The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบฯ-รายงานเมื่อ-30-เม.ย.-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KM64.cdd, 2021-05-11 00:03:22

รายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบฯ-รายงานเมื่อ-30-เม.ย.-64

รายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบฯ-รายงานเมื่อ-30-เม.ย.-64



คำนำ

กรมการพัฒนาชุมชน เป็นส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ สังกัดกระทรวงมหาดไทย มีภารกิจ
สำคัญในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจ
ฐานรากให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ เพื่อให้เป็นชุมชนเข้มแข็ง โดยมีผู้นำชุมชน อาสาสมัคร
กลุ่ม/องค์กร เครือข่ายและประชารัฐ เป็นกลไกการพัฒนาการบริหารจัดการชุมชนและเศรษฐกิจ
ฐานรากอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ คือ “เศรษฐกิจฐานรากมั่นคง
และชมุ ชนพ่ึงตนเองได้ภายในปี ๒๕๖๕”

การขับเคลื่อนงานของกรมการพัฒนาชุมชน มีพันธกิจหลักในการทำให้ประเทศไทยบรรลุ
เป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เพื่อให้ประเทศไทยบรรลุ
วิสัยทัศน์ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ในการสร้างความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว
ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงหรือทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้า
เจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชปณิธานที่จะ สืบสาน รักษา และต่อยอด โดยได้พระราชทานโครงการ “โคก หนอง
นา แหง่ นำ้ ใจและความหวัง” เพื่อให้เกดิ ประโยชน์สขุ แก่พสกนกิ รชาวไทย

กรมการพัฒนาชุมชน ได้จัดทำเอกสารนี้ขึ้น เพื่อสรุปข้อมูลผลความก้าวหน้าการดำเนินงานโครงการ
พฒั นาพืน้ ทีต่ ้นแบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ในระยะ 6
เดือน นับจากเริ่มการดำเนินโครงการฯ ในเดือนพฤศจิกายน 2563 – เดือนเมษายน 2564 งบเงินกู้
เพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟู เศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) มวี ัตถุประสงคเ์ พื่อสง่ เสริมการเรียนรู้การน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ประยุกตส์ ู่การปฏิบัติรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ด้วยการพัฒนาพ้ืนที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นา
โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระดับตำบล และระดับครัวเรือน และเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ท้องถิ่นและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร แรงงานและบัณฑิตจบใหม่ กลุ่มแรงงานที่
อพยพกลบั ท้องถ่ินและชุมชนที่ไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์ในชว่ งวกิ ฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) และมีเป้าหมายในการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี สร้างประโยชน์และสร้างความสุข
แกพ่ น่ี อ้ งประชาชนได้อย่างยง่ั ยนื

(นายสทุ ธิพงษ์ จุลเจริญ)
อธิบดกี รมการพัฒนาชมุ ชน

5 พฤษภาคม ๒๕๖4

สารบัญ ข

คำนำ หน้า
สารบญั ก
บทสรุปผู้บริหาร ข
ความเป็นมาโครงการพัฒนาพ้นื ที่ตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ค
ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” 1
ขนั้ ตอน/วิธกี ารดำเนินโครงการฯ
ความก้าวหน้าการดำเนินกจิ กรรมตามโครงการฯ 2
การประชาสมั พันธก์ ารดำเนนิ งานโครงการฯ 6
ความประทบั ใจ ของผู้มสี ่วนร่วมดำเนนิ โครงการฯ 7๔
7๘



