พระอาจารย์บณั ฑิต สุปณฑฺ ิโต
43
ปกณิ กธรรม
กรรมและวบิ าก เปน็ หลกั ความจรงิ ตามธรรมชาติ ละเอยี ดออ่ น
ลึกซ้ึงเหนือความคาดหมายด้นเดา ติดตามผู้น้ันดังเงาตามตัว
ไม่ว่าดีหรือช่ัว ถูกหรือผิด ก็จะได้รับตามส่วนน้ันๆ อย่างไม่อาจ
หลกี เล่ยี งได้
มนุษย์ทั้งหลายมัวแสวงหาแต่ความสุขอันไม่ยั่งยืน เป็น
ความสขุ อนั เลก็ นอ้ ย ตอ้ งพงึ่ พงิ อาศยั ตอ้ งขวนขวายแสวงหา เพราะ
บกพร่องอยู่เสมอ เปรียบดังเหยื่อล่อหรือกับดัก บ่วงแห่งตัณหา
กรงขงั ของอวชิ ชา กามคุณ ๕ ดังน�ำ้ ตาลเคลือบยาพิษ ปถุ ชุ นย่อม
หลงใหลในรูป เสียง กลนิ่ รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ อนั น่ารักใคร่
พงึ พอใจ แสวงหาไขวค่ วา้ ครอบครอง ยึดติดหวงห่วงอาลยั เกดิ การ
ทะเลาะเบาะแวง้ แย่งชงิ เขน่ ฆ่าฉกชิงจ้ปี ลน้ ฯลฯ ทกุ ข์ภัยท้ังหลาย
เกิดจากกามตัณหานับประมาณมิได้
อย่าปล่อยให้โอกาสที่จะได้ท�ำความดีทั้งหลายผ่านเลยไป
จงรบี ทำ� เสยี ทนั ที เมอ่ื พจิ ารณาในเหตผุ ลชดั เจนแลว้ เหน็ ประโยชน์
แล้ว เพราะเม่ือผา่ นไปแลว้ โอกาสเชน่ นี้คงไม่มอี กี บ่อยนัก
อย่าเปิดโอกาสให้ความชั่วท้ังหลายเข้ามาถึงเราได้ จงรีบ
สลัดท้ิงโดยทันที เม่ือพิจารณาเห็นโทษชัดเจนแล้ว เปรียบดังสลัด
งูเหา่ ที่อยใู่ นก�ำมือ ท้ิงเสยี ใหไ้ กล
44
การด�ำเนินสู่อริยมรรค
๑. ศรทั ธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย
๒. ถอื ไตรสรณคมน์
๓. ศีล ๕ บริบูรณ์ มหี ิรโิ อตตัปปะ
๔. เช่ือกรรมและผลของกรรม
๕. ไม่ถอื ฤกษถ์ อื ยาม ดวงชะตา คุณไสยศาสตร์
๖. ไม่ท�ำอนนั ตรยิ กรรม ๕
๗. ไม่เขา้ รตี เดียรถยี ์ พาหิรชนนอกศาสนา
พระรัตนตรัย เป็นท่ีพ่ึง เป็นแบบอย่าง หลักจิตหลักใจ
ในการด�ำรงชีวิต เคารพเทิดทูนปกปักรักษา เลื่อมใสสักการบูชา
ทกุ ลมหายใจตราบสนิ้ ชีวติ
พระอาจารย์บัณฑิต สปุ ณฑฺ ิโต
45
ปกิณกธรรม
นิพพาน มิใชอ่ ัตตา อนัตตา ไตรลกั ษณเ์ ป็นทางด�ำเนนิ ไป
สู่พระนิพพาน เปรียบดังคนป่วยก็ต้องทานยา เมื่อโรคหายก็เป็น
คนปกติ รา่ งกายเมอ่ื หวิ กต็ อ้ งทานอาหารจนอมิ่ กพ็ อ ยามศกึ สงคราม
กใ็ ชอ้ าวุธยุทโธปกรณท์ ั้งหลาย เมอ่ื สงบแลว้ ก็เลกิ ใช้
ความจริงสิ่งหน่ึงท่ีต้องยอมรับคือความเจริญ เมื่อข้ึนถึง
สูงสุดแล้วก็ย่อมเสื่อมลงเป็นธรรมดา วงกรรมฐานก็เช่นเดียวกัน
เมอ่ื ครอู าจารยย์ งั มชี วี ติ อยู่ คอยแนะนำ� ตกั เตอื น บางพวกกส็ ามารถ
ดำ� เนนิ ไปจนเปน็ ทพ่ี งึ่ ใหแ้ กต่ นได้ บางสว่ นกเ็ ปน็ เพยี งนสิ ยั บางสว่ น
ก็แซงซ้ายแซงขวา แหวกแนวจากปฏิปทาท่ีพาดำ� เนินมา เม่ือท่าน
ล่วงลบั ไปก็ไมส่ ามารถทรงไวซ้ ึง่ ขอ้ วัตร ปฏิปทาท้ังหลาย เสื่อมจาก
การประพฤติปฏิบัติ กิเลสเข้าครอบง�ำจิตใจ ถูกลาภสักการะเข้า
ครอบง�ำ กุลบุตรสุดท้ายภายหลังก็ด�ำเนินไปตามแบบอย่างที่
คลาดเคลอ่ื น ยอ่ หยอ่ น หรอื แหวกแนว กไ็ มส่ ามารถเขา้ ถงึ สจั ธรรมได้
ความเล่ือมใสศรัทธาก็ค่อยจืดจางลงไป การประพฤติปฏิบัติท้ัง
ภายนอกคอื ธรรมวนิ ยั และภายในสว่ นจติ ใจกย็ อ่ หยอ่ น สถานทว่ี เิ วก
ก็หาได้ยากย่ิงขึ้น ครูบาอาจารย์ท่ีทรงคุณธรรมก็ล่วงลับดับขันธ์
หาไดย้ ากยง่ิ ขนึ้ ศาสนาดเู หมอื นแพรห่ ลายไปในวงกวา้ ง ไปสคู่ ฤหสั ถ์
แตค่ วามลึกซ้ึงด่มื ดำ่� ในรสพระธรรมแคบลงทุกที
46
ปกิณกธรรม
อรยิ สจั ๔ เป็นเคร่อื งกลน่ั กรองปุถชุ นให้เป็นอริยชน
บุคคลใดมีสติปัญญา พิจารณาสังขารธรรมท้ังปวงให้แจ้ง
ประจักษใ์ นไตรลักษณ์ทุกเม่ือ ย่อมเปน็ ผูใ้ กล้ตอ่ พระนพิ พาน
ความรู้ความฉลาดท้ังหลายในโลกเป็นโลกียปัญญา ไม่มี
วนั ส้ินสดุ เหมือนวังนำ้� วน แก้ปัญหาไมส่ ้นิ สุด ดับทุกขไ์ ม่ไดส้ ิ้นเชงิ
ศาสตร์ทั้งหลายในโลก ยังไม่คม เฉียบแหลมลึกซ้ึง พุทธศาสตร์
สามารถยตุ ปิ ญั หาทงั้ มวล นำ� ศานตสิ ขุ มาสมู่ นษุ ยชาตแิ ละสรรพสตั ว์
ท้งั หลายอยา่ งแท้จริง
หากยงั ไมช่ ดั เจนในคณุ และโทษ ประโยชนแ์ ละมใิ ชป่ ระโยชน์
กุศลหรอื อกุศลชดั เจนในสิ่งใดแลว้ อย่าพึงกระทำ� ส่งิ นั้น
ใจเป็นใหญ่ ใจเป็นประธาน ใจเป็นมหาเหตุ ทุกส่ิงส�ำเร็จ
ดว้ ยใจ จติ น้เี ทยี่ วไปได้ไกล อาศยั กายเป็นคูหา จติ ที่ฝึกดแี ล้วน�ำสุข
มาให้
จงเสียสละความสุขอันเล็กน้อยในโลก เพื่อความสุขอัน
แท้จรงิ ในปัจจุบนั และภายหนา้
ชีวิตนี้น้อยนัก ไม่นานร่างกายก็จะทับถมแผ่นดิน จงท�ำ
ประโยชนต์ นและผูอ้ นื่ ใหถ้ งึ พร้อมดว้ ยความไม่ประมาท
พระอาจารย์บัณฑิต สปุ ณฑฺ ิโต
47
ปกณิ กธรรม
ธรรมะเปน็ สง่ิ ทรี่ ยู้ าก เหน็ ไดย้ าก เพราะกเิ ลสตณั หาปดิ บงั ไว้
ครอบงำ� หวั ใจสตั ว์ ฉดุ ลากไปตามอำ� นาจราคะ โทสะ โมหะ หมนุ วน
ไปในภพท้ังหลายไม่มีที่ส้ินสุด ความทุกข์ในการท่องเท่ียวใน
วฏั สงสารนบั ประมาณไมไ่ ด้ เปน็ สงิ่ นา่ สะพรงึ กลวั ภยั ใดๆ เทา่ กเิ ลส
ตณั หาเปน็ ไมม่ ี แมเ้ ลก็ นอ้ ยกย็ งั พาใหไ้ ปเกดิ ตาย จงึ ไมค่ วรประมาท
นอนใจ ขน้ึ ชอื่ ว่ากิเลสแลว้ ควรเบ่ือหน่าย เกลยี ดชงั หลกี หนี และ
หาอบุ ายวธิ กี ารขจดั เสยี ใหส้ น้ิ ซาก จะไดส้ บายหายหว่ งไรท้ กุ ขก์ งั วล
การจะดำ� เนนิ หนทางใหเ้ ขา้ สอู่ รยิ มรรคไดน้ น้ั ตอ้ งมรี ากฐาน
คือ ศีลท่ีบริสุทธ์ิ มีจิตตั้งมั่นไม่หวั่นไหวต่ออารมณ์ท้ังหลาย มีสติ
ปัญญาแยกแยะคลี่คลายในขันธ์ ๕ จนรู้เท่าปล่อยวางรูปนาม
แล้วช�ำระจติ ดว้ ยอนัตตาธรรม จงึ จะหมดปญั หาอย่างสิน้ เชงิ
การดำ� เนนิ ตามคำ� สงั่ สอนทพี่ ระพทุ ธเจา้ ไดป้ ระทานไวด้ แี ลว้
ชอบแล้ว ย่อมน�ำความผาสุกร่มเย็น ความเจริญรุ่งเรืองมาสู่ตน
และผู้ท่ีเกี่ยวข้องไม่มีประมาณ เพราะธรรมท่ีพระองค์ทรงค้นพบ
เปน็ เครอื่ งมอื ชำ� ระกเิ ลสทงั้ ปวงไดอ้ ยา่ งยอดเยย่ี ม เปน็ โอสถขนานเอก
ทีจ่ ะบำ� บดั โรคกิเลส ผใู้ ดหวังความสขุ ความเจรญิ แลว้ ควรน้อมน�ำ
ธรรมค�ำสอนมาปฏิบัติตามอย่างจริงจังย่อมปรากฏผลประจักษ์ใจ
ตนเองแน่นอน
48
ปกิณกธรรม
เมื่อใดที่หมาตัวหน่ึงเห่า ก็จะมีอีกตัวเห่าขานรับไปเรื่อย
แต่ถ้าตวั ใดหยุด เสียงเหา่ น้ันจะหยดุ ไปเอง เปรียบกับคนเรา หากมี
กิเลสเรียกแล้วเราเรยี กตอบ มนั ก็จะวนเวียนอยู่กับกเิ ลสอย่างนนั้
หากแตเ่ ราหยดุ ตอบรบั กเิ ลสไป เรากจ็ ะหลดุ จากกเิ ลสนนั้ เชน่ กนั
ทฏิ ฐมิ านะยอ่ มทำ� ใหบ้ คุ คลกระดา้ ง, ถอื ตวั เยอ่ หยงิ่ จองหอง
อวดฉลาด ปดิ กน้ั ตนเอง ไมร่ บั ความเหน็ ผอู้ น่ื สาเหตใุ หญ่ ๑. อวชิ ชา
๒. ตัณหา
ธรรมเป็นเครื่องแก้ ความอ่อนนอ้ มถ่อมตน ไมโ่ ออ้ วด
อบุ าย ๑. ขม่ ขู่ ถา้ ไมไ่ ดผ้ ลกไ็ มส่ ง่ั สอน ไมท่ รมาน ๒. ใชเ้ หตผุ ล
วางเฉย
พิจารณา ให้เห็นทุกข์ โทษภัยในวัฏสงสาร เบ่ือหน่ายใน
ภพชาติ ถ้าไม่เห็นโทษชัดเจนแล้ว ย่อมปล่อยวางอุปาทานไม่ได้
ยอ่ มละถอนส่ิงนน้ั ไม่ได้ ย่อมมีความยินดอี าลัยอยู่
