The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบฯ-รายงานเมื่อ-30-เม.ย.-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KM64.cdd, 2021-05-11 00:03:22

รายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบฯ-รายงานเมื่อ-30-เม.ย.-64

รายงานผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบฯ-รายงานเมื่อ-30-เม.ย.-64

46

ผลการดำเนนิ งานพื้นท่ภี าคกลาง

4๗

4๘

๔๙

3.3 กิจกรรมที่ 3 สร้างงานสร้างรายได้รายเดือน ให้แก่ เกษตรกร บัณฑิตจบใหม่

กลุ่มแรงงานที่อพยพกลับท้องถิ่นและชุมชน ดำเนินการรับสมัครกลุ่มเป้าหมายเมื่อวันที่ 11 – 17

พฤศจิกายน 2563 ดำเนินการรับสมัครกลุ่มเป้าหมาย และลงนามในข้อตกลงการจ้างเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2563

สามารถสรปุ ข้อมูลการคดั เลือกบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นลกู จ้างเหมาบริการ ปฏบิ ัติภารกิจตามโครงการฯ ดงั นี้

1) จำนวนผผู้ า่ นการคดั เลอื กขึ้นบญั ชีลกู จ้างเหมาบรกิ ารฯ จำนวน 21,582 ราย

2) จำนวนลกู จา้ งเหมาบรกิ ารฯ ทดี่ ำเนินการจ้างได้ จำนวน 9,170 ราย

3) จำนวนลกู จ้างเหมาบริการฯ ท่ีดำเนินการจ้างได้ จำแนกตามกลุม่ เป้าหมาย

3.1) เกษตรกร จำนวน 1,962 ราย

3.2) บณั ฑิตจบใหม่ จำนวน 2,123 ราย

3.3) ผวู้ ่างงาน จำนวน 4,207 ราย

3.4) แรงงานที่อพยพกลบั ทอ้ งถ่ินและชุมชน จำนวน 827 ราย

3.5) ผพู้ ้นโทษ ตาม MOU กบั กรมราชทณั ฑ์ จำนวน 51 ราย

4) จำนวนอัตราจ้างลูกจ้างเหมาบริการฯ ที่อยู่ระหว่างดำเนินการจัดจ้าง จำนวน 18 ราย

(เน่ืองจากลกู จ้างเหมาบริการฯ สละสทิ ธใิ์ นการจดั ทำแบบขอ้ ตกลงการจ้าง อยู่ระหวา่ งดำเนนิ การเรยี กตัวผู้ผ่าน

การคดั เลอื กในลำดบั ถัดไป)

๑๐

5๐

วางแผน ปรบั ปรุงสภาพแวดลอ้ มพืน้ ที่เรียนรูช้ มุ ชนตน้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต
และพื้นท่ีครวั เรือนต้นแบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ

5๑

ทำงานตามหลกั กสกิ รรมธรรมชาติ (หลักการทำเกษตรแบบพึง่ พงิ ธรรมชาติ) เชน่ การปรบั ปรุงดิน
ดแู ลระบบนำ้ การปลูกพืชโดยการไมใ่ ชส้ ารเคมี ทำการเกษตรแบบใช้เทคโนโลยีและภมู ปิ ญั ญาชาวบ้าน

5๒

พฒั นาฐานการเรยี นรู้เพื่อการพึ่งตนเอง จัดทำสอ่ื เรยี นรปู้ ระจำฐาน
และเป็นวิทยากรประจำฐานการเรียนรู้เพือ่ การพงึ่ ตนเอง ให้ความรู้แกผ่ ูส้ นใจ

สำรวจและจดั เก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลงทางดา้ นภมู ิสงั คมในพืน้ ท่ีเรียนรู้ชุมชนต้นแบบ
การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ผา่ นระบบ Digital Platform

5๓
ส่อื สารสงั คมให้ทราบถึงการดำเนินงานโครงการในพน้ื ที่เรยี นรชู้ ุมชนตน้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต

ผา่ นสอ่ื สังคมออนไลนป์ ระเภทต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์

สอื่ ประชาสมั พันธก์ ารดำเนินงานโครงการฯ และส่ือสร้างการเรียนรู้ ผา่ นชอ่ งทางต่าง ๆ

คลปิ ประชาสมั พันธ์การดำเนินงานโครงการฯ และสื่อสรา้ งการเรยี นรู้ ผ่านช่องทาง Youtube และ Facebook

5๔

คงเหลือ ผลการใชจ้ ่ายงบประมาณในกจิ กรรมท่ี 3
645.6385 ลบ.
(คดิ เปน็ ร้อยละ 65.06)

ผลการใช้จ่าย คงเหลือ ผลการใชจ้ า่ ย
346.6655 ลบ.
(คดิ เป็นรอ้ ยละ

34.94)

