The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wichien.ta, 2021-04-24 13:35:56

รายงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้

รายงานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้

45

3.5 การวิเคราะหข์ ้อมลู
ผู้วิจยั วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู IBM SPSS ร่นุ 26
3.5.1 ตรวจสอบความสมบูรณข์ องแบบสอบถามกอ่ นนำไปวิเคราะห์
3.5.2 วิเคราะหส์ ่วนแรกของแบบสอบถามประกอบด้วย สถานภาพ ระดบั หลักสูตร สาขาวชิ า และความถ่ี

ของการใช้งาน โดยวิธกี ารหาค่ารอ้ ยละ
3.5.3 วิเคราะห์ส่วนที่สองของแบบสอบถามที่เป็นคำถามด้านความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบรายงาน

ผลการฝกึ งานออนไลน์ โดยวธิ ีการวิเคราะห์หาคา่ เฉล่ยี เลขคณิตและค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
โดยมีหลักเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้
5 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับ มากทสี่ ุด
4 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั มาก
3 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยใู่ นระดับ ปานกลาง
2 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดบั น้อย
1 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับ น้อยที่สดุ
การกำหนดเกณฑ์ของความพึงพอใจต่อการใช้งานของระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ ที่ผู้วิจัย

สรา้ งขน้ึ ดงั น้ี
ค่าเฉลี่ย (X) 4.50 – 5.00 หมายถึง พงึ พอใจในระดับมากทส่ี ุด
คา่ เฉลย่ี (X) 3.50 – 4.49 หมายถึง พงึ พอใจในระดบั มาก
ค่าเฉลีย่ (X) 2.50 – 3.49 หมายถงึ พึงพอใจในระดบั ปานกลาง
ค่าเฉล่ยี (X) 1.50 – 2.49 หมายถงึ พงึ พอใจในระดบั นอ้ ย
ค่าเฉลย่ี (X) 1.00 – 1.49 หมายถงึ พึงพอใจในระดบั น้อยทส่ี ดุ

โดยเกณฑท์ ี่กำหนดของความพึงพอใจต่อการใชง้ านของระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ ต้องมีความ
พงึ พอใจอยู่ในระดบั คะแนนเฉลีย่ 3.50 ขึน้ ไป จงึ จะเปน็ ไปตามสมมตุ ฐิ าน

3.5.4 วิเคราะห์ส่วนสุดท้ายของแบบสอบถามที่ใหผ้ ู้ตอบเสนอแนะเพอ่ื ปรับปรุงรปู แบบการรายงานผลการ
ฝกึ งานออนไลน์ในคร้งั ต่อไปโดยนำมาจำแนกความถ่ี

3.6 สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล
ในการวจิ ยั คร้งั น้ี ผวู้ ิจัยได้วิเคราะห์ข้อมลู ต่างๆ โดยใช้สูตรทางสถิติ ดังต่อไปน้ี
3.6.1 การคำนวณหาคา่ เฉลี่ย (ธานนิ ทร์ ศิลป์จาร,ุ 149)

XX
N

เม่อื X คือ ค่าเฉลย่ี

46

X คือ ผลรวมของข้อมลู ทงั้ หมด
N คือ จำนวนขอ้ มลู ทง้ั หมด

คา่ เฉล่ยี (X) บอกถึงระดบั ความคดิ เหน็ เฉลี่ยของผู้ตอบวา่ อยูใ่ นระดบั ใด ทง้ั นีใ้ ชเ้ กณฑ์บอกระดับความ
คิดเห็นเสนอแนะโดย JOHN W. BEST (อา้ งใน กาญจนา วฒั าย.ุ 2545) ดงั นี้

ถ้าค่าเฉลย่ี (X) = 4.50 – 5.00 หมายถงึ ระดบั มากท่สี ดุ
ถ้าค่าเฉลี่ย (X) = 3.50 – 4.49หมายถึง ระดบั มาก
ถา้ ค่าเฉลยี่ (X) = 2.50 – 3.49หมายถึง ระดบั ปานกลาง
ถ้าค่าเฉลย่ี (X) = 1.50 – 2.49หมายถงึ ระดบั น้อย
ถา้ คา่ เฉลี่ย (X) = 1.00 – 1.49หมายถึง ระดับน้อยที่สดุ

3.6.2 การคำนวณหาคา่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานจากข้อมลู ดิบทไี่ ม่อยใู่ นรูปของตารางแจกแจงความถี่
(ธานนิ ทร์ ศลิ ป์จารุ, 163)

(x )2 (สำหรบั ข้อมลู ที่ได้จากประชากรท้งั หมด)
N

S (x x )2 (สำหรับขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากกล่มุ ตัวอย่าง)

n1

เมอื่ หรือ S คือ คา่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
x คือ ขอ้ มลู แต่ละจำนวน

หรอื x คือ ความเฉล่ยี (mean) ของข้อมลู ในชุดนัน้
N คอื จำนวนข้อมูลจากประชากรทงั้ หมด
n คือ จำนวนขอ้ มูลจากกลุม่ ตวั อย่าง

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) บอกความคิดเห็นที่คล้อยตามกันหรือแตกต่างกัน (กาญจนา วัฒายุ. 2545)
ถ้าคา่ S.D. มีค่าตัง้ แต่ 1.00 ขึน้ ไปแสดงว่ารายการสอบถามนัน้ ผู้ตอบมีความคดิ เห็นที่แตกต่างกัน แตถ่ า้ ค่า S.D. มี
คา่ ตำ่ กว่า 1.00 ลงมา แสดงวา่ รายการสอบถามน้ันผู้ตอบมีความคิดเห็นคล้อยตามกนั ถา้ ค่า S.D. มีค่า 0 แสดงว่า
รายการสอบถามนั้นผตู้ อบมคี วามคิดเห็นเหมอื นกันทกุ คน

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

การวิจยั ครงั้ น้ีมีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ สรา้ งระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ และเพ่ือศึกษาความพงึ พอใจ
ของผใู้ ช้งานระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์ โดยเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู เป็นลำดบั ดังนี้

4.1 ผลการสรา้ งระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์
4.2 การวิเคราะห์ความพึงพอใจของผ้ใู ชง้ านระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์
4.1 ผลการสร้างระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์
ผลของการสร้างระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มตามระดับการศึกษาและ
แบบฟอรม์ รายงานผลการฝกึ งานดังน้ี
4.1.1 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้นั สูง (ปวส.)
การรายงานผลการฝึกงานของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประกอบด้วย บันทึก
การปฏิบัติงานประจำวัน ตามภาพที่ 4.1

ภาพที่ 4.1 แบบบันทึกการปฏบิ ตั ิงานประจำวัน

48

และแบบบนั ทึกข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน ตามภาพที่ 4.2

ภาพที่ 4.2 แบบบนั ทึกขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน
โดยการรายงานผลการฝึกงานนั้นนักศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลลงใน Google Form สัปดาห์ละ 1 คร้ัง
เพื่อรายงานการฝึกงานให้เป็นปัจจุบันและสม่ำเสมอ ลักษณะของ Google Form รายงานผลการฝึกงานของ
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) มีลักษณะดังภาพที่ 4.3 สามารถเข้าถึงได้จาก
https://qrgo.page.link/ZyTK2 หรอื สแกน QR Code ตามภาพที่ 4.4

ภาพท่ี 4.3 ลักษณะของแบบฟอร์มรายงานผลการฝึกงานของนกั ศกึ ษาระดบั ปวส.

