The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมสรุปการเรียนรู้ประจำวัน OSOF VI ม.ค.-ก.ค. 63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachareeyaphat.n, 2020-07-22 23:20:24

รวมสรุปการเรียนรู้ประจำวัน OSOF VI ม.ค.-ก.ค. 63

รวมสรุปการเรียนรู้ประจำวัน OSOF VI ม.ค.-ก.ค. 63

Keywords: OSOFVI,สรุป

Executive summary

WEEEK 1

สรุปการเรยี นรโู ครงการพัฒนาสมรรถนะผนู ํา
ดา นการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิง่ แวดลอ ม

6 มกราคม 2563

 สมรรถนะทจี่ าํ เปน สาํ หรบั ผนู ําดานการสงเสรมิ สุขภาพและอนามัยสง่ิ แวดลอม
1. การปรบั ตวั ใหทนั ตอการเปลี่ยนแปลง

 การเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีรวดเร็ว การใชขอมูลหรือองคความรูเดิมอาจยังไมเพียงพอ จําเปนตองคนหา
ชดุ ความรูใหม ทกั ษะใหม และเพม่ิ หรอื ลดบางทกั ษะใหสอดคลอ งกับการเปลี่ยนแปลง

 เรียนรูความแตกตางในแตละ Generation เนื่องจากมีความแตกตางกันท้ังดานสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม
ความเปน อยู ฯลฯ

 การเปล่ียนแปลงสามารถพยากรณอนาคตไดในบางเรื่อง บางเร่ืองอาจไมสามารถพยากรณหรือคาดการณไ ด
เนอ่ื งจากเกดิ การเปล่ยี นแปลงแบบกะทนั หนั หรือการเปลยี่ นแปลงครั้งใหญ
2. หวั หนา งานแบบใหม

 การเปล่ียนบทบาทเปน Supporter
 มกี ารมอบหมายงานใหทมี รับผดิ ชอบ
 รบั ฟง และแลกเปล่ยี นแนวคดิ กบั ผูอน่ื
 มที ักษะการเจรจา และการตดั สนิ ใจ
 รูอัตลกั ษณ/ความสามารถ/นสิ ัยของผูใตบังคับบัญชา
3. Mindset (วธิ ีคิด มุมมอง)
 ปญหาสว นใหญของเราคอื “ทอ ” กอ นกําหนด
 ควร Focus โอกาสทเ่ี ปน ไปได ไมค วรมองทคี่ วามลมเหลว
 โลกเปล่ยี นแปลงรวดเร็วจําเปนตอ งมกี ารปรบั ตวั และตอ งอาศยั Mindset เชิงบวก
 การพัฒนาฐานใจ
 เรียนรกู ันและกัน สรา งสมั พนั ธค วามคนุ เคย
 การเปนผฟู งทดี่ ี ฟงดว ยใจ ฟงดว ยความรสู ึก โดยเรียนรจู ากกจิ กรรมการรบั ฟงเรอ่ื งราวของสมาชกิ ในกลมุ
และมีการทบทวนเรอ่ื งราวนั้น ๆถา ยทอดออกมาดวยความเขาใจและสงั เกตพฤติกรรมในขณะการรับฟง

สรุปการเรียนรู OSOF VI 3

สรปุ การเรยี นรโู ครงการพัฒนาสมรรถนะผูนาํ
ดานการสงเสริมสขุ ภาพและอนามยั สิ่งแวดลอม

7 มกราคม 2563

 รเู ขา รูเรา เราเขาใจกนั
กิจกรรมการเรียนรูการประเมินตนเองในดานทักษะประสบการณตาง ๆ ทําใหเขาใจตนเองและเขาใจผูอ่ืน

ยอมรบั ในความแตกตา งของบคุ คล รวมทงั้ เรียนรูแ นวทางในการทาํ งานรว มกนั

ขีเ้ กรงใจ คิดสรา งสรรค
กลาเผชิญ มีระเบียบ

 ความรสู ึก และความตองการ
 กจิ กรรมการรับฟงอยางเขาใจ เรยี นรูจากการเลาเรื่องทแี่ สดงความรสู ึกในดานลบและการแสดง การสนทนา

ของวิทยากร ทาํ ใหเรยี นรูก ารฟงอยางเขาใจ คอื ไมดวนสรุปหรือตดั สินโดยใชป ระสบการณเดิม ไมยดึ ตนเองเปนหลัก
และไมโ ตแ ยง การฟงทส่ี งั เกตและรับรอู ารมณค วามรูสึก และการฟงทเี่ ขาใจเจตนา ความตองการของผพู ูด

 ความรสู ึกคอื ส่งิ ท่อี ยลู ึกในฐานของตวั เรา ไมสามารถจับตองได อยใู นรปู ของนามธรรม
 ความตองการ คือ ความอยากไดหรือประสงคจะไดมา แสดงออกมาในรูปของรูปธรรมและเม่ือเกิดความ
ตองการจะกอ ใหเกิดวิธีการท่จี ะทาํ ใหไดมาซง่ึ สงิ่ นั้น

สรปุ การเรยี นรู OSOF VI 4

สรปุ การเรยี นรู้โครงการพฒั นาสมรรถนะผู้นา
ด้านการสง่ เสริมสุขภาพและอนามยั สิง่ แวดลอ้ ม

8 มกราคม 2563

 การตั้งเปา้ หมายและกาหนดข้อตกลงร่วมกนั
 เป้าหมายร่วมกนั ของ OSOF VI “เปน็ ผูน้ าการเปลย่ี นแปลงดา้ นการสง่ เสริมสุขภาพและอนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม”
 การรว่ มกนั กาหนดข้อตกลง และแนวทางทจี่ ะนาไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมายร่วมกัน

 ทฤษฎีกบตม้

 การเปลี่ยนมมุ มอง การคิดนอกกรอบ การเหน็ ต่าง เห็นในส่ิงท่คี นอน่ื ไมเ่ ห็น

- ลองเปลี่ยนมมุ มองดูบ้าง - ลองทาอะไรแปลกๆ

- ลองทาส่ิงทไี่ มถ่ นดั บ้าง - คดิ สร้างสรรค์

- อยากรอู้ ยากเหน็ อยเู่ สมอ - กลา้ คดิ ออกจากกรอบ

- อย่าใหอ้ ปุ สรรคใหญ่เกนิ ตวั เรา - อย่าปลอ่ ยเวลาให้เสยี เปลา่

 รู้จกั กรมอนามยั
1. วสิ ัยทศั น์

“กรมอนามยั เป็นองคก์ รหลกั ของประเทศ ในการอภบิ าลระบบส่งเสรมิ สขุ ภาพ
และระบบอนามัยส่งิ แวดล้อมเพอ่ื ประชาชนสขุ ภาพดี”

(การอภิบาลระบบ = การขบั เคล่อื นการดาเนินงานกับหนว่ ยงานอื่น ๆ โดยใช้การ Advocate)

2. พนั ธกิจ

“ทาหน้าที่ในการสงั เคราะห์ ใชค้ วามรแู้ ละดูภาพรวม เพือ่ กาหนดนโยบาย
และออกแบบระบบส่งเสริมสขุ ภาพและอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม โดยการประสานงาน สร้างความรว่ มมอื

และกากบั ดูแล เพอ่ื ให้เกดิ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ การดาเนินงาน”

 กรมอนามยั ดแู ลประชาชนใหส้ ุขภาพดตี ลอดไป ไมใ่ ห้อยู่ในสภาวะเสย่ี งตามบรบิ ทพนื้ ที่ โดยวเิ คราะห์สุขภาพ
ปัจจัยกาหนดสุขภาพ ซึ่งต้องรู้ว่าประชาชนมีจานวนเท่าไร อยู่ท่ีไหน สถานะสุขภาพเป็นอย่างไร สถานะสุขภาพ
มีความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่อย่างไร สถานะสุขภาพทาให้มีความเหล่ือมล้ามากแค่ไหน แล้วมีการดูแลสุขภาพ
อย่างไร การดูแลสุขภาพมปี ระสิทธภิ าพหรือไม่

การดาเนินให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจ จะต้องดาเนินการผ่านตัวบุคคล ฉะน้ัน บุคคลต้องมี
ความสามารถหรือมีทักษะที่จะสนับสนุนให้การดาเนินงานนั้นประสบความสาเร็จ เรียกว่า “สมรรถนะ”
โดยสมรรถนะนั้นๆ ต้องสามารถตอบได้ตรงกับพันธกจิ และวัดผลได้

สรปุ การเรยี นรู้ OSOF VI 5

สรุปการเรยี นรโู ครงการพฒั นาสมรรถนะผูนํา
ดา นการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม

9 มกราคม 2563

 สมรรถนะ OSOF VI ทพ่ี ึงประสงค
 ทุกคนจะตอ งประเมินสมรรถนะตนเองกอนและหลังการอบรม OSOF VI
- การคดิ วเิ คราะห - การมุงผลสมั ฤทธิ์ - การทํางานเปนทีม
- การคิดเชิงระบบ - ความคดิ สรางสรรค - การสัง่ สมความเช่ยี วชาญในงานอาชีพ
- ภาวะผูนํา - ทักษะการส่ือสาร - คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
ทกุ คนจะตอ งประเมนิ สมรรถนะตนเองกอนและหลงั การอบรม OSOF VI

 การหาขอ ตกลงรวมกนั
การหาขอตกลงรวมกัน อาจใชวิธี “ฉันทามติ” เพ่ือลดความขัดแยง เปนวิธีหนึ่งท่ีใชในการบริหารงาน

โดยการทําใหเ ห็นพอ งตองกันดวยเหตุผลวา สิ่งที่ตองการขอ สรปุ เปนการดําเนนิ การจากเปาหมาย

 New Project

 ประเด็นท่ีดําเนินการตองตอบสนองวิสัยทัศนและพันธกิจของกรมอนามัย และเปนประโยชน
ตอ ประชาชน ทาํ แลวประชาชนไดอ ะไร

เปน ส่ิงใหมทก่ี รมอนามัยไมเคยดําเนินการ
ประเด็นท่ีตองการดําเนินการเปนปญหาหรือไม วิเคราะหสาเหตุของปญหา เพ่ือหาสาเหตุของสาเหตุ
อาจจะไมใชสาเหตุเดียว และจับประเด็นวาสาเหตุใดคือสาเหตุหลักของปญหา และจะแกไขปญหาน้ัน
อยา งไร
ตอบ 3 คาํ ถามใหได

1. โครงการ เร่อื ง หรือประเด็นท่ีจะดาํ เนนิ การคอื อะไร
2. ทําไมตองทาํ
3. ทําแลว ไดอะไร

สรปุ การเรียนรู OSOF VI 6

Executive summary

WEEEK 2

สรปุ การเรียนรโู ครงการพัฒนาสมรรถนะผูนาํ
ดา นการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิง่ แวดลอม

3 กุมภาพนั ธ 2563

 ฐานคิด
“ต่ืนมีสติ จับอารมณตัวเองใหทัน” รูเทาทันระบบคิด คิดเปนระบบ ส่ิงท่ีเราทํา มีสิ่งนี้จึงเกิดสิ่งน้ี นี่แหละ

คอื การคิด คิดเชงิ ระบบ
 ตองเขาใจความคดิ
- กรมอนามัยเปาหมายเดียวกนั
- ความแตกตา งระหวางผบู รหิ าร: คิดเสมอ ผูป ฏบิ ตั ิ: ไมต องคิด
 เพราะอะไร (เราคนเดียวก็ได)
- ภาวะปจเจกบุคคลมีอิทธิพลสูงสงผลตอเอกภาพในงาน ไมสามารถใชทรัพยากรไดอยางมีประสิทธิภาพ

เทากับการทํางานพรอม ๆกนั เปน ทีม
- เนนรักษางานเดิม(แตเกากอน)มองงานแบบโครงการ มองขามพัฒนาระบบ
- เคยชินกบั กจิ กรรมเดมิ ๆ ปฏิเสธการเปลี่ยนแปลง
- ขาดความเขาใจ เขาถงึ พฒั นาทํางานแบบโลกแคบ
- รองรบั มากวา รกุ กรมอนามยั วง่ิ ตามปญ หา ปจจบุ นั เขานําเราตาม
- แรงศรทั ธาภาคีเครือขา ยลดลง (เราเขาใจแตงานแตไมร ูเ รื่องระบบ ขาดความเขาใจระบบ)
- ความเขา ใจบทบาทของ Function ทไี่ มร องรบั ระบบ
- ลดระดับจากการนําจนขาดความสามารถเชิงแขง ขนั
- เสพมากกวา สรา ง

 OSOF
ผูนาํ ท่เี รากรมอนามัยอยากเหน็ ตองทาํ ตรงกันขา ม
 OSOF คอื ใคร
- OSOF คอื กองกําลังเพ่ือรองรบั การเปลีย่ นแปลงองคกรในอนาคต
 สิ่งท่ี OSOF ตอ งเผชญิ
- ตอ งตอ สกู ับความเคยชนิ เดิม ตอสกู บั ตวั เองวาจะเปลี่ยนแปลงอยา งไร
- ทานตองปรับตัว คนรอบขางวาดหวังสิ่งทท่ี า นไดร บั
- ทา นตองรองรับความคาดหวงั จากองคกรเพื่อการเปน ผนู ําแหงอนาคต
- ทานตอ งรองรบั ความคาดหวัง กรมอนามัย
- ทานตอ งตอ สกู ับความขดั แยง จากสิง่ ทที่ านไดร บั กับความเปน ตัวเอง
- วนั ที่คุณเปนหัวหนา คุณจะเปน คนเดิมหรือไหม คอื ส่งิ ทจ่ี ะพิสจู น

