The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือวิจัยสมบูรณ์_compressed

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การวิจัยทางการศึกษา Educational Research

หนังสือวิจัยสมบูรณ์_compressed

~ 94 ~

2. การทดสอบแบบสองทิศทาง (Two tailed test) เป็นการทดสอบทม่ี ุ่งพจิ ารณา
ในแง่ของความแตกต่างเท่าน้ัน โดยไม่คานึงว่าจะแตกต่างกันในทิศทางใด จะทาเม่ือผู้วิจัย
ตัง้ สมมตฐิ านการวจิ ยั แบบไม่มีทิศทาง ไม่ว่าจะเป็นการเปรียบเทียบหรือการหาความสัมพันธ์ของตัว
แปรก็ตาม การกาหนดขอบเขตปฏเิ สธสมมติฐาน จะกาหนดไว้ท้ังสองปลาย คือ ทั้งปลายทางซ้าย
และปลายทางขวา โดยเอา 2 หารระดบั นัยสาคญั เช่น ถ้าตั้งระดับนัยสาคัญท่ีระดับ.05 ขอบเขต
วิกฤติแต่ละปลาย จะเท่ากบั .05 / 2 = .025

เช่น กาหนดระดบั นยั สาคญั ที่ .05 ขอบเขตของการปฏิเสธสมมติฐานแสดงได้ ดงั ภาพ

Acceptant Region

Critical Region ( Accept H0 Area) Critical Region
(Reject H0 Accept H1) (Reject H0 Accept
H1)
 =.025
 =.025

ขั้นตอนการทดสอบสมมตฐิ าน
ข้ันท่ี 1 แปลงสมมติฐานทางการวิจัยให้เป็นสมมติฐานทางสถิติโดยกาหนดทั้ง
สมมตฐิ านเป็นกลาง (H0 ) และสมมติฐานทางเลือก (H1)
ขนั้ ท่ี 2 กาหนดระดับนัยสาคญั ()
ขัน้ ที่ 3 เลอื กสถติ ทิ ่จี ะทาการทดสอบ
ข้นั ท่ี 4 ระบคุ ่าวิกฤต โดยเปิดจากตาราง
ขั้นที่ 5 คานวณคา่ สถติ ิ
ข้นั ที่ 6 สรุปผลโดยนาคา่ ทคี่ านวณไดไ้ ปเทียบกับค่าวกิ ฤต (ได้จากการเปิดตาราง) ถ้า
ค่าที่คานวณได้มากกว่าหรือเท่ากับค่าจากตาราง สรุปว่า ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 แสดงว่า “มี
นยั สาคัญ” ถา้ ค่าที่คานวณไดน้ อ้ ยกวา่ คา่ จากตาราง สรปุ ว่า ยอมรบั H0 แสดงว่า “ไม่มนี ยั สาคญั ”

~ 95 ~

การทดสอบสมมตฐิ านเก่ียวกบั ค่าเฉลีย่ ดว้ ยสถิติ t - test
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยด้วยสถิติ t – test ในที่นี้จะนาเสนอเฉพาะการ

ทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกบั คา่ เฉลี่ยของกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2 กล่มุ ซึง่ เป็นการทดสอบสมมตฐิ านเพื่อตอบ
คาถามว่า ค่าเฉล่ียของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ท่ีนามาศึกษาแตกต่างกันหรือไม่ หรือแตกต่างกันใน
ทศิ ทางใด ซงึ่ มหี ลายลกั ษณะ ดงั นี้

1. การทดสอบค่าเฉลี่ยของ 2 กลุ่มที่สัมพันธ์กันด้วย t – test for dependent
sample

กลุ่มตัวอยา่ งสองกลมุ่ ท่ีสมั พนั ธก์ ัน หรือสองกลุ่มท่ีเก่ียวข้องกัน คือ กลุ่มตัวอย่างท่ี
มีลกั ษณะใดลกั ษณะหนง่ึ ดังตอ่ ไปน้ี

1) เป็นกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวกัน แต่ทาการทดสอบ 2 คร้ัง คือ ก่อนและหลัง
การทดลอง กอ่ นและหลงั การสอน หรอื กอ่ นและหลงั การอบรม

2) เป็นกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มท่ีเหมือนกัน หรือเท่าเทียมกันในคุณลักษณะเฉพาะ
อย่าง เช่น สตปิ ญั ญาเท่ากนั ความถนัดทางคานวณเท่ากนั หรือเป็นเด็กฝาแผด โดยจบั เปน็ คู่ ๆ
เท่ากัน แลว้ แยกเป็น 2 กลุม่

สถิติที่ใช้ทดสอบค่าเฉลี่ยของ 2 กลุ่มท่ีสัมพันธ์กัน ใช้การทดสอบที (t – test for
dependent sample) มีสตู รดงั นี้
D
t= nD2  (D)2

n1

df = n - 1

D คือ ความแตกตา่ งของคะแนนแต่ละคู่
n คือ จานวนคขู่ องข้อมูล

~ 96 ~

ตวั อย่าง ครมู าลยั สอนการออกเสียงพยัญชนะ ร ล โดยใช้กิจกรรมเพลง ก่อนสอนครู
มาลัยได้สอบวัดความสามารถในการออกเสียง และหลังจากสอนเสร็จแล้วได้สอบวัดอีกคร้ังหน่ึง
ปรากฏคะแนนดังน้ี

คนที่ 1 2 3 4 5
คะแนนกอ่ นสอน 8 4 6 4 5
คะแนนหลังสอน 16 9 10 13 15

จงทดสอบสมมติฐานทวี่ า่ หลังเรียนโดยการใช้กิจกรรมเพลง นักเรียนมีความสามารถใน
การออกเสยี น ร ล ดีกว่าก่อนเรยี น ทรี่ ะดับนัยสาคญั .01 หรอื ไม่

ขน้ั ที่ 1 แปลงสมมตฐิ านทางการวิจัยให้เปน็ สมมตฐิ านทางสถติ ิ
ให้ 1 เป็นคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการออกเสียงหลังการสอนโดยใช้กิจกรรม

เพลง
2 เป็นคะแนนเฉล่ียความสามารถในการออกเสียงก่อนการสอนโดยใช้กิจกรรม

เพลง
H0 : 1  2
H1 : 1  2

ขั้นที่ 2 กาหนดระดับนยั สาคญั ทร่ี ะดบั .01
ข้ันที่ 3 เลือกสถิติ t – test ทดสอบค่าเฉล่ีย 2 กลุ่มสัมพันธ์กัน (t – test for dependent
sample)
ข้นั ที่ 4 ระบคุ า่ วิกฤตโดยเปิดตารางท่ี  = .01
df = n – 1 = 5 – 1 = 4
ไดค้ า่ t ตาราง = 3.747
ขนั้ ที่ 5 คานวณค่าสถิติ โดยทาเป็นตารางขอ้ มลู ดังน้ี
คนที่ สอบหลัง สอบก่อน D D2
1 16 8 8 64
2 9 4 5 25
3 10 6 4 16
4 13 4 9 81
5 15 5 10 100
36 286

~ 97 ~

จากสูตร t = D
nD2  (D)2

n 1

แทนคา่ t 36

= 5(286)  (36)2

51

36
= 33.5
= 6.22
ดังน้ัน คา่ t คานวณเทา่ กับ 6.22
ข้ันท่ี 6 สรปุ ผลโดยเปรียบเทยี บค่า t ทคี่ านวณได้ กับคา่ t จากตาราง
คา่ t ท่คี านวณได้ = 6.22 ค่า t จาตาราง = 3.747
คา่ t ทค่ี านวณได้ > คา่ t จากตาราง
ดังน้ัน ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 สรุปได้ว่า หลังเรียนโดยใช้กิจกรรมเพลงนักเรียนมี
ความสามารถในการออกเสียน ร ล สูงกว่ากอ่ นเรียนอย่างมนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .01 แสดงว่า
การใช้กจิ กรรมเพลงชว่ ยใหน้ กั เรียนมีความสามารถในการออกเสียง ร ล ถกู ตอ้ งมากขึ้น

ในการพิสูจนส์ มมติฐาน เราสามารถแสดงการยอมรบั สมมตฐิ านบนเส้นตรงได้ดงั นี้

Acceptant Region เสน้ วกิ ฤติ

( Accept H0 Area) (Accept H1 Area)
H0 : 1 =  2 =.01 H1 :  1 > 2
-- 66.2.222+
0 3.747

~ 98 ~

2. การทดสอบคา่ เฉลี่ยของกลมุ่ ตวั อย่าง 2 กล่มุ อิสระด้วย t – test for independent
sample โดยเก็บข้อมูลมาจาก 2 กลุ่มตัวอย่างที่มีอิสระจากกัน เช่น ชายกับหญิง, หลักสูตร 4 ปี กับ
หลกั สตู ร 5 ปี เปน็ ตน้
2.1 กรณีประชากรมคี วามแปรปรวนเทา่ กนั (12 = 12 ) ใชส้ ูตรดังนี้

t= X1  X2

n1  1S12  n2  1S22 1  1 
 n2 
n1  n2  2  n 1 

df = n1 + n2 - 2 X2 คือ คะแนนเฉลยี่ ของกลมุ่ 2
X1 คอื คะแนนเฉลี่ยของกล่มุ 1 n2 คือ จานวนกลมุ่ ตัวอย่างที่ 2
n1 คอื จานวนกลุ่มตัวอยา่ งท่ี 1 2 คือ ความแปรปรวนของกลุม่ 2
S12 คอื ความแปรปรวนของกลมุ่ 1 S 2

ตวั อยา่ ง ครูนดิ าไดส้ รา้ งแบบฝกึ ในการเขียนคาควบกล้า อักษรนา และตัวการันต์ สาหรับ
นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 และไดน้ าไปทดลองใช้ โดยแบง่ นกั เรยี นเปน็ 2 กลุ่ม กลุ่มทดลอง
ใช้แบบฝึก กลุ่มควบคุมไม่ได้ใช้แบบฝึกหลังจากทดลองแล้ว ครูนิดาได้ทาการทดสอบนักเรียนท้ัง 2
กลุ่ม แล้วนาคะแนนของทง้ั 2 กลุ่มมาหาคะแนนเฉลยี่ ความแปรปรวน ปรากฎคะแนน ดงั น้ี

กลุม่ ควบคมุ (ไมไ่ ดใ้ ชแ้ บบฝกึ ) กลุม่ ทดลอง (ใช้แบบฝึก)
X 20 27
S2 49 100

n 16 18

จงทดสอบสมมติฐานว่ากลุ่มทดลองจะมีความสามารถในการเขียนคาควบกล้า อักษรนา
และตวั การนั ต์ สงู กว่ากลมุ่ ควบคมุ ท่รี ะดับนยั สาคญั .05 หรอื ไม่

~ 99 ~

ขัน้ ท่ี 1 แปลงสมมตฐิ านการวจิ ยั ให้เปน็ สมมตฐิ านทางสถติ ิ
ให้ 1 เปน็ คะแนนเฉล่ยี ของกลมุ่ ทดลอง
2 เปน็ คะแนนเฉลยี่ ของกล่มุ ควบคมุ
H0 : 1  2
H1 : 1  2

ขั้นที่ 2 กาหนดระดบั นยั สาคญั ทรี่ ะดับ .05
ข้นั ท่ี 3 เลือกสถิติ t–test ทดสอบคา่ เฉล่ยี 2 กลุ่มอสิ ระกัน(t – test for independent sample)
ข้นั ที่ 4 ระบุคา่ วิกฤตโดยเปิดตารางที่  = .05
df = n1 + n2 - 2 = 16 + 18 - 2 = 32
ได้คา่ t ตาราง = 1.697

ขนั้ ที่ 5 คานวณคา่ สถติ ิ

สูตร t= X1  X2

n1  1S12  n2  1S22 1  1 
 n2 
n1  n2  2  n 1 

t= 27  20

17  10015  49 1  1 
18 16 
18  16  2 

t= 7

1700  735 .118
32
7
t= 8.979 =2.36

ดังนั้นคา่ t ท่คี านวณ = 2.36
ขนั้ ที่ 6 สรปุ ผลโดยเปรียบเทยี บค่า t ทค่ี านวณได้ กับคา่ t จากตาราง
คา่ t ท่ีคานวณได้ = 2.36 คา่ t จากตาราง = 1.697
คา่ t ทีค่ านวณได้ > ค่า t จากตาราง
ดังนั้น ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 สรุปได้ว่า คะแนนของกลุ่มควบคุมสูงกว่า
คะแนนเฉล่ียของกลุ่มทดลองอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ิทีร่ ะดบั .05 แสดงวา่ กลุ่มทดลองทใ่ี ชแ้ บบฝกึ
มีความสามารถในการเขียนคาควบกลา้ อักษรนา และตวั การนั ต์ สูงกว่ากลุ่มควบคุมท่ีไม่ได้ใช้แบบ
ฝกึ