49

ภาพท่ี 4.4 QR Code แบบฟอรม์ รายงานผลการฝึกงานของนักศึกษาระดบั ปวส.
เมื่อนักศึกษากรอกข้อมูลรายงานครบถ้วน และกดส่งรายงานเรียบร้อยแล้วจะมีไลน์แจ้งเตือนไปยังกลุ่ม
ฝึกงานของนักศึกษา พร้อมแนบไฟล์รายงานผลการฝึกงานประจำสัปดาห์ให้กับนักศึกษา ครูฝึก และครูนิเทศก์ซ่ึง
อยู่ในกลุ่มทราบ ตัวอย่างรายงานดังภาพที่ 4.5 ซึ่งนักศึกษาสามารถดาวน์โหลดไปปรินตเ์ พือ่ ใหค้ รูฝึกประเมนิ และ
ลงนามได้เลย

ภาพที่ 4.5 ตัวอย่างรายงานฝึกงานที่รายงานให้ทราบในกลุ่มไลน์
นอกจากนี้ ระบบยังส่งไฟล์ PDF ของรายงานการฝึกงานไปยังอีเมลของนักศึกษาตามที่กรอกไว้ใน
Google Form รายงานผลการฝกึ งาน ตวั อย่างดังภาพที่ 4.6

50
ภาพท่ี 4.6 ตวั อยา่ งรายงานการฝกึ งานทสี่ ่งใหน้ ักศึกษาทางอีเมล

51
4.12 ระดบั ปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ (ทล.บ.)
การรายงานผลการฝึกงานของนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)
ประกอบด้วยข้อมูลการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับรายวชิ า และภาพประกอบสัปดาห์ละ 4 ภาพ ตามแบบฟอร์มใน
ภาพที่ 4.7

ภาพท่ี 4.7 แบบรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านระบบทวิภาคี ระดบั ปริญญาตรี

52
โดยการรายงานผลการปฏิบัติงานระบบทวิภาคี ระดับปริญญาตรีนั้น นักศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลลงใน
Google Form สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เพื่อรายงานการฝึกงานให้เป็นปัจจุบันและสม่ำเสมอ ลักษณะของ Google
Form รายงานผลการฝึกงานของนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลกั สตู รเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) มีลักษณะดังภาพ
ท่ี 4.8 สามารถเข้าถงึ ได้จาก https://qrgo.page.link/1hinM หรอื สแกน QR Code ตามภาพท่ี 4.9

ภาพที่ 4.8 ลกั ษณะของแบบฟอร์มรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานระบบทวภิ าคี ระดับปรญิ ญาตรี

ภาพท่ี 4.9 QR Code แบบฟอร์มรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านระบบทวิภาคี ระดบั ปรญิ ญาตรี
เมื่อนักศึกษากรอกข้อมูลรายงานครบถ้วน และกดส่งรายงานเรียบร้อยแล้วจะมีไลน์แจ้งเตือนไปยังกลุ่ม
ฝึกงานของนักศึกษา พร้อมแนบไฟล์รายงานผลการปฏิบัติงานระบบทวิภาคี ระดับปริญญาตรีให้กับนักศึกษา
ครูฝึก และครูนิเทศก์ซ่ึงอยู่ในกลุม่ ทราบ ตัวอย่างรายงานดังภาพที่ 4.10 ซึ่งนักศึกษาสามารถดาวน์โหลดไปปรนิ ต์
เพ่อื ให้ครูฝกึ ประเมินและลงนามไดเ้ ช่นเดียวกบั ระดบั ปวส.

53

ภาพที่ 4.5 ตวั อยา่ งรายงานผลการปฏิบัติงานระบบทวิภาคี ระดบั ปริญญาตรี ท่รี ายงานใหท้ ราบในกล่มุ ไลน์
นอกจากน้ี ระบบยังส่งไฟล์ PDF ของรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านระบบทวิภาคี ระดบั ปริญญาตรี ไปยงั อเี มล

ของนกั ศกึ ษาตามทีก่ รอกไว้ใน Google Form อีกดว้ ย

54
รูปแบบเอกสารทนี่ กั ศึกษาได้จากอเี มลจะเป็นไฟล์ PDF ซึง่ สามารถนำไปปรนิ ต์ใหผ้ คู้ วบคุมการฝกึ หรอื
ครฝู ึกประเมนิ พรอ้ มแสดงความคดิ เหน็ และลงนาม ไฟล์ที่ไดเ้ มื่อปรินต์แลว้ จะมตี วั อย่างดังภาพท่ี 4.11

ภาพที่ 4.11 ตัวอยา่ งรายงานท่ีไดจ้ ากอเี มลทีก่ รอกข้อมลู ไว้

55

จากผลการสรา้ งระบบรายงานผลการฝึกงาน ท่ีสร้างข้นึ และนำไปใช้กับนักศึกษา จำนวน 3 กลุ่ม คอื
1. กลมุ่ ทวิภาคี ระดับ ปวส.2 สาขาวิชาเมคคาทรอนกิ ส์และหนุ่ ยนต์ จำนวน 7 คน
2. กลุม่ ทวิภาคี ระดบั ปรญิ ญาตรี ชัน้ ปีที่ 2 สาขาวชิ าเทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกส์ จำนวน 18 คน
3 กลมุ่ ทวิภาคี ระดับปริญญาตรี ช้ันปีที่ 2 สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารกอ่ สรา้ ง จำนวน 15 คน
พบว่าระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ที่สร้างขึ้นนั้น สามารถบันทึกผลและส่งรายงานในกลุ่มไลน์
แต่ละกลุ่มได้ ทำให้ครูผู้รับผิดชอบในรายวิชานั้นได้รับทราบการรายงานผลของนักศึกษาอย่างเป็นปัจจุบัน
นอกจากนี้ยังสามารถส่งไฟล์รายงานในรูปแบบ PDF ไปยังอีเมลของนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษาสามารถนำไฟล์ไป
ปรินตไ์ ดอ้ ย่างสะดวกย่ิงขึ้น

4.2 การวเิ คราะห์ความพงึ พอใจต่อการใช้งานของระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์

ในการวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อการใช้งานผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้งานของ

ระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ จำนวน 10 ข้อ ตามประเด็นการประเมินต่างๆ แล้วส่งแบบฟอร์มให้

ประชากรทั้งหมด จำนวน 40 คน ตอบแบบสอบถาม ซงึ่ ประกอบดว้ ย

นกั ศึกษาระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.)

