The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2563 กรมการพัฒนาชุมชน Annual Report2020

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สรฤทธ จันสุข, 2020-12-21 06:23:50

รายงานประจำปี 2563 กรมการพัฒนาชุมชน (Annual Report2020)

รายงานประจำปี 2563 กรมการพัฒนาชุมชน Annual Report2020

Keywords: รายงานประจำปี 2563 กรม,Annual Report 2020

รายงานประจาํ ป 2563

กรมการพฒั นาชุมชน

Annual Report 2020

กรมการพัฒนาชุมชน

กระทรวงมหาดไทย



คาํ นํา ก

กรมการพัฒนาชุมชนเปนสวนราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีภารกิจสําคัญในการ
ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท โดยการมีสวนรวมของประชาชนและการพัฒนาตนเอง ซึ่ง
มีพัฒนากรเปนกลไกการทํางานรวมกับประชาชน โดยยึดปรชั ญาการพัฒนาชุมชน ใชหลักการพัฒนาชุมชน
และกระบวนการพัฒนาชุมชนเปนเครื่องมือในการทํางาน สงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากใหมีความ
ม่นั คงและมีเสถียรภาพ เพ่ือใหช ุมชนเขมแข็ง โดยมีผูนํา อาสาสมัคร กลุม /องคกร เครือขาย และประชารัฐ
เปนกลไกการพัฒนาการบริหารจัดการชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากอยางเปน ระบบและมีประสิทธิภาพ
ภายใตประเด็นการพฒั นา 4 ประเด็น เพือ่ ใหบรรลุวิสัยทศั น “เศรษฐกจิ ฐานรากมัน่ คงและชุมชนพ่ึงตนเอง
ได ภายในป ๒๕๖๕”

รายงานประจําป 2563 กรมการพัฒนาชุมชน (Annual Report 2020) เปนการประมวลผล
การดําเนินงานที่กรมการพัฒนาชุมชนขับเคลื่อนองคการเชื่อมโยงกับเปาหมายยุทธศาสตรชาติ แผน
แมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนปฏิรูปประเทศ นโยบายรัฐบาล และสถานการณการแพรระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ภายใต 4 ประเดน็ การพัฒนา โดยไดน อมนําแนว
พระราชดําริสูการปฏิบัติ ไดแก (๑) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 9 ประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” (๒) การนอมนําแนวพระราชดําริของ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สูแผนปฏิบัติ
การ 90 วัน ปลกู พืชผักสวนครัว เพ่ือสรางความม่ันคงทางอาหาร และระยะที่ 2 สรางวัฒนธรรมปลูกพืชผกั
สวนครวั (๓) โครงการพัชรสุธาคชานรุ กั ษ (๔) โครงการสืบสาน อนุรกั ษศิลปผาถิ่นไทย ดํารงไวในแผนดนิ (๕)
กองทุนพัฒนาเด็กชนบทในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และเกิด
สัมฤทธิผลจากการดาํ เนินงานตามประเด็นการพัฒนาของกรมการพัฒนาชุมชน อาทิ (1) การบริหาร
การจัดเก็บขอมูล จปฐ. ดวยเคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกส (2) การพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง (3) การ
พัฒนาผูผลิต ผูประกอบการ OTOP สูสากล (4) การสงเสริมใหกองทุนชุมชน มีการบริหารจัดการท่ีมี
ประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (5) การพัฒนาบุคลากรหลักสูตรตาง ๆ ตลอดทั้งมีผลงานเปน
ที่ประจักษจากรางวัลแหงความภาคภูมิใจ จํานวน ๑1 รางวัล ที่กรมการพัฒนาชุมชนไดรับ ซึ่ง
รายงานประจาํ ป 2563 กรมการพัฒนาชุมชน แบงเปน 5 สวน ไดแก สวนที่ 1 รูจักกรมการพัฒนา
ชุมชน สวนท่ี 2 ผลการดําเนินงานนอมนําแนวพระราชดําริสูการปฏิบัติ สวนท่ี 3 ผลการดําเนินงานตาม
แผนปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน ตามประเด็นการพัฒนา สวนที่ 4 รายงานการเงิน และสวนท่ี
5 รางวัลแหงความภาคภมู ใิ จ

กรมการพัฒนาชุมชน หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารเลมน้ีจะเปนประโยชนในการนาํ ไปเปนแนวทาง
การปฏิบัติงานและประยุกตใชเพื่อการขับเคลื่อนงานกับทุกทาน และขอขอบคุณบุคลากรกรมการพัฒนา
ชุมชน ภาคีเครือขายภาคสวนตาง ๆ ท้ัง 7 ภาคี ไดแก ภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคศาสนา ภาคประชาชน
ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และภาคส่ือมวลชน ท่ีไดรวมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศใหเขมแข็งอยาง
ม่ันคง ม่ังคั่ง และยง่ั ยืนตลอดไป

กรมการพัฒนาชุมชน
พฤศจิกายน 2563

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพ่ึงตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

สารบญั ข

หนา
คาํ นํา ก
สารบัญ ข
ผบู รหิ ารกรมการพฒั นาชมุ ชน ค
บทสรุปผบู ริหาร ง
สวนที่ 1 รจู ักกรมการพฒั นาชุมชน 1
สวนที่ 2 ผลการดาํ เนินงานนอมนําแนวพระราชดํารสิ ูการปฏิบัติ 11
สวนที่ 3 ผลการดําเนนิ งานตามแผนปฏิบัติราชการกรมการพฒั นาชุมชน 2๓
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 สรา งสรรคชุมชนพง่ึ ตนเองได 2๓
ประเดน็ การพัฒนาท่ี 2 สงเสรมิ เศรษฐกิจฐานรากใหขยายตัวอยา งสมดุล ๒9
ประเดน็ การพฒั นาท่ี 3 เสริมสรางทุนชุมชนใหม ีธรรมาภบิ าล 36
ประเดน็ การพฒั นาท่ี 4 เสริมสรา งองคก รใหม ีขีดสมรรถนะ 4๗
สว นที่ 4 รายงานการเงิน 6๗
สว นที่ 5 รางวลั แหง ความภาคภูมใิ จ 7๓
คณะผจู ัดทํา 98

เศรษฐกิจฐานรากมนั่ คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕



ผูบริหารกรมการพัฒนาชมุ ชน

(1 ตุลาคม 2562 – 30 กนั ยายน 2563)

นายสทุ ธพิ งษ จลุ เจรญิ

อธบิ ดีกรมการพฒั นาชมุ ชน

นายโชคชยั แกวปอ ง นางวิไลวรรณ ไกรโสดา นายนิวัติ นอ ยผาง
รองอธบิ ดีกรมการพฒั นาชุมชน รองอธิบดกี รมการพัฒนาชมุ ชน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชมุ ชน

เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชุมชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

บผูบทรสหิ ราปุ ร ง

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย มีภารกิจการดําเนินงานปรับปรุงคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนในชนบท โดยการมีสวนรวมของประชาชนและการพัฒนาตนเอง ซึ่งมีพัฒนากร เปนกลไก
การทํางานรวมกับประชาชน โดยยึดปรัชญาการพัฒนาชุมชนเปนสรณะ ใชหลักการพัฒนาชุมชนและ
กระบวนการพัฒนาชุมชนเปนเคร่ืองมือในการทํางาน เพื่อมุงสูวิสัยทัศน เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชน
พึง่ ตนเองได ภายในป ๒๕๖๕

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย แบงโครงสรางของหนวยงาน เปนราชการบริหาร
สวนกลาง ๑๕ หนวยงาน และราชการบริหารสวนภูมิภาคระดับจังหวัด ๗๖ แหง ระดับอําเภอ ๘๗๘ แหง
มบี ุคลากรรวม ๖,๒๕๙ คน เปนชาย ๒,๑๕๕ คน เปนหญงิ ๔,๑๐๔ คน มีคานิยม ABC DEF SP ขับเคลื่อน
องคการ เช่ือมโยงกับเปาหมายยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ แผนปฏิรูปประเทศ
นโยบายรัฐบาล และสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมี
ประเด็นการพัฒนา 4 ประเด็น ไดแก ประเด็นการพัฒนาที่ 1 สรางสรรคชุมชนพ่ึงตนเองได ประเด็น
การพัฒนาที่ 2 สงเสริมเศรษฐกิจฐานรากใหขยายตัวอยางสมดุล ประเด็นการพัฒนาที่ 3 เสริมสรางทุน
ชุมชนใหมีธรรมาภิบาล และประเด็นการพัฒนาที่ 4 เสริมสรางองคกรใหมีขีดสมรรถนะสูง นอกจากน้ี ในป
2563 กรมการพัฒนาชุมชน ไดนอมนําแนวพระราชดําริสูการปฏิบัติ และผลการดาํ เนินงานตามประเด็นการ
พัฒนาของกรมการพัฒนาชุมชน ตลอดทั้งรางวัลแหงความภาคภูมใิ จท่ีกรมการพัฒนาชุมชน และบุคลากร
ในสังกัดไดรับอยา งภาคภมู ใิ จ

ผลการดําเนินงานนอมนาํ แนวพระราชดํารสิ กู ารปฏิบตั ิ ในโครงการสําคัญ ดังน้ี ๑) โครงการพัฒนา
คุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หมของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั รัชกาลที่ 9 ประยุกตสู “โคก หนอง นา
โมเดล” มีพ้ืนที่ตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหมรูปแบบประยุกตสู “โคก หนอง นา
โมเดล” จํานวน 11 แหง และจุดขยายผลตนแบบ จํานวน 21 แหง รวมเปน 32 แหง เกิดการสรางงาน
ในพื้นท่ีระยะส้ัน 5 เดือน จํานวน 9๙ คน อัตราจางคนละ 7,000 บาท/เดือน และมีการเอามื้อสามัคคี
รวมทั้งส้ิน 224 ครั้ง จํานวน 4,620 คน และสามารถพัฒนาผูนําตนแบบ จํานวน 1,500 แหง
รวม 22,500 คน โดยจัดกระบวนการเรียนรูดวยการฝกปฏิบัติผานกิจกรรมการเอามื้อสามัคคี
๒) การ นอมนําแนวพระราชดําริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี สูแผนปฏิบตั กิ าร 90 วนั ปลกู พชื ผกั สวนครัว เพื่อสรา งความมั่นคงทางอาหาร และระยะที่ 2
สรางวัฒนธรรมปลูกพืชผักสวนครวั มีครัวเรือนท่ีเขารวมโครงการท้ังส้ิน จํานวน 12,601,491 ครัวเรือน
คิดเปนรอยละ 97.11 ของครัวเรือนท่ัวประเทศ โดยกอใหเกิดการรวมกลุมปลูกพืชผัก เพื่อบริหารจัดการ
ผลผลิตสวนเกินใหมีมูลคาเพิ่มในอนาคต มีการจัดต้ังศูนยขยายเมล็ดพันธุแลว จํานวน 4,283 แหง
ครัวเรือนจัดทําถังขยะเปยกลดโลกรอน จํานวน ๘,๔๐๐,๓๕๐ ครัวเรือน เกิดนวัตกรรมแหงอาหาร เชน
เมนอู าหารรักษสขุ ภาพ 6,446 รายการ ตลาดนัดสเี ขียว 4,176 แหง ผลิตภัณฑสมุนไพรพ้ืนบาน ๒,๘๙๘
ผลิตภัณฑ ๓) โครงการพัชรสุธาคชานุรักษ ขับเคลื่อนการพัฒนา ภายใตช ่ือ “หมูบานคชานุรักษ” เกิดกลุม
อาชีพ 387 กลุมในหมบู านจํานวน 235 หมูบาน ในพ้ืนที่ 5 จังหวัด ในภาคตะวันออก ที่ไดรับผลกระทบ
จากชางปา เพ่ือการอยูรวมกันอยางสมดุลระหวางคนกับชางปา ประชาชนมีอาชีพเสริม และมีกลุมอาชีพ
.

เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชุมชนพ่งึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

บทสรปุ

จ ผบู รหิ าร
ทดแทนการทําเกษตรกรรม ๔) โครงการสืบสาน อนุรักษศิลปผาถิ่นไทย ดํารงไวในแผนดิน
ผลการดําเนินงานมียอดจําหนายผลิตภัณฑประเภทผา รวมท้ังสิ้น 16,955,648,198 บาท มีผูไดรับ
ผลประโยชน 384,028 ราย มีกิจกรรมตอยอด คือ การพัฒนาผาพ้ืนถ่ิน ลวดลาย การสรางสีผา การขยาย
ชอ งทางการจําหนา ย จดั กิจกรรมสรางคณุ คาผา ไทยการจดั ทาํ หนงั สือ สืบสาน อนุรักษศลิ ปผาถิ่นไทย ดาํ รง
ไวในแผนดิน และตอยอดมรดกภูมิปญญางานทอผาไทยใหคงไวคูแผนดินไทยสืบไป ๕) กองทุนพัฒนาเด็ก
ชนบทในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ผลการดําเนินงานมียอดผาปา
สมทบกองทุนพัฒนาเด็กชนบท เปนเงินจํานวน ๑๕,๙๔๔,๕๑๗.๓๑ บาท มีผูมีจิตศรัทธาอุปการะเด็ก
จํานวน ๑๙๓ คน รวมเปนเงิน ๓๙๑,๔๐๘ บาท จัดสรรเงินทุนอุปการะเด็กแรกเกิดถึง อายุ ๖ ป จํานวน
๒,๐๐๐ ทุน - ทุนละ ๑,๕๐๐ บาท หนวยงาน CCF สนับสนุนทุนการศึกษาตอเน่ือง จํานวน ๓๒๘ คน ๆ ละ
๑,๒๐๐ บาทตอป
ผลการดาํ เนนิ งานตามประเด็นการพฒั นา ภายใต 4 ประเด็นการพัฒนา ดังนี้
ประเด็นการพัฒนา เร่ืองที่ 1 สรางสรรคชุมชนพึ่งตนเองได มีโครงการสําคัญ คือ การบริหาร
การจดั เกบ็ ขอมลู จปฐ. ดว ยเครอื่ งมอื อิเล็กทรอนิกสจ ัดเกบ็ ได จํานวน 12,797,530 ครัวเรือน การสราง
ความม่ันคงดานอาชีพและรายไดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยประชาชนไดรับการสงเสริม
อาชีพตามแนวทางสัมมาชีพ 320,000 ครวั เรอื น การบูรณาการแผนชุมชนระดับตําบล ดําเนินการ จํานวน
6,739 ตําบล คิดเปนรอยละ 99.60 การพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน ๘,๗๘๐ หมูบาน
มีแกนนําการขับเคล่ือนการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง 18,438 คนครอบครัวพัฒนา ปรับเปลี่ยน
การใชช วี ิตทส่ี มดุล 263,400 คน การสงเสริมและพัฒนาหมูบานกองทุนแมของแผนดนิ มกี ิจกรรมปองกัน
และแกไขปญหายาเสพติด 22,009 หมูบาน หมูบานตนกลากองทุนแมของแผนดินที่พรอมรับเงิน
พระราชทานขวัญถุงในป 2564 จํานวน 878 หมูบาน การขับเคลื่อนงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและ
ประชารัฐ โดยสนับสนุนกิจการอาหารปลอดภัย (โรงพยาบาล โรงเรียน โรงแรม รานอาหาร) 836 กลุม
จํานวน 98,466,514 บาท กลุมทอผา จํานวน 100 กลุม เครือขายผาฝาย ผาขาวมา 20 เครือขาย
เครือขายเกษตรปลอดภัย 90 กลมุ 6,349 คน สรางรายได 40,635,745 บาท เครือขายเกษตรอินทรีย
8 เครือขา ย 80 กลมุ 2,282 คน สรา งรายได 23,569,635 บาท
ประเด็นการพัฒนา เร่อื งท่ี 2 สงเสริมเศรษฐกิจฐานรากใหข ยายตวั อยางสมดุล มโี ครงการสําคัญ
คือ การพัฒนาผูผลิต ผูประกอบการ OTOP สูสากล จํานวน ๔,๔๔๘ กลุม/ราย มีรายไดจากการจําหนาย
เพิ่มมากข้ึน ไมนอยกวารอยละ ๑๐ พัฒนาผลิตภัณฑชุมชนดวยองคความรูและนวัตกรรม จํานวน ๓,๗๒๖
ผลิตภัณฑ พัฒนาบริหารจัดการและกิจกรรมชุมชนทองเท่ียว OTOP นวัตวิถี จํานวน ๓๐๐ ชุมชน/หมูบาน
การสง เสรมิ ชองทางการตลาด ผลการดําเนนิ งาน จาํ นวน ๗๑,๑๒๙ ครั้ง
ประเด็นการพัฒนา เรอ่ื งที่ 3 เสรมิ สรางทุนชุมชนใหมธี รรมาภิบาล มีโครงการสาํ คญั คือ การสงเสริม
ใหกองทุนชุมชนมีการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล จํานวน 9,000 กองทุน
สนับสนุนใหประชาชนเขาถึงแหลงทุน 158,000 คน จํานวน 7,816,831,438 บาท การดําเนินงาน
กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต 19,646 กลุม สมาชิกจํานวน 2,994,383 คน จํานวนเงินสัจจะสะสม
27,607,738,236บาท สามารถสนับสนุนเงินทุนใหสมาชิกกูยืมไปประกอบอาชพี จํานวน 1,790,482
คน เปนเงินจํานวน 17,576,522,950 บาท โครงการแกไขปญหาความยากจน (กข.คจ.)
29,231 หมบู า น เงนิ ทนุ 8,915,012,290.30 บาท ครวั เรอื นที่ไดร บั เงินยมื 1,237,286 ครัวเรอื น

