิ สด
สุทธิทางการเกษตร 192,586 บาทตอครัวเรือน) มีรายไดเงินสดนอกการเกษตร 141,261 บาทตอครัวเรือน มี
รายจายเงินสดนอกการเกษตร 182,998 บาทตอครัวเรือน มีรายไดเงินสดสุทธิครัวเรือน 329,484 บาทตอ
ครัวเรือน มีเงินสดคงเหลือกอนหักชําระหน้ี 150,849 บาทตอครัวเรือน และมีเงินออมสุทธิ 189,723 บาทตอ
ครัวเรือน ครัวเรือนเกษตรในพื้นท่ีฝงซายของโครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก มีรายไดสุทธิทางการเกษตร
146,108 บาทตอครัวเรือน (เปนเงินสดสุทธิทางการเกษตร 134,642 บาทตอครัวเรือน) มีรายไดเงินสดนอก
การเกษตร 171,092 บาทตอครัวเรือน มีรายจายเงินสดนอกการเกษตร 199,618 บาทตอครัวเรือน มีรายไดเงินสด
สุทธิครัวเรือนรวม เทากับ 305,734 บาทตอครัวเรือน มีเงินสดคงเหลือกอนหักชําระหนี้ 106,116 บาทตอ
ครัวเรอื น และมีเงินออมสทุ ธิ 117,582 บาทตอครวั เรอื น ครัวเรอื นเกษตรในพื้นที่ฝงขวาของโครงการเขื่อนทด
นํ้าผาจุก มีรายไดสุทธิทางการเกษตร 173,926 บาทตอครัวเรือน (เปนเงินสดสุทธทิ างการเกษตร 168,710 บาท
ตอครัวเรือน) มีรายไดเงินสดนอกการเกษตร 124,004 บาทตอครัวเรือน และรายจายเงินสดนอกการเกษตร
198,814 บาทตอ ครัวเรอื น มีรายไดเงินสดสุทธิครัวเรอื น 292,714 บาทตอครัวเรือน มีเงินสดคงเหลือกอนหักชาํ ระหน้ี
83
93,900 บาทตอครัวเรือน และมีเงินออมสุทธิรวม เทากับ 99,116 บาทตอครัวเรือน สรุปไดวา ครัวเรือน
เกษตรกรในพน้ื ที่ฝง บนของโครงการ ฯ มีเงินออมสุทธิมากกวาครัวเรือนเกษตรกรท่ีอยูในพื้นที่ฝงอ่ืน ๆ สาเหตุ
สวนหน่ึงเกิดจากครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่ฝงบนของโครงการ ฯ มีประสิทธิภาพการใชที่ดินสูงกวา กลาวอีกนัย
หน่ึงคอื ครัวเรือนเกษตรกรมีการใชป ระโยชนจ ากที่ดินเพือ่ การเกษตรมากกวา โดยเฉพาะการปลูกขา วนาปและนา
ปรัง สามารถทําการผลิตไดมากกวา 1 รอบการผลิตตอปในพื้นที่เดิม เนื่องจากมีแหลงน้ําจากการใชบ ริการสถานี
สบู น้าํ ดวยไฟฟา ประกอบกบั มรี ายจา ยเงินสดนอกการเกษตรทตี่ ํา่ กวา ครวั เรอื นเกษตรกรในพนื้ ที่ฝง อนื่ ๆ
การใชป ระโยชนจากแหลงน้ํา และการบรกิ ารของภาครฐั : ทุกครัวเรือนเกษตรกรในพื้นทฝ่ี ง บน
ของโครงการฯ เปนสมาชิกกลุมผใู ชนํ้า ฯ รองลงมาไดแก ครวั เรอื นเกษตรกรในพนื้ ที่ฝง ซายและฝงขวา คิดเปนรอย
ละ 67.69 และ 50.85 ตามลําดบั
ประโยชนตอ การผลิตสินคาเกษตร : ครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญในพื้นที่ฝง ขวา ฝง ซาย และฝง
บน คิดเปนรอ ยละ 83.05 58.46 และ 44 เห็นวาโครงการเขื่อนทดน้ําผาจกุ จังหวัดอุตรดิตถ มีประโยชนตอ การ
ผลติ สินคาเกษตรระดบั มาก โดยเฉพาะชวยเพิ่มจํานวนแหลงนาํ้ ในการทําการเกษตรใหมากข้ึน และชวยลดปญหา