สาขาวิชาเมคคาทรอนิกสแ์ ละหุ่นยนต์ จำนวน 7 คน

นักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี หลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.)

สาขาวชิ าเทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนิกส์ จำนวน 18 คน

สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารกอ่ สรา้ ง จำนวน 15 คน

มีผู้ตอบคำถามท้ังหมด 37 คน คดิ เป็นร้อยละ 92.50 ดังรายละเอียดตามตารางที่ 4.1

ตารางที่ 4.1 รายละเอยี ดจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามแยกตามหลักสตู รและสาขาวิชา

ที่ หลกั สตู ร (สาขาวิชา) จำนวนผเู้ รียน จำนวนผู้ตอบ คิดเป็นรอ้ ยละ
ทั้งหมด (คน) แบบสอบถาม (คน)
1. ปวส.(เมคคาทรอนิกส์และหนุ่ ยนต์) 100.00
2. ทล.บ.(เทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนิกส์) 7 7 88.88
3. ทล.บ.(เทคโนโลยกี ารก่อสร้าง) 18 16 93.33
15 14 92.50
รวมท้ังส้ิน 40 37

การวิเคราะห์ความพึงพอใจ ผู้วิจัยนำข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถามมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตและ
ส่วนเบ่งเบนมาตรฐาน ตามประเด็นการประเมินด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป IBM SPSS รุ่น 26 ซึ่งได้ผลการวิเคราะห์
ตามตารางที่ 4.2

56

ตารางที่ 4.2 การวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อการใชง้ านระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์

ที่ รายการประเมนิ คา่ เฉลยี่ คา่ S.D. ระดับความพึงพอใจ

1. รปู แบบการใช้งานระบบ ความยาก-ง่าย (X ) มาก
2. กระบวนการทำงานของระบบ มาก
3. ระบบสามารถช่วยลดขั้นตอนในการทำงาน 4.49 0.73 มาก
4. ความถูกต้อง แม่นยำของระบบ 4.35 0.82 มากท่ีสุด
5. การออกแบบให้ใชง้ านง่าย เมนูไม่ซับซ้อน 4.27 0.69 มาก
6. ความสะดวกในการใช้งานโปรแกรม 4.59 0.72 มากที่สุด
7. ความเหมาะสมในการใชง้ านโปรแกรม 4.38 0.82 มากท่ีสุด
8. ความพึงพอใจในการใช้งาน 4.65 0.67 มากทสี่ ุด
9. ความรู้ความเข้าใจในการใช้งานระบบ 4.70 0.57 มากทส่ี ุด
10. ความสามารถของระบบ ในการนำไปใช้ประโยชน์ 4.65 0.53 มากที่สุด
4.54 0.60 มากทีส่ ุด
คา่ เฉลย่ี 4.70 0.57
4.53 0.67

จากผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจตามตารางที่ 4.2 พบว่าประเด็นที่มีคะแนนสูงสุดคือความเหมาะสม
ในการใช้งาน และความสามารถของระบบในการนำไปใช้ประโยชน์ มีค่าเฉลี่ย 4.70 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
0.57 ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด เนื่องจากระบบมีการใช้งานที่ไม่ยากเพียงแค่กรอกข้อมูลลงใน Google
Form ท่อี อกแบบไวเ้ ม่ือกดส่งรายงานก็จะได้ไฟล์รปู แบบรายงานสง่ ถงึ อีเมลของนักศึกษา สามารถนำไปปรินต์เพื่อ
เสนอผู้ควบคุมการฝึกประเมินได้โดยไม่ต้องพิมพ์หรือเขียนเอง ประเด็นที่มีคะแนนรองลงมาคือ ความสะดวก
ในการใช้งานโปรแกรม และความพึงพอใจในการใช้งาน มีค่าเฉลี่ย 4.65 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.67 และ
0.60 ตามลำดับ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนประเด็นที่มีคะแนนน้อยที่สุดคือ ระบบสามารถช่วยลด
ขนั้ ตอนในการทำงาน มคี า่ เฉลยี่ 4.27 และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน 0.69 ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เน่ืองจาก
ผู้ใช้งานเห็นว่ารายงานที่ได้จากระบบยังต้องปรินต์ไปให้ผู้ควบคุมการฝึกประเมินในเอกสาร และรวบรวมเป็น
รูปเล่มรายงานต่อครูนิเทศก์เช่นเดิม เมื่อวิเคราะห์ความพึงพอใจโดยรวมจากการตอบคำถามทุกประเด็นพบว่ามี
ค่าเฉลี่ย 4.53 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.67 แสดงว่าผู้ใช้งานมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งสูงกว่า
สมมุตฐิ านท่ีกำหนดไว้ นอกจากน้ผี ู้ใชง้ านยังมขี ้อเสนอแนะเพมิ่ เติมทเ่ี ป็นประโยชนพ์ อสรุปดังประเด็นต่อไปน้ี

1. เมอื่ กดส่งข้อมลู แล้วระบบไม่สามารถสรา้ งไฟลเ์ อกสารได้
2. ความเสถยี รภาพ ความรวดเรว็ ของการส่งรายงานเขา้ เมล เม่ือมีผใู้ ช้งานในเวลาเดียวกนั เป็นจำนวนมาก
3. เมอ่ื มีมากกว่า 1 รายวิชา ควรจะมกี ารแยกชอ่ื ไฟลง์ านเข้าอเี มลของผใู้ ช้งาน
4. การกดสง่ คำตอบระบบมักจะเกดิ ปญั หาสง่ คำตอบไม่ไปและให้ขยายพื้นทรี่ บั ขอ้ มลู ให้มากข้ึนกว่าเดิม

บทท่ี 5
สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ

การวิจัยครัง้ นี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองเพื่อสร้างระบบการรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์ และศึกษาความ
พงึ พอใจต่อการใชง้ านของระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์ ของนกั ศึกษาระบบทวิภาคี ระดบั ประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และระดับปริญญาตรี หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ทล.บ.) ผู้วิจัยขอสรุปผลการวิจัย
ตามประเด็นดังน้ี

5.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
5.2 สมมุติฐานของการวจิ ยั
5.3 เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการวจิ ัย
5.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
5.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
5.6 สรปุ ผลการวิจยั
5.7 อภิปรายผลการวจิ ยั
5.8 ข้อเสนอแนะ