พระอาจารย์บัณฑิต สุปณฑฺ ิโต
49
ปกณิ กธรรม
นายแพทย์ผฉู้ ลาด ยอ่ มรักษาโรค เมอ่ื
๑. ผปู้ ว่ ยรูส้ ึกว่าเขาเป็นโรค
๒. ผู้ป่วยต้องการหายจากโรค
๓. ผู้ปว่ ยมาพบแพทย์
๔. ผปู้ ว่ ยยินดีรับการรกั ษา
๕. ผปู้ ่วยปฏิบตั ติ ามโดยเคารพ
๖. ผูป้ ว่ ยมาตดิ ตามดูอาการตามนัด
50
พุทธศาสนา คอื มหาวทิ ยาลยั แพทย์อันยอดเยย่ี มท่สี ดุ ทกุ ยคุ
ทกุ สมัย
พระพุทธเจา้ คือ บรมครูแห่งแพทยท์ ้งั หลาย
พระธรรม คอื สถานที่ฝึกหัดอบรมนักเรียนแพทย์
พระสงฆ์ คือ แพทยป์ รกึ ษาโรคทกุ ข์
การให้ ควรฉลาดในเรอ่ื งกาล สถานท่ี บุคคล เหตุผล
ความพอเหมาะพอดจี งึ เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด
เปรียบเหมือน จะเขา้ บา้ น ควรเข้าทางประตู
ทานอาหาร ทางปาก
บุคคล เม่อื จิตใจพร้อม
กาลามสูตร เป็นหลักส�ำคัญอันหน่ึงในการพิจารณาส่ิง
ทั้งหลาย พลิกแพลงเปลี่ยนแปลง สติปัญญาหลากหลายแง่มุม
เพอ่ื เหน็ เหตผุ ลประจกั ษช์ ดั ดว้ ยตนเอง เทยี บเคยี งกบั หลกั ความจรงิ
โดยธรรมชาติ จึงเป็นความเชื่อ ความเห็นท่ีหนักแน่น มั่นคง
ไม่หวั่นไหว เพราะมีตนเองเป็นพยาน เข้าได้กับหลักความจริง
จึงชดั เจน หายสงสยั นกั ปราชญ์ย่อมสรรเสรญิ ความเหน็ ดงั กลา่ วนี้
หลักแหง่ เหตุผล คอื หลักธรรมนั่นเอง
พระอาจารยบ์ ณั ฑติ สุปณฑฺ ิโต
51
อาจาริยรำ� ลกึ
พระอาจารย์บณั ฑิต สปุ ณฑฺ ิโต
55
อาจาริยร�ำลึก ๑
เคยกราบท่าน ๒-๓ ครั้งที่วัดตอสีเสียด แต่วาสนาน้อยได้แต่
สนทนาทั่วไปและถวายปัจจัยท�ำบุญ ไม่ได้ฟังเทศน์ฟังธรรมท่าน
อยา่ งเปน็ กจิ จะลกั ษณะ ไดฟ้ งั ธรรมทา่ นจรงิ จงั เมอื่ ทา่ นมาอปุ ฏั ฐาก
หลวงปจู่ นั ทรศ์ รที ป่ี ว่ ยอยู่ รพ.จฬุ า พยายามเคยี่ วเขญ็ ตวั เอง เพราะ
ต้องตนื่ แตเ่ ชา้ ไปให้ทันใส่บาตร
จนเช้าวันหน่ึง เห็นแรงงานพม่าริมถนน ก�ำลังซื้อข้าวเหนียว
หมปู ้ิง เตรยี มใสบ่ าตรทา่ นอาจารย์หมอ ท่ีจะเดนิ บณิ ฑบาตทกุ เช้า
รมิ ถนนขา้ ง รพ.จฬุ า เหน็ ภาพนน่ั แลว้ สำ� นกึ ทนั ทวี า่ โอห้ นอ แรงงาน
เหล่านนั้ มีบุญเนาะ เขาตงั้ ใจทำ� บญุ ใส่บาตร เพยี งเพราะท่านก�ำลัง
เดินบิณฑบาต รู้แต่ว่าได้บุญ แต่พวกเขาไม่รู้เลยว่าบุญน้ีมหาศาล
เพียงไร
นับแต่น้ัน ความรู้สึกท่ีเคยปรามาสพระที่ไม่ใช่ครูบาอาจารย์
ไม่อยากใส่บาตรพระอ่ืนท่ีเดินบิณฑบาต เพราะถือมั่นว่าได้บุญ
ไม่เท่ากับท่ีทำ� กับครูบาอาจารย์ กแ็ ทบมลายหายจากความคิด
คิดแต่เพียงว่า หากยึดม่ันเช่นน้ันต่อไป ก็อาจสูญโอกาสใน
การใส่บาตร ท�ำบุญกับครูบาอาจารย์ เพราะไม่รู้ว่าท่านจะมาเดิน
บิณฑบาตต่อหน้าเราเมื่อไหร่ มีแต่ไม่ยึดมั่น ท�ำบุญใส่บาตรกับ
พระสงฆไ์ ปเรอ่ื ยๆ แมไ้ มใ่ ชค่ รบู าอาจารย์ ใครจะรวู้ า่ หนง่ึ ในพระสงฆ์
องคน์ ั้นจะเปน็ ครูบาอาจารย์
56
แม้นมิใช่ก็ตาม แต่การท�ำบุญใส่บาตรพระสงฆ์ ก็ได้บุญที่ได้
สืบต่อหนอ่ วงศอ์ งค์สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า ได้มโี อกาสสบื ตอ่
พระพทุ ธศาสนาใหย้ ั่งยืนตอ่ ไดแ้ ม้เพียงนอ้ ยนิดก็ตาม
คิดถึงท่านตลอดและเสียดายมากๆ ถ้าหากท่านยังอยู่สอน
หรือเทศนาจะท�ำให้ลูกศิษย์มีก�ำลังใจและเป็นประโยชน์กับคน
หมมู่ าก เวลาระลกึ ถงึ ทา่ นจะมคี ำ� วา่ “ไมร่ กั ไมช่ งั ” อยใู่ นความทรงจำ�
เสมอๆ
พระอาจารยบ์ ณั ฑติ สปุ ณฺฑิโต
57
อาจาริยร�ำลกึ ๒
ไมม่ ีอะไรเปน็ เหตุบังเอญิ
เชา้ วนั ท่ี๑๓ตลุ าคม ๒-๓ปกี อ่ นทา่ นพระอาจารยห์ มอสนิ้ วนั นนั้
เป็นวนั เกิดของลกู สาวคนเลก็ ปกตเิ ราจะไปใส่บาตรท่ีวดั บวรฯ เรา
จะรอใส่บาตรอยู่ด้านในของประตูวัดด้านถนนพระสุเมรุใกล้โบสถ์
รอพระสงฆเ์ ดนิ ออกจากกฏุ ดิ า้ นในของวดั วนั นนั้ มองไปไกลๆ เหน็
พระรปู หนงึ่ กำ� ลงั เดนิ เลยี บทางเดนิ รมิ สระนำ้� ออกมา ลกั ษณะคลา้ ย
พระอาจารยห์ มอมาก แตค่ ดิ วา่ คงไมใ่ ชท่ า่ น เพราะไมไ่ ดร้ บั ทราบขา่ ว
ว่าท่านลงมากรุงเทพฯ เมื่อท่านเดินเข้ามาใกล้ๆ จึงเห็นว่าใช่
พระอาจารยห์ มอจริงๆ เราต่ืนเตน้ ตกใจ จนหยิบจับของแทบไม่ถกู
ได้กราบเรียนท่านว่า ไม่นึกว่าจะเป็นท่าน ท่านตอบกลับมาว่า
“ไม่มีอะไรเป็นเหตบุ งั เอญิ หรอก” หลังใส่บาตรเสรจ็ ได้รีบโทรตดิ ต่อ
เพอ่ื นๆ ทก่ี ำ� ลงั ทำ� บญุ อยทู่ พ่ี ทุ ธมณฑลใหร้ บี มาทว่ี ดั บวรฯ เพอ่ื ถวาย
จงั หนั ทา่ น รวมกลมุ่ ไดพ้ อสมควร ไดฟ้ งั ธรรมจากทา่ น เปน็ ความปตี ิ
อยา่ งยง่ิ ในวนั นน้ั ทกุ วนั นเี้ วลาไปใสบ่ าตรทวี่ ดั บวรฯ ยงั จำ� ภาพวนั นน้ั
ไดแ้ ม่นย�ำ
เมอื่ พจิ ารณาถงึ คำ� ทท่ี า่ นพดู วา่ “ไมม่ อี ะไรเปน็ เหตบุ งั เอญิ ” คอื
ในเชา้ วนั นน้ั เราไมไ่ ดน้ กึ ฝนั วา่ จะไดพ้ บทา่ นทว่ี ดั บวรฯ อนั ทจ่ี รงิ เชา้
วันน้ันเราควรจะไปท�ำบุญกับเพื่อนกลุ่มจุลธรรม แถวพุทธมณฑล
แตเ่ ราตัดสนิ ใจแยกกลมุ่ ออกมาใสบ่ าตรท่วี ัดบวรฯ คงถกู กำ� หนดไว้
แล้วว่าจะต้องท�ำหน้าที่เป็นตัวกลางให้ลูกได้พบและกราบฟังธรรม
จากท่านเป็นครั้งแรก และท�ำหน้าที่เป็นผู้ส่ือสารให้เพื่อนๆ ได้มา
58
กราบท่านด้วย ส�ำหรับลูกสาวน้ันนับแต่วันท่ีเขาได้รับฟังธรรมจาก
ทา่ นแลว้ เขาชอบธรรมะของทา่ นและศรทั ธาในองคท์ า่ นมาก ครงั้ ที่
ประทับใจท่สี ดุ ก็คือเมอ่ื คราวทที่ า่ นมาพกั ทีโ่ รงพยาบาลจฬุ าฯ เพอ่ื
ดูแลหลวงปู่จนั ทร์ศรที อี่ าพาธอย่เู ป็นเวลาร่วมเดือน ท่านอาจารย์
เมตตารับบาตร ฉันจังหัน และพูดธรรมะให้คณะฟังทุกวัน เราทั้ง
ครอบครัวจะกระวีกระวาดตื่นแต่เช้าเพ่ือให้ทันใส่บาตรท่าน และ
อยจู่ นฟังธรรมจนจบแล้วจึงแยกยา้ ยกันไปทำ� งาน ท�ำเช่นนั้นทกุ วัน
ตลอดระยะเวลาหนงึ่ เดอื น เปน็ ชว่ งเวลาทม่ี คี วามสขุ และประทบั ใจ
อย่างย่ิงมริ ้ลู ืม
พระอาจารย์บัณฑิต สปุ ณฺฑิโต
59
อาจารยิ ร�ำลึก ๓
กอ่ นกราบอ�ำลา
ประมาณเดอื น ก.ย. ๒๕๕๗ เราได้ไปตอสเี สียด มีลูกศิษย์
ท่านไปด้วย สามีเขาป่วยเป็นมะเร็ง เห็นเมตตาธรรมของท่าน
ชดั แจ้งมาก ทา่ นตดิ ต่อ รพ.จุฬา ให้ รพ. รบั ไปรักษาตวั จากนั้น
ทราบวา่ ทา่ นเชค็ อาการคนไขท้ กุ วนั ตดิ ตามรายละเอยี ดสมเปน็ หมอ
(พระ) ดแู ลประหน่งึ ดูแลตัวเอง ดแู ลเขาจนถงึ ครอบครัว ให้ก�ำลังใจ
ทำ� ใหเ้ ราภมู ใิ จมากทไี่ ดม้ าเปน็ ลกู ศษิ ยท์ า่ น ตอนนนั้ แอบคดิ ในใจวา่
หากเราเปน็ อะไรไป เราควรจะปรกึ ษาใคร ใครจะคิดว่า ทา่ นจะมา
จากเราไปกอ่ นทง้ั ๆ ทที่ า่ นยำ�้ เสมอ ใหเ้ รง่ ภาวนาเขา้ เวลาเหลอื นอ้ ย
อนิจจัง เวลาทท่ี า่ นมีให้เราเหลือน้อยตา่ งหาก
ครงั้ สดุ ทา้ ย มากราบทา่ นเมอื่ วนั ท่ี ๑๑ ก.พ. ๒๕๕๘ งานเปดิ
สวนน้�ำที่อุดร ธรรมดาท่านไม่ใคร่รับนิมนต์ แต่เพราะท่านสงสาร
เพื่อน เห็นเขาทุกข์ จึงมาให้ในวันน้ัน เราได้มีโอกาสกราบท่าน