เศรษฐกิจฐานรากมนั่ คงและชุมชนพ่ึงตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

บผบูทรสหิ ราปุ ร ฉ

เปนเงิน 7,605,591,140 บาท ศูนยจัดการกองทุนชุมชน 924 แหง สามารถลดภาวะหนี้สินครัวเรือน
(ป 2560 - 2563) รวมทั้งส้ิน 45,873 ครัวเรือน ลดหนี้ได 753,353,129 บาท และปลดหน้ีได
158,990,071 บาท โครงการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตผูมีรายไดนอยเพ่ือลดความเหล่ือมลํ้าทาง
สังคม ครวั เรอื นผูมีรายไดนอยเปาหมาย 7,500 ครัวเรือน มรี ายไดเ พมิ่ ขึ้น 7,489 ครัวเรือน คิดเปนรอย
ละ99.85 โดยมีรายไดเฉล่ียตอเดือน 5,647.27 บาท กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ไดลดอัตราดอกเบ้ีย
เงินกู เหลือรอยละ 0.1 ตอป สมาชิกเขารวม 36,020 โครงการ มีเงินตน 4,068,657,980.85 บาท
ไดร ับลดอัตราดอกเบ้ีย 124,532,020.46 บาท ผูไดร ับผลประโยชน 764,385 คน ชะลอการชําระหน้ี
สมาชกิ ท่ไี มสามารถประกอบอาชพี ได ผเู ขารว มโครงการ 13,147 โครงการ เงินตน 1,260,632,578.49
บาท ดอกเบี้ยทไ่ี มตองชําระ 79,468,823.33 บาท ผูไดรับประโยชน 57,679 คน โครงการสงเสริมอาชีพ
สตรดี า นการนวดแผนไทย ผา วิกฤตภยั COVID-19 ผา นการฝก อบรม 100 คน

ประเด็นการพัฒนา เร่ืองที่ 4 เสริมสรางองคกรใหมีขีดสมรรถนะสูง มีโครงการสําคัญ คือ
การพัฒนาบุคลากร หลักสูตรพัฒนากรกอนประจําการ จํานวน 2 รุน 200 คน หลักสูตรพัฒนากร
ดาน OTOP ไทยสูสากล จํานวน 23 รุน รวม 1,760 คน หลักสูตรเสริมสรรถนะพัฒนาการอําเภอ
เร่ือง OTOP กับธุรกิจในยุคดิจิตอล รวม ๘๗๘ คน หลักสูตรเสริมสมรรถนะผูบริหารระดับสูง ระดับ
พัฒนาการจังหวัด และผูบริหาร 1 รุน จํานวน 103 คน หลักสูตรนักบรหิ ารงานพัฒนาชมุ ชน (นบพ.) จํานวน
๒ รุน รวม ๒๘๑ คน หลักสูตรนักบริหารงานพัฒนาชุมชนระดับสูง (นพส.) จํานวน 1 รุน 118 คน
โครงการ 10,000 กาว ชาว พช.สุขภาพดี มีผูเขารวมโครงการ 3,134 คน มีจํานวนกาวรวม 90 วัน
900,000 กา วขน้ึ ไป จาํ นวน 139 คน มีผูรายงานนํ้าหนักกอน-หลังเขารว มกิจกรรม 180 คน ลดน้ําหนักได
140 คน ผลการทําขอ ตกลงความรว มมอื (MOU) กบั หนว ยงานอืน่ จํานวน 88 หนว ยงาน รวม 35 ฉบับ

รายงานการเงินของกรมการพัฒนาชุมชน กรอบวงเงินงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ
พ.ศ. 2563 ไดรับการจัดสรรงบประมาณ จํานวน 6,286,657,100 บาท และไดรับงบประมาณภายใต
แผนงานฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมท่ีไดรับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) คือ โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตามหลักทฤษฎีใหม ประยุกตสู
“โคก หนอง นา โมเดล” วงเงินงบประมาณ 4,789,916,400 บาท กรมการพัฒนาชุมชน มีสินทรัพย
รวม 1,514,107,999.10 บาท มีหน้ีสิน 248,609,652.06 บาท มีรายไดแผนดิน-รายไดนอกจาก
ภาษี รวม 25,685,717.64 บาท

รางวัลแหงความภาคภูมิใจ กรมการพัฒนาชุมชน ไดรับรางวัลแหงความภาคภูมิใจท้ังส้ิน ๑๑
รางวัล ประกอบดวย ๑) รางวัลองคกรท่ีมีความเปนเลิศดานการเงินการคลัง ๒ รางวัล ๒) รางวัลเลิศรัฐ
จํานวน ๕ รางวลั ๓) รางวลั องคก รตนแบบดา นสทิ ธมิ นุษยชน ๔) ผลการประเมินคุณธรรมและความโปรงใส
ในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ระดับ A ๕) ผลการประเมินสวนราชการตามมาตรการปรับปรุง
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ระดับคุณภาพ ๖) รางวัลขาราชการพลเรือนดีเดน (ครุฑทองคํา)
นอกจากนี้ กรมการพัฒนาชุมชน ก็ไดมอบรางวัลเพ่ือเชิดชูเกียรติใหกับเครือขาย หนวยงาน และบุคคลท่ีมี
ผลงานดีเดนเปนแบบอยางการขับเคลอ่ื นการพัฒนาชุมชนอยางเปนรูปธรรมอีกหลายรางวัล อันเปนหนทาง
นําความเจริญและความสุขไปสูประชาชนใหรวมกันขับเคลื่อนภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน ไปสูวิสัยทัศน
เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชุมชนพึ่งตนเองได ภายในป ๒๕๖๕

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพง่ึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

กรมการพฒั นาชมุ ชน

Change for Good

เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

สว นท่ี 1

รูจักกรมการพฒั นาชมุ ชน

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย กอต้ังขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2505 ตามพระราชบัญญัติ
ปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม ฉบบั ท่ี 10 พ.ศ. 2505 โดยแยกจากกรมมหาดไทยเดิม มาเปน กรมการพัฒนาชุมชน

ภารกิจของกรมการพฒั นาชุมชน คอื ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท โดยการมีสวนรวม
ของประชาชนและการพัฒนาตนเอง หลกั การทํางานของบุคลากรกรมการพัฒนาชุมชนจึงเปน การทาํ งานรว มกับ
ประชาชน มิใชทาํ ใหป ระชาชน

๑. ปรัชญาการพฒั นาชมุ ชน
ปรัชญาการพัฒนาชุมชน เปนหลักความเปนจริงแหงชีวิตท่ีนักพัฒนาชุมชนยึดถือเปนสรณะ

คือ “ความเชื่อมน่ั และศรัทธาในมนุษยชาต”ิ วา มนษุ ยท กุ ชวี ิต มีคุณคา และมีความหมาย มีศักด์ิศรี และมีศักยภาพ
มีฐานะแหงความเปนมนุษยท่ีไมควรไดรับการเหยียบย่ํา ดูหมิ่น เหยียดหยาม จากมนุษยดวยกันเอง
มีความสามารถจากการเปน มนษุ ยท่ีควรไดร บั การยอมรบั และทาํ ใหป รากฏเปน จริงในทางปฏิบัติจากเพื่อนมนุษย
ดวยกนั เอง โดยมนุษยท ุกคนสามารถพฒั นาไดถาไดร บั โอกาส

๒. หลักการพัฒนาชมุ ชน
หลกั การพฒั นาชมุ ชนท่ีแทจ รงิ คือ หลักประชาชน
1) เร่ิมตนท่ีประชาชน ยืนจุดเดียวกับประชาชน มองโลก มองชีวิต มองปญหา จากทัศนะของประชาชน

เพอ่ื ใหเ ขา ใจปญ หา ความตองการของประชาชน เพอ่ื ใหเ ขา ถึงชีวิต จติ ใจของประชาชน
2) ทํางานรวมกับประชาชน (ไมใชทํางานใหแกประชาชน เพราะจะทําใหเกดิ ความคิดมาทวงบุญทวงคุณ

จากประชาชนในภายหลัง) การท่ีจะทําใหประชาชนเขาใจปญ หาของตนเอง และมีกาํ ลังใจลุกขน้ึ ตอสูกับปญหา
ชวยกันคิด ชวยกันแกไขปญหานั้น ยอมมีหนทางที่จะกระทําไดโดยไมยาก หากเขาใจปญหาและเขาถึงจิตใจ
ประชาชน

3) ยึดประชาชนเปนพระเอก ประชาชนตองเปนผูกระทําการพัฒนาดวยตนเอง ไมใชเปนผูถูกกระทํา
หรือเปนฝายรองรับขางเดียว เพราะผลของการกระทําการพัฒนาน้ัน ตกอยูท่ีประชาชนโดยตรง ประชาชน
เปน ผรู บั โชคหรือเคราะหจากการพฒั นานนั้

๓. ภารกิจและอํานาจหนาทก่ี รมการพฒั นาชุมชน
กรมการพฒั นาชุมชนมีบทบาทและหนา ท่ีตามกฎกระทรวงมหาดไทย ลงวันท่ี 24 มีนาคม พ.ศ. 2552 ดังน้ี
1) กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดบั ชาติ เพ่อื ให

หนวยงานของรัฐ เอกชน และผูมีสวนเกี่ยวของดานการพัฒนาชุมชนไดใ ชเปนกรอบแนวทางในการดําเนินงาน
เพ่อื เสรมิ สรา งความสามารถและความเขมแขง็ ของชุมชน

2) จัดทําและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใชเปนเครื่องมือสําหรับประเมิน
ความกา วหนา และมาตรฐานการพฒั นาของชมุ ชน

เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชุมชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

2

3) พัฒนาระบบและกลไกในการสงเสริมกระบวนการเรียนรู การจัดการความรู การอาชีพ การออม
และการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพ่ือเสริมสรางขีดความสามารถของประชาชน ชุมชน ผูนําชุมชน องคการ
ชุมชน และเครือขา ยองคการชมุ ชน

4) สนับสนุนและพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศชุมชน สงเสริมการใชประโยชนและ
การใหบรกิ ารขอ มูลสารสนเทศชมุ ชน เพ่ือใชใ นการวางแผนบริหารการพฒั นาไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ

5) ศกึ ษา วิเคราะห วิจัย พัฒนาและสรางองคความรเู พื่อใชในงานพฒั นาชุมชน และการจัดทาํ
ยทุ ธศาสตรชุมชน

6) ฝกอบรมและพัฒนาขาราชการ เจาหนาท่ีที่เกี่ยวของ ผูนําชุมชน องคการชุมชนและ
เครือขายองคการชุมชน ใหมีความรู ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทํางาน รวมทั้งใหความรวมมือ
ทางวิชาการดา นการพฒั นาชุมชนแกห นวยงานทั้งในประเทศและตา งประเทศ

7) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาท่ีของกรม หรือตามท่ีกระทรวง
หรือคณะรฐั มนตรีมอบหมาย

๔. โครงสรา งกรมการพัฒนาชมุ ชน
กรมการพัฒนาชุมชนแบงโครงสรางของหนวยงาน เปนราชการบริหารสวนกลาง และราชการบริหาร

สว นภมู ิภาค
ราชการบริหารสว นกลาง
1) สาํ นกั ตรวจราชการ
2) สํานกั เสริมสรางความเขม แข็งชุมชน
3) สาํ นกั สง เสริมภมู ปิ ญ ญาทอ งถิ่นและวสิ าหกิจชมุ ชน
4) สาํ นักพัฒนาทุนและองคกรการเงินชมุ ชน
5) สาํ นักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
6) สถาบันการพฒั นาชมุ ชน
7) ศนู ยส ารสนเทศเพ่อื การพฒั นาชมุ ชน
8) กองคลัง
9) กองการเจา หนาท่ี
10) กองแผนงาน
11) สาํ นกั งานเลขานกุ ารกรม
12) กองนิตกิ าร
13) กลุมพฒั นาระบบบริหาร
14) กลุมตรวจสอบภายใน
15) กลุมงานคมุ ครองจรยิ ธรรมขา ราชการ
ราชการบรหิ ารสวนภมู ิภาค
1) สาํ นักงานพฒั นาชุมชนจังหวัด 76 จงั หวัด
2) สํานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาํ เภอ 878 อําเภอ

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

3

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

4

๕. ขาราชการและบคุ ลากรกรมการพัฒนาชมุ ชน
จําแนกขา ราชการและบุคลากรตามประเภทและระดับตาํ แหนง

ประเภท ระดบั ตาํ แหนง ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน)
บรหิ าร สูง 1 0 1
อํานวยการ ตน 1 1 2
วิชาการ สูง 48 23 71
ตน 1 1 2
ท่วั ไป เชย่ี วชาญ 1 1 2
ชํานาญการพิเศษ 325 379 704
ชาํ นาญการ
ปฏิบตั กิ าร 1,081 2,404 3,485
ชํานาญงาน 558 872 1,430
ปฏิบัตงิ าน 79 342 421
รวม 44 242 286
2,139 4,265 6,404

6000 5,619

5000 73 วชิ าการ 0
อาํ นวยการ ทั่วไป
4000

3000

2000

1000
3

0
บรหิ าร

เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

5

จาํ แนกขาราชการและบคุ ลากรตามระดับการศกึ ษา

ระดับการศกึ ษา ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน)
ปริญญาเอก 8 14 22
ปรญิ ญาโท 756
ปริญาตรี 1,600 2,356
ตา่ํ กวา ปรญิ ญาตรี 1,323 2,499 3,822
วฒุ อิ ่นื ๆ 51 148 199
1
รวม 4 5
2,139 4,265 6,404

3000 2,499

2500 1,600
1,323
2000
756
1500
ปริญญาโท ปริญญาตรี 51 148 14
1000 ตํา่ กวาปริญญาตรี วฒุ อิ ่นื ๆ

500
8 14

0
ปรญิ ญาเอก

เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชุมชนพง่ึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

6

๖. คานยิ มองคก าร

A : Appreciation ช่นื ชม

B : Bravery กลา หาญ

C : Creativity สรา งสรรค

D : Discovery ใฝรู

E : Empathy เขา ใจ

F : Facilitation เอื้ออํานวย

S : Simplify ทําใหงาย

P : Practical ปฏบิ ัตไิ ดจ รงิ

๗. จรยิ ธรรมและจรรยาขา ราชการกรมการพฒั นาชมุ ชน
1) ยึดม่ันการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ
2) ยึดมั่นในความเปนตัวแทนของกรมการพัฒนาชุมชน ศรัทธาเชื่อม่ันตอองคกรและประชาชน

โดยคาํ นงึ ถึงหลักการมีสว นรว มของทกุ ภาคสวน รับฟง ความคดิ เห็นของผูอ่ืน เคารพในสิทธิ เสรีภาพ ยึดหลกั
ความเสมอภาค ใหเ กยี รติและมมี นษุ ยสมั พนั ธตอประชาชน

3) ปฏิบัติหนาท่ีดวยความรวดเร็ว มีความซื่อสัตยสุจริต และมีความรับผิดชอบ โปรงใส ตรวจสอบได
โดยยึดถือประโยชนข องประเทศชาตเิ หนอื กวาประโยชนส วนตน และไมม ีผลประโยชนทบั ซอ น

4) เนนหนักในการพัฒนาคนใหมีระเบียบวินัย พ่ึงตนเอง ซ่ือสัตยสุจริตตอกัน รูรักสามัคคี
มีจิตสาธารณะ และปลกู ฝง ใหใ ชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการดําเนนิ ชวี ติ

5) อํานวยความสะดวกและพรอมท่ีจะใหขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางครบถวน ถูกตอง และ
ไมบ ดิ เบือนขอ เท็จจรงิ

6) เปนที่พึ่งของผูใตบังคับบัญชา ประชาชน และองคกรชุมชน ดวยความเปนธรรม เปนกลาง ไมเลือก
ปฏิบตั ิ และถกู ตองตามกฎหมาย

7) ดําเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไมเขาไปยุงเก่ยี วกับอบายมุขทุกประเภท และ
ตอ งไมประพฤติผิดศลี ธรรม

8) ผูบังคับบัญชาทุกระดับตองรักษาจริยธรรม และจรรยาขาราชการตามขอบังคับน้ี พรอมทั้ง
เสริมสรางใหข า ราชการกรมการพัฒนาชุมชนตอ งปฏบิ ัติตามขอบงั คบั น้ี

เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพ่ึงตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

7

๘. แผนปฏิบัตริ าชการระยะ 3 ป (พ.ศ. 2563 - 2565) ของกรมการพัฒนาชมุ ชน

วสิ ัยทศั น

“เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพึ่งตนเองได ภายในป 2565”

เปา หมาย

1. หมบู า นเศรษฐกจิ พอเพยี ง ม่นั คง ม่ังคง่ั ยั่งยืน มอี าชีพ มรี ายได และมคี วามสขุ เพิ่มขน้ึ 44,835 หมบู าน
2. รายไดจากการจาํ หนายผลิตภัณฑชมุ ชน เพม่ิ ข้ึนรอยละ 10 ตอป
3. กองทนุ ชมุ ชนมีธรรมาภิบาล เพมิ่ ขน้ึ จํานวน 27,000 กลมุ /หมูบ าน

พนั ธกิจ

1. พฒั นาระบบกลไกการมีสวนรวมและการเรยี นรกู ารพง่ึ ตนเอง
2. พฒั นาการบริหารจัดการชุมชนใหพึ่งตนเองไดต ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3. สงเสริมและพฒั นาเศรษฐกิจฐานรากใหข ยายตวั
4. สง เสริมและพัฒนาการบรหิ ารจดั การกองทนุ ชมุ ชนใหม ีธรรมาภบิ าล
5. พฒั นาองคกรใหมีขดี สมรรถนะสงู บคุ ลากรมอี ดุ มการณใ นงานพัฒนาชุมชน และเชย่ี วชาญการทํางาน

เชงิ บรู ณาการ

ประเด็นการพฒั นา

แผนปฏิบัติราชการ แนวทางการพฒั นา

เร่อื งท่ี 1 ๑.๑ บรหิ ารจัดการขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยเี พอ่ื การพัฒนา
สรางสรรคชมุ ชน ๑.๒ สรางพลงั ผนู าํ ในการพฒั นาชุมชน
ใหพ ่งึ ตนเองได ๑.๓ สง เสรมิ การบรหิ ารจดั การชมุ ชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เร่อื งท่ี ๒ ๒.๑ พฒั นาผูผลติ ผูป ระกอบการ OTOP สสู ากล
สงเสรมิ เศรษฐกจิ ฐานราก ๒.๒ พฒั นาผลติ ภัณฑช มุ ชนดว ยองคความรแู ละนวัตกรรม
ใหข ยายตวั อยางสมดุล ๒.๓ พฒั นาการบริหารจัดการและกจิ กรรมชุมชนทอ งเทีย่ ว OTOP นวัตวถิ ี
๒.๔ สง เสริมชอ งทางการตลาด
เรอ่ื งท่ี ๓
เสรมิ สรางทุนชมุ ชน ๓.๑ พฒั นาระบบการบรหิ ารและการเขา ถึงแหลง ทุน
ใหมธี รรมาภบิ าล ๓.๒ พฒั นาทนุ ชุมชนเพอ่ื การพฒั นาคุณภาพชีวติ

เร่อื งท่ี ๔ ๔.๑ เสรมิ สรา งศกั ยภาพองคกรเพอ่ื ยกระดบั งานพฒั นาชมุ ชน
เสริมสรางองคกร ๔.๒ พฒั นาบุคลากรใหมีคุณภาพ
ใหมขี ดี สมรรถนะสงู ๔.๓ ยกระดบั ภาพลกั ษณอ งคก รสสู ากล

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชุมชนพ่ึงตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

8

เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

9

๙. พนั ธมติ รการขับเคลื่อนงานพฒั นาชมุ ชน

เครือขายภาคประชาชน ประกอบดวย 1๒ องคกร ไดแก 1) ปราชญชุมชน 2) อาสาพัฒนาชุมชน
(อช.)/ผูนําอาสาพัฒนาชุมชน (ผูนํา อช.) 3) อาสาสมัครผูประสานงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
4) คณะกรรมการพัฒนาสตรี 5) คณะทํางานขับเคล่ือนกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 6) คณะกรรมการ
ศูนยประสานงานองคการชุมชน (ศอช.) 7) คณะกรรมการกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต 8) คณะกรรมการ
โครงการแกไขปญหาความยากจน (กข.คจ.) 9) คณะกรรมการศูนยการจัดการกองทุนชุมชน

1๐) คณะกรรมการเครือขา ยหน่งึ ตาํ บล หนึง่ ผลิตภัณฑ (OTOP) ๑๑) บรษิ ัท โอทอปอินเตอรเทรดเดอร จํากัด
1๒) บริษทั ประชารฐั รกั สามคั คี (วสิ าหกิจเพือ่ สังคม) จํากดั

ปราชญชุมชน จํานวน 23,589 คน

• สมาคมผนู าํ อาสาพัฒนาชุมชนไทย 1 คณะ 36 คน
• สมาคมผนู ําอาสาพฒั นาชุมชนจงั หวัด 36 คณะ 195 คน
• ชมรมผนู าํ อาสาพฒั นาชุมชนจังหวดั 68 คณะ 1,607 คน
อาสาพัฒนาชุมชน (อช.)/
ผนู าํ อาสาพัฒนาชุมชน (ผูนาํ อช.) • ชมรมผนู าํ อาสาพฒั นาชุมชนอําเภอ 810 คณะ 11,051 คน
• ผนู าํ อาสาพัฒนาชุมชน (ผูนาํ อช.)
• อาสาพัฒนาชมุ ชน (อช.) 13,376 คน

289,580 คน

อาสาสมคั รผูประสานงาน • ระดบั หมบู าน 70,384 คน
กองทุนพฒั นาบทบาทสตรี • ระดับชมุ ชน 18,702 คน

• สมาคมผนู าํ สตรีพฒั นาชมุ ชนไทย 1 คณะ 36 คน
• คณะกรรมการพฒั นาสตรีภาค
4 คณะ 160 คน
• สมาคมผนู าํ สตรีพัฒนาชมุ ชนจงั หวัด 34 คณะ 1,513 คน
• คณะกรรมการพฒั นาสตรจี งั หวัด 76 คณะ 2,740 คน
คณะกรรมการพฒั นาสตรี • คณะกรรมการพัฒนาสตรอี ําเภอ 878 คณะ 20,090 คน

• คณะกรรมการพฒั นาสตรตี ําบล 7,124 คณะ 134,284 คน
• คณะกรรมการพัฒนาสตรีหมบู า น 74,780 คณะ 928,510 คน

คณะทาํ งานขบั เคล่อื น • ระดบั จังหวดั 878 คน
กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี • ระดับตาํ บล/เทศบาล 66,660 คน
• ระดับกรงุ เทพมหานคร คน
• ระดบั เขต 14 คน
585

คณะกรรมการศนู ยป ระสานงาน • ระดบั จังหวัด 76 คณะ
องคก ารชุมชน (ศอช.) • ระดับอาํ เภอ 878 คณะ
• ระดับตาํ บล 6,809 คณะ

คณะกรรมการ จํานวน 19,646 คณะ แตล ะคณะแบงออกเปน 4 ฝา ย ๆ ละ 3 - 5 คน
กลมุ ออมทรพั ยเ พือ่ การผลติ

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพึ่งตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

10

คณะกรรมการ จํานวน 29,231 คณะ ๆ ละ 7 - 9 คน
โครงการแกไ ขปญ หาความยากจน (กข.คจ.)

คณะกรรมการ จาํ นวน 924 คณะ ประกอบดวย ตวั แทนจากกลมุ /กองทนุ ในหมบู าน/
ศนู ยจัดการกองทนุ ชมุ ชน ชมุ ชนท่เี ปนสมาชิกของศูนยจ ัดการกองทุนชมุ ชน ผนู ําชุมชน และ
ผทู รงคุณวฒุ ิ

คณะกรรมการเครอื ขา ย • ระดับประเทศ 1 เครอื ขาย
หน่งึ ตาํ บล หนึง่ ผลติ ภัณฑ • ระดบั จังหวัด 76 เครือขา ย
(OTOP) • ระดบั อาํ เภอ 878 เครอื ขาย

บริษทั • บริษทั โอทอปอนิ เตอรเ ทรดเดอร (ประเทศไทย) จํากัด 1 บรษิ ทั
โอทอปอนิ เตอรเ ทรดเดอร • บริษทั โอทอปอนิ เตอรเ ทรดเดอร จาํ กดั ระดบั จงั หวัด 59 บรษิ ัท
จํากดั
• บริษทั ประชารัฐรกั สามคั คี (ประเทศไทย) จาํ กัด 1 บรษิ ทั
บริษัท ประชารฐั รกั สามัคคี • บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีจงั หวดั (วสิ าหกจิ เพอ่ื สังคม)
(วสิ าหกิจเพอ่ื สงั คม) จํากดั
จํากดั 76 จงั หวดั

เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

สว นที่ 11

ผลการดําเนนิ งานนอ มนําแนวพระราชดาํ รสิ กู ารปฏบิ ตั ิ

กรมการพัฒนาชมุ ชน มีภารกิจเกี่ยวกับการสงเสริมกระบวนการเรียนรูและการมีสวนรวมของประชาชน
สง เสรมิ และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากใหมีความมั่นคง และมีเสถียรภาพ โดยสนับสนุนใหมีการจัดทําและ
ใชประโยชนจากขอมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะหวิจัย จัดทํายุทธศาสตรชุมชน ตลอดจนการฝกอบรมและ
พัฒนาบุคลากรท่ีเกี่ยวของในการพัฒนาชุมชน เพื่อใหเปนชุมชนเขมแข็งอยางยั่งยืนในป 2563 กรมการพัฒนา
ชุมชน ไดน อ มนาํ แนวพระราชดาํ ริ มาเปนแนวทางในการดําเนนิ งานโครงการสาํ คัญ ดงั นี้

๑. โครงการพัฒนาคุณภาพชวี ิตตามหลกั ทฤษฎใี หมข องพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั รัชกาลท่ี 9
ประยกุ ตส ู “โคก หนอง นา โมเดล”
๑.1 โครงการพฒั นาพืน้ ท่ีตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหมข องพระบาทสมเดจ็
พระเจา อยูหวั รัชกาลที่ 9 ประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล”
กรมการพัฒนาชมุ ชน ไดสงเสริมกระบวนการเรียนรูและการมีสวนรวมของชุมชน มุงเนนการเปนกลไก

สําคัญในการเสริมสรางชุมชนใหเขมแข็งอยางย่ังยืนและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากใหมั่นคงตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ จดั ทําโครงการพฒั นาพ้ืนท่ีตนแบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม
ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั รัชกาลท่ี 9 ประยุกตส ู “โคก หนอง นา โมเดล”เพอ่ื พัฒนาพ้ืนท่ีของศูนยศึกษา
และพัฒนาชุมชน จํานวน 11 แหง และจุดขยายพื้นที่ตนแบบ จํานวน 21 แหง รวม 32 แหง
ใหเปนพื้นที่ตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหมรูปแบบประยุกต “โคก หนอง นา โมเดล”
สามารถพัฒนาคนตลอดชีวิต และทุกชวงวัย ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเช่ือมโยงกับ 7 ภาคี
เครือขาย ผานการดําเนินงานออกแบบพ้ืนที่ตามภูมิสังคมที่เหมาะสม ตามหลักการออกแบบ 6 ขอ ไดแก
1) ดิน 2) นํา้ 3) ลม 4) ไฟ 5) ปา 6) คน ทเี่ ปน แบบเฉพาะของแตล ะพืน้ ท่ี

ผลการดําเนนิ งาน
พื้นท่ีของศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชน จํานวน 11 แหงและจุดขยายผลตนแบบ จํานวน 21 แหง
รวม 32 แหง ไดรับการพัฒนาเปนพ้ืนท่ีตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จ
พระเจา อยหู วั รชั กาลท่ี 9 ประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล”

เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

12

ศนู ยศกึ ษาและพฒั นาชุมชนพษิ ณโุ ลก ศนู ยศ ึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี

1.2 โครงการขับเคล่ือนพ้ืนที่ตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จ
พระเจา อยหู วั รชั กาลท่ี 9 ประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล”

สถานการณปจจุบัน เนื่องจากสังคมไทยประสบปญหาสภาวะหนี้ ภาคครัวเรือนสูงข้ึน รวมไปถึง
สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19 ) ท่ีสงผลกระทบตอ ประเทศ
กรมการพัฒนาชุมชนจึงไดจัดทําโครงการขับเคล่ือนพ้ืนท่ีตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม
ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ประยุกตสู “โคก หนอง นา
โมเดล”เพือ่ ฝก ปฏบิ ัติเช่อื มโยงเครือขายในพืน้ ที่ทัง้ 7 ภาคี ไดแกภ าครฐั ภาควิชาการ ภาคศาสนา ภาคประชาชน
ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และภาคส่ือมวลชน ดวยการบูรณาการแบบมสี วนรวมในรูปแบบการชวยเหลือกัน
และกัน ผานกิจกรรมเอาม้ือสามัคคี และการสรางงานสรางรายไดโดยจางแรงงานประชาชน ผูวางงาน และ
ผูไดร ับผลกระทบสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19 ) ในพ้ืนท่ีของ
ศนู ยศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชน จาํ นวน 11 แหง และจุดขยายพ้ืนทต่ี นแบบ จาํ นวน 21 แหง รวม 32 แหง

ผลการดาํ เนินงาน
เกิดการสรางงานสรางรายไดใหกับประชาชนในพ้ืนท่ีตนแบบฯ จํานวน 11 แหง และจุดขยายผลตนแบบฯ
จํานวน 21 แหง รวม 32 แหง ในระยะส้ัน 5 เดือน (พฤษภาคม - กนั ยายน 2563) จํานวน 96 คน ในอัตราคนละ
7,000 บาท/เดือน และมกี ารฝกปฏิบัติเช่ือมโยงเครือขายในพ้ืนท่ีตนแบบฯ และจุดขยายผลตน แบบฯ ผานกิจกรรม
เอาม้ือสามัคคี แหงละ 7 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 224 ครั้ง มีผูเขารวมแหงละ 20 คนตอคร้ัง รวมจํานวนผูเขารวม
ทง้ั ส้ินอยางนอย 4,620 คน

การบูรณาการแบบมีสว นรวมในรูปแบบการชว ยเหลือกนั และกนั ผานกจิ กรรมเอามอ้ื สามคั คี

เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

13

การสรางงานสรา งรายไดใหก ับประชาชนในพน้ื ที่

1.3 โครงการเสรมิ สรา งและพฒั นาผนู ําการเปลยี่ นแปลง
ดวยสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทําใหเกิดปญหา

ความมั่นคงดา นอาหาร รวมท้ังปญหาคนวางงาน กรมพฒั นาชุมชนมีภารกิจหลักในการพัฒนาผูนําชุมชน องคกร
ชุมชนและเครือขาย เพ่ือเสริมสรางความสามารถและความเขมแข็งของชุมชน จึงใหความสําคัญ
ในการพัฒนาผูนําชุมชนเปนแกนนําในการขับเคลื่อนชุมชนใหมีความเขมแข็งตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และมีความพรอมในการเผชิญวกิ ฤตตางๆ เปนการเพิ่มขีดความสามารถของผูนําชุมชนในการบรหิ าร
จัดการชุมชนใหเข็มแข็ง พ่ึงตนเองไดตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหมรูปแบบประยุกตสู
“โคก หนอง นา โมเดล”

ผลการดําเนนิ งาน
ผูนําตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหมรูปแบบประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล”
ท่ีผานการฝกอบรมหลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสูระบบเศรษฐกิจพอเพียงจากศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชน
11 แหง จํานวน 1,100 คน และจากเครือขาย 7 ภาคี จํานวน 400 คน รวมท้ังส้ิน 1,500 คนในพื้นที่
76 จังหวัดทั่วประเทศ ไดรับการสงเสริมและพัฒนาอาชีพ(วัสดุ) และมีการสรางเครือขายผูนําการพัฒนา
คุณภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎใี หมร ูปแบบประยกุ ต “โคก หนอง นา โมเดล” โดยจัดกระบวนการเรียนรูดวยการฝก
ปฏิบัตผิ านกิจกรรมการเอามื้อสามัคคี ในพ้ืนที่ตัวอยา งของผูนําตนแบบฯ จํานวน 1,500 แหง (จากศนู ยศึกษาและ
พัฒนาชุมชน 11 แหง จํานวน 1,100 คน และจากเครือขาย 7 ภาคี จํานวน 400 คน) แหงละ 15 คน
รวม 22,500 คน

เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชุมชนพ่งึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

14

2. การนอมนําแนวพระราชดําริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี สูแผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกพืชผักสวนครัว เพ่ือสรางความมั่นคงทางอาหาร และระยะท่ี 2
สรางวฒั นธรรมปลกู พืชผักสวนครัว