~ 100 ~

ในการพสิ จู นส์ มมตฐิ าน เราสามารถแสดงการยอมรบั สมมตฐิ านบนเสน้ ตรงได้ดงั น้ี
Acceptant Region
เสน้ วกิ ฤติ
( Accept H0 Area) (Accept H1 Area)
H0 : 1   2 H1 :  1 > 2
 =.05

-- 2.23.636 +

0 1.697

2.2 กรณปี ระชากรมีความแปรปรวนตา่ งกัน (12  12 ) ใชส้ ูตรดังน้ี

สูตร t= X1  X2
S12  S22
n1 n2

df =  S12 / n1  S22 / n2 2

 S12 2 n 1    S22 2 n 1 
n1  n2 
1 1 2 1

ตัวอย่าง ครูพรรณีได้ทดลองสอนการอ่านให้นักเรียนประถมศึกษาปีท่ี 4 จานวน 2
กลุ่ม ด้วยวิธีสอน กลุ่มที่ 1 อ่านแล้วให้อภิปราย กับกลุ่มที่ 2 อ่านแล้วให้สรุปย่อ เม่ือทาการทดสอบ
นักเรียนทั้งสองกลุ่มแล้ว ครูพรรณีนาคะแนนมาหาคะแนนเฉล่ีย ความแปรปรวน ปรากฏคะแนน
เป็นดงั นี้

อา่ นแล้วใหอ้ ภิปราย อ่านแลว้ ให้สรปุ ยอ่
X 25 20
S2 64 25

n 29 28

จงทดสอบสมมติฐานว่า คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการอ่านของกลุ่มอภิปรายกับคะแนน
เฉลี่ยความสามารถในการอา่ นของกลุม่ สรปุ ย่อแตกต่างกันแตกตา่ งกันทีร่ ะดับนัยสาคัญ .01 หรอื ไม่

~ 101 ~

ข้นั ที่ 1 แปลงสมมตฐิ านทางการวิจยั ให้เปน็ สมมตฐิ านทางสถิติ
ให้ 1 เปน็ คะแนนเฉลย่ี ความสามารถในการอ่านของกลุ่มอภปิ ราย
2 เป็นคะแนนเฉลย่ี ความสามารถในการอา่ นของกลุม่ สรปุ ยอ่
H0 : 1 = 2
H1 : 1  2

ขั้นท่ี 2 กาหนดระดบั นยั สาคัญทีร่ ะดับ .01
ข้ันท่ี 3 เลือกสถิติ t – test ทดสอบค่าเฉลี่ย 2 กลุ่มอิสระกัน (t – test for independent
sample)
ขั้นท่ี 4 ระบุคา่ วิกฤตโดยเปิดตารางที  = .01
 S12 / n1  S22 / n2 2
df =
 S12 2 1    S22 2 1 
n1 n  n2 n 
1 1 2 1

= 64 / 29  25 / 282

 64 2 1    25 2 1 
 29   28 
29  1 28  1

= 3.0992 = 9.60
0.203
0.174  0.029
ดังนัน้ df = 47.29 หรือ  47
ได้ค่า t ตาราง = 2.704
ขั้นที่ 5 คานวณค่าสถติ ิ

จากสูตร t = X1  X2
S12  S22
n1 n2

25  20
= 64  25

29 28

~ 102 ~

5
= 3.099

5
= 1.76
ดงั นัน้ ค่า t คานวณ = 2.84

ข้นั ที่ 6 สรปุ ผลโดยเปรียบเทยี บคา่ t ทคี่ านวณได้ กับค่า t จากตาราง
ค่า t ทค่ี านวณได้ = 2.84 ค่า t จากตาราง = 2.704
คา่ t ท่ีคานวณได้  ค่า t จากตาราง
ดงั นน้ั ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 สรปุ ได้ว่า คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการอ่านของกลุ่ม

อภิปรายกับคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการอ่านของกลุ่มสรุปย่อแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญท าง
สถิติท่ีระดับ .01 กล่าวคือ ความสามารถในการอ่านของนักเรียนที่อ่านแล้วให้อภิปรายจะสูงกว่า
นกั เรยี นท่อี า่ นแล้วสรุปยอ่
ในการพสิ จู น์สมมตฐิ าน เราสามารถแสดงการยอมรบั สมมติฐานบนเส้นตรงได้ดงั นี้

Acceptant Region  = .05 เสน้ วกิ ฤติ
( Accept H0 Area) (Accept H1 Area)
H0 : 1 =  2 H1 :  1   2

-- 0 2.84 +
2.704 =.01
4
การทดสอบสมมติฐานเกย่ี วกับจานวนหรอื ความถด่ี ้วย ไค-สแควร์ (2 – test)
งานวิจัยท่ีเก็บรวบรวมข้อมูลในรูปการแจงนับเป็นความถ่ี เช่น จานวนนักเรียน เพศหญิง
จานวนครูท่ีนิยมใช้ส่ือการสอนประเภทต่าง ๆ นักเรียนท่ีชอบทากิจกรรมของโรงเรียนและต้องการดู
วา่ ความถี่ท่ีสงั เกตไดเ้ ป็นไปตามทฤษฎีหรอื ตามท่ีคาดหวังหรือไม่ หรือต้องการดูว่าข้อมูลจาก 2 ตัว
แปรมีความเก่ยี วขอ้ งกนั หรือไม่ ต้องใช้การทดสอบดว้ ยไค-สแควร์ (2 – test)

~ 103 ~

การทดสอบ ไค-สแควร์ (2 – test) คานวณได้จากสูตร ดังน้ี
2
2 =   O  E 
 E

เมอ่ื 2 คือ ไค-สแควร์
O คือ ความถ่ที ีไ่ ด้จากการสงั เกต (Observed Frequency)
E คือ ความถ่ีตามทฤษฎี หรือความถ่ีท่ีคาดหวัง (Expected
Frequency)
ความถท่ี ่ไี ด้จากการสงั เกต คอื ขอ้ มลู ที่ผู้วิจัยเก็บรวบรวมขอ้ มลู ได้จากกล่มุ ตวั อย่าง
ความถต่ี ามทฤษฎี หรอื ความถท่ี ่ีคาดหวงั คือ ความถีท่ ี่กาหนดได้ตามทฤษฎีหรือกฎต่าง
ๆ หรือเป็นความถท่ี ่ผี วู้ จิ ัยคาดหวังว่าจะเป็นเช่นนั้น อาจคานวณได้เอง โดยเอาผลรวมของความถ่ีท่ี
ได้จากการสังเกตท้ังหมด หารด้วยจานวนประเภท หรอื จานวนพวก
เช่น โยนเหรียญ 10 อัน 100 คร้ัง ปรากฏว่าออกหัว 68 คร้ัง ออกก้อย 32
ครั้ง ดังน้ัน ความถี่ท่ีได้จากการสังเกต คือ ออกหัว 68 คร้ัง ออกก้อย 32 คร้ัง ความถ่ีที่
คาดหวงั คอื
68  32  100
22 = ดงั นน้ั ความถีท่ ีค่ าดหวงั ออกหัว 50 ครัง้ ออกกอ้ ย 50 ครัง้

การทดสอบไค-สแควร์ ที่นิยมใชก้ ันมาก มี 2 กรณคี อื
1. การทดสอบข้อมูล 1 ตัวแปร (Test for one variable or Test of goodness
of fit) เป็นการทดสอบเพ่ือดวู า่ มีความแตกตา่ งระหวา่ งความถที่ ่สี ังเกตได้ กบั ความถท่ี คี่ าดหวงั หรือไม่
เขียนสมมตฐิ านเป็นกลางได้ ดังน้ี

H0 : P1 = P2 = P3 = … = Pk
H1 : P1  P2  P3 …  Pk
เมอ่ื P1 , P2 , P3, Pk แทน สัดส่วนตา่ ง ๆ ตั้งแต่ประเภท ท่ี 1 ถึง k

k แทน ประเภท หรอื จานวนกลุ่ม

ข้นั ตอนการทดสอบ
ขนั้ ท่ี 1 เขยี นสมมตฐิ านทางสถติ ิ H0 : P1 = P2 = P3 = … = Pk
H1 : P1  P2  P3 …  Pk
ขน้ั ที่ 2 กาหนดระดับนัยสาคัญท่ีระดบั 
2
ขน้ั ที่ 3 เลือกสถิติ 2 โดยมีสตู ร 2 =   O  E 
 E

~ 104 ~

ข้ันท่ี 4 ระบุค่าวิกฤต โดยเปิดจากตาราง Critical values of the Chi-square Distribution
ณ ระดบั นัยสาคัญท่ีต้ังไว้ โดยมี df = k – 1

ข้ันท่ี 5 คานวณค่าสถติ ิ
ขนั้ ท่ี 6 สรปุ ผลโดยนาคา่ 2 ท่ีคานวณได้ไปเทียบกับค่าวิกฤต (ได้จากการเปิดตาราง) ถ้าค่า
2 ทคี่ านวณได้มากกวา่ หรอื เท่ากบั คา่ จากตาราง จะ ปฏเิ สธ H0 ยอมรับ H1 สรปุ ได้ว่าสดั ส่วนตา่ ง
ๆ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ  ที่ต้ังไว้ แปลว่าข้อมูลท่ีผู้วิจัยรวบรวมมาได้
แตกต่างกันจริง แตถ่ ้าค่าที่คานวณได้น้อยกว่าค่าจากตาราง สรุปว่า ยอมรับ H0 ปฏิเสธ H1 สรุป
ได้วา่ สัดส่วนต่าง ๆ แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ  ท่ีต้ังไว้ แปลว่าข้อมูลท่ีผู้วิจัย
รวบรวมมาได้ไม่แตกต่างกนั

ตัวอยา่ ง สารวจความคดิ เหน็ จากประชาชนเกยี่ วกับการคาดเขม็ นริ ภัย วา่ เหน็ ด้วยหรอื ไม่
จึงได้สุ่มประชาชน 100 คน มาสอบถาม ปรากฏว่ามีผู้เห็นด้วย 60 คน ไม่เห็นด้วย 40 คน จง
ทดสอบว่าสดั สว่ นของประชาชนทเี่ หน็ ด้วยกบั ไม่เห็นด้วยแตกตา่ งกันอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติที่ระดับ
.05 หรือไม่

ขนั้ ตอนการทดสอบ
ข้นั ที่ 1 เขยี นสมมตฐิ านทางสถิติ H0 : P1 = P2

H1 : P1  P2
ข้ันท่ี 2 กาหนดระดบั นยั สาคญั ที่ระดับ  = .05
ข้ันที่ 3 เลือกสถิติ 2 โดยมีสูตร
2 2
=   O  E 
 E

ขัน้ ที่ 4 ระบุคา่ วิกฤต โดยเปิดจากตาราง Chi-square ที่  = .05 df = 2 – 1
ได้ค่า 2 จากตาราง = 3.84
ขนั้ ที่ 5 คานวณค่าสถิติ
จากสตู ร  =2   O  E 2
 E 

เมื่อ O คอื ความถี่ทไี่ ดจ้ ากการสังเกต ซง่ึ มี 2 คา่ คอื เห็นด้วย (O1) = 60
ไมเ่ หน็ ด้วย (O2) = 40
E คือ ความถี่ทคี่ าดหวังไว้ = 60  40 = 100 คือ เหน็ ด้วย (E1) = 50
2 2 ไม่เห็นดว้ ย (E2) = 50

~ 105 ~

แทนค่าสตู รได้ ดงั นี้ 2 =   O  E 2
 E 

= +(O1  E1 )2 (O2  E2 )2

E1 E2

= (60  50)2 + (40  50)2
50 50

102  10 2
50 50
= +

= 2 +2
=4
อาจแทนค่าสูตรในรปู ตารางได้ ดังน้ี

ความคิดเหน็ O E O-E (O –E)2 (O  E)2
E
เหน็ ด้วย 60 50 10 100 2
ไมเ่ ห็นด้วย 40 50 -10 100 2
2 = 4
ขนั้ ที่ 6 เปรยี บเทียบ 2 ท่ีคานวณได้กบั 2 จากตาราง
2 ที่คานวณได้ = 4.00 2 จากตาราง = 3.84
2 ท่คี านวณได้ > 2 จากตาราง
ดังนั้น ปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 สรุป ได้ว่าสัดส่วนของประชาชนท่ีเห็นด้วยกับไม่
เห็นด้วยแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถตทิ ร่ี ะดับ .05 แสดงว่า ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับ
การคาดเขม็ ขัดนิรภยั มเี พียงสว่ นนอ้ ยไมเ่ ห็นดว้ ย

