The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wichien.ta, 2021-04-24 13:35:56

รายงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้

รายงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้

รายงานการวจิ ัยเพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการเรยี นรู้
เร่อื ง

ศึกษาความพงึ พอใจต่อการใชง้ านระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์

นายวเิ ชียร ทวสี ุข
ครชู ำนาญการ

สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ สแ์ ละหนุ่ ยนต์ วิทยาลยั เทคนิคสระบรุ ี

สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

รายงานการวิจยั เพื่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้
เร่อื ง

ศกึ ษาความพงึ พอใจต่อการใชง้ านระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์

นายวิเชยี ร ทวสี ุข
ครูชำนาญการ

สาขาวชิ าเมคคาทรอนิกสแ์ ละหนุ่ ยนต์ วทิ ยาลยั เทคนิคสระบรุ ี

สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

ชือ่ เรอื่ ง : ศึกษาความพึงพอใจตอ่ การใช้งานระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์
ชื่อผวู้ ิจัย : นายวเิ ชยี ร ทวสี ุข
ปีการศกึ ษา : 2563

บทคดั ย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. พัฒนาระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ สำหรับนักศึกษาระบบ
ทวิภาคีหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) และ 2. ศึกษา
ความพงึ พอใจของผใู้ ชง้ านระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์

กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยในครั้งนี้คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเมคคา
ทรอนิกส์และหุ่นยนต์ สาขางานเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ระบบทวิภาคี วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ชั้นปีที่ 2
จำนวน 7 คน นกั ศกึ ษาหลักสตู รเทคโนโลยีบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีการก่อสร้าง ระบบทวิภาคี วิทยาลยั เทคนิค
สระบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 ชั้นปีที่ 2 จำนวน 15 คน และสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
ระบบทวิภาคี วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 ชั้นปีที่ 2 จำนวน 18 คน รวมทั้งสิ้น
จำนวน 40 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1. ระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง (ปวส.) และระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี สถาบันการ
อาชีวศึกษาภาคกลาง 1 และ 2. แบบประเมินความพึงพอใจการใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานระบบทวิภาคี
ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชั้นสูง และระดบั ปรญิ ญาตรี วเิ คราะห์ข้อมลู โดยนำผลการตอบแบบประเมนิ วเิ คราะห์
ดว้ ยโปรแกรมสำเร็จรูป IBM SPSS รุ่น 26

ผลการวิจัยพบว่าระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์ที่สร้างขึ้นนั้น สามารถบันทึกผลและส่งรายงานใน
กลุ่มไลน์ แต่ละกลุ่มได้ ทำให้ครูผู้รับผิดชอบในรายวิชานั้นได้รับทราบการรายงานผลของนักศึกษาอย่างเป็น
ปัจจุบัน นอกจากนี้ยังสามารถสง่ ไฟล์รายงานในรูปแบบ PDF ไปยังอีเมลของนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาสามารถนำ
ไฟล์ไปปรนิ ตไ์ ด้อย่างสะดวกย่ิงขึน้

ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจ พบว่าประเด็นที่มีคะแนนสูงสุดคือความเหมาะสมในการใช้งาน
และความสามารถของระบบในการนำไปใช้ประโยชน์ มีค่าเฉลี่ย 4.70 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.57 ความ
พึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ประเด็นที่มีคะแนนรองลงมาคือ ความสะดวกในการใช้งานโปรแกรม และความพึง
พอใจในการใช้งาน มีค่าเฉลี่ย 4.65 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.67 และ 0.60 ตามลำดับ ความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมากที่สุด ส่วนประเด็นที่มีคะแนนน้อยที่สุดคือระบบสามารถช่วยลดขั้นตอนในการทำงาน มีค่าเฉลี่ย 4.27
และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 0.69 ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมาก เม่ือวเิ คราะห์ความพึงพอใจโดยรวมจากการตอบ
คำถามทุกประเด็นพบว่ามีค่าเฉลี่ย 4.53 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.67 แสดงว่าผูใ้ ช้งานมีความพึงพอใจอยู่ใน
ระดับมากท่สี ดุ ซ่ึงเปน็ ไปตามสมมุติฐาน

สารบญั หนา้

บทคดั ย่อ 1
บทที่ 1 บทนำ 1
1
1.1 ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา 2
1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจยั 2
1.3 สมมุติฐานของการวจิ ัย 2
1.4 ขอบเขตของการวจิ ยั 4
1.5 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 4
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง 6
2.1 การจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี 6
2.2 การฝกึ ประสบการณส์ มรรถนะวิชาชีพ 8
2.3 การนิเทศฝึกงาน 24
2.4 การใช้งาน Google Form 24
2.5 แนะนำ Google App Script 37
2.6 การเขียนโปรแกรม Google App Script 40
2.7 งานวิจยั ที่เกยี่ วข้อง 40
บทที่ 3 วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย 40
3.1 ประชากร/กลมุ่ ตัวอย่าง 40
3.2 เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการวิจัย 44
3.3 ขัน้ ตอนการสรา้ งเครื่องมือ 45
3.4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 47
3.5 สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 47
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 55
4.1 ผลการสรา้ งระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์ 57
4.2 การวเิ คราะห์ความพึงพอใจของผู้ใชง้ านระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ 57
บทท่ี 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ 57
5.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 57
5.2 สมมตุ ิฐานของการวจิ ยั 58
5.3 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย 58
5.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล
5.5 การวเิ คราะห์ข้อมลู

สารบัญ (ตอ่ )

หน้า

5.6 สรุปผลการวจิ ัย 58

5.7 อภปิ รายผลการวจิ ัย 59

5.8 ขอ้ เสนอแนะ 60

บรรณานุกรม 61

ภาคผนวก 62

ก Google Form แบบบนั ทกึ การฝึกงานของแต่ละระดับและรายวิชา

ข Google Form แบบประเมนิ ความพึงพอใจการใช้งานระบบรายงานผลการฝกึ งานระบบทวภิ าคี

ค Google App Script สำหรับระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์

ง ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลด้วยโปรแกรมวเิ คราะห์ทางสถิติ SPSS

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 20 กำหนดให้มีการจัดการอาชีวศึกษา

การฝึกอบรมวิชาชีพ ในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชนสถานประกอบการ หรือโดยความร่วมมือ
ระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ ประกอบกับพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 มาตรา 8
กำหนดรูปแบบการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพเป็น 3 รูปแบบคือ การศึกษาในระบบ การศึกษา
นอกระบบ และการศึกษาระบบทวิภาคี มาตรา 9 กำหนดให้การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพตาม
หลักสูตรที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด 3 ระดับดังนี้ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับ
ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชนั้ สูง และระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ัติการ

ตามประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ.
2563 ซึง่ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 137 ตอนพเิ ศษ 191 ง เมือ่ วันท่ี 20 สิงหาคม 2563 ได้มีข้อกำหนดที่
เกี่ยวข้องกับการนิเทศการฝึกอาชีพดงั นี้ ข้อ 9 (8) จัดให้มีครนู เิ ทศการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ ข้อ 9 (9) มี
การกำกบั ติดตาม และประเมินผลการฝกึ อาชพี ร่วมกบั สถานประกอบการ ข้อ 14 กำหนดรปู แบบการนเิ ทศผู้เรียน
ในสถานประกอบการเป็น 2 กรณีคือ การนิเทศในประเทศ และการนิเทศในต่างประเทศ โดยในแต่ละประเภทได้
กำหนดจำนวนครั้งของการนิเทศในสถานประกอบการต่อภาคเรียนไว้ และสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการนิเทศท้ังในประเทศและต่างประเทศอย่างสมำ่ เสมอและรายงานผลการนิเทศต่อผ้บู ริหารสถานศึกษาทราบ

เนอ่ื งจากสถานการณก์ ารระบาดของโควิด-19 เปน็ การระบาดทัว่ โลกในช่วงปลายปี 2562 โดยพบครงั้ แรก
ในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน และได้แพร่กระจายไปทั่วโลกรวมถึงในประเทศไทยซึ่งพบ
ผูป้ ว่ ยเปน็ จำนวนมากและติดต่อกันได้ง่ายและรวดเรว็ จงึ ส่งผลกระทบต่อการดำเนนิ กิจกรรมต่างๆ ที่มีการรวมตัว
ของผูค้ นจำนวนมาก รวมทั้งการติดต่อประสานงานแบบเผชิญหน้าดว้ ย ดงั นน้ั จึงส่งผลกระทบต่อการนิเทศการฝึก
อาชีพในสถานประกอบการดว้ ย ในหลายสถานประกอบการกำหนดมาตรการเขม้ งวดหา้ มบุคคลภายนอกเขา้ สถาน
ประกอบการนั้นๆ ผู้วิจัยจึงสร้างแบบรายงานการฝึกงานออนไลน์ขึ้นเพือ่ แก้ไขปัญหาดังกล่าว และตอบสนองการ
นิเทศผเู้ รยี นในสถานประกอบการตามประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาอีกด้วย

1.2 วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย
1.2.1 เพอื่ สรา้ งระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์
1.2.2 เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใชง้ านระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์

2

1.3 สมมติฐานของการวจิ ัย
ระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ที่สร้างขึ้น สามารถใช้ในการรายงานผลการฝึกงานของนักศึกษา

ระบบทวิภาคีทั้งระดับประกาศนียบัตรวิชาชัพชั้นสูง (ปวส.) และระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต
(ทล.บ.) ได้ และมีความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ อยู่ในระดับพอใจมาก หรือมีผล
การประเมินเฉลย่ี (X) 3.50 ขนึ้ ไป

1.4 ขอบเขตของการวจิ ยั
1.4.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา ทำการวิจัยเรื่องศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้ระบบรายงานผลการฝึกงาน