กรมการพัฒนาชุมชน นอมนําแนวพระราชดําริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สูแผนปฏิบัติการ 90 วัน ปลูกพืชผักสวนครัว เพ่ือสรางความม่ันคงทาง
อาหาร และการสรางวัฒนธรรมปลูกพืชผักสวนครัว โดยเนนการพึ่งตนเองและสรางความสามัคคีของ
คนในชุมชน เปนการสรางความม่ันคงทางอาหารในระดับครัวเรือน และลดรายจายในการดํารงชีวิตของ
ประชาชน โดยระยะที่ 1 เร่ิมดําเนินการต้ังแตวันท่ี 1 เมษายน - 30 มิถุนายน 2563 มีหลักการดําเนินการ คอื
1) จะพัฒนาใครเขาตองเริ่มจากตัวเรากอน 2) ผูนําตองทํากอน 3) ผนึกกําลัง ต้ังระบบทําใหครบวงจร
4) สงเสรมิ การปลูกผักสวนครัวแบบเขาถึงทุกครัวเรือน 5) สรางเครือขายขยายผลการดําเนินการดงั กลาวไดทํา
ใหประชาชนในเขตชนบทและเขตเมืองต่ืนตัว และปลูกผักสวนครัวในบริเวณท่ีอยูอาศัย เกิดการเรียนรู
แนวทางการสรางพ้ืนฐานความพอมี พอกิน พอใช ของประชาชน เพ่ือพ่ึงตนเองตามท่ีพระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระราชทานไว รวมท้ังแลกเปลี่ยน แบงปน
ความรู เมล็ดพันธุ และผลผลิตระหวางกัน เพ่ือใหการดําเนินงาน เกิดความย่ังยืนและอํานวยประโยชน
แกประชาชนมากขึ้น จึงดําเนินการตอเนื่องในระยะท่ี 2 สรางวัฒนธรรมปลูกพืชผักประจําครัวเรือน
เพ่ือตอบสนองตอเปาหมายการพัฒนาหมูบานใหย่ังยืน อีกทั้งสรางรายได และสรางเสริมความรัก
ความสามัคคี และการเก้ือกูลของคนในชุมชน โดยมีเปาหมายดําเนินการทุกหมูบาน ทุกครัวเรือน
โดยดําเนินการระหวางวันท่ี ๑ กรกฎาคม - ๕ ธันวาคม ๒๕๖๓ ดวย ๕ กระบวนงานประกอบดวย 1) ความตอเน่ือง
คือพลัง 2) ทําเปนบาน สานเปนกลุม 3) ชุมชนสีเขียว เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม 4) จากวัฒนธรรม สูนวัตกรรม
5) ชุมชนเกอื้ กลู เพม่ิ พูนสามัคคี วถิ พี อเพยี ง

ผลการดําเนนิ งาน
มีครัวเรือนที่เขารวมโครงการฯ ทั้งสิ้น จํานวน 12,601,491 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ 97.11
ของครัวเรือนเปาหมายทั่วประเทศ โดยกอใหเกิดการรวมกลุมปลูกพืชผักประจําครัวเรือน เพ่ือบริหารจัดการ
ผลผลิตสวนเกินใหมีมูลคาเพ่ิมในอนาคต ดําเนินการแลวจํานวน 76 จังหวัด 3,409 ตําบล โดยมีการจัดตั้ง
ศูนยขยายเมล็ดพนั ธุแลว จํานวน 4,283 แหงของตําบลท้ังหมดท่ัวประเทศ คดิ เปนรอ ยละ 45.62 นอกจากน้ี
ยังสรางชุมชนสีเขยี ว เปน มติ รกับสงิ่ แวดลอ ม โดยมีครัวเรอื นจดั ทําถังขยะเปยกลดโลกรอน จํานวน 76 จงั หวดั

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

15

๘,๔๐๐,๓๕๐ ครัวเรอื น คิดเปนรอ ยละ ๖๖.๔๐ ของครัวเรือนท้ังหมดท่ัวประเทศ นอกจากน้ี การดําเนินโครงการ
ดังกลาว ยังกอใหเกิดนวัตกรรมแหงอาหาร อาทิเชน เมนูอาหารรกั ษสุขภาพ 6,446 รายการ ตลาดนัดสีเขียว
4,176 แหงของตาํ บลทง้ั หมดทัว่ ประเทศ ผลติ ภัณฑส มนุ ไพรพื้นบาน ๒,๘๙๘ ผลิตภัณฑ คิดเปนรอ ยละ ๕๘.๙๘
ของตําบลท้ังหมดทั่วประเทศ ทําใหชุมชนเกิดความสามัคคี มีวิถีพอเพียง เกื้อกูล สามารถดูแลชวยเหลือ
และแบง ปนกนั

เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชุมชนพ่ึงตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

16

เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

17

เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

18

3. โครงการพชั รสธุ าคชานรุ กั ษ
จากปญหาชางปาในพ้ืนท่ีรอยตอ 5 จังหวัดในภาคตะวันออก (จังหวัดจันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี

ระยอง และจังหวัดสระแกว) ทําใหเกิดปญหาความขัดแยง ระหวางคนกับชาง เกิดการสูญเสียชีวิต ท้ังคนและ
ชางปา รวมถึงพชื ผลทางการเกษตร และทรัพยส นิ ของประชาชนในพ้นื ที่ จงึ มปี ระกาศราชกิจจานุเบกษาแตงต้ัง
คณะกรรมการโครงการอนุรักษชางปารอยตอ 5จังหวัดในภาคตะวันออก เพื่อเปนแกนหลักในการขับเคล่ือน
การดาํ เนนิ งานแกไ ขปญหาชา งปา รวมท้ังการดาํ เนินงานขับเคล่ือนการพฒั นาหมูบานท่ีไดรับผลกระทบจากชางปา
ภายใตช อ่ื “หมบู า นคชานุรกั ษ”

กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชุมชนในฐานะหัวหนาคณะทํางานพัฒนาชุมชนตามคําส่ัง
คณะกรรมการดําเนินงานการจัดการปญหาเพ่ือการอยูรวมกันอยางสมดุลระหวางคนและชาง มีบทบาท
เปนผูสนับสนุนการเสริมสรางองคความรูการอยูรวมกันอยางสมดุลระหวางคนและชาง ภายใตช่ือหมูบาน
คนรักษชาง ทั้งนี้ ภารกิจของกรมการพัฒนาชุมชนที่ผานมา ไดดําเนินการขับเคล่ือนกิจกรรมหมูบานเศรษฐกิจ
พอเพียง หมูบานสมั มาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมการพัฒนาอีกหลายดาน
จึงดําเนินการพัฒนาอาชีพ เลือกอาชีพที่สอดคลองกับสภาพปญหาและจัดตั้งกองทุนสวัสดิการตาง ๆ
โดยนอมนําแนวพระราชดําริการจัดการพื้นท่ี การสรางอาชีพเสริม ความขัดแยงระหวางคนกับชางปาของ
พระบาทสมเด็จพระชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาประยุกตใชภายใต
หลักนิติธรรม เพ่ือเปนการสนับสนุนการพัฒนาหมูบาน การสรางเครือขายการพัฒนาท่ีย่ังยืนในพ้ืนท่ีหมูบาน
ที่ไดรับผลกระทบจากชางปาใน ๕ จังหวัดภาคตะวันออก ภายใต “โครงการพัชรสุธาคชานุรักษ” ในการ
ขบั เคลอ่ื นการพัฒนาระยะแรกเปนหมูบานนํารอง ภายใตช ื่อ “หมูบานคชานุรักษ” จํานวน ๕ หมูบาน ในพ้นื ท่ี
๕ จงั หวดั และหมูบ า นขยายผล จาํ นวน ๑๘ หมูบา น

ผลการดาํ เนินงาน
 เชงิ ปรมิ าณ : มีกลมุ อาชพี จํานวน 387 กลมุ ในพืน้ ที่หมูบา นทไ่ี ดรับผลกระทบจากชา งปา
 เชิงคุณภาพ : ประชาชนในพื้นท่ีท่ีไดรับผลกระทบจากชางปามีความรูความเขาใจในการจัดการ
ปญหาเพอ่ื การอยรู ว มกนั อยางสมดุลระหวา งคนกบั ชา งปา

ผลกระทบท่ีเกิดกบั ประชาชน
- ประชาชนในหมูบา นทีไ่ ดรับผลกระทบจากชางปา มีความรู
ความเขา ใจในการอยรู ว มกันอยา งสมดลุ ระหวางคนและชา ง
- นอ มนําหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สกู ารปฏบิ ตั จิ น
เปนวถิ ชี วี ิต
- มอี าชีพเสรมิ และมกี ลุมอาชพี ทดแทนการทําเกษตรกรรม
โดยการสง เสรมิ อาชีพในหมบู า นท่ไี ดรับผลกระทบจากชา งปา
จํานวน 235 หมูบ าน ในพน้ื ที่ 5 จังหวัดในภาคตะวันออก
งบประมาณ 29,067,400 บาท
- เกดิ กลุม อาชพี จาํ นวน 387 กลุม ไดแก การเกษตร
ปลกู พ้นื สมุนไพร พืชสวน การแปรรปู ผลติ ภณั ฑก ารเกษตร
จากการเล้ยี งปลา (ปลาดกุ ปลานลิ ) เล้ยี งไกเ นอ้ื เลีย้ งไกไ ข
เลย้ี งเปด เลยี้ งแพะ การทอผา การเลยี้ งผ้งึ การจกั สาน เปนตน

เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

19

4. โครงการสืบสาน อนรุ ักษศลิ ปผ า ถ่ินไทย ดาํ รงไวในแผนดิน
สมเด็จพระนางเจา สิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ไดทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ

ตอการอนุรักษและสบื สานภูมปิ ญญาของคนไทย ทรงมีพระราชดําริวาควรจะมีการนําภูมิปญญาของราษฎร
ท่ีไดทอผาไวใชกันอยู มาพัฒนาเปนอาชีพใหเกิดรายไดแกราษฎรอีกทั้งมีพระราชประสงคเพ่ือการอนุรักษ
และสบื สานภูมิปญ ญาของคนไทยใหค งอยูสืบไป ปจจุบันมีผูประกอบการ OTOP ทั้งส้ิน ๙๐,๒๘๙ ราย/กลุม
มีผลิตภัณฑที่ลงทะเบียนทั้งหมด ๑๙๘,๙๘๘ ผลิตภัณฑ เปนผลิตภัณฑในประเภทผาและเคร่ืองแตงกาย
จํานวน ๓๘,๓๐๔ ผลิตภัณฑ คิดเปนรอยละ ๑๙.๒๔ ของจํานวนผลิตภัณฑท่ีมีทั้งหมด ซึ่งคณะรัฐมนตรี
ไดมีมติเร่ือง มาตรการสงเสริมและสนับสนุนการใชและสวมใสผาไทย เม่ือคราวการประชุมวันท่ี ๙ มิถุนายน
๒๕๖๓ กรมการพัฒนาชุมชน รวมกับสภาสตรีแหงชาติในพระบรมราชินูปถัมภ ไดริเร่ิมดําเนินโครงการ
สืบสาน อนุรักษศิลปผาถิ่นไทย ดํารงไวในแผนดิน โดยการรณรงค ประชาสัมพันธ เชิญชวนแตงกาย
ดวยผาไทยและพื้นเมือง และไดรวมกันจัดทําบันทึกขอตกลงความรวมมือเพ่ือดําเนินการตามโครงการสืบสาน
อนุรักษศิลปผาถ่ินไทย ดํารงไวในแผนดินกับจังหวัด 76 จังหวัด และหนวยงานรัฐวิสาหกิจในสวนกลาง
ไดแก การไฟฟาสว นภมู ภิ าค การประปาสว นภูมภิ าค

ผลการดําเนนิ งาน มยี อดจาํ หนา ยผลิตภัณฑประเภทผา
รวมทั้งส้นิ 16,955,648,198 บาท มีผไู ดร บั ผลประโยชน
384,028 ราย และมกี ิจกรรมตอ ยอด ประกอบดวย
1) การพฒั นาผาพ้ืนถิ่น ลวดลาย การสรา งสีผา เชน หนองบวั ลาํ ภู

เลย อดุ รธานี ศรสี ะเกษ รอยเอด็ เปนตน
2) การขยายชอ งทางการจาํ หนา ย เชน จัดแสดงการเดินแบบ

โดยบุคคลสําคัญในจังหวัด การจัดแสดงและจําหนาย เชน จังหวัดพิจิตร จังหวัดชัยภูมิ จังหวัด
นนทบุรี จงั หวดั ลพบุรี เปนตน

3) การจดั กิจกรรมตอ ยอดสรา งคุณคา ผา ไทย เชน สมุทรสาคร พังงา แมฮอ งสอน ปต ตานี เปน ตน
4) การจัดทําหนงั สอื สบื สาน อนุรักษศ ิลปผาถน่ิ ไทย ดาํ รงไวใ นแผนดนิ และตอยอดมรดกภมู ิปญญา
งานทอผา ไทยใหค งไวคูแ ผน ดินไทยสืบไป

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชุมชนพึ่งตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

20

เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

21

5. กองทุนพฒั นาเดก็ ชนบท ในพระราชปู ถัมภส มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี
กรมการพัฒนาชุมชน ไดจัดต้ังกองทุนพัฒนาเด็กชนบทขึ้น เม่อื ป พ.ศ. 2522 เพื่อใหความชวยเหลือ

เด็กกอนวัยเรียน ท่ีครอบครัวยากจนและดอยโอกาส ใหไดรับการพัฒนาอยางท่ัวถึงและเหมาะสมตามวัย
โดยในป พ.ศ. 2536 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงมีพระมหากรุณารบั กองทนุ พัฒนาเดก็ ชนบทไวใ นพระราชปู ถมั ภฯ และพระราชทานพระราชานุญาตใหใช
ชื่อวา “กองทุนพัฒนาเด็กชนบท ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี”
ประกอบดวย กองทุนพัฒนาเด็กชนบทสวนกลาง และจังหวัด ๗๖ จังหวัด โดยทุกกองทุนไดจัดกิจกรรม
เพื่อหารายไดสมทบกองทุนฯ เปนประจําทุกป และนําเงินไปใชในการทํากิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต
เด็กกอนวัยเรียน

ผลการดําเนนิ งาน
๑) กรมการพัฒนาชุมชน ไดจัดทําโครงการทอดผาปาสมทบกองทุนพัฒนาเด็กชนบท ในพระราชูปถัมภ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และนําไปชวยเหลือสนับสนุนกิจกรรมในการพัฒนาเด็ก
ทค่ี รอบครวั ยากจน และดอยโอกาสในชนบท โดยในป 2563มยี อดรายไดจากการทอดผา ปาสมทบกองทุน
พัฒนาเด็กชนบท ทั้งในสวนกลาง และจงั หวดั ๗๕ จงั หวดั เปน เงิน ๑๕,๙๔๔,๕๑๗.๓๑ บาท

๑.๑) ยอดเงินทอดผา ปา สมทบกองทนุ พฒั นาเดก็ ชนบทสวนกลาง จาํ นวน ๒,๐๘๑,๕๐๑.๗๕ บาท
๑.๒) ยอดเงินทอดผาปาสมทบกองทุนพัฒนาเด็กชนบทจังหวัด ๗๕ จังหวัด ยกเวนจังหวัด
อางทองไมไดดําเนินการเน่ืองจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) จาํ นวน ๑๓,๘๖๓,๐๑๕.๕๖ บาท

๒) ซ้ือต๋ัวสัญญาใชเงิน สหกรณออมทรัพยกรมการพัฒนาชุมชน จํานวน ๒ ฉบับ เปนเงิน
๒๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท

๓) มผี ูม จี ิตศรทั ธาอุปการะเด็ก จาํ นวน ๑๙๓ คน รวมเปนเงนิ ๓๙๑,๔๐๘ บาท
๔) จัดสรรเงินทุนอุปการะเด็กโดยมอบหมายใหสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดดําเนินการมอบทุน
อุปการะใหแกเ ด็กที่มอี ายแุ รกเกิด ถึง อายุ ๖ ป ที่ครอบครัวมีฐานะยากจนและดอยโอกาสในพ้ืนท่ี ๗๖ จังหวดั
จาํ นวน ๒,๐๐๐ ทุน ๆ ละ ๑,๕๐๐ บาท เปนเงนิ ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท

เศรษฐกิจฐานรากมนั่ คงและชุมชนพ่ึงตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

22

๕) จัดทําโครงการกองทุนพัฒนาเด็กชนบทเคลื่อนท่ี (Children Development Fund Mobile :
CDF Mobile) โดยบูรณาการรวมกันระหวางกองทุนพัฒนาเด็กชนบทสวนกลางและจังหวัด สภาสตรี
แหงชาติในพระราชูปถัมภ ผูนํากลุม/องคกร และเครือขายพัฒนาชุมชน รวมกันจัดกิจกรรมพัฒนาเด็กและ
พัฒนาครอบครัว เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เน่ืองในโอกาส
เฉลมิ พระชนมพรรษา ๖๕ พรรษา ประจาํ ป ๒๕๖๓ และประชาสัมพนั ธ
การดําเนินงานกองทนุ พฒั นาเด็กชนบท และเปน กิจกรรมเพือ่ สงั คมของ
กรมการพฒั นาชมุ ชน โดยในปง บประมาณ ๒๕๖๓ ไดด าํ เนนิ การ ๒ จุด
ดังน้ี