สรปุ การเรียนรู OSOF VI 8

สรปุ การเรยี นรโู ครงการพัฒนาสมรรถนะผูน ํา
ดานการสง เสริมสุขภาพและอนามัยสิง่ แวดลอ ม

4 กมุ ภาพนั ธ 2563

 วทิ ยากร ผศ.ดร.องั สนา บญุ ธรรม ภาควิชาอนามัยชมุ ชน คณะสาธารณสขุ ศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหิดล
 ปจจัยกาํ หนดสขุ ภาพ (Determinants of Health)

สิ่งที่เกิดข้ึนทุกเรื่องมีเหตุมีที่มาท่ีไป เพียงแตเหตุมีท่ีมาท่ีไปที่เกิดข้ึนจะสามารถทําความเขาใจและสามารถ
ทําการเชื่อมโยงกันไดหรือไม ซึ่งเปนการกลาวถึง Determinants of Health ตนกําเนิดของการสงเสริมสุขภาพ
มาจากเทพในตํานานของกรีก คือ เทพธิดา Hygeine เปนเทพแหงการสงเสริมและปองกัน (Goddness of health)
เปนบุตรของเทพ เอสควิ เลปอัส (Aesculapius) เปน เทพแหงการแพทยแ ละการสาธารณสขุ (god of medicine)

การสงเสริม ปองกัน จะเกิดความย่ังยืนได ตองใหความสําคัญ กับการทํางานอยางเขาใจ โดยทําอยาง
ตอเน่อื งและเปน ระบบ

- ส่ิงสําคัญท่ีตองทํา คือ ตองสรางใหประชาชนมีวินัยในการสงเสริมสุขภาพโดยวิเคราะหใหเ ห็นวาประชาชน
มีปจจัยที่เปนตัวกําหนดสุขภาพคืออะไร ความคาดหวังดานสุขภาพคือประชาชนไมควรเสียชีวิตกอนวัยอันควร
ดวยสาเหตทุ ีไ่ มท ําใหเกิดการเสียชีวติ โดยใชคา เฉลี่ยอายุ 85 ปข้ึนไป เปนตัววัดการตายกอนวัยอันควร

- โรคอบุ ัตใิ หมเกิดจากสง่ิ ที่มอี ยูใ นธรรมชาตเิ กดิ การเปลีย่ นแปลงจากสง่ิ กระตุนทําใหเ กิดความไมส มดลุ
- หลักระบาดวทิ ยาประกอบดว ย คน (Host) ส่ิงกอโรค เชน เช้ือโรค (Agent) สิง่ แวดลอม (Environment)

สรปุ การเรยี นรู OSOF VI 9

สรุปการเรยี นรโู ครงการพฒั นาสมรรถนะผนู ํา
ดานการสง เสริมสขุ ภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม

5 กมุ ภาพันธ 2563

 ระบบ
ระบบ คอื องคป ระกอบหลายองคประกอบทีเ่ กยี่ วของเชือ่ มโยงและความสมั พันธก นั ทํางานจนบรรลเุ ปา หมาย

 ระบบสง เสรมิ สุขภาพและอนามัยสงิ่ แวดลอ ม
ระบบสงเสริมสุขภาพและอนามยั สิ่งแวดลอม คือ ระบบท่ีทํางานเช่ือมโยงรวมกันเพ่ือจดั การกับปจ จัยกําหนด

สุขภาพ จนบรรลุเปาหมายคนสุขภาพดี ซ่ึงเปนการอภิบาลระบบสงเสริมสุขภาพและสิ่งแวดลอม จะขับเคล่ือนได
โดยใชพันธกิจ ดว ยกระบวนการ AAIM

 Goal
Goal: คนไทยสุขภาพดี: LE 85 ป HALE 75 ป เราตองรูขอมูลจํานวนของ END CUSTOMER ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ

แยกตามกลมุ วยั และทราบขอ มูลวามคี วามเสยี่ งหรอื ปว ย ตายดว ยโรคอะไร อะไรเปน สาเหตุ

 ความสาํ คญั ของการสง เสรมิ สขุ ภาพ
ความสําคญั ของการสงเสริมสขุ ภาพ ตองคํานงึ ถงึ ปจจัยกําหนดสุขภาพและการทํา intervention ทพี่ จิ ารณา

ถึงความเหล่อื มลํา้

 การวเิ คราะห (Analysis) - จัดลําดบั ความสาํ คัญ
- อะไรคอื สาเหตกุ ารตายและเจ็บปว ย - วเิ คราะหปจจัยท่ที าํ ใหเกดิ และสาเหตขุ องสาเหตุ โดยใช Mind
- เลอื กระดบั ความสาํ คญั Map หรอื Tree Diagram เพื่อหา Root cause ในแตละชวงวัย
ตาม Life Course

 การพิจารณาเลือกปจจยั สําคัญ
- สามารถแกไขพฒั นาได - มีผลกระทบสงู
- มีองคความรพู อ - ตรงตามนโยบาย
- มีความเรง ดว น เปนตน เพือ่ นําไปสกู ารทํา Intervention ระดบั ตา ง ๆ

 วิธกี ารนาํ เสนอ
- ใหจ ดั ลาดับความคิด ประเดน็ คืออะไร จุด cut point
- ลลี าการนาเสนอนา สนใจและเหมาะสมกบั สถานการณ
- ชีป้ ระเดน็ ชกั จูงใหผ ฟู งคลอยตามเห็นดว ย ตามขอมูลหลกั ฐานเชิงประจักษ

 สิง่ ทไี่ ดเ รียนรู : ฝกการใชกระบวนการ Assessment เพือ่ หาประเดน็ สําคญั สาเหตแุ ละผลกระทบ ดว ย Problem Tree

สรุปการเรียนรู OSOF VI 10

สรปุ การเรียนรโู ครงการพฒั นาสมรรถนะผูน ํา
ดานการสงเสริมสขุ ภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม

6 กมุ ภาพันธ 2563

สรุปการเรียนรู OSOF VI 11

สรปุ การเรียนรโู ครงการพฒั นาสมรรถนะผนู ํา
ดา นการสง เสริมสขุ ภาพและอนามัยสิง่ แวดลอม

7 กมุ ภาพันธ 2563

 การนําเสนอโครงการพัฒนาความคิด
สมาชกิ แตล ะกลมุ นําเสนอโครงการพัฒนาความคดิ ซง่ึ อาจารยมีขอ เสนอใหเพ่ิมเตมิ แนวคิดดงั นี้
1. งานดําเนินการสงเสริมสุขภาพท่กี รมอนามยั ดําเนินการทั้งงานท่ีทําแลว สําเรจ็ และงานท่ไี มสาํ เร็จพรอ มทง้ั

ศกึ ษาปจ จยั แหงความสําเร็จเพ่ือนาํ มาปรบั ใช
2. ศกึ ษาเพิ่มเตมิ เร่อื งแรงจูงใจในการปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม
3. ความเช่ือมโยงระหวางเหตุแหงสาเหตุ โดยตองหาเหตุท่ีชัดเจนและแกไขได เพ่ือเปนการหาเหตุท่ีสามารถ

จัดการกบั ปจ จยั กาํ หนดสุขภาพได
4. Lazy consumer มีผลอยางไรกับพฤติกรรมการกินหรืองานสงเสริมสุขภาพ และพฤติกรรมการนอนมีผล

อยา งไรกบั พฤติกรรมสขุ ภาพ จะตองศึกษาแนวโนม ความสมั พันธแ ละนาํ้ หนักของการเกิดภาวะอวน
 OTTAWA CHARTER

 Area of action ในการดาํ เนินการของ Ottawa Charter มี 6 ระดบั
1. Individual : ระดบั บุคคล
2. Interpersonal : ระหวางบุคคล
3. Community : ชมุ ชน
4. Organizational : หนว ยงาน องคกร
5. Environment : สง่ิ แวดลอม
6. Macro Policy :สงั คม เศรษฐกจิ นโยบาย

 กลยทุ ธห ลกั
1. Enable : ชว ยใหมีความสามารถ
2. Mediate : การไกลเกล่ยี ประสาน
3. Advocate : การเปนปากเปนเสยี ง

 Assessment Functions of Public Health Services
1. Monitor : รสู ถานการณส ุขภาพเพือ่ ระบุปญหาสุขภาพของประชาชน
2. Diagnose : หาเหตุแหงปญหาสุขภาพและความเส่ียงสขุ ภาพ
3. Evaluate : ศกึ ษาผลกระทบ การเขา ถึง และคณุ ภาพของการบริการสุขภาพ

สรปุ การเรียนรู OSOF VI 12

Executive summary

WEEEK 3

สรปุ การเรียนรโู ครงการพฒั นาสมรรถนะผนู าํ
ดานการสงเสริมสขุ ภาพและอนามยั สิง่ แวดลอม

2 มีนาคม 2563

 วิทยากร Krungthai Innovation Lab
 กิจกรรมจบั มือสมั พนั ธ

1. Team Work and Collaboration คือ การทํางานเปน ทมี ซึง่ มีทง้ั แบบผนู าํ และแบบการทาํ งานรว มกัน
2. Communication มี 2 แบบ คอื

- การสื่อสารแบบทางเดียว (One way Communication) คนทํางานไมมีโอกาสไดแสดงความคิดเห็น
ซึ่งอาจทําใหเกิดความอดึ อัดใจ ซ่ึงอาจจะสามารถใชใ นบางสถานการณ

- การสอื่ สารแบบสองทาง (Two way Communication) สามารถสื่อสารรว มกนั พดู คยุ กนั
3. Self-management การบริหารทีม ทีมสามารถบริหารตัวเองได โดยใช Lesson Learn จากอดีต
มาปรบั ปรงุ ใหดีขึน้
 AGILE
AGILE คือการทํางานแบบใหม “คลองตัว คลองแคลว” เพื่อตอบรับกับการเปลี่ยนแปลงท่ีจะมาถึง Ready
to Change ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงจะขึน้ อยกู ับบริบทของพ้นื ที่
 Heart of AGILE

1. Collaborate รว มมอื รวมใจ Team: TRUST EMPOWER SUPPORT
2. Deliver การทํางานทเี่ กิดผลลัพธส ูงสุด Output: Outcome

- Customer Value ประชาชน ลกู คา เหน็ คุณคา
- Team Value ทีมงานมคี วามภาคภูมิใจในสินคา นนั้
- Organization Value ภาพลกั ษณขององคกรทด่ี ี มคี ณุ คา
3. Reflect คอื Feedback ควรใชสุนทรยี สนทนา การใหคําแนะนาํ ดานบวกเพ่อื ใหเกิดการพัฒนาทด่ี ขี ้ึน
- Regular Feedback
- Construction Feedback
4. Improve คือ Inspected Adapt การพัฒนาอยางตอ เน่อื งใหด ขี ้ึน
- Failure acceptance เรยี นรจู ากขอผดิ พลาด
- Inspect & Adapt พฒั นาใหม ีความนา สนใจ ดึงดูดใจ
- Continues learning การท่ไี มหยุดเรียนรู
- Welcome Change การเปล่ียนแปลงคือโอกาส
 How to Create Agility ?
การทําผลิตภัณฑใหตอบโจทยลูกคา สามารถใชงานได ซึ่งจากการสํารวจพบวาผลิตภัณฑที่ถูกสรางขึ้นมามี
การนําไปใชจ ริง ๆ แค 7 % เราอยากทาํ ผลติ ภณั ฑแ บบน้ันหรือไม

สรปุ การเรยี นรู OSOF VI 14

 ความสมดลุ ของ Product Discovery

 Smart Goal เปา หมายของการจดั ทาํ ผลติ ภณั ฑ
การทําผลิตภัณฑนั้นตองคํานึงถึงคุณคา สามารถใชงานไดจริง เหมาะสําหรับลูกคา นําเทคโนโลยี นวัตกรรม

มาใช และส่ิงสําคัญคือตรงกับความตองการของลูกคา รวมทั้งการมีเปาหมายการจัดทําผลิตภัณฑเพ่ือใหมีคุณภาพ
ดังน้ี

- S Specific เฉพาะเจาะจงชัดเจน
- M Measurable เปาหมายวัดได คอยวัดผลสมาํ่ เสมอเพือ่ ใหถงึ เปา หมาย
- A Attainable เปาหมายทาํ ไดจริง
- R Relevant สอดคลอ งกับเปาหมายหลกั ขององคกรและไปในทศิ ทางเดียวกนั
- T Timely มีกรอบเวลาวดั ผลที่ชัดเจน

สรปุ การเรยี นรู OSOF VI 15

 Design Thinking
สรุปการเรียนรู OSOF VI 16

 ปจ จัยทมี ีผลตอ สขุ ภาพอนามัยของปจเจกบุคคล
1. ปจจัยภายใน คือ พันธุกรรม ความเช่ือ วัฒนธรรม ซ่ึงในการปรับเปล่ียนความเชื่อเปนเรื่องที่ยาก

เพราะบางคร้ังเปนวิธีชีวิตของปจเจกบุคคล โดยตองมีกระบวนการซ้ํา ๆ เพ่ือใหเกิดการเปล่ยี นแปลงอยา งคอย ๆเปน
คอ ย ๆไป