ออนไลน์ ซ่งึ รายงานเฉพาะส่วนบันทึกผลการปฏบิ ัตงิ านประจำวัน และประจำสัปดาห์เท่านั้น โดยผ้ใู ช้งานสามารถ
บันทึกรายงานผลการฝึกงานผ่าน Google Form ของแต่ละหลักสูตรและสาขาวิชาที่ได้จัดเตรียมไว้ เมื่อผู้ใช้งาน
กดส่งแบบฟอร์มแล้วจะแจ้งเตือนพร้อมกับส่งไฟล์ภาพบันทึกรายงานผลการฝึกงานประจำสปั ดาห์ในกลุม่ ไลน์ของ
รายวิชาท่รี ายงานน้ัน และมีไฟล์ PDF ของบันทึกรายงานผลการฝกึ งานประจำสัปดาห์ส่งไปยงั อเี มลของนักศึกษาท่ี
แจง้ ไวใ้ น Google Form เพอ่ื นำไปเสนอผคู้ วบคมุ การฝึกประเมินตอ่ ไป

1.4.2 ประชากรของการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเมคคา
ทรอนิกส์และหุ่นยนต์ สาขางานเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ ระบบทวิภาคี วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ชั้นปีที่ 2
จำนวน 7 คน นักศกึ ษาหลักสตู รเทคโนโลยีบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีการกอ่ สรา้ ง ระบบทวิภาคี วทิ ยาลยั เทคนิค
สระบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 ชั้นปีที่ 2 จำนวน 15 คน และสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
ระบบทวิภาคี วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 ชั้นปีที่ 2 จำนวน 18 คน รวมทั้งสิ้น
จำนวน 40 คน

1.4.3 กลุ่มตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการวิจยั ในคร้งั น้ี คือประชากรทั้งหมดของการวจิ ัย
1.4.4 ตวั แปรที่ศกึ ษาได้แก่

1.4.4.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์
1.4.4.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความพึงพอใจตอ่ การใช้งานระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์
1.4.5 การวิจยั ครงั้ นด้ี ำเนนิ การในภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
1.5.1 ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หมายถึง ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง

มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ. 2563 ซ่ึงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137 ตอนพิเศษ
191 ง เมอ่ื วนั ที่ 20 สิงหาคม 2563

1.5.2 นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาระบบทวิภาคี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเมคคา
ทอรนิกส์และหุ่นยนต์ วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 นักศึกษาหลักสูตร
ปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และสาขาวิชาเทคโนโลยีการก่อสร้าง
ช้ันปีที่ 2 วิทยาลยั เทคนคิ สระบรุ ี สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคกลาง 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

3

1.5.3 ระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ หมายถึง Google Form ที่สร้างขึ้นเพื่อให้นักศึกษากรอก
ข้อมูลบันทึกผลการฝึกงาน ตามระดับการศึกษา โดยเมื่อกดส่งรายงานเรียบร้อยแลว้ ระบบจะสร้างเอกสารบันทกึ
ผลการฝึกงาน และรายงานผลการฝึกงาน ตามรูปแบบที่กำหนดของแต่ละระดับการศึกษา ส่งเอกสารในกลุ่มไลน์
ของนักศึกษา และส่งอีเมลไฟล์เอกสารในรูปแบบ PDF ไปยังนักศึกษา เพื่อนำไปรายงานแก่ผูค้ วบคุมการฝึก หรือ
ครฝู ึกประเมิน

1.5.4 แบบประเมินความพึงพอใจ หมายถึง แบบประเมินความพึงพอใจการใช้งานระบบรายงานผลการ
ฝกึ งานระบบทวิภาคี ที่สร้างโดย Google Form มปี ระเดน็ การประเมนิ ความพึงพอใจ จำนวน 10 ขอ้

1.5.5 ความพงึ พอใจ หมายถึง คา่ เฉลี่ยทไี่ ด้จากการวิเคราะห์แบบประเมนิ ความพึงพอใจ
1.5.6 ผูใ้ ชง้ าน หมายถงึ นกั ศึกษา

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง

การศกึ ษาเอกสาร และงานวิจัยทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจยั ได้ศกึ ษารายละเอียดตา่ งๆ ดงั น้ี
2.1 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
2.2 การฝึกประสบการณส์ มรรถนะวชิ าชีพ
2.3 การนเิ ทศก์ฝกึ งาน
2.4 การใช้งาน Google Form
2.5 การเขยี นโปรแกรม Google App Script
2.6 งานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ ง

2.1 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดำเนินการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาตามพระราชบัญญัติ

การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 ซึ่งมี
รายละเอยี ด ดังน้ี

2.1.1 พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
มาตรา 20 การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของ
เอกชนสถานประกอบการ หรือโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ ทั้งนี้ให้เป็นไปตาม
กฎหมายวา่ ด้วยการอาชีวศึกษาและกฎหมายที่เกีย่ วข้อง
2.1.2 พระราชบญั ญัตกิ ารอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2551
มาตรา 8 การจัดการอาชีวศึกษาและการฝกึ อบรมวชิ าชพี ให้จดั ได้โดยรปู แบบดังต่อไปน้ี
(1) การศึกษาในระบบ เป็นการจดั การศึกษาวิชาชีพทีเ่ นน้ การศกึ ษาในสถานศึกษาอาชวี ศึกษาหรือสถาบัน
เปน็ หลกั โดยมีการกำหนดจุดมุ่งหมาย วิธกี ารศึกษา หลกั สูตร ระยะเวลา การวัดและการประเมินผล ที่เปน็ เง่ือนไข
ของการสำเร็จการศึกษาท่ีแน่นอน
(2) การศึกษานอกระบบ เป็นการจดั การศกึ ษาวชิ าชีพทีม่ ีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมงุ่ หมาย รูปแบบ
วิธีการศึกษา ระยะเวลา การวดั และการประเมนิ ผลท่ีเป็นเง่ือนไขของการสำเรจ็ การศึกษา โดยเนือ้ หาและหลกั สูตร
จะต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปญั หาและความต้องการของบุคคลแตล่ ะกลุ่ม
(3) การศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่างสถานศึกษา
อาชีวศึกษาหรือสถาบัน กบั สถานประกอบการ รฐั วิสาหกิจ หรอื หน่วยงานของรฐั ในเรื่องการจัดหลักสูตรการเรียน
การสอน การวัด และการประเมินผล โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึง่ ในสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั และเรียน
ภาคปฏิบัตใิ นสถานประกอบการ รัฐวิสาหกจิ หรอื หนว่ ยงานของรฐั

5

เพื่อประโยชน์ในการผลิตและพัฒนากำลังคน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันสามารถจัดการศึกษา
ตามวรรคหนึ่งในหลายรูปแบบรวมกันก็ได้ ทั้งน้ี สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันนั้น ต้องมุ่งเน้นการจัด
การศึกษาระบบทวภิ าคเี ป็นสำคญั

มาตรา 9 การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพตามมาตรา 6 มาตรา 7 และมาตรา 8 ให้จัด
ตามหลกั สตู รทคี่ ณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากำหนด ดงั ต่อไปน้ี

(1) ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ
(2) ประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันสูง
(3) ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั ิการ
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาอาจกำหนดหลักสูตรที่จัดขึ้นเพื่อความรู้หรือทักษะ ในการประกอบอาชีพ
หรอื การศึกษาตอ่ ซง่ึ จดั ข้นึ เป็นโครงการหรอื สำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะได้
มาตรา 51 ในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีที่เป็นความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือ
สถาบันและสถานประกอบการให้เป็นไปตามข้อตกลงระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันและสถาน
ประกอบการ
มาตรา 52 สถานประกอบการใดที่ประสงค์จะดำเนินการจัดการอาชีวศึกษา และการฝึกอบรมวิชาชี พ
ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ยื่นคำขอต่อเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเพื่อให้ได้รับการรับรองประโยชน์
ตามกฎหมาย ทั้งนี้ให้ถือว่าไม่เป็นการขัดหรือแย้งกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน รูปแบบศูนย์การเรียนตาม
กฎหมายว่าดว้ ยการศกึ ษาแหง่ ชาติ
การยื่นคำขอและการพิจารณาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง การจัดการ
อาชวี ศึกษาในสถานประกอบการให้จัดการสอนตามหลักสูตรการอาชวี ศกึ ษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ หรือจัดการ
สอนตามหลักสตู รทีส่ ถานประกอบการร่วมกับสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันจัดทำขึ้นโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
หลักเกณฑ์ และวิธีการดำเนนิ การตามวรรคสาม ใหเ้ ปน็ ไปตามทีค่ ณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากำหนด
มาตรา 53 สถานประกอบการหรือภาคเอกชนอาจเข้าร่วมดำเนินการจัดตั้งศูนย์วิจัยห้องทดลองหรือ
ห้องปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ในสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันของรฐั
หรือเอกชนได้ตามความตกลงของสถานศึกษาหรือสถาบันและสถานประกอบการนั้น ทั้งน้ี เพื่อประโยชน์ด้าน
ความร่วมมือในการพัฒนากำลังคน การวิจัยและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างมาตรฐานการอาชีวศึกษาและเพิ่มพูน
ประสบการณข์ องครู คณาจารย์ บคุ ลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาหรือสถาบนั ให้ทันต่อความเปลีย่ นแปลงของ
เทคโนโลยี
รายได้และทรัพย์สินที่เกิดจากการดำเนินการของสถานประกอบการตามวรรคหนึ่งให้เป็นรายได้ของ
สถานศึกษาหรือสถาบนั น้ัน
หลักเกณฑ์และวิธีการในการเข้าร่วมดำเนินการของสถานประกอบการหรือภาคเอกชนตามวรรคหน่ึง
ให้เปน็ ไปตามข้อบงั คบั ของสถาบนั

6

มาตรา 54 สถานประกอบการสมาคมวิชาชีพ หรือองค์กรอื่นที่ให้ความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษา
และการฝึกอบรมวิชาชพี อาจไดร้ ับสิทธแิ ละประโยชนด์ งั ต่อไปน้ี