นานหน่อย ได้ดูแลท่าน ไปส่งท่านข้ึนรถกลับ ท่านมองมาอย่าง
ปรานี แลว้ ฝากบอกคณะจลุ ธรรมวา่ คิดถึง ปกติกริ ิยาวตั รของท่าน
น่ิงสงบมาก แต่ครั้งนน้ั เป็นการอ�ำลาครั้งสดุ ท้าย ภาพนนั้ ยังอยู่ใน
ใจเราทกุ เวลา
60
อาจารยิ ร�ำลกึ ๔
ธรรมะในความทรงจำ� ของศิษย์
ความทรงจำ� ในธรรมะของพระอาจารย์หมอ
เราสามารถเหน็ ธรรมในองค์ท่านจากจริยวตั รท่ีงดงาม ส�ำรวม
และเรยี บงา่ ย พระธรรมเทศนาตามกาลทอี่ บรมบม่ สอนศษิ ยานศุ ษิ ย์
เปย่ี มดว้ ยความเมตตา เปรยี บประดจุ นำ�้ ทพิ ยช์ ะโลมใจใหช้ มุ่ เยน็ อยู่
เนอื งนติ ยแ์ กผ่ ูร้ ับฟัง
นอกจากจริยวัตรที่งดงามเป็นแบบอย่างให้ผู้พบเห็นเกิดความ
เลื่อมใส และประพฤติปฏิบัติตามแล้ว ความโดดเด่นประการหน่ึง
ที่บุคคลท่ัวไป รวมท้ังข้าพเจ้า ตระหนักดีจนเกิดความซาบซึ้งและ
ประทับใจ คอื ความเมตตาในการสงเคราะหโ์ ลกของท่าน
ท่านเป็นแบบอย่างของการมีอนิ ทรยี ส์ ังวรทุกขณะจติ ซึง่ แสดง
ออกมาทั้งค�ำพดู และการกระท�ำ
คร้ังหน่ึงเม่ือท่านมาท่ี รพ.จุฬา ด้วยความยินดีท่ีได้พบท่าน
อยา่ งไม่คาดคดิ วสิ ยั ปุถชุ นทจ่ี ิตหยาบกระด้าง การแสดงออกทาง
กาย วาจา เกิดขึน้ โดยฉับพลนั ดว้ ยการพนมไหวแ้ ละพดู ดว้ ยเสียง
คอ่ นขา้ งดงั อยา่ งลงิ โลดใจวา่ “ทา่ นอาจารย”์ ทนั ใดนนั้ ทา่ นชำ� เลอื ง
มองเพยี งแวบ้ เดยี ว แลว้ เดนิ ตอ่ ไปใจแฟบลงทนั ที มคี ำ� ถามคา้ งในใจ
วา่ ท่านคงจ�ำเราไมไ่ ด้ หรือ เราทำ� อะไรผดิ อย่างแนน่ อน
ภายหลังได้ฟังธรรม เรื่องอินทรีย์สังวร ท�ำให้ข้อกังขาหมดไป
และเขา้ ใจวา่ ทา่ นกำ� ลงั สอนธรรมะแกเ่ ราดว้ ยการกระทำ� แทนคำ� พดู
พระอาจารยบ์ ัณฑติ สุปณฑฺ ิโต
61
ทา่ นแสดงใหเ้ ราเหน็ วา่ เราควรมอี ินทรยี ์สังวร สำ� รวมกาย วาจา ใจ
ไม่ปล่อยใหก้ ารกระทำ� หรอื ค�ำพูด หรอื แมแ้ ต่ความคิดไหลไปตาม
กระแสต่อส่ิงท่ีมากระทบ ตลอดจนค�ำนึงถึงเวลาและสถานที่ให้
รอบคอบก่อนเสมอ
เราเองตา่ งหากทกี่ ระทำ� ผดิ ไมส่ ำ� รวมระวงั ขาดความคดิ ไตรต่ รอง
สง่ เสยี งดงั เพอื่ ใหท้ า่ นหนั กลบั มา เปน็ การตอบสนองความรสู้ กึ ของ
ตนในแบบทีโ่ ลกๆ ปฏบิ ตั กิ ันซ่ึงขัดกับหลักธรรม
การกระทำ� ทถ่ี กู ตอ้ งและเหมาะควรคอื เราควรเกบ็ ความรสู้ กึ ไว้
ภายในและแสดงออกถึงความเคารพ ด้วยการน่ังลง พนมมือไหว้
โดยไมค่ �ำนงึ วา่ ทา่ นจะเห็นเราหรือไมก่ ็เพียงพอแลว้
จากเรอื่ งทเี่ กดิ ขน้ึ และพระธรรมเทศนาเรอ่ื งอนิ ทรยี ส์ งั วร ทำ� ให้
เข้าใจถ่องแท้ถึงความส�ำคัญในการส�ำรวมระวัง ในการแสดงออก
ต่อสิง่ ทีม่ ากระทบผ่านประสาทสมั ผสั ทัง้ ๕ ต้องมีความระมัดระวงั
สำ� รวมอนิ ทรยี อ์ ยตู่ ลอดเวลา จะทำ� ใหเ้ รามสี ติ และสตนิ เ่ี องจะทำ� ให้
เรารวู้ า่ สง่ิ ใดไมถ่ กู ตอ้ งตามครรลองธรรมเราจะปดั ออกโดยอตั โนมตั ิ
การส�ำรวมอินทรีย์เป็นพ้ืนฐานของการมีสติ การฝึกสติจึงเป็น
สง่ิ สำ� คญั เพอื่ กา้ วสสู่ มาธแิ ละเจรญิ ปญั ญาในทส่ี ดุ หากขาดขอ้ วตั รน้ี
ความกา้ วหน้าและความเจรญิ ในธรรมเป็นไปได้ยากและล่าชา้
ถึงแม้ท่านจะไม่ได้เทศน์ส่ังสอนโดยตรง ความซาบซ้ึงและ
ประทับใจเกิดข้ึน หลังจากอ่านข้อความใน “ใบส่ังยา รักษาโรค
โยมยาย” ตย. ๑. วนั นเี้ ราเหน็ โรคทกุ ขข์ องตนเองหรอื ยงั ๒.วนั นเี้ รา
62
ไดภ้ าวนาพทุ โธๆ และเหน็ ความไมแ่ นน่ อนของใจหรอื ยงั *ตอ้ งทาน
ยานี้บอ่ ยๆ อย่างน้อยวันละ ๒ ครง้ั เช้า-ก่อนนอน
แม้จะเป็นเพียงข้อความสั้นๆ แต่ธรรมะท่ีสอดแทรกในแต่ละ
ประโยค แต่ละหัวข้อลึกซ้ึงกินใจ มีคุณค่าอเนกอนันต์แก่ทุกคนท่ี
นอ้ มนำ� ไปปฏบิ ัตติ าม
ด้วยความที่ท่านเป็นแพทย์มาก่อน ท่านจึงมีกุศโลบายดึงดูด
ความสนใจของโยมยายโดยใชใ้ บสง่ั ยาบำ� รงุ จติ รกั ษาโรคทกุ ขท์ างใจ
ในลักษณะเดียวกับแพทย์สั่งยาให้คนไข้ในการรักษาโรคทางกาย
เพราะถ้าทา่ นเทศน์ธรรมล้วนๆ เหมือนใหท้ านยาขม โยมยายอาจ
ใหค้ วามสนใจน้อย
นอกจากธรรมะในรูปแบบใบส่ังยาแล้ว การท่ีท่านใช้กระดาษ
หลังปฏิทนิ เขยี นขอ้ ความแทนการใช้กระดาษรา่ ง หรอื สมุดบนั ทึก
สะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนว่าท่านเห็นคุณค่าของทุกสิ่งและใช้
ประโยชน์ของสงิ่ เหล่านนั้ อย่างเต็มที่
คุณค่าของสิ่งต่างๆ มีมากกว่าค�ำนิยามหรือค�ำจ�ำกัดความ
ตามสมมตุ ิทีก่ �ำหนดไว้ สาระส�ำคญั มิได้อยทู่ ่ีการใช้กระดาษชนดิ ใด
หากอยู่ในธรรมะทท่ี า่ นสอดแทรกและถา่ ยทอด ส่งิ ทเ่ี ป็นแกน่ ธรรม
และเป็นสัจธรรมของชีวิต ออกมาในรูปแบบของการสื่อสารท่ีมี
ลักษณะเฉพาะ เพอื่ ให้ผูอ้ า่ นเขา้ ใจงา่ ยและเหน็ ภาพตาม
ยอ้ นเวลากลบั ไปเมอื่ ๑๐ ปที แ่ี ลว้ พ.ศ. ๒๕๕๔ หอเมตตาธรรม
บ�ำบัดวิกฤต (Compression Intensive Care Unit) รพ.ศูนย์อุดร
พระอาจารย์บณั ฑติ สปุ ณฑฺ ิโต
63
สร้างข้ึนเพื่อเป็นอนุสรณ์ ๑๐๐ ปี พระอุดมญาณโมลี (หลวงปู่
จนั ทรศ์ รี จนทฺ ทโี ป) โดยมที า่ นพระอาจารยเ์ ปน็ หวั เรยี่ วหวั แรงในการ
ออกแบบควบคุมดูแล การก่อสรา้ งจนแลว้ เสรจ็ ความเมตตาอย่าง
ใหญห่ ลวงทที่ า่ นสงเคราะหโ์ ลก ประจกั ษช์ ดั เมอ่ื เกดิ วกิ ฤต Covid 19
หอวกิ ฤตแหง่ นไี้ ดช้ ว่ ยปลดเปลอ้ื งและบรรเทาความทกุ ขจ์ ากโรคภยั
แก่ประชาชนทั่วไปมากมาย ดงั คำ� กลา่ ว “เมตตาธรรม ค�ำ้ จุนโลก”
ทา่ นไมไ่ ดส้ รา้ งเพยี งวตั ถคุ อื หอผปู้ ว่ ยฯ เทา่ นน้ั ลกึ ซง้ึ ไปกวา่ นน้ั
ทา่ นมเี จตนาใหแ้ พทยแ์ ละบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ ง มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจ
ตอ่ เพ่ือนมนุษย์ มองเห็นอรยิ สัจ ๔ และสัจธรรมท่ีเราต้องเผชญิ ทั่ว
ทุกตัวตน อย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นหมอหรือคนไข้ มีความ
เมตตาเตม็ ใจชว่ ยเหลอื ในฐานะเพอ่ื นเกดิ แก่ เจบ็ ตาย ในวฏั สงสาร
เชน่ เดียวกัน
ทา่ นกลา่ ววา่ แพทยพ์ าณชิ ยม์ มี าก การเขา้ ถงึ การรกั ษาพยาบาล
ทดี่ ขี องคนยากจนนบั วนั จะยากขน้ึ ทกุ ที หอวกิ ฤตนจ้ี ะเปน็ ทบ่ี รรเทา
ความทกุ ขย์ ากของผดู้ อ้ ยโอกาสใหเ้ ขา้ ถงึ การรกั ษาทด่ี ไี ดค้ วบคไู่ ปกบั
การหยบิ ยน่ื ความเมตตาให้แก่เพอื่ นมนษุ ยด์ ว้ ยกัน เพอื่ จรรโลงโลก
ให้เกดิ ความสงบรม่ เย็น
วิกฤต Covid น้ี ทุกประเทศท่ัวโลก คนทุกชาติ ทุกศาสนา
ต่างได้รับผลกระทบมากน้อยต่างกันไป บางคนจบชีวิตตัวเองเพ่ือ
หนปี ัญหาทีร่ ุมเร้า บางคนตกงาน บางคนแทบไมม่ จี ะกนิ Covid 19
ท�ำใหว้ ิถชี วี ิตของทกุ คนเปล่ียนไป
64
ในสถานการณ์ปัจจุบัน ท�ำให้ระลึกถึงธรรมะที่ท่านเทศน์เม่ือ
หลายปีก่อน สามารถน�ำมาใช้เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจได้เป็น
อย่างดี ท่านสอนให้น้อมน�ำธรรมเข้าสู่ตนมีธรรมะเป็นเคร่ืองหล่อ
เลย้ี งจติ ใจ