การเกดิ อุทกภยั
การแกไขปญหานํ้าเพ่ือการเกษตร : ทุกครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนท่ีฝงขวา และฝงบนของ
โครงการฯ เห็นวา โครงการสามารถชวยแกไขปญหาน้ําเพ่ือการเกษตรไดในระดับมาก เชนเดียวกับครัวเรือน
เกษตรในพื้นทฝ่ี งซายของโครงการฯ ท่ีเห็นวาแกไขปญหาน้าํ ไดในระดับมาก รอ ยละ 81.63 โดยเฉพาะดานแกไข
ปญหาดานการมีนํา้ ทําการเกษตรเพิ่มขนึ้ ในฤดูแลง
การประสบปญหาเกีย่ วกับนํ้าอุปโภค(ดา นการเกษตร) และการบริโภคในครัวเรือน : ครัวเรอื น
เกษตรในพ้ืนท่ีฝงบนและฝงซายของโครงการเขื่อนทดนํ้าผาจุก ไมประสบปญหาเก่ียวกับน้ําอุปโภคบริโภคใน
ครัวเรือน สวนครัวเรอื นเกษตรกรในพ้ืนท่ีฝงขวาของโครงการ ประสบปญ หาเก่ียวกับน้ําอุปโภค (ดานการเกษตร)
อาทิ ปญหานํ้าแลง และนํ้าทว มทําใหผลผลิตไดรับความเสียหาย
คาใชจายในการจัดหาน้ําของครัวเรือนเกษตรกร : ครัวเรือนเกษตรกรในพื้นท่ีฝงขวาของ
โครงการฯ มีคาใชจายในการจัดหาน้ํามากท่ีสุดเฉล่ีย 19,725 บาทตอป รองลงมาไดแก ครัวเรือนเกษตรกรใน
พ้นื ทีฝ่ ง ซาย และฝง บนของโครงการ จํานวน 13,896 บาทตอป และ7,128 บาทตอป ตามลาํ ดบั
ปญหาเรือ่ งดนิ : ครวั เรือนเกษตรกรในพื้นท่ีฝงบนของโครงการฯ รอ ยละ 91.84 ไมประสบปญหาดิน
และสภาพดินท่ีทําการเกษตร อีกท้งั เกษตรกรในทุกครัวเรือนเห็นวามสี ภาพพื้นทเ่ี หมาะสมตอ การปลกู พืช และรอย
ละ 95.92 เห็นวาพ้ืนท่ีมีสภาพพ้ืนท่ีเหมาะสมตอการเล้ียงสัตว สวนครัวเรือนเกษตรกรในพื้นท่ีฝงขวาของ
โครงการฯรอยละ 88.14 และครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนท่ีฝงซายของโครงการฯ รอยละ 84.62 ไมประสบปญหา
ดินและสภาพดินท่ีทําการเกษตร ดิน แตมีบางพื้นท่ีที่ประสบปญหา ไดดําเนนแกไขโดยการปรับปรุงบํารุงดินใหมี
ความอดุ มสมบูรณมากขึ้นดวยการใชป ยุ พชื สด ฯลฯ
ปญหาเร่ืองนํ้า : ทุกครัวเรือนเกษตรกรในพื้นท่ีฝงบนของโครงการฯไมประสบปญหาเร่ืองนํ้าและ
คุณภาพของน้ํา แตพบวามีครัวเรือนเกษตรกรมากถึงรอยละ 93.88 ไมมีบอนํ้าในไรนา ในพ้ืนที่ของตนเองทําให
ไมไดรับประโยชน และครัวเรือนเกษตรกรรอยละ 97.96 ไมประสบปญหาเรื่องการระบายน้ํากรณีที่มีฝนตก
นอกจากนี้ครวั เรือนเกษตรรอยละ 91.10 มีแหลง น้ําในหมูบ านเพ่อื ใชป ระโยชนก ารเกษตรและในครวั เรือน และมี
ปริมาณนํ้าที่เพียงพอตอ การประกอบอาชีพทางการเกษตร แมวาขณะนี้เขื่อนยังสรางไมเสร็จ เน่ืองจากมีแหลงนํ้าจาก
สถานีสูบน้าํ ดวยไฟฟาสนับสนุนในชวงท่ีนํ้าฝนมีไมเพียงพอ ครัวเรือนเกษตรกรรอยละ 98.46 ในพ้ืนที่ฝงซาย
ของโครงการฯ ไมประสบปญหานํ้าและคุณภาพของนํ้า โดยครัวเรือนเกษตรรอ ยละ 78.46 ไมประสบปญหาการ