(1) การสนับสนุนด้านวิชาการและทรพั ยากรตามสมควรแก่กรณี
(2) การเชิดชูเกียรติแก่สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ หรือองค์กรอื่นที่ให้ความร่วมมือในการจัดการ
อาชีวศึกษาและการฝกึ อบรมวชิ าชพี
มาตรา 55 ครูฝึกในสถานประกอบการตามมาตรา 52 และมาตรา 53 ต้องมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึง่
ดงั ต่อไปนี้
(1) เปน็ ผู้สำเร็จการศกึ ษาระดับอดุ มศึกษาและผ่านการศึกษาหรือฝึกอบรมวชิ าการศึกษา ดา้ นอาชีพ
(2) เป็นผ้ชำนาญการด้านการอาชีพ โดยสำเร็จการศึกษาวิชาชีพ ไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี
หรอื ผา่ นการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ หรอื มาตรฐานอ่ืนตามที่คณะกรรมการการอาชวี ศึกษากำหนด
(3) เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอาชีพเฉพาะสาขาซึ่งสำเร็จการศึกษาวิชาชีพไม่ต่ำกว่าระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพที่มีประสบการณ์ในสาขาอาชีพนั้นไม่น้อยกว่าห้าปี หรือสำเร็จการศึกษาวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตร
วชิ าชพี ช้นั สูง ทม่ี ีประสบการณ์ในสาขาอาชีพนั้นไม่นอยกว่าสามปี หรือการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ
และมีประสบการณใ์ นการทำงานในสาขาอาชีพนนั้ ไมน่ อ้ ยกวา่ หา้ ปี
(4) เปน็ ผมู้ ีประสบการณ์และประสบความสำเร็จในอาชีพเฉพาะสาขา มีผลงานเปน็ ที่ยอมรับในสังคมและ
ท้องถ่ิน และสามารถถา่ ยทอดความรไู้ ด้
หลักเกณฑ์ในการแต่งตั้ง การทดสอบ การฝึกอบรม และการออกใบรับรองการเป็นครูฝึกในสถาน
ประกอบการ ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑท์ ี่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด

2.2 การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวชิ าชพี
การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยความร่วมมือระหว่าง

สถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบันกับภาคการผลิตและหรือภาคบริการ หลังจากที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ภาคทฤษฎี
และการฝึกหดั หรือฝึกปฏิบตั เิ บ้ืองตน้ ในสถาศึกษาอาชวี ศึกษาหรือสถาบันแล้วระยะเวลาหนึ่ง ทง้ั น้ี เพื่อเปิดโอกาส
ใหผ้ ู้เรียน ได้เรียนรูจ้ ากประสบการณ์จริง ได้สัมผัสกับการปฏิบตั งิ านอาชีพ เคร่ืองมอื เครอื่ งจักร อุปกรณ์ท่ีทันสมัย
และบรรยากาศการทำงานรว่ มกัน ส่งเสริมการฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ ซ่ึงจะ
ช่วยให้ผู้เรียนทำได้ คิดเป็น ทำเป็นและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเกิดความมั่นใจและเจตคติที่ดีในการ
ทำงานและการประกอบอาชพี อิสระ โดยการจัดฝึกประสบการณส์ มรรถนะวิชาชพี

2.3 การนเิ ทศการฝกึ อาชีพ
ตามประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ.

2563 ซึ่งประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เล่ม 137 ตอนพิเศษ 191 ง เมอ่ื วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2563 ได้มีข้อกำหนดท่ี
เก่ียวข้องกบั การนิเทศการฝึกอาชพี ดังน้ี

7

ข้อ 9 สถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีจะต้องปฏิบัติตาม
หลักเกณฑ์ ดงั น้ี

(1) ผู้บริหารและบุคลากรในสถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาต้องส่งเสริมและสนับสนุน
การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีอย่างเป็นระบบและต่อเนอ่ื ง

(2) จดั การเรยี นในสาขาวชิ าตรงความต้องการสถานประกอบการ
(3) ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างสถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาและสถาน
ประกอบการ
(4) ทำสัญญาการฝกึ อาชพี ระหวา่ งผู้เรียนกบั สถานประกอบการ
(5) ทำแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ และแผนการนิเทศร่วมกับสถานประกอบการตลอด
หลักสตู ร
(6) จัดใหม้ ีการปฐมนเิ ทศก่อนการฝึกอาชพี และปจั ฉิมนเิ ทศหลังเสรจ็ สิน้ การฝกึ อาชพี
(7) เตรียมความพรอ้ มผเู้ รยี นก่อนการฝึกอาชีพ
(8) จัดให้มีครูนิเทศกก์ ารฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการ
(9) มกี ารกำกับ ติดตาม และประเมินผลการฝกึ อาชีพรว่ มกบั สถานประกอบการ
(10) ประชาสัมพันธ์การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้กับสถานประกอบการ ผู้เรียนและ
ผ้ปู กครองทราบ
ข้อ 14 การนเิ ทศผเู้ รียนในสถานประกอบการ แบง่ เป็นสองกรณี และให้ดำเนินการตามหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี
(1) กรณที ่ี 1 การนิเทศในประเทศ ใหด้ ำเนินการนิเทศ ดงั น้ี

(1.1) ใหค้ รูนิเทศก์ไปนิเทศในสถานประกอบการอยา่ งนอ้ ย 3 คร้งั ตอ่ 1 ภาคเรียน
(1.2) ให้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนิเทศในประเทศอย่างสม่ำเสมอและให้รายงาน
ผลการนิเทศตอ่ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาหรือสถาบนั การอาชวี ศึกษาทราบ
(1.3) ใหใ้ ช้วธิ ีการนเิ ทศทีห่ ลากหลาย
(2) กรณีที่ 2 การนิเทศในตา่ งประเทศ ให้ดำเนนิ การนเิ ทศ ดังน้ี
(2.1) ใหค้ รูนเิ ทศก์ไปนิเทศอย่างนอ้ ยหน่ึงคร้ังตอ่ ภาคเรยี น หรอื
(2.2) ใหภ้ าคเี ครือข่ายในต่างประเทศเป็นผนู้ ิเทศแทนในทุกภาคเรยี น หรือ
(2.3) ใหใ้ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการนิเทศต่างประเทศอยา่ งสม่ำเสมอ
(2.4) การไปนิเทศในต่างประเทศต้องได้รับอนุญาตจากผู้มีอำนาจตามระเบียบก่อนการ
เดินทาง
จากประกาศดงั กลา่ วจะเหน็ ได้ว่า การจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี ต้องจดั ให้มีครูนิเทศก์การฝึกอาชพี
ในสถานประกอบการ (ข้อ 9 (8)) และการนิเทศให้ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการนเิ ทศในประเทศอย่างสมำ่ เสมอ

8
2.4 การใช้งาน Google Form

Google Form เป็นส่วนหนึ่งในบริการของกลุ่ม Google Docs ที่ช่วยให้เราสร้างแบบสอบถามออนไลน์
หรือใชส้ ำหรบั รวบรวมข้อมูลได้อยา่ งรวดเรว็ โดยที่ไมต่ อ้ งเสียคา่ ใชจ้ ่าย ในการใชง้ าน Google Form ผู้ใช้สามารถ
นำไปปรับประยุกต์ใช้งานได้หลายรูปแบบอาทิ เช่น การทำแบบฟอร์มสำรวจความคิดเห็น การทำแบบฟอร์ม
สำรวจความพงึ พอใจ การทำแบบฟอรม์ ลงทะเบยี น และการลงคะแนนเสียง เป็นตน้

การใช้งาน Google Form นั้น ผู้ใช้งานหรือผู้ที่จะสร้างแบบฟอร์มจะต้องมีบัญชีของ Gmail หรือ
Account ของ Google เสียก่อน ผู้ใช้งานสามารถเข้าใช้งานสร้างแบบฟอร์มผ่าน Web Browser ได้เลยโดยที่ไม่
ตอ้ งติดตง้ั โปรแกรมใดๆ ท้ังสน้ิ

2.4.1 การสรา้ งแบบฟอร์ม
2.4.1.1 ไปที่ Google Drive โดยคลกิ ทจี่ ดุ 9 จดุ ที่มุมดา้ นขวา แล้วเลือก ไดรฟ์ ตามภาพท่ี 2.1

ภาพท่ี 2.1 การเขา้ สู่ Google Drive
2.4.1.2 สรา้ งแบบฟอร์มใหม่ โดยคลิกทเ่ี คร่ืองหมายบวก ที่มุมบนดา้ นซา้ ยมือ แลว้ เลอื ก Google
ฟอรม์ และเลือกแบบฟอร์มเปลา่ ตามภาพที่ 2.2 และภาพท่ี 2.3 ตามลำดับ

ภาพท่ี 2.2 คลกิ เครื่องหมายบวกเพ่อื สรา้ งแบบฟอรม์ ใหม่

9
ภาพที่ 2.3 การสรา้ งแบบฟอรม์ เปลา่
2.4.1.3 หลงั จากเขา้ สหู่ นา้ ต่างแบบฟอรม์ ว่างแล้ว ใหต้ ้งั ช่ือแบบฟอรม์ และใส่คำอธบิ าย

ภาพที่ 2.4 การต้ังชื่อแบบฟอรม์

10

2.4.2 การสรา้ งคำถาม
การสรา้ งรายการคำถามมเี ครื่องมือในการสร้างทงั้ หมด 11 เคร่ืองมือ ดังน้ี

ภาพที่ 2.5 เครื่องมือในการสรา้ งคำถาม

1. กรอกคำถามที่ต้องการลงในช่องนี้

2. เพิ่มคำถามข้อถัดไป
3. นำเข้าคำถามจากแบบฟอร์มอ่ืนทม่ี ีอยู่ของผใู้ ช้
4. เพิ่มชื่อและรายละเอียดท่ตี อ้ งการใสเ่ ขา้ มาเพ่ิมเตมิ
5. เพมิ่ รูปภาพสามารถเพม่ิ ไดจ้ ากหลายชอ่ งทาง
6. เพม่ิ วิดโี อจาก YouTube
7. เพม่ิ และแบ่งแบบฟอรม์ ออกเปน็ สว่ นๆ

8. ทำซำ้ รายการคำถามเพมิ่ 1 รายการ

9. ลบรายการคำถาม

10. เลื่อน ไปทางขวาเป็นการตั้งค่าบังคับให้ตอบรายการ
คำถามน้นั ๆ ไมส่ ามารถเว้นวา่ งได้

11. กำหนดลกั ษณะเพ่มิ เติมให้กบั รายการคำถาม

11

2.4.2 การกำหนดลกั ษณะคำตอบ
ลกั ษณะของคำตอบสามารถกำหนดได้ทั้งหมด 11 ลักษณะ ดงั น้ี

