The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือวิจัยสมบูรณ์_compressed

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การวิจัยทางการศึกษา Educational Research

หนังสือวิจัยสมบูรณ์_compressed

~ 44 ~

การสุ่มตวั อย่างแบบน้ีมปี ระสทิ ธิภาพมากกวา่ การสมุ่ โดยบังเอิญ เน่ืองจากได้มีการ
แบ่งประเภทของมวลประชากรเสียก่อนแล้วจึงสุ่ม ทาให้กลุ่มตัวอย่างที่ได้มามีลักษณะใกล้เคียงกลุ่ม
ประชากรมากขน้ึ ดว้ ย

2.3 การสุ่มตัวอย่างตามจุดมุ่งหมาย (Purposive Sampling) เป็นการเลือกสุ่ม
ตวั อย่างโดยพจิ ารณาตามความเหมาะสมกับจดุ มงุ่ หมายของการวจิ ัย โดยผู้วจิ ัยเปน็ ผกู้ าหนดเกณฑใ์ น
การเลือกว่าต้องการกลุ่มตัวอย่างลักษณะใด เช่น เลือกกลุ่มตัวอย่างที่อยู่ในกรุงเทพฯ หรือเลือก
เฉพาะกลุ่มประชากรท่ีมีฐานะปานกลางเท่าน้ัน เป็นต้น การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบน้ีข้ึนอยู่กับ
วิจารณญานและความสนั ทดั ในการเลอื กกลุ่มตัวอย่างของผูว้ จิ ัย

2.4 การสุ่มตัวอย่างตามความสะดวก (Convenience Sampling) เป็นการสุ่ม
ตัวอย่าง โดยพิจารณาถึงความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลและตัวอย่างที่เก็บมานั้นอาจจะเป็น
ตัวแทนของประชากรได้ เช่น ในการศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนชั้น ป.1 แทนท่ีจะสุ่ม
ตวั อยา่ งจากประชากรท่ีเปน็ นักเรยี นชัน้ ป. 1 ท้ังหมด ผู้วิจัยอาจเลือกศึกษาเฉพาะนักเรียนชั้น ป.1
ในโรงเรยี นทต่ี นสอนอยกู่ ็ได้

2.5 การสุ่มตัวอยา่ งเชิงกอ้ นหมิ ะ (Snowball Sampling) หรอื สุ่มแบบลูกโซ่ เป็น
การสุ่มตัวอย่างโดยเร่ิมจากผู้วิจัยกาหนดคุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่างไว้ก่อน แล้วเลือกประชากรคน
หน่ึงทม่ี คี ณุ สมบัติตรงตามท่ีตอ้ งการ เป็นตวั อยา่ งคนท่ี 1 เมื่อไดท้ ดสอบและเก็บขอ้ มูลจากตวั อยา่ ง
คนท่ี 1 แล้ว ก็ขอใหแ้ นะนาคนอืน่ ท่ีมีลักษณะเดียวกันเป็นตัวอย่างคนท่ี 2 เม่ือเก็บรวบรวมข้อมูล
จากตัวอย่างที่ 2 แล้ว ก็ขอให้แนะนาคนอื่นที่มีลักษณะเดียวกันเป็นตัวอย่างคนที่ 3, 4, 5 …
เร่อื ยไปจนกว่าจะได้กลมุ่ ตัวอยา่ งครบตามจานวนที่ตอ้ งการ

3. การสุ่มโดยใช้ความน่าจะเป็นและไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Combination of
Probability Sampling) เน่อื งจากวธิ สี ุ่มตวั อย่างแต่ละวิธีดังกล่าวมาขา้ งต้น มีประโยชนต์ ่อการ
วจิ ัยทัง้ สิน้ แตก่ ารนาไปใช้ใหไ้ ด้ผลจะต้องพจิ ารณาจากองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น วัตถุประสงค์ของ
การวิจัยลักษณะของประชากร เศรษฐกิจ กาลังคน และเวลาท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นต้น
ดงั นนั้ การสมุ่ ตวั อยา่ งจงึ ไม่จาเปน็ จะต้องใช้วิธีใดวิธหี น่งึ เพยี งวิธีเดียว ผวู้ ิจัยอาจนาวิธีการสุม่ หลาย ๆ
วิธีมาใช้ร่วมกนั ได้ เป็นแบบผสม เช่น อาจเลอื กสมุ่ ตวั อย่างเชงิ กลมุ่ บรเิ วณก่อนแลว้ จงึ เลอื กตัวอยา่ ง
ตามสะดวกภายหลงั เชน่ ในการส่มุ ตัวอย่างนกั เรียนชัน้ ป. 1 ผู้วจิ ัยอาจเลอื กสุ่มตามเขตก่อนแล้วจงึ
ส่มุ ชั้นเรียนในเขตต่าง ๆ ดว้ ยวิธีตามสะดวกภายหลงั เปน็ ต้น

~ 45 ~

การกาหนดขนาดหรือจานวนของกลุ่มตวั อยา่ ง
ผู้วจิ ยั จะต้องทาการกาหนดขนาดหรือจานวนของกล่มุ ตัวอยา่ งให้เหมาะสม โดยคานงึ ถึง

ส่ิงต่อไปนี้
1. ลักษณะของประชากร ถ้าประชากรมีลักษณะแตกต่างกันจะต้องใช้กลุ่มตัวอย่าง

จานวนมาก แต่ถา้ มลี กั ษณะเหมือน ๆ กนั ใชก้ ลุ่มตัวอยา่ งจานวนน้อย ๆ ได้
2. ขนาดหรือจานวนของประชากร ถ้าประชากรมจี านวนมาก กลมุ่ ตวั อย่างก็ควรมาก

ด้วย ถา้ ประชากรมีนอ้ ย กลุ่มตัวอยา่ งก็มีนอ้ ยลง
3. ลักษณะของงานวิจยั ถ้าเป็นงานวิจัยสารวจควรใช้กลุ่มตัวอย่างจานวนมาก ๆ แต่

ถ้าเปน็ การวิจัยเชงิ ทดลอง สามารถใชก้ ลมุ่ ตวั อย่างจานวนน้อยได้
4. ตวั แปรท่ีศึกษา ถา้ ผู้วิจัยตอ้ งการศกึ ษาตวั แปรหลายตัว จาเปน็ ตอ้ งใชก้ ลุ่มตัวอย่าง

จานวนมาก เพือ่ ใหไ้ ดก้ ลุ่มตัวอย่างท่ีมีคณุ ลกั ษณะจาแนกตามตวั แปรอยา่ งเพียงพอ
5. งบประมาณ เวลา และแรงงาน ถ้ากลุ่มตัวอย่างมีจานวนย่ิงมากจะต้องใช้

งบประมาณ เวลา และ แรงงาน ในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล มากตามไปด้วย
ดังนัน้ ผ้วู จิ ยั ต้องคานงึ ถงึ งบประมาณ เวลา และแรงงานทีม่ ีอยู่ดว้ ย

6. ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดในการสุ่มตัวอย่าง ถ้ายอมให้เกิดความ
คลาดเคล่ือนน้อยจาเป็นต้องใช้กลุ่มตัวอย่างจานวนมาก การกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดย
คานงึ ถึงความคลาดเคลือ่ นอาจคานวณไดจ้ ากสูตรตอ่ ไปน้ี

วธิ ีการกาหนดขนาดของกล่มุ ตัวอยา่ ง
ขนาดของกลุ่มตัวอย่างเป็นสิ่งสาคัญอีกอย่างหนึ่งในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ขนาดท่ี
พอเหมาะของกลุม่ ตวั อย่างจะช่วยให้การสรปุ ผลการวิจัยแม่นยาข้ึน และมีความคลาดเคล่ือนน้อยลง
การกาหนดขนาดท่เี หมาะสมของกลุ่มตวั อยา่ ง อาจหาไดด้ งั นี้
1. ในกรณที ไี่ มท่ ราบขนาดทแี่ นน่ อนของกลุ่มประชากร อาจดดั แปลงไปใชส้ ูตร

n= p(1  p)z2
e2
เมื่อ n คือ ขนาดของกลุ่มตวั อยา่ ง
p คอื อัตราส่วนของมวลประชากรท่ตี ้องการนามาเป็นตวั อย่าง
Z คือ ค่า Normal deviate ทแี่ บ่งพน้ื ทใี่ ต้โค้งปกติที่ระดบั ความเช่ือมนั่
ทตี่ ้องการ เชน่ ท่ีระดบั ความเชื่อมนั่ 95% ค่า Z = 1.96 เปน็ ตน้
e คือ ค่าความคลาดเคล่อื นท่ผี วู้ ิจยั ยอมให้เกดิ ข้นึ ได้

~ 46 ~

เช่น ถ้าต้องการศึกษาสภาพความเป็นอยู่ของครูท่ีสอนระดับประถมศึกษา แต่ไม่
สามารถทราบจานวนทั้งหมดได้ ในการสุ่มตัวอย่าง อาจกาหนดให้อัตราส่วนของมวลประชากรที่
ตอ้ งการทามาเปน็ กลุ่มตัวอย่างเพยี ง .15 ยอมให้ความคลาดเคลื่อนได้รอ้ ยละ 1 และต้องการให้มี
ระดบั ความเชอ่ื มั่น 95%
จากตัวอย่างนี้ จะได้ p = .15
z = 1.96 (ระดบั ความเชอื่ มนั่ 95%)
e = .01
หาขนาดของกลุม่ ตวั อย่างจากสตู รได้ ดงั นี้
n = ( .15) (1 - .15) (1.96) 2
(.01)2
= .4898
(.01) 2
= .4898
.0001
= 4,898
แสดงว่าจะตอ้ งใช้กลมุ่ ตัวอย่างทั้งสิ้น 4,898 คน

แต่ถ้าผวู้ ิจยั ยอมใหม้ คี วามคลาดเคลอื่ นมากขน้ึ กจ็ ะสามารถลดจานวนตวั อยา่ งลงได้ เช่น ถา้ ยอม
ใหเ้ กดิ ความคลาดเคล่ือนไดร้ อ้ ยละ 10 (e = .10) ขนาดของกลมุ่ ตัวอย่างจะลดลดเหลอื

= ( .15) (1 - .15) (1.96) 2
( .10)2

= .4898
.01

= 49 คน

2. ในกรณที ่ีทราบขนาดของกลุม่ ประชากร
p(1 p)
อาจดัดแปลงสตู รมาเปน็
e2  p(1 p)
z2 N

~ 47 ~

เมือ่ n คือ ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ ง
p คือ อัตราส่วนของมวลประชากรทต่ี อ้ งการนามาเปน็ ตวั อย่าง
Z คือ ค่า Normal deviate ที่แบ่งพื้นที่ใต้โค้งปกติที่ระดับความเช่ือมั่นที่

ตอ้ งการ
e คอื ความคลาดเคลื่อนท่ีผ้วู จิ ัยยอมใหเ้ กิดขึน้ ได้
N คือ จานวนประชากรทงั้ หมด

เช่น จากตัวอย่างเดิม ถ้าผู้วิจัยทราบว่า มีประชากรทั้งหมดมี 4,000 คน ต้องการกลุ่ม
ตัวอย่าง ร้อยละ 15 ของประชากรท้ังหมด ยอมให้มีความคลาดเคลื่อนได้ร้อยละ 2 ระดับความ
เช่ือม่ันที่ต้องการเท่ากับร้อยละ 95 ซึ่งมีค่าส่วนเบ่ียงเบนปกติเท่ากับ 1.96 จะหาขนาดของกลุ่ม
ตัวอยา่ งไดด้ งั นี้

n = ( .15) ( 1 – .15)
(.02)2 + (.15) (1- .15)
(1.96)2 4,000

= 938.88
= 939 คน
ในการสุ่มตวั อย่างกรณนี ี้ จะตอ้ งใช้กลุม่ ตัวอยา่ งอย่างน้อย 939 คน

3. การกาหนดขนาดของกลุ่มตวั อย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ Yamane
สูตรในการคานวณได้แก่ N
1 + Ne2
เมื่อ n แทน ขนาดของกล่มุ ตัวอย่าง
N แทน ขนาดของประชากร
e แทน ความคลาดเคล่อื นสูงสดุ ทีย่ อมรับได้
เช่น ถ้ามีประชากรที่เป็นนักเรียนจานวน 2,500 คน ต้องการกลุ่มตัวอย่างเพื่อเก็บรวบรวม
ข้อมลู โดยให้ความคลาดเคลอ่ื นในการเก็บรอ้ ยละ 5 จะไดเ้ ทา่ ไร แสดงวิธที าไดด้ งั น้ี
แทนค่าในสตู ร = 2,500
1 + (2,500) (.05)2
= 2,500
1 + (2,500) (0.0025)
= 2,500
7.25
= 345 คน

~ 48 ~

3. การใช้ตารางของเครจซแี่ ละมอร์แกน (Krejcie & Morgan) เครจซ่ีและมอรแ์ กน
(Krejcie and Morgan. 1970 : 608 –609) ได้กาหนดตารางเพื่อคานวณหากลุ่มตัวอย่างจากขนาด
ของประชากรทที่ ราบได้ ดังตารางตอ่ ไปนี้
กลุ่ม กลุ่ม กลมุ่ กลมุ่
ประชากร ตัวอยา่ ง ประชากร ตวั อยา่ ง ประชากร ตัวอยา่ ง ประชากร ตัวอยา่ ง

10 10 150 108 460 210 2,200 327
15 14 160 113 480 214 2,400 331
20 19 170 116 500 217 2,600 335
25 24 180 123 550 226 2,800 338
30 28 190 127 600 234 3,000 341
35 32 200 132 650 242 3,500 346
40 36 210 136 700 248 4,000 351
45 40 220 140 750 254 4,500 354
50 44 230 144 800 260 5,000 357
55 48 240 148 850 265 6,000 361
60 52 250 152 900 269 7,000 364
65 56 260 155 950 274 8,000 367
70 59 270 159 1,000 278 9,000 368
75 63 280 162 1,100 285 10,000 370
80 66 290 165 1,200 291 15,000 375
85 70 300 169 1,300 297 20,000 377
90 73 320 175 1,400 302 30,000 379
95 76 340 181 1,500 306 40,000 380
100 80 360 186 1,600 310 50,000 381
110 86 380 191 1,700 313 75,000 382
120 92 400 196 1,800 317 100,000 384
130 97 420 201 1,900 320
140 103 440 205 2,000 322

4. การกาหนดขนาดของกลมุ่ ตัวอย่างอย่างง่าย โดยถอื เกณฑ์ตอ่ ไปนี้
ถา้ จานวนประชากรเปน็ รอ้ ยใหใ้ ช้ 25%
ถ้าจานวนประชากรเปน็ พนั ใหใ้ ช้ 10%
ถา้ จานวนประชากรเปน็ หม่ืนให้ใช้ 1%
แต่ก็ไม่เป็นเกณฑต์ ายตวั วา่ จะต้องปฏิบัติตามนี้

~ 49 ~

บทที่ 4
เครือ่ งมือที่ใช้ในการวจิ ัย

ส่ิงสาคัญประการหน่ึงของการวจิ ัย คอื ความสามารถในการสรา้ งและเลอื กใช้เครอื่ งมอื ในการ
เก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างเหมาะสม เพราะผลการวิจัยจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดย่อมข้ึนอยู่กับ
หลักฐานขอ้ มูลท่รี วบรวมมาได้

วธิ ีการและเครอื่ งมอื ในการรวบรวมข้อมูลในการวิจัยทางการศึกษา และสังคมศาสตร์ที่ใช้กัน
มาก ไดแ้ ก่ แบบสอบถาม แบบทดสอบ การสงั เกต การสัมภาษณ์ มาตรประมาณค่า แบบสารวจ
และแบบทดสอบทางจติ วิทยา
แบบสอบถาม (Questionnaire)

แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด ความ
คดิ เห็น ความต้องการ ปญั หาและขอ้ เทจ็ จริงต่าง ๆ ฯลฯ

ชนดิ ของแบบสอบถาม
แบบสอบถามแบง่ เปน็ 2 ชนดิ ใหญ่ ๆ คือ
1. แบบสอบถามปลายเปิด คือ แบบสอบถามท่ีประกอบด้วยข้อคาถามท่ีเปิดโอกาส

ให้ตอบได้โดยอิสระ การใช้คาถามชนิดนี้ เพื่อทราบความคิดเห็นต่าง ๆ หรือเป็นเรื่องเกี่ยวกับ
รายละเอียดที่ซับซ้อนมาก หรือต้องการหาข้อมูลเพ่ิมเติมจากที่รู้แล้ว การวิเคราะห์ข้อมูลจาก
แบบสอบถามชนิดนี้ค่อนข้างยุ่งยาก โดยมากจึงนิยมใช้เป็นแนวทางในการสร้างข้อคาถามแบบ
ปลายเปิด

ตวั อยา่ งข้อคาถามแบบปลายเปิด
ท่านต้องการให้บัณฑิตท่ีจบจากสถาบันการศึกษาทีคุณลักษณะในด้านต่าง ๆ ต่อไปน้ี
อยา่ งไร
(1) บุคลกิ ภาพและมนุษยสัมพันธ์