บทสรุปผบู้ รหิ าร

กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มาเป็นหลักในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง
โดยการพัฒนาคนให้พึ่งตนเองมีความเป็นเจ้าของและบริหารจัดการโดยชุมชน พัฒนาหมู่บ้านหรือชุมชน
ให้มีวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงและเป็นสังคม “อยู่เย็น เป็นสุข” โดยกรมการพัฒนาชุมชนร่วมกับ
มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคุณทหารลาดกระบงั และภาคเี ครือข่ายภาคส่วนตา่ ง ๆ
ทั้ง 7 ภาคี น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอน ตามกลไกการขับเคลื่อน
ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ รเพื่อการปฏิรูปประเทศ
โดยใช้หมู่บ้านเปน็ ฐานของการพัฒนา มงุ่ สร้างภูมคิ ุม้ กนั ให้ทุกครวั เรือนและพฒั นาคนให้มีความรู้และปรับตัวให้
สามารถดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข มีอาชีพ สร้างรายได้ ท่ามกลางวิกฤตโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ด้วยการจัดทำโครงการท่ีน้อมนำแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริกว่า 40 ทฤษฎี
ที่ทรงพระราชทานไว้ให้ในการแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมมาประยุกต์กับแนวคิด
การพฒั นาพน้ื ทแ่ี ละการออกแบบเชิงภมู สิ งั คมไทยเพื่อการพ่ึงตนเองและรองรบั ภยั พบิ ัตใิ นรูปแบบ “โคก หนอง นา
โมเดล” สร้างการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เหมาะสมกับหมู่บ้านในภูมิสังคมต่าง ๆ ผ่านการทำงานในรูปแบบการจ้างงาน
และการร่วมกันลงแรงด้วยการสนับสนุนวัสดุพื้นฐานและงบประมาณและบูรณาการการท ำงานจากภาคี
ภาคส่วนต่าง ๆ เพอื่ สรา้ งงานสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนและชุมชน ผา่ นโครงการพัฒนาพืน้ ท่ตี ้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” งบประมาณ ๔,๗๘๗,๙๑๖,๔๐๐ บาท
(สี่พันเจ็ดร้อยแปดสิบเจ็ดล้านเก้าแสนหนึ่งหมื่นหกพันสี่ร้อยบาทถ้วน) ดำเนินการในพื้นที่ ๗๓ จังหวัด ๕๗5
อำเภอ ๓,๒๔๖ ตำบล ๒๕,๑๗๙ ครัวเรือน มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์สู่การปฏบิ ัติรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ด้วยการพัฒนาพื้นที่เรยี นรู้ชมุ ชนต้นแบบ
“โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระดับตำบล และระดับครัวเรือน และเพื่อฟื้นฟู
เศรษฐกิจท้องถิ่นและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร แรงงานและบัณฑิตจบใหม่
กลมุ่ แรงงานทอี่ พยพกลับทอ้ งถิ่นและชุมชนท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์ในช่วงวิกฤตการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ
เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19) มีการดำเนินการใน 7 กิจกรรม ประกอบด้วย 1) ฝึกอบรมเพิ่มทักษะ

ระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ดำเนินการฝึกอบรม
จำนวน 357 รุ่น 35,015 คน จัดฝึกอบรมแล้วจำนวน 327 รุ่น 30,503 คน 2) สร้างพื้นที่เรียนรู้ชุมชน
ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Community Lab Model for quality of life : CLM) ระดับตำบล
และ พัฒนาพื้นท่ีครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Household Lab Model for quality of life : HLM)
ระดับครัวเรือน รวม 25,179 แปลง อยู่ระหว่างดำเนินการทั้ง 73 จังหวัด มีแปลงที่ดำเนินการแล้วเสร็จ
จำนวน 925 แปลง อยู่ระหว่างดำเนินการขุดปรับแปลง 4,665 แปลง และดำเนินการทำสัญญาแล้ว
จำนวน 8,740 แปลง ใน 55 จังหวัด 3) สร้างงานสร้างรายได้รายเดือน ให้แก่ เกษตรกร บัณฑิตจบใหม่
กลุ่มแรงงานที่อพยพกลับท้องถิ่นและชุมชน เดือนละ 9,000 บาท มีจำนวนลูกจ้างเหมาบริการที่ดำเนินการ
จ้างงาน จำนวน 9,170 ราย 4) กระตุ้นการบริโภคภาคครัวเรือนและเอกชน ผ่านกิจกรรมการพัฒนาและ
สนับสนุนพื้นที่ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (HLM) ระดับครัวเรือน สนับสนุนการสร้างพื้นท่ี
ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (HLM) ระดับครัวเรือน ผ่านการจัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาเอาม้ือ
สามัคคี จำนวน 24,842 พื้นที่ ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการทั้ง 73 จังหวัด 5) บูรณาการร่วมพัฒนาพื้นที่
ระดับตำบล เพื่อสร้างฐานเรียนรู้เพื่อการพึ่งตนเอง จำนวน 9 ฐานเรียนรู้ เชื่อมโยงกับพื้นที่ครัวเรือนต้นแบบ
การพัฒนาคุณภาพชีวิต (HLM) ระดับครัวเรือน เป้าหมาย 337 แปลง ในพื้นท่ี 31 จังหวัด โดยจังหวัด