แม้จะอยู่ท่ามกลางความร้อนรุ่มวุ่นวาย จิตก็ไม่กระทบเพราะ
ร้เู ท่าทันและปลอ่ ยวาง คำ� สอนของท่านยงั ก้องอย่ใู นหวู ่า “ธรรมะ
ของพระพทุ ธเจา้ มอี ยใู่ นทกุ ที่ เราตอ้ งหาธรรมในใจของเราเอง ถา้ เรา
มีธรรมในใจ ใจจะชุ่มช่ืนตลอดเวลา ถ้าขาดธรรม จติ ใจจะแหง้ ผาก”
ดังธรรมะท่ีท่านเทศน์ การฟังธรรมแต่ละคร้ังขอให้ผู้ฟังฝังไว้
ในจติ เปน็ ความจรงิ มใิ ชค่ วามจำ� เราแตล่ ะคนจะมกี ญุ แจไขเขา้ สธู่ รรม
ทแ่ี ตกตา่ งกนั หาใหเ้ จอ ธรรมะคอื ความเปน็ จรงิ เมอื่ พจิ ารณาธรรม
ในเร่ืองใดจนเข้าใจอย่างถ่องแท้ เราสามารถโยงหลักธรรมนั้นเพื่อ
ท�ำความเข้าใจในธรรมเรื่องอ่ืนได้เช่นกัน เพราะธรรมเป็นหลักการ
ของเหตุ ผล และความถกู ตอ้ ง
ธรรมะทป่ี ระทบั ในความทรงจำ� ในเรอื่ งอนิ ทรยี ส์ งั วรและความ
เมตตาของทา่ นทกี่ ลา่ วมาน้ี เปน็ เพยี งเศษเสย้ี วในธรรมะหลากหลาย
ทีท่ ่านเมตตาเทศน์ส่ังสอน จริยวตั รทีง่ ดงาม เรยี บงา่ ย ทุกอริ ยิ าบถ
ทุกการกระท�ำล้วนเป็นธรรมท้ังส้ิน และเต็มเปี่ยมไปด้วยความ
เมตตา
พระอาจารยบ์ ัณฑติ สปุ ณฑฺ ิโต
65
อาจารยิ รำ� ลกึ ๕
น้ำ� ล้นแกว้ ชาลน้ ถ้วย
ความรู้สึกส่วนลึกๆ ท่ีมีต่อพระอาจารย์หมอ ลูกไม่สามารถ
เขียนเป็นอักษรได้ รู้แต่ว่ามีบุญวาสนาที่ท่านอบรมส่ังสอนและ
ยอมรบั พวกเราเปน็ ลกู ศษิ ยข์ องท่าน
ทา่ นสอนธรรมพวกเราเขม้ ขน้ มาก ทา่ นคงรวู้ า่ เวลาสอนลกู ศษิ ย์
มีน้อย ทา่ นใช้คำ� สอนดดุ ัน ใหพ้ วกเราต่ืนตัวและตืน่ ใจ ให้สละเรอื น
มงุ่ สภู่ าวนาอยา่ งเดยี ว ทา่ นเปรยี บคนทำ� งานเมอื งหลวงเหมอื นสตั ว์
ติดอยูใ่ นกรงขงั ตามอาคารสูงๆ ไม่มีอสิ รภาพ
ยอมรบั ว่าซาบซึ้งสดุ ๆ ในขณะน้ัน แต่กำ� ลงั ของลูกไมส่ ามารถ
ทจี่ ะไปปฏิบัติธรรม
ทา่ นเมตตาให้กำ� ลงั ใจลกู ศิษย์
ทุกครงั้ ท่านลงมาที่กรุงเทพฯ พักท่ีวัดบวร มโี อกาสฟังธรรมจะ
เค่ียวเขญ็ ลกู ศิษยใ์ หโ้ ต
จ�ำได้วา่ ทา่ นคงร้วู ่าลูกศษิ ย์ยังไม่ได้ดังใจ ทา่ นเทศนว์ ่า ใช้บัตร
เครดติ รดู สะสมแต้มไป แต้มเต็มเม่ือไหรเ่ อาไปขน้ึ คะแนน ลกู ศษิ ย์
ดใี จมาก มชี ่องทางไปแบบสบาย
ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ลกู มโี อกาสไปปฏบิ ตั ธิ รรมเขา้ พรรษาทวี่ ดั ปา่
บ้านแก้งใหม่ มีเพ่ือนไปด้วยในปีน้ัน เป็นกัลยาณมิตรท่ีดีมากอยู่
ด้วยกนั ตลอดทง้ั พรรษา
66
ประมาณเดอื นกนั ยายน เราชวนกันไปกราบพระอาจารย์หมอ
ท่ีวัดป่าตอสีเสียด โดยมีคนศรีเชียงใหม่ขับรถพาเราไปกราบท่าน
ประโยคแรกทท่ี า่ นพูดใสห่ น้ามา
“ไอน้ ้�ำล้นแก้ว ชาล้นถว้ ย ไม่ไดต้ น้ ข้ึนกลางจะเอาปลายยอด”
แลว้ ทา่ นกพ็ ดู ตอ่ ไปอกี “ไมต่ อ้ งหว่ งครบู าอาจารยห์ รอก พวกถม่
น�้ำลายรดฟ้า ให้หว่ งตัวเอง”
ประโยคท่ีท่านกล่าวออกมา มีผู้ฟังเพียง ๓ คน ที่ไปด้วยกัน
ท่านรู้ได้อย่างไร วัดท่ีไปปฏิบัติธรรม พระอาจารย์ก�ำลังมีเร่ืองราว
ทง้ั ๆ ไม่ไดเ้ ล่าให้ฟงั เลย
ทา่ นรวู้ าระจติ ของเรา ทา่ นชว่ ยใหเ้ ราคลายความกงั วลเรอื่ งราว
ที่วัดในขณะนั้น
ธรรมท่ีท่านกระแทกมา น�้ำล้นแก้ว ชาล้นถ้วย กว่าจะรู้สึกตัว
ใช้เวลาหลายๆ ปี นึกวา่ ตวั เองพรอ้ มสมบูรณแ์ ล้ว ท่แี ทน้ ้�ำล้นแก้ว
จรงิ ๆ ยังอ่อนในธรรมมากๆ
ปที ฉ่ี ลองเจดยี บ์ วั จ.รอ้ ยเอด็ ไดไ้ ปรว่ มงานแลว้ มโี อกาสกลบั มา
เยี่ยมครอบครัวทีบ่ า้ น ทา่ นพระอาจารย์หมอลงมากรงุ เทพมาดแู ล
หลวงป่จู นั ทรศ์ รที ี่ รพ.จฬุ า
ได้มโี อกาสใสบ่ าตรท่าน ก่อนท่จี ะฉนั ทา่ นเทศน์
เป็นความเมตตาที่ท่านคงรู้วาระจิตที่ลูกศิษย์คนน้ีก�ำลังมีเรื่อง
ทกุ ขใ์ จ ทา่ นบอกวา่ “การปฏบิ ตั ธิ รรมทว่ี ดั ไมใ่ ชอ่ ยกู่ นั งา่ ยๆ เหมอื น
พระอาจารยบ์ ัณฑิต สุปณฑฺ ิโต
67
คล่ืนทะเลที่ซัดกันตลอดเวลา เพราะฐานบุญของผู้ปฏิบัติธรรม
ไม่เท่ากนั ย่อมกระทบกันเป็นธรรมดา”
ต่อมน้ำ� ตาของลูกแตก ปล่อยเสียงโฮออกมาโดยไมร่ ู้ตัว คดิ วา่
พๆี่ นอ้ งๆ ทมี่ ารว่ มใสบ่ าตรคงไดย้ นิ เสยี งทว่ั หนา้ กนั มนั เปน็ บทเรยี น
ทีช่ ีวิตไม่เคยเจอ มาเจอทวี่ ดั วัดใจจรงิ ๆ
ท่านพระอาจารย์ให้ยาเม็ดนี้ไปเป็นก�ำลังใจให้ลูกไม่ท้อถอย
ใหล้ กู มีความเข้มแข็งจนอย่ถู ึงปจั จุบันเปน็ ปีท่ี ๑๐
68
อาจาริยรำ� ลกึ ๖
ท�ำมานอ้ ย
เราได้ไปปฏิบัติธรรมที่วัดป่าตอสีเสียดกับพี่ทางธรรม ๒ วัน
๒ คืน เดือนกุมภาพันธซ์ ึ่งเปน็ ช่วงฤดูหนาว..
วันแรก พระอาจารย์บอกให้เอามือถือเราทั้งสองคนเก็บไว้
กบั ทา่ น ทา่ นไดน้ ำ� มอื ถอื ทงั้ ๒ เครอ่ื งไปเกบ็ ในตเู้ หลก็ และใสก่ ญุ แจ
เป็นการปดิ การสื่อสารกับโลกภายนอก
ระหวา่ งปฏบิ ตั หิ วิ นำ�้ บอ่ ย และจะดมื่ นำ�้ บอ่ ยๆ พอตกกลางคนื มา
ฟงั เทศนท์ ศี่ าลา คนื นนั้ มพี ระอาจารยห์ มอบณั ฑติ หลวงปสู่ ขุ ทหาร
เราทั้งสอง อากาศหนาวมาก พระอาจารย์บอกให้แยกกันปฏิบัติ
และให้ดื่มน้�ำปานะได้ครั้งเดียวตอนบ่ายโมง ไม่ใช่หิวเมื่อไรก็ด่ืม
(ก็แปลกใจ ทา่ นรูไ้ ด้อย่างไรว่าเราด่มื นำ�้ บ่อย เพราะโรงครัวที่อาศัย
นอนและปฏบิ ตั ิอยไู่ กลจากกฏุ พิ ระอาจารยม์ าก)
ในคืนน้ันพระอาจารย์ท่านอมย้ิมนิดๆ แล้วพูดว่ารู้ตัวไหมว่า
ปฏบิ ตั ทิ า่ มกลางลมหนาวมากภ่ี พกช่ี าตแิ ลว้ ชาตนิ ท้ี ำ� ใหไ้ ดน้ ะ ไมย่ าก
ไมเ่ หลอื บา่ กวา่ แรงหรอก จะไดไ้ มต่ อ้ งเกดิ อกี ลองคดิ ดถู า้ ตอ้ งไปเกดิ
ในยคุ ไมม่ ศี าสนาจะมดื มนอนธการขนาดไหน ใหพ้ ากนั เรง่ ภาวนานะ
เวลาเหลือนอ้ ยแล้ว (เราก็นึกว่าเวลาเราเหลอื น้อยแล้ว)
ท่านพระอาจารย์บอกว่าในอดีตชาติเราท�ำไว้น้อยชาตินี้
เลยเหนอ่ื ย พอกลบั ไปทท่ี พี่ กั ระหวา่ งเดนิ จงกรมเรากน็ กึ ถงึ คำ� พดู ของ
ทา่ นและคิดว่าอดตี ชาตผิ ่านไปแลว้ แกไ้ ขไม่ได้ จะใหท้ ำ� อย่างไรได้
พระอาจารยบ์ ณั ฑติ สุปณฑฺ ิโต
69
70
เชา้ วนั รงุ่ ขนึ้ พระอาจารยท์ า่ นฉนั เสรจ็ ทา่ นมองหนา้ แลว้ พดู วา่
ชาตกิ อ่ นทำ� ไวน้ อ้ ย ชาตนิ ก้ี ท็ ำ� ใหม้ ากสิ จะไปยากอะไร เรากค็ ดิ ในใจ
จรงิ ๆ ดว้ ยทำ� ใหม้ ากสิ แสดงวา่ ทา่ นรู้ วา่ เมอ่ื คนื เราคดิ อะไร หลงั จาก
วันนั้นเป็นตน้ มา มีมากกท็ �ำมาก มนี อ้ ยก็ท�ำน้อย
คดิ วา่ ไมด่ ขู า่ วโทรทัศนม์ าหลายปี พระอาจารยก์ พ็ ูดข้ึนว่าสมัย
เรียนหนังสือท่านก็คิดจะดูข่าวจะได้ทันเหตุการณ์บ้านเมือง แต่มี
เสยี งดงั ขนึ้ ในหวั ทา่ น (พระอาจารย)์ วา่ อยา่ ไปดเู ลยกเิ ลสของคนอน่ื
..ท่านจึงไม่ดขู ่าวอีกเลย
นอ้ งเขยเราเปน็ เนอ้ื งอกทก่ี า้ นสมองไม่สามารถผ่าตัดได้ ไดม้ า
กราบพระอาจารย์ ท่านบอกให้ไปกราบหลวงปู่จันทร์เรียน และ
พระอาจารย์บอกวา่ นอ้ งเขยจะมีชวี ติ อยไู่ ดไ้ มน่ านให้แยกห้องนอน
กับน้องสาว แต่ไม่ได้แยกห้องนอนกัน น้องสาวท้องคลอดลูกได้
๑ เดอื นน้องเขยกล็ าโลกนี้ไป..