________________________________________________________________________________________________________

(2) ความรคู้ วามสามารถในการปฏบิ ัติงาน

________________________________________________________________________________________________________

(3) คณุ ธรรมและจริยธรรม

________________________________________________________________________________________________________

(4) อน่ื ๆ

________________________________________________________________________________________________________

~ 50 ~

2. แบบสอบถามปลายปิด คือ แบบสอบถามที่ประกอบด้วยข้อคาถามที่มีคาตอบ
ไว้เรียบร้อยแล้ว ผตู้ อบเพยี งแตเ่ ลอื กคาตอบให้ตรงกับความเป็นจรงิ หรอื ความคดิ เห็นของตน
แบบสอบถามปลายเปิด มีหลายลักษณะ ได้แก่
2.1 แบบสองตัวเลือก เป็นข้อคาถามท่ีให้เลือกตอบเพียงอย่างใดอย่างหนึ่งใน
สองอย่าง คาตอบ มักได้แก่ ใช้ -ไม่ใช้ เคย - ไม่เคย เห็นด้วย - ไม่เห็นด้วย สนใจ -ไม่สนใจ
ฯลฯ เช่น
 ควรมกี ารจดั สมั มนาดงั เช่นการจดั สัมมนาในคร้ังน้ี หรอื ไม่
[ ] ควร [ ] ไมค่ วร
 บคุ ลากรในโรงเรยี นมีส่วนร่วมในการวางแผนการศึกษาของโรงเรียน หรอื ไม่
[ ] มี [ ] ไม่มี
 ท่านได้มอบหมายงานหรือมอบอานาจหน้าทีใ่ หก้ ับผู้ร่วมงาน หรอื ไม่
[ ] ไดม้ อบ [ ] ไมไ่ ด้มอบ
2.2 แบบมหี ลายตวั เลอื ก เป็นข้อคาถามที่มีหลาย ๆ ตัวเลือกให้เลือกเพียงข้อใด
ข้อหน่ึง เช่น
 เหตผุ ลทีส่ าคัญท่สี ดุ ทีท่ า่ นศกึ ษาตอ่
( ) ต้องการวุฒิสูงข้นึ
( ) ตอ้ งการเปลยี่ นสายงาน
( ) ต้องการเลือ่ นระดับ/ตาแหนง่
( ) ต้องการความรู้และประสบการณ์เพ่ิมเติม
( ) อน่ื ๆ โปรดระบุ_________
2.3 แบบให้เลือกตอบตามลาดับ ความชอบ ความต้องการ หรือความสาคัญ
โดยใหเ้ รียงลาดับ 1, 2, 3,…… เชน่
 ถ้าจะจัดให้มีการอบรมสัมมนาท่านต้องการเข้ารับการอบรมในหัวข้อ
ต่อไปน้ี โดยให้เรยี งลาดบั 1, 2, 3,…… ตามลาดบั ความต้องการ
_____ เทคนิคการสอน
_____ การจดั ทาสื่อการสอน
_____ การเขียนแผนการสอน
_____ การวัดและประเมนิ ผล
_____ ความรใู้ นเนือ้ หา

~ 51 ~

2.4 แบบมาตรประมาตรค่า เป็นข้อคาถามท่ีลักษณะของคาตอบจะมีระดับ
จากน้อยไปมาก ซึ่งอาจจะเปน็ 3, 4 หรือ 5 ระดบั ก็ได้ เช่น
 ท่านพอใจสภาพการทางานของทา่ นเพียงใด
[ ] พอใจ [ ] เฉย ๆ [ ] ไมพ่ อใจ
 ทา่ นมีความสามารถในการตดิ ต่อประสานงานและเขา้ กับผ้อู น่ื ได้
[ ] มาก [ ] ปานกลาง
[ ] นอ้ ย [ ] น้อยท่ีสุด

ลาดับขั้นในการสรา้ งแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามจะต้องมีความละเอียดถ่ีถ้วยเป็นพิเศษเพราะไม่มีผู้ท่ีคอยให้

คาแนะนาช้แี จงขอ้ สงสยั เม่ือผู้ตอบไม่เข้าใจในข้อคาถาม ดังเช่น การสัมภาษณ์ ดังนั้นถ้อยคาภาษา
ทีใ่ ช้ในแบบสอบถามจะต้องชดั เจน แนวทางในการสร้างแบบสอบถามมีดังน้ี

1. กาหนดข้อมูลท่ีต้องการ ว่าต้องการข้อมูลในเร่ืองใด ชนิดไหน โดยพิจารณาจาก
วัตถุประสงค์ของการวิจัยที่ได้กาหนดไว้แล้ว ในข้ันนี้ผู้วิจัยจะต้องศึกษาหาความรู้จากเอกสาร
สง่ิ พิมพ์ บทความ รายงานการวิจัย หรอื ตาราต่าง ๆ ท่เี กยี่ วข้องกับปัญหาการวิจัยให้มากที่สุด เพ่ือ
จะได้ทราบว่าการท่ีจะให้ได้มาซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะต้องถามเกี่ยวกับอะไรบ้าง เช่น ต้องการศึกษา
เกีย่ วกับ “ลักษณะของครทู ี่พึงประสงค์” ผวู้ จิ ัยจะต้องศึกษาวา่ ปัญหานคี้ วรจะประกอบด้วยข้อมูลใน
ด้านใดบ้าง เช่น ควรจะประกอบด้วยข้อมูล ด้านการสอน ด้านบุคลิกภาพ ด้านคุณธรรมจริยธรรม
ดา้ นมนุษยสมั พันธ์

2. พิจารณาว่าจะใช้แบบสอบถามชนิดใด โดยพิจารณาว่าข้อมูลที่ต้องการนั้นควรจะมี
ลักษณะอย่างไรจึงจะตอบคาถามตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย เช่น ควรใช้คาถามแบบปลายเปิด
หรอื ปลายปิดชนิดใด ถา้ เป็นแบบมาตรประมาณค่า ขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ะอยู่ในระดับช่วงซงึ่ บอกถึงระดับมาก
น้อย

3. ร่างข้อคาถาม หลังจากได้ชนิดของแบบสอบถามตามต้องการแล้วก็ลงมือสร้างข้อ
คาถามตามหัวข้อย่อยที่กาหนดไว้ในข้ันแรก โดยพยายามคิดว่าในแต่ละหัวข้อย่อยที่กาหนดไว้น้ัน
จะตอ้ งประกอบด้วยข้อคาถามอะไรบา้ ง ท่ีอยใู่ นขอบเขตของหวั ข้อน้นั พยายามตงั้ คาถามใหม้ ากและ
ครอบคลุมแล้วลองถามตัวเองดูว่าคาถามแต่ละข้อน้ันจะได้คาตอบอะไรบ้าง คาตอบเหล่าน้ันจะตอบ
ปัญหาทกี่ าหนดไวห้ รอื ไมเ่ พยี งใด

4. ตรวจสอบร่างแบบสอบถามในด้านภาษา เนื้อหาของคาถาม การเรียงลาดับคาถาม
การตรวจสอบน้ันทาโดยการตรวจสอบด้วยตนเอง หลังจากน้นั จึงนาไปทดลองใช้กบั กล่มุ ตัวอย่างเล็ก
เพื่อหาข้อบกพร่องในด้านต่าง ๆ ในด้านความเข้าในภาษา ความชัดเจนของข้อคาถาม การ
จัดเตรียมคาตอบไว้ใหเ้ ลือกตอบครบถว้ ยหรอื ไม่

~ 52 ~

5. ตรวจสอบความเทย่ี งตรง (Validity) โดยผเู้ ชย่ี วชาญทางวชิ าการในเรอ่ื งที่วจิ ยั
6. ปรบั ปรงุ แก้ไข
7. นาไปทดลองใช้ เพือ่ หาความเชอ่ื มั่น ความเท่ียงตรงของแบบสอบถาม
8. จัดทาจดหมายนา โดยช้ีแจงให้ผ้ตู อบทราบถงึ เหตผุ ล เน้นให้เห็นถึงความสาคัญและ
ประโยชน์ที่จะไดร้ บั จากการตอบแบบสอบถาม เพราะปจั จยั หนง่ึ ท่ีจะทาให้ได้รบั แบบสอบถามกลบั คืน
มามาก หรือน้อยข้ึนอยกู่ ับความในจดหมายท่สี ามารถโนม้ นา้ วใหผ้ ู้ตอบได้เห็นความสาคัญและ
ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม จดหมายนั้นควรกาหหนดวันท่ีที่จะให้ส่งแบบสอบถาม
กลับคืนพร้อมทั้งติดแสตมป์ พิมพ์ท่ีอยู่ของตนเองไปให้เรียบร้อยเพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่
ผ้ตู อบแบบสอบถามในกรณที ่ีสง่ ทางไปรษณยี ์
หลกั เกณฑ์การเขยี นข้อคาถาม
การเขยี นข้อคาถาม ควรคานงึ ถงึ ส่ิงต่าง ๆ ต่อไปนี้

1. หลีกเลี่ยงคาถามนา ซึง่ มลี ักษณะชกั ชวนใหต้ อบความต้องการ
2. ไม่ควรให้ศพั ทเ์ ทคนคิ ศัพทท์ างวิชาการและคาที่ใชก้ นั เฉพาะกล่มุ
3. หลีกเล่ยี งประโยคคาถาม ปฏิเสธซอ้ นปฏเิ สธ ถ้าจาเป็นต้องใช้ ใหข้ ีดเสน้ ใตค้ าวา่
“ไม่” ให้ชัดเจน เช่น “ท่านไมเ่ หน็ ดว้ ยกับการท่ีไมใ่ ห้นกั ศกึ ษาใชเ้ ครอื่ งไฟฟูาทุกชนิดในหอ้ งพกั ”
4. ไมค่ วรใช้คายอ่ ต่าง ๆ เชน่ อ.ค.ป. , ลส.ชบ. , กศ.บป.
5. หลกี เลีย่ งคาถามซ้อนในประโยคเดียวกนั เช่น “ท่านเห็นด้วยหรือไม่ท่ีว่าอาชีพครู
เปน็ อาชีพทม่ี คี ณุ ค่า และมีโอกาสทีจ่ ะก้าวหนา้ ”
6. ไมค่ วรใชค้ าศัพท์และคาวิเศษณ์ คานามธรรม เพราะคาเหล่าน้ีสื่อความหมาย
ไดห้ ลายอยา่ ง เช่น บอ่ ย มาก นอ้ ย หลาย ฯลฯ
7. หลีกเลี่ยงคาถามท่ีเกี่ยวพันกับค่านิยมหรือบรรทัดฐานของสังคมเพราะจะทาให้
ได้รับคาตอบทไี่ ม่เปน็ จรงิ เชน่ “ท่านไปทางานสาย บอ่ ยหรอื ไม่”
8. หลีกเลยี่ งคาถามที่จะทาให้ผู้ตอบตอ้ งเกดิ ความลาบากใจหรืออึดอดั ใจทีจ่ ะตอบ
ข้อดี ข้อเสียของแบบสอบถาม
ข้อดี ของแบบสอบถาม
1. ประหยัดค่าใช้จ่าย เวลา และแรงงานในการเก็บรวบรวมข้อมูลเมื่อเทียบกับการ
เก็บขอ้ มลู โดยวธิ ีอ่ืน เพราะสามารถแจกแบบสอบถามให้ผูต้ อบพรอ้ มกันเป็นจานวนมาก ๆ ได้
2. ผู้ตอบมีความสบายใจในการตอบ และกล้าตอบข้อคาถามท่ีไม่ออยากจะตอบ
เพราะไมต่ ้องเปิดเผยช่ือตัวเองและไม่ตอ้ งเผชญิ หน้ากับผถู้ าม

~ 53 ~

3. ผู้ตอบมีเวลาคิด และพิจารณาคาถามแต่ละข้อมากกว่าการสัมภาษณ์ จะใช้เวลา
ตอบมากหรอื น้อยก็ไดต้ ามแตต่ ้องการ

4. ได้ขอ้ มูลที่เปน็ มาตรฐานเดียวกนั ง่ายแกก่ ารวเิ คราะห์ขอ้ มูล
5. สะดวกแก่ผู้ตอบ ผูต้ อบสามารถจะตอบเวลาไหนกไ็ ด้ แล้วแต่จะสะดวก
6. กลุ่มตัวอย่างจะได้คาถามที่มีรูปแบบเหมือนกันทุกคน แต่ถ้าเป็นการสัมภาษณ์
คาถามที่ถามอาจจะผิดกันไปในแต่ละครั้ง เช่น สาเนียงที่ใช้ การเน้นเสียงของผู้สัมภาษณ์
โดยเฉพาะถ้ามีผู้สัมภาษณ์หลายคน ทาให้การสื่อความหมายต่างกันออกไป จึงไม่แน่ใจว่าจะเป็น
คาถามเดยี วกนั หรอื ไม่
7. ไม่ต้องคอยพบคนใหข้ อ้ มลู สามารถสง่ แบบสอบถามไปทางไปรษณียเ์ วลาใดก็ได้
ข้อเสีย ของแบบสอบถาม
1. ไดร้ บั แบบสอบถามคนื มานอ้ ย หรอื บางฉบับตอบไม่สมบรู ณ์
2. ผู้ตอบอาจไม่ใชก่ ลุ่มตวั อย่างท่กี าหนด ในกรณีที่ส่งแบบสอบถามไปยังผู้ตอบ ผู้
ที่ได้รับอาจจะให้คนอื่นตอบแทน โดยทผ่ี ้วู จิ ยั ไมส่ ามารถทราบได้
3. ถ้าผู้ตอบไม่เข้าใจคาถามหรือเข้าใจเป็นอย่างอ่ืนทาให้ได้คาตอบไม่ถูกต้องหรือ
อาจจะไม่ตอบเลยกไ็ ด้
4. ใชไ้ ด้เฉพาะกลมุ่ คือ ผู้ทีอ่ ่านหนังสอื ไดเ้ ท่านนั้
5. ผู้ตอบอาจจะลอกคาตอบกัน
โครงสร้างของแบบสอบถาม
แบบสอบถามโดยท่ัวไปจะแบง่ เนอื้ หาออกเปน็ ตอน ๆ ตามวัตถปุ ระสงคท์ ีต่ ้องการทราบ
อย่างน้อยจะประกอบดว้ ย 2 ตอน คอื
ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัว ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ รายได้ ท่ีอยู่อาศัย
ฯลฯ ข้อมลู ส่วนตัวนี้จะมมี ากหรอื นอ้ ยขึ้นอยกู่ ับความต้องการแและตวั แปรท่ีต้องการศกึ ษา
ตอนท่ี 2 และตอนต่อ ๆ ไป จะถามเนื้อหาสาระที่ต้องการโดยแบ่งออกเป็นตอน ๆ
ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย

~ 54 ~

การสมั ภาษณ์
การสัมภาษณ์เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสนทนากันอย่างมีจุดมุ่งหมายระหว่างผู้

สัมภาษณ์และผู้ให้สัมภาษณ์
ประเภทของการสัมภาษณ์
การสมั ภาษณ์แบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภทคอื
1. การสมั ภาษณโ์ ดยใช้แบบสัมภาษณ์ เป็นการสัมภาษณ์ที่เตรียมคาถามไว้เรียบร้อย

แล้วสัมภาษณ์มีหน้าท่ีสัมภาษณ์ตามคาถามท่ีกาหนดให้เท่านั้น การสัมภาษณ์ที่มีแบบสัมภาษณ์
เรียบรอ้ ยแล้วน้ี อาจดาเนินการได้สองลกั ษณะคือ

1.1 การสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล เป็นการสัมภาษณ์ทีละคน วิธีน้ีเป็นวิธีท่ีดีและ
ได้ผลมาก

1.2 การสัมภาษณเ์ ปน็ กลุ่มเล็ก ๆ วิธนี ้ผี ู้สัมภาษณจ์ ะแจง้ วตั ถปุ ระสงค์และข้อ
คาถามใหก้ ลุ่มผู้ใหส้ ัมภาษณเ์ ขา้ ใจเสียก่อนแล้วจงึ ใหต้ อบทีละคน ถา้ ใครสงสยั ก็ถามซ้าได้

2. การสัมภาษณ์โดยไม่ใช้แบบสัมภาษณ์เป็นการสัมภาษณ์ท่ีไม่ได้เตรียมข้อความไว้
เหมือนวิธีแรก ทั้งผู้สัมภาษณ์และผู้ให้สัมภาษณ์ มีอิสระในการตอบเต็มท่ี ฉะนั้นการท่ีจะได้
ข้อเท็จจริงมากน้อยข้ึนอยู่กับความสามารถของผู้สัมภาษณ์การสัมภาษณ์วิ ธีนี้ก็มีความจาเป็นและ
สาคัญ เช่นกัน ใช้กันมากในหมู่ของนักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ จิตแพทย์และแพทย์ การ
สัมภาษณ์วธิ นี ีแ้ บง่ ออกเปน็ 3แบบ

2.1 การสัมภาษณ์แบบลึก เป็นการสัมภาษณ์ท่ีต้องการจะเข้าใจแก่นแท้ของ
พฤตกิ รรมของบุคคล เพราะฉะนน้ั ผู้สมั ภาษณ์จะต้องใชค้ วามพยายามล้วงเอาความจรงิ การสมั ภาษณ์
วิธนี ตี้ ารวจ ทนายความ หรอื เจา้ หน้าทีส่ อบสวนชอบใช้

2.2 การสัมภาษณแ์ บบไมจ่ ากดั คาตอบ เป็นการสัมภาษณ์ทปี่ ล่อยให้ผู้สัมภาษณ์
ระบายความคิดของตนเองตามความพอใจ โดยไม่ต้องดึงเข้าสู่จุดหมายท่ีต้องการผู้สัมภาษณ์มี
หน้าท่ีบันทึกและต้ังใจฟังเท่านั้น หรือบางครั้งผู้สัมภาษณ์อาจจะกล่าวนาเพียงประโยคสองประโยค
แล้วปล่อยให้ผู้ให้สัมภาษณ์ระบายความคิดออกมา ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์โดยวิธีนี้เม่ือนามา
ประมวลกันแล้วอาจจะทาใหม้ องเหน็ ทศิ ทางอธบิ ายปัญหาการวจิ ยั ได้