2 ปจจยั ภายนอกทมี่ ผี ลกระทบตอ สขุ ภาพคน คือ สงิ่ แวดลอมดา นตาง ๆ สังคม สงิ่ ท่มี นษุ ยสรางขึน้ ธรรมชาติ

- ระบบบรกิ ารสาธารณสุข ควรตอบสนองตอ ลกั ษณะชุมชนและสิ่งแวดลอม
- นกั สาธารณสุขตองทาํ งานเชงิ approach ตอ งทราบวา กลมุ เปา หมายคือใคร/กระบวนการตองใช
 สขุ ภาพโลก (Global health)
สุขภาพของประชาชนในบริบทของโลกและขามเขต แดนของมุมมองและปญหาของประเทศใดประเทศหน่ึง
โดยการเขามามีบทบาทของกลไกนอกภาครัฐอ่ืน ๆเพิ่มขึ้น ปญหาสุขภาพท่ีไมสามารถแกไขไดโดยประเทศใด
ประเทศหน่งึ ไมใชมองเฉพาะกลมุ เปาหมาย แตต อ งดูถึงผลกระทบและเหตปุ จ จัยทเ่ี กิดข้นึ ไปพรอม ๆกัน
 เครือ่ งชีว้ ดั สาหรบั คนไทยสขุ ภาพดี

เคร่ืองชี้วดั สาหรบั คนไทยสุขภาพดี มีหลกั การและขอตกลงตอ ไปน้ี
- ใชห ลกั ขององคก ารอนามยั โลก “ Life cycle approach ” ทแ่ี สดงวา สุขภาพหรือโรคภยั ไขเ จบ็ ในแตล ะ
อายมุ คี วาม เชื่อมโยงกันสุขภาวะท่ี สมบูรณใ นวัยเด็กจะนาํ ไปสสู ุขภาพท่ีดี ของวัยตอไป
- คิดถงึ สุขภาพในองคร วม ทงั้ รางกาย จิตใจ สังคม และจติ วิญญาณ
- คิดในบริบทของสงั คม วัฒนธรรมไทย
- คดิ จากปญหาสขุ ภาพและภาวะเสยี่ งในสังคมไทย

สรปุ การเรียนรู OSOF VI 17

 วทิ ยากร นพ.เฉวตสรร นามวาท กองระบาดวทิ ยา กรมควบคมุ โรค
 การศึกษาทางระบาดวทิ ยา

 ระบาดวทิ ยาคอื อะไร
 ประโยชนข องระบาดวทิ ยา
1. บอกธรรมชาติของโรค (Natural history of disease)
2. หาสาเหตขุ องโรค (Causation)
3. วดั สถานะสขุ ภาพและการเปล่ียนแปลง (Description of health status and changing in time)
4. ประเมินมาตรการ (Evaluation of health intervention)
 Epidemiological Triads

 Natural History of Disease Timeline ธรรมชาตขิ องการเกิดโรค - มี 4 ระยะ

สรปุ การเรยี นรู OSOF VI 18

 ระบาดวทิ ยาเชงิ พรรณนา (ไมมีกลมุ เปรียบเทยี บ)
ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (ไมมีกลุมเปรียบเทียบ) เปนการศึกษาถึง “ขนาด” และ“การกระจาย”

ของปญหาตาง ๆท่ีเก่ียวของกับสุขภาพอนามัยในประชากรที่สนใจโดยอธิบายการกระจายของปญหาดังกลาว
ในลักษณะของบุคคลสถานที่และเวลา เชน การรายงานกรณผี ูปวย การวิเคราะหแ ละสรุปการเฝา ระวัง การวิเคราะห
ขอ มูลผูป ว ยในโรงพยาบาล การศกึ ษาเชิงสํารวจ

 วัตถปุ ระสงคข องการศึกษา
- เพือ่ ใหเ กิดความคนุ เคยกบั ขอมูลและทราบขอบเขตของปญหา
- ทราบการกระจายและแนวโนมของปญ หา
- เพอ่ื ระบปุ ระชากรกลุม ทเ่ี สย่ี งตอโรคทีก่ ําลงั ศกึ ษา
- ตงั้ สมมติฐานเกีย่ วกับสาเหตุของโรค
 วิธีการเกบ็ รวบรวมขอมลู
- การสมั ภาษณ
- ใหกรอกแบบสอบถามเอง
- การตรวจรา งกาย ตรวจทางหอ งปฏิบัตกิ าร
- การทบทวนเวชระเบยี น รายงานตาง ๆ
 การวิเคราะหข อ มลู
- ขนาดของปญหา ความชกุ ของโรค อบุ ัตกิ ารณข องโรค : อัตราปว ย อตั ราตาย
- การกระจายของปญ หา บคุ คล สถานท่ี เวลา
 การตคี วามและสรปุ ผล
- ควรสรุปในกรอบของวิธกี ารศึกษาและกลมุ ประชากรศกึ ษา
- อภปิ รายผลเฉพาะส่งิ ท่ีไดจากการศึกษากะทัดรดั และปราศจากความลาํ เอยี ง
- ตอบปญ หาทสี่ งสัยไดห รือไม อยา งไร
- ตัง้ สมมตฐิ านตอไป
 ระบาดวทิ ยาเชงิ วเิ คราะห (มกี ลุมเปรยี บเทียบ)
- การศกึ ษาแบบ case-control
- การศึกษาแบบ cohort
- การศกึ ษาเชิงทดลอง (บางตารากนแยกเปน อกี กลุม ตา งหาก)

สรปุ การเรยี นรู OSOF VI 19

 แนวทางการใชการศึกษาเชงิ สงั เกต

 จรยิ ธรรมการวจิ ยั ในคน
- ตองขออนุมัติโครงรางการวิจัยตอคณะกรรมการจริยธรรม (Ethical Committee –EC or Institution

Review Board-IRB)
- กระบวนการใหขอมูลขอความยนิ ดยี นิ ยอมและสมคั รใจ (Informed Consent Process) เปนสิ่งสาํ คญั มาก
- เนนเร่อื งความปลอดภัย ความเปน อยทู ่ีดี (well being) ของอาสาสมคั ร
- มีมาตรฐานการวจิ ัยทดี่ ี ระบบรายงานความปลอดภัยทดี่ ีและแจงความคบื หนา รายป
สรุปการเรยี นรู OSOF VI 20

 ผูน าํ คือใคร
ผูนํา (Leader) คือ บุคคลท่ีสามารถชักจูง หรือชี้นําบุคคลอื่นใหป ฏิบัติงานสําเร็จตามวัตถปุ ระสงคที่วางไวไ ด

อยางมปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ล
 การบม เพาะภาวะผนู าํ
1. ตองมีสติ รตู ัววา กาํ ลังทาํ อะไร
2. ใชจนิ ตภาพ
3. มองใหความหมายกรอบของเรื่องราวและคิดกรอบใหม ใหค วามหมายใหม
4. ประสานมุมมองโลกทัศนใหม

 สง่ิ ทเี่ ราตอ งเรยี นรู เปลย่ี น
การเรยี นรูทล่ี ึกซึ้งนน้ั จะนําพาใหเกิดความเปลย่ี นแปลงท่ลี ึกซึ้งจากภายในคอื การเปล่ยี นตนเอง

ความคิดโลกทัศน และทายท่ีสุดคอื เปล่ียนการกระทํา

 การอยรู อดขององคกร
 องคก รตองยดื หยุน (พรอ มปรบั ตวั )
 องคก รแหง การเรยี นร:ู องคก รท่ีสามารถเรียนรูอะไรใหม ๆ สรางสง่ิ ใหม
- ปรบั แกค วามเคยชนิ
- Personal Master (เกง มีดี)
- เปาหมายรว ม
- ทํางานเปน ทมี (Team learning)
- System thinking (คิดเปน ระบบ)
- ความชดั เจนในเปา หมาย ทําใหมพี ลงั มงุ มนั่ สรางงาน
- ตองมแี รงบันดาลใจ เปน คนกรมอนามัยทรงคุณคา
- มนุษยคือหัวใจของเครอื ขา ย

 4 เรือ่ งที่ตอ งพฒั นา
1. ภาวะผูนํา เรยี นรูร วมหมู (Team Learning and Mental Models): สติ สมาธิ จิตนมุ นวล
2. การคดิ กระบวนระบบ (Systems Thinking)
3. ผูนําในยุคแหงความพลิกผัน: 4 เรื่อง คือ ทําความเขาใจโลก วิสัยทัศน สรางสัมพันธเชื่อมโยง การริเร่ิม

สรางสรรค นวตกรรมที่นาํ ความเปลยี่ นแปลง
4. สรรสรางเครือขายแหงพลัง

 การขับเคลื่อนกรมอนามยั สู 4.0

สรปุ การเรียนรู OSOF VI 21

 การคดิ เชงิ ระบบ (Systems Thinking)
 เหตผุ ลที่ตองคดิ เชิงระบบ
- องคก รท้งั หลายยังแกปญ หาไมตก ปญ หาไมหลุด ไปอยา งถาวร
- แกป ญ หาตรงเหตกุ ารณท่เี กดิ ขึ้น มิไดแกท ่สี าเหตุ
- ชอบแกป ญหาตรงทม่ี ันผดุ ขึ้น
- เปน การตามไลป ญ หา
- เปน การแกปญหาแบบแยกสวน
- แกป ญหาท่ีอาการ
 การคดิ เชงิ ระบบ
- การคิดเชิงระบบเปนการคิดแบบใหเห็นท้ังหมด ทั้งหมด คือ หนึ่งเดียวที่มีสวนประกอบเหลาน้ันเชื่อมติดกัน

ทัง้ หมดเปน หน่ึงเดยี วเห็นโครงสรา งของปญหา คิดรูหาตน เหตุ
- การคิดเชิงระบบ ไมใชการคิดแบบระบบกลไก ตรรกะที่ตายตัว หรือระบบท่ดี ําเนินไปในลกั ษณะเสน ตรง

จาก 1-2-3 (linear thinking)
- การคิดเชิงระบบ คือ การคิดจากการเห็นวา เราอยูในโลกแหงระบบที่มีชีวิตอันซับซอน เปราะบาง ซึ่งทุกอยาง

ทุกองคประกอบลว นสัมพันธแ ละสง ผลกระทบกันทัง้ สน้ิ หรอื การเหน็ แบบองครวม (Whole หรอื Holistic)
- ในการจะแกไขปญหาสักเรื่อง เราตองเห็นระบบที่เราจะไปแก ตองเห็นวาระบบน้ันเชื่อมโยงกับระบบ

ใดบาง และเลือกตีกรอบวาเราจะแกไขเร่อื งราวในขอบเขตแคไ หน (unit of analysis) เพราะเราไมอาจทําไดทั้งหมด
โดยรวม

- ความสนุกของการคิดเชิงระบบ คือ เราตองทําตัวเหมือนนักสืบไมมีขอสรุปไวกอน แตตั้งคําถาม
ตลอดเวลา และสบื คนความจริง สิง่ สําคัญคือรูจกั พลกิ แพลงหลักการและความรใู หใ ชกับความจรงิ ใหได กลา วคอื เนน
ปญญาปฏิบัติ คือ หัวใจแหงโลกสมัยใหมที่ไมมีกฎเกณฑตายตัว เราตองมีหลักการแลวพลิกแพลงใหเขากับ
สถานการณความเปน จริงทเี่ กดิ ขึน้

สรุปการเรียนรู OSOF VI 22

สรุปการเรียนรโู ครงการพัฒนาสมรรถนะผูนํา
ดานการสง เสริมสขุ ภาพและอนามยั สิ่งแวดลอ ม

3 มีนาคม 2563

 การทาํ Customer’s Journey Mapping (Story Mapping)
เปนการจัดทําเสนทางการใชบริการของลูกคา (กลุมเปาหมาย) เพ่ือใหเขาใจข้ันตอนที่ลูกคาจะไดรับบริการ

ต้ังแตเร่ิมตนจนส้ินสุด โดยนําแตละ Journey ของแตละคนมารวมกันเพ่ือหาข้ันตอนท่ีเหมือนกันมาชวยในการทํา
feature list ของการใชบริการ และเลือกข้นั ตอนหลกั ทจี่ ําเปน (Minimum Viable Product: MVP) ซงึ่ เปน กิจกรรม
ทีจ่ าํ เปนตองทาํ เพือ่ ใหบรรลเุ ปาหมาย
 ออกแบบนวตั กรรมโดยกระบวนการ Design Thinking

แตละกลุมออกแบบนวัตกรรมที่สอดคลองกับเปาหมายที่กลุมต้ังไว โดยใหมองเปาหมายหลักรวมกัน คือ
คนไทยมีอายุคาดเฉลีย่ และอายคุ าดเฉลี่ยของการมสี ุขภาพดีเพ่ิมข้ึน LE 85 HALE 75 ภายในป 2579 และแตละกลุม
นาํ หลกั SMART Goal ทีไ่ ดเ รียนรจู ากวันที่ 2 มีนาคม 2563 มาทบทวน Goal ทก่ี ลุม ไดตัง้ เปาไวก อนหนานี้ และปรบั
ใหค รบตามหลัก SMART ซึ่งประกอบดว ย ตองชัดเจน เจาะจง วัดได มีความเปน ไปไดท ่จี ะทํา สอดคลอ งกบั เปาหมายหลัก
โดยมีกรอบเวลาทช่ี ดั เจน