5๕

3.4 กิจกรรมที่ 4 กระตุ้นการบริโภคภาคครัวเรือนและเอกชน ผ่านกิจกรรมการ
พัฒนาและสนับสนุนพื้นที่ครัวเรือนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (HLM) ระดับครัวเรือน สำนักงาน
พัฒนาชุมชนจังหวัด/อำเภอ อยู่ระหว่างเตรียมจัดซื้อจัดจ้าง เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ สำหรับฝึกปฏิบัติ
ร่วมกันในแปลงของครัวเรือน เพื่อการเรียนรู้กิจกรรม โคก หนอง นา จำนวน 24,842 พื้นที่ ๆ ละ
3 ครั้ง ๆ ละ 20 คน มีจังหวัดที่เริ่มดำเนินการจัดกิจกรรมเอามื้อสามัคคีเพื่อพัฒนาแปลงแล้ว ได้แก่
จังหวดั ขอนแก่น บึงกาฬ สรุ ินทร์ มหาสารคาม ร้อยเอด็ เป็นต้น

คงเหลอื ผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณในกิจกรรมท่ี 4
488.5617 ลบ.
(คิดเปน็ ร้อยละ 98.33)

ผลการใชจ้ า่ ย คงเหลอื ผลการใช้จ่าย
8.2783 ลบ.
(คิดเป็นร้อยละ 1.67)

5๖

3.5 กิจกรรมที่ 5 บูรณาการร่วมพัฒนาพื้นที่ระดับตำบล กรมการพัฒนาชุมชนอยู่ระหว่าง
ดำเนินการจัดทำแนวทางการควบคุมตรวจสอบความเหมาะสมและความปลอดภัยของสถานที่จัดเก็บครุภัณฑ์
เพื่อป้องกันการชำรุด สูญหาย รวมถึงแนวทางการติดตามและประเมินความคุ้มค่าของการใช้ประโยชน์
จากครภุ ณั ฑ์ และจงั หวัดอยูร่ ะหว่างดำเนนิ การจดั ซอื้ วัสดุสำหรบั สร้างฐานและวสั ดปุ ระจำฐาน 9 ฐาน

คงเหลอื ผลการใช้จา่ ยงบประมาณในกิจกรรมที่ 5
577.6430 ลบ.
(คิดเปน็ ร้อยละ

99.96)

ผลการใช้จา่ ย ผลการใชจ้ ่าย
0.2500 ลบ.
(คดิ เป็นรอ้ ยละ

0.04)

การจดั เวทีประเมินความพร้อมการพัฒนาพ้ืนท่ีตน้ แบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตฯ ระดับตำบล

3.6 กิจกรรมที่ 6 พัฒนาการสร้างมาตรฐานผลผลิต การแปรรูปและการตลาดตาม
มาตรฐานอินทรีย์วิถีไทย กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมจากพื้นที่ CLM ตำบลละ 2 คน ประกอบด้วย เจ้าของ
แปลง CLM จำนวน 1 คน และนักพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ (นพต.) จำนวน 1 คน เป้าหมายดำเนินการ 6 รุ่น
รวม 674 คน ดำเนินการแลว้ 2 รนุ่ จำนวน 256 คน ดงั นี้

- รนุ่ ท่ี 1 จังหวดั กาฬสินธุ์ ยโสธร และจงั หวัดร้อยเอด็ ระหว่างวันท่ี 25 - 27 กมุ ภาพนั ธ์ 2564
ณ ศูนย์การเรียนรู้ Earth Safe อินทรีย์วิถีไทย วดั ปา่ นาคำ ต.จมุ จงั อ.กุฉนิ ารายณ์ จ.กาฬสนิ ธ์ุ

- รุ่นที่ 2 จังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา สกลนคร สุรินทร์ อุดรธานี และจังหวัดอุบลราชธานี
ระหว่างวันที่ 14 – 16 มีนาคม 256 ณ ศูนย์การเรียนรู้ Earth Safe อินทรีย์วิถีไทย วัดป่านาคำ
ต.จุมจัง อ.กฉุ ินารายณ์ จ.กาฬสนิ ธ์ุ

แผนการดำเนินการในรุ่นที่ 3 – 6 อยู่ระหว่างปรับแผนการจัดฝึกอบรมเน่ืองจากสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