ระบายน้ํากรณีที่มีฝนตกชุก นอกจากนี้ครัวเรือนเกษตรรอยละ 64.62 มีแหลงนํ้าในหมูบานเพ่ือใชประโยชน
การเกษตรและในครัวเรือน และมีปริมาณน้ําที่เพียงพอตอการประกอบอาชีพทางการเกษตร ครัวเรือนเกษตรกร
รอยละ 98.31 ในพ้ืนที่ฝงขวาของโครงการฯ ไมประสบปญหาน้ําและคุณภาพของนํ้ามากนัก และครัวเรือน
84
เกษตรกรรอยละ 78.46 ไมประสบปญหาการระบายน้ํากรณีท่ีมีฝนตกชุก เนื่องจากมีครัวเรือนเกษตรรอยละ
71.19 สามารถใชประโยชนท างการเกษตรและนําน้ํามาใชอุปโภคบริโภคในครัวเรือนไดจากแหลงนํ้าในหมูบา น แต
อยางไรก็ตาม ยังคงมีครัวเรอื นเกษตรรอยละ 50.85 ไมมบี อน้ําในไรนา ทําใหอาศัยนํ้าฝนในการเพาะปลกู เปนหลัก
เพราะเห็นวาการขุดบอบาดาล และสูบนํ้าจากแหลงใกลเคียง ทําใหมีตนทุนคา ใชจายเพ่ิมสูงขึ้น กระทบตอรายได
สุทธจิ ากการผลติ กิจกรรมทางการเกษตร
5.1.2 ทัศนคติ ความพึงพอใจ และผลกระทบเชิงบวกของครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการ
กอสรางเข่อื นทดน้ําผาจุก จังหวดั อตุ รดติ ถ
1) ทัศนคติ และความพงึ พอใจตอการดาํ เนนิ โครงการภาพรวม
ครัวเรือนเกษตรกรในพื้นท่ีฝงบนของโครงการฯ มีคะแนนความพึงพอใจตอการดําเนิน
โครงการเฉล่ียเทากับ 3.98 คะแนน โดยครัวเรอื นเกษตรกรรอยละ 36.73 พึงพอใจระดับมาก อีกรอยละ 34.70
พึงพอใจระดับมากที่สุด และรอยละ 20.49 พึงพอใจระดบั ปานกลาง ท่ีเหลืออีกรอยละ 4.08 พึงพอใจระดับนอย
ท่ีสุด ตามลําดับ ครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนที่ฝงซายของโครงการฯ มีคะแนนความพึงพอใจตอการดําเนิน
โครงการเฉล่ียเทากับ 3.86 คะแนน โดยครัวเรือนเกษตรกรรอยละ 33.85 พึงพอใจระดับปานกลาง อีกรอ ยละ
32.31 พึงพอใจระดับมาก และรอยละ 27.69 พึงพอใจท่ีเหลือระดับระดับมากท่ีสุด ที่เหลืออีกรอ ยละ 6.19 พึง
พอใจระดับนอย ตามลําดับ ครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่ฝงขวาของโครงการฯ มีคะแนนความพึงพอใจตอการ
ดําเนินโครงการเฉลี่ยเทา กับ 4.29 คะแนน โดยครัวเรือนเกษตรกรรอยละ 50.85 พึงพอใจระดับมากที่สุด อีกรอย
ละ 27.12 พงึ พอใจระดับมาก ท่ีเหลอื อีกรอ ยละ 22.03 พงึ พอใจระดับปานกลาง
2) ผลกระทบเชิงบวกท่ีมีตอ โครงการ
ครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการเข่ือนทดนํ้าผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ เห็นวาการดําเนิน
โครงการกอสรา งเข่ือนทดนํ้าผาจุกฯ ชวยใหสามารถดําเนินกิจกรรมการเพาะปลูกพืช และเล้ียงปศสุ ัตวไดมากขึ้น
เน่ืองจากพ้ืนที่มีความพรอมของแหลงน้ําทําใหมีศักยภาพและความเหมาะสมเอื้อตอการผลิตสินคาเกษตรทั้งพืช
ปศสุ ตั ว และประมง แตครัวเรือนเกษตรกรจะยังคงมีคาใชจายในการจัดหานํ้าตอ ปเพ่ือทําการเกษตรคอนขางสูง