๕.๑) ดาํ เนนิ กจิ กรรม ณ จงั หวัดแมฮ องสอน เมื่อวนั ที่ ๑๗
มกราคม ๒๕๖๓ โดยมอบทุนอุปการะเด็ก จาํ นวน ๒๐ ทุน ทุนละ
๑,๒๐๐ บาท รวมเปนเงิน ๒๔,๐๐๐ บาท และของใชท่จี ําเปนสําหรับเด็ก จํานวน ๒๐ ชุด รวมเปนเงินท่ีใช
ในโครงการท้ังสนิ้ ๔๕,๐๐๐ บาท

๕.๒) ดําเนินกิจกรรม ณ จังหวัดสระบุรี เม่ือวันที่ ๒๙ - ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓ โดยมอบทุน
อปุ การะเดก็ จํานวน ๒๕ ทุน ๆ ละ ๑,๕๐๐ บาท รวมเปน เงนิ ๓๗,๕๐๐ บาท และของใชท ่จี าํ เปนสําหรับเดก็
จํานวน ๒๕ ชุด รวมเปน เงนิ ทใ่ี ชใ นโครงการทง้ั ส้นิ ๖๘,๕๐๐ บาท

๖) มูลนิธิรวมจิตตนอมเกลาฯ เพื่อเยาวชนในพระราชินูปถัมภ ไดใหการสนับสนุนทุนการศึกษา
ใหแกเด็กท่ีมีอายุต้ังแตแรกเกิด ถึง อายุ ๖ ป ท่ีเปนเด็กกําพรา เด็กพิการ หรือผูปกครองมีฐานะยากจน
โดยใหกรมการพัฒนาชุมชนคัดเลือกเด็กในพื้นที่ซึ่งไมไดรับทุนของหนวยงาน CCF จํานวน ๑๗ จังหวัด
เปนประจําทุกป ต้ังแตป ๒๕๒๕ จนถึงปจจุบัน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ไดใหการสนับสนุน
ทุนการศึกษาตอเน่ืองแกเด็กกอนวัยเรียนผานกรมการพัฒนาชุมชน จํานวน ๓๒๘ คน ๆ ละ ๑,๒๐๐ บาท
ตอ ป เปน เงนิ ๓๙๓,๖๐๐ บาท

เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

สวนที่ 23

ผลการดาํ เนินงานตามประเดน็ การพฒั นา

กรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจเก่ียวกับการสงเสริมกระบวนการเรียนรูและการมีสว นรวมของประชาชน
สงเสรมิ และพัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชนฐานรากใหมีความมน่ั คง และมีเสถยี รภาพโดยสนับสนุนใหมีการจดั ทําและ
ใชประโยชนจ ากขอมูลสารสนเทศ ศึกษา วเิ คราะหวิจัย จัดทํายุทธศาสตรช ุมชน ตลอดจนการฝกอบรมและ
พัฒนาบุคลากรที่เก่ียวของในการพัฒนาชุมชน เพื่อใหเปนชุมชนเขมแข็งอยางย่ังยืน ประเด็นการพัฒนา
กรมการพฒั นาชมุ ชนไดน าํ สถานการณป จ จุบัน และสภาพแวดลอ มของการบรหิ ารประเทศ นํามาใชเ ปนขอมูล
ในการในการจัดทําแผนยุทธศาสตรใหสอดคลองกับสถานการณในชวงอนาคตท่ีกอเกิดการเปล่ียนแปลง
ของประเทศ ชุมชน ในดานที่มีผลตอการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชน ใหมุงไปสูเปาหมายสูงสุด ภายใตวิสัยทัศน
“เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชนพ่ึงตนเองได ภายในป 2565” โดยไดกําหนด ประเด็นการพัฒนา 4
ประเดน็ ดังน้ี

กรมการพฒั นาชุมชน
Change for Good
1 4 ประเด็นการพฒั นา
ประเด็นการพัฒนา 2 เสรมิ สรา งองคกร

สรางสรรคช ุมชน 3 ใหม ีขีดสมรรถนะสงู
พึ่งตนเองได ประเด็นการพัฒนา
เสรมิ สรา งทุนชมุ ชน
ประเดน็ การพัฒนา ใหม ธี รรมาภบิ าล

สงเสริมเศรษฐกิจฐานราก

ใหขยายตวั อยางสมดลุ

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชุมชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

24

ประเด็นการพัฒนา เร่อื งที่

สรางสรรคชมุ ชนพ่งึ ตนเองได

1. การบริหารการจัดเก็บขอ มลู จปฐ. ดว ยเคร่อื งมืออเิ ลก็ ทรอนิกส

กรมการพฒั นาชุมชน ไดดาํ เนนิ การบริหารการจัดเกบ็ ขอ มลู ความจําเปนพ้ืนฐาน (จปฐ.)
เปนประจําทุกป โดยในป 2563 ไดจ ัดเกบ็ ขอ มูลดว ยเครอื่ งมอื อเิ ล็กทรอนิกส (Smart Phone) : Smart
Survey Smart Data System ทส่ี ามารถประมวลผล และแสดงผลแบบ Online Realtime เพือ่ ลดข้ันตอน
ลดระยะเวลาในการจัดเก็บขอ มูล สนองตอบนโยบายรฐั บาลในการขบั เคลือ่ นเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ไปสูความมนั่ คง มั่งคั่ง และยง่ั ยนื ดว ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ทง้ั น้ี กรมการพัฒนาชุมชนไดรวมมือกบั ศนู ยเทคโนโลยี
อเิ ลก็ ทรอนิกสและคอมพิวเตอรแ หงชาติ (เนคเทค- สวทช.) บรู ณาการฐานขอ มลู การพัฒนาระบบบริหารจดั การ
ขอ มลู การพัฒนาคนแบบชเ้ี ปา (Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP) เพอ่ื ชีเ้ ปาคนจน
5 ดา น ไดแก ดา นสุขภาพ ความเปน อยู (ทอ่ี ยอู าศัย) การศกึ ษา รายได และดานการเขาถึงบริการรัฐ
และใชชี้เปา ครัวเรือนเปราะบาง ซง่ึ บรู ณาการฐานขอ มลู จปฐ.
กับขอ มลู ทะเบียนเกษตรกร ผไู ดร ับสวสั ดิการแหง รัฐ ผไู ดร ับ
เบี้ยยงั ชีพผสู ูงอายุ และคนพกิ าร และขอมูลเดก็ นกั เรียนยากจน
โดยนาํ ฐานขอ มูลจากครัวเรอื นทม่ี อี าชพี เกษตรกร รายไดเ ฉล่ยี
ตา่ํ กวา 100,000 บาทตอป และไมไ ดลงทะเบียนเกษตรกร
ทง้ั นี้ ระบบสามารถชีเ้ ปา ครัวเรอื นเปราะบางที่มีภาระ 6 ดาน
ไดแก ไมมีความม่ันคงในทอ่ี ยูอาศัย มเี ดก็ อายุ 3 – 14 ป
มีเดก็ นกั เรยี นยากจน มผี สู ูงอายทุ ่ไี มไ ดร บั เบ้ยี ยังชีพ มคี นพกิ าร
ทไี่ มไ ดรับเบยี้ ยังชีพ และมผี ูปว ยเร้อื รังท่ีชวยเหลือตวั เองไมไ ด เปาหมาย จปฐ. ๑๒,๙๐๐,๐๐๐ ครวั เรือน

ผลการดาํ เนินงาน
ป ๒๕๖๓ ดําเนินการจัดเก็บขอมูล จปฐ. จํานวน 12,797,530 ครัวเรือน (ขอมูล ณ วันที่ 23
พฤศจิกายน 2563) กรมการพัฒนาชุมชนสามารถใหบริการขอมูล จปฐ. และขอมูล กชช.2ค ในรูปแบบ
Web Service ไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพและรองรบั การใชงานในเครือ่ งมืออเิ ลก็ ทรอนกิ สทหี่ ลากหลาย

๒. การสรา งความม่ันคงดานอาชพี และรายไดต ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

โครงการสรางความมนั่ คงดา นอาชีพและรายไดต ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปาหมายคือ
สรางอาชีพ สราง “ชาวบานสอนชาวบาน” ดําเนินการคร้ังแรกเมื่อป พ.ศ. 2560 ตอเน่ืองจนถึงปจจุบัน
มผี ลการดําเนินงาน ต้ังแตป 2560 - 2563 จํานวน 57,217 หมูบาน สรางและพัฒนาปราชญดานอาชีพ
286,085 คน ครัวเรือนท่ีไดรับการสงเสริมสัมมาชีพตามแนวทางสัมมาชีพ 1,801,505 ครัวเรือน
และสนบั สนุนใหเ กดิ กลุมอาชพี 5,722 กลุม

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชุมชนพ่ึงตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

25

ในป 2563 กรมการพัฒนาชุมชนดําเนินโครงการสรางความม่ันคงดานอาชีพและรายได ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ 76 จังหวัด 16,000 หมูบาน สรางทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน
ทีเ่ ปน เครอื ขาย จาํ นวน 112,000 คน สรางและพัฒนาครวั เรือน
สมั มาชีพชุมชน จาํ นวน 320,000 คน และจดั ตั้งสนบั สนุน
กลมุ อาชพี ตามแนวทางสมั มาชพี ชมุ ชน จาํ นวน 1,600 กลุม

ผลการดําเนินงาน
 เชิงปรมิ าณ : จาํ นวนประชาชนท่ไี ดร ับการท่ไี ดร ับ
การสง เสรมิ อาชพี 320,000 ครวั เรอื น
 เชิงคุณภาพ : รอ ยละ 93.72 ของประชาชน
ที่ไดรับการสงเสรมิ อาชีพ ประกอบอาชพี ตามแนวทางสมั มาชพี

๓. การบรู ณาการแผนชุมชนระดบั ตาํ บล

กรมการพัฒนาชุมชน ไดรับมอบหมายใหเปนหนวยงานหลักในการจัดทําแผนพัฒนาตําบล
เพ่ือสะทอนปญหาและความตองการของประชาชนในพื้นที่ โดยดําเนินการใหสอดคลองกับแนวทาง
ตามแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุมจังหวัด และแผนพัฒนาภาค ท่ีเปนการบูรณาการการทํางาน
ทุกหนวยงานในพื้นท่ี เพื่อใหเปนไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการจัดทําแผนและประสาน
แผนพัฒนาพ้ืนที่ในระดับอําเภอ และตําบล พ.ศ. 2562 จึงไดดําเนินกิจกรรมบูรณาการแผนพัฒนาตําบล
ดําเนินการในพื้นท่ีครอบคลุม 76 จังหวัด 6,766 ตําบล โดยสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ สนับสนุน
คณะกรรมการศูนยประสานงานองคการชุมชนระดับตําบล (ศอช.ต.) และคณะกรรมการบริหารงานตําบล
แบบบูรณาการ (ก.บ.ต.) รวบรวมขอ มูลตาํ บล วิเคราะห สังเคราะหขอมูล แผนชมุ ชนของแตละหมูบา น ใหเ กิด
ความเช่ือมโยงต้ังแตระดับตนทาง กลางทาง และปลายทาง พรอมยกราง จัดทําเลมแผนชุมชนระดับตําบล
เพ่ือเปนขอมูลนําเขาพิจารณาในเวทีบูรณาการแผนชุมชนระดับตําบล และเพ่ือสงมอบแผนชุมชนระดับตําบล
ใหกับผเู ก่ยี วของใชประโยชนต อไป

ผลการดาํ เนินงาน
ดําเนินการบูรณาการแผนชุมชน จํานวน 6,766 ตําบล และตําบลท่ีมีการบูรณาการแผนชุมชนแลว
มคี วามพรอมและนําแผนชุมชนไปใชในการสรางสัมมาชีพ และนําไปใชประโยชนในการพัฒนาอาชีพ และบริหาร
จดั การชมุ ชน จํานวน 6,739 ตําบล คิดเปน รอยละ 99.60

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

26

๔. การพฒั นาหมบู านเศรษฐกิจพอเพียง

กระทรวงมหาดไทย มอบหมายใหก รมการพฒั นาชุมชน
นอ มนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเปนหลักในการพฒั นา
หมูบ านและชมุ ชน ต้ังแตป  2549 ซึง่ สอดคลองกับภารกิจหลกั ของ
กรมการพัฒนาชมุ ชน คอื การสงเสรมิ กระบวนการเรียนรแู ละการมี
สวนรว มของประชาชนผา นกระบวนการสรางและพัฒนาผูนาํ ชมุ ชน
และต้งั แตป  2552 ถึงปจจบุ ันไดยกระดับการพัฒนาหมูบานเศรษฐกจิ พอเพียง พฒั นาเปนหมูบานเศรษฐกิจ
พอเพียงตนแบบ ซึ่งมีผลการดําเนินงานหมูบา นเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ตั้งแตป 2552 - 2560 จํานวน
9,715 หมูบาน และในป 2560 - 2561 กรมฯ ไดดําเนินการสงเสริมการนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปสูการปฏิบัติจนเปนวิถีชีวิต (SEP : Way of Life) ในพื้นท่ี 75,032 หมูบาน เพื่อสรางกระแส
การนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสูการปฏิบัติจนเปนวิถีชีวิตของประชาชน โดยการอบรม
กลอมเกลาประชาชนของครูฝก ผานเวทีการแลกเปล่ียนเรียนรู และคนหารูปแบบการนอมนําหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงไปสกู ารปฏิบตั ิจนเปน วถิ ชี ีวติ ที่หลากหลายสามารถเปน ตน แบบของการขยายผลเพ่ือนําไปสู
การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคอยางท่ัวถึง และไดขยายจํานวนหมูบานพัฒนาเปนหมูบาน
เศรษฐกิจพอเพียง โดยการสงเสริมการเรียนรแู ละการมีสวนรวมของประชาชน ในการนอมนําหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปสกู ารปฏบิ ตั ิ ในปง บประมาณ พ.ศ. 2562 จํานวน 8,780 หมูบาน ดังนั้น เพ่ือเปนการพัฒนา
ตอยอดและขยายจํานวนหมูบานที่มีการนอมนําหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปสูการปฏิบัติใหมี
ความแพรหลายทั่วถึงในทุกพื้นท่ี สามารถเปนแหลงเรียนรูและขยายผลใหกับหมูบานอื่น ๆ ตอไปได
จึงไดจัดทาํ โครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 จํานวน 8,780 หมูบาน
ดาํ เนนิ การในพ้นื ที่ 76 จังหวดั 878 อาํ เภอ

ผลการดาํ เนนิ งาน
1) สรา งแกนนําการขับเคล่อื นการพัฒนาหมูบา นเศรษฐกจิ พอเพยี งได จํานวน 18,438 คน
2) สรา งครอบครัวพฒั นา ปรับเปลย่ี นการใชชวี ิตทสี่ มดลุ จํานวน 8,780 หมบู าน 263,400 คน
3) ความสุขมวลรวมของชุมชน (Gross Village Happiness : GVH) ของหมูบานเปาหมายเพ่ิมขึ้น
ทุกหมบู าน
4) หมบู า นไดร ับการพฒั นาหมูบา นเศรษฐกจิ พอเพยี ง จาํ นวน 8,780 หมูบา น

เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

27

๕. การสง เสริมและพฒั นาหมบู านกองทนุ แมข องแผนดนิ

กรมการพฒั นาชุมชน ไดร ับความไววางใจจากรัฐบาล
กระทรวงมหาดไทย และสาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกันและ -
ปราบปรามยาเสพตดิ (ป.ป.ส.) ใหเปน หนวยงานรับผดิ ชอบหลัก
ในการเสริมสรา งความเขม แข็งของหมูบ าน/ชมุ ชน การพฒั นา -
กลไกแกนนําในพน้ื ทใี่ หเปนพลังแผน ดนิ ในการตอสูกบั ยาเสพติด
และเสริมสรา งความเขม แขง็ กองทุนแมข องแผน ดิน ซึ่งเปน -
ยุทธศาสตรพระราชทานของสมเด็จพระนางเจา สิรกิ ิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ทรงหวงใย
ตอวิกฤติมหันตภัยจากปญหายาเสพติด โดยไดทรงพระราชทานทรัพยสวนพระองคผานเลขาธิการ ป.ป.ส.
โดยมีพระประสงคท่ีจะใหนําไปใชประโยชนในการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดในหมูบาน/ชุมชน
สาํ นักงาน ป.ป.ส. นําพระราชทรพั ยดังกลาว สมทบกบั งบประมาณของสํานักงาน ป.ป.ส. และขอพระราชทานนาม
จัดต้ังเปน “กองทุนแมของแผนดิน” ต้ังแตปงบประมาณ พ.ศ. 2555 กรมการพัฒนาชุมชน ไดดําเนินการ
ขบั เคล่ือนกองทุนแมของแผนดินมาอยางตอเนื่อง ปจ จุบันมีกองทุนแมของแผน ดนิ ต้ังแตป  พ.ศ. 2547 - 2562
จํานวน 22,009 กองทุน หมูบานตนกลากองทุนแมของแผนดิน จํานวน 878 หมูบาน โดยมีวัตถุประสงค
เพือ่ สรา งภูมิคมุ กนั และปอ งกันยาเสพติดใหประชาชน โดยใชก ลไกของกองทุนแมของแผน ดิน