พระอาจารย์ให้เราทงั้ สองทอ่ ง ๔ ขอ้ ใหจ้ ำ� ขน้ึ ใจ หา้ มจดคือ
๑. ภาวนาพุทโธให้ได้ตลอด ๒๔ ชว่ั โมง ไม่ ๗ วนั ก็ ๗ เดือน
หรอื ๗ ปี ส�ำเร็จแน่นอน
๒. ให้ท�ำตนให้อ่อนน้อมใครด่าก็รับได้ ใครชมก็รับได้ท�ำตัว
เหมือนผา้ ขี้ริว้
๓. หา้ มวจิ ารณ์พระ ห้ามว่าพระ ห้ามสอนพระ เปน็ ผูห้ ญงิ ไม่มี
สิทธเิ์ ลย
พระอาจารยบ์ ัณฑิต สุปณฑฺ ิโต
71
๔. เปน็ ผหู้ ญงิ ถา้ ปฏบิ ตั ธิ รรมตอ้ งอยเู่ ปน็ หมคู่ ณะ อยา่ แยกเดย่ี ว
ไมเ่ หมาะสม
ระลกึ ถึงความเมตตาทพ่ี ระอาจารยม์ ใี หเ้ สมอ
ท่านห่วงใยลูกศิษย์และเน้นให้เร่งปฏิบัติเสมอ เมตตาบอกให้
เปลย่ี นวธิ ภี าวนาจะเหมาะกบั จติ จะไดเ้ รว็ วธิ เี ดมิ มนั ไมเ่ ปน็ ธรรมชาติ
ท�ำงานเจอแตค่ นไม่ดีนะให้น่งั สมาธเิ ยอะๆ จะชว่ ยได้ ทา่ นจะ
ชี้ให้เห็นข้อบกพรอ่ งและแกไ้ ขให้เรา..
นอ้ มเศียรกราบแทบเท้าพ่อแมค่ รูบาอาจารย์ พระอาจารย์
บณั ฑติ สุปณั ฑิโต
72
พระอาจารย์บณั ฑิต สปุ ณฑฺ ิโต
73
อาจาริยรำ� ลกึ ๗
ความดีจะชว่ ยใหท้ กุ ข์นอ้ ยลง
ได้ยินชื่อวัดตอสีเสียดคร้ังแรก เมื่อได้พบคณะจุลธรรม ซึ่งมา
ท�ำบุญที่วัดบ้านตาด คณะบอกว่า เดี๋ยวจะไปวัดตอสีเสียด ซ่ึงอยู่
ใกลก้ บั วดั ป่าบา้ นตาด ช่อื วัดกระทบใจ ดูแปลก คิดว่านา่ จะเป็นตน้
ตอสีเสยี ด ซ่ึงคนแก่ใชก้ นิ กับหมาก อกี ทัง้ เราไมเ่ คยได้ยินชื่อ ทง้ั วัด
ทั้งเจ้าอาวาส
ต่อมาได้ไปทอดผ้าป่าที่วัดตอสีเสียด เพราะเพื่อนสนิทเป็น
เจา้ ภาพ เหน็ ภาพวดั ครง้ั แรกแปลกใจมาก ศาลาวดั อะไรเลก็ เหลอื เกนิ
วันนนั้ ทา่ นอาจารย์นพิ นธ์ ดา่ นซ้าย มาเป็นประธาน ตอนรับบาตร
ท่านอาจารย์หมอ เดินตามเปน็ องคท์ ่ี ๓ ท่านส�ำรวมมาก หลังจาก
เสรจ็ พิธี ทา่ นอาจารย์หมอแสดงธรรมไม่ยาวนกั แตก่ นิ ใจมาก
ต่อมาเราจึงได้เร่ิมไปถวายจังหันท่ีวัดเป็นประจ�ำ ไปครั้งแรก
ลำ� พงั จำ� ทางไมไ่ ด้ ตอนหลง เรยี กทา่ นวา่ ใหน้ ำ� ทางลกู ดว้ ย เลยวดั มา
เล็กน้อย เหมือนเสยี งส่ังให้ถอยรถมา เลยแลว้
วันแรกท่านถามว่าท�ำอาชีพอะไร เรียนว่าขายรองเท้า ท่านก็
วา่ ดี เปน็ อาชีพบรสิ ทุ ธิ์ หลังจากนัน้ ท่านเรมิ่ สอนวา่ ใหท้ ำ� งานด้วย
ความซอื่ สตั ย์ เมตตาต่อลูกคา้ ถ้าเรามีคณุ ธรรมกบั เขา กจิ การเรา
จะเจริญขึ้น ย้อนถามท่านว่าท�ำไมเราทุกข์เหลือเกิน ท่านหลับตา
พจิ ารณาสักพกั แล้วบอกวา่ เราเคยสร้างกรรมไมด่ ีไวม้ าก ต่อไปให้
เว้นเสยี ทำ� แต่กรรมดี ละชั่วเสีย
74
จากนั้นเราจะไปกราบบอ่ ยข้ึน เพราะมีทกุ ข์ ทุกคร้งั ท่านจะให้
ข้อคิด อบรม ตกั เตอื นเสมอๆ ยำ�้ วา่ ตอ้ งใช้กรรมก่อน ทำ� ความดี
ให้มาก ความดีจะหนุนใจเราให้ทุกข์น้อยลง ทุกอย่างมาแล้วก็ไป
หมนุ เวยี นอย่างนี้ ใหเ้ รากลับไปพิจารณา ท่านว่าให้ไปคดิ เอา
จากนน้ั อกี ประมาณ ๔-๕ เดอื น เราเรม่ิ สรา้ งสวนนำ�้ และนมิ นต์
ครบู าอาจารยห์ ลายองค์มาเพ่อื เปน็ มงคล นิมนต์ท่าน อ.หมอ ด้วย
รู้วา่ ท่านไม่ค่อยรบั นมิ นตไ์ ปไหน เพราะท่านวา่ ท่านเปน็ พระผนู้ อ้ ย
แต่คงเห็นเราเป็นทุกข์ ท่านจึงมาให้ ท้ังท่ีท่านมีกิจต้องไปดูงานท่ี
วดั โพธสิ มภรณ์
วนั ท่ี ๑ มี.ค. เชา้ มืดนั้น ไดร้ ับโทรศัพท์จากกรุงเทพ ให้ไปดูทา่ น
ทวี่ ดั รวบรวมสตแิ ละกำ� ลงั ใจทงั้ ปวง ขบั รถไปจนถงึ ตอสเี สยี ด ไดท้ ำ�
ทุกอยา่ งถวายท่าน เอางานข่มใจท่กี �ำลงั หมองหม่น
แมน้ ไมน่ านนกั กถ็ อื เปน็ บญุ มหาศาลทไี่ ดก้ ราบเทา้
พระอาจารย์บัณฑิต สปุ ณฑฺ ิโต
75
อาจารยิ รำ� ลกึ ๘
เวลาเหลอื นอ้ ย
ทา่ น อ.หมอ ปรารภธรรมขอ้ นบี้ อ่ ยครงั้ โดยเฉพาะ สามสเี่ ดอื น
สดุ ทา้ ยกอ่ นละขนั ธ์ แตเ่ ราโงแ่ ลว้ คดิ วา่ ฉลาด คดิ ไปวา่ เราอายมุ ากแลว้
ท่านจึงให้รีบเร่งภาวนา หากความตายไม่เลือกว่าจะเป็นใคร
เราปลอ่ ยเวลาอันประเสริฐให้หลดุ มอื ไป
เม่ือวนั ที่ ๓๐ ก.ค. ๒๕๕๖ ที่ รพ.จฬุ า ทา่ นกลา่ วว่า
ทุกส่ิงคือท�ำตามความจ�ำเป็นเท่าน้ัน การได้รับปัจจัยมา
จะคืนกลับสู่โลกท้ังหมด เพราะโลกน้ีมีคนขาดแคลนมาก
เหลอื เกนิ เวลาทเ่ี หลอื นอ้ ยของเรา จะตอ้ งเรง่ หาประโยชน์
ในสว่ นนใี้ ห้มาก
สองสามวนั กอ่ นทา่ นจากไป ทา่ นไดป้ รารภธรรมเปน็ การสว่ นตวั
กับน้องสาวท่านวา่
แฮร่ี พอตเตอร์ ในนิยายโดง่ ดัง ตอนจบเขาตายแลว้ ฟ้ืนขึ้น
มาได้ แต่ในความเป็นจริง ไมม่ ีใครตายแล้วฟ้ืนขึ้นมาอีก
เม่ือตารางกรรมของความตายมาถงึ ให้ยอมรบั เสีย เพราะ
กรรมเปน็ เคร่ืองกำ� หนดของทกุ คน เมอ่ื หมดอายขุ ัย กรรม
มาถงึ หลีกเลยี่ งไม่ได้ ใหย้ อมรับเป็นเรื่องธรรมดา
คนเราในปัจจุบันมาจากผลของกรรมที่ท�ำไว้ บางคนอาจ
จะทำ� บญุ ไวเ้ ยอะ ทำ� ใหป้ จั จบุ นั ทำ� อะไรๆ กด็ ไี ปหมด เจรญิ
76
รุ่งเรือง แต่ในท่ีสุด ทุกคนต้องได้รับผลจากกรรมที่ท�ำไว้
แมแ้ ตพ่ ระพุทธเจา้ เอง
องค์ท่านมีนิสัยประหยัดมัธยัสถ์แต่ไหนแต่ไรมา รู้คุณค่า
ของเงิน ท่านได้รับค่าอาหารเท่าไหร่ท่านก็จะใช้ไม่เกินนั้น
ทา่ นรวู้ า่ พอ่ แม่หาเงินมาด้วยความยากล�ำบาก ขนาดท่าน
เปน็ นสิ ติ แพทยแ์ ลว้ มคี รงั้ หนงึ่ ทโ่ี ยมพอ่ โยมแมไ่ ปเยยี่ มทา่ น
และท่ีโรงอาหารนั้นโยมพ่อโยมแม่จะซื้อน้�ำอัดลมให้ท่าน
ท่านไม่เอาและบังคับให้ซ้อื น�้ำเปล่าแทน เปน็ ต้น
พระอาจารยบ์ ณั ฑิต สุปณฺฑิโต
77
อาจาริยรำ� ลึก ๙
ทุกปญั หากระจา่ งดว้ ยธรรม
เกอื บทกุ ครงั้ ทไี่ ปอยวู่ ดั เพอ่ื ปฏบิ ตั แิ ละชว่ ยดแู ลงานวดั ชว่ ยทา่ น
พระอาจารยห์ มอ กอ่ นกลับช่วงบ่ายเกือบเยน็ ท่านจะอบรมธรรม
พร้อมกบั เมตตา ใหถ้ ามปญั หา ท้งั ทางโลก และทางธรรม ท่านจะ
ตอบแบบ ช้ีถูก ผดิ แบบไมต่ อ้ งสงสัย ทุกปญั หากระจา่ งเปน็ ความ
อบอนุ่ มากๆ
ช่วงน้ันท่านจะขุดสระน�้ำ เลยพากันไปย้ายต้นไม้ ขณะท่ีเรา
ก�ำลังขุดรอบโคนต้นไม้อยู่ ท่านก็ดึงเสื้อไว้ พร้อมพูดว่าระวังมด
ท่านบอกใหม้ สี ตทิ ุกขณะ ไมว่ ่าเวลาใด
เรากราบเรียนท่านว่า ก�ำลังทรัพย์มีน้อยขอเอาก�ำลังแรงกาย
ท�ำงานถวายวัด ท่านเมตตาบอกว่า เงินนะโจรห้าร้อยมันก็ท�ำได้
แต่ใช้แรงนะมันประเมินค่าไม่ได้ เราสองคนเลยเต็มใจท�ำงาน
ทุกอย่างในวัด
บางคร้ังท่านเมตตาให้ซ่อมจีวร เพราะขาดบ่อย (ท่านใช้จักร
ไมค่ ล่อง)
ปีนั้น ออกพรรษาตั้งใจจะถวายชุดไตรจีวรท่าน คืนก่อนออก
พรรษานอนวดั เสร็จจากปฏบิ ัตแิ ลว้ จะนอนเลยเอาชดุ ผ้าไตรวางไว้
บนหัวนอน ตกดึกมีฝูงมดด�ำจ�ำนวนมาก ไต่มาเป็นทางยาวพากัน
มาห้อมล้อมชุดผ้าไตรจนเต็มห่อผ้า แต่ไม่รู้ท�ำอย่างไรเลยรอดู
สกั พกั เขากพ็ ากนั ออกไปจนหมด เชา้ มากน็ ำ� ไปวางไวท้ างขน้ึ บนั ไดกฏุ ิ