หลังจากวาง Goal แลว นํากระบวนการ Design Thinking ท่ีไดเรียนไปมาใชมาสรางนวัตกรรม โดยเร่ิมจาก
Empathy  DefineIdeate  Prototype Test ซ่ึงแตล ะกลมุ ไดน ําเสนอและไดรบั feedback จาก
กลมุ ตา ง ๆ เพือ่ นํากลับไปปรบั ปรงุ นวัตกรรมของตนเอง

สรปุ การเรียนรู OSOF VI 23

สรปุ การเรยี นรโู ครงการพฒั นาสมรรถนะผูนํา
ดา นการสง เสริมสขุ ภาพและอนามยั สิง่ แวดลอ ม

4 มีนาคม 2563

 กระบวนการทาํ งานของกลุมยอ ย
 Part 1 (บนั ทกึ ความคดิ เชิงระบบ)
1. การคดิ งานที่มจี ุดเร่มิ ตน จาก Vision
2. คนหาขอมูลสถานการณ นําไปสูการเลือกประเด็นหรือกลุมวัยที่สนใจทําชุดโครงการ จากการวิเคราะห

Cause of cause ทาํ ใหพบ Determinant of Health หลายประเด็น
3. การสราง Problem Tree นําไปสเู ปา ประสงค
4. การนาํ วตั ถุประสงค เขา สมู าตรการสําคัญ (Intervention)

 Part 2 (Intervention)
5. กอ ใหเ กดิ Intervention
6. ไดชดุ โครงการ

 การทบทวน Problem Tree
- ใหแ กไขรากใหชัดเจน
- สว นท่ี 1 ระบุหลกั การและเหตผุ ลใหก ระชบั มีท่มี าชดั เจน
- วตั ถปุ ระสงคใหใชค าท่ชี ดั เจน ไมก วางเกนิ ไป สามารถวดั ผลได

สรุปการเรียนรู OSOF VI 24

 Interventions
 ปญ หาท่ีเกดิ ขน้ึ เกิดจากปจ จัยระดบั ไหน
 การพัฒนา Public Health Intervention
1. กาํ หนดปญหา เปาหมายทต่ี อ งการ และปจจยั ตนเหตุ
2. พิจารณาวา ปจจัยหรือสาเหตุไหนทแ่ี กไ ขหรือสามารถปรบั ปรุงได
3. คนหาวธิ ีการ หรือกลไกการเปลยี่ นแปลง ปรับปรงุ ปจจยั นั้น ๆ
4. ศึกษา คนควา วิธนี าํ สกู ารปฏิบตั ิ
5. ทดสอบและปรับปรงุ ในพนื้ ทีข่ นาดเลก็ ๆ กอ น
6. เก็บขอมูลเชิงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอยางละเอียด เพ่ือขยายขนาดพื้นท่ีดําเนินการ โดยในแตละ

ระดับใหก าํ หนด Outcome Objectives
- Outcome (What)
- Population of interest (Who)
- How much
- Timeline (When)
สรปุ การเรียนรู OSOF VI 25

สรปุ การเรยี นรู้โครงการพัฒนาสมรรถนะผนู้ า
ด้านการส่งเสริมสขุ ภาพและอนามัยสิง่ แวดล้อม

5 มีนาคม 2563

 กฎบตั รออตตาวาเพ่อื การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ (Ottawa Charter for Health Promotion)
การประชุมส่งเสริมสุขภาพโลกคร้ังท่ี 1 ท่ีกรุงออตตาวา 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1986 การประชุมครั้งนี้

ได้ออกกฎบัตรสู่การปฏิบัติเพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย สุขภาพดีถ้วนหน้าในปี 2000 (การประกาศในเร่ืองสาธารณสุข
มูลฐานที่เมืองอัลมาอาตา WHO) และหลังจากการประชุมครั้งนี้ ทาให้เกิดการความคาดหวังสาหรับการเคล่ือนไหว
ทางดา้ นสาธารณสุขไปทวั่ โลก

การส่งเสริมสุขภาพ เป็น “กระบวนการในการเพ่ิมความสามารถให้บุคคลเพ่ือให้สามารถควบคุมและ
ยกระดับสุขภาพ เพ่ือไปสู่ความสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สังคมและปัญญา “บคุ คลหรือกลุ่มบุคคลต้องสามารถท่ีจะ
กาหนดแรงจูงใจ และสามารถที่จะบรรลุความต้องการและความคาดหวังของตนเองได้ สามารถท่ีจะปรับตัวหรือ
ตอบสนองต่อสิ่งแวดลอ้ ม

สุขภาพสามารถมองในมิติของทรัพยากรสาหรับการดารงชีวิตประจาวัน รวมถึงสมรรถนะทางกาย แต่การ
ส่งเสริมสุขภาพไม่ใช่ภาระความรับผิดชอบของภาคส่วนสุขภาพ (Health sector) เท่านั้น โดยสุขภาพนั้น
เป็นมากกวา่ วถิ กี ารดาเนินชีวติ ทเี่ อ้ือต่อสุขภาพ แต่เปน็ เรอ่ื งของการกินอยทู่ ่ดี ดี ้วย
 กลยทุ ธ์ของการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Strategy)

1. การให้ข้อเสนอแนะ (Advocate) สุขภาพดีเป็นทรัพยากรที่สาคัญของสังคม เศรษฐกิจ และการพัฒนา
ตนเอง และมีความสาคัญเม่ือมองในมิติของคุณภาพชีวิต การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม
พฤติกรรมและปัจจัยทางชีววิทยา สามารถมีผลกระทบต่อสุขภาพท้ังทางบวกและทางลบ ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ
มีเปา้ หมายทีจ่ ะทาใหเ้ งอื่ นไขตา่ ง ๆเหลา่ น้สี ่งผลกระทบทางบวกตอ่ สขุ ภาพ โดยการให้ขอ้ เสนอแนะเพ่อื สขุ ภาพ

2. การเพ่มิ ความสามารถ (Enable) การส่งเสริมเนน้ การทาใหเ้ กดิ ความเท่าเทยี มทางสขุ ภาพ การดาเนินการ
ส่งเสริมสุขภาพ มีเป้าหมายเพื่อที่จะลดความแตกต่างของสถานะสุขภาพในปัจจุบัน โดยทาให้เกิดความมั่นใจถึง
โอกาสที่เท่าเทียม และทรัพยากรท่ีจะทาให้แต่ละบุคคลสามารถบรรลุศักยภาพสูงสุดทางสุขภาพ ซ่ึงรวมถึงการมี
พ้ืนฐานที่ม่ันคง ที่จะทาให้เกิดสิ่งแวดล้อมเอ้ือต่อสุขภาพ การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ทักษะชีวิต และโอกาสสาหรับ
การตัดสินเลือกทางเลือกต่อสุขภาพ ประชาชนไม่สามารถที่จะบรรลุศักยภาพสูงสุดทางสุขภาพได้ ยกเว้นบุคคลน้ัน
สามารถท่ีจะควบคุมปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพเหล่านั้นได้ ซึ่งการพัฒนาให้มีเกิดความสามารถในการควบคุมปัจจัย
กาหนดสขุ ภาพเหลา่ นนั้ ได้ ต้องทาแบบเท่าเทยี มไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ

สรุปการเรยี นรู้ OSOF VI 26

3. การเจรจาต่อรอง (Mediate) ข้อกาหนดเบ้ืองต้นและภาพในอนาคตของสุขภาพ ไม่สามารถที่จะทาให้
บรรลุได้ด้วยภาคส่วนสุขภาพโดยลาพัง การส่งเสริมสุขภาพจาเป็นการบูรณาการการดาเนินการกับทุกภาคส่วน
ท่ีเก่ียวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม ท้ังภาคส่วนสุขภาพและนอกภาคส่วนสุขภาพ (Non Health sectors)
ได้แก่ ภาคสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา ท้องถิ่น สื่อมวลชน ฯลฯ วชิ าชพี กลุ่มทางสังคม และบุคลากรทางการแพทย์
มีบทบาทในการเป็นตัวกลางในการเจรจาต่อรองกลุ่มผลประโยชน์ท่ีหลากหลายเหล่านั้น เพ่ือให้ทุกนโยบาย ทุกการ
กระทาหรือการตัดสินใจ เพื่อสุขภาพ กลยุทธ์และแผนงานการส่งเสริมสุขภาพต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของพ้ืนที่และความเป็นไปได้ของแต่ละพ้ืนที่ซ่ึงมีบริบทที่แตกต่างกัน ทั้งในระบบสังคม วัฒนธรรม
และเศรษฐกิจ

 หลักการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ (Health Promotion Action Areas)

1. สร้างนโยบายที่เอ้ือต่อสุขภาพ (Building Healthy Public Policy) การส่งเสริมสุขภาพนั้นเป็นมากกว่า
บริการสุขภาพ โดยสุขภาพขึ้นกับการกาหนดนโยบายของทุกภาคส่วน ผู้กาหนดนโยบายต้องตระหนักว่านโยบาย
เหล่าน้ันจะส่งผลกระทบทางลบต่อสุขภาพหรือไม่ และต้องยอมรับว่าเป็นหน้าท่ีของภาคส่วนนอกสุขภาพที่ต้อง
รับผิดชอบต่อสุขภาพด้วย เครื่องมือหรือกลไกของนโยบายการส่งเสริมสุขภาพมีความหลากหลาย ได้แก่ มาตรการ
ด้านกฎหมาย การเงินการคลัง การเก็บภาษี หรือการปรับเปลี่ยนองค์กร แต่บนความหลากหลายของเครื่องมือหรือ
กลไกเหล่านั้นต้องเสริมซ่ึงกันและกันและจุดหมายปลายทางคือเพื่อสุขภาพ การประสานงานและทางานร่วมกัน
(Joint action) ถึงจะทาให้เกิดความม่ันใจได้ว่าจะได้สินค้าหรือบริการท่ีปลอดภัย ส่งผลดีต่อสุขภาพ รวมถึงได้
ส่ิงแวดล้อมท่ีสะอาดและเอ้ือต่อสุขภาพ การกาหนดนโยบายที่เอื้อต่อสุขภาพต้องบ่งช้ีว่าอุปสรรคท่ีจะทาให้
ไม่สามารถสร้างนโยบายท่ีเอ้ือต่อสุขภาพของภาคส่วนที่นอกสุขภาพคืออะไร จะทาอย่างไรถึงจะขจัดปญั หาอุปสรรค
เหล่าน้ันได้ โดยการทาให้ทางเลือกเพื่อสุขภาพถูกเลือก ทาไดโ้ ดยการทาให้ผู้กาหนดนโยบายสามารถเลือกทางเลือก
น้นั ไดง้ า่ ยขึน้

2. สร้างสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อสุขภาพ (Created supportive Environment) สังคมมีความซับซ้อนและ
เก่ียวเนื่องสัมพันธ์กัน สุขภาพไม่สามารถท่ีแยกออกจากเป้าหมายอ่ืน ๆได้ และไม่สามารถที่แยกคนออกจาก
สิ่งแวดล้อมที่ล้อมรอบตัวคนได้ จึงต้องประยุกต์ใช้แนวคิดในเรื่องบูรณาการสังคมและสิ่งแวดล้อมกับเร่ืองสุขภาพ
สุขภาพจะดีภายใต้สังคมและส่ิงแวดล้อมที่เอ้ือต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่ใกล้ตัวคนมากท่ีสุด คือ ครอบครัว
เพื่อนบ้านและชุมชน รวมถึงทรัพยากรทางธรรมชาติต่าง ๆ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ จึงเป็นความ
รับผิดชอบของทุกคนบนโลกน้ี การเปล่ียนแบบแผนของวิถีการดาเนินชีวิต การทางาน การใช้เวลาว่าง มีผลต่อ
สุขภาพ วิธีการท่ีสังคมออกแบบวิธีการทางานจะส่งเสริมให้เกิดสังคมท่ีเอ้ือต่อสุขภาพ การใช้ชีวิตประจา วัน
ที่ปลอดภัย มีแรงบันดาลใจ และพึงพอใจ และมีความสุขในชวี ิต การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในสภาพแวดล้อม
ที่เปลี่ยนอย่างรวดเร็วอย่างเป็นระบบโดยเฉพาะในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี สภาพการทางาน
แบบแผนการใช้พลังงานเพ่ือการผลิต ความเป็นเมือง เป็นสิ่งที่จาเป็น เพ่ือจะประเมินว่าการเปล่ียนแปลงเหล่าน้ัน
ส่งผลกระทบทางบวกต่อสุขภาพของชุมชนหรือไม่ การปกป้องและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการสร้าง
ส่ิงแวดล้อมเอือ้ ตอ่ สขุ ภาพ ต้องถูกกาหนดไว้ในกลยุทธก์ ารส่งเสริมสุขภาพ