ผลการดําเนินงาน มีกิจกรรมปองกันและแกไขปญหายาเสพติด จํานวน 22,009 หมูบาน และ
มีหมูบานตนกลากองทุนแมของแผนดินที่มีความพรอมเขารับเงินพระราชทานขวัญถุงในป 2564 จํานวน
878 หมูบาน ซ่ึงจากผลการตรวจสุขภาพกองทุนแมของแผนดินในป 2563 จํานวน 22,009 หมูบาน
มหี มบู า นกองทนุ แมของแผนดิน ระดับ A จาํ นวน 4,480 หมูบาน ระดบั B จาํ นวน 14,989 หมบู าน และ
ระดบั C จํานวน 2,540 หมบู า น

๖. การขับเคลอื่ นงานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารฐั

การดําเนินงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากและประชารฐั เปนกลไกสําคัญของกระทรวงมหาดไทย
ทีต่ อบสนองนโยบายรัฐบาล “ลดความเหล่ือมลํ้า สรางรายไดและความเขมแขง็ ทางเศรษฐกิจใหครอบคลุม
ทงั้ ประเทศ” โดยใหภาคเอกชนและภาคประชาชนเขามามสี วนรวมดําเนนิ การรวมกับภาครฐั

ดําเนนิ งานใน 3 กลุมงาน ไดแก การเกษตร การแปรรปู
และการทอ งเทยี่ วโดยชมุ ชน ในรูปแบบประชารฐั ภายใต
แนวคดิ วสิ าหกิจเพอ่ื สังคม (Social Enterprise : SE)
เพ่อื ใหไ ดร ับการพัฒนา และสรางประสิทธภิ าพตลอด
ตนทาง กลางทาง ปลายทาง ผา นกระบวนการขับเคล่อื น
5 ฟน เฟอ ง เร่มิ ตงั้ แตการเขา ถงึ ปจจยั การผลติ การสรา ง
องคความรู การตลาด การส่อื สารสรางการรับรู และ
การบริหารจดั การ

เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

28

ในป 2563 ไดดาํ เนนิ โครงการสําคญั
จํานวน 4 โครงการ ประกอบดว ย ๑) โครงการ
สงเสรมิ การพฒั นากลไกและโครงสรา งดูดซบั
มลู คาทางเศรษฐกิจและการกระจายรายไดก ลบั
สูทองถ่ิน ๒) โครงการยกระดับผาทออีสาน
สู สากล กิจกรรมยกระดับมาตรฐาน ผลิตภัณฑ
กลุมแปรรูปผาฝาย ผาขาวมาไทยสูสากล
(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ๓) โครงการสงเสริมเกษตรปลอดภัย สงเสริมชองทางการตลาด
เครือขายเกษตรปลอดภัยภาคเหนือตอนลางดวยกลไกประชารัฐ และ ๔) โครงการสงเสริม
เกษตรอินทรีย สงเสริมชองทางการตลาดเครือขายเกษตรอินทรียภาคเหนือตอนบนดวยกลไก
ประชารฐั

ผลการดําเนินงาน
1) สนับสนุนการสรางและพัฒนากลไกขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐระดับ
จังหวัด 76 จังหวัด สรางรายไดจากกิจการอาหารปลอดภัย (โรงพยาบาล โรงเรียน โรงแรม รานอาหาร)
ในพน้ื ที่ 76 จงั หวดั 836 กลุม จํานวน 98,466,514 บาท
2) สรางรายไดใหกลุมทอผา จํานวน 100 กลุม สรางเครือขายผลิตภัณฑผาฝาย ผาขาวมา จํานวน
20 เครือขา ย มีภาคีขบั เคลื่อน 5 หนวยงาน 20 คณะ 229 คน
3) เกิดเครือขา ยเกษตรปลอดภัยภาคเหนือตอนลาง 9 เครือขาย จํานวน 90 กลุม 6,349 คน
สรา งรายไดเปน เงิน 40,635,745 บาท
4) เกิดเครือขายเกษตรอินทรียภาคเหนือตอนบน 8 เครือขาย จํานวน 80 กลุม 2,282 คน
สรางรายไดเ ปน เงนิ 23,569,635 บาท

เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

2ประเด็นการพฒั นา เร่ืองที่ 29

สง เสริมเศรษฐกิจฐานรากใหขยายตัวอยา งสมดุล

ยุทธศาสตรชาติ 20 ป ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน มุงเนนการยกระดับศักยภาพ
ในหลากหลายมิติ ต้ังแตการสรางพื้นฐานที่มั่นคงของประเทศ การพัฒนาท่ีสมดุลในประเทศ ไมวาจะเปน
การขยายตัวของเศรษฐกิจ การกินดีอยูดี และรายไดที่เพ่ิมขึ้นของประชาชน ควบคูกับการขยายโอกาสของ
ประเทศไทยในเวทีโลก กรมการพัฒนาชุมชน นับเปนหนึ่งในกลไกหลักของรัฐบาลท่ีจะเปนหนวยงาน
ขับเคล่ือน ผลักดันการพัฒนาพ้ืนท่ีท่ัวประเทศ โดยมุงแกไขปญหาในพื้นที่ดานเศรษฐกิจและสังคม
ผานแผนงาน/โครงการทส่ี าํ คญั

แผนปฏบิ ตั ริ าชการระยะ 3 ป (พ.ศ. 2563 - 2565) กรมการพฒั นาชุมชน กําหนดประเด็นการพฒั นา
เร่ืองท่ี ๒ สงเสริมเศรษฐกิจฐานรากใหขยายตัวอยางสมดุล มีเปาหมาย คือ เสริมสรางเศรษฐกิจฐานราก
ใหเขมแข็งอยางสมดุล และย่ังยืนดวยนวัตกรรมภูมิปญญาทองถิ่นเช่ือมโยงการทองเท่ียวชุมชน
ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มีผลการดําเนินงาน ตามแนวทางการพัฒนา ใน ๔ แนวทาง ดังนี้

เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

30 ๑. การพฒั นาผูผลติ ผปู ระกอบการ OTOP สสู ากล

ป ๒๕๖๓ มีผูผลิต ผูประกอบการ OTOP ท่ีมาลงทะเบียน จํานวนทั้งสิ้น ๙๐,๒๘๙ กลุม/ราย
แยกเปน กลุมผูผลิตชุมชน ๕๐,๐๓๑ กลมุ /ราย ผูผลิตชุมชนท่ีเปนเจา ของรายเดียว ๓๘,๙๐๒ กลุม/ราย และ
ผูผลิตวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ๑,๓๕๖ ราย มีผลิตภัณฑท่ีลงทะเบียน จํานวน ๑๙๘,๙๘๘
ผลิตภัณฑ แยกเปน ประเภทอาหาร ๗๔,๗๗๔ ผลิตภัณฑ ประเภทเครื่องดม่ื ๙,๘๑๑ ผลติ ภัณฑ ประเภทผา
เครื่องแตงกาย ๓๘,๓๐๔ ผลิตภัณฑ ประเภทของใช ของตกแตง ของที่ระลึก ๕๑,๑๒๖ ผลิตภัณฑ และ
ประเภทสมนุ ไพรทไี่ มใชอ าหาร ๒๔,๙๗๓ ผลิตภัณฑ

เปา หมาย ผูผลิต ผปู ระกอบการ OTOP ไดรับการพัฒนา จํานวน ๓,๘๐๐ กลุม/ราย
ผลการดําเนินงาน ผูผลิต ผูประกอบการ OTOP ไดรับการพัฒนา จํานวน ๔,๔๔๘ กลุม/ราย
โดยดาํ เนินการ ดงั น้ี

๑) การพัฒนาศักยภาพผูประกอบการสูยุค ๔.๐ โดยประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาศักยภาพ
ผูประกอบการสูยุค ๔.๐ เปาหมาย ๓,๘๐๐ ราย ผูเขารวมประชุมไดรับความรูดานการตลาดเบื้องตน
การตลาดออนไลน การเขียน Template/Content ผลิตภัณฑ เพื่อใชในการจําหนายในตลาดออนไลน
และฝกปฏิบัติเทคนิคถายภาพขายของ การสรางเพจขายของบน Facebook การขายใน Marketplace
และสมคั ร Line official account ตลอดจนมีชองทางการจําหนายสนิ คาในตลาดออนไลนชองทางตาง ๆ
ไดแ ก Facebook Line และ OTOP TODAY เปน ตน

๒) พัฒนาผูผลิต ผูประกอบการ OTOP กาวสูสังคมดิจิทัล โดยรวมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนสุนันทา ดําเนินโครงการพัฒนาผูผลิต ผูประกอบการ OTOPกาวสูสังคมดิจิทัล กลุมเปาหมาย
ประกอบดวย บุคลากร และนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา เจาหนาท่ีพัฒนาชุมชนจังหวัดและ
อําเภอ จังหวัดนครปฐม จํานวน ๔๐ คน ผูผลิต ผูประกอบการ OTOP ในพื้นท่ีจังหวัดนครปฐม จํานวน
๔๐ คน รวมทั้งสิ้น ๘๐ คน ซ่ึงผูเขารวมโครงการไดรับความรูเกี่ยวกับการใชแพลตฟอรม U-OTOP
การสรางคอนเทนตเร่ืองราวภูมิปญญา ศิลปะการเลาเร่ืองเพ่ือประชาสัมพันธผานส่ือออนไลน และ
การถา ยภาพผลติ ภัณฑและจัดทําสอ่ื ประชาสัมพนั ธ

๓) การสงเสริมผูผลิต ผูประกอบการ OTOP ดานการจําหนายสินคา Online โดยดําเนินการ
ฝก อบรมผูผลิต ผูประกอบการ OTOP จํานวน ๔ รนุ รวม ๖๐๘ คน ซึ่งผูเขารวมโครงการไดรับความรูดาน
การตลาดออนไลนการเขียน Template/Content ผลติ ภัณฑ พ่ือใชในการจําหนายในตลาดออนไลน และ
ฝกปฏิบัติเทคนิคถายภาพขายสินคาใหมีความสวยงาม ดึงดูดความสนใจของลูกคา และมีผูผลิต
ผูป ระกอบการ OTOP สมคั รเปน ผขู ายในเวบ็ ไซต www.jd.co.th

เศรษฐกิจฐานรากมนั่ คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

31

นอกจากนี้ ไดดําเนินงาน Big Data โดยดาํ เนินการจางท่ีปรึกษาโครงการพัฒนาระบบขอมูลขนาด
ใหญ “หนง่ึ ตาํ บล หนงึ่ ผลิตภณั ฑ” (OTOP Big Data) สนับสนุนงบประมาณเพอื่ เปน คาวัสดุ ในการพัฒนา
ศูนยบริการสงเสริมเศรษฐกิจฐานราก จํานวน ๘๗๘ ศูนย และเพ่ิมประสิทธิภาพกลไกการทํางานพัฒนา
ชุมชนในพื้นที่เพ่ือปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โดยจัดทําส่ือ
Online สรางการรับรูการปองกันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จัดหาหนากากอนามัย
สนับสนุนผูนํา กลุม องคก ร เครือขา ย สรางกระบวนการเรียนรูการปองกันโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-19) และติดตามการดําเนินงาน โดยสามารถจัดหาหนากากผาอนามัย จํานวน ๒๐๐,๐๐๐ ชิ้น
และมอบหนากากผาอนามัย จาํ นวนทั้งสิน้ ๑๑๒,๐๕๐ ช้นิ

ผลกระทบตอประชาชน ผูผลิต ผูประกอบการ OTOP มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการ
มีชอ งทางการตลาดออนไลนเ พิม่ ขนึ้ และมีรายไดจากการจาํ หนา ยเพิม่ มากข้นึ ไมน อยกวารอยละ ๑๐ เมือ่ เทียบ
กับรายไดก อนการพัฒนา

2. พัฒนาผลติ ภณั ฑช มุ ชนดว ยองคค วามรูแ ละนวตั กรรม

เปา หมาย ผลติ ภัณฑช มุ ชน/OTOP ไดร ับการพัฒนา จาํ นวน ๓,๘๔๕ ผลิตภัณฑ
ผลการดาํ เนนิ งาน ผลติ ภัณฑช มุ ชน/OTOP ไดรับการพฒั นา
จํานวน ๓,๗๒๖ ผลติ ภัณฑ โดยมีผลดาํ เนนิ การ ดังน้ี
๑) การพฒั นาผลิตภัณฑ OTOP กลมุ ปรบั ตวั สกู ารพฒั นา
(Quadrant D) ใหม ีคุณภาพมาตรฐาน ดาํ เนนิ การโดยการประชุม
เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารผผู ลิต ผปู ระกอบการ OTOP กลุมปรบั ตวั สกู ารพฒั นา
(Quadrant D) ใหมีคุณภาพมาตรฐาน ณ โรงเรียน OTOP ทั้ง ๗ แหง
จาํ นวน ๕๒ รุน และพฒั นาผลติ ภณั ฑใหแ กก ลมุ เปา หมาย จาํ นวน ๑,๙๐๐ ผลิตภณั ฑ
๒) สงเสรมิ เครอื ขา ยองคค วามรู KBO (Knowledge – Based OTOP) ใหแกกลุมผูผลิตชุมชน ๗๖
จงั หวดั ๆ ละ ๒๐ กลุม รวม ๑,๕๒๐ คน ผลิตภณั ฑ OTOP กลุม ปรับตัวสูก ารพัฒนา หรือระดับ ๑ - ๓ ดาว
จังหวัดละ ๒๐ ผลิตภัณฑ รวม ๑,๕๒๐ ผลิตภัณฑ และเครือขายองคความรู KBO จังหวัดละ ๒๐ คน รวม
๑,๕๒๐ คน ดําเนินการโดยการพัฒนาศักยภาพ KBO พัฒนาผลิตภณั ฑ OTOP ซ่ึงผลจากการดําเนินงาน
มผี ลิตภณั ฑไดร ับการพัฒนาใหมคี ุณภาพมาตรฐาน มมี ูลคา เพมิ่ จาํ นวน ๑,๕๒๐ ผลติ ภัณฑ

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพง่ึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

32

๓) การยืดอายุผลิตภัณฑ OTOP อาหารถ่ินรสไทยแท รวมกับสถาบันอาหาร โดยมีเมนูอาหาร
ที่ไดรับการคัดเลือก ๑๐ เมนู พัฒนาดวยกระบวนการผลิต ๒ เทคโนโลยี คือ (๑) การยืดอายุดวย
เครื่องฟรีซดราย หรือเทคโนโลยีการทําแหงแบบแชเยือกแข็ง จํานวน ๕ ผลิตภัณฑ ไดแก น้ํายา
(น้ําเงี้ยว) แกงไตปลา แกงปาไก แกงเห็ด และแกงไกกระวาน (๒) การยืดอายุอาหารโดยใชเ ครอื่ งรีทอรท
หรือเครอื่ งฆา เช้ือภายใตแ รงดัน จํานวน ๕ ผลติ ภณั ฑ ไดแก แกงฮงั เลไก
มสั มนั่ ไก ตมโคลง ปลายา ง นาํ้ ยาปา และแกงสมมะละกอ

๔) การพฒั นาและยกระดับผลิตภณั ฑ OTOP
ในหมบู า นคชานรุ ักษ จงั หวัดจันทบุรี โดยดําเนนิ การ
๓ หมบู า น หมบู านละ ๒ ผลิตภณั ฑ รวม ๖ ผลิตภณั ฑ
ดว ยสํารวจความตอ งการการพฒั นาอาชีพ ๓ หมบู า น
ฝก อบรมใหความรูก ารพฒั นาและยกระดับผลิตภัณฑ
จํานวน ๑๐๕ คน และพัฒนาผลติ ภัณฑ ๖ ผลิตภัณฑ ไดแก พริกแกงปาเนินตูดตุง ปลาแดดเดียว น้ําพริก
ปลาดุกฟู กลวยอบเนย นํา้ พริกไขเค็ม และหมูแดดเดียว ผลติ ภณั ฑดังกลาวไดนาํ เขาสูระบบตลาดออนไลน
(Online Marketing) บนเวบ็ ไซต www.otoptoday.com