5.1 วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย
5.1.1 เพอ่ื สรา้ งระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์
5.1.2 เพ่ือศึกษาความพงึ พอใจของผ้ใู ชง้ านระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์

5.2 สมมตุ ิฐานของการวิจัย
ระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ที่สร้างขึ้น สามารถใช้ในการรายงานผลการฝึกงานของนักศึกษา

ระบบทวิภาคีได้ และมีความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ อยู่ในระดับดี คือมีผลการ
ประเมนิ เฉลีย่ (X) 3.50 ขึ้นไป

5.3 เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย
เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนปี้ ระกอบด้วย
5.3.1 ระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์
5.3.2 แบบประเมินความพึงพอใจของผใู้ ชง้ านระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์

58

5.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ในการดำเนินการวิจัยศึกษาความพึงพอใจต่อการนำไปใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ ผู้วิจัย

มวี ิธีในการดำเนนิ การวิจัย/การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ดงั น้ี
3.4.1 ให้ผู้ใช้งานซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างของการวิจัยในครั้งนี้ ใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์

ตามระดบั การศกึ ษา และตามกลุ่มเรยี น เปน็ เวลา 1 ภาคเรยี น คอื ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
3.4.2 ผู้วิจัยส่งลิงค์แบบประเมินความพึงพอใจต่อการนำไปใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์

ให้กลุ่มตวั อยา่ งทำการประเมินตามประเดน็ การประเมิน เมอ่ื สน้ิ สุดภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
3.4.3 ผู้วิจัยรวบรวมข้อมลู ท่ีได้จากการตอบแบบประเมินออนไลน์ แล้วนำผลทีไ่ ด้วิเคราะห์ด้วยโปรแกรม

สำเร็จรปู IBM SPSS ร่นุ 26

5.5 การวิเคราะหข์ ้อมูล
ผวู้ ิจยั ได้ดำเนนิ การวิเคราะห์ข้อมูลของระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ ดงั น้ี
5.5.1 ข้อมูลที่ได้จากการทดลองพบว่าระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลนท์ ี่สร้างข้ึนนั้น สามารถบันทึก

ผลและส่งรายงานในกลุ่มไลน์ แต่ละกลุ่มได้ ทำให้ครูผู้รับผิดชอบในรายวิชานั้นได้รับทราบการรายงานผลของ
นักศึกษาอย่างเป็นปัจจุบัน นอกจากนี้ยังสามารถส่งไฟล์รายงานในรูปแบบ PDF ไปยังอีเมลของนักศึกษาเพื่อให้
นักศึกษาสามารถนำไฟล์ไปปรินต์ได้อย่างสะดวกยิ่งขึ้น แสดงว่าระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์สามารถ
นำไปใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์

5.5.2 ข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงาน
ออนไลน์ จำนวน 37 คน มีค่าเฉลี่ย 4.53 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.67 แสดงว่าผู้ใช้งาน มีความ
พงึ พอใจตอ่ ระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ อยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ

5.6 สรปุ ผลการวิจัย
ผลจากการสรา้ งระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์ ทำใหไ้ ดร้ ะบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ ทำให้

เกดิ ความสะดวกในการรายงานผลการฝึกงานของนักศกึ ษาระบบทวภิ าคี ในช่วงสถานการณ์โรคโควดิ 19 ระบาด
ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้งานของระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ โดยผู้ใช้งานน้ัน

ใช้สถิตหิ าค่าเฉลีย่ ในแต่ละข้อของระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์ และค่าเฉลีย่ รวมของระบบรายงานผลการ
ฝึกงานออนไลน์ จึงได้ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ ซึ่งผู้วิจัยได้สร้าง
คำถามจำนวน 10 ขอ้

จากผลการทดลองระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ พบว่าระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ที่
สร้างขึ้นนั้น สามารถบันทึกผลและส่งรายงานในกลุ่มไลน์ แต่ละกลุ่มได้ ทำให้ครูผู้รับผิดชอบในรายวิชานั้นได้
รับทราบการรายงานผลของนกั ศึกษาอย่างเปน็ ปจั จุบนั นอกจากนี้ยงั สามารถส่งไฟลร์ ายงานในรูปแบบ PDF ไปยัง
อีเมลของนกั ศึกษาเพ่อื ใหน้ ักศึกษาสามารถนำไฟลไ์ ปปรินต์ได้อยา่ งสะดวกยง่ิ ข้ึน

59

ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ จำนวน 37 คน พบว่ามี
ค่าเฉลี่ย 4.53 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.67 แสดงว่าผู้ใช้งานมีความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบรายงานผล
การฝึกงานออนไลน์ อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาประเด็นการประเมินพบว่าประเด็นที่มีคะแนนสูงสุดคือ
ความเหมาะสมในการใช้งาน และความสามารถของระบบในการนำไปใช้ประโยชน์ มีค่าเฉลี่ย 4.70 และ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.57 ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด เนื่องจากระบบมีการใช้งานที่ไม่ยากเพียงแค่
กรอกข้อมูลลงใน Google Form ที่ออกแบบไว้เมื่อกดส่งรายงานก็จะได้ไฟล์รูปแบบรายงานส่งถึงอีเมลของ
นักศึกษา สามารถนำไปปรินต์เพื่อเสนอผู้ควบคุมการฝึกประเมินได้โดยไม่ต้องพิมพ์หรือเขียนเอง ประเด็นที่มี
คะแนนรองลงมาคือ ความสะดวกในการใช้งานโปรแกรม และความพึงพอใจในการใช้งาน มีค่าเฉลี่ย 4.65 และ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.67 และ 0.60 ตามลำดับ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนประเด็นที่มีคะแนน
น้อยที่สุดคือ ระบบสามารถช่วยลดขั้นตอนในการทำงาน มีค่าเฉลี่ย 4.27 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.69
ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เนื่องจากผู้ใช้งานเห็นว่ารายงานที่ได้จากระบบยังต้องปรินต์ไปให้ผู้ควบคุมการฝึก
ประเมินในเอกสาร และรวบรวมเป็นรูปเล่มรายงานต่อครูนิเทศก์เช่นเดิม เม่ือวิเคราะห์ความพึงพอใจโดยรวม
จากการตอบคำถามทุกประเด็นพบว่ามีค่าเฉลี่ย 4.53 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.67 แสดงว่าผู้ใช้งานมีความ
พึงพอใจอยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ ซึ่งสงู กว่าสมมุติฐานทก่ี ำหนดไว้

5.7 อภปิ รายผลการวจิ ัย
ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ ที่สร้างขึ้นมีค่าเฉลี่ย 4.53

และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 0.67 แสดงวา่ มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่สี ดุ ซ่งึ สงู กวา่ สมมุติฐานการิจัยท่ีตั้งไว้
โดยสามารถอภปิ รายผลได้ดังนี้

ผลจากการทดสอบระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ เพอื่ หาความสามารถของระบบก่อนท่ีจะนำไปใช้
กับผู้ใช้งาน จากการทดสอบระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ พบว่าระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ท่ี
สร้างขึ้น มขี ดี ความสามารถดงั น้ี

5.7.1 สามารถสง่ ขอ้ ความรปู ภาพของรายงานไปยงั ไลน์กลมุ่ ของผใู้ ช้งานได้ถูกต้องครบถ้วน
5.7.2 สามารถส่งไฟลเ์ อกสารในรูปแบบ PDF ไปยงั อเี มลทร่ี ะบไุ ว้ของผู้ใช้งานได้อย่างถูกต้อง
ผู้วิจัยได้ศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ จำนวน 37 คน มีระดับ
คะแนนเฉลี่ย 4.53 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.67 ซึ่งจากคะแนนเฉลี่ยที่ได้สรุปว่าผู้ใช้งานมีความพึงพอใจ
ต่อการใช้งานของระบบรายงานผลการฝึกงานออนไลน์ อยู่ในระดับมากที่สุด และผู้ใช้งานยังพบประเด็นปัญหาท่ี
เป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นาต่อไปดงั น้ี

5.7.1 เมอื่ กดสง่ ข้อมลู แล้วระบบไมส่ ามารถสรา้ งไฟลเ์ อกสารได้
5.7.2 ความเสถียรภาพ ความรวดเร็วของการส่งรายงานเข้าเมล เมื่อมีผู้ใช้งานในเวลาเดียวกัน
เป็นจำนวนมาก
5.7.3 เมอื่ มมี ากกว่า 1 รายวชิ า ควรจะมีการแยกชื่อไฟล์งานเขา้ อีเมลของผู้ใชง้ าน
5.7.4 การกดส่งคำตอบระบบมักจะเกิดปัญหาส่งคำตอบไม่ไปและให้ขยายพื้นที่รับข้อมูลให้มาก
ขึน้ กวา่ เดิม

60

5.8 ข้อเสนอแนะ
5.8.1 ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครง้ั น้ี
การใช้งานระบบรายงานผลการฝกึ งานออนไลน์ให้ไดป้ ระโยชน์สงู สดุ ผใู้ ช้งานควรปฏิบตั ดิ ังน้ี
5.8.1.1 รายงานผลเมอ่ื ส้ินสดุ การฝึกในแตล่ ะสัปดาห์ โดยไม่รอให้สิ้นสุดภาคเรียนแลว้ รายงานผล

คร้งั เดยี ว จะทำให้ระบบผิดพลาดได้
5.8.1.2 ไมค่ วรส่งรายงานติดๆ กันมากเกินไปเพราะ Script จะเกิดความผิดพลาดขนึ้

5.8.2 ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการวิจยั ครงั้ ตอ่ ไป
ในการวจิ ัยคร้งั ต่อไปผู้วจิ ยั ขอเสนอแนะแนวทางในการพฒั นาใหร้ ะบบสมบูรณ์ยง่ิ ขึน้ ดังตอ่ ไปนี้

5.8.2.1 ควรสรา้ ง Web App เพ่ือใหบ้ ันทึกผลการฝึกงานได้งา่ ยย่ิงข้ึน
5.8.2.2 สร้างระบบให้ผใู้ ช้งานสามารถบันทกึ ขอ้ มูลสว่ นตวั ไวใ้ ชใ้ นการรายงานผลการฝกึ งานได้

บรรณานุกรม

น้ำมนต์ เรืองฤทธิ์ และฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2555). ผลการใช้ระบบการจัดการออนไลน์สำหรับการฝึก
ประสบการณ์. Silpakorn Educational Research Journal, 4(2), 72-85.

ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ. 2563.
(2563, 20 สงิ หาคม ). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่มที่ 137 ตอนพิเศษ 191 ง. หนา้ 29-33.

พนิดา พานิชกุล และคณะ. (2562). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานฝึกสหกิจศึกษา และฝึกประสบการณ์
วิชาชีพแบบออนไลน์ คณะบริหารธุรกิจ และการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. The Journal
of Management and Development Ubon Ratchthani Rajabhat University, 6(1), 135-152.

มณีพิชา อินทสาร และคณะ. (2562). ระบบติดตามและประเมินผลการฝึกอาชีพนักศึกษาแบบ
อ อ น ไ ล น์ . Journal for Research and Innovation, Institute of Vocational Education
Bangkok, 2(2), 84-95.

สรญา เปรี้ยวประสิทธ์ิ. (2562). การพัฒนาระบบนิเทศนักศึกษาฝึกงานออนไลน์ สำหรับครูนิเทศก์บน
สภาพแวดล้อมแบบคลาวด์เอ็ดดูเคชั่น (G-Suite for Education). Journal for Research and
Innovation, Institute of Vocational Education Bangkok, 2(2), 32-45.

สุขวสา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม และสุทธิพงศ์ หกสุวรรณ. (2561). การศึกษาผลการใช้ระบบนเิ ทศฝึกงาน
อ อ น ไ ล น์ . Journal of Suvarnabhumi Institute of Technology (Humanities and Social
Sciences), 4(2), 366-376.

อำนาจ สวัสดิ์นะที และพัลลภ พิริยะสุรวงศ.์ (2558). รูปแบบแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนเิ ทศ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้านคอมพิวเตอร์แบบผสมผสานผ่านอุปกรณ์สมาร์ทโฟนในมหา
วิทยาลัยราชภัฏ. VRU Research and Development Journal Science and Technology, 10(2),
13-22.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ .(2557) .การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS (พิมพ์ครั้งที่ 15).
นนทบรุ ี : เอส. อาร์. พรน้ิ ติง้ แมสโปรดักส.์

สทิ ธิ์ ธรี สรณ์. (2552). เทคนิคการเขยี นรายงานวิจัย (พมิ พ์ครัง้ ที่ 3). กรงุ เทพ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภาคผนวก ก
Google Form แบบบันทกึ การฝึกงาน

ของแตล่ ะระดับและรายวชิ า

รายงานการฝึกงานประจําสปั ดาห์

แบบฟอรม์ นีสําหรับการบันทกึ ฝึกงานประจําสัปดาห์ ประกอบดว้ ย
1. รายงานการฝึกงานประจําวัน
2. สรุปผลการปฏบิ ัตงิ านประจําสัปดาห์
ขอใหน้ ักศกึ ษาเตรยี มขอ้ มลู การฝึกงานใหเ้ รยี บรอ้ ยกอ่ นการบันทกึ และใหเ้ ตรยี มภาพถา่ ยประกอบ
รายงาน จํานวน 1 ภาพ โดยใชเ้ ป็ นภาพในแนวนอนเทา่ นัน
*จําเป็ น