ในการพสิ จู นส์ มมติฐาน เราสามารถแสดงการยอมรับสมมตฐิ านบนเส้นตรงได้ดงั นี้
Acceptant Region
เส้นวิกฤติ
( Accept H0 Area) (Accept H1 Area)
H0 : P1 = P2 H1 : P1  P2
 = .05

-- 4.00 +

0 3.84

~ 106 ~

2. การทดสอบข้อมลู 2 ตวั แปร หรอื การทดสอบความเป็นอิสระ (Test for two
variables or Test of independent) เปน็ การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตวั แปร 2 ตวั วา่
เก่ยี วขอ้ งกนั หรอื ขน้ึ อยแู่ ก่กันหรอื ไม่ เชน่ เพศมคี วามสัมพนั ธก์ ับประสทิ ธิภาพในการทางานหรอื ไม่
การทดสอบความเปน็ อสิ ระจะตง้ั สมมติฐานทางสถติ ิ โดยใชส้ ญั ลกั ษณ์  (Rho) แทนความสมั พันธ์
ของประชากร ดงั นี้

H0 :  = 0 (ตวั แปรทงั้ สองไมส่ มั พนั ธก์ นั หรือเปน็ อสิ ระจากกนั )
H1 :   0 (ตัวแปรท้ังสองสัมพันธ์กัน หรอื ข้นึ อยูแ่ กก่ นั )

การทดสอบความเป็นอิสระจะต้องแจกแจงความถ่ีข้อมูลในลักษณะตารางสัมพันธ์
ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว เช่น ต้องการสารวจว่าเพศมีความสัมพันธ์กับความ
ถนัดในการใช้มือหรือไม่ กรณีน้ีจะมีตัวแปร 2 ตัว คือ 1) เพศ ซึ่งแบ่งเป็น เพศหญิงกับเพศชาย
2) ความถนัดในการใช้มือ แบ่งเป็น ถนัดมือซ้ายกับถนัดมือขวา สามารถเขียนเป็นตารางแจก
แจงข้อมูลแบบ 2 X 2 ได้ ดงั นี้

ความถนดั มอื ซ้าย มอื ขวา
เพศ

หญิง
ชาย

หรือต้องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับการศึกษากับประสิทธิภาพในการทางาน ซึ่งระดับ
การศึกษา แบ่งเป็น 4 ระดับ คือ ต่ากว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก
ประสิทธภิ าพในการทางาน แบง่ เป็น 3 ระดบั คอื สูง ปานกลาง ต่า เขียนเป็นตารางแจกแจง
ขอ้ มลู แบบ 4 X 3 ได้ ดงั นี้

ประสทิ ธภิ าพ สงู ปานกลาง ต่า
ระดบั การศกึ ษา

ต่ากว่าปรญิ ญาตรี
ปริญญาตรี
ปรญิ ญาโท
ปริญญาเอก

~ 107 ~

การคานวณใช้สูตร ไค-แสควรเ์ ช่นเดียวกับการทดสอบขอ้ มลู 1 ตัวแปร แต่จะใช้
df = (c – 1) (r – 1)
เมือ่ c แทน จานวนตวั แปรในแนวต้ัง (Column)
R แทน จานวนตวั แปรในแนวนอน (Row)
ข้ันตอนการทดสอบ
ขน้ั ท่ี 1 เขยี นสมมตฐิ านทางสถติ ิ H0 :  = 0
H1 :   0
ขน้ั ท่ี 2 กาหนดระดบั นัยสาคัญท่รี ะดบั 
ขั้นท่ี 3 ระบุค่าวกิ ฤต โดยเปิดตาราง Chi-square โดยท่ี  ตั้งไวโ้ ดยมี df = (c –1) (r – 1)
เม่อื c แทน จานวนตวั แปรในแนวต้งั (Column)
r แทน จานวนตวั แปรในแนวนอน (Row)
ข้นั ที่ 4 หาคา่ ความถีท่ ีค่ าดหวัง (E) จากสตู ร
RxC
E = N

เมือ่ R แทน ผลรวมของความถีใ่ นแถวนัน้
C แทน ผลรวมของความถใ่ี นคอลัมนน์ ัน้
N แทน ผลรวมของความถ่ที งั้ หมด
ขัน้ ที่ 5 คานวณค่าสถิติ 2 โดยมีสูตร
2
2 =   O  E 
 E

ขั้นที่ 6 สรปุ ผลโดยเปรยี บเทียบ 2 ทคี่ านวณได้ กบั 2 ท่เี ปดิ จากตาราง
ถ้า 2 ที่คานวณได้ > 2 ที่เปิดจากตาราง จะปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 สรุปได้ว่า
ตวั แปร ทั้ง 2 ตวั มีความสมั พนั ธก์ นั อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ิ ณ ระดับ  ที่ตง้ั ไว้ แปลวา่ ตัว
แปรทั้ง 2 ตวั ไมอ่ สิ ระจากกัน หรอื ตวั แปร 2 ตัวนน้ั ขน้ึ แก่กันและกัน
ถ้า 2 ที่คานวณได้ < 2 ทีเ่ ปดิ จากตาราง จะยอมรับ H0 ปฏิเสธ H1 สรุปได้ว่าตัว
แปร ทง้ั 2 ตวั มคี วามสัมพนั ธก์ ันอย่างไมม่ ีนัยสาคัญทางสถิติ ณ ระดบั  ที่ตงั้ ไว้ แปลว่าตัวแปร
ทง้ั 2 ตัว อสิ ระจากกนั หรือไม่ ขน้ึ แก่กัน

~ 108 ~

ตัวอย่าง ต้องการศึกษาระดับการศึกษาและประเภทของนิตยสารที่บุคคลเลือกอ่านว่ามี
ความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 หรือไม่ จึงได้ทาการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง
400 คน ปรากฏผล ดงั นี้

ระดับการศกึ ษา ต่ากว่า ปรญิ ญาตรี สูงกวา่ รวม
ประเภทนติ ยสาร ปริญญาตรี 60 ปรญิ ญาตรี 120
38 80
กฬี า 20 133 40 180
ธรุ กิจ 30 9 12 20
ข่าว 20 240 27 400
บนั เทงิ 10 1
รวม 80 80

ขนั้ ตอนการทดสอบ
ขน้ั ที่ 1 เขยี นสมมตฐิ านทางสถิติ H0 :  = 0
H1 :   0
ข้นั ท่ี 2 กาหนดระดบั นัยสาคัญท่รี ะดับ  = .01
ข้ันที่ 3 ระบุคา่ วกิ ฤต โดยเปิดตาราง Chi-square ท่ี  = .01 , df = (4 – 1) (3 – 1) = 6
ได้ 2 = 16.81
ขนั้ ท่ี 4 หาค่าความถ่ีทค่ี าดหวัง (E) จากสตู ร
RxC
E= N

เพอ่ื ไมใ่ หส้ บั สนให้พจิ ารณาจากตารางประกอบ ดงั น้ี
ระดับการศกึ ษา ตา่ กวา่ สงู กวา่
ประเภทนิตยสาร ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี รวม

กฬี า O11 = 20 O12 = 60 O13 = 40 R1 = 120
ธุรกจิ O21 = 30 O22 = 38 O23 = 12 R2 = 80
ข่าว O31 = 20 O32 = 133 O33 = 27 R3 = 180
บนั เทงิ O41 = 10 O42 = 9 O43 = 1 R4 = 20
รวม C1 = 80 C2 = 240 C3 = 80 N = 400

~ 109 ~

ท่ี O11 = 20 E= 120x80 = 24
400
120x240
ที่ O12 = 60 E = 400 = 72

ที่ O13 = 40 E = 120x80 = 24
400
80x80
ที่ O21 = 30 E = 400 = 16

ท่ี O22 = 38 E= 80x240 = 48
400
80x80
ที่ O23 = 12 E = 400 = 16

ท่ี O31 = 20 E = 180x80 = 36
400
180x240
ที่ O32 = 133 E = 400 = 108

ท่ี O33 = 27 E = 180x80 = 36
400
20x80
ที่ O41 = 10 E= 400 =4

ท่ี O42 = 9 E= 20x240 = 12
400
20x80
ที่ O43 = 1 E= 400 =4

ข้ันที่ 5 คานวณค่าสถิติ โดยมสี ตู ร
2 =   O  E 2

E

~ 110 ~

แทนคา่ สตู รได้ ดังนี้ 2 = (20 – 24)2 + (60 – 72)2 + (40 – 24)2 + (30 - 16)2 + (38 – 48)2 +
24 72 24 16 48

(12 –16)2 + (20 – 36)2 + (133 – 108)2+ (27 – 36)2 +(10 – 4)2 + (9 – 12)2+ (1–4)2
16 36 108 36 4 12 4

= 0.67 + 2.00 + 10.67 + 12.25 + 2.08
+ 1.00 + 7.11 + 5.79 + 2.25 + 9.00 + 0.75 + 2.25
= 55.82
อาจแทนคา่ สตู รในรปู ตารางได้ ดงั นี้
ตาแหนง่
O O E O -E (O –E)2 (O  E)2
E

O11 20 24 -4 16 0.67
O12 60 72 -12 144 2.00
O13 40 24 16 256 10.67
O21 30 16 14 196 12.25
O22 38 48 -10 100 2.08
O23 12 16 -4 16 1.00
O31 20 36 -16 256 7.11
O32 133 108 25 625 5.79
O33 27 36 -9 81 2.25
O41 10 4 6 36 9.00
O42 9 12 -3 9 0.75
O43 1 4 -3 9 2.25
400 400
= 55.82

ตาราง ข้ันที่ 6 สรุปผลโดยเปรียบเทียบ 2 ท่ีคานวณได้ กับ 2 ท่ีเปิดจาก

2 ท่ีคานวณได้เท่ากับ 55.82 2 ทีเ่ ปิดจากตารางเทา่ กับ 16.81
2 ท่คี านวณได้มากกว่าค่า 2 ท่เี ปดิ จากตาราง

ดังน้ันปฏิเสธ H0 ยอมรับ H1 สรุปได้ว่าระดับการศึกษาและประเภทของนิตยสารท่ี

~ 111 ~

บุคคลเลือกอ่านมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แปลว่า ระดับการศึกษา
และประเภทของนิตยสารทีบ่ คุ คลเลือกอ่านมีความสมั พันธ์กนั จริง

ในการพิสจู น์สมมตฐิ าน เราสามารถแสดงการยอมรบั สมมตฐิ านบนเส้นตรงไดด้ ังนี้
Acceptant Region
เสน้ วกิ ฤติ
( Accept H0 Area) (Accept H1 Area)
H0 :  = 0 H1 :   0
 = .01

-- +55.82

0 16.81

การแปลผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู (Data Analysis Interpretation)
การแปลผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู มคี วามสาคัญมาก เพราะเป็นขั้นตอนที่จะนาไปสู่การสรุปผล

ในการแปลผลควรกระทาดงั นี้
1. พจิ ารณาตวั เลข และคา่ สถิติต่าง ๆ ท่ีคานวณออกมาได้ว่าแสดงถึงอะไร มีความหมายแค่

ไหนและเกย่ี วกับอะไร ตอบคาถามข้อใด
2. การแปลความหมาย ต้องยดึ หลกั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ข้อจากดั ของข้อมูลและเทคนิคทางสถิติท่ี

ใช้
3. แปลความหมายให้อยู่ในขอบเขตของการวิจัย และสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายการวิจัย

และประชากรทีศ่ กึ ษา
4. การแปลความหมายต้องพิจารณาว่า ผลท่ีได้นั้นพาดพิงถึงส่ิงใด ควรจะแปลผลในลักษณะ