2.3 การสัมภาษณ์แบบเน้นจุดสัมภาษณ์ (Focused Interview) การ
สัมภาษณ์ วิธีนี้เป็นการสัมภาษณ์ที่มีจุดมุ่งหมายในใจว่า จะถามอะไรและเพ่ืออะไร แล้ว
พยายามหนั เหความสนใจของผู้ให้สมั ภาษณ์มายงั จุดมุง่ หมายทีก่ าหนดไว้

~ 55 ~

การเตรียมการสัมภาษณ์
1. กาหนดกลุม่ ตัวอย่างที่ต้องการศึกษา
2. นัดหมายกับกลมุ่ ตัวอย่างในเรื่องเวลา สถานท่ี ๆ จะไปสัมภาษณ์
3. เตรยี มแบบสมั ภาษณ์ วธิ กี ารสมั ภาษณ์ วิธีบันทึกคาตอบตลอดจนวิธีการจาแนก

คาตอบทไี่ ด้
4. ฝกึ ซ้อมการใช้แบบสมั ภาษณ์ วิธีการบันทึกขอ้ มลู เพ่ือให้เกดิ ความคล่องแคลว่

การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์ ซ่ึงมีผู้สัมภาษณ์หลาย ๆ คน อาจจะทาให้
ข้อมูลท่ีรวบรวมมาได้มาสามารถจะเปรียบเทียบและรวมกันได้มาตรฐานเดียวกันและตรงตาม
วัตถุประสงค์การวิจัย ผ้สู มั ภาษณท์ กุ คนในโครงการวจิ ยั จะตอ้ งมกี ระบวนการสัมภาษณ์ท่ีได้มาตรฐาน
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล นน่ั คอื ต้องมกี ารตระเตรยี มแบบสัมภาษณ์ การฝึกอบรมผู้สัมภาษณ์ให้
ตระหนักในคุณค่าของข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ตลอดจนซักซ้อมความเข้าใจในประเด็นต่าง ๆ
ของการสมั ภาษณ์ ในระหว่างผู้สมั ภาษณ์ทกุ คนใหม้ ีความเข้าใจตรงกัน

การดาเนนิ การสัมภาษณ์
1. สรา้ งความสัมพนั ธ์อันดกี ับผใู้ ห้สัมภาษณ์ เพอ่ื ใหผ้ ูส้ มั ภาษณ์เกิดความสบายใจ ไว้ใจ

เต็มใจ ที่จะให้คาตอบความเป็นตรงมากท่ีสุด ก่อนอ่ืน ผู้สัมภาษณ์ควรจะแนะนาตนเอง บอกถึง
จดุ มงุ่ หมายของการสัมภาษณ์ และความสาคัญในการท่จี ะได้รบั ขอ้ มลู จากการสมั ภาษณใ์ นคร้งั นี้

2. พยายามตัง้ ใจฟงั อยา่ งสนใจ และไมว่ ิพากษว์ ิจารณ์สิง่ ทผ่ี ู้ใหส้ มั ภาษณก์ ลา่ ว
3. พยายามหลีกเลยี่ งข้อคาถาม ทจ่ี ะกระทบกระเทอื นตอ่ ความรูส้ ึกของผูใ้ หส้ มั ภาษณ์
4. ควบคมุ การสัมภาษณ์ไม่ใหน้ อกเรอื่ ง
5. พยายามแสดงให้ผู้สัมภาษณ์เห็นว่าการสัมภาษณ์มีความสาคัญและเป็นประโยชน์
อย่างยง่ิ
6. ผู้สัมภาษณ์ควรจะเหลือเวลาตอนท้ายไว้สาหรับตรวจสอบดูว่ามีข้อคาถามใด
หลงเหลือยังไม่ได้สัมภาษณ์หรือไม่ ตลอดจนเปิดโอกาสให้ผู้ให้สัมภาษณ์ได้แสดงความคิดเห็น
ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ
ขอ้ ดี ขอ้ เสยี ของการสมั ภาษณ์
ขอ้ ดี ของการสมั ภาษณ์
1. เหมาะกบั ผู้ตอบทกุ ประเภท
2. ใช้ได้ดีกับปัญหาท่ีค่อนข้างสลับซับซ้อน ซึ่งต้องการข้อมูลหลายลักษณะจากประชา
การหลายกลมุ่ เพราะผสู้ มั ภาษณ์สามารถทจ่ี ะเลอื กใช้คาถาม คาพดู ทเี่ หมาะสมกบั ประชากรได้
3. ได้ข้อมลู กลับคืนมาใกลเ้ คียงกบั จานวนท่ีกาหนด เพราะไปรวบรวมด้วยตนเอง

~ 56 ~

4. ชว่ ยให้ร้ขู อ้ เทจ็ จรงิ บางอยา่ งเพิ่มเติมในขณะสัมภาษณ์ เช่น ได้จากการสังเกต สหี น้า
ท่าทางการพูดจา

5. มคี วามยืดหยุ่น เพราะผ้สู มั ภาษณ์สามารถอธิบายข้อคาถามทผี่ ้ตู อบอาจจะเข้าใจผิด
ขอ้ เสีย ของการสมั ภาษณ์
1. สิน้ เปลอื งค่าใชจ้ า่ ย เวลา และแรงงานมาก
2. คาตอบที่ได้จะอยู่ในมาตรฐานที่แตกต่างกัน เพราะอาจจะได้รับอิทธิพลจากผู้
สัมภาษณ์ 3. ผตู้ อบอาจตอบได้ไมส่ ะดวกเท่าแบบสอบถาม
4. การรวบรวมข้อมูลอาจมีอุปสรรค เช่น การคมนาคมไปมาไม่สะดวก ภาษาท่ีใช้อาจ
แจกต่างกัน
5. ผลของการสัมภาษณ์จะถูกต้อง และเช่ือถือได้เพียงใดขึ้นอยู่กับความรู้และ
ประสบการณข์ องผสู้ ัมภาษณ์เป็นสว่ นใหญ่
การสังเกต
การสังเกต เป็นการศึกษาหาข้อเท็จจริง ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ โดยอาศัยประสาทสัมผัส
ท้ังห้า ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และกาย เพ่ือทราบถึงพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้น ซึ่ง
เกย่ี วข้องกับปัญหาการวจิ ัย
ประเภทของการสังเกต
1. การสังเกตโดยเข้าไปร่วม วิธีน้ีผู้สังเกตจะเข้าไปร่วมเป็นสมาชิกผู้หน่ึงของกลุ่มและ
ร่วมทากิจกรรมร่วมกับผู้ถูกสังเกต พร้อมท้ังสังเกตพฤติกรรมที่ต้องการไปด้วย ข้อมูลท่ีได้จากการ
สังเกต โดยวิธีนี้จะเป็นข้อมูลท่ีมีคุณค่า เพราะผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัวว่ากาลังถูกสังเก ตแต่ผู้สังเกต
จะต้องไม่ลมื หน้าทีข่ องตนเอง เพราะบางที่แสดงบทบาทสมาชิกของกลุ่มจนลมื สงั เกต
2. การสงั เกตโดยไม่เข้าไปร่วม วิธีนี้ผู้สังเกตจะไม่เข้าไปร่วมกิจกรรม อาจจะสังเกตโดย
ไม่ให้ผู้ถูกสังเกตรู้ตัว เพ่ือทราบถึงพฤติกรรมอันแท้จริง ซ่ึงอาจทาได้โดยผู้สังเกตอยู่ในท่ี ๆ ซึ่งผู้
ถูกสงั เกตไมอ่ าจเหน็ ผสู้ งั เกตได้ เช่น มีกระจกดา้ นเดยี ว หรอื โทรทศั น์วงจรปิด
ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตจะมีความคลาดเคลื่อนมากหรือน้อย มีความเชื่อมั่นและความ
เท่ียงตรงสูงหรือต่าย่อมข้ึนอยู่กับผู้สังเกตและวิธีการสังเกตเป็นสาคัญ ดังน้ันหลักการสังเกตและผู้
สังเกตควรจะมีลักษณะ ดงั นี้

~ 57 ~

หลกั การสงั เกต
สิ่งสาคัญ 4 ประการ ในการสังเกต คอื
1. การสังเกตจะตอ้ งมีการวางแผน อย่างรอบคอบมรี ะบบ
2. กาหนดพฤติกรรมที่ต้องการสังเกตให้ชัดเจน และตรงตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย

เพราะผู้สังเกตไม่สามารถสังเกตได้หมดทุกแง่ทุกมุม ดังนั้น จึงต้องกาหนดว่าจะสังเกตพฤติกรรม
อะไร และพฤติกรรมใดที่ไม่สังเกต เช่น ต้องการสังเกตพฤติกรรมการสอนของครูจะต้องกาหนด
พฤติกรรมที่ต้องการสังเกตให้ชัดเจนว่าต้องการสังเกตพฤติกรรมด้านใด เพราะมีพฤติกรรมท่ีจะ
สงั เกตไดม้ ากมาย เช่น พฤตกิ รรมด้านการถาม - ตอบ ด้านวิธีสอน ด้านการใชอ้ ปุ กรณ์ ฯลฯ

3. นยิ ามสง่ิ ที่จะสังเกตหรอื พฤตกิ รรมท่จี ะสังเกตให้ชดั เจน เพื่อผู้สังเกตจะได้รู้ว่าอะไรท่ี
เก่ียวข้อง และไมเ่ กยี่ วข้องกับการสังเกตในคร้งั นี้

4. ทาการบนั ทึกการสงั เกตอย่างระมัดระวงั และครบถว้ น ถกู ต้อง นั่นคอื ผสู้ ังเกตจะต้อง
ตระเตรยี มเคร่อื งมือสาหรับบนั ทึกผลการสงั เกต เชน่ แบบสารวจ มาตรประมาณคา่

ลกั ษณะของผู้สังเกต
ผู้สังเกตควรมลี กั ษณะ ดงั นี้
1. ผสู้ งั เกตควรมคี วามรู้ในเรอื่ งที่สงั เกตและได้รบั การฝึกฝนมาสาหรบั การสงั เกตในเร่อื งนี้

โดยเฉพาะ จนสามารถเชอ่ื ไดว้ า่ จะสามารถทาการสังเกตตามกระบวนการและรายงานผลการสังเกต
ไดถ้ ูกตอ้ ง ซ่งึ จะชว่ ยให้ข้อมูลที่ไดจ้ ากการสงั เกตมีความเชอ่ื มัน่ และความเทีย่ งตรงสูง

2. ผู้สังเกตควรมีประสาทสัมผัส ( ตา-หู) ท่ีไว มีสุขภาพร่างกายเป็นปกติ ไม่ง่วงหรือ
ปวดศีรษะขณะท่ีสังเกต

3. ผู้สังเกตต้องมีความสามารถในการประเมินพฤติกรรม หรือปรากฏการณ์ที่สังเกตได้
ถูกต้องและแมน่ ยา

4. ผู้สังเกตจะต้องมีความเป็นปรนัย คือไม่มีอคติส่วนตัว จะต้องไม่ให้อคติหรือความ
ลาเอียงเขา้ มามอี ทิ ธพิ ลต่อการสังเกตและการบนั ทึก

5. ผู้สังเกตจะต้องบันทึกผลการสังเกตตามข้อเท็จจริงที่ได้โดยไม่ใส่ความเห็นหรือแปล
ความหมาย ข้อมูลที่ไดใ้ นขณะทีส่ งั เกต แตจ่ ะนามาแปลความหมายหลังจากท่ีสงั เกตเรยี บรอ้ ยแลว้

เครอ่ื งมอื ในการสังเกต
เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการสังเกต ได้แก่ แบบสารวจ มาตรประมาณค่า ระเบียนสะสม บัตร

คะแนน และอปุ กรณ์บันทึกท้งั หลาย การท่ีจะใช้เครื่องมือชนิดใดข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของการวิจัย
และสภาพการณท์ ่จะสงั เกต หรือจะใช้หลาย ๆ ชนิดผสมกันกไ็ ด้ แล้วแตค่ วามเหมาะสม

~ 58 ~

ข้อดี ข้อเสียของการสังเกต
ขอ้ ดี ของการสังเกต
1. ไดข้ อ้ มูลบางชนิดทผ่ี ตู้ อบไม่เตม็ ใจจะบอก
2. เป็นการช่วยเก็บขอ้ มูลเพิม่ เติมจากการใช้วธิ อี ่นื ๆ มาแลว้
3. ช่วยในการเกบ็ ขอ้ มลู จากเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ จริง ๆ ได้ทันที
ข้อเสีย ของการสังเกต
1. ไม่สามารถเกบ็ ขอ้ มูลบางอย่างท่ีเจ้าของเหตุการณ์ไม่อนุญาตให้ผู้ศึกษาวิจัยเข้าไป

สงั เกตได้
2. ไม่สามารถเก็บข้อมูลท่ีต้องการได้ ถ้าหากพฤติกรรมท่ีต้องการสังเกตไม่เกิดข้ึนใน

ระยะเวลาทีท่ าการสงั เกต
3. ไมส่ ามารถเก็บขอ้ มูลไดท้ วั่ ถงึ ครบถว้ ยทุกแงท่ กุ มุงของเหตกุ ารณ์ เพราะผสู้ ังเกตไม่

สามารถใหค้ วามสนใจบคุ คลหลาย ๆ คนไดพ้ ร้อมกนั
มาตรวดั เจตคติ (Attitude Scales)

มาตรวัดเจตคติ คือ เครือ่ งมือที่ใชว้ ัดเจตคติของบคุ คลทม่ี ตี ่อส่งิ ใดสงิ่ หน่งึ อาจจะเป็นบคุ คล
สิง่ ของ เหตุการณ์ พฤตกิ รรมหรอื สถานที่ เคร่ืองมอื น้ี แตกต่างจากแบบทดสอบท่ีว่าผลที่วัดออกมา
นั้นไม่ได้แสดงถึงความสาเร็จ – ลม้ เหลว เก่ง – ออ่ น แต่จะบอกถึงระดับของเจตคติของบุคคล
ท่มี ีตอ่ ส่งิ นนั้ ๆ เชน่ เจตคตขิ องนกั ศึกษาท่มี ีตอ่ สถานศึกษา เจตคติของลกู ค้าท่มี ีต่อผลิตภัณฑ์

ความหมายของเจตคติ
เจตคติหรือทัศนคติ (Attitude) หมายถึง ท่าที ความรู้สึก แนวความคิดเห็นของบุคคล

ต่อสงิ่ หนึง่ สิ่งใด (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ สถาน, 2538, น. 237 น. 393)
การสรา้ งมาตรวดั เจตคติ
มาตรวดั เจตคติมีหลายชนิดในท่นี ้จี ะกล่าวถงึ 3 ชนิด ไดแ้ ก่
1. มาตรวัดเจตคติเทอร์สโตน (Thurstone Scales)
2. มาตรวัดเจตคติลเิ คอร์ท (Likert Scaales)
3. มาตรวัดเจตคติโดยใช้ความหมายทางภาษา (Semantic Diffrential)

~ 59 ~

มาตรวดั เจตคตเิ ทอร์สโตน (Thurstone Scales)
เทอร์สโตน มีแนวคดิ เกีย่ วกบั เจตคตวิ า่ เจตคตเิ ป็นพฤตกิ รรมภายในซ่ึงไม่สามารถวัดได้
โดยตรง แตอ่ าจวดั ได้โดยการให้แสดงออกในรูปของความรู้สึกนกึ คดิ ท่ีมตี อ่ สง่ิ นัน้ ๆ โดยการให้
นา้ หนักหรอื คะแนนแตล่ ะขอ้ ความท่ปี ระกอบขน้ึ มาเปน็ สเกล แตล่ ะข้อความ จะแบง่ เปน็ ชว่ งเท่า ๆ
กัน จึงมีช่ือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า วิธีการกาหนดช่วงให้เท่ากัน (The Method of equal
appearing Intervals)
วธิ ีสร้างมาตรวัดเจตคตเิ ทอรส์ โตน (Thurstone Scales)

1. กาหนดส่ิงท่จี ะวัด ว่าต้องการวัดเจตคติของใครต่อสง่ิ ใด เชน่ เจตคติของนักศึกษาที่
มตี อ่ กจิ กรรมนกั ศกึ ษา

2. กาหนดโครงสร้าง (Construct) ของสิ่งที่จะวัดว่าส่ิงน้ันประกอบด้วย คุณลักษณะ
หรือองค์ประกอบด้านใดบ้าง เพ่ือเป็นแนวทางในการสร้างข้อความได้ง่ายขึ้น เช่น ต้องการวัด
เจตคตขิ องนกั เรยี นท่ีมตี ่อวิชาคณติ ศาสตร์ อาจจะกาหนดว่าประกอบด้วย ด้านเนื้อหาด้านประโยชน์
และอ่นื ๆ

3. สร้างข้อความคิดเห็นในแต่ละด้านท่ีกาหนดไว้ในข้อ 2. ให้ครอบคลุมและมากที่สุด
ข้อความเหล่าน้ีอาจรวบรวมมาจากวารสาร นิตยสาร บทความ การสนทนา ประสบการณ์
งานวจิ ัยและแหลง่ เอกสารทุกประเภท ให้มที ั้งขอ้ ความทางบวก ทางลบและเป็นกลาง ข้อความ
ทง้ั หมดควรจะมปี ระมาณ 100-150 ข้อความ

ขอ้ ความคิดเห็นเกย่ี วกบั เจตคติควรจะมีลักษณะดังน้ี
(1) เปน็ ขอ้ ความทีส่ ามารถโต้แย้งกนั ได้ ไมใ่ ชค่ วามที่แสดงขอ้ เทจ็ จริง
(2) เปน็ ข้อความทสี่ ามารถจาแนกความคดิ เห็นของบุคคลทม่ี ีต่อเร่ืองท่จี ะวัดได้