ขอ้ มลู ทัวไปเกยี วกบั นักศกึ ษาฝึกงาน

1 ชอื -นามสกลุ นักศกึ ษา *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

นางสาวกติ ตยิ ากร กติ ตกิ าญจนโรจน์
นายปรญิ ญา ทาดี
นายภานุวัฒน์ ควู่ วิ ัฒน์ชยั
นายวชิ ชพัชร์ ดวงประทมุ
นายวทิ ยพงษ์ เตโพธิ
นายศภุ กจิ จันทรแ์ ดง
นายปิยะชาติ ศรทอง

2 สถานประกอบการ *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

บรษิ ัท ไทยเบเวอรเ์ รจ แคน จํากัด

3 แผนก/หน่วยงานทสี งั กดั *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

Human Resource
ET&UT
อนื ๆ:

4 ชอื -นามสกลุ ผคู ้ วบคมุ การฝึก/ผปู ้ ระเมนิ *

ถา้ ไม่มชี อื ในรายการ ใหพ้ มิ พช์ อื ในชอ่ งอนื ๆ ระบุคํานําหนา้ ดว้ ยแต่ไม่ตอ้ งเวน้ วรรคระหว่าคํานําหนา้ กับชอื

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

นายจักรพันธ์ ตมุ่ แกว้
นายสรุ ชยั ดวงเลศิ
นายนฤพล บญุ มี
นายวรี ะเดช ทรัพยส์ บื
นางสาวสกุ ัญญา เลยี งเจรญิ
นางสาวพรทรัพย์ วัชรพันธพุ์ งศ์
อนื ๆ:

ขอ้ มลู สปั ดาหท์ ฝี ึกงาน

5 สปั ดาหท์ ี *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18

6 ระหวา่ งวันที *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

16 พฤศจกิ ายน 2563
23 พฤศจกิ ายน 2563
30 พฤศจกิ ายน 2563
7 ธันวาคม 2563
14 ธันวาคม 2563
21 ธันวาคม 2563
28 ธันวาคม 2563
4 มกราคม 2564
11 มกราคม 2564
18 มกราคม 2564
25 มกราคม 2564
1 กมุ ภาพันธ์ 2564
8 กมุ ภาพันธ์ 2564
15 กมุ ภาพันธ์ 2564
22 กมุ ภาพันธ์ 2564
1 มนี าคม 2564
8 มนี าคม 2564
15 มนี าคม 2564

7 ถงึ วันที *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

22 พฤศจกิ ายน 2563
29 พฤศจกิ ายน 2563
6 ธันวาคม 2563
13 ธันวาคม 2563
20 ธันวาคม 2563
27 ธันวาคม 2563
3 มกราคม 2564
10 มกราคม 2564
17 มกราคม 2564
24 มกราคม 2564
31 มกราคม 2564
7 กมุ ภาพันธ์ 2564
14 กมุ ภาพันธ์ 2564
21 กมุ ภาพันธ์ 2564
28 กมุ ภาพันธ์ 2564
7 มนี าคม 2564
14 มนี าคม 2564
21 มนี าคม 2564

บันทกึ การฝึกงาน วันจันทร์

8 วันจันทร์ ที *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

16 พ.ย. 63
23 พ.ย. 63
30 พ.ย. 63
7 ธ.ค. 63
14 ธ.ค. 63
21 ธ.ค. 63
28 ธ.ค. 63
4 ม.ค. 64
11 ม.ค. 64
18 ม.ค. 64
25 ม.ค. 64
1 ก.พ. 64
8 ก.พ. 64
15 ก.พ. 64
22 ก.พ. 64
1 ม.ี ค. 64
8 ม.ี ค. 64
15 ม.ี ค. 64

9 บันทกึ การปฏบิ ัตงิ านวันจันทร์ *

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

10 หมายเหต-ุ วันจันทร์

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

บันทกึ การฝึกงาน วันอังคาร

11 วันอังคาร ที *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

17 พ.ย. 63
24 พ.ย. 63
1 ธ.ค. 63
8 ธ.ค. 63
15 ธ.ค. 63
22 ธ.ค. 63
29 ธ.ค. 63
5 ม.ค. 64
12 ม.ค. 64
19 ม.ค. 64
26 ม.ค. 64
2 ก.พ. 64
9 ก.พ. 64
16 ก.พ. 64
23 ก.พ. 64
2 ม.ี ค. 64
9 ม.ี ค. 64
16 ม.ี ค. 64

12 บันทกึ การปฏบิ ัตงิ านวันอังคาร *

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

13 หมายเหต-ุ วันอังคาร

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

บันทกึ การฝึกงาน วันพธุ

14 วันพธุ ที *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

18 พ.ย. 63
25 พ.ย. 63
2 ธ.ค. 63
9 ธ.ค. 63
16 ธ.ค. 63
23 ธ.ค. 63
30 ธ.ค. 63
6 ม.ค. 64
13 ม.ค. 64
20 ม.ค. 64
27 ม.ค. 64
3 ก.พ. 64
10 ก.พ. 64
17 ก.พ. 64
24 ก.พ. 64
3 ม.ี ค. 64
10 ม.ี ค. 64
17 ม.ี ค. 64

15 บันทกึ การปฏบิ ัตงิ านวันพธุ *

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

16 หมายเหต-ุ วันพธุ

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

บันทกึ การฝึกงาน วันพฤหัสบดี

17 วันพฤหัสบดี ที *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

19 พ.ย. 63
26 พ.ย. 63
3 ธ.ค. 63
10 ธ.ค. 63
17 ธ.ค. 63
24 ธ.ค. 63
31 ธ.ค. 63
7 ม.ค. 64
14 ม.ค. 64
21 ม.ค. 64
28 ม.ค. 64
4 ก.พ. 64
11 ก.พ. 64
18 ก.พ. 64
25 ก.พ. 64
4 ม.ี ค. 64
11 ม.ี ค. 64
18 ม.ี ค. 64

18 บันทกึ การปฏบิ ัตงิ านวันพฤหัสบดี *

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

19 หมายเหต-ุ วันพฤหัสบดี

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

บันทกึ การฝึกงาน วันศกุ ร์

20 วันศกุ ร์ ที *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

20 พ.ย. 63
27 พ.ย. 63
4 ธ.ค. 63
11 ธ.ค. 63
18 ธ.ค. 63
25 ธ.ค. 63
1 ม.ค. 64
8 ม.ค. 64
15 ม.ค. 64
22 ม.ค. 64
29 ม.ค. 64
5 ก.พ. 64
12 ก.พ. 64
19 ก.พ. 64
26 ก.พ. 64
5 ม.ี ค. 64
12 ม.ี ค. 64
19 ม.ี ค. 64