ภาพที่ 2.6 ลกั ษณะของคำตอบ
2.4.2.1 ลักษณะคำตอบแบบ คำตอบสน้ั ๆ หมายถงึ ข้อความส้นั ๆ ไม่เกนิ 1 บรรทัด

ภาพที่ 2.7 ลกั ษณะของคำตอบแบบ คำตอบส้นั ๆ

12

(1) เลือกลกั ษณะคำตอบแบบ คำตอบสนั้ ๆ แลว้ กรอกคำถาม

ภาพที่ 2.8 การกำหนดคำตอบแบบสั้นๆ ให้กบั คำถาม
2.4.2.2 ลกั ษณะคำตอบแบบ ยอ่ หนา้ หมายถงึ ข้อความทม่ี ีความยาวเกิน 1 บรรทดั

ภาพที่ 2.9 ลักษณะคำตอบแบบย่อหน้า
(1) เลือกลักษณะคำตอบแบบ ยอ่ หน้า แลว้ กรอกคำถาม

ภาพที่ 2.10 การกำหนดคำตอบแบบย่อหน้าให้กับคำถาม
2.4.2.3 ลักษณะคำตอบแบบ หลายตัวเลือก หมายถึง สร้างได้หลายตัวเลือก แต่เลือกตอบได้
เพยี ง 1 ตัวเลอื ก

ภาพท่ี 2.11 ลกั ษณะคำตอบแบบหลายตวั เลอื ก

13

(1) เลือกลกั ษณะคำตอบแบบ หลายตวั เลือก แลว้ กรอกคำถาม

ภาพที่ 2.12 การกำหนดคำตอบแบบเลือกตอบ

(2) กรอกข้อความเพื่อเพิ่มตัวเลือก หรือ คลิก เพิ่ม “อื่นๆ” กรณีไม่มีตัวเลือกที่ต้องการ
เลอื กจงึ ให้ผู้ตอบระบคุ ำตอบอ่ืนเอง

ภาพที่ 2.13 การเพ่ิมตวั เลอื กในคำตอบแบบตวั เลอื ก
2.4.2.4 ลักษณะคำตอบแบบ ช่องทำเคร่ืองหมาย หมายถงึ สร้างไดห้ ลายตัวเลอื ก และเลือกตอบ
ไดห้ ลายตัวเลอื ก

ภาพท่ี 2.14 ลักษณะคำตอบแบบช่องทำเครอ่ื งหมาย

14

(1) เลือกลกั ษณะคำตอบแบบ ช่องทำเครอื่ งหมาย แลว้ กรอกคำถาม

ภาพที่ 2.15 การกำหนดคำตอบแบบช่องทำเคร่อื งหมาย

(2) กรอกข้อความเพื่อเพิ่มตัวเลือก หรือ คลิก เพิ่ม “อื่นๆ” กรณีไม่มีตัวเลือกที่ต้องการ
เลอื กจึงใหผ้ ู้ตอบระบคุ ำตอบอน่ื เอง

ภาพท่ี 2.16 การเพิ่มตวั เลือกในคำตอบแบบชอ่ งทำเคร่ืองหมาย
2.4.2.5 ลักษณะคำตอบแบบ เลื่อนลง หมายถึง ช่องตัวเลือกแบบดึงลงมาหลายรายการ และ
เลอื กตอบได้เพยี ง 1 ตวั เลือก

ภาพที่ 2.17 ลกั ษณะคำตอบแบบเลอื่ นลง

15

(1) เลือกลกั ษณะคำตอบแบบ เลื่อนลง แลว้ กรอกคำถาม

ภาพท่ี 2.18 การกำหนดคำตอบแบบเล่ือนลง
(2) กรอกข้อความเพื่อเพิ่มตวั เลอื ก

ภาพที่ 2.19 การเพ่ิมตวั เลอื กในคำตอบแบบเลื่อนลง

2.4.2.6 ลักษณะคำตอบแบบ อัปโหลดไฟล์ หมายถึง ให้ผู้ตอบอัปโหลดไฟล์ไปที่ไดรฟ์ของ

เจ้าของแบบฟอร์มได้

(1) คลิก จะปรากฏคำอธิบายดังภาพ จากน้นั คลกิ ดำเนินต่อไป

ภาพท่ี 2.20 คำตอบแบบอัปโหลดไฟล์

16

(2) ตั้งค่ากำหนดการอัปโหลดไฟลข์ องผ้ตู อบแบบฟอร์มได้ ดังนี้

ภาพที่ 2.21 กำหนดรูปแบบการอปั โหลดไฟล์

(2.1) อนุญาตไฟล์บางประเภทเท่านั้น : กำหนดให้ผู้ตอบแต่ละรายสามารถ
อปั โหลดไฟล์ได้เฉพาะชนดิ ไฟลท์ ่ีเลอื กเท่านั้น

(2.2) จำนวนไฟล์สูงสุด: กำหนดจำนวนไฟล์สูงสุดที่ผู้ตอบแต่ละรายสามารถ
อปั โหลดได้

(2.3) ขนาดไฟล์สูงสุด: กำหนดขนาดไฟล์สูงสุดที่ผู้ตอบแต่ละรายสามารถ
อปั โหลดได้

(2.4) เปลี่ยน : เปลี่ยนขนาดสูงสดุ ของไฟล์ทัง้ หมดที่แบบฟอร์มสามารถรับจาก
การอัปโหลดของผู้ตอบทุกราย ซึ่งมีผลต่อการกำหนดขนาดไฟล์สูงสุดที่ผู้ตอบแต่ละรายสามารถอัปโหลดได้
เนื่องจากหากเลือกขนาดใดแล้ว ไฟล์ของผู้ตอบแต่ละรายรวมกันจะต้องไม่เกินขนาดสูงสดุ ของไฟล์ท้ังหมดที่เลือก
ซง่ึ อยู่ในเมนู การต้งั คา่ ดังภาพที่ 2.22

17

ภาพที่ 2.22 การตัง้ คา่ คำตอบแบบอัปโหลดไฟล์
2.4.2.7 ลักษณะคำตอบแบบ สเกลเชิงเส้น หมายถึง คำถามแบบเลือกระดับคะแนนจากมากไป
หานอ้ ย หรอื จากน้อยไปหามากจำนวน 1 แถว โดยผู้ตอบเลือกตอบไดเ้ พียง 1 ระดบั

ภาพที่ 2.23 ลักษณะคำตอบแบบสเกลเชิงเสน้
(1) เลอื กลกั ษณะคำตอบแบบ สเกลเชิงเสน้ แลว้ กรอกคำถาม

ภาพท่ี 2.24 การกำหนดคำตอบแบบสเกลเชิงเส้น

18
(2) เลือกตัวเลขสำหรับการให้คะแนน ตั้งแต่ 0 – 10 และใส่ป้ายกำกับความหมายของ
คา่ ตำ่ ที่สดุ และมากท่สี ุดได้ โดยการกรอกข้อความตรง ป้ายกำกบั (ตัวเลอื ก)

ภาพที่ 2.25 การกำหนดตัวเลือกในคำตอบแบบสเกลเชิงเส้น
2.4.2.8 ลักษณะคำตอบแบบ ตารางตัวเลือกหลายข้อ หมายถึง สร้างคำถามที่มีหัวข้อย่อยเป็น
แถวไดห้ ลายแถว ทกุ แถวจะมีตวั เลอื กให้เลือกเหมือนกันหมดโดยกำหนดในคอคัมน์แตล่ ะคอลัมน์ และตอบได้เพียง
แถวละ 1 ตัวเลือก เมอ่ื ทำเครื่องหมายแล้วไมส่ ามารถนำออกได้

ภาพท่ี 2.26 ลกั ษณะคำตอบแบบตารางตัวเลือกหลายข้อ
(1) เลือกลักษณะคำตอบแบบ ตารางตวั เลือกหลายข้อ แล้วกรอกคำถาม

ภาพท่ี 2.26 การสรา้ งคำตอบแบบตารางตัวเลือกหลายข้อ

19
(2) กรอกหัวข้อย่อยของคำถามในแต่ละแถว และกรอกข้อความที่เป็นตัวเลือกในแต่ละ
คอลัมน์

ภาพที่ 2.27 การสร้างคำถามแบบมคี ำตอบเป็นตารางหลายตัวเลอื ก
(3) คลิก เพื่อต้ังค่าการเลือกตอบเพิ่มเตมิ ไดด้ งั นี้

ภาพที่ 2.28 การตั้งคา่ เพิ่มเติม
2.4.2.9 ลักษณะคำตอบแบบ ตารางกริดช่องทำเครื่องหมาย หมายถึง สร้างคำถามที่มีหัวข้อ
ย่อยเป็นแถวได้หลายแถว ทุกแถวจะมีตัวเลือกให้เลือกเหมือนกันหมดโดยกำหนดในคอลัมน์แต่ละคอลัมน์ และ
ตอบไดแ้ ถวละหลายตวั เลอื ก เม่อื ทำเครือ่ งหมายแลว้ สามารถนำออกได้

ภาพท่ี 2.29 ลักษณะคำตอบแบบตารางกรดิ ช่องทำเครอื่ งหมาย

20
(1) เลอื กลักษณะคำตอบแบบ ตารางกริดช่องทำเครอื่ งหมาย แลว้ กรอกคำถาม

ภาพท่ี 2.30 การกำหนดคำตอบแบบตารางกรดิ ชอ่ งทำเคร่ืองหมาย
(2) กรอกหัวข้อย่อยของคำถามในแต่ละแถว และกรอกข้อความที่เป็นตัวเลือกในแต่ละ

คอลมั น์

ภาพที่ 2.31 การสร้างคำถามแบบคำตอบเป็นแบบตารางกริดช่องทำเครื่องหมาย
(3) คลิก เพ่ือตั้งค่าการเลือกตอบเพ่มิ เติมได้ดังนี้

ภาพท่ี 2.32 การตั้งคา่ เพ่ิมเติม

21

2.4.2.10 ลักษณะคำตอบแบบ วนั ท่ี หมายถึง ให้ระบุวนั / เดอื น / ปี และเวลา

ภาพที่ 2.33 ลักษณะคำตอบแบบวนั ท่ี
(1) เลอื กลกั ษณะคำตอบแบบ วนั ท่ี แลว้ กรอกคำถาม