4. พมิ พ์ขอ้ ความทส่ี รา้ งไวใ้ นขอ้ 3. ลงในบัตร ขอ้ ความละ 1 บัตร
5. กาหนดกลุ่มผู้เช่ียวชาญประมาณ 50 – 100 คน (Ary Donald, 1979, 187)
ท่ีจะเป็นผู้ตัดสินว่าแต่ละข้อความนั้นเป็นข้อความสนับสนุนในระดับใด โดยให้แต่ละคนพิจารณา
และจาแนกข้อความทั้งหมดเป็น 11 กลุ่มตามลาดับ ความเข้มข้นของข้อความท้ัง 11 กลุ่มน้ี
ถอื วา่ เป็น 11 ระดับทแี่ บ่งเป็นช่วงหา่ งเทา่ ๆ กนั

ข้อความที่อยูใ่ นกลมุ่ ที่ 1 หมายถงึ เป็นขอ้ ความท่มี คี วามหมายในทางสนับสนุนสิ่ง
น้ันน้อยที่สุด กลุ่ม 2, 3, 4 เป็นข้อความท่ีมีความหมายในทางสนับสนุนส่ิงนั้นมากขึ้น ๆ จนถึง
ระดับ 6 หมายถึงเป็นข้อความท่ีแสดงว่าเป็นกลางหรือไม่แน่ใจ ระดับ 11 หมายถึง เป็น
ขอ้ ความทีม่ คี วามหมายในทางสนับสนนุ มากที่สดุ

~ 60 ~

1 6 11

สนบั สนุนน้อยทส่ี ุด เป็นกลาง สนับสนุนมากท่สี ดุ

เมื่อผ้ตู ดั สนิ พิจารณาวา่ เปน็ ขอ้ ความตามกล่มุ ใด ก็ให้เขยี นหมายเลขหลงั ข้อความน้นั ขอ้ ควร
ระวังสาหรับผู้ตัดสินก็คือไม่ใช่ให้ผู้ตัดสินใจลงความเห็นว่าเห็นด้วยกับข้อความน้ันในระดับใด แต่ให้
ตัดสินใจว่าเป็นขอ้ ความทีม่ คี วามหมายในทางสนับสนนุ มากนอ้ ยแค่ไหน

6. นาผลการพิจารณาของกลุ่มผู้ตัดสินมาหาค่าประจาข้อ (Scale – Value) ของแต่ละ
ข้อความโดยการหาค่ามธั ยฐานและคา่ เบย่ี งเบนควอไทล์

6.1 ค่ามัธยฐาน (S –Value) ใช้สัญลักษณ์ คือ S จะเป็นค่าประจาข้อความนั้น
ซึ่งเป็นค่าที่แสดงให้ทราบว่า ผู้ตัดสินได้ตัดสินให้ข้อความนั้นเป็นข้อความประเภทสนับสนุนหรือ
ต่อต้านในระดับใด ถ้ามีค่าสูงหมายถึงข้อความท่ีแสดงเจตคติท่ีดี ถ้ามีค่าต่าหมายถึง ข้อความที่
แสดงถงึ เจตคติท่ีไมด่ ี

6.2 ค่าเบ่ียงเบนควอไทล์ คือ การหาค่าพิสัยควอไทล์ (Inter quartile Range)
ใช้สัญลักษณ์ว่า Q เป็นค่าที่บอกให้ทราบว่าการตัดสินของกลุ่มผู้ตัดสินมีความเห็นสอดคล้องกัน
หรือไม่ในการตัดสินข้อความนั้น ถ้าข้อความใดมีค่า Q สูง หมายความว่ากลุ่มผู้ตัดสินพิจารณา
ข้อความนั้นไมค่ อ่ ยสอดคล้องกัน ส่วนข้อความทม่ี คี ่า Q ต่า หมายความว่า กล่มุ ผ้ตู ดั สินพจิ ารณา
ขอ้ ความน้นั ค่อนข้างจะสอดคลอ้ งกนั

7. เลือกข้อความที่มีค่า Q ไม่เกิน 1.67 เพราะถ้าค่า Q เกิน 1.67 แสดงว่า
ข้อความนน้ั ไมช่ ัดเจนเนือ่ งจากการตัดสนิ ของผู้ตัดสนิ ในข้อความนน้ั กระจายมาก

8. เลอื กขอ้ ความที่เลอื กไว้แลว้ ในข้อ 7โดยพจิ ารณาจากค่าประจาขอ้ ให้มคี ่าตา่ ง ๆ กัน
ตั้งแต่น้อยที่สุดจนถึงมากท่ีสุด ให้ครบทั้ง 11 กลุ่ม และให้ทุกกลุ่มมีจานวนข้อเท่า ๆ กัน เช่นเลือก
กล่มุ ละ 3 ขอ้ ก็จะไดข้ อ้ ความทั้งหมด 33 ขอ้ ข้อความเหล่านีจ้ ะเปน็ ข้อความสาหรบั วดั เจตคติ

9. นาข้อความที่เลือกไว้แล้วในข้อ 8. มาเรียงคละกันแบบสุ่ม และจัดทาเป็นฉบับ
พรอ้ มทง้ั คาชแ้ี จงในการตอบ

10. นามาตรวัดเจตคติที่ได้ไปทอลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างนี้จะเป็นคนละ
กลุ่มกับกลุ่มตัวอย่างที่จะวัดเจตคติจริง ๆ (เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ดึงมาจากประชากรเดียวกัน) เพื่อ
ปรบั ปรุง ขอ้ บกพรอ่ ง

~ 61 ~

ตัวอย่าง การคานวณหาค่าประจาข้อ (S) และค่าเบ่ียงเบนควอไทล์ (Q) ของข้อความ
แต่ละข้อ คณะผู้ตัดสิน จานวน 80 คน พิจารณาข้อความข้อท่ี 1 ในแบบวัดเจตคติ ผลการ
ตดั สนิ ข้อความ มดี ังนี้
ระดับความเหน็ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
จานวนผูต้ อบ 0 0 0 0 3 8 7 14 16 17 14

สูตรการหาค่า S = L0 + (N / 4 F)i
f
S = คา่ ประจาข้อ
Lo = คา่ จากดั ลา่ งของช้นั ที่มีมธั ยฐานอยู่
N = จานวนผู้ตดั สิน
F = ความถสี่ ะสมของชนั้ ก่อนท่จี ะมคี ่ามัธยฐานอยู่
f = ความถีข่ องชนั้ ทม่ี ีมธั ยฐานอยู่
i = อัตรภาคชนั้

ระดับความเหน็ จานวนผู้ตอบ ความถส่ี ะสม
10 0
20 0
30 0
40 0
53 3
68 11
78 19 F
8 14 33
9 16 f 49 มธั ยฐานที่ตาแหนง่
66 40 ตกอยใู่ นตาแหนง่
10 17 80 น้ี
11 14
Lo = 8.5 F = 33 f = 16 N = 80 N

~ 62 ~

ขอ้ ความท่ี 1 S = 8.5 + (80/4 – 33) 1
16

= 8.94
ขอ้ ความท่ี 1 มีค่าประจาข้อ เท่ากบั 8.94

หาคา่ เบยี่ งเบน (Q) ของข้อความที่ 1 จากสูตร
Q = Q3 - Q1
= Lo + (3N / 4 F)i
Q3
f
= 9.5 + (3 x80/4 – 49) 1
17
= 9.5 + 0.65
Q3 = 10.15

Q1 = Lo + (N / 4 F)i

f
= 7.5 + (80/4 – 19) 1
14
= 7.5 + 0.07
Q1 = 7.57
Q = Q3 - Q1
Q = 10.15 - 7.57
= 2.58
ขอ้ ความที่ 1 มคี ่าเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากบั 2.58

การนามาตรวดั เจตคตเิ ทอร์สโตนไปใช้
นามาตรวดั เจตคตไิ ปให้กลมุ่ ตัวอย่างท่ีต้องการวัดเจตคติตอบ วิธีการ คือ ให้ผู้ตอบเลือก

ขอ้ ความทเี่ ห็นดว้ ย
1. การวิเคราะห์หาคะแนนแทนเจตคติของแต่ละคน โดยการนาค่าประจาข้อ (S)

ของแตล่ ะขอ้ ความท่ีผตู้ อบเลอื กตอบมาหาค่าเฉลี่ย

~ 63 ~

S= ∑Si

k
S แทน คะแนนเฉลยี่ เจตคตขิ องแตล่ ะคน
Si แทน ค่าประจาข้อ
k แทน จานวนขอ้

ตัวอย่าง ผู้ตอบคนหน่ึงเห็นด้วยกับข้อความ 2, 3, 8 ซึ่งมีค่าประจาข้อ (S)
ตามลาดับดงั น้ี 5.7, 8.5, 9.3
∑Si
วธิ วี เิ คราะห์ S =
k
5.7 + 8.5 + 9.3
= 3

= 7.83 โดยการ
2. การวิเคราะหห์ าคะแนนเจตคติของผตู้ อบทัง้ กลุ่ม คือการหาเฉล่ยี ของ S
นาคะแนนเจตคตขิ องแตล่ ะคน ( S ) ในกลุ่มมารวมกันแลว้ หารดว้ ยจานวนคน

มีสตู รดังนี้ S = ∑Si

n

S แทน คะแนนเฉล่ียเจตคติของกลุ่ม
S แทน คะแนนเฉลีย่ เจตคตขิ องแต่ละคน
N แทน จานวนคน
ตัวอยา่ ง ผูต้ อบกลมุ่ หนึ่งจานวน 10 คน มีคะแนนเจตคติของแต่ละคน ดงั น้ี
4.8, 5.2, 3.5, 4.0, 2.8, 4.7, 2.9, 3.7, 5.1, 5.3

จากสตู ร S= ∑Si

n
4.8 + 5.2 + 3.5 + 4.0 + 2.8 + 4.7 + 2.9 + 3.7 + 8.1+ 5.3
= 10

= 89.7 / 10
= 8.97
คะแนนเจตคติของกลุ่มเท่ากับ 8.97

~ 64 ~

การแปลความหมายคะแนน
มาตรวัดเจตคติเทอร์สโตนแบ่งออกเป็น 11 ช่วง ตั้งแต่ 1 ถึง 11 ในการแปล

ความหมายคะแนนจึงขึ้นอยู่ท่ีว่าในตอนให้ผู้พิจารณาตัดสินข้อความ ถ้าให้ช่วง 11 หมายถึง เป็น
ข้อความสนับสนุนมากที่สุด ช่วง 1 หมายถึง สนับสนุนน้อยที่สุด การแปลความหมายก็คือ ถ้า
ผลรวมของคะแนนประจาขอ้ มคี า่ มากกแ็ สดงวา่ มีเจตคตทิ ี่ดตี อ่ สง่ิ นนั้ ถา้ มีคา่ น้อยแสดงว่ามีเจตคตทิ ไ่ี ม่
ดีตอ่ ส่งิ นน้ั

มาตรวดั เจตคติลิเคอร์ท (Likert Scales)
มาตรวัดเจตคติลิเคอร์ท อกจากชื่อว่า Likert Scale แล้วยังมีชื่อเรียกอีกหลายช่ือ

ได้แก่ Summate Rating Scale และ Posteriori Approach มาตรวัดชนิดน้ีประกอบด้วย
ข้อความหลาย ๆ ข้อความที่แสดงถึงความรู้สึกต่อสิ่งท่ีจะวัด ซ่ึงมีท้ังข้อความที่กล่าวถึงส่ิงน้ัน ๆ
ในทางบวก และข้อความทางลบ ผทู้ ่คี ดิ มาตรวัดชนดิ น้ีคอื Rensis Likert

วธิ สี รา้ งมาตรวดั เจตคติลิเคอรท์
วิธีการสร้างมาตรวัดเจตคติลิเคอร์ท ในลาดับแรก ๆ จะมีวิธีการสร้างเช่นเดียวกับ

มาตรวัดเจตคตเิ ทอรส์ โตน คือ
1. กาหนดสง่ิ ทีจ่ ะวัดว่าตอ้ งการวดั เจตคตขิ องใครต่อส่งิ ใด
2. กาหนดโครงสร้างของส่ิงที่จะวัดว่าสิ่งนั้นประกอบด้วยคุณลักษณะหรือ

องคป์ ระกอบดา้ นใดบา้ ง
3. สร้างข้อความท่ีเป็นความคิดเห็นต่อส่ิงนั้นให้ครอบคลุมลักษณะด้านต่าง ๆ ท้ังท่ี

เปน็ ข้อความทก่ี ล่าวถึงสิ่งทศี่ ึกษาในทางทดี่ หี รือทางบวก และในทางท่ีไม่ดีหรือทางลบโดยให้ข้อความ
ทั้งสองประเภทมจี านวนขอ้ พอ ๆ กนั

4. ตรวจสอบข้อความท่ีสร้างขึ้นโดยตนเองในด้านความชัดเจนของภาษา และ
รวบรวมให้ผเู้ ชยี่ วชาญตรวจสอบวา่ แตล่ ะขอ้ ความเปน็ ขอ้ ความทแี่ สดงถงึ เจตคตหิ รอื ไมแ่ ละในแตล่ ะ
คุณลักษณะท่ีวัดนั้นมีข้อความครบถ้วนหรือไม่ วิธีการนี้เป็นการตรวจสอบความเที่ยงตรงในด้าน
เน้อื หาหรือความเที่ยงตรงเชิงประจกั ษ์

5. นามาตรวัดไปทดลองใช้ และหาคุณภาพของมาตรวัดในด้านความเช่ือม่ัน และ
อานาจจาแนก

~ 65 ~

ตวั อยา่ งแบบวดั เจตคติตอ่ อาชพี ครูตามแนวคิดขของลเิ คอร์ทดังตอ่ ไปนี้

คาชีแ้ จง ให้ท่านทาเคร่ืองหมาย  ลงในแบบวดั เจตคตติ อ่ อาชีพครตู ามความรู้สึกท่ีแทจ้ ริงของท่าน
เห็น ไม่ ไม่
ขอ้ ความ ด้วย เห็น ไม่ เหน็ เห็นด้วย
อยา่ งย่ิง ด้วย แนใ่ จ ดว้ ย อย่างย่ิง

1. อาชพี ครเู ปน็ อาชพี ทีม่ เี กียรตสิ ูง
2. อาชพี ครูเปน็ เสมอื นศาลาพกั รอ้ น
3. ผทู้ ี่ประกอบอาชีพครเู ปน็ บคุ คลที่ไม่ทันสมัย
4. อาชีพครเู ป็นอาชพี ทมี่ ีหลกั ประกนั
ฯลฯ

มาตรวัดเจตคตอิ อสกดู (Charles F. Osgood)
มาตรวดั เจตคตอิ อสกดู (Charles F. Osgood) มีชอ่ื เรียกอกี อยา่ งหนึ่งว่ามาตรวดั ความ

แตกตา่ งเกย่ี วกับความหมายของคา (Semantic Differential Scales) มาตรวัดประเภทน้ีจะใช้คา
เป็นตัวเร้าให้บุคคลตอบสนองหรือแสดงความรู้สึกออกมา คาที่เป็นคาเร้านี้จะเป็นคาคุณศัพท์ที่ตรง
ข้ามกันเป็นคู่ (Bipolar Adjective) โดยแบ่งสเกลระหวา่ งคาคุณศัพท์ทง้ั 2 คา เปน็ 7 ช่วง

ออสกูดได้นาคาคุณศัพท์ 76 คู่ที่ตรงข้ามกันไปวิเคราะห์ประกอบ (Factor Analysis)
พบวา่ คาคุณศพั ท์เหลา่ นีส้ ามารถจัดไดเ้ ป็น 3 กลมุ่ คอื

1. คาคุณศัพท์ท่ีแสดงถึงคุณค่าหรือประเมินค่า เช่น ดี – เลว สวยงาม- น่าเกลียด,
น่าสนใจ - น่าเบ่ือ, ฉลาด – โง่, สะอาด – สกปรก, สว่าง – มืด, ประสบสาเร็จ - ล้มเหลว,
สาคัญ - ไมส่ าคญั เป็นตน้

2. คาคุณศพั ทท์ ีแ่ สดงถึงพลัง หรอื อานาจ เชน่ แข็งแรง - อ่อนแอ, ใหญ่ - เล็ก,หนัก -
เบา, เขม้ งวด - ผอ่ นผัน, บงั คบั - อสิ ระ เปน็ ตน้

3. คาคุณศพั ทท์ แ่ี สดงถึงความเคล่ือนไหวหรือกิจกรรม (Activity) เช่น ว่องไว - เฉ่ือย
ชา, เรว็ - ชา้ , ตื่นเต้น - สงบ, ร้อน - เยน็ , ซับซ้อน - งา่ ย เป็นตน้

คาคุณศัพท์แต่ละคู่เหล่าน้ีจะต้องเลือกใช้ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยและ
ความคดิ รอบยอดทตี่ ้องการใหป้ ระเมนิ

~ 66 ~

วิธีการสร้างมาตรวัดเจตคติออสกดู
มาตรวัดเจตคติออสกูดเป็นวิธีการวัดความหมายของความคิดรวบยอด(Conceept)

ทางด้านจติ วทิ ยา เพราะฉะน้ันในการสร้างมาตรวัดประเภทน้ี จงึ ตอ้ งประกอบด้วย
1. ความคิดรวบยอด (Conceept)
2. คาคุณศัพทค์ ู่ (Bipolar Adjective)
3. สเกลซงึ่ แบ่งเปน็ ชว่ งอาจจะเป็น 5, 7, 9 ชว่ ง ออสกดู เสนอไว้ 7 ช่วง

ลาดบั ข้นั การสรา้ ง
1. กาหนดความคิดรวบยอด (Conceept) เมื่อจะวัดเจตคติในเรื่องใดจะต้องกาหนด