อยู่ระหว่างการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุสำหรับสร้างฐาน และวัสดุประจำฐาน 9 ฐาน 6) พัฒนาการสร้าง
มาตรฐานผลผลิต การแปรรูปและการตลาดตามมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย เป็นการฝึกอบรมการสร้าง
มาตรฐานผลผลิต การแปรรูป และการตลาดตามมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทยร่วมกับมูลนิธิรักษ์ดินรักษ์น้ำ
(Earth Safe) มีการจัดฝึกอบรมแล้วจำนวน 2 รุ่น จำนวน 256 คน 7) สร้างโปรแกรมและระบบฐานข้อมูล
พัฒนาระบบ Digital รองรับ Economy ดำเนินการโดยสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
(GISTDA) มีการจัดทำข้อมูลแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดสูงต้นฉบับ บันทึกภาพ ปี 2560 – 2562
อยู่ระหว่างประสานงานการถ่ายภาพดาวเทียมรายละเอียดสูงกับพันธมิตรต่างประเทศ และการจ้างเหมา
ทำข้อมูลแผนที่ฐาน (Base Map) และการสำรวจจัดเก็บข้อมูลและจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศและแผนท่ี
ภูมิประเทศด้วยอากาศยานไร้คนขับ พื้นที่ 16 จังหวัด 100 แปลง มีการจ้างบุคลากรประจำโครงการจำนวน
33 คน รวมถึงจัดกิจกรรมอบรมส่งเสริมการใช้ประโยชน์แบบมีส่วนร่วม (Co-Creation) กลุ่มเป้าหมาย
การอบรม จำนวน 2,420 คน ดำเนินการแล้ว จำนวน 981 คน การดำเนินงานโครงการมีผลการใช้จ่ายเงิน
สะสม ณ วันที่ 30 เมษายน 2564 จำนวน 1,620,766,390 บาท ร้อยละ 33.85 คงเหลือ
3,167,150,009 ร้อยละ 66.15 %



โครงการพัฒนาพืน้ ท่ีตน้ แบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา”

โครงการภายใตแ้ ผนงาน/โครงการทม่ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ฟน้ื ฟูเศรษฐกิจและสงั คม
ตามบญั ชีทา้ ย พ.ร.ก. ใหอ้ ำนาจกระทรวงการคลงั กู้เงินเพอ่ื แก้ไขปญั หาเยียวยา

และฟน้ื ฟูเศรษฐกจิ และสังคมได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาด
ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ พ.ศ. 2563

1. ความเป็นมา
สถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบันต้องเผชิญกับผลกระทบจากวิกฤตการแพร่ระบาด

ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งส่งผลกระทบไปถึงวิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการสาธารณสุข
ด้านการคมนาคมและอื่น ๆ ส่งผลให้เกิดวิกฤตทางสังคมขนาดหนักไปทั่วทั้งโลก รัฐบาลภายใต้การนำ
ของนายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา มีความห่วงใยพี่น้องประชาชน โดยเฉพาะในระดับฐานราก
ของประเทศ จึงกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบ
จากการระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยมีพระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงิน
เพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญ คือเพื่อแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 เพ่ือช่วยเหลือ เยียวยา และชดเชยให้แก่ภาคประชาชน เกษตรกร และผู้ประกอบการ
ซึ่งได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม
ท่ีได้รบั ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019