สรปุ การเรียนรู้ OSOF VI 27

3. พัฒนาความเข้มแข็งของปฏิบัติการชุมชน (Strengthened Community Actions) การส่งเสริมสุขภาพ
ทางานโดยอาศัยปฏิบัตกิ ารของชมุ ชนท่ีมปี ระสทิ ธิภาพทั้งในเรื่อง การลาดับความสาคัญ การตัดสินใจ การวางแผนกลยทุ ธ์
การดาเนินตามแผน เพื่อให้สุขภาพของชุมชนดีขึ้น โดยหัวใจสาคัญของกระบวนการคือการเสริมพลังให้กับชุมชน
ให้เกิดความรู้สึกของความเป็นเจ้าของ และเสริมพลังให้เกิดความมุ่งม่ันที่จะทาให้บรรลุเป้าหมายที่ชุมชนกาหนด
ด้วยความร่วมมือของชุมชน และใช้ทรัพยากรในชุมชน การพัฒนาชุมชน จาเป็นต้องอาศัยกาลังคนและทรัพยากร
ในชุมชน เพื่อให้เกิดชุมชนท่ีสามารถจัดการตนเองได้ (Self-help) และพัฒนาระบบท่ีจะทาให้เกิดความร่วมมือ
ในชุมชนท่ีมีความยืดหยุ่นและมีทิศทางเพ่ือยกระดับสุขภาพหรือปัจจัยกาหนดสุขภาพ ซึ่งจาเป็นต้องมีและเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสาร อย่างต่อเนื่องและทันเวลา มีโอกาสการเรียนรู้เพ่ือสุขภาพ รวมถึงการสนับสนุนทางด้านการเงินหรือ
งบประมาณ

4. การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล (Develop Personal Skill) การส่งเสริมสุขภาพส่งเสริมการพัฒนาคน
และสังคมโดยการสนับสนุน ข้อมูลข่าวสาร การให้การศึกษาเพ่ือสุขภาพ และการพัฒนาทักษะชีวิต การกระทา
ดงั กล่าวเป็นการเพิ่มทางเลือกสาหรับประชาชนในการทาแบบฝึกหัดเพื่อที่จะควบคุมสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และปัจจัย
กาหนดสุขภาพ การเสริมพลังให้บุคคลเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อเตรียมตัวที่จะรองรับความเสี่ยงต่าง ๆในแต่ละช่วงวัย
รวมถึงโรคเร้ือรังและการบาดเจ็บเป็นสิ่งท่ีจาเป็น ซึ่งดาเนินการได้ท้ังในฐานท่ีตั้ง (Setting) ของโรงเรียนที่บ้าน
ท่ที างาน และทช่ี ุมชน โดยผู้ท่ีเสรมิ พลงั เป็นได้ทัง้ ครูหรอื นักการศึกษา เจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข อาสาสมัคร รวมถงึ อสม.

5. ปรับระบบบริการสุขภาพ (Reoriented Health Services) การส่งเสริมสุขภาพในระบบบริการสุขภาพ
คือ การแบ่งปันระหว่างบุคคล กลุ่มในชุมชน และวิชาชีพทางด้านสาธารณสุข สถานบริการและสถาบันต่าง ๆ
ทางด้านสาธารณสุข รวมถึงรัฐบาล ซึ่งทั้งหมดต้องบูรณาการงานร่วมกันในระบบบริการสุขภาพ โดยมีเป้าหมาย
เพื่อสุขภาพ บทบาทของภาคส่วนสุขภาพตอ้ งมามุ่งเน้นท่ีการส่งเสริมสุขภาพให้มากขึ้น นอกเหนือจากการให้บริการ
ทางคลินิกหรือการรักษาพยาบาล บริการสุขภาพต้องคานึงถึงความอ่อนไหวและเคารพในมิติของความเช่ือและ
วัฒนธรรม และสนับสนุนความต้องการของบุคคลและชุมชนเพื่อชีวิตความเป็นอยู่และสุขภาพท่ีดีขึ้น และเปิด
ชอ่ งทางใหภ้ าคส่วนสขุ ภาพและภาคส่วนทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และส่งิ แวดล้อม เข้ามามีสว่ นร่วมในเร่ืองของ
สขุ ภาพด้วย การปรับระบบบรกิ ารสุขภาพจาเปน็ ต้องมีการศึกษาวิจยั และการปรับระบบการศึกษาและการฝึกอบรม
ของวิชาชีพทางสาธารสุข เพื่อปรับเปล่ียนทัศนคติ และโครงสร้างในระบบบริการสุขภาพ โดยปรับการมุ่งเน้นมาที่
ความต้องการโดยรวมของแตล่ ะบคุ คล โดยใหท้ าการรกั ษาคน ไมใ่ ช่ รักษาโรค

สรปุ การเรียนรู้ OSOF VI 28

 การดาเนนิ งานสง่ เสริมสขุ ภาพและอนามยั ส่ิงแวดลอ้ มของกรมอนามัย

 คาอธบิ ายการดาเนนิ งานของกรมอนามัยใหป้ ระชาชนเขา้ ใจ
ช้ีแนะประชาชนให้ดูแลสุขภาพตนเอง ชุมชน และสิ่งแวดล้อม ลดและกาจัดสาเหตุท่ที าให้เกิดความเจ็บป่วย

รวมทั้งประสานหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้องให้มสี ว่ นรว่ มและสนบั สนุนให้ประชาชนมสี ุขภาพดี
สรุปการเรยี นรู้ OSOF VI 29

 ข้อเสนอแนะจากอาจารยช์ าญชยั พิณเมืองงาน
1. หลักการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Action Areas) ของออตตาวาชาเตอร์ จะมุ่งเน้นในเรื่อง

การสร้างสุขภาพมากกว่าการรักษาโดยให้ความสาคัญกับแนวคิด นิเวศวิทยาสังคม Ecological Model เช่นกัน
แบง่ ออกเป็น 5 ระดับคอื ระดับบคุ คล ระหว่างบุคคล ชุมชน สถาบันหรือองค์กร สิ่งแวดล้อม นโยบาย

2. การเช่ือมโยงสาเหตุของปัญหาในแต่ละระดับได้ดี จะทาให้มองเห็นว่าเราควรท่ีจะต้องจัดการปัญหา
ในระดบั ไหน ถ้าแก้ไขแล้วสามารถสะทอ้ นไปควบคมุ ปจั จยั อ่นื ๆได้

3. ในการแกไ้ ขปญั หาแตล่ ะระดับ ถา้ ต้องการบรรลุเป้าหมาย ควรนกึ ถงึ
- WHO > ใครท่ีจะต้องเปลีย่ น
- WHAT > อะไรคอื ส่งิ สาคญั ทีบ่ ุคคลหรือกลุ่มคนต้องเปลย่ี น
- What others มีอะไรอย่างอื่นต้องเปลี่ยนหรอื ไมใ่ นระดับบุคคลหรอื กลุม่ บุคคล

 ทบทวนตารางกระบวนการคดิ เพ่อื หา Intervention
1. ระดับของตน้ เหตุ
1.1 ระดบั นโยบาย สงั คม และวฒั นธรรม
1.2 ระดบั ส่ิงแวดลอ้ ม
1.3 ระดับหน่วยงาน องค์กร สถาบนั
1.4 ระดับชุมชน
1.5 ระหวา่ งบคุ คล ครอบครวั เพื่อน
1.6 ระดับบคุ คล
2. ต้นเหตุ หรือปัจจัยเสี่ยง ซ่ึงได้จากสาเหตุของสาเหตุที่มาจากการวิเคราะห์ Problem Tree นามาแยก

ระดับในข้อที่ 1
3. มาตรการหรือการดาเนินงานท่ีเคยมีทาและได้ผล/ไม่ได้ผลได้จากการทบทวนวิธีการทาท่ีเคยทามาแล้ว

ในแตล่ ะระดับ แลว้ นามาจาแนกว่า กจิ กรรมเหลา่ นน้ั ทเี่ คยทาแลว้ ได้ผล ไมไ่ ด้ผล หรือนามาปรับปรงุ และนาไปใช้ได้
4. Intervention สาคญั
5. ผู้เก่ียวข้อง มีใครที่มีส่วนเกี่ยวข้องบ้าง ซึ่งไม่ใช่เฉพาะหน่วยงานทางด้านสุขภาพ แต่จะเก่ียวข้องกับ

หน่วยงานภาคส่วนอืน่ ดว้ ยในแตล่ ะ Intervention
6. Intervention ของกรม/ศนู ย์ฯ จะทาอะไร?

สรปุ การเรียนรู้ OSOF VI 30

สรปุ การเรียนรโู ครงการพฒั นาสมรรถนะผูนาํ
ดานการสง เสริมสขุ ภาพและอนามยั สิ่งแวดลอ ม

6 มีนาคม 2563

 สงิ่ ทไี่ ดเรยี นรู
1. ฝกการรูจ กั ตนเอง เพ่ือเขาใจอารมณ ความรูสกึ ความตองการของตนเอง เพือ่ พฒั นาตนเอง
2.การดําเนินกิจกรรมกลุม ตองใชหลักการ 3 D คือ Discuss Debate และ Dialog เพื่อใหไดขอมูล

ที่หลากหลาย และเขาใจตรงกันทกุ คนในกลมุ
3. การคนหาขอมูลตองคนหาขอมูลเพ่ิมขึ้น เพ่ือใหไดขอมูลสนับสนุนในการประกอบการตัดสินใจ เลือกประเด็นหลัก

ทส่ี ําคญั หรอื มีผลกระทบสงู
4. การเลือกทํานวัตกรรม ตองเลือกที่ไมเคยทํามากอน หรือทําแลวสําเร็จ หรือทําแลวสําเร็จเพื่อมาตอยอด

แตห าก Intervention ไหนทท่ี าํ แลว ไมสําเรจ็ ไมควรมาใชอกี
 สิง่ ทต่ี อ งทาํ ตอ

1. ปรับปรุง แกไ ข Cause of cause และ Intervention โดยหา Review เพ่มิ เตมิ ลงลกึ ในรายละเอียดเปน
Evidence ในการสนบั สนุน

2. ทบทวนและเลือก 2-3 level ท่ีสําคัญในการดําเนินการ โดยเช่ือมโยงกับกลยุทธ และเปาหมายหลักวา
เปาหมายหลักเปนใครบางที่เก่ียวของท่ีทําใหงานหรือกระบวนการนี้สําเร็จ โดยผูเกี่ยวของอาจจะเปน Health Sector
หรือ Non-Health sector ก็ได

3. ส่อื สารเบือ้ งตนกบั ผทู ่เี ก่ยี วขอ งถงึ ความเปน ไปไดใ นการดําเนินการ
4. บันทกึ ขอมลู ทสี่ ่ือสารวา ผลการสนทนาเปน อยา งไร สนใจงานกระบวนการทีเ่ ราจะดาํ เนินการหรอื ไม

สรปุ การเรียนรู OSOF VI 31

Executive summary

WEEEK 4-5

สรุปการเรียนรโู้ ครงการพฒั นาสมรรถนะผนู้ ำ
ดา้ นการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

6 กรกฎาคม 2563

❖ Advocacy

▪ Advocacy ( เปา้ หมาย คือต้องการเปล่ียนแปลงเชน่ นโยบาย พฤติกรรม โครงการ การดำเนินงาน )
“เปน็ การดำเนนิ งานท่ีใชข้ ้อมูลหลักฐานที่เชื่อถือได้อยา่ งรอบคอบท้ังโดยทางตรงและทางอ้อมเพื่อจงู ใจผู้มี
อำนาจตัดสินใจและผเู้ กี่ยวข้องให้สนบั สนุนและดำเนนิ การท่ชี ่วยเสรมิ ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์หรือเปา้ หมายท่ีผู้มสี ว่ น
เกี่ยวขอ้ งเห็นพ้องต้องการร่วมกนั ”

▪ ขนั้ ตอนการ Advocacy
• กำหนดใหไ้ ด้ว่าต้องการทำอะไรให้สำเรจ็
• ถ้ามีหลายประเด็น ตอ้ งจดั ลำดับ
• คุยตกลงกับผมู้ สี ว่ นเกีย่ วขอ้ ง (Partners and Networks)
• ประเมินศักยภาพของเราและผูเ้ กี่ยวข้อง
• สรปุ และเลอื กเฉพาะประเด็นทสี่ ำคัญ

สรปุ
• กำหนด (Define) ใหช้ ัดเจนวา่ ตอ้ งการให้เกดิ อะไร (What) และเมื่อไหร่ (When)
• แปลงเป็นวัตถุประสงค์ (Objective)
• กำหนดวิธี Monitor and Evaluation แต่ละข้ันตอนของการทำ Advocacy