ดังนั้น หากดําเนินการกอสรางเขื่อนและระบบสงนํ้าเสร็จแลว จนสามารถปลอยนํ้าได คาดวาจะชวยใหครัวเรือน
เกษตรกรสามารถลดคาใชจายในการจัดหาน้ําเพื่อใชในการเกษตรลดลงจากเดิมไดมาก หรืออาจลดจนไมมี
คาใชจายเกิดข้ึนเลย นอกจากน้ี ยังเห็นวา โครงการฯจะบรรเทาผลกระทบจากปญหาอุทกภัย หรือน้ําทว มขังใน
พ้ืนท่ี เนื่องจากการสรางระบบสงนาํ้ ภายใตโครงการฯ จะชวยใหพ้ืนท่ีสามารถระบายนํ้าไดดีข้ึน ลดความเสียหาย
ของผลผลิตทางการเกษตร เครื่องใชใ นครวั เรอื น ทอี่ ยูอ าศยั
3) การเวนคืนท่ีดนิ ประโยชนจากการใชบ ริการสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟา และความตอ งการเขา
รว มโครงการจดั รปู ที่ดนิ
ครัวเรือนเกษตรกรในพ้ืนที่ฝงบนของโครงการ ฯ มากถึงรอยละ 71.43 ไมไดรับผลกระทบ
จากการเวนคืนท่ีดิน เนื่องจากพ้ืนท่ีการเกษตรของตนเองไมไดอ ยูในรศั มีท่ีตองสรางระบบคลองสงน้ํา มีเพียงรอยละ
28.57 ที่ไดรับผลกระทบ แตไดรับเงินคาชดเชยสําหรับการเวนคืนที่ดินดังกลาว เฉล่ีย 120,000 บาทตอไร ทุก
ครัวเรือนเกษตรไดรับประโยชนจากการใชบริการสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟา เน่ืองจากมีการสรางสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟา
พรอมระบบสงน้ําตงั้ แตระยะแรกของการดําเนนิ โครงการกอสรางเขื่อนฯ ซึ่งเกษตรกรมีคาใชจายในการจัดหาน้ํา
เฉล่ยี 375.64 บาทตอไรตอป แตทกุ ครัวเรอื นเกษตรกรไมสนใจ เขารว มโครงการจัดรปู ทีด่ นิ เนอ่ื งจากเห็นวาพ้ืนที่
เกษตรของตนเองไมมีปญหาที่ตองดําเนินการจัดรูป ประกอบกับไมตองการสูญเสียที่ดินไปกับกิจกรรมการจัดรูป
ท่ีดิน รวมถึงในพื้นที่มีแหลงน้ําที่เพียงพออยูแลว ครัวเรือนเกษตรกรพ้ืนท่ีฝงซายของโครงการฯ รอยละ 61.54
ไมไดรับผลกระทบจากการเวนคืนท่ีดิน เน่ืองจากพื้นท่ีการเกษตรของตนเองไมไดอ ยใู นรัศมีที่ตองสรางระบบคลอง
สงน้ํา มีเพียงรอยละ 38.46 ท่ีไดรับผลกระทบ แตไดรับเงินคาชดเชยสําหรับการเวนคืนที่ดินดังกลาว เฉล่ีย
85
133,750 บาทตอไร โดยครัวเรือนเกษตรกรรอยละ 61.54 ไดรับประโยชนจากการใชบริการสถานีสูบน้ําดวย
ไฟฟาพรอมระบบสงนํ้า สงผลใหเกษตรกรซ่ึงเปนสมาชิกกลุมผูใชน้ําอยูแลวไดใชประโยชน ซ่ึงมีคาใชจายในการ
จดั หาน้ําเฉลยี่ 843.82 บาทตอ ไรตอป นอกจากนี้ ครวั เรือนเกษตรกรรอยละ 56.92 ไมสนใจเขารว มโครงการจัด
รูปท่ีดิน เนื่องจากไมตองการสูญเสียที่ดินในการจัดรูปท่ีดิน ในขณะท่ีครัวเรือนเกษตรกรรอยละ 43.08 สนใจจะ
เขารวมโครงการจัดรูปท่ีดิน เน่ืองจากตองการใหพ้ืนที่ทําการเกษตรมีความราบเรียบเสมอเปนระนาบเดียวกัน
สามารถปลูกพืชไดหลากหลายมากขึ้น ลดปญหานํ้าทวมขังในแปลง อีกทั้งเห็นวาทุกครัวเรือนจะไดประโยชน