5๗

กจิ กรรมการฝึกอบรม : การบรรยายพิเศษประกอบสือ่ วดิ ทิ ัศน์

วชิ า ศาสตร์พระราชามาตรฐาน อินทรียว์ ิถีไทย

❑ เรยี นรู้หลักทฤษฎบี นั ได ๙ ข้นั หลกั การศาสตร์พระราชา
❑ สรา้ งกระบวนการเรยี นรู้ ระบบมาตรฐานอินทรียว์ ิถีไทย
❑ ขอ้ กำหนด กฎระเบียบของมาตรฐานอนิ ทรยี ์วิถีไทย
❑ กระบวนการเครอื ข่ายมาตรฐานอินทรยี ว์ ถิ ีไทย
❑ ตวั อยา่ งความสำเร็จทเี่ ดน่ ชัดภายใต้มาตรฐานอินทรยี ว์ ถิ ีไทย

วิชา การผลิตพืชผลอนิ ทรีย์วถิ ไี ทยตามมาตรฐาน
การเรียนรู้ ภายใต้รากฐานของ โคก หนอง นา
ข้ันพนื้ ฐาน

❑ การกำหนดชนดิ พชื ให้เหมาะสมกับพ้นื ที่
❑ การผลติ ปุ๋ยอนิ ทรียส์ ูตรเข้มข้น เพ่ือใชใ้ นแปลงโคก หนองนา
❑ หลกั การหลมุ พอเพียงตามมาตรฐานอนิ ทรยี ว์ ถิ ไี ทย
❑ การผลิตจลุ นิ ทรียจ์ าวปลวก

วิชา การตลาดเบ้ืองต้น แนวโนม้ ตลาดอนิ ทรยี ์
ในห้างโมเดริ น์ เทรด

❑ เรียนรู้ตลาด ๓ ระดบั ตลาดชมุ ชน ตลาดกลาง
และโมเดริ ์นเทรด

❑ การเข้าสู่ตลาด การวิเคราะห์ตลาด มารยาททางการตลาด

5๘

กิจกรรมฝกึ อบรม : กิจกรรมสาธติ การฝึกปฏบิ ตั ิ

กิจกรรมพบั หมวกผ้าขาวม้า
กจิ กรรมผลิตพืชผลผสมผสานด้วยนวตั กรรมหลุมพอเพยี ง

กิจกรรมผลติ ปุ๋ยอนิ ทรยี ส์ ตู รเข้มข้นเพ่ือใชแ้ ปลงโคก หนอง นา

๕๙

กจิ กรรมฝกึ อบรม : กจิ กรรมสาธติ การฝึกปฏิบตั ิ

กิจกรรมฝกึ ปฏบิ ัติทำจุลนิ ทรียจ์ าวปลวก

กจิ กรรมฝกึ ปฏิบตั เิ ลี้ยงหนอนแมลงวนั ลาย

กิจกรรมเส้นฟาง สรา้ งฝัน ปั้นฝาย

6๐

กจิ กรรมฝึกอบรม : กจิ กรรมสาธติ การฝึกปฏิบัติ

ฐานกระบวนการบรรจุผลผลติ พชื ผกั เพื่อจำหน่ายตามมาตรฐานอินทรยี ว์ ถิ ีไทย

ฐานสตู รการผลติ ไขเ่ ค็มมาตรฐานอนิ ทรียว์ ิถไี ทย
ฐานผลติ น้ำตาลไซรปั จากออ้ ย มาตรฐานอินทรีย์วิถไี ทย

6๑

กจิ กรรมการสร้างแรงบัลดาลใจจากตัวอย่างความสำเรจ็

พิธีปิดการฝึกอบรม และมอบวฒุ ิบัตรแก่ผผู้ า่ นการอบรม

6๒

คงเหลอื ผลการใช้จ่ายงบประมาณในกิจกรรมที่ 6
2.3973 ลบ.
(คดิ เป็นร้อยละ 60.07)

ผลการใช้จา่ ย คงเหลือ ผลการใช้จา่ ย
1.9525 ลบ.
(คิดเปน็ ร้อยละ 39.93)

3.7 กิจกรรมที่ 7 สร้างโปรแกรมและระบบฐานข้อมูล พัฒนาระบบ Digital รองรับ
Economy ประกอบด้วย 7 กจิ กรรมยอ่ ย แยกเป็น

1) การจดั ซื้อ/จดั หาภาพถา่ ยดาวเทียม

กิจกรรมย่อยนี้เป็นการจัดซื้อ/จัดหาภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดสูง (2 เมตร หรือดีกว่า)

เพื่อจัดทำเป็นแผนที่ฐาน (Base Map) ใน 2 ช่วงเวลา คือ ช่วงที่ 1 ปี 2560-2562 และช่วงที่ 2