กระทรวงมหาดไทย มีภารกจิ ในการบำบดั ทกุ ขบ์ ำรงุ สุข พฒั นาคณุ ภาพชีวิตของประชาชนใหม้ ีความสุข
มีความมั่นคง โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการขับเคลื่อนการพัฒนามาตั้งแต่
ปี พ.ศ. 2549 และมอบหมายให้กรมการพัฒนาชุมชน น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน็ หลัก
ในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน เน้นประชาชนเป็นศูนย์กลาง
โดยการพัฒนาคนให้พ่งึ ตนเอง มีความเปน็ เจ้าของและบรหิ ารจัดการโดยชุมชน พฒั นาหม่บู า้ นหรือชุมชนให้มี
วิถีชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพียงและเป็นสังคม “อยู่เย็น เป็นสุข” ท้ังนี้ กรมการพัฒนาชุมชน ร่วมกับมูลนิธิกสิกร
รมธรรมชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และภาคีเครือข่ายภาคส่วนต่าง ๆ
ทั้ง 7 ภาคี น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอน ตามกลไก
การขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา เพื่อการปฏิรูปประเทศ โดยใช้หมู่บ้านเป็นฐานของการพัฒนา มุ่งสร้าง
ภูมิคุ้มกันให้ทุกครัวเรือน และพัฒนาคนให้มีความรู้และปรับตัวให้สามารถดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข
มีอาชีพ สร้างรายได้ ท่ามกลางวิกฤตโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้วยการจัดทำโครงการที่ประยุกต์
การใช้ศาสตร์พระราชาและน้อมนำเอาแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริกว่า 40 ทฤษฎี
ทท่ี รงพระราชทานไว้ให้ในการแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมมาประยุกต์กับแนวคิด
การพัฒนาพ้ืนที่และการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยเพื่อการพ่ึงตนเองและรองรับภัยพิบัติในรูปแบบ
“โคก หนอง นา” สร้างการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เหมาะสมกับหมู่บ้าน ในภูมิสังคมต่าง ๆ ผ่านการทำงาน
ในรูปแบบการจ้างงานและการร่วมกันลงแรงด้วยการสนับสนุนวัสดุพื้นฐานและงบประมาณและบูรณาการ
การทำงานจากภาคีภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้างงานสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนและชุมชน ผ่านโครงการ
พัฒนาพื้นท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

2

งบประมาณ ๔,๗๘๗,๙๑๖,๔๐๐ บาท ดำเนินการในพื้นที่ ๗๓ จังหวัด ๕๗5 อำเภอ ๓,๒๔๖ ตำบล
๒๕,๑๗๙ ครัวเรือน มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ประยุกต์สู่การปฏิบัติรูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ด้วยการพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ “โคก หนอง นา
โมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระดับตำบล และระดับครัวเรือน และเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ
ท้องถิ่นและชุมชนผ่านการสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร แรงงานและบัณฑิตจบใหม่ กลุ่มแรงงานที่อพยพ
กลับท้องถิ่นและชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ในช่วงวิกฤตการแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - 19)

2. ข้ันตอน/วิธกี ารดำเนินงาน
▪ กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ

โคก หนอง นา โมเดล อบรมกลุ่มเป้าหมายในหลักสูตร “การพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง”
หรือ “หลกั สูตรการพัฒนาภูมิสังคมชมุ ชนอย่างย่ังยนื ” หรอื “หลักสตู รการออกแบบพื้นที่และการจัดการพื้นที่
ตามภมู สิ งั คม”

▪ กิจกรรมที่ 2 สร้างพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ระดับตำบลและพัฒนาพื้นที่
ครัวเรอื นตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิตระดับครวั เรือน