ความคดิ รวบยอดท่ีเก่ยี วกบั เรอ่ื งนนั้ ว่าควรจะประกอบด้วยความคิดรวบยอดอะไรบ้าง เช่น ต้องการ
ศึกษาเกี่ยวกับ “เจตคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์” ข้ันแรกจะต้องพิจารณาว่าความคิด
รวบยอดอะไรบ้างที่เกี่ยวข้องกับวิชาคณิตศาสตร์ เช่น ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเนื้อหา ความคิด
รวบยอดเกี่ยวกับประโยชน์ เปน็ ตน้

2. กาหนดคาคุณศัพท์คู่ หลังจากกาหนดความคิดรวบยอดได้แล้ว จะต้องหา
คาคณุ ศพั ทท์ ม่ี ีความหมายตรงข้ามกนั เปน็ คู่ ๆ ในแตล่ ะความคดิ รวบยอด โดยเลอื กคาคุณศัพท์ท่ีเป็น
ตวั แทนของคาคุณศัพท์ ทั้ง 3 กลุ่ม

3. กาหนดสเกลระหวา่ งคาคณุ ศัพท์คู่ โดยท่ัวไปจะใช้ 7 ชว่ ง ตามที่ออสกูดเสนอแนะ
4. นามาตรวัดไปทดลอง ใช้วิธกี ารคือให้ผตู้ อบทาเคร่ืองหมาย  หรือ  ลงในช่อง
สเกลที่ตรงกบั ความรสู้ กึ ของผู้ตอบทงั้ นีค้ วรเปน็ ความร้สู ึกแรกสดุ ทเี่ กิดขึ้น เมื่ออ่านข้อคาถามแต่ละ
ข้อ

ตัวอยา่ ง
ดี __: ____: ____: ____: ____: ____:____: เลว
เรว็ ____: ____: ____: ____: ____: __:____: ชา้

5. วิเคราะห์คุณภาพของแต่ละข้อ มีวิธีวิเคราะห์เหมือนมาตรวัดเจตคติลิเคอร์ท
คอื หาคา่ อานาจจาแนกของแตล่ ะขอ้ โดยการทดสอบค่าที (t – test) หรือคานวณหาค่าคงท่ีภายใน
ของแต่ละข้อโดยใช้สัมประสทิ ธิส์ หสัมพันธ์

~ 67 ~

การตรวจใหค้ ะแนน มี 2 แบบ คอื
แบบท่ี 1 กาหนดคะแนนโดยให้สเกลตรงกลางเป็น 0 ด้านท่ีมีคาคุณศัพท์ท่ีมี

ความหมายทางบวก (Positive) ให้คะแนนเป็น 1, 2, 3 ตามลาดับและด้านท่ีมีคาคุณศัพท์ที่
มคี วามหมายทางลบ (Nagative) ใหค้ ะแนนเปน็ -1, -2, -3 ตามลาดับ

ตวั อยา่ ง
สะอาด 3 : 2 : 1 : 0 : -1 : -2 : -3 : สกปรก
เฉอ่ื ยชา -3 : -2 : -1 : 0 : 1 : 2 : 3 : วอ่ งไว

แบบที่ 2 ให้คะแนนมากสุดไว้ทางคาคุณศัพท์ท่ีมีความหมาย ทางบวกและ
น้อยลงตามลาดบั

ตัวอยา่ ง
สะอาด 7 : 6 : 5 : 4 : 3 : 2 : 1 : สกปรก
เฉอื่ ยชา 1 : 2 : 3 : 4 : 5 : 6 : 7 : ว่องไว

ตวั อยา่ ง มาตรวัดเจตคติทมี่ ีตอ่ วิชาคณติ ศาสตร์ตามแนวคดิ ของออสกูด

วชิ าคณติ ศาสตร์
1. นา่ สนใจ ____: ____: ____: ____: ____: ____:____: น่าเบ่อื
2. บังคับ ____: ____: ____: ____: ____: ____:____: อิสระ
3. ซับซอ้ น ____: ____: ____: ____: ____: ____:____: ง่าย
4. สาคญั ____: ____: ____: ____: ____: ____:____: ไมส่ าคญั
5. หนกั ____: ____: ____: ____: ____: ____:____: เบา
6. เป็นระเบียบ ____: ____: ____: ____: ____: ____:____: ยุ่งเหยิง
7. ไมจ่ าเป็น ____: ____: ____: ____: ____: ____:____: จาเป็น

~ 68 ~

แบบทดสอบ (Test)
แบบทดสอบ คือ ชุดของคาถามหรอื กลุ่มงานท่ีใช้สาหรบั เร้าให้บุคคลตอบสนองออกมา สิ่ง

ท่ีบุคคลตอบสนองออกมาน้ีจะกาหนดให้เป็นคะแนน คะแนนที่ได้จะต้องเป็นตัวบ่งช้ีถึงพฤติกรรม
คณุ ลักษณะและความสามารถของแต่ละบคุ คล

ประเภทของแบบทดสอบ
แบบทดสอบแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ถ้าพิจารณาจากคุณลักษณะท่ีวัด จะแบ่ง

แบบทดสอบได้ เป็น 3 ประเภท คอื
1. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน (Achievement Test)
2. แบบทดสอบความถนดั (Aptitude Test)
3. แบบทดสอบบุคคล – สังคม (Person – Social Test)

1. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ คือ แบบทดสอบท่ีวัดความรู้ความสามารถ ทักษะและ

ประสบการณ์ท้ังหมดทีผ่ ูเ้ รยี นได้เรียนรมู้ าแล้ว น่ันคือตอ้ งการวดั ดูวา่ ผูเ้ รยี นแต่ละคนได้เรียนรู้อะไรไป
แลว้ บา้ งมากนอ้ ยแคไ่ หน

แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ ท่ีนามาใช้เพื่อการวิจยั จาแนกเป็น 2 ชนดิ
1. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ท่ีผู้วิจัยสร้าง คือแบบทดสอบท่ีวัดความรู้ความสามารถ
ทักษะ และ ความรู้ในเนื้อหาเรื่องใดเร่ืองหนึ่งตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย เช่น ความรู้ในการ
อนุรกั ษ์ส่ิงแวดลอ้ ม ความรู้-ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั โรคเอดส์
2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์มาตรฐาน (Standardized Test) ส่วนใหญ่
แบบทดสอบชนิดท่ีสร้างขึ้นโดยหน่วยงาน หรือคณะผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้น ๆ ร่วมกับ
ผู้เช่ียวชาญทางด้านการวัดและประเมินผลเป็นแบบทดสอบท่ีวัดเนื้อหาความรู้ ทักษะที่ร่วมกัน
ระหวา่ งโรงเรียนในจังหวัด เขตการศึกษาหรือประเทศ ท้ังนี้แล้วแต่ว่าจะให้เป็นมาตรฐานในระดับ
ใด แบบทดสอบชนิดนี้เมื่อสร้างเสร็จแล้ว จะนาไปทดลองใช้คร้ังแรกเพ่ือหาคุณภาพข้อสอบ
เป็นรายข้อ นามาปรับปรุงแก้ไขเพ่ิมเติม แล้วนาไปทดลองครั้งที่ 2 หาคุณภาพรายข้อเช่นเดิม
เพื่อให้ได้ข้อสอบครบจานวนข้อท่ีต้องการและมีคุณภาพทุกข้อ หลังจากน้ีจึงนาไปทดลองใช้ครั้งท่ี 3
หาคณุ ภาพรวมท้งั ฉบับ และหาคะแนนเกณฑป์ กติ (Norm) ไวเ้ ปรยี บเทยี บ ซง่ึ จะบอกถึงคณุ ภาพของ
การศึกษาของแต่ละโรงเรียนหรือแต่ละบุคคลได้ แบบทดสอบมาตรฐานจะมีมาตรฐาน 3
ประการคอื

~ 69 ~

1. มาตรฐานในการดาเนินการสอบ คือ การใช้แบบทดสอบมาตรฐานไม่ว่าจะนาไปใช้
สอบทใ่ี ด เวลาใด ก็ตามจะมีวิธีดาเนนิ การสอบเหมือนกันหมด ทง้ั น้จี ะมีคู่มือช้ีแจง การดาเนินการ
สอบ การตรวจใหค้ ะแนน การแปลคะแนน

2. มาตรฐานในการตรวจให้คะแนน แบบทดสอบมาตรฐานจะมีเกณฑ์ การตรวจให้
คะแนน ไมว่ ่าใครตรวจจะได้คะแนนตรงกัน

3. มาตรฐานในการแปลความหมายคะแนน คือ แบบทดสอบมาตรฐานจะมีคะแนน
เกณฑ์ปกติ (Norm) ไวส้ าหรบั เปรียบเทียบซ่งึ จะบอกใหท้ ราบวา่ แตล่ ะคน หรอื แต่ละโรงเรียนมี
ความสามารถในวิชานนั้ ระดบั ใด

2. แบบทดสอบความถนัด (Aptitude Test)
แบบทดสอบความถนัด เป็นแบบทดสอบท่ีใช้วัดศักยภาพ (potential) หรือ

ความสามารถที่แฝงอยู่ภายในตัวบุคคลว่า จะสามารถเรียนรู้วิชาหรืองานใหม่ ๆ ในอนาคตได้ดี
เพียงใด น่ันคือแบบทดสอบชนิดนจี้ ะทาหน้าทท่ี านายความสาเรจ็ ในอนาคตของผเู้ รียนว่าผเู้ รียนจะมี
ขีดความสามารถหรือมีความเจริญงอกงามไปในทิศทางใด แบบทดสอบชนิดนี้จึงแตกต่างจาก
แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ คอื แบบทดสอบผลสมั ฤทธิ์ จะวดั ความรูค้ วามสามารถและทกั ษะในวชิ าตา่ ง
ๆ ท่ีเรียนมาแล้ว ว่าในขณะนี้มีความรู้ในวิชาต่าง ๆ เหล่านั้นในระดับใด ส่วนแบบทดสอบความ
ถนดั จะวัดความสามารถทจี่ ะเรยี นในอนาคต แบบทดสอบความถนัดมี 2 ชนดิ คือ

(1) แบบทดสอบความถนัดทางการเรียน (Scholastic aptitude test) จะวัดดู
ความสามารถของบุคคลว่ามคี วามสามารถในด้านใดเช่น ความถนัดทางด้านภาษา ทางด้านจานวน
ฯลฯ

(2) แบบทดสอบความถนัดพิเศษ (Special aptitude test) จะวัดความสามารถ
เฉพาะทาง เช่น ความถนดั ทางศิลปะ ความถนดั ทางดนตรี ฯลฯ

3. แบบทดสอบบคุ คล – สังคม (Person – Social Test)
แบบทดสอบบุคคล – สังคม เป็นแบบทดสอบท่ีใช้วัดคุณลักษณะเฉพาะตัวบุคคล

ได้แก่บุคลิกภาพ ความสนใจ เจตคติที่มีต่อส่ิงหน่ึงสิ่งใด ความสามารถในการปรับตัวและ
คณุ ลกั ษณะอ่ืน ๆ เป็นตน้

~ 70 ~

การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น เป็นแบบทดสอบท่ีใช้กันมาในการวิจัยในหลาย

สาขาลาดบั ข้ันการสร้างแบบทดสอบมดี งั นี้
1. กาหนดเนอ้ื หาและพฤตกิ รรมท่ีต้องการวัด
2. เลอื กชนิดของข้อสอบและจานวนขอ้ สอบ
3. รา่ งขอ้ คาถาม
4. จดั ชดุ ข้อสอบ
5. ตรวจสอบปรบั ปรงุ แก้ไข
6. ตรวจสอบคณุ ภาพรายขอ้ และรวมฉบับ
แต่ละขน้ั ตอนมรี ายละเอยี ดดังนี้

1. กาหนดเน้ือหาและพฤตกิ รรมทีต่ อ้ งการวัด
กาหนดเน้ือหาพิจารณาได้จากวัตถุประสงค์ของการวิจัย เช่น วัตถุประสงค์ของการ

วิจยั กาหนดว่า “เพื่อศกึ ษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาสุขศึกษา เร่ืองประชากรศึกษาของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 6” แสดงว่าเนื้อหาที่ต้องการสอบวัดคือ เรื่องประชากรศึกษา ผู้วิจัยจะต้องนามา
วเิ คราะหห์ รอื จาแนกใหไ้ ดว้ า่ ในเร่ืองประชากรศึกษาจาแนกออกเปน็ หวั ข้อยอ่ ยอะไรบา้ ง เพือ่ จะวดั ได้
ครอบคลุมเน้ือหาความรูท้ ง้ั หมด เชน่ ในเรอ่ื งประชากรศึกษา จาแนกเป็นหวั ขอ้ ยอ่ ยดังนี้ ความสาคัญ
ของประชากรศึกษา ภาวะประชากรของประเทศไทย ผลกระทบและปัญหา เนื่องจากการเพ่ิม
ประชากรของประเทศไทย แนวทางการแก้ปัญหาเนื่องจากการเปล่ียนแปลงภาวะประชากรของ
ประเทศไทย เป็นตน้

2. เลอื กชนดิ ของขอ้ สอบและจานวนขอ้ สอบ
ผู้วจิ ยั ต้องพจิ ารณาวา่ จะใชข้ ้อสอบชนดิ ใด ขอ้ สอบอตั นยั หรอื ปรนยั ถา้ เป็นปรนัย

จะใช้รูปแบบใด ข้อดีของข้อสอบปรนัย คือ ออกได้ครอบคลุมเนื้อหาและพฤติกรรม การตรวจให้
คะแนนมีความเท่ียงและยุติธรรมในกรณีท่ีต้องการออกข้อสอบเป็นแบบปรนัย ควรนาเน้ือหาและ
พฤติกรรมท่ีกาหนดไว้ในข้อ 1. มาสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร (Test specification) ตารางน้ีจะ
ชว่ ยการออกข้อสอบครอบคลมุ เน้ือหาและพฤติกรรมทางสมอง

3. ร่างขอ้ คาถาม
เมอ่ื กาหนดเนอ้ื หา พฤตกิ รรม และชนดิ ของข้อสอบแล้วในขัน้ นี้ ก็จะตอ้ งรา่ งขอ้

คาถามตามเน้ือหาและพฤติกรรมท่กี าหนดไว้
4. จัดชดุ ขอ้ สอบ
หลังจากออกข้อสอบได้ครบตามจานวนข้อท่ีต้องการแล้ว ก็รวบรวมจัดเป็นชุด

ข้อสอบหรือเปน็ ฉบบั ซ่ึงประกอบดว้ ยงานต่าง ๆ ดังนี้

~ 71 ~

4.1 การจดั เรยี งลาดบั ข้อคาถาม
4.2 การตระเตรยี มคาช้ีแจง
การจดั เรยี งลาดับข้อคาถาม มีข้อเสนอแนะดงั น้ี
1) ถา้ ในแบบทดสอบ 1 ฉบับ มีข้อสอบหลาย ๆ รูปแบบ เช่น ข้อสอบแบบเลือกตอบ
แบบจบั คู่ แบบถกู ผิด กค็ วนจะจดั ข้อสอบท่มี ีรูปแบบชนิดเดียวกันไว้ด้วยกัน และจัดเรียงลาดับจาก
ชนิดง่ายไปชนิดยาก เชน่ จดั ลาดบั ดังนี้ แบบถกู -ผดิ แบบจับคู่ แบบเลอื กตอบตามลาดับ
2) ถ้าในแบบทดสอบ 1 ฉบับ มีข้อสอบเพียงรูปแบบเดียว เช่นเป็นข้อสอบแบบ
เลือกตอบ 50 ข้อ หรือจะประกอบด้วยข้อสอบหลายรูปแบบก็ตาม ในแต่ละรูปแบบให้จัดเรียง
ข้อสอบตามเกณฑใ์ ดเกณฑ์หน่ึงดงั นี้
2.1 จัดตามกลุ่มพฤติกรรมทางสมองโดยจัดเรียงลาดับจากพฤติกรรมต่าสุดไปสูงสุด
คือ ความรู้ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินค่า
ตามลาดบั
2.2 จัดตามกลุ่มเนอ้ื หา คอื จดั เรียงตามลาดับเนอื้ หากอ่ นหลังตามท่สี อน (ในกรณีที่วัด
ผลสัมฤทธ์ิในชนั้ เรยี น) หรือตามหวั ขอ้ เน้ือหาในเรื่องน้ัน
2.3 จัดเรียงตามลาดับความยากง่ายของข้อสอบ เร่ิมจากข้อสอบง่ายและยากข้ึน
ตามลาดับ
ในทางปฏบิ ตั ิ สว่ นใหญ่จะเรยี งข้อสอบตามลาดับของกลุม่ เน้ือหา
การตระเตรียมคาช้ีแจง หลังจากจัดเรียงลาดับข้อสอบเรียบร้อยแล้วก็ต้องจัดเตรียมคา
ช้ีแจง ซ่ึงประกอบด้วยรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับข้อสอบ ได้แก่ ช่ือว่าหรือช่ือหัวข้อเน้ือหา เช่น
(อาจจะมหี รอื ไมม่ ีแลว้ แต่กรณ)ี เวลาที่ใชใ้ นการสอบ วธิ กี ารตอบคาถาม
5. ตรวจสอบปรับปรงุ แก้ไข
การตรวจสอบในขนั้ นเี้ ปน็ การตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบในดา้ นความเทยี่ งตรง
(validity) ได้แก่การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content-related evidence of
validity) และการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct related evidence of
validity) โดยผู้เช่ียวชาญทางวิชาการในเนื้อหาท่ีสอบ จานวนผู้เช่ียวชาญ ต้ังแต่ 3 คนข้ึนไป
ผู้เช่ยี วชาญจะพิจารณาว่าข้อสอบแต่ละข้อ วดั ได้ตรงตามเนื้อหาและพฤติกรรมที่ต้องการหรือไม่ ผล
การพิจารณาของผู้เชี่ยวชาญท้ังหมด นามาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Congruence)
โดยวธิ ีของโรวแิ นวลี และแฮมเบิลตัน
6. ตรวจสอบคณุ ภาพรายขอ้ และรวมฉบบั
การตรวจสอบคณุ ภาพรายข้อเป็นการตรวจสอบ ความยาก – ง่าย และอานาจ
จาแนกของข้อสอบแต่ละข้อ ส่วนการตรวจสอบคุณภาพรวมฉบับเป็นการตรวจสอบในด้านความ