ปี 2563-2564 โดยมแี นวทางการดำเนินงานดังภาพ

6๓

ผลการดำเนินงาน
- การจัดทำข้อมูลแผนที่ฐาน (Base Map) ปี 2560-2562 ดำเนินการจัดหา

ภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดสูงต้นฉบับเรียบร้อยแล้วและอยู่กระบวนการ
Process ข้อมลู แผนที่ฐาน (Base Map) ปี 2560 – 2562
- การจัดทำข้อมูลแผนที่ฐาน (Base Map) ปี 2563-2564 อยู่ระหว่าง
ประสานงาน การถ่ายภาพดาวเทียมรายละเอียดสูง (2 เมตร หรือดีกว่า)
กับพันธมิตรตา่ งประเทศ และการจ้างเหมาทำขอ้ มูลแผนท่ฐี าน (Base Map)
2) การสำรวจเก็บข้อมูลและจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ ด้วยอากาศยาน
ไร้คนขับหรือยูเอวี (Unmanned Aerial Vehicle: UAV)
กิจกรรมย่อยนี้เป็นการดำเนินงานสำรวจเก็บข้อมูลและจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทาง
อากาศด้วยอากาศยานไร้คนขับ ในพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (community Lab Model for
quality of life: CLM) ระดับตำบล จำนวน 337 แปลง ใน 2 ช่วงเวลา คือ ช่วงที่ 1 ก่อนปรับพื้นที่
และช่วงท่ี 2 หลังปรับพ้ืนที่ โดยมีแนวทางการดำเนินงานดังภาพ

ผลการดำเนินงาน
ดำเนินการการสำรวจเก็บข้อมูลและจัดทำแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศด้วยอากาศยาน
ไร้คนขับไปแล้ว 16 จังหวัด จำนวน 100 แปลง ระหว่างวันที่ 22 มีนาคม ถึง 5 เมษายน 2564
ประกอบด้วย จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดพิษณุโลก
จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดสกลนคร จังหวัดอุดรธานี จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดสระแก้ว จังหวัดน่าน จังหวัดแพร่
จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดตาก จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดพัทลุง แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่
ระบาดของ COVID-19 ทำให้ต้องเลื่อนแผนการบินสำรวจ และอยู่ระหว่างวางแผนการบินใหม่หลังจาก
สถานการณ์คลี่คลายและสามารถเดินทางเขา้ พน้ื ท่ไี ด้

6๔

1) จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 1 แปลง
2) จังหวดั กาญจนบรุ ี จำนวน

14 แปลง
3) จงั หวดั นครราชสมี า จำนวน

1 แปลง
4) จังหวดั อุบลราชธานี จำนวน

48 แปลง
5) จงั หวดั พิษณโุ ลก จำนวน

7 แปลง
6) จงั หวัดร้อยเอ็ด จำนวน 2 แปลง
7) จังหวดั สกลนคร จำนวน 1 แปลง
8) จังหวดั อุดรธานี จำนวน 3 แปลง
9) จงั หวดั ชัยภมู ิ จำนวน 1 แปลง
10) จังหวัดสระแกว้ จำนวน 1 แปลง
11) จังหวัดน่าน จำนวน 8 แปลง
12) จงั หวัดแพร่ จำนวน 1 แปลง
13) จังหวัดเชยี งใหม่ จำนวน 3 แปลง
14) จังหวัดตาก จำนวน 2 แปลง
15) จังหวดั นครศรีธรรมราช

จำนวน 6 แปลง
16) จังหวดั พัทลุง จำนวน 1 แปลง

6๕

3) การจัดหา Infrastructure เป็นจัดหาอุปกรณ์ และเครื่องมือสำหรับการดำเนิน
โครงการ การดำเนินงานอยู่ระหว่างกระบวนการพัสดุการจัดซื้อจัดจ้าง โดยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Bidding : e-bidding) ซึ่งคาดว่าจะสามารถดำเนินการจัดจ้างให้แล้วเสร็จ พร้อมลงนามสัญญา
จ้างภายในเดอื นพฤษภาคม 2564

4) การจา้ งบุคลากรประจำโครงการฯ
กิจกรรมย่อยนี้ เป็นการจ้างงานบุคลากรนักภูมิสารสนเทศ จำนวน 33 คน
เพื่อเพิ่มศักยภาพการดำเนินงานในระดับพื้นที่ ทั้งด้านการประสานงาน รวบรวม ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ
ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของชุมชน (Community Big Data) ส่งเสริม สร้างกลไกในความร่วมมือ ผลักดันให้เกิด
ความเชื่อมโยงของเครือข่ายพันธมิตรความร่วมมือระดับนโยบายและระดับพื้นที่ ของผู้เข้าร่วมโครงการ
การพัฒนาพนื้ ทตี่ ้นแบบสำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลกั ทฤษฎี ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
ผลการดำเนินการ ได้ดำเนินจา้ งเหมาบุคลากรประจำโครงการ จำนวน 33 คน แบง่ เป็น
ประจำศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชน 22 คน ประจำส่วนกลาง 11 คนดงั ภาพ