ภาพที่ 2.34 การสร้างคำถามทมี่ ีคำตอบเป็นวันที่
(2) คลกิ เพ่ือตั้งค่าการเลือกตอบเพิ่มเติมได้ดงั น้ี

ภาพที่ 2.35 การต้งั คา่ เพิ่มเติม
2.4.2.11 ลกั ษณะคำตอบแบบ เวลา หมายถงึ ให้ระบเุ วลา

ภาพที่ 2.36 ลกั ษณะคำตอบแบบเวลา

22

(1) เลือกลักษณะคำตอบแบบ เวลา แล้วกรอกคำถาม

ภาพท่ี 2.37 การสรา้ งคำถามแบบมคี ำตอบเป็นเวลา
(2) คลิก เพื่อต้งั ค่าการเลือกตอบเพ่ิมเติมได้ดงั นี้

ภาพท่ี 2.38 การตงั้ คา่ เพิ่มเติม

2.4.3 การส่งแบบฟอร์ม

การสง่ แบบฟอร์มผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ ได้ 3 ช่องทาง คอื
2.4.3.1 สง่ ผ่าน ลงิ ก์

ภาพท่ี 2.39 การสง่ ฟอร์มผา่ นลิงค์

23

2.4.3.2 ส่งผา่ นอีเมล

ภาพที่ 2.40 การส่งฟอร์มผ่านอีเมล
2.4.3.3 ฝงั โค้ด HTML (กรณีแบบฟอรม์ ทีม่ คี ำถามการอัปโหลดไฟลไ์ มส่ ามารถใชว้ ิธนี ้ไี ด)้

ภาพที่ 2.41 การส่งฟอร์มดว้ ยการฝังโค้ด HTML

24

2.5 แนะนำ Google App Script
Google App Script คือวิธีการสั่งงาน Google Apps โดยการเขียนโปรแกรม (ใช้ฐานจาก javaScript)

Google Apps Script เขียนได้ง่าย สามารถเขียนบน Browser ได้เลยโดยไม่ต้องลงโปรแกรมใดๆ และ Script
จะถูก host และ run บน server ของ Google ดังนั้นจึงสามารถพัฒนาและใช้งานได้บนเครื่องคอมพิวเตอร์
ทุกแบบ ไม่วา่ จะเป็น PC Mac Chromebook หรอื แมแ้ ตบ่ น Smartphone หรอื Tablet

Apps Script แบ่งเป็น 3 ประเภท คอื

2.5.1 Standalone Scripts
Script ที่อยู่เดี่ยวๆ ไม่ผูกกับ google apps ( แต่สามารถเรียกใช้ Google Apps ได้) และจะปรากฏให้
เห็นบน Google Drive เหมือนไฟลอ์ ื่น ๆ

2.5.2 Scripts Bound to Google Sheets, Docs, or Forms
Script ประเภทนี้จะสร้างขึ้นจากไฟล์ Google Apps อื่นเช่น Sheets, Forms และจะผูกอยู่กับไฟล์น้ัน
เป็นส่วนหนึ่งของไฟล์นัน้ ดงั นั้นเราจะไมเ่ ห็นมนั อยู่ใน Drive ของเรา

2.5.3 Web Apps and Google Sites Gadgets
ถ้าเราสร้าง User Interface ให้ Script ของเรา (เช่น html + css ) เราก็สามารถ publish เป็น web
apps ได้ โดย ผู้ใช้งานสามารถเรียกใชง้ านได้โดยตรงผ่าน browser เช่นเดียวกบั web apps ทวั่ ไป

2.6 การเขียนโปรแกรม Google App Script
เริ่มต้นเรียกใช้ Service Spreadsheet การสร้าง แก้ไข หรือเข้าถึง Spreadsheet จะเริ่มต้นจากการใช้

คลาส SpreadsheetApp จากนั้นจงึ จะเรยี กคลาสย่อยต่อไปเร่อื ยๆ จนกว่าจะถงึ คลาสท่ีเราตอ้ งการจะใช้งาน
2.6.1 การจบั ไฟลท์ ก่ี ำลงั Active
2.6.1.1. คำสง่ั getActiveSpreadsheet
ใชจ้ บั ไฟล์ Google Sheet Sheet โดยจะคืนค่าออกมาเป็นคลาสSpreadsheet
*คำสัง่ น้ีใช้กับ Google App Script ทเี่ ขียนบน Google Sheet ไม่ใช่ Google App Script แบบ

Stand Alone
ตัวอย่าง เช่น
Functiom myFunction() {
Logger.log(SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet().getUrl());
}

25

ภาพท่ี 2.42 สิ่งทค่ี วรร้เู กยี่ วกับ Google Sheet

2.6.1.2 คำสง่ั getId , getUrl , getName
ตัวอย่างการใชง้ าน

Function myFunction(){
var ss = SpreadsheetApp.getActive();
var url = ss.getUrl();
var id = ss.getId();
var name = ss.getSheetName();
}

2.6.2 การสรา้ งไฟลใ์ หม่
ตัวอย่าง การสร้าง Spreadsheet ด้วย App Script

Function myFunction() {
Var sheetNew = SpreadsheetApp.create(“memo”);

}
2.6.3 การเปิดไฟล์
คำสั่ง openById , openByUrl
เปน็ คำส่งั ทใ่ี ช้ในการเปิดไฟล์ โดยอ้างถงึ id หรือ url ก็ได้ เช่น

var ss = SpreadsheetApp.openByUrl (url);
หรอื
var ss = SpreadsheetApp.openById (Id);

26

2.6.4 การจัดการข้อมูลในสเปรตชีต
สว่ นประกอบต่างๆ ของสเปรตชีต ดงั ภาพที่ 2.43

ภาพท่ี 2.43 สว่ นประกอบต่างๆ ของสเปรตชตี

การจับเวิรก์ ชีตและแผน่ งาน แบง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะดว้ ยกนั คอื
2.6.4.1 การจับ Spreadsheet( สเปรตชีต) มี 4 แบบดว้ ยกันดงั นี้
(1) แบบท่ี 1 SpreadsheetApp.getActive() สำหรับเวิรก์ ชตี ทกี่ ำลงั ใช้งาน
(2) แบบท่ี 2 SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet() เวริ ก์ ชีตท่กี ำลังใช้งาน
(3) แบบที่ 3 SpreadsheetApp.openByUrl(“url”) url ของเวริ ก์ ชีตท่ีกำลังใช้งาน
(4) แบบท่ี 4 SpreadsheetApp.openId(“id”) id ของเวริ ์กชตี ทก่ี ำลงั ใช้งาน
5.6.4.2 การจับ sheet (แผน่ งาน) มี 4 แบบด้วยกนั ดังนี้
(1) แบบที่ 1 getActiveSheet() แผน่ งานท่ีกำลงั ใช้งาน
(2) แบบท่ี 2 getSheetName() ชือ่ แผน่ งานที่กำลังใชง้ าน
(3) แบบท่ี 3 getSheetByName(“ชื่อชตี ”) ช่ือแผน่ งานท่ีกำลงั ใชง้ าน
(4) แบบท่ี 4 setSheets() แผน่ งานทุกแผน่ ที่กำลังใชง้ าน

การจบั แผ่นงาน แบบแผน่ เดยี ว มีด้วยกนั 4 แบบคือ
แบบท่ี 1 var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet() เวิรก์ ชตี ทกี่ ำลงั ใช้งาน
var sheet = ss.getActiveSheet() แผน่ งานท่กี ำลงั ใช้งาน
แบบท่ี 2 var ss = SpreadsheetApp.openByUrl(“url”) url ของเวิร์กชตี ที่กำลังใช้งาน
var sheet = ss.getSheetByName(“ชอื่ ชีต”) ระบุช่ือแผ่นงาน

27

แบบท่ี 3 var ss = SpreadsheetApp.openById(“id”) id ของเวริ ์กชีตท่กี ำลังใชง้ าน
var sheet = ss.getSheetByName(“ชอ่ื ชีต”) ระบชุ ื่อแผ่นงาน
แบบท่ี 4 var sheet = SpreadsheetApp.openById(“id”).getSheetByName(“ช่อื ชีต”);
แบบท่ี 5 var sheet = SpreassheetApp.getActiveSpreadsheet().getActiveSheet()

การจับแผน่ งาน แบบหลายแผน่
var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet() เวิรก์ ชีตท่กี ำลงั ใช้งาน
var sheet = ss.getSheets() แผ่นงานทุกแผ่น
var ss = SpreadsheetApp.openByUrl(“url”)
var sheet = ss.getSheets() แผน่ งานทกุ แผน่
var sheet1 = ss.getSheets()[0] แผน่ งานที่ 1

ภาพที่ 2.44 ตัวอยา่ งข้อมูลการจบั แผ่นงานแบบหลายแผน่
การจบั ข้อมูลในแผ่นงานดว้ ย Range

แบบที่ 1 จับเซลลเ์ ดียว
คำสั่ง getRange (row columncolumn)

ตวั อยา่ ง ดงั น้ี var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet() เวิร์กชีตท่ีกำลงั ใช้งาน
var sheet = ss.getActiveSheet() แผน่ งานทกี่ ำลังใช้งาน
var range = sheet.getRange(1,1);

จับคา่ แบบที่ 1 var data = range.getValue(); จับคา่ ในเซลล์ A1 คา่ เดียว
จบั คา่ แบบที่ 2 var data = range.getValues(); จบั คา่ ในเซลล์ A1 แบบอะเรย์ 2 มิติ

ภาพที่ 2.45 ตัวอยา่ งข้อมลู สำหรบั การจับเซลล์เดียว

28
แบบที่ 2 จบั หลายแถว

คำสั่ง getRange (row column numRows)
row = จดุ เร่ิมแถว column = จดุ เร่ิมคอลมั น์ numRows = จำนวนแถว
ตัวอย่าง var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet() เวริ ์กชตี ที่กำลังใชง้ าน

var sheet = ss.getActiveSheet() แผ่นงานทก่ี ำลงั ใช้งาน
var range = sheet.getRange(1,1,5);
วิธกี ารดงึ ค่าออกมา var data = range.getValues();