~ 72 ~

เช่อื มั่น (Reliability) ของแบบสอบ ตามปกตถิ ้าเป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิจะตรวจสอบโดยวิธี
ของคูเดอร์ และริชาร์ดสัน (G.F Kuder and M.W. Richardson) มี 2 สูตร คือ KR20 และ
KR21 รายละเอยี ดจะกล่าวถึงในบทท่วี า่ ดว้ ยการตรวจสอบคุณภาพของเคร่อื งมอื

มาตรประมาณคา่ (Rating Scales)
มาตรประมาณคา่ เป็นเครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้สาหรบั วัดพฤติกรรมความสามารถ กระบวนการ

ปฏิบัตงิ าน ผลงาน พัฒนาการทางด้านอารมณ์ สังคม ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดของบุคคลท่ีมีต่อ
สิง่ หนึ่งสง่ิ ใด เพ่ือทราบว่าบคุ คลมีพฤติกรรม มีความสามารถหรือความรู้สึกนึกคิดต่อสิ่งนั้นในระดับ
ใด

ประเภทของมาตรประมาณคา่
มาตรประมาณค่าแบง่ เปน็ ชนิดต่าง ๆ ดงั นี้
1. มาตรประมาณค่าแบบกราฟ (Graphic rating scales) มาตรประมาณค่า

แบบกราฟเป็นมาตรวัดในแนวนอน แสดงถึงระดับความมากน้อย ความเข้มหรือความถี่ของ
พฤตกิ รรม ความสามารถ ความรู้สึกนึกคิด เช่น ระดับความพึงพอใจในส่ิงหน่ึงส่ิงใด จะมีคาตอบ
ต้ังแต่พอใจมากและน้อยลงตามลาดบั จนถงึ ไมพ่ อใจ

ตัวอย่าง

ระดบั ความพอใจ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____
เฉย ๆ ค่อนข้างไมพ่ อใจ ไม่พอใจ
____ ____ ค่อนขา้ งพอใจ ____ ____ ____ ____ ____ ____
ค่อนข้างพอใจ ไมค่ ่อยพอใจ
พอใจมาก ____ ____ ____

____ ____ พอใจ

พอใจมาก

ระดบั ความสาคัญ
____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____
สาคญั มาก คอ่ นข้างมาก ปานกลาง นอ้ ย ไมส่ าคญั เลย

ระดบั ความสนใจ
____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____
สนใจมาก คอ่ นข้างสนใจ ไม่ค่อยสนใจ

~ 73 ~

ระดับความถ่หี รือความบอ่ ย ____ ____ ____ ____ ____

____ ____ ____ ____ ____ ____ นาน ๆ ครัง้ ไมเ่ คยเลย

ทุกครงั้ บ่อยครงั้ บางครัง้ ____ ____ ____ ____ ____

____ ____ ____ ____ ____ ____ บางคร้ัง นาน ๆ คร้ัง

ทกุ คร้ัง บอ่ ยครัง้

ระดบั คุณภาพ
____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____
ดเี ยยี่ ม ดี พอใช้ ต้องปรับปรงุ
____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____
ดมี าก คอ่ นขา้ งดี ปานกลาง ไม่คอ่ ยดี ไมด่ ีเลย

ระดบั ความคิดเห็น
____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____ ____
เหน็ ด้วยอย่างยิ่ง เห็นดว้ ย ไมแ่ นใ่ จ ไมเ่ ห็นด้วย ไมเ่ หน็ ดว้ ยอย่างย่งิ

2. มาตรประมาณคา่ แบบภาพ เป็นมาตรประมาณค่าที่ใช้ภาพแทนตัวหนังสือ เช่น ภาพ
เทอรโ์ มมเิ ตอร์ ภาพหน้าคนท่ีแสดงออกถึงความรสู้ กึ มาตรชนิดนเ้ี หมาะกับกล่มุ ผตู้ อบที่เป็นเดก็ ๆ

 

3 21
3. มาตรประมาณค่าแบบตัวเลข (Numerical Scales) มีลักษณะทานองเดียวกับมาตร
ประมาณค่าแบบกราฟ แตใ่ ช้ตวั เลขแทนระดับของพฤตกิ รรมความสามารถ หรอื ความรู้สึกนกึ
คิดทีม่ ตี อ่ สง่ิ หน่งึ สงิ่ ใด

~ 74 ~

ตวั อยา่ ง มาตรประมาณค่าแบบตวั เลข
เกณฑค์ วามหมายของคะแนน

5 หมายถึง มคี วามเห็นดว้ ยมากท่ีสุด
4 หมายถงึ มคี วามเห็นดว้ ยมาก
3 หมายถึง มคี วามเห็นดว้ ยปานกลาง
2 หมายถึง มคี วามเหน็ ด้วยนอ้ ย
1 หมายถงึ มคี วามเหน็ ด้วยน้อยทีส่ ุด

ขอ้ ความ ระดบั ความคดิ เหน็
1. การศกึ ษาเปน็ เครื่องมือพัฒนาคุณภาพของประชากร 12 3 4 5
2. ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา เปน็ กลไกสาคญั ในการพัฒนา

คุณภาพการศึกษาและชมุ ชน

4. มาตรประมาณค่าแบบเปรียบเทียบ (Comparative Rating Scales) มาตร
ประมาณแบบนีเ้ ป็นการให้เปรียบเทียบรายการตา่ ง ๆ ที่กาหนดให้ตั้งแต่ 2 รายการขึ้นไป รายการ
ต่าง ๆ เปน็ การพจิ ารณาใหค้ ณุ คา่ ความสาคัญกบั รายการต่าง ๆ เหล่านั้น วิธีการเช่นนมี้ ีชือ่ เรยี กอีก
อยา่ งว่า Constant-Sum Scale
ตัวอย่าง ในการพิจารณาเลือกใช้บริการของธนาคาร ถ้าให้รายการต่าง ๆ ต่อไปน้ี
รวมกันเท่ากบั 100 คะแนน ท่านจะพจิ ารณาใหแ้ ต่ละรายการนั้นมีคะแนนเท่าไร ให้เติมคาตอบลง
รายการนัน้ ๆ
การบริการทสี่ ภุ าพ ________
สถานท่ตี ้ังติดต่อไดส้ ะดวก ________
อตั ราดอกเบี้ยกยู้ ืมต่า ________

การสร้างมาตรประมาณคา่
การสรา้ งมาตรประมาณคา่ มีลาดับ ข้ันดงั นี้
1. กาหนดลักษณะ หรือพฤติกรรม หรือคุณภาพ หรือข้อความที่ต้องการ ซึ่งจะต้อง

สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั
2. จัดเรียงลาดบั ข้อความที่กาหนดไวใ้ นขอ้ 1. (ถ้ามีลาดับกอ่ นหลัง)

~ 75 ~

5 ระดบั 3. พจิ ารณาจะใช้มาตรประมาณแบบใด
4. พิจารณาระดับพฤตกิ รรม หรอื ระดบั คาตอบทต่ี อ้ งการวา่ ต้องการ 3 หรือ 4 หรือ

แบบสารวจ (Check list)
แบบสารวจ เป็นเครื่องมือ สาหรับสารวจสิ่งของ เหตุการณ์ ปัญหาข้อเท็จจริง หรือวัด

พฤตกิ รรม ความสามารถ ความรสู้ กึ นึกคิดของบคุ คล ได้เชน่ เดียวกบั มาตรประมาณค่า แต่ต่างกัน
ตรงท่ีมาตรประมาณค่าจะบอกถึงระดับของคุณลักษณะหรือความถ่ีของพฤติกรรมที่เกิดข้ึน แบบ
สารวจจะบอกให้ทราบแต่เพียงว่าพฤติกรรมหรือส่ิงที่ทาการสารวจนั้น มี - ไม่มี, ใช่ - ไม่ใช่,
ชอบ – ไม่ชอบ, ปฏบิ ัติ – ไมป่ ฏบิ ตั ิ ฯลฯ

ตวั อย่าง แบบสารวจ

คาชีแ้ จง ในการดาเนนิ งานตามนโยบาย หนว่ ยงานของท่านมีการปฏบิ ตั ิงานใดบ้าง ต่อไปน้ี
รายการ มี ไมม่ ี
1. การอบรม สัมมนา ศึกษาดงู านเพือ่ เพม่ิ พูนความรู้
2. การตดิ ตามนิเทศงาน
3. การเพิม่ พูนความรู้ในการพฒั นาเทคนิคและทกั ษะการปฏบิ ัติงาน
4. การเพ่มิ พูนความร้ดู า้ นการจัดทาแผน
ฯลฯ

อาจจะปรบั รูปแบบใหม้ ชี ่องคาตอบเพียงช่องเดยี วดงั นี้
คาช้ีแจง ในการดาเนินงานตามนโยบาย หน่วยงานของท่านมีการปฏิบัติงานใดบ้าง

ตอ่ ไปน้ี โปรดใสเ่ ครอื่ งหมาย ( หนา้ รายการที่ไดป้ ฏิบตั ิ
____ 1. การอบรม สมั มนา ศึกษาดูงานเพื่อเพ่ิมพูนความรู้
____ 2. การตดิ ตามนิเทศงาน
____ 3. การเพ่ิมพูนความรู้ในการพัฒนาเทคนคิ และทักษะการปฏบิ ตั งิ าน
____ 4. การเพิม่ พนู ความรูด้ า้ นการจัดทาแผน

~ 76 ~

บทท่ี 5
การวิเคราะห์ขอ้ มูล และการแปลผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of data)
การวิเคราะห์ข้อมูล เริ่มจากการนาข้อมูลมาจัดระเบียบด้วยการแยกประเภทให้เป็น

หมวดหมใู่ ห้อยู่ในรูปท่อี ่านเขา้ ใจงา่ ยและสะดวกตอ่ การวิเคราะห์ ในขั้นตอนนี้ผู้วิจัยต้องอาศัยความรู้
ทางสถิตเิ ขา้ มาเกยี่ วข้อง โดยจะตอ้ งเลือกใชส้ ถิตใิ หส้ อดคลอ้ งกับระดบั ของข้อมลู และสมมติฐาน

ขนั้ ตอนการวเิ คราะหข์ ้อมูล
1. วิเคราะห์จุดมุ่งหมาย สมมติฐานการวิจัย เพ่ือให้ทราบว่าการวิจัยนั้นต้องการศึกษาตัว
แปรอะไรบ้าง และตอ้ งการข้อมูลประเภทใดบา้ ง
2. ตรวจสอบสภาพของข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ว่าครบถ้วนสมบูรณ์หรือไม่ ตรงตามที่
ต้องการศกึ ษาหรือไม่
3. นาข้อมูลท่ีรวบรวมได้มาจัดแยกประเภทข้อมูล โดยอาจแยกตามจุดมุ่งหมายของการ
วิจัย แยกตามสมมติฐานการวิจัย หรือแยกตามตัวแปรท่ีต้องการศึกษาก็ได้ ในข้ันนี้จะต้อง
สร้างตารางแจงนบั หรอื ตารางแจกแจงความถี่เตรยี มไว้ แลว้ ทาการนบั หรอื แจกแจงความถ่ขี องขอ้ มูล
ลงในตารางต่อจากนน้ั ต้องแปลงความถท่ี ีแ่ จงนบั ได้เปน็ ตวั เลขเพอื่ จะไดใ้ ชส้ ถติ วิ เิ คราะห์ตอ่ ไป
4. เลอื กใชส้ ถติ ใิ หเ้ หมาะสม ข้นั น้ผี ู้วิจยั จะตอ้ งพจิ ารณาวา่ ปญั หาทจี่ ะวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ
หาคาตอบเฉพาะกลุ่มท่ีต้องการศึกษาหรือเพื่ออ้างอิงผลไปสู่ประชากร และพิจารณาว่าข้อมูลท่ี
รวบรวมไดอ้ ยใู่ นลกั ษณะใด เป็นความถ่ี หรือเป็นคะแนน เพื่อจะไดเ้ ลือกใชส้ ถิติได้อย่างถูกต้อง
5. คานวณสถิติ โดยจะต้องทาอย่างละเอียดรอบคอบไม่ให้เกิดความผิดพลาดไม่ว่าจะเป็น
การคานวณดว้ ยตัวเองหรอื การคานวณดว้ ยคอมพิวเตอร์
6. นาเสนอผลการคานวณเพือ่ แปลผลการวิเคราะห์ ซ่งึ อาจจะนาเสนอในรูปกราฟ แผนภูมิ
หรอื ตารางก็ได้
จากข้นั ตอนการวเิ คราะหข์ ้อมูลข้างตน้ นอกจากผู้วิจัยจะต้องมีความรู้ในเร่ืองท่ีจะวิจัยแล้ว
ยังต้องมคี วามร้ใู นเรื่องการจัดข้อมลู ใหเ้ ป็นหมวดหมแู่ ละมีความรใู้ นเร่ืองสถิติดว้ ย ในตอนต่อไปจะได้
กล่าวถงึ การจดั ขอ้ มูลให้เป็นหมวดหมู่ และสถติ ิทีใ่ ช้ในการวิจยั

~ 77 ~

การจดั ข้อมลู ให้เปน็ หมวดหมู่
ข้อมูลท่ีผู้วิจัยเก็บรวบรวมได้ มีลักษณะกระจัดกระจาย ยากแก่การแปลความหมาย

ดังน้ันผู้วิจัยจึงต้องทาการจัดข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่เสียก่อนเพื่อให้ง่ายต่อการแปลความหมาย และ
สามารถทาการวิเคราะหข์ ้อมลู ดว้ ยสถิติต่าง ๆ ได้ การทาตารางแจงนับหรือตารางแจกแจงความถ่ี
ของขอ้ มลู เป็นวธิ กี ารหนงึ่ ที่ช่วยในการจัดข้อมลู ทีก่ ระจัดกระจายใหเ้ ป็นหมวดหมู่ ต า ร า ง แ จ ง นั บ
หรือตารางแจกแจงความถ่ี มีหลายลักษณะ ผู้วิจัยต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับจุดประสงค์ของการ
วเิ คราะห์ข้อมลู ลกั ษณะท่นี ยิ มใช้โดยท่วั ไป คอื

1. ตารางแจงนับขอ้ มูลทางเดยี ว เปน็ การแจกแจงความถี่ของข้อมลู โดยไมต่ อ้ งการแสดง
ความสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปร เชน่

ตารางที่ 1 ต้องการทราบจานวนผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ สรา้ งตารางแจงนบั
ดังนี้

เพศ ความถี่ จานวน
ชาย //// //// //// //// 20
หญงิ //// //// //// //// //// //// 30
รวม 50

ตารางที่ 2 ต้องการทราบจานวนผูต้ อบแบบสอบถามจาแนกตามอายุ สรา้ งตารางแจงนับ
ดงั นี้

อายุ ความถี่ จานวน
ตา่ กว่า 20 ปี
20 – 29 ปี
30 - 29 ปี
40 ปขี น้ึ ไป

รวม

~ 78 ~

ตารางที่ 3 ตอ้ งการทราบความคดิ เหน็ ต่อคา่ หน่วยกิต สรา้ งตารางแจงนับดงั นี้

ความคดิ เหน็ ความถ่ี จานวน
แพง

เหมาะสม
ถูก
รวม

2. ตารางแสดงข้อมูลสัมพันธ์ เป็นการแจกแจงความถ่ีของข้อมูลโดยแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวขึ้นไป ผู้วิจัยจะต้องนาข้อมูลจากคาถามหน่ึงมาสัมพันธ์กับ
ขอ้ มูลอีกคาถามหนึ่ง เช่น
ตารางท่ี 4 ตอ้ งการทราบความคิดเห็นตอ่ ค่าหน่วยกิต จาแนกตามเพศ สร้างตาราง
แจงนับดงั นี้
ความคิดเห็น
เพศ แพง เหมาะสม ถูก รวม

ชาย
หญิง
รวม

ตารางที่ 5 ต้องการทราบความนิยมในการเลือกดูกีฬาประเภทต่างๆ จาแนกตามอายุ
สร้างตารางแจงนับดังน้ี
อายุ
ชนิดกฬี า ตา่ กวา่ 10 ปี 10 – 20 ปี 21 –30 ปี มากกว่า 30 ปี รวม

บาสเกตบอล
ฟตุ บอล
วอลเลยบ์ อล
แชร์บอล
รวม

~ 79 ~

3. ตารางแจกแจงความถ่ขี อ้ มูลท่มี คี ่าเปน็ ตัวเลข หรือคะแนน มีวธิ ีการดังน้ี
1) พจิ ารณาค่าสงู สดุ และตา่ สดุ ของข้อมูลชุดนั้น
2) เรียงขอ้ มูลจากต่าไปสงู หรือสงู มาตา่
3) สรา้ งตารางแจกแจงความถ่ี
4) ขดี รอยความถ่ี
5) นบั ความถ่ี

เช่น ผลจากแสดงความคิดเหน็ ตอ่ คาถามข้อ 1 ของนักเรียน 10 คน คดิ เปน็ คะแนน
3 5 4 4 3 2 1 3 2 แจกแจงความถ่ีไดด้ ังนี้
คา่ สงู สดุ ของขอ้ มูล คอื 5 คา่ ตา่ สุดของข้อมูล คือ 1