78
ฉลากผา้ ไตรยังอยู่
ทา่ น ตอ่ มาไมก่ ว่ี นั ทา่ นเมตตาบอกวา่ ทา่ นครองผา้ ไตรให้ ทา่ นบอกวา่
ชดุ เกา่ ปะไมไ่ หวแล้ว ยงั ปตี มิ าถึงทกุ วันนี้
เขา้ ไปอยวู่ ดั ชว่ งแรกๆ ยงั ไมเ่ คยทราบประวตั ทิ า่ น วนั นนั้ วนั พระ
ท่านเขา้ ไปทำ� งานท่ีวัดโพธิ์ พวกเราอยู่วัด ชว่ งปานะ ไดโ้ อกาสเลย
ขอความรู้ ประวตั ทิ า่ นจากหลวงปสู่ ขุ หลวงปกู่ เ็ ลา่ พอประมาณ ตกคำ่�
ทา่ นพาทำ� วตั รเสรจ็ ทา่ นเทศนแ์ บบดุ ๆ แลว้ กเ็ ลา่ ประวตั ขิ องทา่ นให้
ฟงั ตงั้ แตต่ น้ จนจบ ตอนเทศนเ์ รางงๆ วา่ ทำ� ไมวนั นท้ี า่ นเทศนแ์ บบนี้
แตต่ อนนนั้ ศษิ ยอ์ กี คนบอกวา่ กลวั ทา่ นมาก วา่ ทา่ นทราบเรอื่ งทพ่ี ดู
กับหลวงปูไ่ ด้อย่างไร ใจจงึ หมอบกราบทา่ นตงั้ แต่นัน้ มา
ตลอดเวลาที่ท่านอบรมธรรม ท่านจะให้ดูความละเอียดของ
ศลี หา้ ใหท้ ำ� ดอี ยา่ งเดยี ว ถา้ ทำ� ได้ ทรพั ยท์ งั้ หลายมาหาเราเอง ถงึ จะ
ไม่รวย แต่ไม่อดอยาก พอปฏิบัติตามท่านสอน ถึงจะปฏิบัติได้
ไม่เต็มร้อยทุกวันน้ี เราสองคนก็ไม่ต้องออกไปท�ำงานนอกบ้าน
พระอาจารยบ์ ณั ฑติ สปุ ณฑฺ ิโต
79
ทำ� งานในบ้าน มีลกู คา้ มาหาเอางานมาใหถ้ งึ ร้านเลย เงนิ กจ็ ่ายสด
ค�ำสอนของท่านยงั ปฏิบตั อิ ยู่เสมอๆ
ส่วนตอนเชา้ วันเสารก์ ่อนท่านละ ท่านเทศน์เรอ่ื งนกร้อง เรอื่ ง
กรรม และตอนท้ายท่านบอกให้เรา (ไม่ได้เอ่ยช่ือแต่ส่งสายตามา)
เร่งปฏิบัติ และให้หาครบู าอาจารย์ใหม่ และใหป้ ฏบิ ตั ิจริงจงั
ช่วงบ่าย ค�ำพูดสุดท้าย ท่านพูดว่าพวกเราไม่ต้องกลัว และ
กงั วลนะ หากมเี หตุ มีภยั ทุกคนในวัดจะปลอดภยั เพราะอาจารย์
จะรบั เองทงั้ หมด เราใจหายวูบเลย เพราะทุกๆ วัน นกในวดั ร้องมา
ประมาณสองสามเดอื นได้ นกฮกู ไมเ่ คยรอ้ งกลางวนั ยงั รอ้ ง ทา่ นเคย
บอกให้ไปดูที อาจมีคนมาขโมยลูกนกหรือเปล่า เสียงแม่เขาร้อง
ยิ่งวันเสาร์พวกนกร้องหนักเสียงระงมทั้งวัด แต่ก็ยังมีบุญอยู่วันท่ี
ทา่ นละสังขาร เราสองคนได้มาอยใู่ กล้ท่าน
ทั้งหมดเปน็ ความประทับใจทไ่ี ม่เคยลืม
80
อาจาริยร�ำลึก ๑๐
อาวุโส ภันเต
พวกเรายังจดจ�ำแม่น คร้ังหนึ่งท่านพระอาจารย์ต้น มาเย่ียม
หลวงปู่จันทรศ์ รที ่ี รพ.จุฬาฯ พวกเราที่อย่ใู นวนั นน้ั ยังคงจดจำ� ได้
เห็นภาพท่ีครูบาอาจารย์ท่านเคารพเทิดทูนกัน น�ำความปีติยินดี
ในใจตลอดมา เมื่อได้เหน็ ภาพถา่ ยภาพน้ี ทา่ นพระอาจารย์ตน้ นงั่
บนโซฟา ท่านพระอาจารย์หมอ คุกเข่าต่อหน้าท่าน กิริยางดงาม
เหมอื นพ่อกับลกู ทา่ นพระอาจารยห์ มอถวายช็อกโกแลตด�ำ ท่าน
พระอาจารยต์ น้ ทา่ นบอกวา่ “ฉนั ไมไ่ ด”้ ทำ� ไมเลา่ ครบั “ยงั ไมไ่ ดแ้ กะ”
พระอาจารย์บณั ฑิต สปุ ณฺฑิโต
81
ทา่ นพระอาจารยห์ มอยม้ิ พวกเรามแี ตค่ วามปลม้ื ปตี ยิ นิ ดี คดิ ถงึ ทา่ น
พระอาจารยท์ ั้งสองครบั ...
ครงั้ ทที่ า่ นพระอาจารยห์ มอ ลงมาดแู ลโยมแมต่ ยุ๋ (โยมแมท่ า่ น)
ซึ่งมาผา่ ตัดท่ีตกึ ภปร. รพ.จฬุ าฯ ทุกเชา้ ทา่ นจะรับบาตรทช่ี ้นั ๑
ทำ� ใหเ้ ราไดท้ ำ� บญุ ทกุ ๆ วนั หลายวนั เขา้ จงึ คนุ้ เคยกบั เจา้ หนา้ ทที่ นี่ น้ั
จนถงึ ยาม รปภ.
เราพยายามชกั ชวนเขาให้มาใส่บาตรด้วย
วนั หนง่ึ มวั แตเ่ ดนิ เอาของใสบ่ าตรไปเผอ่ื เขา ทา่ นพระอาจารย์
หมอรบั บาตรเสรจ็ แล้วและกำ� ลังเข้าลิฟท์ไปฉัน จิตเราตกอยา่ งแรง
อดใส่บาตร
ในพรรษาปี ๒๕๕๔ ภรรยาและสหายธรรมไปกราบนมัสการ
ทา่ นพระอาจารยห์ มอทตี่ อสเี สยี ด กลบั มาเลา่ ความรสู้ กึ ตอ่ คำ� สอน
ของทา่ นใหฟ้ งั ซาบซ้งึ มาก ตอนหนงึ่ ท่านรูว้ ่าภรรยาผมทิง้ บ้านมา
อยู่วัดแล้วต้ังแต่ปี ๒๕๕๓ ท่านพระอาจารย์หมอท่านถามถึงผม
ว่า “แดงอยู่ไหน ท�ำไมไม่มาอยู่วัด” ซ่ึงตอนนั้นผมยังอยู่ดูแลแม่ท่ี
กรงุ เทพ ความรสู้ กึ ซาบซง้ึ ในความหว่ งใยของทา่ นอยา่ งยงิ่ ความรสู้ กึ
นยี้ งั ตรงึ อยใู่ นใจ ทำ� ใหต้ อ่ มาผมจงึ มาอยภู่ าวนาทว่ี ดั จนทกุ วนั น้ี และ
ระลกึ ถึงบญุ คุณท่ที ่านมีตอ่ ผมและภรรยาอย่างย่งิ ท่านเป็นห่วงใย
พวกเราจุลธรรมอย่างมาก ท่านพูดเสมอว่า ท�ำอะไรกันอยู่ท�ำไม
ไม่เร่งปฏิบัติกัน ยังจะห่วงอะไรกันอีก ซ่ึงเป็นเรื่องเดียวกับท่ีท่าน
พระอาจารย์สุชาติ อภิชาโต เทศน์พวกเรามาตลอดระยะเวลา
สบิ กวา่ ปนี ้ี บญุ คณุ ของทา่ นทมี่ ตี อ่ เราหาทส่ี ดุ มไิ ด้ ดงั นนั้ ทกุ ปที เ่ี ปน็
82
วนั ครบรอบวันมรณภาพของท่านพระอาจารย์หมอ ผมและภรรยา
ได้ติดตามพระอาจารย์จันมี อนาลโย ไปร่วมงานท�ำบุญครบรอบ
ของท่านทุกปี ซ่ึงบรรยากาศในงานเหมือนเราได้กลับมาบ้าน
มาหาท่าน ผู้คนที่มาร่วมงานกล็ ้วนเป็นคนคุ้นเคย คิดถงึ ครับผมจะ
พยายามท�ำความเพยี ร ขอท่านพระอาจารยเ์ ป็นกำ� ลงั ใจใหผ้ มด้วย
เช้าวันน้ันท่านเริ่มต้นเทศน์ว่า “ในการท�ำทุกอย่างต้องรู้จัก
ลำ� ดบั ความสำ� คญั ของทจี่ ะทำ� สงิ่ ใดควรทำ� กอ่ นหลงั จะไดไ้ มเ่ สยี งาน
สับสนและรกุ ลน ต้องมีสติไตรต่ รองใชป้ ญั ญา”
จ�ำข้ึนใจ เป็นธรรมทีฝ่ ังใจมิรูล้ ืม
พระอาจารย์บัณฑติ สปุ ณฺฑิโต
83
อาจาริยร�ำลกึ ๑๑
ความดีจะช่วยใหเ้ รามีทางออก
ถ้าไมป่ ฏิบัติ ก็ต้องมาแก่ เจบ็ ตายอกี เรามองข้ามสง่ิ เหล่าน้ีไป
เพราะเห็นว่าไกลตัว ซึ่งเรียกว่าต้ังอยู่ในความประมาท ท่ีเราท�ำๆ
กันอยู่ยังดีไม่พอ ท่านเคยกราบหลวงปู่ (ท่านหลวงตามหาบัว)
ทา่ นบอกว่าใหห้ าทใ่ี จ คำ� นด้ี งั กอ้ งอยู่ในใจทา่ นจนถงึ บดั นี้
พระพุทธเจา้ ท่านฉลาด สอนใหแ้ ปลงทรัพย์ มาเปน็ อรยิ ทรัพย์
อยา่ งอาหารตา่ งๆ ท่ีมาถวายนี้ ท่านสอนใหร้ ู้จกั เสยี สละ ไม่ยึดติด
สละออกไป ท่านฉลาด ท่านให้สละออกไป แล้วแปลงเป็นบุญ
กลับมา ใหล้ ดความตระหน่ี
ความดีท่ีเราทำ� ไม่วา่ มาก ว่าน้อย ขอใหต้ ง้ั ใจท�ำ แลว้ ความดี
นแ่ี หละ จะชว่ ยเรา ปญั หาตา่ งๆ อปุ สรรคตา่ งๆ ถา้ เราทำ� ความดแี ลว้
ความดจี ะช่วยให้เรามที างออก เรอ่ื ง CICU ก็ยงั ขาดอีกมาก แตก่ ม็ ี
ทางไปเร่ือยๆ บุญกุศลจะตามสง่ เราไปทกุ ภพชาติ ทา่ นใหช้ ว่ ยคน
ทเ่ี ราไมร่ จู้ ัก
ปจั จุบนั ธรรม ถ้าเราอดั เทป แลว้ เอาไปฟัง ก็ไม่ใช่ปัจจุบัน
อรยิ สจั สตปิ ฏั ฐาน เสมอื นเปา้ หมายและอาวธุ สว่ นมากเราเลง็
ไม่ถูกเป้า
บุพการี ถึงแม้ท่านจะเป็นอย่างไร ก็ให้ยกไว้ พระพุทธเจ้า
ไมต่ เิ ตยี นอามสิ บชู า แตส่ รรเสรญิ ปฏบิ ตั บิ ชู า วนั หนงึ่ คนื หนงึ่ ใหน้ กึ
84
ถึงท่านให้มากๆ (พระพุทธเจ้า) ถ้าใครได้ท�ำความดี อย่างท่าน
ก็ได้เป็นพระพุทธเจ้าทุกคน แต่ท�ำยาก ที่ใครจะท�ำได้ครบท้ัง