STEP
1.กำหนดความต้องการ
2.กำหนดเปา้ หมาย
3.Develop your massage

สรุปการเรยี นรู้ OSOF VI 33

4.Choose your massengers
5.แสวงหาโอกาสและกิจกรรม
6.เตรียมพร้อม ทรัพยากรดา้ นต่างๆ
7.บริหารความเสยี่ ง (Manage Risk)
8.Monitor + Evaluation
Message
Primary message
- ขอ้ ความสำคญั : ปัญหาหลักทจี่ ำเปน็ ตอ้ งแก้ไข
- Evidence : หลักฐานทสี่ นบั สนนุ ข้อความหลกั ที่เขา้ ใจงา่ ย เช่น ตัวเลข,กราฟ,ภาพ
- Goal : เนน้ สิ่งทค่ี วรจะดำเนินการ (ท่มี า วเิ คราะหม์ าแล้วว่าตอ้ งทำ)
Secondary message
- อธบิ ายวธิ ีการบรรลวุ ัตถปุ ระสงคใ์ น Primary message
- มไี ดห้ ลากหลายรปู แบบท่ีเหมาะกับแต่ละผู้ฟัง
คำถามเก่ียวกับ Advocacy
1.What do we want? (Goals)
* เปา้ หมายสุดทา้ ยทสี่ ำคญั (Long – term goals)
* เปา้ หมายระหว่างดำเนินการ (Short – term goals)
2.Who can make it happen?
* บุคคลหรอื องค์กรสถาบันท่ีมีอำนาจหนา้ ท่ตี ่อการแกป้ ัญหา
* ใคร ? ท่มี ศี กั ยภาพหรืออิทธพิ ลต่อองคก์ รหรือผู้มีอำนาจหนา้ ที่
* วิเคราะห์ผมู้ สี ่วนเก่ยี วขอ้ ง ทัง้ ทไ่ี ด้รบั ประโยชน์หรอื ได้รับผลกระทบ
* วเิ คราะหบ์ ทบาทหน้าที่และความสนใจของผู้ทจี่ ะชว่ ยแก้ปัญหา
3.What do they need to hear?
- ข้อมูลหรือสงิ่ ท่ตี อ้ งการช้ีนำตอ้ งปรบั ปรุงใหต้ รงกับความสนใจของแต่ละผฟู้ ัง แต่อยบู่ นพื้นฐาน
ของความเปน็ จรงิ คือ

1.เนอื้ หาสั้น,เขา้ ใจง่ายและดึงดดู ความสนใจของผู้ฟงั
2.วิธีการทีจ่ ะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์
4.Who do they need to hear it from?
- เลอื กผทู้ จ่ี ะส่ือสารทีม่ ีความนา่ เชื่อถือ,Power สำหรบั แต่ละผรู้ บั ฟัง (Audiences) เชน่ ผู้เชยี่ วชาญ
ชอ่ื เสยี ง,ผู้มีประสบการณจ์ ริง
- เราตอ้ งทำข้อมลู และรายละเอียดให้สมบรู ณ์สำหรับผูส้ อื่ สาร

สรุปการเรยี นรู้ OSOF VI 34

สรปุ การเรยี นรโู ครงการพฒั นาสมรรถนะผนู ํา
ดา นการสงเสริมสุขภาพและอนามยั สิง่ แวดลอ ม

7 กรกฎาคม 2563

 9 คาํ ถามเพ่อื ทาํ ADVOCACY PLAN (ตอ)

5. How can we get them to hear it? (DELIVERY)
(Approach & opportunities by Lobbing, campaign, media etc.)
วิธกี าร/ชองทางการสือ่ สาร โอกาส รปู แบบ วิธีการ
พยายามแสวงหาโอกาสและกิจกรรมทเ่ี หมาะสมเพือ่ สอ่ื สารสงิ่ ท่ตี องการ โดยผานวธิ กี ารส่ือสารที่หลากหลาย
วิธีการสาํ หรับกลุมเปาหมายตางๆ เชน การพูดหรือการเจรจาระหวา งบุคคล/กลมุ , เอกสารรปู แบบตางๆ, สอื่ สารทาง
Electronic ตา งๆ, Drama, Art เปน ตน
6. What do we have? (RESOURCES)
เตรียมพรอ มทรัพยากรในดานตา งๆ ใหพรอ ม ไดแ ก การวเิ คราะห SWOT ผลของการทาํ Advocacy มาแลว
ทั้งท่ีประสบความสําเร็จและไมประสบความสําเร็จ / ใครบางท่ีเปน Partner / ศักยภาพของบุคลากร ขอมูล และ
งบประมาณท่จี ะตองใชเ พอ่ื ความตอ เน่อื ง การสาํ รวจวาในปจ จบุ ัน มที รพั ยากรเหลา นหี้ รือไม เชน

- ผลงานเดมิ ทเี่ ชือ่ มโยงสมั พันธ กับงานใหมท ีต่ อ งการ
- พนั ธมติ รที่ทํางานรว มกนั
- ศักยภาพของผูร วมงาน
- ความพรอมของขอมูล
- ความเขา ใจดานการเมือง
7. What do we need to develop? (GAPS) ส่ิงท่ตี อ งพฒั นา
- พฒั นาหรือสรางสิง่ ทยี่ งั ขาดจากการวิเคราะหท รพั ยากร (Resources)
- มองหาและสรา งพันธมิตรเพอ่ื เริม่ ตน
- พัฒนาศกั ยภาพจากการลงพน้ื ที่ พัฒนาการสอ่ื สารตา งๆ การวิจัยทม่ี ีอยแู ละเพ่ิมเติม
8. How do we begin? (First Step) มวี ิธีการเริ่มตน /ทําอยางไร
เร่ิมพัฒนาจากจุดเล็กๆ กอนและขับเคลื่อนเพ่ือใหบรรลุเปาหมายระยะสั้น (Short – term goals)
จากน้นั ประชุมระดมความคิดของผูเกี่ยวของเร่ิมตนและทําความเขาใจเปา หมายใหญรว มกันโดยเริม่ ทํางานที่สามารถ
บรรลไุ ดในระยะสั้น
- ขบั เคล่อื นเพอื่ Short – term goals
- ประชมุ ระดมความคิดของผเู ก่ียวของเร่ิมตน
- ทําความเขา ใจเปา หมายใหญร ว มกนั
- เริม่ ทาํ งานทีส่ ามารถบรรลุไดใ นระยะส้นั
9. How do we tell if it’s working?
(Evaluation – M&E Plan – data collection, indicators)
การตรวจสอบกระบวนการ การติดตามและประเมินผล เปนระบบท่ีจําเปนในการทํา Advocacy ใหมี
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล
- ตรวจสอบ ผลของการดําเนนิ การตามคาํ ถามตา งๆวา บรรลเุ ปา หมายหรอื ไม
- ปรับแผน หรือยกเลิกกิจกรรมทีไ่ มบรรลุผล

สรปุ การเรียนรู OSOF VI 35

 คา นยิ มกระทรวงสาธารณสุข (MOPH) สูว ฒั นธรรมกรมอนามยั (HEALTH)

แปลงเปนพฤตกิ รรมท่พี ึงประสงค

ความสัมพนั ธร ะหวา งคานิยมกระทรวงสาธารณสขุ (MOPH) สวู ัฒนธรรมกรมอนามัย (HEALTH)

ปจ จยั คา นยิ ม วัฒนธรรม พฤติกรรมท่พี งึ ประสงค
กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามยั

M : Mastery H : Health Model 1.รวมกิจกรรมสม่ําเสมอ
เปน นายตนเอง เปน ตนแบบสขุ ภาพ 2.ตรงตอ เวลา
ภายใน 3.เสาะแสวงหาความรู
O : Originality E : Ethics 4.ซื่อสตั ย ยนื หยดั ในความถกู ตอ ง
เรงสรางส่งิ ใหม มจี ริยธรรม 5.มที ักษะถายทอดความรดู า นสขุ ภาพ

A : Achievement 1.รวมกจิ กรรมทางวชิ าการ
มุง ผลสัมฤทธ์ิ 2.มขี อเสนอใหมๆ มานําเสนอ
L : Learning 3.กลา แสดงออก กลานาํ เสนอ
เรียนรรู วมกัน 4.ทาํ งานอยางเปน ระบบและมีเปาหมาย
5.แลกเปลย่ี นเรียนรซู ่ึงกันและกัน

ภายนอก P : People T : Trust 1.รบั ฟง ความคิดเหน็ ของประชาชน/ลูกคา อยา ง
centered เคารพและเชือ่ ม่นั ตั้งใจ
ใสใจประชาชน H : Harmony 2.ใหบรกิ ารดวยความเสมอภาคไมเ ลือกปฏิบัติ
H : Humility เปน อนั หนงึ่ อนั เดียวกนั 3.กระตอื รือรนในการบรกิ ารประชาชน
ออนนอมถอมตน 4.มีทกั ษะการทาํ งานกับเครือขา ย
5.สื่อสารเพื่อสรางแรงจงู ใจใหค นรอบขางดูแล
แกปญหาตัวเองได
1.มีสมั มาคาราวะ ถอมตน ออนนอ ม
2.พรอ มรับผิดชอบ พรอมใหอ ภยั
3.ชนื่ ชมยกยอ ง เห็นคุณคา ตนเองและผอู ื่น
4.สรางภาพลกั ษณท ี่ดีใหก ับองคกร
5.มีความรกั ความผกู พันซ่ึงกนั และกนั

สรปุ การเรียนรู OSOF VI 36

 หวั ใจสาํ คัญของปจจัยที่ทาํ ใหสขุ ภาพดี External
สภาพแวดลอม
Internal ♥Healthy Cities / Healthy Communities
พฤตกิ รรม
♥Health Literacy HEALTH ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ
สุขภาพดี
พันธกุ รรม
♥ Good Governance
♥Good Governance

ความรอบรูดา นสุขภาพ (Health Literacy) คือ ความสามารถหรอื ทกั ษะของบุคคลในการเขา ถงึ เขา ใจ
ขอ มลู สุขภาพ โตต อบซกั ถาม จนสามารถประเมิน ตัดสนิ ใจ ปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม เลือกรบั บรกิ ารเพือ่ จัดการสุขภาพ
ตนเองไดอยางเหมาะสม และสามารถบอกตอ ผูอื่นได

สรุปการเรยี นรู OSOF VI 37

สรปุ การเรียนรโู้ ครงการพฒั นาสมรรถนะผูน้ า
ด้านการสง่ เสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม

8 กรกฎาคม 2563

 การสง่ เสรมิ สุขภาพ

 การส่งเสริมสุขภาพ หมายถึง กระบวนการสร้างเสริม สนับสนุนด้านสุขภาพโดยให้บุคคลมีการ
ปฏิบัติและการพัฒนาสุขภาพ ตลอดจนจัดการส่ิงแวดล้อมและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพเพ่ือให้บรรลุการมี
สขุ ภาพที่ดที ้งั ทางด้านรา่ งกาย จติ ใจ สังคม และปญั ญา สามารถอย่ใู นสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข

จากปัจจัยกาหนดสุขภาพท่ีส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน ประกอบด้วย เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม
และสังคม 40 % พฤติกรรมสุขภาพ 30 % ระบบบริการสุขภาพ 20 % และคุณภาพส่ิงแวดล้อม 10 % สามารถใช้
Ottawa ในการดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการส่งเสริมสุขภาพ โดยต้องใช้หลักการประเมิน(Assessment)

เพ่ือเข้าสู่การวิเคราะห์หาสาเหตุ Cause of Cause แล การใช้ Advocacy รวมทั้งพิจารณา
intervention ของเดมิ /ของใหม่มอี ะไรบา้ ง

 การมองเชิงระบบใหม้ คี วามสอดคลอ้ งเชอื่ มโยงกัน (3W + 1H)

Who : Level of intervention ในการวิเคราะหว์ า่ จะดาเนินการท่ีระดบั ใด และทากับใคร
What : ปจั จัยกาหนดสุขภาพ Determinant of health จะเปน็ ตัวกาหนดวา่ ตอ้ งทาอะไร
Why : จะใช้ข้อมูลหลักฐาน งานวิจยั องค์ความรู้ต่าง ๆ ประสบการณ์การเรยี นรู้ เพื่อตดั สนิ ใจว่า ทาไมจึงตอ้ งมี
การดาเนินการเพื่อปรับปรงุ ประเด็นดา้ นสขุ ภาพนัน้
How : เราจะสามารถดาเนินการปรับปรุงประเด็น/ระบบสุขภาพต่าง ๆ อย่างไร ซึ่งต้องใช้หลักการ OTTAWA
CHARTER กระบวนการในการเพิ่มความสามารถนั้น เป็นกระบวนการเชิงบูรณาการท้ังกระบวนการทางสังคมและ

สรปุ การเรียนรู้ OSOF VI 38

ทางการเมือง โดยไม่เพียงแต่การเพิ่มทักษะและความสามารถให้บุคคลเท่าน้ัน แต่รวมถึงการเสริมพลังให้กับชุมชน
ให้สามารถท่ีจะเปล่ียนแปลงเงื่อนไขทาง สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมที่จะส่งผลกระทบท้ังต่อชุมชนและบุคคล
การส่งเสริมสุขภาพจึงเป็นกระบวนการที่ไปเพ่ิมความสามารถของบุคคลและชุมชนในการควบคุมปัจจัยกาหนด
สุขภาพ หากควบคุมปัจจยั กาหนดสุขภาพได้ จะสง่ ผลตอ่ เนื่องไปทาให้สุขภาพของบุคคลและชุมชนดีขึ้นตามไปด้วย
การมีส่วนร่วมจึงเป็นส่ิงสาคัญในการทาให้เกิดความยั่งยืนของกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ Ottawa charter
ประกอบดว้ ย 3 กลยุทธ์ ไดแ้ ก่

1. Enabling เปน็ การทร่ี ฐั บาล/หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง จัดหาหรอื ส่งเสริมใหป้ ระชาชนสามารถเขา้ ถึงบริการ
หรอื ผลติ ภัณฑน์ ้ัน ๆ ได้