บุคลากรด้านภูมิสารสนเทศ ประจาศูนย์ ศพช. 11 ศูนย์

6๖

6๗

๑7

5) การศึกษา วิจัย ตัวชี้วัด เป็นการศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อมเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์คุณภาพชีวิต ในบริบทโคก หนอง นา โมเดล เพื่อนำมาสู่การวางแผน
ออกแบบ การศึกษาสำหรบั การประเมนิ ผลและการพัฒนา Platformโดยมแี นวทางการดำเนินงานดังภาพ

6๘

ผลการดำเนนิ งาน
- อยู่ระหว่างกระบวนการดำเนินงานตามระเบียบพัสดุการ ซึ่งคาดว่าจะสามารถ
ดำเนินการจัดจ้างที่ปรึกษาให้แล้วเสร็จ พร้อมลงนามสัญญาจ้างภายใน
เดือนพฤษภาคม 2564

- ดำเนินการพัฒนาออกแบบเครื่องมือสำรวจเก็บข้อมูลพิกัดแปลงที่ดินของ
ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ผ่านระบบออนไลน์ เพื่อรองรับการพัฒนา Platform
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์คุณภาพชีวิต ในบริบท โคก หนอง นา
โมเดล สำหรับเจ้าหน้าที่ นักพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ และผู้ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งได้
ดำเนินการประชุมหารือร่วมกับกรมการพัฒนาชุมชน เพื่อวางแผนแนวทางใน
การนำใช้เครื่องมือกับการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่และผู้ท่ี เกี่ยวข้อง
ต่อไป

๑8

๖๙

6) การพัฒนา Platform เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ เพ่ือวัดผลสัมฤทธิ์คุณภาพ
ชีวิต ในบริบทโคก หนอง นา โมเดล เปน็ การพฒั นาเทคโนโลยภี ูมิสารสนเทศในรปู แบบ Web Application
และ Mobile Application สำหรบั โครงการฯ โดยมแี นวทางในการออกแบบและพัฒนาดังภาพ

๑9

ผลการดำเนินงาน อยูร่ ะหว่างกระบวนการดำเนนิ งานตามระเบยี บพัสดุ โดยวิธีประกวด
ราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e-bidding) คาดว่าจะสามารถดำเนินการจัดจ้างให้แล้วเสร็จ
พร้อมลงนามสัญญาจา้ งภายใน เดือนพฤษภาคม 2564

7) การส่งเสริม Co – Creation เป็นการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพของบุคลากร การให้
ความรู้ด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ แก่กลุ่มเป้าหมายครัวเรือน CLM HLM และนักพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ
จำนวน 2,420 คน จำนวน 35 รุ่น รุ่นละ 60-80 คน ในหลักสูตรการอบรมระยะสัน้ (2 วัน) “หลักสูตรการ
ใช้แผนที่/เครื่องมือภูมิสารสนเทศ เพื่อการสำรวจและจัดทำข้อมูลกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม”
มแี ผนการอบรม ดงั ภาพ

7๐

ผลการดำเนินงาน ดำเนินการฝึกอบรมหลักสูตรการใช้แผนที่/เครื่องมือภูมิสารสนเทศ

เพื่อการสำรวจและจัดทำข้อมูลกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมแล้ว จำนวน 14 รุ่น รวม 981 คน

สรปุ ผลการอบรมฯ ดังตาราง

ลำดบั จงั หวัด รนุ่ จำนวนผู้เข้าอบรม ภาพบรรยากาศการอบรม
เปา้ หมาย เข้ารว่ มจรงิ

1 60 64
60 63
1 เชยี งใหม่
2

2 ชลบรุ ี 1 70 81

1 70 73 ข
70
3 นครศรีธรรมราช 70 -
2 -
- -
1 70
70 -
4 พษิ ณโุ ลก
2 58

1 70 72
5 สโุ ขทยั 70
55 67
2
55 73
1 55

6 อบุ ลราชธานี 55
2
79
1 70 99
7 ลำปาง 2 72
70 981
3 70
รวมยอดผู้เข้าร่วม 930

๗๑

ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัส COVID-19 ทำให้ต้องเลื่อนแผนการอบรมจากเดิม
ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2564 เป็นช่วงเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม 2564 หากสถานการณ์แพร่ระบาด
เชื้อไวรัส COVID-19 คลี่คลายลง จะดำเนินการให้แล้วเสร็จ จำนวน 21 รุ่น คาดว่าจะมีผู้เข้าร่วมอบรม
จำนวน 1,470 คน