นา้ หนัก(X) รอยความถ่ี ความถ(่ี f)
5 / 1
4 // 2
3 /// 3
2 /// 3
1 / 1
รวม 10

สถิติท่ีใช้ในการวจิ ัย
1. ร้อยละ (Percentage หรอื %)
ร้อยละเป็นสถิติที่นิยมใช้กันมากในงานวิชัยสารวจ เพราะคานวณง่าย และแปล
ความหมายง่าย
n
สตู รร้อยละ = N x100

เมื่อ n คือ จานวนท่ีตอ้ งการเปรียบเทียบ
N คอื จานวนขอ้ มูลทั้งหมด

~ 80 ~

การหารอ้ ยละจากตารางแจงนบั ข้อมูลทางเดยี ว
เชน่ ต้องการหารอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ จากตารางที่ 1 มี

ผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด 60 คน จาแนกเป็นเพศ ชาย 25 คน เพศหญงิ 35 คน
ดงั นั้น รอ้ ยละของเพศชาย = 25 / 60 x 100 = 41.67
รอ้ ยละของเพศหญิง = 35 / 60 x 100 = 58.33

แสดงในรปู ตารางดังน้ี

เพศ จานวน ร้อยละ
ชาย 25 41.67
หญงิ 35 58.33
รวม 60 100.00

หรือต้องการหาร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามเก่ียวกับค่าหน่วยกิต ซ่ึงมีผู้แสดงความ
คิดเห็นว่าค่าหน่วยกิตแพง จานวน 21 คน เหมาะสมแล้ว 20 คน และถูก 17 คน คิดเป็น
ร้อยละได้ ดงั นี้
มีผู้แสดงความคิดเหน็ วา่ แพง ร้อยละ = 21 / 60 x 100 = 35.00
แสดงความคิดเหน็ วา่ เหมาะสม ร้อยละ = 22 / 60 x 100 = 36.67
แสดงความคิดเห็นวา่ ถูก ร้อยละ = 17 / 60 x 100 = 28.33
แสดงในรปู ตารางดงั น้ี

ความคดิ เห็น จานวน รอ้ ยละ
แพง 21 35.00
22 36.37
เหมาะสม 17 28.33
ถูก 60 100.00
รวม

~ 81 ~

การหารอ้ ยละจากตารางสัมพนั ธ์
ในตารางสัมพันธ์จะมีจานวนรวมอยู่หลายจานวน การคานวณร้อยละจากตารางสัมพันธ์
ตอ้ งเลือกจานวนรวมใหถ้ ูกตอ้ ง มิฉะนั้นจะทาใหก้ ารแปลความหมายคลาดเคลอื่ นได้
การคิดร้อยละจากตารางสัมพันธ์ให้เทียบร้อยละตามตัวแปรอิส ระหรือตัวยแปรต้นเสมอ
เชน่ ตอ้ งการทราบความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ค่าหน่วยกติ จาแนกตามเพศ จากข้อมลู ในตาราง ดงั นี้

เพศ ความคดิ เห็น รวม
แพง เหมาะสม ถกู 25
ชาย 7 10 8 35
หญิง 14 12 9 60
รวม 21 22 17

ในกรณีนต้ี ัวแปรตามคือ ความคิดเห็นเก่ียวกับค่าหน่วยกิต ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น
คือ เพศ ดังนั้น จึงต้องเทียบรอ้ ยละตามตวั แปรตน้ คือ เพศ จานวนรวมท่ีใชค้ ือจานวนรวมของ
เพศชายกับจานวนรวมของเพศหญิง ดงั นี้
เพศชาย มีความคิดเห็นวา่ แพง 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7 / 25 x 100 = 28.00
มคี วามคดิ เหน็ ว่าเหมาะสม 10 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 10 / 25 x 100 = 40.00
มีความคดิ เห็นว่าถกู 8 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 8 / 25 x 100 = 32.00
เพศหญงิ มคี วามคิดเห็นวา่ แพง 14 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14 / 35 x 100 = 40.00
มีความคิดเหน็ ว่าเหมาะสม 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12 / 35 x 100 = 34.29
มีความคิดเห็นวา่ ถูก 9 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9 / 35 x 100 = 25.71
แสดงในรูปตารางดังน้ี

ความคิดเหน็ แพง เหมาะสม ถกู รวม

เพศ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
ชาย 4 28.00 10 40.00 8 32.00 25 100.00
หญิง 14 40.00 12 34.29 9 25.71 35 100.00
รวม 21 35.00 22 36.67 17 28.33 60 100.00

~ 82 ~

2. การวัดแนวโนม้ เขา้ สูส่ ว่ นกลาง
การวัดแนวโน้มเข้าสสู่ ่วนกลางเปน็ วิธกี ารทางสถติ ิที่ใชห้ าค่าทเ่ี ป็นตวั แทนของขอ้ มลู

ทงั้ ชุด ชว่ ยให้ทราบลักษณะของข้อมูลโดยภาพรวมว่าเป็นอย่างไร มีวิธีการหาหลายวิธี แต่วิธีที่
นิยมใช้ มี 3 วิธี คือ ฐานนิยม (Mode) มัธยฐาน (Median) ค่าเฉลยี่ (Mean)

2.1 ฐานนิยม (Mode) ใช้สญั ลกั ษณ์ Mo
ฐานนิยม หมายถึง ค่าของขอ้ มูลตัวท่ีมีความถส่ี งู ทส่ี ดุ หรอื ค่าของข้อมูลตัวที่เกิด
ซา้ กนั มากท่สี ุด เช่น
ข้อมูลชดุ ที่ 1 มีค่า 3 4 5 4 5 5 Mo = 5
บางกรณีอาจมีฐานนิยมมากกว่า 1 คา่ กไ็ ด้ เชน่
ข้อมลู ชดุ ที่ 2 มีคา่ 3 3 4 5 4 Mo = 3 และ 4
บางกรณีอาจไมม่ ฐี านนยิ มเลยก็ได้ เช่น
ข้อมูลชดุ ท่ี 3 มคี ่า 4 3 6 5 2 1 Mo = ไม่มี
สรุปได้ว่าข้อมูลแต่ละชุดอาจไม่มีฐานนิยม หรือมีฐานนิยมจานวน 1 ค่า 2 ค่าหรือ
มากกว่าก็ได้ การหาค่าฐานนิยม นิยมใช้เม่ือต้องการทราบค่าตัวแทนของข้อมูลอย่างคร่าว ๆ และ
รวดเร็ว และเหมาะสมกับข้อมูลท่ีอยู่ในมาตรนามบัญญัติ (Norminal scale) คือข้อมูลท่ีอยู่ใน
ลกั ษณะการกาหนดตัวเลขแทนสิ่งต่าง ๆ ท่เี ป็นช่ือ ลกั ษณะนาม เชน่
กาหนดให้เลข 1 แทน เพศชาย 2 แทน เพศหญงิ
1 แทน รถเมลส์ าย 9 2 แทนรถเมลส์ าย 15 3 แทนรถเมล์สาย 40
ซึ่งค่าของตัวเลขทีอ่ ยู่ในมาตรนามบัญญัติไม่สามารถนามาบวก ลบ กนั ได้

2.2 มธั ยฐาน (Median) ใชส้ ัญลักษณ์ Mdn
ค่ามธั ยฐาน คือ คา่ ของขอ้ มูลท่ีอยู่ ณ จุดก่ึงกลางของขอ้ มลู ท้ังหมดเมื่อได้ทาการจัด
เรียงลาดับแล้ว ซึ่งจะแสดงให้ทราบว่ามีข้อมูลที่มากกว่า และน้อยกว่าค่าน้ันอยู่ด้านละเท่าๆ กัน ค่า
ของขอ้ มูลตัวทีอ่ ยู่ตรงกลางพอดจี ะเป็นคา่ มัธยฐาน เชน่
ข้อมูลชุดท่ี 1 มีค่า 5 9 3 7 10
จดั เรยี งลาดับ 3 5 7 9 10 Mdn = 7
ถ้าข้อมลู มีจานวนคู่จะมีตัวเลขที่อยู่ตรงกลาง 2 ค่า ค่ามัธยฐานจะอยู่ระหว่างกลางของข้อมูล 2 ค่า
น้นั เชน่
ข้อมูลชดุ ที่ 2 มคี า่ 9 6 3 5 8 7
จัดเรียงลาดบั 3 5 µ8 9 Mdn = 6 + 7 = 6.5
2

~ 83 ~

การหาค่ามัธยฐาน จะใช้เมื่อการแจกแจงของข้อมูลมีลักษณะเบ้มาก ไม่เป็นโค้งปกติ
หรอื เม่อื มคี ่าใดค่าหนงึ่ มากผดิ ปกติ หรอื นอ้ ยปิดปกติ ไปจากค่าอ่นื ๆ

2.3 ค่าเฉลีย่ (Mean) ใช้สัญลกั ษณ์ X

ค่าเฉลี่ย คือ ค่าท่ีได้จากการนาข้อมูลท้ังหมดมารวมกันแล้วหารด้วยจานวนข้อมูล
ท้งั หมด

กรณขี ้อมลู นอ้ ยไม่แจกแจงความถ่ี
X
สตู ร X =
n

เมือ่ X แทน คา่ เฉลี่ย
 X แทน ผลรวมของข้อมูลทงั้ หมด
N แทน จานวนข้อมูลทง้ั หมด

ตัวอยา่ ง จากการสอบถามอายุของคน 10 คน ไดข้ ้อมลู ดังน้ี

50 51 55 61 55 58 60 52 56 62

จงหาอายุเฉล่ียของคนกลุม่ น้ี
= X
สูตร X n

= 50 + 51+ 55 + 61+ 55 + 58 + 61+ 52 + 56 + 62
10
560
= 10

ดงั น้นั อายเุ ฉลีย่ เท่ากบั 56 ปี

~ 84 ~

กรณขี ้อมูลมากต้องแจกแจงความถ่ี

สูตร X =  fx
n
ตัวอย่าง ผลการแสดงความคิดเห็นต่อคาถามข้อที่ 1 ท่ีว่า “ครูจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนได้เหมาะสม สอบถามนกั เรยี นจานวน 20 คน คดิ เป็นคะแนน เปน็ ดงั นี้

คะแนน(X) 5 (มากทีส่ ดุ ) 4 (มาก) 3 (ปานกลาง) 2 (น้อย) 1 (น้อยทีส่ ดุ )
จานวนคน(f) 2 4 6 6 2

หา  fx = f1 x1+ f2 x2 + f3 x3 + f4 x4 + f5 x5 แสดงเป็นตาราง ดังน้ี
n n

ตัวเลือก คะแนน(x) ความถ(่ี f) fx
มากที่สดุ 5 2 10
4 4 16
มาก 3 6 18
ปานกลาง
นอ้ ย 2 6 12
นอ้ ยท่ีสดุ 1 2 2
20 58
รวม ()
 fx
สตู ร X =
n

= 58

20

ค่าเฉลี่ย = 2.90
แปลความได้ว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่า ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้

เหมาะสมอยูใ่ นระดับปานกลาง ( X =2.90)
คา่ เฉลย่ี จะใชไ้ ด้ดเี มื่อการแจกแจงของข้อมูลเปน็ โค้งปกติ หรอื ใกลเ้ คยี งปกตเิ พราะจะให้

ค่าท่ีเป็นตัวแทนท่ีดีท่ีสุด เนื่องจากมีการคานวณจากข้อมูลทุกตัว และยังเหมาะสมท่ีจะนาไปใช้
คานวณด้วยคา่ สถติ อิ ่ืน ๆ ต่อไป

~ 85 ~

3. การวดั การกระจาย
การกระจายของขอ้ มลู คอื ลักษณะความแตกตา่ งกนั ภายในขอ้ มลู ข้อมูลบางชุดมีคา่ เฉลี่ย

เท่ากันแต่ อาจมีการกระจายแตกต่างกันได้ ถ้าแปลความหมายจากค่าเฉลี่ยเพียงอย่างเดียวอาจ
ผดิ พลาดได้ จงึ ควรหาคา่ การกระจายของขอ้ มลู ควบคู่ไปกับการหาค่าเฉลี่ยดว้ ย เช่น

การวัดระดับความสูงของนักเรียน 3 กลมุ่ ๆ ละ 5 คน มหี นว่ ยวัดเป็นเซนติเมตร ได้ค่า
ดงั นี้

กลุม่ ที่ 1 = 75 87 115 118 130
กลมุ่ ท่ี 2 = 100 102 105 108 110
กลุ่มที่ 3 = 105 105 105 105 105
คา่ เฉลีย่ ของขอ้ มลู ท้งั 3 ชุดเท่ากัน คือ 105 เซ็นติเมตร ถ้าแปลความหมายจากค่าเฉลี่ย
เพยี งอยา่ งเดียวจะแปลได้วา่ นกั เรยี นทั้ง 3 กลุ่ม มีระดับความสงู เทา่ กนั แตถ่ า้ พจิ ารณาจากความ
แตกต่างกันภายในของข้อมูลแตล่ ะชดุ จะพบว่าไม่เหมือนกนั คอื กลุ่มที่ 1 มีระดับความสูง แตกต่าง
กันมาก กลุ่มที่ 2 ใกล้เคียงกัน ส่วนกลุ่มท่ี 3 เท่ากันหมด ดังน้ันการแปลความหมายลักษณะ
ขอ้ มลู โดยใช้ค่าเฉล่ียอยา่ งเดยี วจึงไมเ่ พียงพอ จาเป็นต้องพจิ ารณาการกระจายของข้อมูลควบคไู่ ปด้วย

การวัดการกระจายมหี ลายวิธี ในท่ีน้จี ะกล่าวถึงวิธีท่ีนิยมใช้ 3 วิธี คือ พิสัย (Range)
ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) และความแปรปรวน (Variance)

3.1 พิสัย (Range) คือ ความแตกต่างระหว่างค่าสูงสุดกับค่าต่าสุดของข้อมูล
เป็นการวัดการกระจายของขอ้ มลู อยา่ งครา่ ว ๆ และเป็นการคานวณทีไ่ ม่ละเอยี ดนักเนือ่ งจากใชค้ ่า
ในการคานวณเพยี ง 2 คา่ เทา่ น้ัน สตู รทใ่ี ชใ้ นการคานวณ คือ

พสิ ยั = คา่ สูงสุด - ค่าต่าสดุ
เช่น คะแนนของนักเรียน 6 คน เปน็ ดังน้ี 10 8 6 2 3 7

พสิ ยั = 10 - 2 = 8
3.2 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เป็นการวัดการกระจาย
ของข้อมูลท้ังชุดโดยหาว่าข้อมูลแต่ละตัวห่างจากค่าเฉลี่ยเพียงใด ใช้สัญลักษณ์ S หรือ SD
สาหรับข้อมลู ท่ไี ด้จากกลุ่มตวั อยา่ ง และสัญลกั ษณ์  สาหรบั ขอ้ มูลท่ีได้จากกลุ่มประชากร สูตรท่ี
ใช้ในการคานวณมดี ังนี้

~ 86 ~

ข้อมูลที่ไมแ่ จกแจงความถี่ ใชส้ ตู ร

S= nx2  (x)2 สาหรบั การเกบ็ ข้อมูลจากกลมุ่ ตวั อย่าง
n(n  1)

หรอื  = Nx2  (x)2 สาหรบั การเกบ็ ขอ้ มลู จากประชากร 18 16

N2

ตัวอย่าง จากคะแนนจากผลการสอบของนักเรียน 5 คน เป็นดังนี้ 19
15 และ 12 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบครงั้ นี้

X X2
19 361
18 324
16 256
15 225
12 144
x = 80 x2 = 1,310

S = nx2  (x)2
n(n  1)

= (5x1310)  (80)2
5(5  1)

= 7.5
ดงั นัน้ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานของข้อมลู ชุดนี้ เทา่ กับ 2.74

ขอ้ มูลทแี่ จกแจงความถี่ ใชส้ ตู ร

S= nfx 2  (fx ) 2 สาหรับการเกบ็ ขอ้ มลู จากกลมุ่ ตวั อย่าง
n (n  1) สาหรบั การเก็บขอ้ มลู จากประชากร

หรอื  = Nfx 2  (fx ) 2
N2

~ 87 ~

ตัวอย่าง จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากผลการตอบแบบสอบถามข้อ 1 ที่ว่า “ครูจัด
กิจกรรมการเรยี นการสอนไดเ้ หมาะสม” ซ่ึงแจกแจงความถข่ี อ้ มูลไดด้ ังน้ี

ตัวเลือก คะแนน(x) ความถ(่ี f)
มากท่ีสดุ 4 5
3 15
มาก 2 25
ปานกลาง 1 12
0 3
น้อย 60
น้อยท่ีสดุ

รวม

จากขอ้ มลู ดังกลา่ ว สรา้ งตารางเพ่อื คานวณหาค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานได้ ดังนี้
x f x2 fx fx2
4 5 16 20 80
3 15 9 45 135
2 25 4 50 100
1 12 1 12 12
0 3 0 00
รวม 60 127 327

S= (60x327)  (127)2
60(60 1)

= 19620 16129
3540

= 0.986
= 0.993
ดงั น้ัน ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานหรอื มีการกระจายของคะแนน เทา่ กับ 0.993 สรปุ ได้วา่
แบบสอบถามข้อ 1 ท่ีว่า ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสม ผู้ตอบแบบสอบถามให้
คะแนนแต่ละคะแนนหา่ งจากค่าเฉลีย่ เท่ากบั 0.993