2. Mediate การเจรจาตอ่ รอง ล ล
3. Advocate การโน้มน้าว ชน้ี าใหเ้ กิดการดาเนนิ การโดยผ้ทู ี่เก่ียวข้อง
ประกอบด้วยกิจกรรมหลัก ของการสรา้ งเสริมสุขภาพทัง้ 5 กจิ กรรม ไดแ้ ก่
1. การสร้างนโยบายสาธารณะเพ่ือสุขภาพ
2. การสรา้ งสิ่งแวดลอ้ มท่ีเอ้ือตอ่ สขุ ภาพ
3. การสรา้ งความเข้มแข็งของกิจกรรมชมุ ชนเพ่ือสขุ ภาพ
4. การพฒั นาทักษะสว่ นบคุ คล
5. การปรับระบบบริการสขุ ภาพ
Bangkok Charter ให้ Advocacy เนน้ ความสาคัญประเด็นความเสมอภาค ความเหลือ่ มล้า
PIRAB เป็นกลยุทธ์เสริม ประกอบด้วย 1.การสร้างภาคีเครือข่ายและพันธมิตร (Partnership) 2. การลงทุน
(Invest) โดยลงทุนในการพัฒนานโยบายเพ่ือให้เกิดความยั่งยืน การดาเนินการเพ่ือยกระดับปัจจัยกาหนดสุขภาพ
3. การกากับติดตาม และการใช้มาตรการทางกฎหมาย (Regulation and Regislation) เพ่ือให้เกิดความมั่นใจถึง
การได้รับการปกป้องในระดับสูงจากภัยคุกคาม หรือการได้รับโอกาสท่ีเท่าเทียม 4. การให้ข้อเสนอแนะสาหรับ
สุขภาพ (Advocate) 5. พัฒนาสมรรถนะ (Building Capacity)

 สามเหลย่ี มเขยือ้ นภูเขา

 ประกอบดว้ ย 3 องคป์ ระกอบสาคัญ ในการจัดการความขดั แยง้ ดว้ ยสนั ตวิ ธิ ี/ในการปรองดอง
สมานฉันท์" คือ

1. พลังปัญญา
2. พลังสังคม
3. พลังอานาจรัฐ

สรปุ การเรียนรู้ OSOF VI 39

ตวั อยา่ งในการขับเคลื่อนโดยใช้สามเหลยี่ มเขย้ือนภเู ขา เชน่ การกาหนดภาษีน้าตาล เป็นตน้
สรุปการเรยี นรู้ OSOF VI 40

สรุปการเรยี นรู้โครงการพฒั นาสมรรถนะผนู้ า

ด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอ้ ม

9 กรกฎาคม 2563

 New Marketing Concept and Value Creation Strategy and the Stakeholders

การตลาดยุคใหม่ เปน็ การยกระดบั คุณภาพชวี ติ ของผบู้ ริโภคขัน้ สุดท้าย
 Three Types of Organizations
1. ทาไว้ล่วงหนา้ ก่อนเหตุการณ์ต่างๆจะเกิด (Those who make things happen)
2. ทาในสิง่ ที่ตอ้ งการใหเ้ กดิ (Those who want things happen)
3. สงสยั ว่าอะไรจะเกดิ ขนึ้ (Those who wonder what happen)

 External Marketing Environment

การวิเคราะห์ External Marketing คือการวิเคราะห์ส่ิงแวดล้อมรอบ ๆ ตัว ที่เราไม่มีสิทธ์ิ
ไปควบคุม การวิเคราะห์ Demographic คือกลมุ่ ประชากร เมอื่ เปล่ียน ต้องมกี ารปรบั ตัว
Yold = Young Old คนกลุ่มนี้คือ Baby Boomer ซ่ึงทาให้เกิดธุรกิจท่ีหลากหลาย เช่น โรงพยาบาลสาหรับ
ผู้สูงอายุ สถาบันการศึกษาสาหรับผู้สูงอายุ เป็นต้น และเป็นกลุ่มท่ีมีอิสระทางการเลือกในการซื้อ
แบรนด์ต่างๆ

 Service Marketing Mix 7 Ps

(ช่วยสรา้ งคณุ ค่า ในกระบวนการทางาน ข้ันตอนจะต้อง งา่ ย สั้น
และสะดวก อาจจะทาการโดยการใช้เทคโนโลยีช่วยลดข้ันตอนและ
ลดเวลา)

สรุปการเรียนรู้ OSOF VI 41

 The New Marketing Concept

 การตลาดยุคใหมถ่ อื กุญแจ 3 ดอก คือ
1. Creating (สร้างสรรค)์ คิดไปข้างหนา้ อย่างมีข้อมูลหรอื หลกั การ
2. Delivering (สง่ มอบ)
3. Communicating (ส่ือสาร) บอกกล่าว ประชาสมั พันธ์

 The 3i Model

 Identify อตั ลักษณ์ ตัวตนตอ้ งชดั ถ้าคนยงั ไม่รู้จกั เราแปลวา่ การสอ่ื สารบางอยา่ งยงั ไปไม่ถงึ
 Image สรา้ งภาพลกั ษณ์ท่ดี ี
 Integrity มจี รรยาบรรณ ในการทางานต่างๆ บ่งบอกถงึ ความเปน็ มืออาชีพ

 The High Performance Business

 การตลาดต้องทาให้ลูกค้ามีความรสู้ ึก ดังน้ี
1. Attract ดึงดูดใจ สะดุดตา สะดุดใจ เกดิ ความประทับใจ จดจาได้
2. Satisfy พึงพอใจ สงิ่ ทีไ่ ดเ้ ท่ากับสิง่ ทีค่ าด
3. Retain ทาให้ลูกคา้ เกิดความจงรักภกั ดี รักษาความเปน็ ลูกค้าไว้ และมารบั บรกิ ารซ้า

 The Beginning of Value Creation

รจู้ กั ลูกคา้

เขา้ ใจความต้องการของลูกค้า

สรา้ งคุณค่าให้ลูกคา้

 Marketing Research

การทาวิจัยทางการตลาดจะทาให้รู้ เข้าใจ ความต้องการ สิ่งที่มีความจาเป็นจริงๆ ต่อลูกค้า เนื่องจาก
ส่ิงรอบๆตัวที่เปล่ียนแปลงไป จะเกี่ยวข้องกับการเลือกซ้ือของลูกค้า การวิจัยที่ดีคือการสังเกต และจดบันทึก
จะทาใหส้ ร้างแบบสอบถามจากจดุ ที่มองเห็น วา่ ทาไมถงึ ตดั สนิ ใจซื้อแบบนน้ั ความตอ้ งการคอื อะไร

 Understanding Customers

การเอาใจใส่ลกู คา้ ถือเปน็ กุญแจแห่งความสาเร็จ ตอ้ งมีการทาวจิ ยั เพื่อทาความเขา้ ใจลูกคา้ ว่าอะไรทาให้
คนเตม็ ใจซ้ือ ออกแบบสนิ คา้ ให้ตรงกับความตอ้ งการ

สรุปการเรยี นรู้ OSOF VI 42

 Create Values that Customers Need สรา้ งคุณค่าทลี่ กู คา้ ตอ้ งการ

 Responsiveness ต้องตอบสนองลูกค้า และเข้าหาลูกค้า
 Information provided มขี ้อมูล
 Promptness มคี วามรวดเรว็ พร้อมบรกิ าร
 Promises kept รักษาสัญญา
 Understanding มคี วามเขา้ ใจลูกค้า
 Safety ลูกค้ารู้สึกมคี วามปลอดภยั
 Follow up มกี ารตดิ ตามผลหลังการขายหรือให้บริการ
 No bad surprises ไมม่ กี ารเซอร์ไพรสแ์ บบผิดหวัง
 Accuracy มีความถูกต้อง
 Communication การสื่อสาร
 Accessibility เข้าถึงได้งา่ ย
 Help them to save costs ชว่ ยประหยัดค่าใช้จ่าย

 Creating Intangible Values

 Speed
 Convenience
 Customization
 innovation
 service

 Value Creation

หมายถงึ การทาสิ่งทส่ี ามารถเพ่มิ คุณค่าใหก้ ับสินค้าหรือบริการเพอ่ื ผู้บริโภค

 The Theory Behind

ต้องสรา้ งให้ 3 คน มองเห็นคุณค่ารว่ มกัน เรยี กว่า Core Value

สรปุ การเรยี นรู้ OSOF VI 43

 Three Key Words to Maintain Value Creation

3 คาที่สาคัญในการคงสร้างคุณค่า
คือ ความพึงพอใจของเรา ความพึง
พอใจของลูกค้า เพื่อส่งมอบให้
ประชาชนและสังคม

 Value Creation Process

 Value Creation Needs Internal Marketing

ระบบขา่ วสาร ระบบขอ้ มลู

Brand Builder

สรปุ การเรยี นรู้ OSOF VI 44

 Value Creation Strategy

1. การสง่ มอบพันธกจิ สู่ Brand Builder
2. การสง่ มอบคณุ ค่าสู่ประชาชน
3. การส่อื สารคุณค่าสู่ภาคเี ครอื ขา่ ย
4. การสอ่ื สารวิสยั ทัศนส์ ู่ผูม้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย

 What We Must Focus to Achieve Our Goals

 มีวตั ถุประสงค์
 มกี ลยทุ ธ์
 ม่งุ เน้นกลมุ่ ลกู ค้า
 มีการใช้เทคโนโลยีและนวตั กรรม
 บคุ ลากรมีความสามารถ
 มกี ารสร้างทีม
 Performance oriented value
 มีฐานขอ้ มลู การวิจยั
 มีการสอื่ สารท่ีดี
*สังคมและประชาชนเป็นหวั ใจของธุรกจิ

สรุปการเรยี นรู้ OSOF VI 54

สรุปการเรียนรโู ครงการพัฒนาสมรรถนะผูน าํ
ดานการสงเสริมสุขภาพและอนามยั สิง่ แวดลอม

10 กรกฎาคม 2563

 ทกั ษะการสอ่ื สารสขุ ภาพ (Health Communication)
เปนศิลปะและเทคนิคในการสื่อสารเพื่อบอกกลาว โนมนาว จูงใจบุคคลหรือสาธารณชนในประเด็นสุขภาพ

เชน การปองกันโรค การสงเสริมสุขภาพ รวมถึงการยกระดับคุณภาพชีวิตและสุขภาพของบุคคลภายในชุมชน
ประเด็นสุขภาพมีกวางและหลากหลายประเด็นจําเปนที่จะตองสื่อสารในหลายชองทาง หลายระดับ ซ่ึงกลยุทธของ
การส่ือสารไมใชการสื่อสารเพียงเพื่อบอกกลาวเพียงอยางเดียวแตเปนการสื่อสารใหบุคคลเกิดการเปล่ียนแปลงไป
ในทางทดี่ ีขึ้น

การส่ือสารสุขภาพสามารถทําไดดวยการสรางความรูความเขาใจใหกับผูรับสาร การเปล่ียนแปลง Mindset
การแสดงใหเห็นถึงประโยชนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรือความเช่ือเดิม ทั้งนี้ผูส่ือสารตองมีการวิเคราะห
ขอมูลของผูรับสารเพ่ือใหการส่ือสารมีประสิทธิภาพตรงกับกลุมเปาหมายโดยการสื่อสารสงผลกระทบกับทุกกลุมเร่ิม
ต้งั แตบ คุ คล ขยายไปยังกลุม องคกร ชมุ ชน และสงั คม
 ประสิทธิภาพทางการส่อื สาร

การสื่อสารคือการที่มนุษยถายทอดความรู ความคิด หรือประสบการณของตนไปยังบุคคลอื่น การทําใหเกิด
ความเขาใจตรงกัน กลาวคือ มนุษยมีการส่ือสารซึ่งกันและกันก็เพ่ือเขาใจใหตรงกัน และการส่ือสารเปนหัวใจในการ
ดําเนินงานทุกดา น ซง่ึ การส่อื สารมี 5 ประเภท ไดแ ก ภาษาเขยี น ภาษาพูด ภาษาทาทาง ดนตรี สญั ลกั ษณ

☁ การสือ่ สาร มี 2 รูปแบบ ไดแก
1. การสื่อสารทางเดียว เปนการส่ือความหมายไปยังผูรับแตเพียงฝายเดียวโดยที่ผูรับไมสามารถมีการ
ตอบสนองในทันทีใหผูส งทราบได เชน การฟง วิทยุ podcast หรือการดภู าพยนตร
2. การส่ือสารสองทาง เปนการสื่อสารหรือการสื่อความหมายท่ีผูรับอาจจะอยูตอหนากันหรืออาจจะอยู
คนละสถานที่ก็ได แตท้ังสองฝายจะสามารถมีการเจรจาหรือการโตตอบกันไปมาโดยที่ตางฝายตางผลัดกันทําหนาที่
เปน ทง้ั ผสู งและผูรับในเวลาเดยี วกัน เชน การประชุม การแชททางอนิ เตอร ไลน เฟซบุค
☁ องคป ระกอบหลักของการส่อื สาร ไดแ ก
1.ผูสง ผูสื่อสาร หรือตนแหลงของการสง เปนแหลงหรือผูที่นําขาวสารเร่ืองราว แนวความคิด ความรู
ตลอดจนเหตุการณตางๆ เพือ่ สงไปยงั ผรู บั ซึง่ อาจเปน บคุ คลหรอื กลุม ชน
2. เนื้อหาเร่ืองราว ไดแก เน้ือหาของสารหรือเร่ืองราวท่ีสงออกมา เชน ความรู ความคิด ขาวสาร บทเพลง
ขอเขยี น ฯลฯ เพ่อื ใหผ รู ับรบั ขอ มูลเหลา น้ี
3. สื่อหรือชองทางในการนําสาร หมายถึง ตัวกลางที่ชวยถายทอดแนวความคิด เหตุการณ เร่ืองราวตางๆ
ทผี่ สู งตองการใหไปถงึ ผรู บั
4. ผูรับหรือกลุมเปาหมาย ไดแก ผูรับเนื้อหาเร่ืองราวจากแหลงท่ีผูสงสงมา ผูรับนี้อาจเปนบุคคล กลุมชน
หรอื สถาบนั กไ็ ด