1. สร้างพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Community Lab Model for Quality
of life : CLM) ระดับตำบล จำนวน 337 แปลง ( 10 ไร่ 23 แปลง 15 ไร่ 314 แปลง) และพัฒนา
พื้นที่ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Household Lab Model for Quality of life : HLM)
ระดบั ครัวเรอื น จำนวน 24,842 แปลง (1 ไร่ 9,925 แปลง 3 ไร่ 14,917 แปลง )

2. สว่ นกลางจัดสรรงบประมาณ และมอบอำนาจใหจ้ ังหวดั /อำเภอดำเนนิ การเปน็ รายแปลง

▪ กจิ กรรมที่ 3 สร้างงานสรา้ งรายไดร้ ายเดือน ให้แกเ่ กษตรกร แรงงานและบณั ฑติ จบใหม่ กลุ่มแรงงาน
ทอ่ี พยพกลับท้องถิ่นและชุมชน จ้างงานเกษตรกร บณั ฑติ จบใหม่ กล่มุ แรงงานท่ีอพยพกลับท้องถิ่นและชุมชน
ในพ้นื ท่ี CLM 337 ตำบล ๆ ละ 10 คน และในพน้ื ที่ HLM 2,909 ตำบล ๆ ละ 2 คน รวมท้ังสิ้น 9,188 คน

3

▪ กิจกรรมที่ 4 กระตุ้นการบริโภคภาคครัวเรือนและเอกชนผ่านกิจกรรมเอามื้อสามัคคี และสนับสนุน
พื้นที่ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับครัวเรือน สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ สำหรับฝึกปฏิบัติร่วมกัน
ในแปลงของครวั เรือน เพอ่ื การเรยี นรกู้ ิจกรรมโคก หนอง นา จำนวน 24,842 พ้นื ที่ ๆ ละ 3 คร้งั ๆ ละ 20 คน

▪ กิจกรรมท่ี 5 บรู ณาการรว่ มพฒั นาพืน้ ทรี่ ะดับตำบล บูรณาการร่วมพฒั นาพ้นื ท่รี ะดบั ตำบลดว้ ยกลไก 3 5 7
1. 3 ระดับพนื้ ท่ี ไดแ้ ก่ ระดบั ชมุ ชน ระดับจังหวัด ระดบั ประเทศ
2. ผ่าน 5 กลไก ได้แก่ การประสานงานภาคีเครือข่าย บูรณาการแผนงานและยุทธศาสตร์ ติดตาม

ประเมินผล จดั การความรูช้ มุ ชน และการส่ือสารสงั คม
3. ร่วมกับ 7 ภาคีภาคส่วน ได้แก่ ภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคศาสนา ภาคประชาชน ภาคเอกชน

ภาคประชาสังคม และภาคสื่อมวลชน

▪ กิจกรรมท่ี 6 พฒั นาการสร้างมาตรฐานผลผลิต การแปรรูปและการตลาด ตามมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย
ฝึกอบรมการสร้างมาตรฐานผลผลิต การแปรรูป และการตลาดมาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย ร่วมกับภาคเอกชน
เช่น มูลนิธิรักษ์ดิน รักษ์นำ้ (Earth Safe)

▪ กิจกรรมที่ 7 พัฒนาระบบ Digital รองรับ Local Economy ด้วยการสร้างระบบโปรแกรมและ
ระบบฐานขอ้ มูล

1. การจัดหาอปุ กรณ์ และเครอื่ งมือสำหรบั การดำเนินโครงการ
2. การสำรวจเกบ็ ข้อมลู และจัดทำแผนที่ภาพถ่ายดาวเทียมและถา่ ยทางอากาศด้วยอากาศยานไร้คนขับ
3. พฒั นา Platform เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เพือ่ วัดผลสัมฤทธิ์คณุ ภาพชวี ิต ในบรบิ ท โคก หนอง นา โมเดล
4. การฝึกอบรมพฒั นาศกั ยภาพของบคุ ลากร
5. การเพ่มิ ศักยภาพศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาตามศาสตร์พระราชา
6. การศึกษาและวิเคราะห์ปจั จัยข้อมูลด้านเศรษฐกจิ สงั คม และส่ิงแวดลอ้ มเพือ่ วัดผลสัมฤทธิ์คุณภาพชีวิต
ในบรบิ ทโคก หนอง นา โมเดล
7. การจัดซอื้ /จัดหาภาพถ่ายดาวเทยี มรายละเอียดสูง