7๒

ตารางสรปุ ความกา้ วหน้าการเบกิ จ่ายของโครงการฯ ณ เดือน เมษายน 2564

กจิ กรรม วงเงิน เบิกจา่ ยแลว้ ร้อยละ
(ล้านบาท) (ลา้ นบาท) ของวงเงิน
กิจกรรมที่ 1 ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะสั้นการพัฒนา
กสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา 240.632 212.16 88.17
โมเดล
กิจกรรมที่ 2 สร้างพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนา 2,359.327 1,005.83 42.63
คุณภาพชีวิต (Community Lab Model for quality of
life : CLM) ระดับตำบล และพื้นที่ครัวเรือนต้นแบบ 992.304 346.66 34.94
การพัฒนาคุณภาพชีวิต (Household Lab Model for 496.840 8.27 1.67
quality of life : HLM) ระดับครวั เรอื น
กจิ กรรมที่ 3 สรา้ งงานสร้างรายได้รายเดือน ใหแ้ ก่ เกษตรกร 577.893 0.25 0.04
บัณฑิตจบใหม่ กลุ่มแรงงานที่อพยพกลบั ทอ้ งถิน่ และชุมชน 4.889 1.95 39.93
กิจกรรมที่ 4 กระตุ้นการบริโภคภาคครัวเรือนและเอกชน 39.31
ผ่านกจิ กรรมการพัฒนาและสนบั สนนุ พื้นทีค่ รัวเรอื นต้นแบบ 116.030 45.61
การพัฒนาคุณภาพชีวิต (Household Lab Model for
quality of life : HLM) ระดบั ครวั เรือน
กิจกรรมท่ี 5 บรู ณาการร่วมพัฒนาพ้ืนทีร่ ะดับตำบล
กิจกรรมที่ 6 พัฒนาการสร้างมาตรฐานผลผลิตการแปรรูป
และการตลาดตามมาตรฐานอนิ ทรีย์วิถไี ทย
กิจกรรมท่ี 7 พัฒนาระบบ Digital รองรับ Local Economy
ด้วยการสร้างระบบโปรแกรมและระบบฐานขอ้ มูล

รวม 4,787.916 1,620.76 33.85

100% กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 5 กจิ กรรมท่ี 6 กจิ กรรมที่ 7
90% 42.63 34.94 1.67 0.04 39.93 39.31
80% 53.37 65.06 98.33 99.96 60.07 60.69
70%
60%
50%
40%
30%
20%
10%
0% กจิ กรรมท่ี 1

เบิกจา่ ย 88.17

คงเหลอื 11.83

7๓

๑๖

7๔
4. การประชาสัมพันธก์ ารดำเนนิ งานโครงการ โคก หนอง นา โมเดล ผ่านส่อื ช่องทางตา่ ง ๆ ดงั นี้

4.1 เว็บไซต์ โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน เปดิ ใช้เม่อื วนั ที่ 21 เมษายน 2564 ปัจจุบนั มีผเู้ ขา้ ชม
15,332 คร้งั

4.2 เว็บเพจ Facebook โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน เปิดใช้เมื่อวันท่ี 21 เมษายน 2564
มจี ำนวนผู้ถูกใจเพจ 2,009 คน ผตู้ ดิ ตาม 2,225 คน และการเขา้ ถงึ โพสต์ 32.4 K การมีสว่ นร่วม 11.6 K

7๕
4.3 You Tube กรมการพฒั นาชุมชน Channel จัดช่องเพลยล์ สิ ต์ โคก หนอง นา พฒั นาชมุ ชน
จำนวน 63 คลิป

4.4 ทวี ี พช. จัดผงั รายการและใหเ้ ปิดใหม้ ีการประชาสัมพันธ์ตา่ ง ๆ ของโคก หนอง นา ตลอดเวลา

7๖

4.5 ระบบ EIS และ Dashboard โคก หนอง นา พฒั นาชุมชน ซง่ึ ข้อมลู มาจาก
(1) ขอ้ มูลแปลงงบเงินกจู้ าก Warroom โคก หนอง นา
(2) ขอ้ มูลทะเบยี นครวั เรอื นต้นแบบ โคก หนอง นา โมเดล
(3) ข้อมลู นพต. (Real time)

4.6 เก็บรวบรวมข้อมูล ภาพ คลปิ วีดโิ อ สอ่ื จากช่องทางต่าง ๆ มาเผยแพร่ในเวบ็ ไซต์ เว็บเพจ ชอ่ ง You Tube
4.7 เกบ็ รวบรวมข้อมลู PR ของ นพต. มาเผยแพร่ในเวบ็ ไซต์

7๗

4.8 รวบรวมขอ้ มลู KM มาจัดทำอนิ โฟกราฟกิ เผยแพร่ ทางชอ่ งทางตา่ ง ๆ

4.9 ออกแบบ Mascot โคก หนอง นา เพื่อใชใ้ นการประชาสมั พนั ธ์ ๑
รา่ งตน้ แบบ Mascot