รวมกัน มีระบบจัดสรรนํ้าที่ดีใหทุกแปลงไดอยางท่ัวถึงและเพียงพอ ชวยใหการระบายนํ้าดีข้ึน การคมนาคม
สะดวกมากขนึ้ ครวั เรอื นเกษตรกรพน้ื ท่ีฝงขวาของโครงการ ฯ รอยละ 78.54 ไมไ ดรับผลกระทบจากการเวนคืน
ที่ดิน เนื่องจากพื้นที่การเกษตรของตนเองไมไดอยูในรัศมีท่ีตองสรางระบบคลองสงนํ้า มีเพียงรอยละ 25.42 ที่
ไดรบั ผลกระทบ แตไดรบั เงินคาชดเชยสําหรับการเวนคืนท่ีดินดังกลาวเฉล่ีย 146,889 บาทตอไร โดยครัวเรือน
เกษตรกรรอยละ 69.49 ไดรับประโยชนจากการใชบริการสถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอมระบบสงนํ้า สงผลให
เกษตรกรซึง่ เปนสมาชิกกลุมผูใชน ้ําอยูแลวไดใชประโยชน ซ่ึงมีคาใชจายในการจัดหาน้ําเฉลีย่ 832.83 บาทตอไร
ตอป นอกจากน้ี ครัวเรือนเกษตรกรรอยละ 77.97 ไมส นใจเขารว มโครงการจดั รปู ท่ีดนิ เน่อื งจากไมตองการสูญเสีย
ที่ดินในการจัดรูปที่ดนิ ในขณะท่ีครัวเรือนเกษตรกรรอยละ 22.03 สนใจจะเขารวมโครงการจัดรปู ที่ดิน เน่ืองจาก
ตองการใหพืน้ ท่ที ําการเกษตรมีความราบเรียบเสมอเปนระนาบเดียวกนั สามารถปลูกพืชไดหลากหลายมากขน้ึ ลด
ปญ หานํา้ ทวมขังในแปลง อกี ทั้งเหน็ วาทุกครัวเรือนจะไดประโยชนร ว มกัน มีระบบจัดสรรน้ําที่ดใี หทกุ แปลงไดอ ยาง
ทว่ั ถงึ และเพยี งพอ ชวยใหการระบายนาํ้ ดีขน้ึ การคมนาคมสะดวกมากขน้ึ
สรุปไดวา ครัวเรือนเกษตรกรที่อยูพ้ืนที่ฝงบนของโครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จะไดรับผลกระทบ
จากการเวนคืนที่ดินนอยกวาพื้นท่ีอ่ืนๆ อีกท้ังปจจุบันไดมีสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟาในพื้นท่ีเพ่ือแกปญหาเร่ืองน้ํา
ชวยใหครัวเรือนเกษตรกรมีแหลงน้ําในการทําการเกษตรมากข้ึน ดังนั้น ความตองการเขื่อนทดน้ําผาจุกฯ ใน
ทัศนคติของครัวเรือนเกษตรท่ีอยูในพื้นที่ฝงบนอาจมีความจําเปนนอยเมื่อเทียบกับความตองการของครัวเรือน
เกษตรกรในพื้นท่ฝี งซาย และฝง ขวาของโครงการฯ ท่ียังคงประสบปญหาขาดแคลนแหลงนาํ้ ทําการเกษตร และทํา
ใหตองเสียคาใชจายในการจัดหานํ้าใชเพ่ือการเกษตร และสงผลตอภาวะเศรษฐกิจการเกษตรของครวั เรือนเกษตร
ซึ่งเห็นไดวาเกษตรกรในพื้นที่ฝงซายและฝงขวาตองการเขารวมโครงการจัดรูปที่ดินมากกวาพื้นท่ีฝงบน เพราะ
หลายพน้ื ทขี่ องครัวเรือนเกษตรกรถกู เวนคืนเพื่อนําไปกอ สรางเข่อื น โดยสภาพพ้ืนท่ีดงั กลาวมีการเปลยี่ นแปลงจาก
สภาพจริงไปมาก หากเกษตรกรปรับพื้นท่ีเอง อาจทําใหเ กิดตนทนุ คา ใชจายเพ่ิมมากข้ึนกวา การเขา รวมโครงการจัด
รปู ท่ีดนิ ทเี่ กษตรกรจะเสียคา ใชจ ายเพียงบางสว นในลกั ษณะการจายสมทบเทาน้ัน
5.2 ขอ เสนอแนะ
5.2.1 อายุของสมาชิกครัวเรือนเกษตรกรสวนใหญมีแนวโนมเพิ่มสูงข้ึน แตคนรุนใหมสนใจประกอบ