4

5

แผนการดำเนนิ งานโครงการฯ

กรมการพัฒนาชุมชนอยู่ระหว่างขอปรับแผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายเงิน เนื่องจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้การดำเนนิ งานไม่เป็นไปตาม
แผนการดำเนินงานและแผนการใช้จ่ายเงินที่กำหนดไว้เดิม ทั้งนี้ กรมการพัฒนาชุมชนอยู่ระหว่างเสนอ
การขอปรับแผนต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเสนอเรื่องไปยัง
คณะกรรมการกลน่ั กรองการใช้จ่ายเงนิ กู้ เพือ่ พจิ ารณาดำเนินการในส่วนที่เก่ียวขอ้ งแลว้

6

3. ความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ ณ เดอื นเมษายน 2564
3.1 กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง

รปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล แบ่งการฝึกอบรม จำนวน 3 หลกั สูตร ดังน้ี
1) หลักสูตรสำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนา

ชุมชนอำเภอ จำนวน 648 คน ดำเนินการระหว่างวันที่ 29 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม 2563 จำนวน 7 รุ่น
ดำเนินการ ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน 7 แห่ง ประกอบด้วย ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครนายก
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนสระบุรี ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุดรธานี

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลำปาง ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครศรีธรรมราช และศูนย์ศึกษาและพัฒนา
ชุมชนนครราชสีมา โดยหลักสูตรเน้นกระบวนการเรียนรู้ให้เจ้าหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนการขับเคลื่อน
การน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ โคก หนอง นา
โมเดลในพืน้ ทีเ่ ปา้ หมายไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

2) หลักสูตรพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Community Lab Model
for quality of life : CLM) ดำเนินการครบแลว้ จำนวน 4 รุน่ รวม 323 คน ร่นุ ที่ 1 ระหว่างวนั ท่ี 14 – 18
ธนั วาคม 2563 รนุ่ ที่ 2 ระหวา่ งวันที่ 22 – 26 ธนั วาคม 2563 รนุ่ ที่ 3 ระหว่างวันท่ี 11 – 15 กุมภาพันธ์ 2564
และรุ่นที่ 4 ระหว่างวันที่ 2 – 6 มีนาคม 2564 ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชนนครนายก หลักสูตรเน้นการวางแผน
บูรณาการในพื้นที่ และสร้างความเชี่ยวชาญในการออกแบบพื้นที่เชิงภูมิสังคม โคก หนอง นา โมเดล
เพื่อกลุ่มเป้าหมายสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับครัวเรือน พื้นที่ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิ ต
(Household Lab Model for quality of life : HLM) ได้

7

3) หลักสูตรครัวเรือนพื้นที่ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Household Lab
Model for quality of life: HLM) และนักพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ (ผู้รับจ้างงานตามโครงการฯ)
ดำเนินการฝึกอบรมแล้วจำนวน 316 รุ่น จำนวน 29,532 คน ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน 11 ศูนย์
ศูนย์เรียนรู้ต้นแบบกรมฯ/ศูนย์ภาคีเครือข่าย และพื้นที่อบรมบูรณาการร่วมกับชุมชน/ภาคีเครือข่ายความ
ร่วมมอื ตามหลักบวร หลกั สูตรเนน้ การพึง่ พาตนเอง และฝึกปฏิบัติในมติ ิต่าง ๆ

ผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณในกิจกรรมท่ี 1

คงเหลือ ผลการใช้จ่าย
28.4650 ลบ. 212.1671 ลบ.
(คดิ เป็นรอ้ ยละ 11.83) (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 88.17)