7๘

5. ความประทับใจ ของผู้มสี ่วนร่วม ดำเนนิ โครงการพัฒนาพ้ืนทตี่ ้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ ตามหลัก
ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ “โคก หนอง นา พัฒนาชุมชน”

5.1 นายปลวัชร วรรณจงคำ พัฒนาการอำเภอแวงใหญ่ จงั หวัดขอนแกน่
“โครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่
“โคก หนอง นา โมเดล” เป็นการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 9 ซึ่งเป็นทฤษฎีตามภูมิสังคม มาส่งเสริมคุณภาพชีวิตอย่างเป็นรูปธรรมที่สุด ภูมิใจที่ได้เป็นผู้มีส่วน
สำคัญที่ไดน้ ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎใี หม่ มาสแู่ ปลงของพ่นี อ้ งประชาชน เป็นงานท่ภี าคภูมิใจ
ทส่ี ุดตง้ั แตร่ บั ราชการมา”

5.2 นางสาวธนัชพร ธรรมปัญญาสกุล (ตาว) อายุ 26 ปี นักพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ
การศกึ ษา นติ ิศาสตร์

“เดิมทำงานเป็นลูกจ้างประจำที่บริษัทเบทาโก แต่เนื่องจากสถานการณ์ COVID-19
จึงกลับมาอยู่บ้านมาเข้าร่วมโครงการเพราะมีเจ้าหนา้ ที่พัฒนาชุมชนแนะนำ เลยสนใจคิดว่าเป็นงานที่เกี่ยวกับ
เกษตร ปลกู ตน้ ไม้ แต่พอได้มาทำจริงมีมากกวา่ นั้น ไดเ้ รยี นรู้ ลงพฒั นาพื้นที่ทุกวัน ทำเกษตรแบบพง่ึ พิงธรรมชาติ
เช่น การปรับปรุงดิน การปลูกต้นไม้ โดยการไม่ใช้สารเคมี ในพื้นที่เรียนรู้ชุมชนต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ปุ๋ยใบไผ่ อาหารไก่ ปรับปรุงและพัฒนาแปลง เช่น ขุดคลองไส้ไก่ พัฒนาฐานเรียนรู้ และเป็นวิทยากร
ประจำฐาน เป็นครูพาทำ ส่งเสริมสนับการแปรรูปผลผลิตของแปลง เช่น การแปรรูปอ้อยเป็นน้ำอ้อยคั้นสด
สื่อสารสังคม กิจกรรมต่าง ๆ ที่ดำเนินการผ่าน Facebook เข้าร่วมโครงการแล้วประทับใจการทำงานในแปลง
ทั้งเจ้าของแปลง เพื่อน นพต. ทำงานด้วยกัน 10 คน ได้เรียนรู้การทำการเกษตรแบบไม่ใช้สารเคมี
มีการทำกิจกรรมพัฒนาแปลง ปลูกพืช แปรรูปผลผลิต สร้างรายได้ร่วมกันจนเกิดการจัดตั้งกองทุน จากการ
ได้มาทำงานมีแนวคิดว่า จะพัฒนาท่ีดินว่างเปล่าที่มี พัฒนาให้มีบ่อน้ำ ทำฟาร์ม และสวนเล็ก ๆ ปลูกกล้วย
สรา้ งรายได้ใหต้ ัวเอง”

๗๙

5.3 นางระเบียบ ขาวชะออ้ น อายุ 54 ปี อาชพี พยาบาล เจา้ ของแปลงพนื้ ท่ี 3 ไร่
“เข้าร่วมโครงการเพราะ กำนันประชาสัมพันธ์โครงการ สนใจจึงสมัครเข้าร่วม ตอนนี้รับราชการเป็นพยาบาล
แต่ทำนา ปลูกอ้อยด้วย ตลอด 50 ปี รู้สึกว่าความอุดมสมบูรณ์ในพื้นที่น้อยลง จึงอยากทำการเกษตร
ที่ผสมผสานความเป็นอยู่ เพื่อสร้างความมั่นคงในช่วงสถานการณ์ COVID-19 เข้าร่วมโครงการแลว้ คาดหวงั วา่
จะทำให้มีความสุขมากขึ้น ไม่ใช่แค่การทำเกษตรเพื่อหารายได้ อยากจะพัฒนาให้เป็นพื้นที่ที่ให้
คนในชุมชนได้มารื้อฟื้นวิถีชีวิตเก่าๆ เช่น การเอามื้อ การหาบกล้า สร้างชุมชนเกื้อกูล ปรับความคิด
ในการดำเนินชีวิตของคนในพื้นท่ี ได้เรียนรู้การทำเกษตรอินทรีย์ อยากมีกลุ่มเกษตรอินทรีย์ ตอนนี้ไปอบรม
และขุดปรับและพัฒนาแปลงแล้ว วางแผนที่จะปลูกไม้ 5 ระดับ ค่อย ๆ พัฒนาพื้นที่ควบคู่กับการรื้อฟื้น
ประเพณีเก่า ๆ ประทับใจโครงการนี้ว่าเป็นโครงการที่ดี เริ่มต้นมีการพัฒนาคนก่อน ซึ่งไม่ใช่แค่การให้ความรู้
วิธีการ แต่ยังเป็นการสร้างจิตวิญญาณในการพัฒนา ตอนนี้ตั้งใจจะลาออกมาพัฒนาแปลงตามที่ตั้งใจ
จะกลับมาพัฒนาบ้านเกิดอย่างเต็มที่ ขอบคุณพัฒนาการจังหวัด พัฒนาการอำเภอ เจ้าหน้าที่องค์การบริหาร
ส่วนตำบล ทมี รถขดุ ทีม่ าเรยี นรู้การทำโคก หนอง นา รว่ มกนั ”