อาชีพเกษตรกรรมลดลง ซึ่งจะนําไปสูภาวะขาดแคลนแรงงานในอนาคต ดังนั้น หนวยงานท่ีเก่ียวของตองเรง
สนับสนุนองคความรู และการประยุกตใชเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมทางการเกษตร เพ่ือทดแทนแรงงานคน เพิ่ม
ประสทิ ธิภาพการผลิต และลดตนทุนการผลิต
5.2.2 หนวยงานท่ีเกี่ยวของควรสนบั สนุนดา นการผลติ การจัดหาปจจัยการผลิตใหแกเกษตรกรในพ้ืนที่
เพอ่ื ชว ยลดตนทุนการผลิตท่มี แี นวโนมสงู ขึ้นอยางตอเนือ่ ง โดยเฉพาะปุยและเคมีภัณฑ
5.2.3 การใชประโยชนทีด่ ินสวนใหญเปนการเพาะปลูกขาวท้ังนาปและนาปรัง หากเกิดปญหาราคาขาว
ตกตาํ่ อาจสงผลกระทบตอ รายไดของเกษตรกร ดงั น้ัน ควรสนบั สนุนใหครวั เรอื นเกษตรกรในพื้นทปี่ ลูกขาวเปนหลกั
ปรบั เปล่ยี นการผลิตเปนพืชเศรษฐกิจ พืชอนาคต หรอื การผลติ ท่มี คี วามหลากหลายของชนดิ สินคา มากข้ึน
5.2.4 หนวยงานรับผิดชอบหลักควรเรงดําเนินการกอสรางเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ ใหแลว
เสร็จตามกําหนดระยะเวลา เพ่ือใหสามารถดําเนนิ การตามแผนใหเกิดการบริหารจัดการน้ําเพ่ือทําการเกษตร ใน
86
พ้ืนที่โครงการไดอยางมีประสทิ ธิภาพ โดยเฉพาะดา นการลดคาใชจายในการจัดหานํา้ เพ่ือทําการเกษตร ซึ่งจะทํา
ใหเ กษตรกรมรี ายไดส ทุ ธิจากการผลติ มากขน้ึ
5.2.5 ครัวเรือนเกษตรบางสวนยังไมคอยเขาใจเก่ียวกับหลักเกณฑ เง่ือนไขของการเวนคืนที่ดินเพ่ือ
สรางระบบสงนํ้าในพ้ืนท่ี ดังนั้น หนวยงานท่ีเกี่ยวของ ควรเรงสรางความเขาใจ นําเสนอถึงประโยชน ติดตามผล
และนําเสนอความกาวหนาของการดําเนินงานของโครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ เปนระยะๆ ให
เกษตรกรท่ีอยใู นพน้ื ทโ่ี ครงการรับทราบอยางถูกตอ ง เปน ไปในทิศทางเดียวกัน.
87
บรรณานกุ รม
กรมชลประทาน. (2562). การดําเนินการขบั เคลื่อนการสง เสริมอาชีพเกษตรกรในเขตพื้นทล่ี มุ ตํ่าบางระกํา
ป 2561. กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
กรมชลประทาน. (2560). รายงานสรปุ บทเรียน”โครงการบางระกาํ โมเดล 60”. กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
กรมชลประทาน. (2565). รายงานผลการปฏิบตั ิตามมาตรการปองกนั และแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอ ม และ
มาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสง่ิ แวดลอม. สํานกั บริหารโครงการ. กรงุ เทพฯ : กระทรวงเกษตร
และสหกรณ.
ทวีศักดิ์ ธนเดโชพล และคณะ. (2561). การขับเคล่ือนการสงเสริมอาชีพเกษตรกรในเขตพื้นท่ีลุมต่ําบางระกํา
ป พ.ศ.2561. สาํ นกั งานเลขาธิการคณะกรรมการดา นการชลประทานและการระบายนา้ํ แหง ประเทศไทย.