อย่างใดจึงจะถกู ตอ้ ง
5. การแปลความหมาย ใหใ้ ชภ้ าษาทก่ี ระจา่ งแจง้ กะทดั รัด และเข้าใจง่าย
6. การแปลความหมาย ต้องพิจารณาวา่ ขอ้ มูลทไี่ ด้มานน้ั มีความเช่ือถอื ไดม้ ากน้อยเพยี งใด
ในการแปลความหมายผลวเิ คราะหค์ วรระมดั ระวงั ในเรือ่ งต่อไปนี้
1. ระวงั อย่าแปลใหเ้ กนิ ขอบเขตของขอ้ มลู ทร่ี วบรวมไว้
2. ระวงั อยา่ แปลใหเ้ กินขอบเขตของการวจิ ัยทกี่ าหนดไว้
3. ระวังอยา่ ให้เกิดความลาเอยี งโดยไมร่ ตู้ ัว
4. ระวังการใชเ้ หตผุ ลผิด

~ 112 ~

5. ระวงั ในเรื่องการคานวณค่าสถิตผิ ดิ พลาด เพราะจะทาให้การแปลผลผิดพลาดไปดว้ ย
6. การแปลผลจะต้องตามตัวเลข ไม่มีการแสดงความคิดเหน็ ใด ๆ ทัง้ สนิ้ ถา้ ตอ้ งการแสดง
ความคิดเห็น ให้แสดงไวใ้ นการอภิปรายผล

ข้อสังเกต ผลการวิเคราะห์ข้อมูลนัน้ มอี ยู่ 2 กรณี คอื
1. ผลวเิ คราะหท์ เี่ ปน็ คา่ สถิติพ้นื ฐาน ไดแ้ ก่ คา่ ร้อยละ และการจัดอันดับร้อยละ ค่าตัวกลาง
ค่าการกระจาย หรืออาจเป็นผลวิเคราะหท์ ่ีนาเสนอดว้ ยกราฟ แผนภมู ติ ่าง ๆ เปน็ ต้น
2. ผลวิเคราะห์ท่ีเปน็ ค่าที่ได้จากการทดสอบสมมติฐาน
การแปลความหมายผลวเิ คราะหท์ งั้ 2 กรณนี ้มี ีลักษณะตา่ งกันกลา่ วคือ ถา้ ผลวิเคราะห์เป็น
ค่าสถิติพ้ืนฐานการแปลความหมายเป็นเพียงชี้ให้ผู้อ่านทราบว่าเรื่องนั้น ๆ มีคุณสมบัติเด่นหรือด้อย
ตามค่าสถิตินั้น อย่างไร โดยหยิบยกมากล่าวเฉพาะที่สาคัญ ๆ เท่านั้น สาหรับผลวิเคราะห์ที่เป็น
ค่าที่ไดจ้ ากการทดสอบสมมตฐิ านก็จะแปลความหมายใหส้ อดคล้องกับวิธีการของสถิตนิ ้ัน ๆ

ตวั อย่าง การแปลความหมายผลการวเิ คราะห์ข้อมลู
ตารางที่ 1 ความคิดเห็นของนักศกึ ษาวา่ จาแนกตามเพศสาหรบั คาถาม “สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ควรอยู่

ในตาแหนง่ ตามวาระคราวละก่ปี ี”

จานวนปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 ปี 6 ปี ไมท่ ราบ
เพศ 4(0.8) 18(3.6) 340(68.0) 53(10.6) 5(1.0) 80(16.0)
1(0.2) 34(6.8) 174(34.8) 44(8.8) 3(0.6) 244(48.8)
ชาย 5(0.5) 52(5.2) 514(51.4) 97(9.7) 8(0.8) 324(32.4)
หญิง
รวม

จากตารางท่ี 1 พบว่านักศึกษามีความคิดเห็นว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรควรอยู่ใน
ตาแหน่งตามวาระคราวละ 4 ปี มีจานวนมากที่สุด (ร้อยละ 51.4) และควรอยู่ในตาแหน่งวาระ
คราวละ 2 ปี มจี านวนนอ้ ยทีส่ ุด (รอ้ ยละ 0.5) สาหรบั นักศกึ ษาเพศชายมคี วามคิดเห็นว่าควรอยู่ใน
ตาแหนง่ คราวละ 4 ปี มจี านวนมากทส่ี ดุ (รอ้ ยละ 68.0) และควรอยู่ในตาแหน่งตามวาระคราวละ 2
ปี มีจานวนน้อยที่สุด (ร้อยละ 0.8) ส่วนนักศึกษาเพศหญิงมีความคิดเห็นว่าไม่ทราบว่า
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรควรอยู่ในตาแหน่งตามวาระคราวละ 5 ปี มีจานวนมากที่สุด (ร้อยละ
48.8) และควรอยู่ในตาแหน่งตามวาระคราวละ 2 ปี มีจานวน น้อยที่สดุ (ร้อยละ 0.5)

~ 113 ~

ตารางท่ี 2 แหลง่ ความรเู้ กย่ี วกบั การคุมกาเนิดของนกั ศึกษาจาแนกตามเพศ สาหรบั คาถาม “ท่าน
เคยได้รบั ความรูเ้ กี่ยวกับการคุมกาเนดิ จากที่ใดบ้าง”

เพศ ชาย หญงิ รวม

แหลง่ ความรู้ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
พอ่ แม่ ญาติ 23 11.6 40 19.4 63 15.6
วิทยุ 138 69.3 135 65.9 273 67.6
ครู อาจารย์ 14 7.0 15 7.3 29 7.2
แพทย์ อนามยั 104 52.3 109 53.2 213 52.7
เพ่อื น 76 38.2 111 54.1 187 46.3
ภาพยนตร์ 20 10.1 33 16.1 53 13.1
หนงั สือพิมพ์ 52 26.1 39 19.0 91 22.5
หนงั สอื อ่ืน ๆ 28 14.1 20 9.8 48 11.9
ข้าราชการอนื่ ๆ 7 3.5 13 6.3 20 5.0
อ่นื ๆ 13 6.5 11 5.4 24 5.9

จากตารางท่ี 2 พบวา่ นักศกึ ษาไดร้ บั ความร้เู กย่ี วกบั การคุมกาเนดิ จากหลาย ๆ แหล่ง จาก
วทิ ยมุ ีจานวนมากท่ีสุด (ร้อยละ 67.6) รองลงมาได้รับความรู้จากแพทย์และอนามัย (ร้อยละ 52.7)
และจากเพื่อน (ร้อยละ 46.3) เมื่อจาแนกตามเพศก็ปรากฏผลเช่นเดียวกันคือ นักศึกษาชายได้รับ
ความรเู้ กย่ี วกบั การคุมกาเนดิ จากวทิ ยุ แพทย์และอนามัย และจากเพ่ือน คิดเป็นร้อยละ 69.3, 52.3
และ38.2 ตามลาดบั ส่วนนักศึกษาหญิงได้รับความรู้เกี่ยวกับการคุมกาเนิดจากวิทยุ แพทย์และ
อนามยั และจากเพื่อน คดิ เป็นร้อยละ 65.9, 53.2, และ 54.1 ตามลาดับ

~ 114 ~

ตารางท่ี 3 แสดงผลการประมาณคา่ พฤติกรรมของนกั เรียนในการเรียนกลุ่มทักษะการเรยี นรู้ของ
นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โดยการสงั เกตการณแ์ ละประเมนิ ค่าตามรายการ โดย
ให้คะแนน 1 – 7

รายการพฤตกิ รรมที่สงั เกต X S.D. ความหมาย
1. มสี มาธิตงั้ ใจเรยี น 5.68 1.00 มาก
2. มีปฏกิ ิริยาโตต้ อบ 5.48 1.27 ปานกลาง
3. กระตือรอื ร้น 5.61 0.96 มาก
4. สนใจใครร่ ู้ 5.48 1.00 ปานกลาง
5. ประพฤติดี 5.97 0.90 มาก
6. ขยนั ขนั แขง็ 5.65 0.81 มาก
7. กระฉับกระเฉง 5.50 1.01 มาก
8. รูส้ กึ มั่นคงปลอดภยั 5.66 1.02 มาก
9. สงบเยอื กเยน็ 4.96 1.06 ปานกลาง
10. เรยี นเก่ง 5.17 0.82 ปานกลาง

จากตารางท่ี 3 แสดงว่านักเรียนในห้องเรียนน้ีมีพฤติกรรมในช้ันเรียนท่ีเหมาะสมอยู่ใน
ระดับปานกลางถึงมาก นักเรียนมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสมในระดับมากในเรื่องสมาธิต้ังใจเรียน
กระตือรอื ร้นประพฤตดิ ี ขยนั ขนั แข็ง กระฉับกระเฉง และร้สู กึ มั่นคงปลอดภัย สาหรับพฤติกรรม
ท่ีมีความเหมาะสมในระดับปานกลางคือ มีปฏิกิริยาโต้ตอบ สนใจใคร่รู้ สงบเยือกเย็น และ
พฤติกรรมเรียนเก่ง ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานแสดงว่า พฤติกรรมของนักเรียนในห้องเรียนแต่ละ
รายการพฤติกรรมไม่แตกต่างกันมากนัก

~ 115 ~

ตารางท่ี 4 ผลการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนซ่อมเสริมโจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ เรือ่ ง
เวลาของนักเรียนที่ได้รับการสอนซ่อมเสริมด้วยชุดการสอนซ่อมเสริม ชุดท่ี 1 ชุดท่ี 2
และชุดท่ี 3 และผลรวมทง้ั 3 ชดุ กบั การสอนซอ่ มเสรมิ ตามปกติ

ชุดการสอน ฯ กลุ่ม กอ่ นสอน หลังสอน XD S2 t
1 ทดลอง 322 417 6.13 D
ควบคมุ 303 305 0.80
2.96 8.9489*
2.36

2 ทดลอง 43 70 1.80 3.88 2.3038*
ควบคมุ 54 61 0.47 1.12

3 ทดลอง 38 53 1.00 1.43 1.5735*
ควบคุม 34 41 0.33 1.29

ผลรวมทงั้ 3 ชดุ ทดลอง 403 540 9.13 6.38 8.8380*
ควบคุม 391 407 1.60 4.51

* มนี ัยสาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 t .05, 28 = 2.048

จากตารางท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ปรากฏว่า นักเรียนในกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมมี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนซ่อมเสริมคณิตศาสตร์ เร่ือง เวลา แตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี
ระดับ .05 ในชุดท่ี 1 ชุดท่ี 2 และผลรวมท้ัง 3 ชุด ส่วนชุดที่ 3 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แตกต่างกันอยา่ งไม่มีนยั สาคัญทางสถติ ิท่ีระดับ .05

~ 116 ~

ตาราง 5 ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสะกดคายากภาษาไทยของนักเรียน
กลุ่มทดลองทง้ั สองกลุ่ม

กลุ่มตัวอยา่ ง n X S2 t
กลุ่มทดลองท่ี 1 30 11.1 11.40
7.61 7.19**
กลุม่ ทดลองที่ 2 30 5.2 t .01 , 58 = 2.660

** มนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .01

จากตาราง 5 แสดงว่านักเรียนท่ีเรียนการเขียนสะกดคายากภาษาไทยโดยใช้เกมและ
แบบฝึก มคี วามสามารถในการเขยี นสะกดคายากภาษาไทยแตกต่างกันอยา่ งมสี าคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .
01 โดยนักเรียนที่เรียนการเขียนสะกดคายากภาษาไทย โดยใช้เกมมีความสามารถในการเขียน
สะกดคายาก ภาษาไทยสูงกว่านักเรยี นทเ่ี รยี นการเขยี นสะกดคายากภาษาไทยโดยใช้แบบฝกึ

~ 117 ~

ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยอาจนาเสนอข้อมูลในรูปของกราฟ และแปลผลการ
วเิ คราะห์จากกราฟด้วยก็ได้ ซ่ึงนิยมใช้กันมากกรณีข้อมูลที่มีการเปล่ียนแปลงตามเวลาท่ีข้อมูลนั้น
เกิดข้ึน เช่น การเสนอผลการทดสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มทดลอง และกลุ่ ม
ควบคุมในการทดสอบ 4 คร้งั

คะแนนเฉลี่ย (30) กลุม่ ทดลอง
30

20 (20) (22) 22 กลมุ่ ควบคมุ
(15)
15
10 10 10

___________________________________________________ครงั้ ท่ี
1234

จากกราฟ แสดงใหเ้ ห็นวา่ กลมุ่ ทดลองมคี ะแนนเฉล่ยี วิชาคณิตศาสตรส์ งู กวา่ กล่มุ ควบคมุ
ทุกครั้งที่สอบ โดยในการสอบครั้งท่ี 3 มีคะแนนเฉล่ียต่างกันมากท่ีสุด และในการสอบครั้งท่ี 1
และคร้งั ท่ี 2 มีคะแนนเฉลย่ี ต่างกันนอ้ ยทส่ี ดุ