21 บันทกึ การปฏบิ ัตงิ านวันศกุ ร์ *

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

22 หมายเหต-ุ วันศกุ ร์

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

บันทกึ การฝึกงาน วันเสาร์

23 วันเสาร์ ที *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

21 พ.ย. 63
28 พ.ย. 63
5 ธ.ค. 63
12 ธ.ค. 63
19 ธ.ค. 63
26 ธ.ค. 63
2 ม.ค. 64
9 ม.ค. 64
16 ม.ค. 64
23 ม.ค. 64
30 ม.ค. 64
6 ก.พ. 64
13 ก.พ. 64
20 ก.พ. 64
27 ก.พ. 64
6 ม.ี ค. 64
13 ม.ี ค. 64
20 ม.ี ค. 64

24 บันทกึ การปฏบิ ัตงิ านวันเสาร์

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

25 หมายเหต-ุ วันเสาร์

บันทกึ ไดเ้ ป็ น ขอ้ ๆ ได ้ 3 ขอ้ หรอื 3 บรรทัด

บันทกึ สรปุ งานประจําสปั ดาห์

26 งานที *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18

27 ชอื งาน *

28 เครอื งมอื /เครอื งจักร/วัสด/ุ อปุ กรณ์ *

บันทกึ เป็ นขอ้ ๆ ได ้ 6 ขอ้ หรอื 6 บรรทัด

29 บันทกึ /ขอ้ เสนอแนะ ของ เครอื งมอื /เครอื งจักร/วัสด/ุ อปุ กรณ์

บันทกึ เป็ นขอ้ ๆ ได ้ 6 ขอ้ หรอื 6 บรรทัด

30 ขนั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน *

บันทกึ เป็ นขอ้ ๆ ได ้ 6 ขอ้ หรอื 6 บรรทัด

31 บันทกึ /ขอ้ เสนอแนะ ของ ขนั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน

บันทกึ เป็ นขอ้ ๆ ได ้ 6 ขอ้ หรอื 6 บรรทัด

32 ขอ้ ควรระวังในการปฏบิ ัตงิ าน *

บันทกึ เป็ นขอ้ ๆ ได ้ 6 ขอ้ หรอื 6 บรรทัด

33 บันทกึ /ขอ้ เสนอแนะ ของ ขอ้ ควรระวังในการปฏบิ ัตงิ าน

บันทกึ เป็ นขอ้ ๆ ได ้ 6 ขอ้ หรอื 6 บรรทัด

34 คา่ บรกิ าร/คา่ แรง *

35 คา่ วัสดุ *

36 ภาพประกอบ *
ไฟลท์ สี ง่ :

37 อเี มลของนักศกึ ษา *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
อนื ๆ:

เนอื หานมี ไิ ดถ้ กู สรา้ งขนึ หรอื รับรองโดย Google

ูg

 ฟอรม์

บนั ทกึ การฝึกงาน 15-4105-9002

แบบฟอรม์ สําหรับบันทกึ การฝึกงานประจําสัปดาห์
รายวชิ า 15-4105-9002 เทคโนโลยสี มองกลฝังตัวและการควบคมุ อัตโนมัติ
ผูร้ ับผดิ ชอบรายวชิ า นายวเิ ชยี ร ทวสี ขุ 09-1843-4410

ในการบันทกึ การฝึกงาน นักศกึ ษาโปรดเตรยี มภาพประกอบรายงาน จํานวน 4 ภาพ โดยใหถ้ า่ ยภาพ
หรอื ใชภ้ าพในแนวนอนเพอื ใหร้ ายงานสวยงามสมบรู ณ์
*จําเป็ น

ขอ้ มลู ของนักศกึ ษา

1 ชอื -นามสกลุ นักศกึ ษา *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

นางสาวกรกมล สขุ สมบัติ
นายคําคณู มานะสกิ ารชยั
นายจริ ภัทร กลนิ ดว้ ง
นางสาวจริ าภรณ์ ดแี สน
นายธรี ชาติ นอ้ ยจนี
นางสาวนฤมล อนิ ทโชติ
นายพริ ชชั บญุ ญกิ า
นางสาวภัทรวดี ทรัพยเ์ จรญิ
นางสาววรวรรณ พลสันต์
นางสาววจิ ติ รา ทัดสารี
นายศภุ ณัฏ ไทรศักดสิ ทิ ธิ
นายสทิ ธพิ งษ์ ญาตพิ ันธ์
นางสาวสกุ ัญญา จติ ตรนี ัย
นางสาวสภุ าพร ชยั ชะนะ
นายสวุ นิ ัย แกว้ เมอื งกลาง
นายยงยทุ ธ เปรมสวัสดิ
นางสาวพฤษภา อทุ าสวัสดิ
นางสาวรัชดาพร พุ่มไสว

2 รหัสประจําตัวนักศกึ ษา *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

6241050501
6241050503
6241050504
6241050505
6241050506
6241050507
6241050508
6241050509
6241050510
6241050511
6241050512
6241050514
6241050515
6241050516
6241050517
6241050519
6241050520
6241050521

3 ชอื สถานประกอบการ *

หากไม่มชี อื ในรายการใหพ้ มิ พช์ อื บรษิ ัทเป็ นภาษาไทย แบบเต็มรูปแบบ ในชอ่ งอนื ๆ (หา้ มพมิ พช์ อื ย่อ)

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

อนิ เตอรล์ งิ ค์ เทเลคอม จํากัด มหาชน
ASIAN RAIL COMPANY LIMITED
บรษิ ัท ไทยมาลากลาส จํากัด
บรษิ ัท พี แอนด์ พี แอคเคาท์ 2016 จํากัด
บรษิ ัท ปนู ซเิ มนตไ์ ทย(แกง่ คอย) จํากัด
บรษิ ัท ชบิ าคาวะ(ประเทศไทย) จํากัด
บรษิ ัท จซี ี เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจเิ นียรงิ จํากัด
บรษิ ัท ซ.ี ซ.ี ดับบลวิ เทคนคิ
อนื ๆ:

4 ตําแหน่งงาน *

หากไม่มใี นรายการตัวเลอื กใหพ้ มิ พใ์ นชอ่ งอนื ๆ

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

ชา่ งเทคนคิ โครงขา่ ย
ชา่ งเทคนคิ วางแผน
ชา่ งไฟฟ้ า
Finished Products Technician
พนักงานบัญชี
Production
พนักงานควบคมุ กรรมวธิ กี ารผลติ
อนื ๆ:

5 ระบหุ นา้ ที (พอสเั ขป) *

ตอบเป็ นขอ้ ๆ ไดไ้ ม่เกนิ 6 ขอ้ (6 บรรทัด)

ขอ้ มลู ครฝู ึก/ผคู ้ วบคมุ การฝึก

6 ชอื -นามสกลุ ครฝู ึก/ผคู ้ วบคมุ การฝึก *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