ประยูร วงศจ ันทรา. (2554). The effect of training on administration and enforcement of
environmental laws of local government officers. มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
ประเสรฐิ สนุ ทร. (2543). การมีสวนรวมของประชาขนในการปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม: ศกึ ษาเฉพาะกรณี
กองบังคบั กรตาํ รวจนครบาล 6. วทิ ยานิพนธสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิ. มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.
พรชยั ชยั สงคราม. (2558). การศกึ ษาความเปนไปไดของนโยบายบริหารพ้นื ท่เี กษตรกรรม (Zoning) กรณศี กึ ษา
อําเภอเมืองกาํ แพงเพชร จงั หวดั กาํ แพงเพชร. รฐั ศาสตรม หาบัณฑติ (การบริหารจัดการสาธารณะ),
สาขาวิชาการบริหารจัดการสาธารณะ สาํ หรับนกั บรหิ าร, คณะรัฐศาสตร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
ศรติ ภมู โิ พธ.ิ (2556). เครอื ขายการบรหิ ารเพื่อผมู สี ว นไดส วนเสยี : กรอบแนวคดิ เชิงพลวตั ระบบ. วารสาร
รม พฤกษ. : ฉบบั ท่ี 31. มหาวิทยาลยั เกริก.
สธุ ี วรประดษิ ฐ. (2553). การมีสว นรวมของขุมชนงานสารสนเทศสํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย จงั หวัดตราด. ตราด: สํานักงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
จังหวัดตราด.
สํานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2555). แนวทางการพัฒนาระบบการผลติ การตลาดมนั สําปะหลงั ในพ้นื ท่ี
ภาคเหนือตอนลา ง. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
สํานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร. (2556). การศกึ ษาสภาพครวั เรอื นเกษตรยากจนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนลาง. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2557). รายการสาํ รวจภาวะเศรษฐกจิ สังคมครัวเรือนเกษตรกร
ตามแผนปฏิบตั กิ ารปองกันและแกไขผลกระทบสิ่งแวดลอ ม และแผนตดิ ตามตรวจสอบผลกระทบ
ส่งิ แวดลอ ม โครงการเขอ่ื นทดนํ้าผาจุก จงั หวดั อุตรดิตถ ปงบประมาณ 2557. กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ.
สํานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2558). รายการสํารวจภาวะเศรษฐกจิ สังคมครัวเรือนเกษตรกร
ตามแผนปฏิบัตกิ ารปองกันและแกไขผลกระทบสง่ิ แวดลอม และแผนติดตามตรวจสอบผลกระทบ
ส่งิ แวดลอม โครงการเข่ือนทดนา้ํ ผาจกุ จังหวัดอุตรดิตถ ปงบประมาณ 2558. กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ.
สํานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2560). รายการสํารวจภาวะเศรษฐกจิ สงั คมครวั เรือนเกษตรกร
ตามแผนปฏิบตั ิการปองกันและแกไขผลกระทบสิง่ แวดลอ ม และแผนตดิ ตามตรวจสอบผลกระทบ
สงิ่ แวดลอ ม โครงการเขอ่ื นทดนา้ํ ผาจกุ จังหวัดอุตรดติ ถ ปง บประมาณ 2560. กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ.
88
สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2562). การศึกษาวเิ คราะหดานเศรษฐกจิ สนิ คาเกษตรทีส่ าํ คญั ตามแผนที่
Agri-Map. กรงุ เทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
สํานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2563). การศึกษาปจจัยทมี่ ีอทิ ธิพลตอรายได รายจา ย การออม หนี้สนิ ปจ จัยท่ี
กาํ หนดการตดั สินใจกอหนแ้ี ละความตองการกูของครัวเรอื นเกษตร. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ.
สํานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2563). แนวคดิ การประเมินผลกระทบดานภาวะเศรษฐกจิ และสังคมครัวเรอื น
เกษตรกร. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2563). แนวทางการพัฒนาศกั ยภาพดา นการตลาดสินคาเกษตรอนิ ทรยี . กรุงเทพฯ :
กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
Cohen, J.M., & Uphoff, N.T. (1980). Participation's place in rural development: Seeking clarify
through specificity. World Development, 8(3), 21.