๕) พัฒนาและยกระดับผลิตภัณฑ OTOP ผาไทยและ
ผาพื้นเมือง โดยดําเนินการคัดเลือกผูผลิต ผูประกอบการ
OTOP ท่ีผานการประกวดผาตามโครงการประกวดผา
สบื สานอนุรกั ษศ ิลปผาถ่ินไทย ดํารงไวใ นแผนดิน ป ๒๕๖๓
จังหวัดละ ๑๐ กลุม ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ
อยางนอยจังหวัดละ ๔ ผลิตภัณฑ รวม ๓๐๐ ผลิตภัณฑ
และถายทอดองคความรูใหกับผูผลิต ผูประกอบการ
OTOP จังหวัดละ ๑๐ กลุม/ราย

เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชุมชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

33

ผลกระทบตอประชาชน ผูผลิต ผูประกอบการ OTOP มีสินคาท่ีมีคุณภาพ มาตรฐาน ตรงตาม
ความตองการของตลาด และมีรายไดเ พิม่ ไมนอยกวารอยละ ๑๐ เม่อื เทียบกับรายไดก อนการพัฒนาผลติ ภัณฑ

๓. พฒั นาบริหารจัดการและกจิ กรรมชมุ ชนทอ งเที่ยว OTOP นวตั วถิ ี

เปาหมาย ชุมชนทองเที่ยว OTOP นวัตวิถี ไดรับการพัฒนาศักยภาพดานการทองเที่ยว
เชิงสรา งสรรค จาํ นวน ๓๒๐ ชุมชน/หมูบาน

ผลการดําเนินงาน ชุมชนทองเที่ยว OTOP นวัตวิถี ไดรับการพัฒนาศักยภาพดานการทองเที่ยว
เชงิ สรางสรรค จํานวน ๓๐๐ ชุมชน/หมบู า น โดยมดี ําเนนิ การ ดงั นี้

๑) สรางคุณคาและพัฒนาชุมชนทองเที่ยว OTOP นวัตวิถี โดยจัดประชุมเชิงปฏิบัติการชุมชน
ทองเที่ยว ใหแกผูแทนกรรมการบริหารชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น นักวิชาการพัฒนาชุมชน
(พัฒนากร) จากชุมชนทองเที่ยว ๑๐๐ ชุมชน ใน ๖๓ จังหวัด รวมกลุมเปาหมายท้ังสิ้น ๓๐๐ คน
เพือ่ วเิ คราะหศักยภาพ วางแผนเชือ่ มโยงธรุ กิจผา นสอ่ื ดิจิทลั

๒) การจัดแสดงชมุ ชนทองเท่ียว OTOP นวัตวิถี :
เที่ยวทั่วไทย รวมไวในท่ีเดียว ดําเนินการระหวางวันท่ี
๘ - ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๓ ณ ศูนยแ สดงสินคา และการประชุม
อิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี มีชุมชนทองเท่ียว
OTOP นวัตวิถีจากทุกจังหวัดเขารวม โดยมียอดจําหนาย
ทั้งส้ิน ๕๖,๔๔๘,๔๔๐ บาท ผูเขาเยี่ยมชมงาน จํานวน
๑๖๑,๐๙๙ คน

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

34

๓) ประเมนิ ผลการดาํ เนนิ งานชุมชนทอ งเที่ยว
OTOP นวัตวิถีแบบเสริมพลัง (Empowerment
Evaluation : EE) ดําเนินการ ๔ ภาค ภาคละ ๑ รุน
รวมจํานวน ๖๐๔ คน ประกอบดวย ผูประกอบการ
ชมุ ชน (Champ) ๓๐๐ คน ตัวแทนพฒั นาการอําเภอ
จํานวน ๗๖ คน ตัวแทนพัฒนากร จํานวน ๙๖ คน
นักวชิ าการพัฒนาชุมชน ๗๖ คน และภาคีการพัฒนา
ทเ่ี กีย่ วขอ ง ๗๖ คน

ผลกระทบตอประชาชน สรางรายไดจากการทองเท่ียวของหมูบาน จํานวน ๕,๗๖๙,๒๑๑,๐๐๒
บาท มีนักทองเท่ยี วเขาสูชุมชน ๑๐,๐๘๘,๑๘๙ คน ผูไ ดรบั ประโยชน ประกอบดวย ผูป ระกอบการ ๑.๖๔
ลา นคน ทีพ่ กั ในชมุ ชน ๑๙,๕๕๔ แหง ดา นอาหาร/เครือ่ งด่มื ในชมุ ชน ๒๕,๖๒๑ แหง

๔. การสงเสริมชอ งทางการตลาด

เปาหมาย ชองทางการตลาด จาํ นวน ๖๖,๗๓๕ คร้ัง
ผลการดําเนินงาน ชองทางการตลาด จาํ นวน 80,147 ครงั้ โดยมดี าํ เนินการ ดงั นี้
๑) การจัดแสดงและจําหนายผลิตภัณฑ OTOP สานสัมพันธสองแผนดิน ดําเนินการ ๖ จังหวัด
ไดแก จังหวัดระนอง สตูล จันทบุรี สงขลา นครพนม และจังหวัดหนองคาย มีรายไดจากการจําหนาย
รวมทัง้ สิ้น จาํ นวน ๑๓,๕๐๓,๘๐๒ บาท สั่งซือ้ ๕๗๐,๗๐๐ บาท รวมท้งั สนิ้ ๑๔,๐๗๔,๕๐๒ บาท กลุมผูผลติ
ผปู ระกอบการ OTOP ไดร ับประโยชน ๔๓๗ กลมุ
๒) การจัดงาน OTOP CITY ภายใตธีมงาน “เทศกาลของขวัญปใหม” ดําเนนิ การระหวางวันท่ี
๑๕ - ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี
มีรายไดจากการจาํ หนายและสง่ั ซ้ือ รวมท้ังสนิ้ ๑,๓๗๒,๕๔๔,๓๙๙ บาท และมีผูเขา ชมงาน ๔๕๙,๐๓๔ คน
๓) ตลาดประชารัฐคนไทยย้ิมได ดําเนินการจํานวน ๓,๑๐๓ แหง มีผูเขารวมจําหนาย จํานวน
๑๒๗,๘๘๖ ราย จาํ นวน ๘๐,๑๒๕ ครั้ง และมีรายไดจ ากการจําหนายรวมท้งั ส้นิ ๓,๐๐๕,๗๖๙,๑๒๕ บาท
๔) การจดั งาน OTOP To The Town ดําเนินการ ๑๒ ครงั้ มีผูผ ลติ ผปู ระกอบการ OTOP
เขา รวมงานทง้ั สนิ้ ๗๕๓ ราย มรี ายไดจากการจําหนายรวมทั้งสิ้น ๖๑,๖๑๒,๖๓๒ บาท และมีผเู ขา ชมงาน
๑๒๗,๔๘๙ คน
๕) การจัดงานอะเมซ่ิง ของกินของใช ของดีทั่วไทย ดําเนินงานระหวางวันที่ ๑๑ - ๑๔ กุมภาพันธ
๒๕๖๓ ณ ธนาคารไทยพาณิชย สํานักงานใหญ กรุงเทพมหานคร มีผูประกอบการเขารวมงาน
จาก ๖๑ จังหวัด ๗๗ ราย มีรายไดจากการจําหนายรวมทั้งส้ิน ๗,๓๗๑,๓๑๐ บาท และมีผูเขาชมงาน
๕,๐๐๐ คน

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

35

๖) นักการตลาดรุนใหม (OTOP) โดยปฏิบัติงานในการสงเสริมการตลาดออนไลน ระหวาง
วันท่ี ๑๒ พฤษภาคม ถึงวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓ จํานวน ๒๓๗ คน มีรายไดจากการจําหนายรวมท้ังส้ิน
๕๓,๖๖๐,๒๓๕ บาท มีการไลฟสด เพ่ือประชาสัมพันธผลิตภัณฑ OTOP และชุมชนทองเท่ียว ๓,๗๘๔ ครั้ง
และมจี าํ นวนผลติ ภัณฑท ่ีผานการไลฟส ด ๑๔๕,๗๓๑ ผลติ ภณั ฑ

๗) OTOP Midyear ๒๐๒๐ กิจกรรมสงเสริมการขายและประชาสัมพันธออนไลนผลิตภัณฑ
OTOP ในชวงวิกฤตการณจากโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) มีผูผลิต ผูประกอบการ
OTOP เขารวมงานท้ังส้ิน ๔๘๙ ราย ผานเว็บไซต SHOPEE มีรายไดจากการจําหนายรวมทั้งสิ้น
๑๗,๔๓๖,๕๗๕ บาท

๘) การจัดงานศิลปาชีพ ประทีปไทย OTOP กาวไกล ดวยพระบารมี ดําเนินการระหวางวันท่ี
๘ - ๑๖ สิงหาคม ๒๕๖๓ ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี
มีรายไดจ ากการจําหนา ยและสง่ั ซื้อรวมท้ังสิ้น ๔๒๗,๘๙๔,๓๗๘.๕๐ บาท และมผี เู ขาชมงาน ๑๖๑,๐๙๙ คน

๙) การสงเสริมชองทางการตลาดภายใตงาน Healthcare ๒๐๒๐ : สุขภาพดี วิถีใหม ใจชนะ
ดําเนินการระหวางวันที่ ๓ - ๖ กันยายน ๒๕๖๓ ณ สามยานมิตรทาวน กรุงเทพมหานคร มีผูผลิต
ผูประกอบการเขารว มงาน ๑๖ ราย และมรี ายไดจากการจําหนายและสั่งซื้อรวมทัง้ สิน้ ๗๖๓,๘๖๐ บาท

๑๐) OTOP เคลื่อนท่ี (OTOP Mobile) ดําเนินการ ๗๖ จังหวัด โดยจังหวัดจัดประชุมกลไก
ขับเคลื่อนการจัดแสดง และจําหนายผลิตภัณฑ OTOP รวบรวมและตรวจสอบฐานขอมูลผลิตภัณฑ
OTOP จัดทําแผนการนําผลติ ภัณฑ OTOP ไปจําหนา ยเดือนละไมนอยกวา ๔ ครง้ั

ผลกระทบตอประชาชน ผูผลิต ผูประกอบการ OTOP มียอดจําหนายสินคา OTOP ทั่วประเทศ
ป ๒๕๖๓ (ตุลาคม ๒๕๖๒ - กันยายน ๒๕๖๓) จาํ นวน ๒๕๘,๓๐๗,๑๗๐,๓๑๕ บาท

เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

336 ประเด็นการพัฒนา เรอื่ งท่ี
เสรมิ สรา งทุนชุมชนใหมธี รรมาภบิ าล

กรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจเกี่ยวกับการสงเสริมกระบวนการเรียนรูและการมีสวนรวมของ
ประชาชน สงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากใหมีความม่ันคงและมีเสถียรภาพ โดยใหความสําคัญกับ
การสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจฐานรากชุมชน การแกไขปญหาความยากจนและลดความเหลื่อมลํ้า
รวมถึงการบริหารจัดการเงินทุนชุมชนใหมีประสิทธิภาพกองทุนชุมชนมีธรรมาภิบาล จึงไดกําหนด
เปนประเด็นการพัฒนาของกรมการพัฒนาชุมชนในการพัฒนาหมูบาน/ชุมชน ใหสามารถจัดการทุนชุมชน
เพ่อื เปนฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม โดยใชรูปแบบการพัฒนาระบบบริหารจัดการ และการเขาถึง
แหลงทุนเปนกลยุทธในการขับเคล่ือนภารกิจใหมุงไปสูวิสัยทัศนของกรมการพัฒนาชุมชนที่วา “เศรษฐกิจ
ฐานรากมัน่ คงและชุมชนพึ่งตนเองได ภายในป 2565”

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมการพัฒนาชมุ ชน ไดข ับเคลอ่ื นงานตามประเดน็ การพัฒนา เร่ืองท่ี 3
เสริมสรางทุนชุมชนใหมีธรรมาภิบาล ภายใตแนวทางการพัฒนา 2 แนวทาง ไดแก 1) พัฒนาระบบ
การบริหารและการเขาถึงแหลงทุน 2) พัฒนาทุนชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยผานโครงการ
เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารกองทุนเพ่ือเกษตรกรและแหลงสินเช่ือภาครัฐเพ่ือการเขาถึงแหลงทุน และ
โครงการพฒั นาอาชพี และคุณภาพชวี ิตผูมีรายไดน อ ยเพื่อลดความเหล่ือมลํ้าทางสังคม ซ่ึงมีผลการดาํ เนินงาน
ดังนี้

๑. โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารกองทุนเพ่อื เกษตรกรและแหลง สินเช่อื ภาครัฐ
เพอื่ การเขา ถึงแหลง ทุน

1) การเสริมสรางความเขมแข็งกองทุนชุมชนสูธรรมาภิบาล กิจกรรมขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก
ดว ยทนุ ชมุ ชน

กรมการพัฒนาชุมชน ไดเสริมสรางความเขมแขง็ กองทุนชุมชนสูธรรมาภิบาลผานโครงการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการบริหารกองทุนเพื่อเกษตรกรและแหลงสินเช่ือภาครัฐเพื่อการเขาถึงแหลงทุน กิจกรรม
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากดวยทุนชุมชน โดยดําเนินการสงเสริมสนับสนุนและพัฒนากลุมออมทรัพย
เพือ่ การผลิต กบั โครงการแกไขปญ หาความยากจน (กข.คจ.)
ใหมกี ารตรวจสขุ ภาพกองทุนชุมชน เพอ่ื ประเมนิ ศกั ยภาพ
กองทนุ พรอมจดั ทําแผนการพฒั นากองทนุ และสงเสรมิ –
กองทนุ ชมุ ชนใหมกี ารบริหารจดั การทม่ี ปี ระสิทธิภาพตามหลกั
ธรรมาภบิ าล ดว ยกิจกรรม “Mobile Clinic สรางสขุ กองทุน
ชุมชน” โดยมีกลุม เปาหมาย จํานวน 9,000 กองทุน ไดแ ก
กลมุ ออมทรพั ยเ พือ่ การผลิต จํานวน 4,600 กองทนุ และ
โครงการแกไขปญหาความยากจน (กข.คจ.) จํานวน 4,400 กองทุน โดยทีมคูหูคูคิด Move for fund
team ลงพื้นที่ใหคําแนะนํา ปรึกษากองทุนชุมชนใหมีการบริหารจัดการกองทุนชุมชนดานการบริหาร
โครงการ บรหิ ารหนี้และบริหารสัญญา สงเสริมการออมเชิงคุณภาพแกส มาชิกกองทนุ ชุมชน และสงเสริมให
ประชาชนสามารถเขา ถึงแหลง ทนุ และนาํ เงินทนุ ไปประกอบอาชีพตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชุมชนพึ่งตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

37

ผลการดาํ เนินงาน
๑) พัฒนากองทุนชุมชนใหมีการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล จาํ นวน 9,000 กองทุน

ประกอบดวยกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต จํานวน 4,600 กองทุน โครงการแกไขปญหาความยากจน
จํานวน ๔,๔๐๐ กองทุน

๒) ยกระดบั การพฒั นากองทนุ ชุมชน
๒.๑) กลุมออมทรัพยเ พื่อการผลิต จํานวน ๔,๖๐๐ กองทุน
๒.๑.๑) กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต ระดับ ๑ (พอใช) จํานวน 3,081 กองทุน

หลงั การพฒั นา สามารถยกระดับจากระดบั ๑ (พอใช) เปนระดับ 2 (ปานกลาง) จํานวน 2,666 กองทุน และ
ระดับ 3 (ดี) จาํ นวน 415 กองทนุ

๒.๑.๒) กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต ระดับ 2 (ปานกลาง) จํานวน 1,519 กองทุน
หลงั การพัฒนา สามารถยกระดับจากระดับ ๒ (ปานกลาง) เปนระดบั 3 (ด)ี จาํ นวน 1,519 กองทนุ

2.2) โครงการแกไขปญ หาความยากจน ๔,๔๐๐ กองทนุ
๒.๒.๑) โครงการแกไขปญหาความยากจน ระดับ ๑ (พอใช) จํานวน 2,242

กองทุนหลังการพัฒนาสามารถยกระดับจากระดับ ๑ (พอใช) เปนระดับ ๒ (ปานกลาง) จํานวน 1,669
กองทุน และระดับ ๓ (ด)ี จาํ นวน 573 กองทุน

๒.๒.๒) โครงการแกไขปญหาความยากจน ระดับ 2 (ปานกลาง) จํานวน 2,158
กองทนุ หลงั การพัฒนาสามารถยกระดับจากระดบั ๒ (ปานกลาง) เปนระดับ 3 (ด)ี จาํ นวน 2,158 กองทุน

3) สนบั สนนุ ใหประชาชนเขา ถงึ แหลง ทนุ จาํ นวน 158,000 คน จาํ นวนเงินทเ่ี ขาถงึ แหลงทุน
จาํ นวน7,816,831,438 บาท

2) การดําเนินงานกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กรมการพัฒนาชุมชน สงเสริม สนับสนุนการดําเนนิ งาน
กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิตมายาวนานกวา 46 ป โดยใช “เงินเปนเครื่องมือในการพัฒนาคน” โดยการ
สงเสริมใหเกิดกระบวนการเรียนรูของประชาชนในการพัฒนาตนเอง พัฒนาสังคมใหมีคุณธรรม มีการ
ชวยเหลือเก้ือกูล เอื้ออาทร แบงปนซึ่งกันและกัน พัฒนาเศรษฐกิจใหมีแหลงทุนในการประกอบอาชีพ
ในชุมชน และลดการพ่ึงพาจากภายนอก ตลอดจนเกิดกระบวนการเรียนรูรวมกันตามวิถีทางประชาธิปไตย
โดยยึดหลักคุณธรรม 5 ประการ คือ ซ่ือสัตย เสียสละ ความรับผิดชอบ ความเห็นอกเห็นใจ และ
ความไววางใจซึ่งกันและกนั

ผลการดําเนินงาน ปจจุบันมีกลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต จํานวน 19,646 กลุม สมาชิกจํานวน
2,994,383 คน จํานวนเงินสจั จะสะสม 27,607,738,236 บาท สามารถสนับสนนุ เงินทุนใหสมาชิกกูยืม
ไปประกอบอาชีพ จาํ นวน 1,790,482 คน เปน เงิน
จาํ นวน 17,576,522,950 บาท ผลการจดั ระดบั
การพัฒนา มกี ลุม ออมทรัพยเพ่อื การผลติ ที่มีผลการ
ดาํ เนนิ งานอยใู นระดับ 3 ผลงานดี จาํ นวน 3,830 กลมุ
คดิ เปน รอ ยละ 19.50 ระดบั 2 ผลงานพอใช จํานวน
7,935 กลุม คิดเปน รอยละ 40.39 และระดับ 1
ผลงานปรับปรงุ จํานวน 7,881 กลุม คดิ เปน รอยละ 40.11

เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชุมชนพ่งึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

38

3) การดําเนินงานโครงการแกไขปญหาความยากจน (กข.คจ.) กระทรวงมหาดไทย มอบหมายให
กรมการพฒั นาชมุ ชนดาํ เนินโครงการแกไ ขปญ หาความยากจน (กข.คจ.) ต้ังแตป พ.ศ. 2536 จนถึงปจจุบัน
เปนระยะเวลากวา 27 ป เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและแกไขปญหาความยากจน
โดยมุงเปาหมายที่ครัวเรือนยากจนที่มีรายไดตํ่ากวาเกณฑความจําเปนพ้ืนฐาน (จปฐ.) โดยการสนับสนุน
เงินทุนในระดับหมูบาน ๆ ละ 280,000 บาท เพื่อเปนเงินทุนหมุนเวียนใหครัวเรือนเปาหมายยืมไปลงทุน
ประกอบอาชีพ การบริหารจัดการโครงการฯ ดําเนินการภายใตระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการ
บริหารและการใชจายเงินโครงการแกไขปญหาความยากจน พ.ศ. 2553 และการมีสวนรวมขององคกร
ประชาชนและประชาชนในหมูบ า นเปา หมายในการรว มคดิ รว มตัดสินใจ รวมทํา รวมรับผิดชอบ และรวมรับ
ผลประโยชน โดยมีวิธีการบริหารจัดการเงินทุนใหหมุนเวียนคงอยูในหมูบาน รวมถึงการตรวจสอบเงินทุน
โดยคณะกรรมการและมีเจาหนาท่ีพัฒนาชุมชนเปนผูสงเสริม สนับสนุน ตรวจสอบและติดตามการดําเนิน
โครงการ กข.คจ. ใหม ีความโปรง ใส มปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ธรรมาภิบาล

ผลการดําเนินงาน ปจจุบันมีหมูบานโครงการแกไขปญหาความยากจน (กข.คจ.) จํานวน 29,231
หมูบาน เงินทุนจํานวน 8,915,012,290.30 บาท จํานวนครัวเรือนที่ไดรับเงินยืม 1,237,286 ครัวเรือน
เปนเงิน 7,605,591,140 บาท จํานวนเงนิ ทุนฝากธนาคาร 793,800,541.30 บาท เงินทุนที่อยูระหวาง
การเรงรัดติดตามการชําระเงินยืม จํานวน 3,590 หมูบาน รวมเปนเงิน 515,620,609 บาท ผลการจัด
ระดับการพฒั นา มกี องทุนแกไขปญหาความยากจน (กข.คจ.) ท่ีมีผลการดาํ เนินงานอยูในระดับ 1 ปรบั ปรุง
จาํ นวน 5,186 กองทุน คดิ เปนรอ ยละ 17.74 ระดบั 2 ปานกลาง จํานวน 11,897 กองทนุ คดิ เปน รอยละ
40.70 และระดับ 3 ผลงานดี จาํ นวน 12,148 กองทุน คดิ เปนรอ ยละ 41.56

4) ศนู ยจดั การกองทนุ ชุมชน
การสงเสริมการแกไขปญหาหนี้สินครัวเรือนภายใตการดําเนินงานของศูนยจัดการกองทุนชุมชน
เปนอีกภารกจิ สําคัญท่ีกรมการพัฒนาชุมชนไดมุงเนนกระบวนการเรียนรูและการมีสวนรวมของคนในชุมชน
รวมท้ังสงเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากใหมีความม่ันคงและมีเสถียรภาพใหเกิดข้ึนในหมูบาน/ชุมชน
โดยใหความสําคัญกับการบริหารจัดการเงินทุนชุมชนใหมีประสิทธิภาพ และเห็นความสําคัญของการ
แกปญหาหน้ีครัวเรือน โดยเร่ิมตนที่ระดับครัวเรือน อันเปนการพัฒนาโครงสรางทางสังคมควบคูกับการ
พัฒนาเศรษฐกิจระดับฐานรากใหมีความเขมแข็ง จึงไดสงเสริมสนับสนุนใหมีการบูรณาการเช่ือมโยงการ
บริหารจัดการของกลุม/องคกรในชุมชน ในชื่อ “ศูนยจัดการกองทุนชุมชน” โดยมีกลไกขับเคลื่อนคือ
คณะกรรมการศูนยจัดการกองทุนชุมชนที่มาจากตัวแทนของกลุม/องคกรในชุมชน ทําหนาที่บริหารจัดการ
เงนิ ทุนทม่ี อี ยูในชุมชนใหเ กดิ ความคมุ คามปี ระสิทธิภาพ และเกดิ ประโยชนสงู สุด ซึ่งมคี วามเก่ียวของกับกรอบ
ของงาน 3 มติ ิ

เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชุมชนพ่งึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

39

ทงั้ การจัดการหนี้สิน การจัดการเศรษฐกิจ และการปรับทัศนคติในการใชช ีวิตประจาํ วนั ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ผานกระบวนการปรับโครงสรางหน้ี เพื่อแกไขปญหาหน้ีสินของประชาชนในหมูบาน/
ชุมชน นําไปสูเ ปา หมาย คอื “การลดหน/้ี ปลดหน”้ี ปจจบุ ันกรมการพฒั นาชุมชน มศี นู ยจัดการกองทุนชมุ ชน
ที่อยูใ นความรับผิดชอบจาํ นวน 924 แหง (ในพืน้ ที่ 76 จงั หวดั 878 อาํ เภอ) ซ่ึงสามารถแกไขปญ หาหนี้สิน
ครัวเรือน โดยลดภาวะหนี้สินครัวเรือน ในป 2560 - 2562 จํานวน 40,790 ครัวเรือน ลดหนี้ได
718,104,190 บาท และปลดหนี้ได 153,723,306 บาท

ป พ.ศ. 2563 กรมการพฒั นาชุมชน ไดมีการสง เสริมการดาํ เนินงานศูนยจัดการกองทุนชุมชนอยาง
ตอเน่ือง โดยมุงเนนการพัฒนาตนแบบ “โมเดล”การจัดการหน้ีสนิ และยกระดับการดําเนินงานศูนยจัดการ
กองทุนชุมชนดีเดน สูการเปนตน แบบและเปนแหลงเรียนรดู านการบริหารจัดการหนี้ของคนในชุมชนรองรับ
การขยายผลสูการปฏิบตั กิ ารไปยังพืน้ ทีต่ า ง ๆ ใหเปนหมบู าน/ชุมชนทสี่ ามารถจดั การตนเอง จดั การเศรษฐกิจ
ชุมชน นําไปสูชุมชนเขมแข็งอยางย่ังยืน และมุงเนนการสงเสริมการบริหารจัดการหน้แี ละสนับสนนุ สงเสริม
สมั มาชีพ สรา งวินยั ทางการเงนิ ใหก ับประชาชน สรา งแรงจูงใจในการปรับพฤติกรรมทางการเงินวางแผนการ
ใชจ ายทางการเงนิ สง เสรมิ การการออม สงเสริมการดาํ เนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และ
จัดทําแผนการบริหารหนี้ของครัวเรือน เพ่ือใหเกิดผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการหน้ี (ลดหน้ี/ปลดหนี้ของ
ครวั เรอื น) ผานกิจกรรม ดังนี้

ที่ โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ เปา หมาย
(บาท)
1 ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาศนู ยจดั การกองทุนชุมชนดเี ดนสูการเปน ตน แบบ
ดา นการบริหารจดั การหนี้ 1,107,600 150 คน

2 ศนู ยจ ัดการกองทุนชมุ ชนดีเดนสูการเปนตนแบบดา นการบรหิ ารจดั การหน้ี 4,711,800 36 แหง
2.1 ประชมุ เชงิ ปฏิบัติการสนับสนุนการดําเนินงานศูนยจดั การกองทนุ ชมุ ชนดเี ดน 496,800 36 แหง
2.2 สนบั สนุนการดําเนนิ งานศนู ยจ ดั การกองทุนชุมชนดเี ดนตามแผนการพฒั นา
ศูนยจดั การกองทนุ ชุมชนดเี ดน สูการเปนตนแบบดา นการบรหิ ารจดั การหน้ี 3,600,000 36 แหง
2.3 ติดตามสนับสนุน และจัดการองคความรูเพ่ือพัฒนางานศูนยจัดการกองทุน
ชมุ ชน 615,000
- ติดตามสนบั สนุน และจัดการองคความรูเพื่อพัฒนางาน ศูนยจัดการกองทุน
ชมุ ชน 120,000 7 จงั หวัด
- จัดทําสื่อสรางสรรคสงเสริมการบริหารจัดการหนี้ครัวเรือนศูนยจัดการ 11 แหง
กองทุนชมุ ชน (เพลง, LOGO)
495,000 2 ชิน้ งาน
3 ศนู ยจ ดั การกองทุนชมุ ชนบริหารจดั การหน้ี “สาํ นกึ ดี แผนดี บริหารหนี้ได”
13,320,000 240 แหง
4 ศึกษาความเปนไปไดในการพัฒนากลุมองคกรฐานรากเพ่ือรองรับตอการจัดการ 490,000 1 เร่ือง
ปญ หาความยากจนและ ความเหล่อื มล้าํ ของสงั คม
7,383,000 107 แหง
5 จัดตั้งศูนยจัดการกองทุนชุมชน (งบเพ่ิมเติม) ตามโครงการการแกปญหาหน้ีสิน
ภาคครวั เรอื นของประชาชน โดยศูนยจ ดั การกองทุนชุมชน

เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชุมชนพง่ึ ตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕

40

ผลการดําเนินงาน ศูนยจัดการกองทุนชุมชนบริหารจัดการหนี้ “สํานึกดี แผนดี บริหารหนี้ได”
จํานวน 240 แหง สามารถบริหารจัดการหน้ีใหกับครัวเรือนไดจํานวน 5,083 ครัวเรือน คิดเปนรอยละ
70.60 โดยแบงเปนหนี้ในระบบ จํานวน 9,737 สัญญา เปนเงิน 231,137,600 บาท หนี้นอกระบบ
จํานวน 62 สัญญา เปนเงิน 1,466,165 บาท สามารถลดหนี้/ปลดหนี้ รวม 40,515,704 บาท คิดเปน
รอยละ 17.42 ของจํานวนหนี้ท้ังหมด และจัดต้ังศูนยจัดการกองทุนชุมชน จํานวน 107 แหง ใน 76
จังหวัด รวมท้ังพัฒนาศักยภาพศูนยจัดการกองทุนชุมชนดีเดนสูการเปนตนแบบ ดานการบริหารจัดการหนี้
จํานวน 36 แหง ตลอดจนจัดทาํ สอื่ สรา งสรรคส ง เสรมิ การบรหิ ารจัดการหนี้ ไดแก จัดทาํ บทเพลงศูนยจ ัดการ
กองทุนชุมชน จํานวน 1 บทเพลง และทําตราสัญลักษณ (Logo) ศูนยจัดการกองทุนชุมชน จํานวน 1
ช้ินงาน

๒. โครงการพฒั นาอาชีพและคุณภาพชีวิตผูมีรายไดนอยเพอ่ื ลดความเหลอื่ มลาํ้ ทางสังคม

กรมการพัฒนาชุมชน มุงเนนการแกไขปญหาความยากจนและลดความเหลื่อมล้ําทางสังคม
ซึ่งมีความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป เพื่อบรรลุวิสัยทัศนประเทศไทย “มั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน”
และแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) โดยสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสงั คมแหง ชาติกาํ หนดยุทธศาสตรท ี่ 9 การพัฒนาภาคเมือง และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ มเี ปาหมายเพื่อลดชองวาง
รายไดระหวางภาคและมีการกระจายรายไดที่เปนธรรมมากข้ึน ซึ่งมีแนวทางการพัฒนาพื้นท่ี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยุทธศาสตรที่ 2 แกไขปญหาความยากจนและพัฒนาคุณภาพชีวิตผูมีรายไดนอย
เพ่ือลดความเหล่ือมล้ําทางสังคม ขอ 2.1 พัฒนาอาชีพและรายไดของคนยากจน เพ่ือบรรลุเปาหมาย
เศรษฐกิจระดบั ภาคเตบิ โตตามศักยภาพ ประชาชนมคี วามเปน อยูแ ละคุณภาพชวี ติ ดีขนึ้

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2563 กรมการพัฒนาชมุ ชน ไดกําหนดการขับเคล่อื นโครงการพัฒนาอาชีพ
และคุณภาพชีวิตผูมีรายไดนอยเพื่อลดความเหล่ือมล้ําทางสังคม กิจกรรมพัฒนาอาชีพและรายไดของคน
ยากจน ในพ้นื ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 จังหวัด 274 อําเภอ 500 หมูบาน ไดแก จังหวัดนครราชสมี า
บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อํานาจเจริญ บึงกาฬ หนองบัวลําภู ขอนแกน
อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม รอยเอ็ด กาฬสินธุ สกลนคร นครพนม และจังหวัดมุกดาหาร ซ่ึงเปน
หมบู านท่ีมคี รวั เรอื นไมผ า นเกณฑร ายไดเ ฉล่ยี คนละ 38,000 บาท/ป จากขอ มลู ความจําเปน พื้นฐาน (จปฐ.)
ป 2562 ท่ีสามารถพฒั นาได หรอื ครวั เรือนท่ลี งทะเบยี นบัตรสวัสดกิ ารแหงรัฐโดยใชแนวคิดการแกไขปญหา
ความยากจนแบบบูรณาการ โดยการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติจนเปนวิถีชีวิต
การสรางภูมิคุมกันทางการเงิน และการสนับสนุนใหครัวเรือนผูมีรายไดนอยเปาหมายมีอาชีพและมีรายได
จํานวน 7,500 ครัวเรือน เพื่อเปนสวนหน่ึงในการชวยเหลือประชาชนไดมีอาชีพ มีรายได และลดปญหา
ความเหลื่อมลา้ํ ของคนในสังคม

ผลการดาํ เนนิ งาน ครัวเรอื นผูมรี ายไดน อยเปาหมายไดร ับการพฒั นาอาชพี จํานวน 7,500 ครวั เรอื น
คิดเปนรอยละ 100 โดยอาชีพท่ีสนับสนุนตามโครงการฯ 5 ลําดับแรก ไดแก 1) เลี้ยงไกพันธุไข 2,775
ครัวเรือน 2) เลี้ยงไกพันธุพ้ืนเมือง 978 ครัวเรือน 3) เล้ียงปลาดุก 523 ครัวเรือน 4) ปลูกผัก 396
ครัวเรอื น และ 5) เลยี้ งไกพันธุไขและปลูกผัก 297 ครัวเรอื น และครัวเรอื นผูมีรายไดนอยเปาหมายมีรายได
เพมิ่ ข้ึน จาํ นวน 7,489 ครัวเรือน คิดเปน รอ ยละ 99.85 โดยมรี ายไดเ ฉลี่ยตอเดอื น จาํ นวน 5,647.27 บาท

เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพึ่งตนเองได Change for Good
ภายในป ๒๕๖๕


Click to View FlipBook Version