~ 118 ~

บทท่ี 6
การเขยี นโครงร่างการวิจัย และรายงานการวิจยั

โครงรา่ งการวิจัย
โครงร่างการวิจัย (Research proposal) เป็นแบบแผนการดาเนินงานที่วางไว้อย่างมี

ระบบและเขียนเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร เพ่ือใชเ้ ปน็ แนวทางในการวจิ ัยใหบ้ รรลเุ ปูาหมายที่วางไว้ โดย
จะทาใหผ้ วู้ ิจัยทราบวา่ จะตอ้ งทาอะไรบา้ งในแต่ละขั้นตอน และทราบวา่ ขัน้ ตอนใดควรทาก่อนหรือ
หลงั
ส่วนประกอบของโครงรา่ งการวิจัย

1. ช่อื เรอ่ื ง หรือหัวข้อปญั หาวิจยั
2. ภมู ิหลงั หรอื ความเป็นมาของปัญหา
3. ความม่งุ หมายของการวิจยั
4. ความสาคัญของการวิจัย
5. ขอบเขตของการวิจัย
6. คานยิ ามศัพท์เฉพาะ
7. การศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
8. สมมตฐิ านการวิจยั
9. วธิ ดี าเนินการวิจัย

- ประชากร และกลมุ่ ตัวอยา่ ง
- เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจัย
- การเก็บรวบรวมข้อมลู
- การวเิ คราะห์ข้อมูล
10. งบประมาณคา่ ใช้จ่าย
11. ระยะเวลาในการดาเนนิ การวิจัย
12. บรรณานกุ รม

~ 119 ~

หลักการเขยี นโครงร่างการวจิ ัย
1. ชื่อเร่ือง จะตอ้ งเขียนโดยใชภ้ าษาทีเ่ ข้าใจง่าย ชัดเจน ไม่ใช้ภาษาพูด ในแต่ละชื่อเร่ือง

จะต้องระบใุ ห้ทราบวา่ จะศกึ ษาอะไร กบั ใคร และศกึ ษาในแงม่ ุมใด
2. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา หรือภูมิหลัง เป็นการเขียนให้ทราบว่า

ปญั หานม้ี ีทมี่ าอย่างไร มีสภาพการณอ์ ย่างไร มคี วามสาคญั อย่างไร มีมูลเหตุใดผู้วิจัยจึงทาวิจัยหัวข้อ
นัน้ ๆ ควรมกี ารอ้างองิ ทฤษฎี หลกั การ และข้อเท็จจริงพ้นื ฐานเพ่อื สนับสนนุ ใหป้ ัญหามีนา้ หนักขึ้น

3. วัตถุประสงค์การวิจัย การเขียนในส่วนน้ีถือเป็นหัวใจสาคัญของการทาวิจัย ซึ่งเป็น
การแสดงให้ทราบถึงเปูาหมายของผู้วิจัยว่าต้องการศึกษาอะไร กับใคร ในแง่มุมใด ลักษณะของ
การเขยี นวัตถปุ ระสงค์การวิจัยเป็นการเขียนที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าจากช่ือเร่ืองการวิจัยท่ีกาหนดไว้
ผูว้ จิ ัยสนใจที่จะศึกษาในประเด็นใดบ้าง จากจุดมุ่งหมายการวิจัยทาให้ผู้วิจัยสามารถทราบตัวแปรท่ี
ตอ้ งการศกึ ษาตลอดจนรปู แบบการวิจยั ดว้ ย

4. ความสาคัญของการวิจัย เป็นการเขียนเพ่ือแสดงให้ทราบว่าหัวข้อวิจัยนั้นมีคุณค่า
ประโยชน์ หรือมีความสาคญั อยา่ งไร การพิจารณาคุณค่า พิจารณาได้ 2 ลักษณะ คือมีคุณค่า
ในด้านการเพ่ิมพูนความรู้ในสาขาวิชาน้ัน ๆ อีกลักษณะหนึ่ง คือมีคุณค่าท่ีจะนาผลการวิจัยไปใช้
ประโยชน์ในการแกไ้ ขปญั หา หรอื ปรบั ปรงุ งาน ให้มีประสิทธิภาพยง่ิ ขนึ้

5. ขอบเขตของการวิจัย เป็นการระบุให้ทราบว่าหัวข้อปัญหาท่ีวิจัยมีขอบข่ายของ
การศึกษากว้างมากน้อยเพยี งใดเนอื่ งจากผู้วจิ ยั ไมส่ ามารถทาการศกึ ษาได้ครบทุกแง่ทุกมุมของปัญหา
และศึกษาให้ครอบคลุมกับประชากรที่ต้องการศึกษา จึงต้องกาหนดขอบเขตให้แน่นอนเกี่ยวกับ
ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง ตวั แปรทีศ่ ึกษา รวมทง้ั สภาพการณบ์ างอย่างทค่ี วรจากดั ขอบขา่ ยไว้

6. คานิยามศัพท์เฉพาะ เป็นการให้ความหมายของ คา กลุ่มคา หรือตัวแปรที่ศึกษา
ให้เป็นท่ีกระจ่างชัดเจน เพ่ือให้ผู้อ่านมีความเข้าใจตรงกันกับผู้วิจัยว่าคาเหล่านั้นหมายถึงอะไร
โดยเฉพาะการนิยามศัพท์ทีเ่ ป็นตัวแปรตาม จะตอ้ งนยิ ามในลักษณะนยิ ามปฏิบัตกิ าร (Operational
-definition) เป็นการให้ความหมายของตัวแปรตามว่าหมายถึงอะไร สามารถสังเกต และวัดได้
อย่างไร

7. การศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เป็นการเขียนเกี่ยวกับทฤษฎี หลักการ
ข้อเทจ็ จรงิ แนวคิดของผู้รู้ ผเู้ ช่ียวชาญ ตลอดจนงานวิจัยต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องสัมพันธ์กับเร่ืองท่ีจะ
วิจัย ซึ่งจะช่วยให้ผู้อ่านเกิดความรู้ความเข้าใจในเร่ืองท่ีจะวิจัยให้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังใช้เป็น
แนวทางในการต้ังสมมตฐิ านรวมทั้งการสรุป และอภปิ รายผลการวจิ ัยดว้ ย

8. สมมตฐิ านการวิจยั เป็นการคาการณ์ไว้ล่วงหน้าอย่างสมเหตุสมผลว่าผลการวิจัยน้ัน
ควรเป็นอย่างไร โดยเขียนให้อยใู่ นลกั ษณะของข้อความที่กลา่ วถงึ ความสมั พนั ธข์ องตัวแปรต้ังแต่ 2
ตัวข้ึนไป สมมติฐานอาจถูกหรือผิดก็ได้ การตั้งสมมติฐานต้องตั้งให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของ
การวจิ ัย

~ 120 ~

9. วิธีดาเนินการวิจัย เป็นการเขียนให้ทราบว่าหัวข้อวิจัยนั้นจะศึกษากับใคร ใช้
เคร่ืองมืออะไรรวบรวมข้อมูลอย่างไร และจะวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร ซ่ึงประกอบด้วยหัวข้อย่อย
ดงั นี้

9.1 ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง จะต้องระบุให้ชัดเจนว่า ประชากร คืออะไร
ได้มาจากแหลง่ ใด กล่มุ ตัวอยา่ งคอื อะไร จานวนเทา่ ใด ใช้วธิ ีการสมุ่ วธิ ีใด

9.2 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย จะต้องระบุช่ือเคร่ืองมือวิจัยท่ีจะใช้ในการเก็บรวบรวม
ขอ้ มูลชแ้ี จงลักษณะเครอ่ื งมือว่าเป็นอย่างไร ให้คะแนนอย่างไร สร้างเองหรือปรับปรุงจากของผู้อื่น
มวี ธิ กี ารสร้างและตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมอื วจิ ัยอย่างไร

9.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล เขยี นใหช้ ดั เจนว่าจะเก็บรวบรวมขอ้ มูลด้วยตนเอง หรือมี
ผูร้ ว่ มงาน หรอื จะเก็บรวบรวมขอ้ มลู ทางไปรษณีย์

9.4 การวิเคราะห์ข้อมูล ระบุวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล รวมท้ังสถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล

10. งบประมาณค่าใช้จ่าย ช้ีแจงรายละเอียดค่าใช้จ่ายต่าง ๆ และรวมทั้งหมดเป็น
จานวนเงนิ เทา่ ใด

11. ระยะเวลาในการดาเนินการวิจัย เป็นการกาหนดระยะเวลาในการดาเนินงานโดย
เขยี นใหช้ ัดเจนว่าขั้นตอนใด ทาเมอ่ื ใดถึงเมอ่ื ใด

12. บรรณานุกรม ผู้วิจัยจะต้องอ้างอิงหนังสือ ตารา งานวิจัยต่าง ๆ ที่ได้ไปศึกษามา
ซ่ึงอาจมีผู้อ่ืนสนใจที่จะไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม การเขียนบรรณานุกรมจะต้องเขียนให้ถูกต้องตาม
หลักการเขียนบรรณานกุ รมดว้ ย
การเขยี นรายงานการวจิ ยั

การเขียนรายงานการวจิ ัยเปน็ ข้นั ตอนสุดท้ายที่จะแสดงหรือเผยแพร่ความรู้และข้อค้นพบที่
ได้ไปสู่ผู้อื่นด้วย ความรู้หรือข้อค้นพบเหล่านี้จึงมีประโยชน์ ดังน้ันการเขียนรายงานการวิจัยจึง
นบั ว่ามีความสาคัญและมปี ระโยชน์อยา่ งมากทงั้ ต่อตัวผู้วจิ ยั เองและผ้อู ่ืน ประโยชน์ที่เห็นเด่นชัดมีอยู่
2 ประการ คือ

1. เป็นการบันทึกผลงานไว้เป็นหลักฐาน เพ่ือใช้เป็นสิ่งอ้างอิงในการศึกษาปัญหาที่
เกย่ี วขอ้ งต่อไป

2. เป็นการส่ือสารให้ผู้อื่นได้ทราบแนวความคิดของผู้วิจัยในการศึกษาปัญหานั้น ๆ
ตลอดจนทราบรายละเอยี ดวิธีการศกึ ษาทุกขั้นตอนและข้อค้นพบท่ีได้อันอาจจะเกิดประโยชน์ต่อผู้อ่ืน
ในกรณีต่าง ๆ เชน่ นาผลการวจิ ยั ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการแกไ้ ขปัญหา

~ 121 ~

รปู แบบของรายงานการวิจัย
โดยทว่ั ไปรปู แบบของการเขียนรายงานการวจิ ัยจะประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 3 ส่วน คือ
1. ส่วนหนา้ (Preliminary section of front matter)
2. ส่วนเนอื้ เรื่อง (The body of the report or test)
3. สว่ นทเี่ ป็นเอกสารอ้างองิ (Reference section)

ลักษณะการเขยี นรายงานการวจิ ัยในสว่ นต่าง ๆ สามารถอธบิ ายรายละเอยี ดไดด้ งั นี้
1. ส่วนหนา้ ประกอบด้วย
หนา้ ชือ่ เรอื่ ง คือ หน้ากระดาษที่จัดไว้เป็นหน้าแรก ถัดจากปกกนอกหรือเรียกว่า

หน้าปกใน จะมีข้อความเกี่ยวกับชื่อเรื่องวิจัย ช่ือผู้วิจัย ชื่อหน่วยงาน และวันเดือนปีท่ีเสนอ
ผลงานวจิ ัย

หน้าประกาศคุณูประการ เป็นการเขียนกล่าวแสดงความขอบคุณผู้ท่ีให้ความ
ช่วยเหลือ ทาให้รายงานวิจัยน้ันสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี หรืออาจเขียนประกาศคุณูประการรวมไว้
กบั คานาก็ได้

หน้าสารบัญ แสดงบญั ชีบทต่าง ๆ ของรายงานการวิจัย ช่วยทาให้ผู้อ่านได้เห็น
โครงสรา้ งของรายงานการวิจัยท้งั หมด และสะดวกในการคน้ หาอา่ นตามหวั ขอ้ ทีต่ อ้ งการ

หน้าบัญชีตาราง แสดงชื่อของตารางทุกตารางตามลาดับตามท่ีปรากฎอยู่ใน
รายงานการวิจยั และระบหุ น้าทีม่ ตี ารางปรากฎอยู่

หน้าบัญชีภาพประกอบ (ถ้ามี) แสดงช่ือภาพประกอบ เช่น กราฟ แผนภูมิ
ภาพเขยี น ภาพถา่ ย ฯลฯ และระบหุ น้าทภี่ าพประกอบปรากฏอยู่