ภาพท่ี 2.46 ตัวอยา่ งข้อมูลสำหรบั การจับหลายแถว
แบบท่ี 3 จับแบบตารางข้อมูล

คำส่ัง getRange(row column numRows numColumns)
row = จุดเริ่มแถว column = จุดเริ่มคอลัมน์ numRows = จำนวนแถว
numColumn = จำนวนคอลัมน์
ตัวอย่าง var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet() เวิร์กชตี ที่กำลงั ใชง้ าน

var sheet = ss.getActiveSheet() แผน่ งานทก่ี ำลงั ใชง้ าน
var range = sheet.getRange(1,1,5,3)
วิธีการดึงค่าออกมา var data = range.getValues();

ภาพท่ี 2.47 ตวั อย่างข้อมูลสำหรบั การจับแบบตารางข้อมูล

29

แบบที่ 4 จับแบบสัญลักษณ์
คำส่ัง getRange(a1Notation)

ระบเุ รน้ จ์เป็นสญั ลกั ษณ์ เชน่ A5 หรือ A5:B10 หรือ R[1]C[2]
ตัวอย่าง var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet() เวริ ์กชีตทกี่ ำลงั ใชง้ าน

var sheet = ss.getActiveSheet() แผน่ งานท่กี ำลงั ใชง้ าน
var range = sheet.getRange(“แผน่ 1”!A1:D4);
หรอื var cell = sheet.getRange(“A1”);

ภาพที่ 2.48 ตวั อย่างข้อมลู การจบั แบบสัญลักษณ์

การจับขอ้ มลู แถวสุดทา้ ย คอลัมน์สุดท้าย

รปู แบบคำส่ัง getLastRow() getLastColumn()

จับแถวสดุ ทา้ ยของเรน้ จ์ จับคอลัมน์สดุ ทา้ ยของเร้นจ์

ตัวอย่าง var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet () เวิร์กชตี ที่กำลังใชง้ าน

var sheet = ss.getActiveSheet () แผน่ งานที่กำลงั ใช้งาน

var"= sheet.getRange(“B3:D10”);

var lr = rang.getLastRow ();

var lc = rang.getLastColumn ();

ภาพที่ 2.49 ตวั อย่างข้อมลู สำหรบั การจบั ข้อมลู แถวสุดท้าย คอลัมนส์ ดุ ทา้ ย

30

2.6.5 การดงึ ขอ้ มูลออกมาใชง้ าน
การกำหนดเรนจ์แบบตา่ งๆ ท่ีควรรู้
แบบท่ี 1 var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet.getActiveSheet();

var data = ss.getRange(1,1).getValue();
แบบที่ 2 var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet.getActiveSheet ();

var data = ss.getRange(1,1,1,4).getValues();
แบบท่ี 3 var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet.getActiveSheet ();

var data = ss.getRange(1,1,ss.getLastRow,ss.getLastColumn).getValues();
แบบท่ี 4 var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet().getActiveSheet();

var data = ss.getDataRange().getValues();
แบบที่ 5 var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet().getActiveSheet();

var data = ss.getRange(ss.getLastRow , 1 , 1 , ss.getLasColumn).getValues();

2.6.5.1 การดงึ ข้อมลู แบบเซลล์เดียว
ตัวอยา่ ง var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet().getActiveSheet ();

var data = ss.getRange(1,1).getValue();

ภาพที่ 2.50 ตวั อย่างการดึงข้อมูลแบบเซลล์เดยี ว

2.6.5.2 การดึงข้อมลู แบบแถวเดียว
ตวั อยา่ ง var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet().getActiveSheet ();

var data = ss.getRange(1,1,1,4).getValues();
var data1 = data[0][0]; = 10
var data2 = data[0][1]; = 33
var data3 = data[0][2]; = 12
var data4 = data[0][3]; = 40

31

ภาพที่ 2.51 ตัวอยา่ งการดงึ ข้อมูลแบบแถวเดียว
2.6.5.3 การดงึ ขอ้ มูลแบบตาราง
ตัวอย่าง var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet().getActiveSheet();

var data = ss.getRange(1,1,5,4).getValues();
var data1 = data[0][0]; = 10
var data2 = data[1][1]; = 21
var data3 = data[2][2]; = 12
var data4 = data[4][2]; = 56

ภาพท่ี 2.52 ตวั อย่างการดงึ ข้อมูลแบบตาราง
2.6.5.4 เมื่อมีขอ้ มลู เพมิ่ ใหม่ก็ให้ดงึ ข้อมูลในแถวสุดท้ายในตารางเสมอ
ตัวอย่าง var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet().getActiveSheet();

var range = ss.getRange(ss.getLastRow,1,1,ss.getLasColumn).getValues();
var data = range[0];
var data1 = data[0]; = 28
var data2 = data[1]; = 59
var data3 = data[2]; = 56
var data4 = data[3]; = 24

32
แบบท่ี 2

var data = ss.getRange(ss.getLastRow,1,1,ss.getLasColumn).getValues()[0];

ภาพท่ี 2.53 ตวั อย่างเมื่อมีข้อมลู เพ่ิมใหม่กใ็ หด้ งึ ขอ้ มูลในแถวสุดทา้ ยในตารางเสมอ
2.6.5.5 การดึงข้อมูลทงั้ หมดโดยการวนลูป For
ตัวอยา่ ง var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet getActiveSheet ();

var data = ss.getRange(ss.getLastRow,1,1,ss.getLasColumn).getValues()[0];
for (var I = 0 ; i<data.length ; i++){
Logger.log(data[i];
}

ภาพท่ี 2.54 ตวั อยา่ งการดงึ ข้อมลู ทง้ั หมดโดยการวนลูป For
2.6.6 การเขยี น Function ใน Google App Script
มวี ธิ ีการเขยี น 3 รปู แบบดังต่อไปน้ี

2.6.6.1 แบบ function ทัว่ ไป
function test(){
คำสัง่
}

33

2.6.6.2 แบบ Arrow Function
Const test=()=>{
คำสั่ง
}

var เป็นตวั แปรแบบ function scope เป็นตวั แปรที่ใช้ไดท้ ง้ั ฟงั ก์ชนั
ส่วน const , let เป็นตัวแปรระดับ block scope มีผลแค่ในบล็อกที่ประกาศเท่านั้น *const
แกไ้ ขไมไ่ ด้อกี *

2.6.6.3 Function แบบมีพารามเิ ตอร์
ตัวอยา่ งรูปแบบ Function

(1) สร้างฟังก์ชนั
const sum=(a,b)=>{
return a+b
}

(2) นำไปใช้งาน
const test=()=>{
let c = sum(5,3)
}

เขียนแบบสั้นๆ ได้ดงั น้ี
const sum=(a,b)=>a+b
let c = sum(5,3)

2.6.7 การจดั การข้อมลู ใน ARRAY
2.6.7.1 For Loop
ฟังกช์ นั for loop จะมีหนา้ ท่เี อาไวว้ นลูปเพอ่ื นำคา่ ใน Array ออกมาแสดงผลลพั ธ์
รปู แบบคำสั่ง for (คา่ เร่มิ ตน้ ;เงอ่ื นไข;การเพิ่มค่า) {
ชดุ คำส่ัง;
}

34

ภาพที่ 2.55 ตวั อยา่ งการใช้คำส่ัง For Loop
2.6.7.2 ForEach กรณที ใี่ ช้กับขอ้ มูลชดุ เดียว
ฟังก์ชัน ForEach จะมีหน้าที่เอาไว้วนลูปเพื่อนำค่าใน Array แต่ละตัวมากระทำตามใน
Function ที่เรากำหนดการทำงานเอาไว้ โดย ForEach นั้น ไม่สามารถ Return ผลลัพธ์ ออกมาได้ถ้า Return
ออกมาจะเป็น undefined

ภาพท่ี 2.56 ตัวอยา่ งการใชค้ ำส่งั ForEach กรณที ใี่ ช้กับข้อมลู ชุดเดยี ว
2.6.7.3 ForEach กรณีทใี่ ช้กับ Array 2 มิติข้อมูลแบบตาราง
รูปแบบ array.forEach(function(item , index , rows))

ภาพท่ี 2.57 ตวั อยา่ งการใชค้ ำส่งั ForEach กรณที ี่ใชก้ ับ Array 2 มิตขิ อ้ มูลแบบตาราง

35
2.6.7.4 Map กรณีทใี่ ช้กับข้อมูลชุดเดียว
จะคล้ายกับ ForEach คือค่าใน Array แต่ละตัวจะทำการนำไปผ่าน Function ที่เรากำหนดไว้
แต่ Map นนั้ สามารถ return คา่ ออกมาไดโ้ ดยค่าท่ี return ออกมาจะเป็น Array ซ่งึ สามารถนำไปทำใน Method
อ่ืนได้

ภาพที่ 2.58 ตวั อย่างการใช้คำส่งั Map กรณีท่ีใชก้ ับข้อมูลชุดเดียว
2.6.7.5 Map กรณที ่ใี ชก้ ับ Array 2 มติ ิข้อมลู แบบตาราง

ภาพที่ 2.59 ตัวอยา่ งรปู แบบคำสงั่ Map กรณีทใี่ ช้กับ Array 2 มติ ิข้อมูลแบบตาราง

36
2.6.7.6 Filter
จะมีหน้าที่ไว้คัดกรอง ถ้าสมาชิกใน Array ตัวไหนที่เงื่อนไขได้ตามที่กำหนดไว้ใน Function จะ
ถูกนำมาใสร่ วมกนั ใน Array ใหม่ทีเ่ ปน็ ผลลพั ธ์

ภาพท่ี 2.60 ตวั อย่างการใช้งาน Filter
2.6.7.7 Find
แทบจะเหมือนกับ Method Filter เลยแต่ต่างกันตรงที่ Method Find นั้น return ค่าออกมา
เฉพาะผลลัพธต์ วั แรกทที่ ำได้ตามเง่อื นไขเทา่ นนั้

ภาพท่ี 2.61 ตัวอยา่ งการใช้ Find

37

2.7 งานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง
อำนาจ สวัสดิ์นะที และพัลลภ พิริยะสุรวงศ์ (2558) ทำการวิจัยเรื่อง “รูปแบบแฟ้มสะสมผลงาน

อิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนิเทศการฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ ด้านคอมพิวเตอร์แบบผสมผสานผ่านอุปกรณ์สมาร์ท
โฟนในมหาวิทยาลัยราชภัฏ” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการ
นเิ ทศการฝึกประสบการณ์วิชาชีพดา้ นคอมพวิ เตอร์แบบผสมผสานผ่านอุปกรณส์ มารท์ โฟนในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
และ เพื่อประเมินรูปแบบแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนิเทศการฝึกประสบการณ์วิชาชี พ
ด้านคอมพิวเตอร์แบบผสมผสานผ่านอุปกรณ์สมาร์ทโฟนในมหาวิทยาลัยราชภัฏ วิธีการดำเนินการวิจัยใช้
การสังเคราะห์เอกสาร เพื่อให้ได้รูปแบบการประเมินรูปแบบใช้การหาค่าค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
จากแบบประเมินรูปแบบที่สร้างขึ้นซึ่งผ่านการหาค่าความสอดคล้อง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้าน
การออกแบบการเรียนการสอนและการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ จำนวน 10 คน ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบ
ที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ 1) ส่วนข้อมูลนำเข้าการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2) ส่วนกระบวนการ
นิเทศ 3) ส่วนผลลัพธ์ของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และ 4) ส่วนผลสะท้อนกลับผลการประเมินรูปแบบที่
พัฒนาขึ้นจากกลุ่มตัวอย่างพบว่าความเหมาะสมของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 และ
ค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.60 สว่ นความเหมาะสมของรปู แบบในรายดา้ นอยู่ในระดับมากเชน่ กนั โดยมี
ค่าเฉลยี่ และคา่ ความเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.48 และ 0.52 ตามลำดับ

สรญา เปรย้ี วประสทิ ธ์ิ (2562) ทำการวิจยั เรือ่ ง “การพัฒนาระบบนิเทศนกั ศกึ ษาฝกึ งานออนไลน์ สำหรบั
ครนู ิเทศกบ์ นสภาพแวดลอ้ มแบบคลาวด์เอด็ ดูเคชัน่ (G-Suite for Education)” โดยมวี ตั ถุประสงค์ เพ่อื สงั เคราะห์
องคป์ ระกอบระบบนิเทศนักศึกษาฝกึ งานออนไลนส์ ำาหรบั ครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อมแบบคลาวดเ์ อ็ดดเู คชั่น (G-
Suite for education) เพื่อออกแบบระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำหรับครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อม
แบบคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for education) และเพื่อประเมินความเหมาะสมระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงาน
ออนไลน์สำหรับครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อมแบบคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for education) ผู้วิจัยได้ใช้
หลักการออกแบบ ADDIE Model ในการออกแบบระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำหรับครูนิเทศก์บน
สภาพแวดล้อมแบบคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for education) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบประเมินความเหมาะสม
ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 12 คน ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการใช้เทคโนโลยีสาร
สารสนเทศเพ่ือการศึกษา สถิติที่ใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั
พบว่า องค์ประกอบของระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำหรับครูนิเทศก์บนสภาพแวดล้อมแบบคลาวด์เอด็
ดูเคชั่น (G-Suite for education) มี 2 ด้าน ได้แก่ 1) ระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำหรับครูนิเทศก์บน
สภาพแวดล้อมคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for education) ประกอบด้วย กระบวนการจัดกิจกรรมนิเทศฝึกงาน
บนสภาพแวดล้อมคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น 2) ขั้นตอนระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์ คือ 1. ปฐมนิเทศ : แนะนำ
การใช้ระบบนิเทศออนไลน์ 2. นัดหมายการนิเทศออนไลน์ 3. นิเทศออนไลน์ ถาม-ตอบ ระหว่างครูนิเทศก์กับ
นักศึกษา 4. รายงานผลการปฏิบัติงานและการแก้ปัญหา 5. ปัจฉิมนิเทศ : เพื่อรายงานภาพรวมของการฝึกงาน
ระหว่างครูนิเทศก์ฝึกงานกับนักศึกษาฝึกงานด้วยระบบออนไลน์ 6.ประเมินผลด้วยเครื่องมือ G-Form ซึ่งเป็น

38

เครอื่ งมือประเมินผลออนไลน์ ความเห็นของผู้เชย่ี วชาญทมี่ ีต่อระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์สำหรับครูนิเทศก์
บนสภาพแวดลอ้ มแบบคลาวด์เอด็ ดูเคช่นั (G-Suite for education) มคี วามเหมาะสมอยู่ในระดับมากทส่ี ดุ

น้ำมนต์ เรืองฤทธิ์ และฐาปนีย์ ธรรมเมธา (2555) ทำการวิจัยเรื่อง “ผลการใช้ระบบการจดั การออนไลน์
สำหรับการฝึกประสบการณ์” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการใช้ระบบการจัดการออนไลน์สำหรบั
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีการศึกษาของนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประชากรเป็นอาจารย์นิเทศ จำนวน 7 คน อาจารย์พี่เลี้ยง จำนวน 11 คน
และนักศึกษาวิชาเอกเทคโนโลยีการศึกษา ลงทะเบียนใน รายวิชา 468-300 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
เทคโนโลยีการศึกษา ภาคการศึกษาปลาย ประจำปีการศึกษา 2554 จำนวน 34 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. ระบบ
การจัดการออนไลน์การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีการศึกษาฯ มี 5 องค์ประกอบ คือ 1) สมาชิก
2) การประชาสมั พันธ์ 3) การเขยี นบันทึกประจำวัน 4) การบันทึก ความรู้ 5) การแสดงความคิดเห็น 2. มีข้ันตอน
ในการดำเนนิ การโดยใช้ระบบดงั น้ี 1) การสมคั รเปน็ สมาชกิ ของระบบฯ 2) การเขยี นบันทกึ ประจำวัน 3) การเขยี น
บันทึกความรู้ 4) การแสดงความคิดเห็น 5) การติดต่อสื่อสาร กับเพื่อนและอาจารย์นิเทศ 3. ผลการใช้ระบบการ
จดั การออนไลน์การฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางเทคโนโลยีการศึกษาฯ พบว่า ระบบมคี วามเหมาะสมในระดับมาก

( = 3.84,  = 0.70)
สุขวสา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม และสุทธิพงศ์ หกสุวรรณ (2561) ทำการวิจัยเรื่อง “การศึกษาผล

การใช้ระบบนิเทศฝึกงานออนไลน์” การวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลการใช้ระบบนิเทศฝึกงานออนไลน์ฯ
ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ ครูนิเทศฝึกงาน, ครูฝึกในสถาน
ประกอบการ และนักศึกษาฝึกงานระดับ ปวส. จำนวนกลุ่มละ 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่
แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วย ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาการใช้ระบบนิเทศ
ฝึกงานออนไลน์มีความเป็นไปได้ มีประโยชนต์ อ่ การนำไปใช้ สามารถลดค่าใช้จา่ ยของการนเิ ทศฝึกงานแต่สามารถ
เพิ่มจำนวนครั้งของการนิเทศฝึกงานได้โดยมีผลในแต่ละด้านดังนี้ 1. ผลการประเมินความพึงพอใจด้านการ
กระบวนการของระบบนิเทศฝึกงานออนไลน์, ดา้ นประสิทธิภาพของระบบนิเทศฝึกงานออนไลน์ฯ ครูนิเทศก์ และ
ครฝู ึกในสถานประกอบการ มีระดับความพงึ พอใจระดบั มาก ส่วนผลการประเมินความพึงพอใจด้านประโยชน์ของ
ระบบนิเทศฝึกงานออนไลนข์ องครฝู ึกในสถานประกอบการ มีความพึงพอใจอยทู่ รี่ ะดับมากที่สุด 2. ผลการประเมิน
ความพึงพอใจด้านประสิทธิภาพของระบบนิเทศฝึกงานออนไลน์ฯ และด้านประโยชน์ของระบบนิเทศฝึกงาน
ออนไลนข์ องนักศึกษาฝกึ งานนั้นมรี ะดบั ความพึงพอใจอยู่ท่ี ระดับมากที่สุด

มณีพิชา อินทสาร และคณะ (2562) ทำการวิจัยเรื่อง “ระบบติดตามและประเมินผลการฝึกอาชีพ
นักศึกษาแบบออนไลน์” โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ 1) พัฒนาระบบตดิ ตามและประเมนิ ผลการฝึกอาชพี นักศึกษาแบบ
ออนไลน์ 2) หาคุณภาพของระบบตดิ ตามและประเมนิ ผลการฝกึ อาชีพนักศึกษาออนไลน์ และ 3) ประเมินความพึง
พอใจของผู้ใช้งานระบบติดตามและประเมินผลการฝึกอาชีพนักศึกษาแบบออนไลน์ กลมุ่ ตัวอย่างท่ีใช้ในงานวิจัยน้ี
คือ อาจารย์ นักศึกษา และตัวแทนจากสถานประกอบการ จำนวน 13 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ
ค่าเฉลี่ย (X)และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า ระบบติดตามและประเมินผลการฝึกอาชีพ

39

นกั ศกึ ษาแบบออนไลน์ทพี่ ฒั นาข้ึน สามารถนำไปใชใ้ นการติดตามและประเมนิ ผลการฝกึ อาชีพของนักศึกษาได้ตรง
ตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด โดยมีการแบ่งส่วนในการใช้งานได้ 4 ส่วน คือ ผู้ดูแลระบบ อาจารย์ นักศึกษา และ
สถานประกอบการจากผลการประเมินคุณภาพระบบติดตามและประเมินผลการฝึกอาชีพนักศึกษาแบบออนไลน์
โดยผู้เชีย่ วชาญทั้งหมด 3 คน พบว่า มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (X 3.90, S.D. 0.23)และผลการประเมิน
ความพึงพอใจระบบติดตามและประเมินผลการฝึกอาชีพนักศึกษาแบบออนไลน์ โดยกลุ่มตัวอย่างจำนวน 13 คน
พบวา่ มคี ่าเฉล่ียอยู่ระดบั มาก (X 4.15, S.D. 0.58)