~ 88 ~

3.3 ความแปรปรวน (Variance) คือ กาลังสองของส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
การหาความแปรปรวนเปน็ การหาการกระจายในรปู พ้นื ที่ แต่การหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นการ
หาการกระจายในรูปเส้นตรง ใช้สัญลักษณ์ S2 สาหรับข้อมูลท่ีได้จากกลุ่มตัวอย่าง 2 สาหรับ
ข้อมูลทีไ่ ด้จากกลมุ่ ประชากร สูตรทีใ่ ชใ้ นการคานวณ มีดังนี้

ขอ้ มลู ท่ไี มแ่ จกแจงความถ่ี ใช้สตู ร
S2 = nx2  (x)2 สาหรบั การเกบ็ ข้อมูลจากกลุม่ ตวั อยา่ ง

n(n  1)

หรือ  2 = Nx2  (x)2 สาหรบั การเกบ็ ข้อมลู จากประชากร

N2

ข้อมูลทแ่ี จกแจงความถ่ี ใช้สตู ร
nfx 2  (fx)2
S2 = n(n  1) สาหรบั ขอ้ มลู ทไี่ ดม้ าจากกลมุ่ ตวั อย่าง

หรือ 2 = Nfx2  (fx)2 สาหรบั การเกบ็ ข้อมูลจากประชากร
N2
ตวั อย่าง คะแนนผลการสอบของนกั เรยี น 5 คน คอื 19 18 16 15 และ
12 หาความแปรปรวนได้ ดังนี้
X X2
19 361
18 324
16 256
15 225
12 144
x = 80 x2 = 1310

S2 = nx2  (x)2
n(n  1)

= (5x1310)  (80)2 = 7.5
5(5  1)
ดังน้ัน ความแปรปรวนของขอ้ มูลชุดน้ี เทา่ กับ 7.5

~ 89 ~

การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
การทดสอบสมมติฐาน เป็นการใช้วิธีการทางสถิติในการทดสอบสมมติฐานเพ่ือนาไปสู่การ

ลงสรปุ หรือการตัดสินใจว่าสมมตฐิ านทางการวจิ ยั ทีต่ งั้ ไว้เป็นจริงหรือไม่ ถา้ ผลการทดสอบปรากฏวา่
เปน็ จรงิ กจ็ ะสามารถสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากรได้

สมมติฐาน (Hypothesis)
สมมติฐาน คือ คาตอบท่ผี ูว้ จิ ยั คาดคะเนไว้อย่างสมเหตุสมผล มีลกั ษณะสาคัญ 3 ประการ
คือ 1) สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ยั 2) กล่าวถึงความสมั พันธร์ ะหว่างตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้น
ไป และ 3) สามารถทดสอบได้ด้วยวธิ ีการทางสถิติ แบง่ ได้ 2 ประเภท คือ
การกาหนดสมมติฐาน ผ้วู ิจยั จะต้องทาความเขา้ ใจในการกาหนดสมมติฐานการวิจัย ซ่ึงเป็น
การเขียนข้อความก่อน แล้วจึงไปเขยี นสมมตฐิ านทางสถติ ซิ ่งึ เป็นสญั ลักษณ์โครงสร้างทางคณิตศาสตร์
ดงั มรี ายละเอยี ดต่อไปน้ี

1. สมมตฐิ านการวจิ ยั (Research Hypothesis) เป็นสมมตฐิ านทีเ่ ขียนในรูปข้อความ
อธิบายความสมั พนั ธ์ของตวั แปร สมมติฐานชนดิ นี้จะปรากฏอย่ใู นรายงานการวิจยั มี 2 ชนดิ คือ

1.1 สมมติฐานแบบมีทิศทาง เป็นสมมติฐานที่เขียนระบุทิศทางความสัมพันธ์ของ
ตัวแปรอยา่ งชดั เจน

1.2 สมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง เป็นสมมติฐานท่ีเขียนโดยไม่ระบุทิศทาง
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปร

(สมติฐานทางการวิจัยได้กล่าวไวล้ ะเอยี ดแลว้ ในบทท่ี 3)

2. สมมติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis) เป็นสมมติฐานที่แปลงจาก
สมมติฐานทางการวิจัยซึง่ เปน็ ขอ้ ความ ใหอ้ ยู่ในรปู สัญลักษณโ์ ครงสร้างทางคณิตศาสตร์เพ่ือใช้ในการ
ทดสอบสมมติฐาน มี 2 ชนิด คือ
2.1 สมมติฐานเป็นกลางหรือสมมติฐานไม่มีนัยสาคัญ (Null Hypothesis)ใช้
สัญลักษณ์ H0 เป็นสมมติฐานท่ีใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เขียนโดยแสดงให้เห็นว่าไม่มี
ความแตกตา่ งหรือไม่มคี วามสัมพนั ธก์ ันระหว่างตัวแปร
เช่น H0 : 1 =  2 (ค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มที่ 1 กับกลุ่มท่ี 2 ไม่
แตกตา่ งกัน)
H0 :  = 0 (ไม่มคี วามสมั พนั ธ์กนั ระหว่างตวั แปร)

~ 90 ~

2.2 สมมติฐานทางเลือกหรือสมมติฐานมีนัยสาคัญ (Alternative Hypothesis) ใช้
สัญลักษณ์ H1 เ ป็นสมมติฐานที่ใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เขียนโดยแสดงให้เห็นว่ามีความ
แตกตา่ งกนั หรอื มคี วามสมั พนั ธ์กันระหว่างตวั แปร
เช่น H1 :  1   2 (ค่าเฉลย่ี ของประชากรกลุม่ ท่ี 1 กับ กลุ่มท่ี 2 แตกตา่ งกนั )

H1 : 1 >  2 (ค่าเฉล่ยี ของประชากรกล่มุ ท่ี 1 สูงกวา่ กลมุ่ ท่ี 2)
H1 : 1 <  (คา่ เฉล่ยี ของประชากรกลุ่มท่ี 1 ต่ากว่ากลุม่ ที่ 2)
H1 :   0 (มคี วามสมั พันธก์ นั ระหว่างตวั แปร)
H1 :  > 0 (มคี วามสมั พันธ์กนั ทางบวกระหว่างตวั แปร)
ก่อนทาการทดสอบสมมติฐาน ผู้วิจัยต้องนาสมมติฐานทางการวิจัยมาแปลงให้เป็น
สมมติฐานทางสถติ ิเสียกอ่ น จงึ ทาการทดสอบด้วยวธิ กี ารทางสถิติ และในการตั้งสมมติฐานทางสถิติ
จะตอ้ งต้ังท้งั 2 ชนดิ คอื ต้องตงั้ ทั้งสมมตฐิ านเป็นกลาง H0 และสมมติฐานอ่ืน H1 เชน่
วตั ถุประสงค์การวิจยั “เพอ่ื เปรียบเทียบเจตคติตอ่ การใช้เพสบุคตัวระหวา่ งเพศหญงิ กบั เพศชาย”
สมมติฐานการวจิ ยั “หญงิ และชายมีเจตคติต่อการใช้เฟสบคุ แตกตา่ งกัน”
สมมตฐิ านทางสถติ ิ H0 : 1 =  2

H1 :  1   2
สมมติฐานการวิจัย “หญิงมเี จตคตติ อ่ การใช้เฟสบุคสงู กวา่ ชาย”
สมมติฐานทางสถติ ิ H0 : 1   2

H1 :  1 >  2
วตั ถุประสงค์การวจิ ัย “เพอื่ ศึกษาความสมั พันธร์ ะหวา่ งอายุกบั ความสนใจในการชมคอนเสริต์”
สมมติฐานการวิจยั “อายุกบั ความสนใจในการชมคอนเสรติ ส์ มั พนั ธก์ ัน”
สมมตฐิ านทางสถติ ิ H0 :  = 0

H1 :   0
สมมติฐานการวิจยั “อายุกบั ความสนใจในการชมคอนเสริต์สัมพันธ์กันทางบวก”
สมมตฐิ านทางสถิติ H0 :   0

H1 :  > 0

~ 91 ~

ระดับนยั สาคญั (Level of significance)
ระดบั นยั สาคญั คือ โอกาสของการเกิดความคลาดเคล่อื นในการทาวจิ ัย ซ่ึงในการทา

วิจัยจะมีโอกาสที่จะได้ผลถูกต้องทั้งหมดน้ันเป็นไปได้ยาก เพราะจะมีความคลาดเคลื่อนเข้ามา
เก่ียวข้อง ผู้วิจัยจึงต้องกาหนดไว้ล่วงหน้าก่อนทาวิจัย ว่าในการทาวิจัยคร้ังน้ีจะยอมให้เกิดความ
เคลอื่ นเท่าไร ซึ่งเรยี กวา่ การกาหนดระดับนัยสาคญั น่ันเอง ระดับนัยสาคัญเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
 เรียกว่าแอลฟุา (Alpha) การกาหนดระดับ  ข้ึนอยู่กับความสาคัญของงานวิจัย ถ้า
งานวิจัยที่ต้องการความถูกต้องแม่นยามากจะกาหนดระดับ  ไว้ต่า โดยทั่วไปการวิจัยทาง
พฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์มักตั้ง  ที่ระดับ .01 หรือ .05 สมมติว่างานวิจัยเร่ืองหน่ึง
กาหนด  ที่ระดับ .05 หมายความว่า ถ้าทาวิจัยเร่ืองนี้ 100 คร้ัง จะยอมให้เกิดความ
คลาดเคลื่อน 5 ครัง้ (เปน็ ความคลาดเคลอ่ื นทีเ่ กิดข้ึนโดยบังเอิญเท่านั้น) และใช้สัญลักษณ์ * ใน
การแทนระดบั นยั สาคญั ของ  ดงั นี้

* แทนระดบั นัยสาคัญทางสถติ ิท่ี .05
** แทนระดับนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ .01
*** แทนระดับนัยสาคัญทางสถติ ิท่ี .001
ค่าวิกฤติ (Critical Value)
ค่าวิกฤติ คือ ค่าสถิติท่ีเป็นเกณฑ์ในการตัดสินว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐาน
ค่าดังกล่าวไดจ้ ากการเปดิ ตาราง ถ้าคา่ ท่คี านวณไดอ้ ยูใ่ นขอบเขตของวิกฤต (ค่าที่คานวณได้มากกว่า
หรือเท่ากับค่าท่ีเปิดตาราง) จะปฏิเสธสมมติฐานเป็นกลาง (H0) ยอมรับสมมติฐานทางเลือก (H1)
(Reject H0 / Accept H1) แต่ถ้าคา่ ท่คี านวณได้ไม่ตกอยใู่ นขอบเขตวิกฤต (ค่าท่ีคานวณได้น้อยกว่า
ค่าที่เปิดตาราง) จะยอมรับสมมติฐานเป็นกลาง (H0) ( Accept H0 ) ปฏิเสธสมมติฐานทางเลือก
(H1)
ความคลาดเคลื่อนในการวจิ ยั
ในการทดสอบสมมตฐิ าน จะมีความคลาดเคลอ่ื นเกดิ ขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือ
1. ความคลาดเคลอื่ นแบบท่ี 1 (Type I error) เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกดิ จากการ
ท่ีผู้วิจัยปฏิเสธ H0 เมื่อ H0 เป็นจริง ความคลาดเคลื่อนแบบนี้ทาให้การลงสรุปผลการวิจัย
ผิดพลาดมากเพราะเป็นการปฏิเสธความจริง นักวิจัยต้องระวังไม่ให้เกิดขึ้น ความน่าจะเป็นจะเกิด
ความคลาดเคล่ือนแบบน้ีมีค่า =  ถ้าต้องการหลีกเล่ียงความคลาเคล่ือนแบบท่ี 1 ควร
กาหนด  ให้ต่า ๆ เช่น ถ้าตั้ง  = .01 แสดงว่าผู้วิจัยยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อนแบบที่ 1
จานวน 1 ครัง้ ใน 100 คร้ัง ถา้ ตง้ั  = .001 แสดงว่าผ้วู จิ ยั ยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อนแบบที่
1 จานวน 1 คร้ังใน 1,000 คร้ัง

~ 92 ~

2. ความคลาดเคล่อื นแบบที่ 2 (Type II error) เป็นความคลาดเคลื่อนที่เกิดจาก
การท่ีผู้วิจัยยอมรับ H0 เม่ือ H0 เป็นเท็จ ในการวิจัยถือว่าความคลาดเคล่ือนแบบน้ีมีความรุนแรง
น้อยกว่าแบบแรก ความน่าจะเป็นท่ีจะเกิดความคลาดเคล่ือนแบบน้ีมีค่าเท่ากับ  วิธีที่จะลด
ความน่าจะเป็นที่จะเกิดความคลาดเคล่ือนแบบที่ 2 คือ เพ่ิมขนาดของขอบเขตวิกฤต หรือเพ่ิม 
นน่ั เอง

ในการลงสรุปผล มีการตดั สนิ ใจได้ถกู ต้อง (Correct Decision) อยู่ 2 กรณี คือ
ก. ยอมรบั H0 ที่เป็นจรงิ ซง่ึ ความนา่ จะเป็นทจี่ ะมโี อกาสเช่นนี้เทา่ กับ 1 - 
ข. ยอมรบั H0 ทเี่ ป็นเทจ็ ซงึ่ ความนา่ จะเป็นท่จี ะมีโอกาสเช่นนี้เทา่ กับ 1 - 

โอกาสการเกิดความคลาดเคลื่อนแบบตา่ ง ๆ และการตดั สนิ ใจท่ีถูกตอ้ ง แสดงได้ดงั ตาราง

สภาพทีถ่ กู ตอ้ งของ H0
H0 เปน็ จริง H0 เปน็ เท็จ
ตัดสนิ ใจถูกต้อง ความคลาดเคล่อื นแบบท่ี 2
ยอมรบั H0 1-
การตดั สินใจ ปฏเิ สธ H0 

ความคลาดเคลือ่ นแบบที่ 1 ตัดสนิ ใจถูกตอ้ ง
 1-

ผลการทดสอบสมมติฐาน
ผลการทดสอบสมมตฐิ านจะมเี พียง 2 กรณี

1. ปฏเิ สธ H0 ยอมรบั H1 (Reject H0 Accept H1)
2. ยอมรับ H0 ( Accept H0 )

ถ้าผลการทดสอบสมมติฐาน ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 (Reject H0 Accept
H1) แสดงวา่ สมมติฐานทางการวิจัยที่ผู้วจิ ัยตง้ั ไวน้ ั้นถกู ตอ้ ง

การสรปุ ผลการทดสอบสมมติฐานตอ้ งระบุให้ชัดเจนว่า ผลการทดสอบท่ีได้น้ันกระทาท่ี
ระดบั นัยสาคัญทางสถติ เิ ทา่ ใด เช่น

ตงั้ สมมตฐิ านทางการวิจยั วา่ เพศหญิงกบั เพศชายมเี จตคตติ อ่ การชมภาพยนตร์แตกต่าง
กัน และทาการทดสอบสมมติฐานท่ีระดับ  .05 ปรากฏว่า ค่าที่คานวณได้มากกว่าค่าในตาราง
ดังน้นั ปฏเิ สธ H0 ยอมรบั H1 สรปุ ได้ว่าเพศชายกบั เพศหญงิ มเี จตคตติ อ่ การชมภาพยนตร์แตกต่าง
กนั อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .05 ซ่งึ หมายความว่าเพศหญิงกบั เพศชายมีเจตคติต่อการชม
ภาพยนตร์แตกต่างกันจริง แต่ถ้าค่าที่คานวณได้น้อยกว่าค่าในตาราง จะยอมรับ H0 สรุปได้ว่า

~ 93 ~

เพศชายกับเพศหญิงมีเจตคติต่อการชมภาพยนตร์แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
ซึ่งหมายความว่าเพศหญงิ กบั เพศชายมีเจตคตติ อ่ การชมภาพยนตร์ไม่แตกตา่ งกัน

ทดสอบสมมตฐิ านแบบทางเดียว และแบบสองทาง
การทดสอบสมมติฐาน สามารถทาได้ 2 ลักษณะคือ การทดสอบสมมติฐานแบบ
ทางเดยี ว (One tailed test) และการทดสอบสองทาง (Two tailed test)

1. การทดสอบสมมติฐานแบบทางเดียว (One tailed test) เป็นการทดสอบท่ีมุ่ง
พิจารณาในแง่ของความแตกต่างที่มากกว่าหรือน้อยกว่าเพียงอย่างใดอย่างหน่ึง จะทาเม่ือผู้วิจัย
ตั้งสมมติฐานการวิจัยแบบมีทิศทาง ไม่ว่าจะเป็นการเปรียบเทียบหรือการหาความสัมพันธ์ของตัว
แปรกต็ าม การกาหนดขอบเขตปฏเิ สธสมมตฐิ าน จะกาหนดไว้ปลายเดยี ว อาจเป็นปลายทางซ้าย
หรอื ปลายทางขวากไ็ ด้ เช่น

การทดสอบสมมตฐิ านทม่ี ที ศิ ทางบวกขอบเขตของการปฏิเสธสมมติฐานจะอยู่ปลายทาง
ขวา เช่น กาหนดระดับนัยสาคัญ ที่ .05 ขอบเขตของการปฏิเสธสมมตฐิ านแสดงได้ ดงั ภาพ

Acceptant Region Critical Region
( Accept H0 Area) (Reject H0 Accept H1)

 =.05

การทดสอบสมมติฐานที่มีทิศทางลบขอบเขตของการปฏิเสธสมมติฐานจะอยู่
ปลายทางซ้าย เช่น กาหนดระดับนัยสาคัญ ที่ .05 ขอบเขตของการปฏิเสธสมมติฐานแสดงได้
ดงั ภาพ

Acceptant Region
Critical Region (Accept H0 Area)
(Reject H0 Accept H1)

 =.05


Click to View FlipBook Version