๑๐ ประการ เหมือนคนๆ หน่ึงท่ีอยู่ท่ามกลางเปลวเพลิงที่ร้อน
แต่กล้าหาญ เดินข้ามไปจนถึงขอบจักรวาล บางคน เจออุปสรรค
ก็ล้ม แล้วกท็ ้อถอย ลม้ เลกิ
เพยี รทำ� ความดใี ห้เกิดข้ึน อะไรทไ่ี มด่ ี ให้ละเวน้ ดใี ดยังไมม่ ี
ก็ทำ� ความดีทอี่ ยู่แล้ว ให้ต้งั มัน่
ทำ� อะไรใหม้ คี วามตงั้ ใจ เมอ่ื มคี วามตงั้ ใจ กจ็ ะมสี ติ มสี ตกิ จ็ ะ
มีปญั ญา จงทำ� ตนเหมอื นคนเลี้ยงโค คือจะได้ด่ืมนมโค
มีหิริโอตตัปปะ ความไม่ดี แม้เป็นความคิด ก็ละอาย
ตัดมันไป
พระอาจารยบ์ ัณฑติ สปุ ณฑฺ ิโต
85
อาจารยิ รำ� ลกึ ๑๒
สมบตั ิเราแทอ้ ยู่ท่ใี จเรา
ธรรมะทีท่ า่ นท้งิ รอยไวใ้ นใจลกู ลูกจะเดนิ ตามรอยนั้นไป ไม่วา่
จะช้า จะเรว็ ลกู ขอตามรอยไปจนสุดทางทที่ า่ นเมตตาสั่งสอน
เรือ่ งการแอบอัดธรรมะของทา่ น
ท่านพระอาจารย์เคยเทศน์เร่ืองการอัดเทปไว้คร้ังหน่ึงว่า
อาจารยถ์ ึงไมอ่ ยากให้อัดอะไรตา่ งๆ สิง่ ทเี่ ปน็ สมบัติเราแท้ มันต้อง
อยทู่ ใี่ จ ตัวท่ีเขา้ ไปอยทู่ ใ่ี จน่ันนะสมบัติแท้ ตวั สญั ญาเอาประมาณ
ไม่ได้ ถงึ จะฟังรทู้ ุกกิทกุ กีกต็ าม มนั ก็ไมใ่ ชข่ องเรา ไมใ่ ช่ มนั จะอา่ น
ไดท้ ั้งหมดทง้ั มวลกต็ าม จ�ำได้หมดก็ไมใ่ ชข่ องเรา ไมใ่ ช่ มนั เปน็ การ
ฟงั ธรรมะ ถา้ ฟงั รจู้ กั ฟงั ตง้ั จติ ไวด้ จี ะไดป้ ระโยชน์ ไดป้ ระโยชนม์ ากๆ
จติ เราจะตงั้ ใหม้ นั ถกู มนั ยาก ขอใหต้ งั้ จติ ไวใ้ หด้ แี ลว้ มนั กจ็ ะถอนขนึ้
ทกุ อยา่ ง ความรสู้ กึ มนั ถอนลงไป ถอนลงไป ทา่ นไมไ่ ดก้ งั วล ทา่ นไมไ่ ด้
กงั วลเรอื่ งการอัดน่ันนะ ฟงั ไปปุบ๊ มันเขา้ ไป เข้าไปในจิตไปเปล่ยี น
แลว้ มันอยู่ มันอยู่นาน มนั เขา้ ไปน่ี เราตอ้ งต้งั จิตให้สงบ ตั้งจติ ให้
มัน่ คง ให้ดี
และอกี ตอนหน่งึ ทา่ นก็ย้ำ� วา่
ตรงนแ้ี หละกค็ อื การฟงั ทตี่ งั้ จติ ไวใ้ หด้ แี ลว้ กจ็ ะเกดิ ความเขา้ ใจท่ี
แจม่ แจง้ ขน้ึ ทกุ ระยะๆ สตเิ ราตงั้ อยใู่ นธรรมะ ไมเ่ หมอื นการทเ่ี ราไป
เปดิ ฟงั ทหี ลงั มนั คนละแบบ มนั คนละแบบเลย มนั เหมอื นอาหารท่ี
มันผา่ นไปแล้ว ผา่ นไปแลว้ เปน็ เร่อื งเฉพาะหน้า เปน็ เรอ่ื งปัจจุบนั
86
ไอน้ ี่มนั เปน็ อาหารสดๆ ร้อนๆ เรอื่ งเหตุเรื่องผล เรอ่ื งปัจจุบนั จติ
ปจั จุบนั ธรรม ขณะๆ เขา้ ไปไดร้ ับรแู้ ละก็แก้กันตรงนัน้ ตรงน้ันเลย
เป็นเร่ืองของเหตุปจั จยั ทพ่ี อดี เหมาะสมขณะนั้น
แต่นี้เรา ถึงเราไปเปิดใหม่ เหตุปัจจัยมันต่างกัน ต่างกัน
อีกแบบหนึ่ง ได้อยู่น่ะได้ ได้ แต่จะลดหลั่นกันไป ลดหล่ันกันไป
แต่สุดยอดที่สดุ กค็ ือ น่ีสดๆ ร้อนๆ นี่คอื สุดยอดทส่ี ุด ตง้ั จติ เอาไว้
ใหถ้ กู ต้งั จติ เอาไวใ้ หด้ ี แล้วเหตุผลที่ท่านแสดง มันจะเหมาะกนั อีก
ไม่เหมาะกับเวลาอื่น ไปแล้วความเปลี่ยนแปลงของแต่ละกาล
แต่ละโอกาส น้อมจิตไปก็คนละแบบอีก คนละแบบ ความรู้สึก
ไมเ่ หมอื นเรามาฟงั นี่ พอเราฟงั เทศนห์ ลวงปู่ แตก่ อ่ นเราอยกู่ บั ทา่ น
เราฟงั พอทา่ นลว่ งไปแลว้ มาเปดิ ของทา่ นฟงั มนั ยงั ไง ยงั ไงไมร่ ู้ ยงั ไง
มันเหลือแต่เสียงท่าน แต่ก่อนน้ีมีท่านจริงๆ มีกิริยาท่านจริงๆ
มเี หตแุ วดลอ้ มทา่ นจรงิ ๆ มนั พรอ้ มบรบิ รู ณ์ พรอ้ มบรบิ รู ณ์ ศรทั ธาท่ี
เราพากเพยี รมาเพอื่ จะมากราบท่าน มาไหวท้ า่ น มาทำ� บญุ ท�ำทาน
กับท่าน เวลาที่พอเหมาะ
น่ีแหละก็คือ ผลมันถึงต่าง และบางอย่างท่ีท่านพูดออกไป
ถา้ คนไมร่ จู้ กั เอาไปตคี วาม บางทกี เ็ ปน็ โทษอกี ไมร่ เู้ รอื่ งอกี เปน็ โทษ
กบั เขาอกี บางทเี ราไปอยกู่ บั ครบู าอาจารยบ์ างองคท์ า่ นถงึ ไมใ่ หอ้ ดั
ไมใ่ หอ้ ัด ไม่ให้อดั
บางทีคนไปตีความแล้วเป็นโทษ หรือว่าท่ีท่านพูดกับอะไร
ของทา่ น พอออกไปแลว้ บางทคี นขา้ งนอกฟงั กอ็ กี แบบหนง่ึ เพราะ
ฟงั กนั ในฐานะของอาจารยก์ บั ลกู ศษิ ย์ มนั อกี แบบหนง่ึ อกี แบบหนงึ่
พระอาจารย์บณั ฑติ สปุ ณฺฑิโต
87
แต่ด้วยความอยากท่ีจะให้เพื่อนๆ กัลยาณมิตรในกลุ่มได้รับ
ฟงั พระธรรมเทศนาของทา่ น และความท่ไี มส่ ามารถตง้ั จิตฟงั ธรรม
ให้ถูกให้พอดีได้ อีกทั้งเพื่อตนเองจะได้ทบทวนส่ิงที่ท่านเทศน์ไว้
จงึ ไดท้ ำ� การแอบอดั ธรรมะขณะทที่ า่ นเทศน์ ทงั้ ๆ ทท่ี า่ นไมอ่ นญุ าต
ให้อัด (จะมีอยู่บางกัณฑ์เท่าน้ันที่ท่านอนุญาตให้อัด) ต่อมาภาย
หลงั ครบู าอาจารยท์ เ่ี คารพองคห์ นง่ึ ไดเ้ คยปรารภถงึ เรอื่ งการแอบอดั
หรอื การแอบถา่ ยรปู วา่ เปน็ การผดิ ศลี เพราะทา่ นไมอ่ นญุ าตแตเ่ รา
ฝนื ท�ำลงไปกเ็ ปน็ การละเมิดในองค์ทา่ น ตงั้ แตน่ นั้ เปน็ ตน้ มาลกู เลย
ไมก่ ลา้ แอบอดั อกี ตอ่ ไป ลกู ตอ้ งขอขมาในกรรมอนั ลว่ งเกนิ อนั นต้ี อ่
องคท์ ่านดว้ ย (ถึงแม้ว่าพวกลูกจะอาศยั พระธรรมเทศนาทีแ่ อบอัด
นนั้ มาทำ� หนงั สอื รอยธรรม สปุ ณฑฺ โิ ต ซงึ่ ไดพ้ มิ พแ์ จกไวใ้ นงานกต็ าม
ถ้าไม่มีบทธรรมค�ำสอนขององค์ท่านท่ีได้แอบอัดเอาไว้ หนังสือ
เลม่ นนั้ จะไม่สมบรู ณ์เลย)
ธรรมะของพระพุทธเจ้าที่ท่านน�ำมาย่อยมาบอกมาสอนก็ไม่มี
กาลไมม่ เี วลา ทา่ นมกั จะวา่ การฟงั ทด่ี ตี อ้ งเปน็ ปจั จบุ นั ปจั จบุ นั ธรรม
แตก่ ารไดม้ โี อกาสไดย้ นิ ไดฟ้ งั อกี ครงั้ จะทำ� ใหศ้ ษิ ยเ์ ขา้ ใจในขอ้ อรรถ
ข้อธรรมนั้นมากข้นึ เพราะด้วยปญั ญาอันน้อยนิดของศษิ ย์
เรอ่ื งความประมาท
ทท่ี า่ นเคยเทศนไ์ วว้ า่ เวลาเราไปวดั ทา่ น ความรสู้ กึ มนั ผดิ กนั เยอะ
ระหวา่ งทที่ า่ นยงั อยู่ กบั เวลาทที่ า่ นลว่ งไป ความรสู้ กึ มนั ไมเ่ หมอื นนะ
ถงึ แมเ้ ราจะมรี ปู เหมอื นทา่ นอยู่ ความรสู้ กึ ทม่ี นั รสู้ กึ วา่ ทา่ นจากเราไป
รสู้ กึ วา่ เหมอื นกบั เราสญู เสยี อะไรตา่ งๆ ไป ความมชี วี ติ ชวี ากด็ ี หรอื
88
ความกระปร้ีกระเปร่าก็ดี หรือความแชม่ ชน่ื ในใจมันกไ็ ม่เหมอื นกับ
ทที่ า่ นมชี วี ิตอยู่
ทา่ นถงึ ขนาดเคยเทศนว์ า่ ชวี ติ เรากย็ งั ไมแ่ นเ่ หมอื นกนั จะลว่ งไป
เมือ่ ไหร่ เหน็ ๆ กันอยอู่ ยา่ งน้ีต่อไปก็ยงั ไมแ่ น่ รา่ งกายสงั ขารต่างๆ
มันก็แปรปรวนตลอด เราอยู่ด้วยความไม่ประมาทนี้เป็นประโยชน์
ท่ีสดุ
อนจิ จา ลกู ศษิ ย์กย็ ังประมาทมากอยู่ดี มันปรากฎชดั ในใจของ
ลูกศิษย์ทุกคน โดยเฉพาะอย่างย่ิงตัวลูกเอง เพราะหลังหลวงตา
พ่อแม่ครูบาอาจารย์ที่ลูกเคารพรักเทิดทูน และครูบาอาจารย์อีก
หลายๆ องคท์ ล่ี กู เคารพรกั ทา่ นลว่ งไปแลว้ ลกู กห็ วงั พง่ึ พระอาจารย์
หมอ ให้เปน็ ทพ่ี ึ่งพาใหล้ ูกไดพ้ ัฒนาดวงจติ ดวงใจนใ้ี ห้ย่ิงๆ ข้นึ ไปได้
แต่เสียดายท่ีลูกในขณะท่ีได้กราบไหว้ท่านเป็นอาจารย์ก็ยังไม่รู้