ผลการใชจ้ า่ ย คงเหลอื

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19



20

21

22

23
22

24

จังหวัดสุโขทยั

25

จังหวัดกาญจนบุรี

2๖

3.2 กิจกรรมที่ 2 สร้างพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Community Lab
Model for quality of life : CLM) ระดับตำบล และ พัฒนาพื้นที่ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
(Household Lab Model for quality of life : HLM) ระดบั ครัวเรือน มผี ลการดำเนินงาน ดงั นี้

1) จัดทำแบบรายละเอียดงานปรับปรุงรูปแบบแปลงที่ดิน ตามแบบมาตรฐาน โคก หนอง นา
โมเดลและคู่มอื การใช้แบบมาตรฐานในการทำงานปรับรปู แปลงที่ดนิ โดย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณ
ทหารลาดกระบัง สมาคมศิษย์เก่าวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และชมรมโคกหนองนา วิศวะ
ม. ขอนแกน่

2) ออกแบบขดุ ปรับรูปแบบแปลง เพิม่ เตมิ (แบบ Catalog) จำนวนกว่า 300 แบบ เพื่อนำไปใช้
ในการปรับใช้ตามภูมิสังคมในแต่ละพื้นท่ี และคู่มือการใช้แบบขุดปรับรูปแบบแปลง (เพิ่มเติม) โดย สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สมาคมศิษย์เก่าวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
และชมรมโคกหนองนา วศิ วะ ม. ขอนแก่น

3) กรมการพัฒนาชุมชนประชุมหารือร่วมกับสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เพื่อให้ข้อมูลและ
แนวทางการดำเนินโครงการเพิ่มเติม เพื่อประกอบการจัดทำแนวทางการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพ
การดำเนินงานแผนงานหรือโครงการภายใต้พระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา
และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563
โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา” ณ สำนักงาน
การตรวจเงนิ แผ่นดิน

4) คณะกรรมการการขุดดินและถมดินพิจารณาให้การดำเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เข้าข้อยกเว้นตามพระราชบัญญัติ
การขุดดินและถมดิน พ.ศ. 2543 มาตรา 5 ที่กำหนดใหพ้ ระราชบญั ญัตกิ ารขดุ ดินและถมดนิ พ.ศ. 2543 มิให้บังคับ
แก่การขุดดินและถมดินซึ่งกระทำโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายอื่นที่ได้กำหนดมาตรการในการป้องกันอันตรายไว้
ตามกฎหมายนั้นแล้ว

5) ผลการดำเนินงานขุดปรับและพัฒนาแปลง อยู่ระหว่างดำเนินการทั้ง 73 จังหวัด มีการขุด
ปรับแปลงเรียบร้อยแล้ว 925 แปลง อยู่ระหว่างดำเนินการขุดปรับแปลง 4,665 แปลง และดำเนินการทำ
สญั ญาแลว้ จำนวน 8,740 แปลง ใน 55 จงั หวัด ดังน้ี

2๗

ท่ี จงั หวดั จำนวนแปลง จดั ซ้ือจดั จำ้ ง อยรู่ ะหวำ่ งกำรขดุ ปรบั แปลง ขุดปรบั แปลงเสรจ็ สิ้นแล้ว
PO แล้ว
1 กระบ่ี 971 (แปลง) (แปลง) (แปลง)
2 กำญจนบรุ ี 263
3 กำฬสนิ ธ์ุ 2,446 42 16 26
4 กำแพงเพชร 669 - --
5 ขอนแกน่ 529 2,272 787 208
6 จนั ทบรุ ี 65 209 - -
7 ฉะเชิงเทรำ 104 177 133 31
8 ชลบรุ ี 25 - --
9 ชัยนำท 125 1--
10 ชัยภูมิ 143 - --
11 ชุมพร 122 97 1 -
12 เชียงรำย 7 1-
13 เชียงใหม่ 6 14 - -
14 ตรงั 1,506 6 5-
15 ตรำด 201 10 -
16 ตำก 149 134 - 1
17 นครนำยก 15 2--
18 นครปฐม 45 11 1 -
19 นครพนม 74 5-4
20 นครรำชสมี ำ 8 - --
21 นครศรธี รรมรำช 81 56 11 14
22 นครสวรรค์ 8 - 24 24
23 นนทบรุ ี 156 14 3 -
24 นรำธวิ ำส 43 - --
25 น่ำน 4 1--
26 บงึ กำฬ 74
27 บรุ รี ัมย์ 362 - - 27 -
28 ปทมุ ธำนี 55
29 ประจวนครี ขี ันธ์ 897 13 53 21
30 ปรำจนี บรุ ี 2 15 9 4
31 ปตั ตำนี 79 276 62 43
32 พระนครศรีอยธุ ยำ 49 - --
33 พะเยำ 42 4 2-
34 พังงำ 286 - --
35 พทั ลงุ 148 42 4 3
2 - --
11 68 1 6
- --
4--