พนดิ า พานิชกลุ และคณะ (2562) ทำการวิจยั เรอ่ื ง “ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการงานฝึกสหกิจศึกษา
และฝกึ ประสบการณ์ วชิ าชีพแบบออนไลน์ คณะบรหิ ารธุรกิจ และการบัญชี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ” โดย
มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการออนไลน์ของสหกิจศึกษาและฝึกประสบการณ์
วชิ าชีพการฝึกงานคณะบรหิ ารธุรกิจและการบญั ชีมหาวิทยาลัยราชภฏั ศรสี ะเกษ 2) เพ่อื ประเมินประสิทธิภาพของ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการออนไลน์ของสหกิจศึกษาและวิชาชีพ ประสบการณ์การฝึกงานและ 3) เพื่อ
ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศการจัดการออนไลน์ของการฝึกงานแบบสหกิจศึกษาและ
ประสบการณ์วชิ าชีพ กลุ่มตวั อย่างมี 4 กลมุ่ ประกอบดว้ ย 1) นกั ศกึ ษา 140 คน 2) ผูบ้ รหิ ารศูนย์สหกิจศึกษาและ
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2 คน 3) อาจารย์ประจำวชิ า 7 คนและ 4) สถานประกอบการ 36 แห่ง เครื่องมือที่ใชใ้ น
การวจิ ยั คอื 1) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการออนไลน์ของสหกิจศึกษาและการฝึกงานประสบการณว์ ิชาชีพคณะ
บริหารธุรกิจและการบัญชีมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 2) แบบสอบถามการประเมินประสิทธิภาพและ 3)
แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้ ผลการวิจัยพบว่าการพฒั นาระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การออนไลน์ของสห
กิจศึกษาและการฝึกประสบการณ์วิชาชีพการฝึกงานสามารถนำไปใช้ได้จริง ระบบการทำงานมี 2 ฟังก์ชัน
ประกอบด้วย 1) ฟังก์ชันผู้ใช้ส่วนหน้าและฟังก์ชันส่วนหลัง (ผู้ดูแลระบบ) ผลประสิทธิภาพของระบบโดย
ผู้เชย่ี วชาญอยใู่ นระดบั ทส่ี งู ขน้ึ (X 4.55, S.D. 0.52)และผลการประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ชอ้ ยู่ในระดับ
ดี (X 4.34, S.D. 0.63)

บทท่ี 3
วธิ ดี ำเนินการวิจัย

การวิจยั เรือ่ ง ศึกษาความพึงพอใจตอ่ การใช้งานระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์ ผ้วู ิจยั ไดด้ ำเนนิ การ
วจิ ัย ตามข้นั ตอนดังน้ี

3.1 ประชากร/กล่มุ ตัวอยา่ ง
3.2 เครอื่ งมือท่ีใช้ในการวิจยั
3.3 ขน้ั ตอนการสรา้ งเครื่องมือ
3.4 การวิเคราะห์ข้อมลู
3.5 สถติ ิที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

3.1 ประชากร/กลมุ่ ตัวอยา่ ง
ประชากรของการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์

และหนุ่ ยนต์ สาขางานเมคคาทรอนิกส์และหนุ่ ยนต์ ระบบทวิภาคี วิทยาลยั เทคนิคสระบุรี ชน้ั ปีท่ี 2 จำนวน 7 คน
นักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการก่อสร้าง ระบบทวิภาคี วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 ชั้นปีที่ 2 จำนวน 15 คน และสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ
ทวิภาคี วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 ชั้นปีที่ 2 จำนวน 18 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน
40 คน

3.2 เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย
เครอ่ื งมือที่ใช้ในการวจิ ัยคร้ังนี้ประกอบด้วย
1. ระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์
2. แบบประเมินความพึงพอใจของผใู้ ช้งานระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์

3.3 ข้นั ตอนการสร้างเครอ่ื งมอื
3.3.1 การสร้างระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์
3.3.1.1 ศกึ ษารปู แบบของรายงานการฝึกงานของนักศกึ ษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สงู

(ปวส.) และระดับปริญญาตรี หลกั สตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ (ทล.บ.)
3.3.1.2 ศึกษาวิธีการเขียน Google App Script เพื่อสร้างรายงานบันทึกการฝึกงานด้วย App

Script แล้วส่งอีเมลไฟล์ pdf พร้อมกับส่งภาพรายงานไปในกลุ่มไลน์ โดยดัดแปลงจาก YouTube ช่อง Apiwat
Wongkanha (EP 17 มือใหม่ เริ่มต้นเรียนรู้ Google App Script : ระบบรับสมัครด้วย App Script+อีเมล+
pdf+line)

41

3.3.1.3 โครงสรา้ งของระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ เปน็ ดงั ภาพท่ี 3.1

ภาพที่ 3.1 โครงสรา้ งของระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์

ขั้นตอนการทำงานของระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ ตามโครงสร้างในภาพท่ี 3.1 อธิบาย

เป็นข้นั ตอนไดด้ ังน้ี

(1) สร้างโฟลเดอร์ไว้ใน Google Drive เพื่อเก็บขอ้ มลู รายงานผลการฝึกงาน

(2) สร้างฟอร์มบนั ทึกข้อมูลการฝึกงานประจำสปั ดาห์ดว้ ย Google Form โดยเกบ็ อยู่ใน

โฟลเดอรท์ สี่ รา้ งขนึ้ ในขนั้ ตอน (1) โดยขอ้ มูลทีไ่ ด้จาก Google Form จะบนั ทึกลงใน Google Sheet

(3) สร้างแม่แบบรายงานผลการฝกึ งานตามแบบฟอร์มท่ตี ้องการดว้ ย Google Slide

(4) เขียนโปรแกรม Google App Script เพื่อดึงข้อมูลจาก Google Form ลงใน

Google Slide แมแ่ บบ

(5) ข้อมูลที่ดึงจาก Google Form ลงบนแม่แบบ Google Slide จะทำสำเนาเก็บใน

โฟลเดอร์ชั่วคราวที่สร้างขึ้น พร้อมกับสร้างไฟล์ PDF ส่งไปที่อีเมลของนักศึกษา และ Line Notify จะส่งภาพ

เอกสารรายงานทไ่ี ดจ้ าก Google Slide ไปทก่ี ลุ่มไลนต์ ามที่กำหนด

3.3.1.4 สร้างโฟลเดอร์สำหรับเก็บข้อมูลไว้ที่ Google Drive โดยแบ่งออกเป็น 4 โฟลเดอร์

ดงั ภาพท่ี 3.2 เพื่อบนั ทึกผลการฝกึ งานของแตล่ ะกลมุ่ ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 ดงั น้ี

(1) 01-บนั ทกึ การฝกึ งาน ปวส. สำหรับนกั ศึกษา ปวส.สาขาวชิ าเมคคาทรอนิกส์ฯ

(2) 02-ปรญิ ญาตรอี ิเลก็ ทรอนิกส์ สำหรับนักศึกษา ทล.บ.เทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกส์

(3) 03-ปริญญาตรกี ่อสร้าง อ.วิชาญ สำหรบั นกั ศึกษา ทล.บ.เทคโนโลยีการกอ่ สรา้ ง
(4) 04-ปริญญาตรกี อ่ สรา้ ง อ.วรดร

42

ภาพท่ี 3.2 สรา้ งโฟลเดอร์สำหรบั เกบ็ ข้อมูลการฝึกงานของแตล่ ะกลุ่ม/รายวิชา
3.3.1.5 สร้างโฟลเดอร์ TEMP สำหรับเก็บสำเนาของ Google Slide ซึ่งเติมข้อมูลของนักศึกษา
ท่รี ายงานผลการฝึกงานแล้ว

ภาพท่ี 3.3 โฟลเดอร์ TEMP สำหรบั เกบ็ ข้อมูลชว่ั คราว
3.3.1.6 สร้างแบบฟอร์มสำหรับบันทึกข้อมูลการฝึกงานของแต่ระดับชั้น และรายวิชา โดยใช้
Google Form ดังภาพที่ 3.4

ภาพที่ 3.4 ตวั อย่างแบบฟอร์มบันทึกการฝึกงาน

43

ภาพที่ 3.4 ตัวอย่างแบบฟอร์มบันทึกการฝึกงาน (ตอ่ )
3.3.1.7 คลิกท่ี ท่ีมุมบนขวามือของ Google Form แล้วเลือก
ตามภาพที่ 3.5 เพอื่ เขียนโปรแกรม Google App Script ควบคุมการทำงานของระบบรายงาน

ภาพท่ี 3.5 การเขา้ สหู่ นา้ ต่างการเขยี นโปรแกรม Google App Script

44

3.3.1.8 เขยี นโปรแกรม Google App Script ตามตัวอยา่ งดังภาพที่ 3.6

ภาพท่ี 3.6 ตัวอย่างการเขียนโปรแกรม Google App Script

3.3.2 การสร้างแบบประเมนิ ความพึงพอใจ
ผู้วิจัยได้สรา้ งแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ ซึ่งมีขั้นตอน
การสร้างดงั นี้

3.3.2.1 ศึกษารายละเอยี ดการออกแบบและสร้างแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใชง้ านระบบ
รายงานผลการฝึกงานออนไลน์

3.3.2.2 ทำการกำหนดหัวข้อในการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบรายงานผลการ
ฝึกงานออนไลน์

3.3.2.3 ทำการสร้างแบบประเมินความพึงพอใจต่อการนำไปใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงาน
ออนไลน์ โดยใช้ Google Form เพอื่ ส่งให้ผูใ้ ช้งานประเมินตอ่ ไป

3.4 การดำเนนิ การวจิ ยั / การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ในการดำเนินการวิจัยศึกษาความพึงพอใจต่อการนำไปใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ ผู้วิจัย

มวี ธิ ใี นการดำเนินการวิจัย/การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ดังน้ี
3.4.1 ให้ผู้ใช้งานซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างของการวิจัยในครั้งนี้ ใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์

ตามระดับการศกึ ษา และตามกลุ่มเรียน เป็นเวลา 1 ภาคเรียน คือภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
3.4.2 ผู้วิจัยส่งลิงค์แบบประเมินความพึงพอใจต่อการนำไปใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์

ใหก้ ลมุ่ ตัวอย่างทำการประเมนิ ตามประเด็นการประเมนิ เมื่อสน้ิ สุดภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563
3.4.3 ผู้วิจัยรวบรวมขอ้ มูลที่ได้จากการตอบแบบประเมินออนไลน์ แล้วนำผลท่ีไดว้ ิเคราะห์ด้วยโปรแกรม

สำเรจ็ รปู IBM SPSS รุน่ 26 ตอ่ ไป


Click to View FlipBook Version