สรุปการเรียนรู OSOF VI 46

5. ผล (effect) หมายถึง สิ่งท่ีเกิดข้ึนจากการท่ีผูสงเรื่องราวไปยังผูรับ ผลที่เกิดข้ึนคือ การที่ผูรับอาจมีความ
เขาใจหรือไมรูเรื่อง ยอมรับหรือปฏิเสธ สิ่งเหลานี้เปนผลของการสื่อสาร ท้ังนี้ยอมข้ึนอยูกับทัศนคติของผูรับ ส่ือท่ีใช
และสถานการณในการส่อื สารอกี ดว ย

☁ ปจจัยท่ีสงผลตอการสื่อสาร ไดแก ทัศนคติ ประสบการณ บริบทแวดลอม การรับรู ความรู วัฒนธรรม
ความสามารถในการส่อื สารกบั ผูอ ่ืน

☁ หลักสําคัญเพื่อประสิทธิภาพทางการสื่อสาร คือ ความถูกตองและนาเช่ือถือ (Credibility) ความ
เหมาะสมกับสภาพแวดลอม(Context) และเนือ้ หาสาระ(Content)

☁ เปาหมายการสื่อสารองคก รยุคใหม ไดแ ก
1. เปด โอกาสใหทุกคนทุกกลมุ ในองคก ร ผมู ีสวนไดส ว นเสยี และประชาชนมีสว นรว มในการบริหาร
2. สรางบรรยากาศระหวา งผูส งสารและผรู ับสาร
3. สํารวจและเขาใจ ความคดิ ความรูสกึ พฤติกรรมของคนท่จี ะส่อื สาร
4. ชว ยใหผ ูรวมงานตระหนักในความคิด ความรูส ึก พฤตกิ รรม และปญหาของสว นรวม สงั คมท่ีตนเองประสบ

 การส่อื สารยุคดิจิทัล

เปลย่ี นแปลง ตองทราบวา พฤติกรรมการ
วิธีการนาํ เสนอ กลมุ เปา หมาย รับสื่อของ
เนือ้ หาของสื่อให สนใจเรอ่ื งอะไร
ชดั และนา สนใจ ผบู ริโภค 3 Gen
การสอ่ื สาร เปลย่ี นแปลงไป
ยุคดจิ ิทลั

การเปล่ียนแปลง เปนยคุ การใช
ชองทางส่อื จาก มือถอื เปนสือ่ หลกั
แบบเดิมเปน
อยางเต็มตัว
แบบดจิ ิทลั

 DIGITAL MEDIA AND HEALTH
คือกระบวนการส่ือสารเชิงกลยุทธท่ีสรางความสัมพันธที่เปนประโยชนตอการสื่อสารสุขภาพ ท่ีจะตอง

เช่ือมโยงความสัมพันธของกลุมคนที่มีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) ไดแก ผูเชี่ยวชาญดานสุขภาพ บุคลากร
ดานสาธารณสุขในทุกระดับเจาหนาท่ี ผูมีสวนเก่ียวของในกิจกรรมสุขภาพในชุมชน องคกร พันธมิตร ส่ือมวลชน,
กลุมผูมีอิทธิพลทางความคิด (influencer) ผานการส่ือสารหลายรูปแบบ ทั้งการประชาสัมพันธแบบดั้งเดิม และ
การส่ือสารผานสื่อดิจิทัลในรูปแบบตาง ๆ โดยนําเสนอเน้ือหา (Content) ที่สรางสรรคและเปนประโยชนตอ
ประเดน็ สขุ ภาพ

สรุปการเรยี นรู OSOF VI 47

สรปุ การเรียนรโู้ ครงการพัฒนาสมรรถนะผ้นู ำ
ดา้ นการส่งเสริมสขุ ภาพและอนามยั สิ่งแวดล้อม

11 กรกฎาคม 2563

❖ การเขยี นโครงการ

▪ โครงสรา้ งของโครงการ ประกอบดว้ ย 14 องค์ประกอบ ดังนี้
1. ช่อื โครงการ : จะต้องสนั้ กระชับไดใ้ จความและทำให้เขา้ ใจภาพรวมของโครงการ
2. หลักการและเหตุผล : ระบุความสำคัญของโครงการตามหลักการและทฤษฎี และเหตุผล
ความจำเป็นที่ต้องดำเนินการตามโครงการนี้ โดยชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น และสาเหตุของปัญหา
สถานการณ์ หรืออาจจะระบุสิง่ ทีค่ าดหวังว่าจะเกิดข้ึนอนั เน่ืองมาจากความสำเร็จของโครงการ
โดยเน้ือหาไมค่ วรยาวเกินไป (ไมค่ วรเกนิ 1 หน้ากระดาษ A4)
3. วัตถุประสงค์ : ควรเขียนให้อยู่ในรูปการลดหรือขจัดปัญหาหรือพัฒนาสิ่งที่ต้องการเพิ่มขึ้น
ไม่จำเป็นต้องเขียนวัตถุประสงค์หลายข้อเพราะจำนวนข้อของวัตถุประสงค์ไม่ได้แสดงถึงความมีคุณภาพ
ของโครงการแต่อย่างใดบางครั้งเขียนเกนิ จริงซ่ึงเม่ือประเมินโครงการก็ไม่มีทางสำเรจ็ ได้ ฉะนัน้ ต้อง
ระบุให้ชัดเจน รัดกุม และสามารถปฏิบัติได้จริง การเขียนวัตถุประสงค์ต้องครอบคลุมเหตุผลที่
จะทำโครงการ โดยจดั ลำดับแยกเป็นขอ้ ๆ เพอื่ ความเข้าใจง่าย และชดั เจน
โดยวัตถปุ ระสงค์ท่วั ไปเพ่ือแก้ปัญหา และวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะเพอ่ื แก้สาเหตุ
4. กิจกรรมการดำเนินงาน : บอกรายละเอียดวิธีดำเนินการโครงการ ซึ่งเป็นส่วนที่ระบุถึงขั้นตอน
ที่แสดงถึงรายละเอยี ด แนวทาง กลยทุ ธ์และวิธกี ารทจ่ี ะทำในการดำเนินโครงการน้นั ๆ ซึ่งจะต้อง
ชี้แจงรายละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไรเพียงใด และปฏิบัติด้วยวิธีการใดจึงจะสามารถบรรลุ
วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ไดภ้ ายในระยะเวลาที่กำหนด
5. ระยะเวลา : เป็นการระบุระยะเวลาตัง้ แต่เริ่มตน้ โครงการจนกระท่ังสิ้นสดุ โครงการโดยระบุเวลา
ทใ่ี ช้เรมิ่ ต้นตงั้ แต่ วัน เดือน ปี และส้นิ สุด หรือแล้วเสรจ็ ใน วัน เดอื น ปีอะไร ท่ชี ดั เจน
6. สถานที่ดำเนินการ : คือสถานที่ บริเวณ พื้นที่ อาคาร ที่ใช้จัดกิจกรรมตามโครงการ กรณีเป็น
การจัดประชุมในสถานที่ของเอกชน เช่น โรงแรม รีสอร์ท ศูนย์ประชุม ฯ ให้ระบุเหตุผลความ
จำเป็นในการใช้สถานทดี่ ังกลา่ วไว้ดว้ ย
7. กลุ่มเปา้ หมาย : ผทู้ ไี่ ด้รบั ผลประโยชน์โดยตรงจากการทำกิจกรรมหลัก
8. งบประมาณ : หรือค่าใช้จา่ ยการดำเนินงานตามโครงการต้องใช้งบประมาณหรือค่าใชจ้ า่ ยที่ระบุ
ถึงจำนวนเงิน จำนวนวัสดุ ครุภัณฑ์ หรือจำนวนบุคคล และปัจจัยอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการ

สรปุ การเรยี นรู้ OSOF VI 48

ดำเนินการ สำหรับงบประมาณ ควรระบุให้ชดั เจนว่ามีค่าใช้จ่ายอะไรบา้ งเป็นขอ้ ๆพรอ้ มท้ังระบุ
แหล่งที่มาของงบประมาณท่ีสนบั สนนุ
9. การบริหารความเสย่ี ง :
10. การประเมินผล : เปน็ การประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ ซงึ่ ต้องระบวุ ธิ กี ารประเมินผล
ให้ชัดเจนว่าจะประเมินโดยวิธีใด อาจเขียนเป็นข้อ ๆ หรือเขียนรวม ๆ กันก็ได้ เช่น จากการ
สงั เกต จากการตอบแบบสอบถาม พร้อมกบั ใสต่ วั ชวี้ ัดความสำเร็จของโครงการดว้ ย
11. ตวั ชีว้ ัดความสำเร็จ
12. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ : ผ้จู ัดทำโครงการ หนว่ ยท่ีเสนอดำเนินการจดั ทำโครงการ
13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ : บอกประโยชน์ที่จะเกิดขึน้ เมื่อโครงการสำเร็จตามวัตถุประสงค์ โดยระบุว่า
ใครจะได้รับประโยชน์อย่างไร มากน้อยเพียงใด มีผลเชิงบวกอย่างไรบ้าง กล่าวถึงผลประโยชน์ท่ี
พึงจะได้รับจากความสำเร็จของโครงการ เป็นการคาดคะเนผลที่จะได้รับเมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติ
โครงการ ซงึ่ ผลทไี่ ดร้ บั ตอ้ งเปน็ ไปในทางทีด่ ี ท้งั เชิงปริมาณ และคุณภาพ
14. ภาคผนวก

หลักศลิ าการมองเชงิ ระบบ

สามารถนำมาใช้ในการนำเสนอโครงการโดยจะช่วยให้เรามีมุมมองเชิงระบบ และนำหลักการดังกล่าว
มาใช้ในการนำเสนอโครงการ ดังนี้

1. WHAT : ปญั หาเกิดจากอะไร ปจั จัยกำหนดสขุ ภาพ Determinant of health จะเปน็ ตัวบอกวา่ จะตอ้ งทำอะไร 49
2. HOW : เราจะดำเนนิ การแก้ไขปัญหาอยา่ งไร จะแกไ้ ขปัญหาท่ี level ไหน โดยใช้หลัก OTTAWA
3. WHO : จะดำเนนิ การกบั ใครในแต่ละระดับ
4. WHY : ทำไมตอ้ งทำ/แกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพนัน้ ถา้ ไมท่ ำจะเกิดอะไรข้นึ

สรุปการเรียนรู้ OSOF VI

สรุปการเรียนรโู้ ครงการพัฒนาสมรรถนะผูน้ ำ
ดา้ นการส่งเสริมสขุ ภาพและอนามัยสิง่ แวดล้อม

12 กรกฎาคม 2563

จดุ แขง็ - จดุ อ่อน - สง่ิ ทค่ี วรปรับปรุง ของ OSOF6

❖ จุดแขง็

1. มกี ารทบทวนวรรณกรรมและมขี ้อมูลปรมิ าณมาก และมีความหลากหลาย
2. มคี วามมนั่ ใจในการนำเสนอข้อมูล
3. มคี วามม่งุ มนั่ ตงั้ ใจ ในการแก้ไขปัญหาตามคำแนะนำ พรอ้ มเรยี นรู้
4. มคี วามพยายามในการพัฒนาสิง่ ใหม่
5. เริม่ มองภาพไปในทิศทางเดยี วกัน
6. การทำงานเป็นทมี
7. มผี ูใ้ ห้คำแนะนำ/อาจารย์ทป่ี รึกษามีความรคู้ วามสามารถและประสบการณ์
8. มีเครื่องมือสนับสนนุ การทำงาน
9. ทันเวลา
10. ชุดโครงการครอบคลมุ ปญั หา
11. สมาชกิ มีความหลากหลาย ทั้งอาชีพ และประสบการณ์ ทำให้มคี วามคิดหลาย ๆ ด้าน

❖ จุดอ่อน

1. ขาดการสงั เคราะห์ความเชือ่ มโยง
2. Intervention ยงั ไมส่ ะดดุ ตาสะดดุ ใจ (วา๊ ววว)
3. กลุ่มเป้าหมายยังไม่ชัดเจน ขาดการใช้ persona มาเป็นตัวกำหนด
4. รปู แบบการนำเสนอไมน่ ่าสนใจ ไม่เห็นภาพรวมของเร่ืองทีจ่ ะดำเนนิ การ รวมถึงสไลด์ และบคุ ลิก
5. ยังยืดติดการทำงานแบบเดิม ๆ (เคยชนิ )
6. หาข้อมูลของ stakeholder ไม่เพยี งพอ
7. การทบทวนวรรณกรรมส่วนมากเปน็ ภายในประเทศ ทำให้มมุ มองยังไมก่ วา้ ง
8. การหาข้อมลู Intervention ทเ่ี คยดำเนินการแลว้ ไมเ่ พียงพอ บางโครงการทำ Intervention เดมิ ซำ้
9. ขาดการประเมนิ ผล

สรปุ การเรียนรู้ OSOF VI 50


Click to View FlipBook Version