เดียงสาทางธรรมมากพอท่ีจะเข้าใจส่ิงที่ท่านพร�่ำสอน ไม่ระลึกรู้
ความนัยอะไรเลย ยังประมาทว่าพระอาจารย์อายุยังน้อยต้องมี
เวลาอบรมลูกและลูกศิษย์คนอ่ืนๆ อีกนาน ใครเลยจะคิดว่าสิ่งที่
ท่านเตือนกลับเป็นอายุขัยของท่านเอง อนิจจัง ไม่เที่ยง อนัตตา
ไมส่ ามารถควบคุมอะไรได้ และทุกขัง เปน็ ทกุ ขจ์ ริงๆ
เร่ืองความพอดที ่ีแต่ละคนเป็นอยู่ เจออยู่ โดนอยูก่ ็ตาม
ทา่ นมักสอนเสมอ ทา่ นใหค้ ิดว่ามนั เป็นของๆ เรา เราตอ้ งทำ�
มาก่อนจงึ โดนเชน่ น้ี แต่ละคนกจ็ ะไมเ่ หมือนกนั มนั เปน็ ความพอดี
ของแตล่ ะคนของใครกข็ องใคร ทา่ นจงึ เนน้ ใหท้ ำ� ตามทพ่ี ระพทุ ธเจา้
ทา่ นทรงสอน คอื ใหเ้ พยี รละบาป ทำ� แตค่ วามดี แลว้ ทำ� จติ ใหส้ ะอาด
พระอาจารยบ์ ัณฑิต สุปณฺฑิโต
89
บริสุทธ์ิ แล้วทุกอย่างมันจะเปล่ียนไปเอง ให้เราน่ิงอยู่ รู้อยู่ ดูอยู่
เฉพาะตวั ท�ำแตก่ รรมดี ละบาป ไมท่ �ำกรรมไมด่ ไี ปเร่อื ยๆ มอี ะไร
มากระทบก็ให้รู้อยู่ว่าเป็นผลของเราที่เราเคยท�ำมาในอดีต หรือ
ปัจจบุ ัน ใหย้ อมรบั ไป ถา้ เป็นผลดีก็ใหร้ ู้ว่า ผลดจี ากกรรมดีของเรา
กำ� ลงั ส่งผล ถ้าไมด่ ีกย็ อมรบั มนั ไปดว้ ยความเข้าใจ นงิ่ อยู่ รูอ้ ยู่ ท่าน
เน้นเสมอวา่ การทำ� ความดี จะต้องไดร้ บั ผลแน่นอน ขอให้มั่นใจได้
เช่ือใจได้ ถงึ แมจ้ ะยงั ไม่เป็นผลก็อยา่ คดิ ว่า กรรมดีจะไม่มผี ล ระวงั
กิเลสจะมาหลอกให้เราหยุดท�ำกรรมดี กรรมดีย่อมส่งผลแน่นอน
ไมเ่ ป็นอืน่ ผลของกรรมดีไมม่ ีวนั สญู หายไปไหนแน่ ผลของกรรมดี
จะตามรกั ษาเราเสมอ ท่านเคยกล่าววา่ ค�ำวา่ กรรมหรือการกระท�ำ
ที่เราท�ำไว้แล้วน้ีมันจะตามพวกเราไป เป็นรอยล้อเกวียน ติดตาม
เราไปอย่างนั้นตลอด เมื่อได้จังหวะ เมื่อได้โอกาสมันก็จะให้ผล
สมควรกบั เหตุทเี่ ราท�ำไว้
เร่ืองนี้ท่านไม่ได้แต่พร�่ำสอนศิษย์เท่าน้ัน แต่ท่านท�ำเป็นแบบ
อย่างให้ลูกศิษย์เห็นชัดประจักษ์ตาประจักษ์ใจ ท่านท�ำกรรมดีจน
ถึงที่สุด หมดกิจแล้ว ส่วนเมื่อกรรมไม่ดีจะตามมาให้ผลก็ตาม
ทา่ นนอ้ มรับโดยดุษฎี ท่านท�ำให้ลูกศิษยเ์ ห็นตามทท่ี า่ นเคยสั่งสอน
เสมอมา ลกู หนท้ี ีด่ ี ยอ่ มไม่บิดพลวิ้ หรอื คา้ งช�ำระเมอ่ื ถงึ เวลาที่ต้อง
ใช้หน้ีคืนให้กับเจา้ หน้ี ซึ่งมนั ก็มีผลเพยี งร่างกายทา่ นเทา่ นั้น ไม่เข้า
ไปถงึ จิต
ท่านมักกล่าวเสมอว่า วิชาพระพุทธเจ้าวิเศษท่ีสุด เรียนและ
ปฏิบัติแล้วมีวันจบ แต่วิชาทางโลกไม่มีที่ส้ินสุด มีมาใหม่อยู่เรื่อย
90
ทฤษฎวี ชิ าอะไรตา่ งๆ แถมบางอย่างยงั หกั ล้างของเก่าอีกตา่ งหาก
เรียนวชิ าทางโลก เรยี นอย่างไรก็ไม่จบ
เรื่องความกตัญญขู ององคท์ า่ นต่อคณุ โยมยายทองค�ำ
ท่านได้เอาโยมยายมาอยู่วัดตอสีเสียดด้วย ท่านเคยเล่าว่า
คณุ ยายรกั ทา่ นมาก คณุ ยายจะเปน็ คนเลย้ี งดู ไปรบั ไปสง่ ทโี่ รงเรยี น
ทา่ นนอนมงุ้ เดยี วกบั ยายดว้ ย สว่ นโยมแมจ่ ะเปน็ คนทำ� งานทกุ อยา่ ง
เพื่อหารายได้ให้ครอบครัว สมัยก่อนท่านยังเป็นนักเรียนตัวน้อย
เวลาขึน้ รถเมล์ คณุ ยายจะตะโกนเสยี งดงั เรยี กท่าน เลยท�ำใหท้ า่ น
ไดท้ นี่ ง่ั อยู่บ่อยๆ (จ�ำไม่ได้ว่าท่านบอกว่าอายหรอื ไมอ่ าย แต่ทา่ น
ก็จะเดนิ กม้ หน้าไปนั่งนะ)
ทกุ เชา้ กอ่ นสวา่ งและตอนเยน็ ทา่ นจะแวะมาหา มาดแู ลโยมยาย
เรอ่ื งการจดั เตรียมยาตา่ งๆ รวมทั้งเร่อื งอืน่ ๆ และเม่อื กอ่ นจะออก
ไปบณิ ฑบาตทา่ นกจ็ ะแวะมาใหค้ ณุ ยายใสบ่ าตรกอ่ นเสมอ และเมอื่
ศษิ ยม์ โี อกาสไดไ้ ปปฏบิ ตั ธิ รรมทว่ี ดั ตอสเี สยี ด จงึ ไดข้ อโอกาสทา่ นทำ�
ในเร่ืองตรงนี้แทน เพราะทุกเช้านอกจากกิจส่วนองค์แล้ว ท่านจะ
ต้องออกมาจัดแจงทุกอย่าง สถานท่ีท่ีศาลาฉันและศาลาของ
ญาตโิ ยมรบั ประทานอาหาร จดั เครอ่ื งใชส้ อยตา่ งๆ ทงั้ ของพระและ
ของญาตโิ ยมทจี่ ะมาวดั มาถวายจงั หัน มาทำ� บญุ และรับประทาน
อาหาร ปดั กวาดลานวดั ฯลฯ กอ่ นออกไปบณิ ฑบาต ทวี่ ดั สว่ นใหญ่
จะมเี พยี งทา่ นและหลวงปสู่ ขุ ซง่ึ กม็ อี ายมุ ากแลว้ ภาระตา่ งๆ ภายใน
วดั ท่านจึงเปน็ ผู้ดแู ลเองทง้ั ส้ิน ท่านจึงมีงานมกี ารต่างๆ มาก และ
ในระยะหลังท่านต้องออกไปกิจธุระข้างนอกทุกวัน อยู่เบ้ืองหลัง
พระอาจารยบ์ ัณฑติ สปุ ณฑฺ ิโต
91
เพอ่ื ชว่ ยงานหลวงปจู่ นั ทรศ์ รี จนทฺ ทโี ป พระอปุ ชั ฌายจ์ ารยข์ องทา่ น
สรา้ งพระบรมธาตเุ จดยี ์ และหอเมตตาธรรมบำ� บดั วกิ ฤต (CICU) โรง
พยาบาลอดุ รธานี
เร่ืองเบาหวานของคุณยาย มักจะมีเร่ืองเอาเถิดกับท่านเสมอ
เพราะคณุ ยายชอบแอบทานของหวาน ท�ำให้คุมน�้ำตาลไมค่ ่อยอยู่
ต้องคอยปรบั ยาฉดี กันประจำ� จำ� ไดม้ อี ยคู่ รงั้ หนึ่ง คณุ ยายแอบเก็บ
นอ้ ยหนา่ ซอ่ นเอาไวร้ อใหส้ กุ เผอญิ วา่ กฏุ ขิ องคณุ ยายมตี น้ นอ้ ยหนา่
ปลกู ไวเ้ ยอะ ลกู ดกและงามมาก พวกเราไปเกบ็ ไมท่ นั ทา่ น ทา่ นแอบ
เก็บไปก่อน และมีอยู่อีกคร้ังที่คุณยายแอบกินข้าวเหนียวมาก
ไปหนอ่ ย พอตกตอนเยน็ ศษิ ยก์ ไ็ ปตรวจระดบั นำ�้ ตาลเพอื่ เตรยี มยา
ฉีดอินซูลินตามปกติ ปรากฏว่าระดับน�้ำตาลข้ึนสูงมากๆ ผิดปกติ
ทำ� ใหต้ กใจมาก ตอ้ งรบี วง่ิ ไปหาทา่ นอาจารย์ หาเสยี ทว่ั วดั เพอื่ ถาม
ทา่ นถึงระดับยาฉีดท่ีเหมาะสม อกี ครัง้ ก็ตอนคณุ ยายระดับนำ้� ตาล
ตำ่� มากๆ กว็ ง่ิ หาทา่ นอกี จงึ กราบเรยี นทา่ นขอความรเู้ บอื้ งตน้ และ
เกณฑ์การฉีดยาให้คุณยาย ในตอนหลังท่านเลยเรียกไปให้ความรู้
แนวทาง และเกณฑก์ ารฉดี ยาครา่ วๆ ไว้ จะไดแ้ กไ้ ขปญั หาไดท้ นั การณ์
ในเร่ืองเบาหวานนี้ ท่านพยายามคุมเบาหวานของคุณยาย
ให้อยู่ในเกณฑ์ ๑๕๐-๑๘๐ ท่านเล่าอีกว่าสมเด็จพระญาณสังวร
สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฒฺ โน) ก็คมุ
เบาหวานอยทู่ ่ี ๑๕๐-๑๘๐ ถา้ เกินจากนี้ก็อนั ตราย ถ้าน้อยกวา่ น้ีก็
อาจจะชอ็ ค เบาหวานถา้ เกนิ ควบคมุ ไมไ่ ดจ้ ะทำ� ลายตบั ไต รา่ งกาย
ไมส่ บายถา้ คมุ เบาหวานไมไ่ ด้ เบาหวานคอื ใหเ้ บาหรอื งดของหวาน
ใหน้ อ้ ย ใหอ้ ยใู่ นวงจำ� กดั แตเ่ พราะความอยากและความเคยชนิ กบั
92
มันมานาน ชอบ กอ็ ดไม่ได้ กก็ ินลงไป พอกนิ ไปมนั กส็ ขุ นดิ หน่อย
แตร่ า่ งกายกจ็ ะไมส่ บายเนอ้ื ไมส่ บายตวั ตอ่ ไป ทา่ นถงึ วา่ มนั เปน็ สขุ
แต่มที ุกข์ตามมา เบาหวานกต็ อ้ งคุมของแสลง
ทา่ นยอ้ นกลบั มาสอนวา่ ความอยากของพวกเรากต็ อ้ งควบคมุ
บังคับไว้ให้พอประมาณ และท�ำไปจนในที่สุด ไม่มีความอยาก
หลงเหลืออยเู่ ลย แต่ตอนแรกกย็ ังทำ� ไมไ่ ด้ กใ็ ห้ควบคุมอย่าให้เกิน
ขอบข่าย เอาศลี สมาธิ ปัญญา มาคมุ