2๘

ท่ี จงั หวดั จำนวนแปลง จดั ซอื้ จดั จำ้ ง อยรู่ ะหวำ่ งกำรขุดปรบั แปลง ขดุ ปรบั แปลงเสรจ็ สิ้นแล้ว
PO แล้ว (แปลง) (แปลง)
36 พจิ ติ ร 16 (แปลง)
37 พษิ ณุโลก 146 12 -
38 เพชรบรุ ี 16 120 12
39 เพชรบรู ณ์ 7 136 3
40 แพร่ 936 - 31
41 ภเู กต็ 63 - 35 7
42 มหำสำรคำม 174 12 -
43 มุกดำหำร 3 57 1 174
44 แม่ฮอ่ งสอน 635 346 4
45 ยโสธร 357 - 11 4
46 ยะลำ 103 571 24 -
47 ร้อยเอด็ 142 36 - -
48 ระนอง 36 5 171
49 ระยอง 5 142 1,231 -
50 รำชบรุ ี 1,415 - -
51 ลพบรุ ี 2 3 -
52 ลำปำง 43 1,415 - -
53 ลำพูน 15 - -
54 เลย 27 - - -
55 ศรสี ะเกษ 422 4 - -
56 สกลนคร 279 - 1 20
57 สงขลำ 23 34 19 5
58 สตลู 145 - 15 -
59 สมุทรสงครำม 1,050 - - 2
60 สระแกว้ 21 144 2 -
61 สระบรุ ี 52 60 - -
62 สโุ ขทยั 2 20 12 -
63 สพุ รรณบรุ ี 9 32 - -
64 สรุ ำษฎร์ธำนี 21 2 3 -
65 สรุ นิ ทร์ 27 - - 13
66 หนองคำย 1,206 15 2 -
67 หนองบวั ลำภู 88 - - -
68 อำ่ งทอง 116 30 2 1
69 อำนำจเจริญ 1,313 29 3 5
70 อดุ รธำนี 30 70 - 19
71 อตุ รดติ ถ์ 6 - 6 -
72 อทุ ยั ธำนี 44 28 - -
73 อบุ ลรำชธำนี 159 2 - -
192 35 - 69
ผลรวมทงั้ หมด 128 130 1,677 925
308 - 4,665
3,960 58
23,078 125
1,666
8,740

๒๙

คงเหลือ ผลการใช้จา่ ยงบประมาณในกิจกรรมท่ี 2
1,353.4904 ลบ.
(คิดเป็นรอ้ ยละ 57.37)

ผลการใช้จ่าย
1,005,8366 ลบ.
(คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42.63)

ผลการใช้จา่ ย คงเหลอื

29

๓๐

ผลการดำเนนิ งานพ้นื ท่ภี าคใต้

๓๑

3๒

3๓

3๔

3๕

๓๖

ผลการดำเนนิ งานพื้นท่ภี าคตะวันออกเฉยี งเหนอื

3๗

3๘

3๙

๔๐

41

42

ผลการดำเนนิ งานพื้นท่ภี าคเหนอื

43

44

45


Click to View FlipBook Version