2. ส่วนเน้ือเร่ือง ประกอบด้วย 5 ส่วนย่อย เป็นส่วนที่สาคัญที่สุด ของรายงานการ
วิจัย เพราะเป็นส่วนท่ีแสดงสาระสาคัญของการวิจัย ในกรณีท่ีเป็นการเขียนรายงานการวิจัยที่
สมบรู ณ์มกั เสนอเป็น บท ๆ อาจมี 4 หรือ 5 บท กไ็ ด้ ดงั นี้

บทท่ี 1 บทนา ประกอบดว้ ยสว่ นยอ่ ย ๆ ได้แก่
ภูมิหลังหรือความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา เป็นการเขียนถึงความ

เป็นมาของปญั หา ความสาคญั ของปญั หา ตลอดจนมูลเหตุหรือแรงจูงใจที่ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาวิจัย
ในเรือ่ งน้นั ๆ ท้งั นี้การเขียนในหัวข้อนเี้ พือ่ ใหผ้ ูอ้ ่านเกดิ ความเขา้ ใจและสนใจต่อปัญหาที่ศึกษา

วัตถุประสงค์การวิจัย เป็นการเขียนถึงจุดมุ่งหมายของสิ่งท่ีต้องการศึกษาให้
เฉพาะเจาะจงลงไปว่าผู้วิจัยได้ศึกษาในประเด็นใดบ้าง เพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจอย่างชัดเจนในแต่ละ
ประเด็นนั้นวา่ ศึกษาอะไร ศึกษากับใคร และศกึ ษาแบบใด

สมมติฐานการวิจัย เป็นการคาดคะเนคาตอบต่อปัญหาวิจัยไว้ล่วงหน้าอย่างมี
เหตผุ ล เพ่ือเปน็ แนวทางในการศกึ ษา ซึ่งการเขียนสมมตฐิ านจะตอ้ งเขยี นให้สอดคล้องกบั จดุ มุ่งหมาย
การวิจัย บางครั้งสมมติฐานอาจเขียนไว้ส่วนหลังของเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องก็ได้ เพราะการ

~ 122 ~

ตัง้ สมมติฐานต้องอาศัยทฤษฎีและผลการวิจยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งเปน็ แนวทางในการตง้ั
ความสาคัญของการวิจัยหรือประโยชน์ของการวิจัย เป็นการเขียนถึงผลของ

การวิจยั วา่ จะมคี ณุ คา่ หรือเกิดประโยชน์อยา่ งไร ทาใหท้ ราบอะไรบา้ ง จะนาไปใช้แก้ปัญหา หรือ
ปรบั ปรงุ อะไรได้บา้ ง

ขอบเขตของการวิจัย เป็นการล้อมกรอบหรือกาหนดวงจากัดของการวิจัยให้
แน่นอนว่าตวั ปัญหานนั้ มขี อบข่ายในการศึกษาเพียงใด ซึ่งในหัวข้อนี้จะระบุเก่ียวกับกลุ่มเปูาหมายท่ี
ศึกษา ตัวแปรทศ่ี ึกษา รวมท้งั สภาพการณบ์ างอย่างทีต่ ้องกาหนดไว้

ข้อตกลงเบื้องต้น เป็นการกาหนดเงื่อนไขหรือข้อความจริงบางอย่างเกี่ยวกับ
การวิจยั นั้นให้เกิดความเข้าใจตรงกันระหว่างผู้อ่านกับผู้เขียนรายงาน เพ่ือว่าเม่ืออ่านผลการวิจัยจะ
ไดย้ อมรบั ภายใตข้ ้อตกลงนน้ั ๆ

นิยามศัพท์เฉพาะ เป็นการให้คาจากัดความ คา กลุ่มคา หรือ ตัวแปรที่ศึกษา
ให้เป็นที่เขา้ ใจตรงกันว่า หมายถงึ อะไร และสามารถวัดได้อย่างไรในการวิจยั เรื่องน้ัน ๆ

บทที่ 2 เอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง
การนาเสนอเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องจะทาให้ผู้อ่านได้ทราบว่าเรื่องท่ีวิจัยน้ัน

มีทฤษฎีหรือหลักการใดบ้างที่เก่ียวข้องกับปัญหานั้น ๆ ละมีผู้ใดบ้างที่ทาการวิจัยในเร่ืองทานอง
เดยี วกนั ทง้ั ภายในและต่างประเทศ ในงานวจิ ยั บางเลม่ นาบทที่ 2 ไปรวมไวก้ บั บทที่ 1 กจ็ ะทาให้
รายงานนน้ั มี 4 บท

บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย ในบทนี้เป็นการเขียนอธิบายให้ทราบว่า หัวข้อปัญหา
นัน้ ศกึ ษากับใคร ใช้เคร่ืองมืออะไร รวบรวม ข้อมูลอย่างไร และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการอย่างไร
โดยมีหวั ข้อ ดงั นี้

ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงจะกล่าวถึงวิธีการสุ่มตัวอย่าง และขนาดของกลุ่ม
ตัวอยา่ ง เปน็ การเขียนอธิบายถึงลกั ษณะของประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ งวา่ คือใคร ได้มาจากแหล่งใด
มีขนาดเท่าใด และใช้วิธีการสุ่มอย่างไร โดยจะต้องเขียนให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้อ่านคาดคะเน
ไดว้ ่ากลมุ่ ตวั อย่างเปน็ ตวั แทนของประชากรไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ระบุให้ทราบว่าใช้เครื่องมืออะไรบ้าง มีลักษณะ
อย่างไร ใหค้ ะแนนอย่างไร รวมทั้งรายงานคุณภาพของเครือ่ งมอื ว่าเปน็ อยา่ งไร

การเก็บรวบรวมข้อมูล เปน็ การอธิบายใหท้ ราบวา่ ผู้วิจัยเก็บข้อมลู อยา่ งไร เก็บ
ด้วยตนเองหรอื อาศยั ผอู้ ่นื ชว่ ยเกบ็ หรอื ส่งทางไปรษณีย์

การวิเคราะหข์ ้อมูล อธิบายให้ทราบว่าผู้วิจัยได้จัดกระทากับข้อมูลอย่างไร และ
ใช้สถิตใิ ดบ้างในการวิเคราะห์ขอ้ มลู โดยระบสุ ูตรสถิตทิ ี่ใชว้ ิเคราะห์ข้อมลู ใหช้ ดั เจน

~ 123 ~

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
บทน้นี ับว่าเป็นหัวใจสาคญั ของรายงานการวิจยั เพราะเป็นการเสนอข้อที่ค้นพบ

ได้ รายงานในส่วนนี้เป็นการนาผลการวิเคราะห์มาเขียนรายงานเป็นลาดับ ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับ
ลาดบั ของจุดมุง่ หมายการวิจยั การนาเสนอในบทนอี้ าจนาเสนอเป็นตาราง แผนภูมิ หรือกราฟก็ได้
ขึน้ อยู่กับความเหมาะสม นอกจากน้ยี ังต้องแปลความหมายของตาราง แผนภูมิ หรือกราฟด้วย
ทุกคร้ัง เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของผลการวิเคราะห์ท่ีนาเสนอและในการแปลความหมาย
จะต้องแปลตามข้อมูลจากผลการวิเคราะห์อย่างตรงไปตรงมา จะไม่นาความคิดเห็นของผู้วิจัยมา
ประกอบในการแปลความหมาย

บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ในบทนเ้ี ปน็ บทสดุ ท้ายโดยกล่าวสรุปถึง
งานวจิ ยั อยา่ งยน่ ย่อแตไ่ ด้สาระสาคัญ ดงั น้ี

สรุปสาระสาคัญของบทที่ 1 และบทท่ี 3 ได้แก่วัตถุประสงค์ของการวิจัย
สมมติฐาน ความสาคัญของการศกึ ษาค้นคว้า และวธิ ดี าเนินการวจิ ยั

สรปุ ผลการวิจัย โดยนาผลการวิเคราะห์ในบทท่ี 4 มาสรุปเป็นข้อโดยเน้นการ
ตอบคาถามตอ่ จดุ ม่งุ หมายการวจิ ยั ท่ีตัง้ ไวอ้ ยา่ งครบถว้ น

อภิปรายผล เป็นการวิพากษ์วิจารณ์ผลการวิจัยที่ได้ว่าสอดคล้องหรือขัดแย้งกับ
สมมติฐานที่ต้งั ไว้ และสอดคล้องหรอื ขดั แยง้ กบั ทฤษฎหี รือผลการวจิ ัยของผู้อ่ืนอย่างไรบ้างนอกจากนี้
ผ้วู จิ ยั อาจเสนอความคดิ เห็น หรือข้อสงั เกตบางประการท่เี ก่ยี วขอ้ งเนื่องกับผลการวิจัยไว้ด้วย ท้ังนี้
เพ่อื ช่วยให้ผ้อู า่ นเกิดความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับปญั หานั้น ๆ อย่างลกึ ซง้ึ

ข้อเสนอแนะ เป็นการเสนอแนะเกี่ยวกับการนาผลการวิจัยไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในลักษณะตา่ ง ๆ และเสนอแนะเพอื่ การทาวจิ ยั คร้ังตอ่ ไป

2. สว่ นทเ่ี ปน็ เอกสารอ้างองิ ประกอบด้วย
บรรณานกุ รม เป็นท่ีรวบรวมหลักฐานของเอกสารท่ีผู้วิจัยอ้างอิงและได้ไปศึกษาค้นคว้า
มาทัง้ หมด
ภาคผนวก เป็นส่วนที่รวบรวมรายละเอียดของสิ่งต่าง ๆ เช่น เครื่องมือวัด คะแนน
กล่มุ ตวั อย่าง ภาพประกอบ
บทคัดย่อ กล่าวถึงงานวิจัยในลักษณะย่นย่อ เสนอแต่สาระสาคัญ เขียนอย่าง
กะทัดรดั แต่ได้ใจความครอบคลุมสาระสาคัญ ได้แก่ วัตถุประสงค์การวิจัย กลุ่มตัวอย่าง และ
วิธีการสุม่ เครอ่ื งมือทใี่ ช้ สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู และผลการวจิ ยั ที่ได้

~ 124 ~

บทที่ 7
การประเมินผลการวิจยั

การประเมินผลการวิจัย
การประเมินผลการวิจัย (Research Evaluation) ก็คือการนาเอาเกณฑ์ต่าง ๆ มา

ประเมินวา่ การวจิ ยั ทด่ี าเนินไปนน้ั ถกู ตอ้ งตามวธิ กี ารวิจัยเพยี งใด ทั้งน้ี เพื่อประโยชน์ในการเลือกผล
วิจยั ท่ดี ีไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ เนอื้ หา และวิธีดาเนินการ ตลอดจนการแกป้ ัญหาต่าง ๆ ผลการวิจัยทด่ี ี
เทา่ น้นั ทจ่ี ะมีคุณคา่ ในการนาไปใช้ ถ้าผลการวิจัยบกพร่องหรือไม่ได้ผลตามสภาพที่แท้จริงแล้ว การ
นาไปใช้จะไมใ่ หป้ ระโยชน์เทา่ ทค่ี วร

การประเมินผลการวิจัยจะต้องพิจารณาประเมินผลในทุกขั้นตอนของการวิจัย ซึ่งจะต้อง
ประเมนิ ผลในด้านต่าง ๆ ดังน้ี

1. หวั ขอ้ เรือ่ ง สิง่ ทต่ี อ้ งประเมนิ คือ
1.1 ความกะทดั รดั ของหวั ขอ้ เรือ่ ง ไมก่ วา้ ง ไม่แคบจนเกินไปหรือไม่
1.2 มคี วามชดั เจน สามารถสอ่ื ความหมายไดต้ รงประเดน็ ท่ีตอ้ งการวจิ ัยหรอื ไม่
1.3 สามารถออกแบบวจิ ยั ในเชิงปฏบิ ตั ิ ได้หรอื ไม่
1.4 มีประโยชน์ต่อหน่วยงาน หรือชุมชน หรือวิทยาการแขนงใดแขนงหนึ่ง

เพียงใด
1.6 ซา้ ซอ้ นกับงานวจิ ัยของผู้อื่นหรือไม่

2. ปญั หาทีน่ ามาทาการวจิ ัย สิ่งที่ตอ้ งประเมนิ คอื
2.1 ปัญหาของการวิจัยได้กาหนดขึ้นหลังจากกาหนดวัตถุประสงค์ และก่อนการ

เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู หรือไม่
2.2 ความชดั เจนในการกาหนดปัญหา มีมากนอ้ ยเพยี งใด
2.3 ปญั หาประกอบด้วยตัวแปรท่ีมคี วามสมั พันธ์กันอย่างน้อย 2 ตวั หรอื ไม่
2.4 ปญั หาที่นามาทาการวิจัยมีขอบเขตทแี่ น่นอนเพียงใด
2.5 ปญั หาท่ีกาหนดสร้างข้นึ โดยอาศัยวรรณกรรม และผลวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอ้ งหรอื ไม่

3. รายงานการวิจยั ที่เกยี่ วขอ้ ง จะต้องประเมินสง่ิ ต่อไปน้ี
3.1 รายงานการวจิ ัยที่นามาศึกษาเกี่ยวข้องกบั ตวั แปรโดยทัว่ ถงึ หรือไม่
3.2 การพิจารณารายงานการวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ได้พิจารณาถึงวิธีการวิจัย การสุ่ม

ตวั อย่าง การต้ังสมมตฐิ าน การวิเคราะหข์ ้อมูล และการสรปุ ผล เพยี งใด

~ 125 ~

3.3 การเขียนบทสรุปย่อ และการบันทึกสิ่งสาคัญของการค้นพบละเอียด และ
ถกู ตอ้ งเพียงใด

3.4 การจดั ลาดับรายงานท่ีจะศกึ ษาเหมาะสม เพยี งใด
4. สมมตฐิ านของการวิจัย ประเมินจากสงิ่ เหลา่ น้ี

4.1 สมมติฐานสอดคล้องกับทฤษฎขี ้อเท็จจรงิ และวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั เพยี งใด
4.2 สมมติฐานจะสามารถทดสอบไดเ้ พยี งใด
4.3 สมมติฐานที่สร้างขึน้ มคี วามชดั เจนและสมเหตสุ มผล เพียงใด
4.4 ประกอบด้วยตวั แปรอย่างนอ้ ย 2 ตวั และแสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างตัวแปร
อย่างชดั เจนหรือไม่
5. การวางแผนการวิจยั ควรประเมินผลในสิง่ ต่อไปน้ี
5.1 แผนการวิจัยท่กี าหนดไว้สามารถนาไปสคู่ าตอบของปัญหาได้เพียงใด
5.2 แผนการวิจยั นน้ั สามารถสรปุ ผลไปสูก่ ลมุ่ ประชากรไดเ้ พียงใด
5.3 แผนการวิจัยน้ันสามารถควบคุมการแปรสภาพและความคลาดเคล่ือนได้มาก
น้อยเพยี งใด
5.4 แผนการวิจัยนั้นได้กาหนดไว้ชัดเจนในวิธีดาเนินการขั้นต่าง ๆ เช่น การสุ่ม
ตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดกระทาข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนการแปล
ความหมายของขอ้ มูล เพียงใด
5.5 ได้มีการวางแผนในด้านแรงงาน งบประมาณ และเวลาดาเนินการไว้อย่าง
เหมาะสม เพยี งใด
6. การสมุ่ ตวั อย่างและเกบ็ รวบรวมข้อมูล ควรประเมินผลในส่ิงต่อไปน้ี
6.1 การกาหนดขอบเขตของกลมุ่ ประชากร และกลุม่ ตวั อย่างชดั เจนเพยี งใด
6.2 ใชเ้ ทคนิคในการสมุ่ ตัวอยา่ งทถี่ กู ตอ้ ง และเหมาะสมเพียงใด
6.3 กลมุ่ ตัวอยา่ งท่นี ามาใช้ในการวจิ ยั มคี วามเหมาะสมกบั เร่ืองท่ีวิจยั เพียงใด
6.4 ขนาดของกล่มุ ตวั อยา่ งใหญ่พอท่ีจะสรุปผลการวจิ ยั ไปส่กู ล่มุ ประชากรได้หรอื ไม่
6.5 ขอ้ มูลที่เก็บรวบรวมมาไดม้ คี วามถูกตอ้ งสมบรู ณ์ ตามท่ตี อ้ งการเพยี งใด
6.6 เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เหมาะสม และมคี ุณภาพดเี พียงใด
7. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสรุปผลการวเิ คราะห์ ควรประเมนิ ในสงิ่ ตอ่ ไปน้ี
7.1 ความเหมาะสมของสถติ ทิ น่ี ามาใช้วิเคราะห์ข้อมลู มีมากน้อยเพียงใด
7.2 การใชต้ ารางและแผนภูมิในการนาเสนอข้อมลู เหมาะสมเพียงใด
7.3 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลมีความเปน็ ปรนยั และสมเหตสุ มผลเพยี งใด
7.4 ไดท้ าการวิเคราะหข์ ้อมลู เพือ่ ทดสอบสมมติฐานอยา่ งครบถ้วน หรอื ไม่
7.5 การสรุปผลการวิเคราะหถ์ กู ตอ้ ง และมีคุณภาพดี เพยี งใด

~ 126 ~

8. การย่อและสรปุ ผลการวจิ ยั ควรประเมินในส่งิ ต่อไปนี้
8.1 การยอ่ และสรปุ ผลการวจิ ัย ชดั เจนและชเ้ี ฉพาะ เพยี งใด
8.2 การสรุปผลเปน็ ไปตามผลท่วี เิ คราะหไ์ ดห้ รอื ไม่
8.3 ผลสรปุ ท่ีได้เป็นการตอบคาถามของปญั หาท่ตี อ้ งการวจิ ยั เพยี งใด
8.4 ความเช่อื ถอื ไดใ้ นการสรปุ ผลการวิจยั มมี ากนอ้ ย เพียงใด

9. การรายงานผลการวจิ ัย ควรประเมนิ จากสง่ิ ต่อไปนี้
9.1 ชื่อเร่อื ง ควรพิจารณาในส่งิ ต่อไปน้ี
9.1.1 ภาษาทใี่ ช้ชดั เจนเพียงใด
9.1.2 เปน็ ขอ้ ความทเี่ รียงร้องความสนใจเพยี งใด
9.1.3 ครอบคลมุ ขอบขา่ ยของปญั หาท่ีตอ้ งการวจิ ยั เพียงใด
9.2 ส่วนประกอบตอนต้น ซ่ึงประกอบด้วย ปกนอก ปกใน สารบัญ บัญชี

ตาราง และบัญชภี าพ ไดก้ าหนดไว้อย่างชัดเจน และสอดคลอ้ งกับเนือ้ หาเพยี งใด
9.3 เน้ือเรอ่ื ง เนือ้ เรือ่ งที่กล่าวไว้ในรายงานผลการวจิ ยั ควรพิจารณา ดงั นี้
9.3.1 มีเน้ือหาครบถว้ นตามรูปแบบการรายงานผลการวจิ ัยท่เี ปน็ สากลหรือไม่
9.3.2 ภาษาท่ใี ช้ในรายงานผลการวิจยั เหมาะสมและน่าอา่ นเพียงใด ง่ายเกินไป

ยากเกินไป หรอื ใชภ้ าษาท่ไี มเ่ หมาะสมหรือไม่
9.3.3 มกี ารอา้ งอิงถกู ตอ้ งเพียงใด
9.3.4 เนอื้ หามบี รรยากาศทางวิชาการเพียงใด
9.3.5 การรายงานผลการวิจัยเป็นไปตามข้อเท็จจริง ตามหลักวิชาการ โดย

ปราศจากอคตเิ พยี งใด
9.4 เชงิ อรรถ และบรรณานุกรม เขยี นได้ถูกต้องตามเกณฑ์การเขียนเชิงอรรถ และ

บรรณานุกรม เพยี งใด
9.5 ภาคผนวก ควรพจิ ารณาดังนี้
9.5.1 มีข้อความที่เขยี นในภาคผนวกเป็นข้อความท่ีจาเป็นเพียงใด
9.5.2 มีขอ้ ความใดบา้ งทค่ี วรระบุไวใ้ นภาคผนวก แตผ่ วู้ ิจยั ละเลย
9.6 รูปเล่มรายงานผลการวิจัย ซ่ึงเป็นสิ่งดึงดูดความสนใจผู้อ่าน ควรพิจารณา

ดงั นี้
9.6.1 มสี ่วนตา่ ง ๆ ทจ่ี าเป็นในการรายงานผลการวิจยั อย่างครบถ้วนหรือไม่
9.6.2 พิมพ์ได้ชัดเจน ถูกต้องท้ังข้อความ ตัวสะกด การันต์ ตามแบบฟอร์ม

หรอื ไม่
9.6.3 การวางข้อความสมา่ เสมอนา่ อา่ นเพยี งใด

~ 127 ~

การประเมินค่าผลการวิจยั ดังไดก้ ลา่ วมาแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการประเมินผลตัวผู้วิจัย หรือ
ประเมินผลงานวิจัยก็ตามผู้ประเมินอาจถือเกณฑ์ต่าง ๆ ดังกล่าวแล้ว เป็นเกณฑ์ในการประเมินผล
และวิธีการประเมนิ นอ้ ยอาจทาได้โดยใชแ้ บบสารวจตดั สินวา่ ผลงานวจิ ยั ฉบับใดมคี ณุ สมบัตดิ งั กลา่ ว
แล้วในข้อใดบ้าง หรืออาจประเมินโดยใช้มาตรประมาณค่า สาหรับประเมินคุณลักษณะต่าง ๆ
ดังกล่าวแลว้ กไ็ ด้

ตัวอย่าง แบบประเมินผลการวิจัย
คาช้แี จง ใหผ้ ้ปู ระเมินผลงานวิจัยใส่เคร่อื งหมาย ( ลงในช่องคุณภาพของงานวิจัยในแต่ละรายการ
ตามสภาพความเปน็ จรงิ

ประเดน็ ที่ควรพจิ ารณา ดีทส่ี ดุ ดี ปานกลาง ไม่ดี ไม่ดีท่ีสดุ
1. ความชดั เจนของปัญหา
2. ความชัดเจนของสมมตฐิ าน
3. ความสาคญั ของปัญหา
4. ความชัดเจนของขอ้ ตกลงเบ้อื งต้น
5. ขอ้ จากดั ของการศึกษาวิจยั
6. นยิ ามศพั ทท์ ส่ี าคัญ
7. ความสมั พันธ์ระหวา่ งปญั หากบั
ผลการวจิ ัยก่อน ๆ
8. ความชดั เจนของจุดม่งุ หมายของการวิจยั
9. รูปแบบของการวิจัยสอดคลอ้ งกบั เรอื่ งทที่ า
การวจิ ัย
10. รปู แบบของการวิจยั ปราศจากจุดอ่อน
11. การอธบิ ายกลุม่ ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
12. ความเหมาะสมของวิธีสุ่มตัวอยา่ ง
13. ใช้วิธเี กบ็ และรวบรวมขอ้ มูลท่ีถูกต้อง
14. ความสอดคลอ้ งระหว่างวิธีเกบ็ รวบรวม
ข้อมูลกับวิธีแกป้ ัญหา

~ 128 ~

ประเด็นทค่ี วรพจิ ารณา ดที ี่สดุ ดี ปานกลาง ไมด่ ี ไมด่ ที สี่ ดุ
15. ใหร้ ายละเอียดของการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
16. การทดสอบความเทย่ี งตรงและความเชอื่ ถอื
ไดข้ องเคร่อื งมือ
17. วธิ วี ิเคราะห์ขอ้ มลู ใชว้ ิธกี ารท่เี หมาะสมแล้ว
18. การดาเนินการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เป็นไป
อย่างถูกตอ้ ง
19. ผลการวเิ คราะหไ์ ดน้ าออกเสนอ
อยา่ งแจ่มชดั
20. การสรปุ ผลเป็นไปอย่างชดั เจน
21. การสรุปผลอาศยั หลกั ฐานจากการ
วเิ คราะหท์ ีเ่ พียงพอ
22. การอ้างองิ จากผลทไ่ี ดร้ ับจากกล่มุ ตวั อยา่ ง
สู่มวลประชากรเปน็ ไปอยา่ งถูกต้อง
23. รายงานผลการวิจยั เขียนไว้อยา่ งละเอียด
ชัดเจน
24. รายงานผลการวิจัยเรียบเรียงได้อย่าง
ต่อเนอ่ื งอย่างสมเหตสุ มผล
25. รายงานการวิจัยไมม่ ีแนวโนม้ ท่ีแสดงว่า
ผเู้ ขยี นมอี คติ