5.4 นางมณีวรรณ ศิลารักษ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ สำนักงานพัฒนา
ชุมชนอำเภอแวงใหญ่ อำเภอแวงใหญ่ จงั หวดั ขอนแก่น
“รับผิดชอบงานเศรษฐกิจพอเพียงควบคู่ไปกับโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลัก
ทฤษฎใี หม่ประยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล “ ความประทับใจในโครงการน้ตี ง้ั แตเ่ ร่ิมรบั สมคั รครวั เรือนเข้า
รว่ มโครงการฯ ประสานครวั เรอื นเขา้ ร่วมอบรมฯ ท่ีศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาชุมชนจังหวดั อุดรธานี และรว่ มอบรม
กบั ครัวเรอื น จากท่ไี มเ่ คยมีความรู้เร่ือง โคก หนอง นา พอไดเ้ ขา้ อบรมรว่ มกับครัวเรือน กลับมามีความซึม
ซับอยากทำอยากปฏิบัติจริง แต่ก็มีความยินดีกับครัวเรือนที่ร่วมโครงการทุกคนมีความตั้งใจอยากทำพื้นท่ี
ตนเองให้ประสบผลสำเร็จเป็นรูปธรรม บางครัวเรือนก็ปรับแปลงพื้นที่เสร็จเรียบร้อยเป็นตัวอย่างให้ครัวเรือน
ใกล้เคยี งได้มาศกึ ษา เปน็ ความภมู ใิ จทไ่ี ดเ้ ปน็ ทป่ี รกึ ษาแกค่ รัวเรือนที่ร่วมโครงการฯ ตั้งแตเ่ รม่ิ โครงการคะ่ ”

8๐

5.5 นางประพาต แก้วจนั ทร์ เจา้ ของพนื้ ทแี่ ปลง 3 ไร่
“สวัสดีค่ะ ดิฉัน นางประพาต แก้วจันทร์ เป็นครัวเรือนต้นแบบรู้สึกภูมิใจและประทับใจที่ได้เข้าร่วมโครงการ
ซึ่งเราก็เคยไดย้ ินมาเกีย่ วกับโครงการนีเ้ ราก็รู้สึกเฉยๆแต่พอเราได้มีการเขา้ ร่วมอบรมเรากม็ ีความอยากท่ีจะทำ
ซ่ึงโครงการนี้ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงตั้งไว้ในแปลง ๓ ไร่ ที่เข้าร่วมนี้จะสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับ
ครอบครัวตลอดไปและความคิดและความฝันสำหรับแปลง ๓ ไร่ นี้คือสามารถที่จะเป็นแปลงตัวอย่างเพื่อท่ี
คนจะได้มาศึกษาดูงานตอ่ ไปและเปน็ ต้นแบบทีด่ ีในอนาคต”

5.6 นางสาว อลุ ัยลักณ์ มะโนดี เปน็ นกั พฒั นาพนื้ ท่ตี ้นแบบของอำเภอแวงใหญ่
“รสู้ กึ ภูมใิ จและดีใจท่ีได้มสี ว่ นกับโครงการน้ีจากท่ีเราไม่มีความรเู้ กี่ยวกับโคก หนอง นา เลย พอเราได้มาสัมผัส
และลงมือทำเร่ิมตั้งแต่การออกแบบการวาดแบบแปลนและติดตามการงานจนงานออกมาแลว้ ประสบผลสำเร็จ
ครัวเรือนพึงพอใจในงานที่ออกมา และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับครัวเรือนต่อไปเราก็รู้สึกดีใจและ
มีความสุขแลว้ คะ่ ”


Click to View FlipBook Version