นายวณัชพันธ์ พายควิ
นางสาววรรณวสิ า ถาวร
นายวรี ะวงษ์ วที อง
นายเบญจพล ประวะเสนัง
นางหทัยรัตน์ พศิ เพ็ง
นางวราภรณ์ พุ่มพงษ์
นางสาวนภาภร อน้ สะอาด
นายพันทรัพย์ พรมที
อนื ๆ:

7 ตําแหน่งของครฝู ึก/ผคู ้ วบคมุ การฝึก *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

ชา่ งเทคนคิ โครงขา่ ย
หัวหนา้ งาน
Engineer
Finished Product Specialist
ผชก.Operations SMC KK
ผูจ้ ัดการ
อนื ๆ:

บันทกึ การฝึกงานประจําสปั ดาห์

8 บันทกึ การฝึกงานประจําสปั ดาหท์ ี *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18

9 ระหวา่ งวันที *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

16 พฤศจกิ ายน 2563
23 พฤศจกิ ายน 2563
30 พฤศจกิ ายน 2563
7 ธันวาคม 2563
14 ธันวาคม 2563
21 ธันวาคม 2563
28 ธันวาคม 2563
4 มกราคม 2564
11 มกราคม 2564
18 มกราคม 2564
25 มกราคม 2564
1 กมุ ภาพันธ์ 2564
8 กมุ ภาพันธ์ 2564
15 กมุ ภาพันธ์ 2564
22 กมุ ภาพันธ์ 2564
1 มนี าคม 2564
8 มนี าคม 2564
15 มนี าคม 2564

10 ถงึ วันที *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

22 พฤศจกิ ายน 2563
29 พฤศจกิ ายน 2563
6 ธันวาคม 2563
13 ธันวาคม 2563
20 ธันวาคม 2563
27 ธันวาคม 2563
3 มกราคม 2564
10 มกราคม 2564
17 มกราคม 2564
24 มกราคม 2564
31 มกราคม 2564
7 กมุ ภาพันธ์ 2564
14 กมุ ภาพันธ์ 2564
21 กมุ ภาพันธ์ 2564
28 กมุ ภาพันธ์ 2564
7 มนี าคม 2564
14 มนี าคม 2564
21 มนี าคม 2564

11 งานทไี ดป้ ฏบิ ัตแิ ละตรงกบั สมรรถนะรายวชิ า *

สามารถบันทกึ เป็ นขอ้ ๆ ไดส้ งู สดุ 7 ขอ้ หรอื 7 บรรทัด

12 งานอนื ๆ ทไี ดป้ ฏบิ ัติ *

สามารถบันทกึ เป็ นขอ้ ๆ ไดส้ งู สดุ 7 ขอ้ หรอื 7 บรรทัด

13 ปัญหาทพี บระหวา่ งการปฏบิ ัตแิ ละวธิ แี กไ้ ข *

สามารถบันทกึ เป็ นขอ้ ๆ ไดส้ งู สดุ 8 ขอ้ หรอื 8 บรรทัด

14 สงิ ทไี ดเ้ รยี นรจู ้ ากการปฏบิ ัติ *

สามารถบันทกึ เป็ นขอ้ ๆ ไดส้ งู สดุ 4 ขอ้ หรอื 4 บรรทัด

15 ภาพประกอบรายงาน ภาพที 1 *
ไฟลท์ สี ง่ :

16 คําอธบิ ายประกอบภาพที 1 *

คําอธบิ ายใตภ้ าพสันๆ

17 ภาพประกอบรายงานภาพที 2 *
ไฟลท์ สี ง่ :

18 คําอธบิ ายประกอบภาพที 2 *

19 ภาพประกอบรายงานภาพที 3 *
ไฟลท์ สี ง่ :

20 คําอธบิ ายประกอบภาพที 3 *

21 ภาพประกอบรายงานภาพที 4 *
ไฟลท์ สี ง่ :

22 คําอธบิ ายประกอบภาพที 4 *

23 อเี มลของผสู ้ ง่ รายงาน *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
[email protected]
อนื ๆ:

เนอื หานมี ไิ ดถ้ กู สรา้ งขนึ หรอื รับรองโดย Google

 ฟอรม์

บนั ทกึ การฝึกงาน 15-4106-2406 การปฏบิ ตั ิ
งานวชิ าชพี กอ่ สรา้ ง

แบบฟอรม์ สําหรับบันทกึ การฝึกงานประจําสัปดาห์
รายวชิ า 15-4106-2406 ชอื วชิ า การปฏบิ ัตงิ านวชิ าชพี กอ่ สรา้ ง
ผูร้ ับผดิ ชอบรายวชิ า นายวรดร ทพิ ยศ์ รี

ในการบันทกึ การฝึกงาน นักศกึ ษาโปรดเตรยี มภาพประกอบรายงาน จํานวน 4 ภาพ (จําเป็ นตอ้ งครบ 4
ภาพ)
โดยใหถ้ า่ ยภาพ หรอื ใชภ้ าพในแนวนอนเพอื ใหร้ ายงานสวยงามสมบรู ณ์

*จําเป็ น

ขอ้ มลู ของนักศกึ ษา

1 ชอื -นามสกลุ นักศกึ ษา *

ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

นางสาวขวัญทชิ า ทองดี
นายคณุ านนท์ บญุ มี
นายจักรกฤษณ์ พูนศรี
สบิ เอกวัชรมณฑล เนือเทศ
นายชชั ชยั เปี ยมสขุ
นายชาญวทิ ย์ กจิ ไพบลู ยร์ ัตน์
นางสาวทติ ยต์ ยิ า วทิ ักขะ
นายเทสกพ์ ันธ์ พมิ พท์ อง
นายธราธร บญุ ศริ ิ
นายธรี ภัทร สงิ หน์ ํา
นายนวพล สรอ้ ยประสงค์
นายนริ ุตติ ลําสอน
นายบญุ สง่ รุ่งเรอื ง
นายพชร ชยั วงศ์
นายพลากร แยม้ โอด
นายพสิ ทุ ธิ สภุ คตุ
นายสรัล บญุ คําภาว์
นายเอกชยั สนุ ทรประทมุ
นางสาวณภัทรศ์ รัญญ์ เทพอารักษ์กลุ
อนื ๆ:

2 รหัสประจําตัวนักศกึ ษา *
ทําเครอื งหมายเพยี งหนงึ ชอ่ ง

6341060501
6341060502
6341060503
6341060504
6341060505
6341060506
6341060507
6341060508
6341060509
6341060510
6341060511
6341060512
6341060513
6341060514
6341060515
6341060516
6341060517
6341060518
6341060519
อนื ๆ:

3 ชอื สถานประกอบการ *

4 ตําแหน่งงาน *


Click to View FlipBook Version