แบบประเมินน้ี คัดออกมาจากแบบสารวจเพ่ือประเมินผลงานวิจัย ของ ดร. สมบูรณ์
พันธว์ ศิ วาส ในระเบยี บวธิ ีวิจยั เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร

~ 129 ~

แบบฝกึ หดั ท่ี 1
บทนา

จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
1. การวจิ ัยหมายถึงอะไร
2. วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั คืออะไร
3. การวิจัยมปี ระโยชนอ์ ย่างไร
4. ทาไมตอ้ งศกึ ษาคน้ คว้าเอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้องกบั งานวจิ ยั ที่ทา
5. สมมตฐิ านคืออะไร ให้ประโยชนอ์ ย่างไร
6. ตวั แปรมีอะไรบ้าง แตกต่างกันอย่างไร
7. ให้เขียนเคร่ืองหมาย  หน้าข้อท่ีเป็นจรรยาบรรณของนักวิจัย และเครื่องหมาย  หน้าข้อที่มิใช่

จรรยาบรรณของนกั วจิ ัย
............ 7.1. ไมจ่ าเปน็ ต้องอ้างถงึ บุคคลหรอื แหลง่ ท่มี าของขอ้ มลู และข้อคิดเห็นทีไ่ มส่ าคญั ท่ผี ู้วิจัยนามาใช้ใน
งานวจิ ัย
............ 7.2 วิษณุเสนอขอ้ มลู และแนวคดิ อยา่ งเปิดเผยและตรงไปตรงมา
............ 7.3 กนกจดั สรรสดั สว่ นของผลงานวิจยั ให้เพอื่ นมากกวา่ ตนเองเพราะเบอื่ เพือ่ นร่วมงาน
............ 7.4 อนงค์นาผลงานของผู้อ่ืนมาอ้างว่าเป็นของตนเองโดยคิดว่าคนอื่นไม่ทราบ และเป็นเรื่อง
ธรรมดาที่ใครๆ กท็ าอยา่ งนน้ั
............ 7.5 มาลยั มีความร้ปู ริญญาโท สาขาการวจิ ัยและประเมนิ ทางการศกึ ษา
............ 7.6 บญุ มาละท้ิงงานและสง่ งานวิจัยไมต่ ามกาหนด เพราะว่าตอ้ งรบั ผดิ ชอบทางานอนื่
............ 7.7 ทนงศักดมิ์ ปี ญั หาขัดแย้งกบั ผู้ใหท้ นุ วจิ ัยเพราะไมส่ ามารถปฏิบตั ิตามเงื่อนไขได้
............ 7.8 ปรีชาแอบลักลอบทดลองยาตา้ นเอดสก์ ับกลุ่มนักทอ่ งเท่ยี วราตรี โดยไมข่ ออนญุ าต
............ 7.9 สมพงษเ์ สนอผลงานวิจัย โดยไมห่ วังประโยชน์สว่ นตน
............ 7.10 สุรศักดิ์เสนอผลงานวิจัยโดยไม่รับฟังและแก้ใขงานวิจัยตามข้อแนะนาที่ดีของผู้เช่ียวชาญ
เพราะคิดวา่ คาแนะนานน้ั เป็นเรอื่ งธรรมดา
8. ใหพ้ จิ ารณาวา่ สถานการณ์ต่อไปนี้เปน็ การวจิ ยั หรือไม่

1. สมพงษห์ าของทท่ี าหายไปพบจากการไปหาหมอดู
2. เซอร์ไอแซกนวิ ตนั คน้ พบทฤษฎแี รงโน้มถ่วงจากการทแี่ อบ็ เปล้ิ ตกใส่หัว
3. ธอร์นไดค์ตั้งทฤษฎีการเรยี นร้จู ากการทดลองให้แมวหาทางออกจากกรง
4. ครไู ด้วิธีแก้ปัญหานักเรียนไมส่ นใจเรยี นจากการถามเพ่ือนครูด้วยกนั
5. ครูพบวิธีสอนท่ีเหมาะสมโดยการทดลองเปรียบเทียบผลการเรียนของนักเรียนจากวิธีสอนหลาย ๆ

วิธี
6. พระพทุ ธเจ้าทรงตรสั รู้

~ 130 ~

แบบฝกึ หัดท่ี 2
ประเภทของการวิจัย

ใหว้ เิ คราะหช์ อ่ื เรือ่ งงานวิจยั ต่อไปนี้
ก. จาแนกระหว่างการวจิ ัยเชงิ ปริมาณหรือการวจิ ัยเชิงคุณภาพ

1. การประเมินการใชห้ ลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั สงู พทุ ธศกั ราช 2540
2. การประเมินความรูแ้ ละเจตคติของครผู สู้ อนทม่ี ีต่อการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั
3. การศึกษาเจตคติทีเ่ อื้อตอ่ การแก้ปัญหาส่ิงแวดล้อมของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสังกัด
กรมสามญั ศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร
4. บริบททางวฒั นธรรมและการยอมรับการวางแผนครอบครัวของชาวเขาในเขตโครงการหลวง
5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ัน
มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ทไี่ ด้รบั การสอนแบบสืบเสาะหาความรตู้ ามแนววงจรการเรียนรู้
6. ภาวะความทนั สมัยในครอบครวั และเครือญาติ กบั วฒั นธรรม การนับถือผี ของชาวกะเหรยี่ ง
7. วฒั นธรรมไทยย้อในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
8. เอกลกั ษณ์ทางวัฒนธรรมและการเปลย่ี นแปลงทางวัฒนธรรมของชาวมอญ
ข. จาแนกระหว่างการวิจยั วิทยาศาสตร์ หรือ การวิจยั ทางสงั คมศาสตร์
1. การตรวจหาเชื้อไวรัสไข้เลือดออกในซีรั่มอย่างรวดเร็วโดย วิธี Enzyme Linked
Immunosorbent Assay (ELISA) test และวธิ ี Reverse Passive Hemagglutination (RPHA) test
2. การบังคับใช้กฎหมายและระบบอุปถัมภ์กับการพัฒนาประชาธิปไตย : ศึกษากรณีทัศนคติของ
เจ้าหน้าทีต่ ารวจในกองบงั คบั การตารวจจราจร
3. การผลิตโปรตนี 3AB ในเชื้อ E.coli สาหรบั การตรวจสอบแอนติบอดีตอ่ ไวรสั โรคปากและเทา้ เปอ่ื ย
4. การเพ่ิมคณุ ภาพของมะเขือเทศจากการใชส้ ารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
5. การศึกษาเปรียบเทียบบุคลิกภาพทางการเมืองระหว่างอาจารย์กับนักศึกษาของสถาบันราชภัฏใน
ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของประเทศไทย
6. ปัจจยั ท่ีมีความสัมพันธก์ บั พฤตกิ รรมการสูบบุหร่ขี องนักเรียนชายในระดับชนั้ มัธยมศกึ ษา สังกดั กรม
สามญั ศึกษา เขตการศึกษา 1
7. พฤติกรรมการสอนจรยิ ธรรมของครูสังกดั สานักงานการประถมศึกษาอาเภอเมอื ง จงั หวัดอดุ รธานี
8. อิทธิพลของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมตอ่ ผลผลิต และคุณภาพเมลด็ พันธ์ุของถัว่
ฝักยาวไร้ค้างพนั ธุ์

~ 131 ~

ค. จาแนกระหว่างการวิจยั เชิงสารวจหรอื การวิจยั เพ่ือทดสอบสมมตุ ิฐาน
1. การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการเรียนการสอนวิชางานเกษตรพ้ืนฐานของครู

เกษตรในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา และโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสานักงานการ
ประถมศึกษาในจงั หวัดชยั นาท

2. การศึกษาความคิดสร้างสรรค์ทางคณิคศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดกลุ่ม
โรงเรียนกรมสามญั ศกึ ษา จังหวัดชยั ภมู ิ

3. การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการทางานเชงิ เศรษฐกจิ ของผสู้ ูงอายโุ สดและไมโ่ สดในประเทศไทย
4. การศึกษาเปรียบเทียบผลที่เกิดจากการเรียนด้วยการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้น
ผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลางตามแนวคอนสตรคั ตริ ิซึม กบั เนน้ ครเู ป็นศูนยก์ ลางในการสอนวชิ าศลิ ปะกบั ชวี ิต
5. ความคิดเห็นของนักศึกษาระดับปริญญาโทภาคพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย
รามคาแหงท่ีมีตอ่ กิจกรรมทางการจัดการศึกษา
6. ปัญหาในการจัดกิจกรรมนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา สหวิทยาเขตวัง
ทองหลาง กรุงเทพมหานคร
ง. จาแนกระหว่างการวจิ ยั เชงิ ประวัตศิ าสตร์ การวิจยั เชิงบรรยาย-พรรณนา หรอื การวิจัยเชิงทดลอง
1. การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระหวา่ งการทดลองใชแ้ ผ่นภาพโปร่งใสธรรมดา กับแผ่น
ภาพโปร่งใสแบบซ้อนภาพในวิชากายวิภาคเชิงกล ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีช้ันปีท่ี 1 โปรแกรมวิชา
ออกแบบผลติ ภณั ฑ์ สถาบนั ราชภฏั พระนคร
2. การตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของตุลากร : รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจนถึงก่อน
ปฏริ ูประบบกฎหมายและการศาลในรชั สมยั พระบาทสม เด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว
3.การบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียนเสนารกั ษ์ กรมแพทย์ทหารบก
4. การปฏิรูปกฎหมายของประเทศไทย ตง้ั แต่ พ.ศ.2411 จนถึง พ.ศ.2478
5. การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิการเขียนเรียงความเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถม -ศึกษาปีท่ี
5 ท่ใี ชแ้ ถบบนั ทึกเสยี ง และแถบวดี ีทัศนเ์ ปน็ ส่ือการสอน
6. การศกึ ษาปัญหาการจดั การเรียนการสอนในโรงเรยี นเตรยี มทหาร
7. ผลของการใช้นิทานอิงปรัชญาจากหนังสืออ่านสาหรับเด็กท่ีมีต่อมโนทัศน์ทางคุณธรรมของ
นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
8. บทบาทของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรต่อการแพทย์และการ
สาธารณสขุ (พ.ศ.2456-2468)
9. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 (แผนการเรียนศิลป
ภาษา) ในโรงเรียนรัฐบาล เขตการศกึ ษา 10
10. การศกึ ษาความคิดเหน็ ของนิสติ ท่ีมีต่อการบรกิ ารของสานักวทิ ยบริการ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่

~ 132 ~

แบบฝกึ หดั ที่ 3
ปัญหา จดุ มุ่งหมาย สมมตฐิ าน ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง

1. จากชอื่ เร่อื งตอ่ ไปน้ี ใหก้ าหนด - วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั
- ปญั หาการวจิ ัย
- ประโยชนข์ องการวจิ ยั - ตัวแปรการวจิ ัย
- สมมติฐานการวจิ ัย - ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (โดยการสมมติจานวนที่
เหมาะสมท่สี ุด)

ก. การศึกษาความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัด
กิจกรรมการเรียนร้แู บบ CIPPA MODEL

ข. การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรูต้ ามแนวคิดของกอร์ดอน

ค. การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โดย
การใช้บทเรยี นการ์ตนู รว่ มกับเกมส์

ง. ความคิดเห็นของนิสิตคณะครุศาสตร์ ท่ีมีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพครูของ
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา

จ. สภาพและแนวทางการจัดการเรียนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครูโรงเรียนประถมศึกษาในเขต
พืน้ ทีก่ ารศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
ข. ให้วิเคราะหว์ ่า สมมตฐิ านการวจิ ัยต่อไปน้ี วา่ เป็นสมมติฐานมีทศิ ทาง หรือไม่ทิศทาง

1. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลทางการพยาบาล ของนักศึกษา
พยาบาล

2. พนักงานครูโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองภูเก็ต ประสบการณ์ทางานต่างกัน มีความต้องการการ
พัฒนาบุคลากรต่างกัน

3. นักเรยี นท่ีได้รับการสอนตามทฤษฎีการเปล่ยี นมโนมตขิ อง Posner และคณะ มมี โนมติคลาดเคล่ือน
น้อยกวา่ นกั เรียนท่ีได้รบั การสอนตามแผนการสอนปกติ

4. พนักงานครูโรงเรียน สังกัดเทศบาลเมืองภูเก็ต ระดับตาแหน่งต่างกัน มีความต้องการการพัฒนา
บุคลากรตา่ งกัน

5. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องวงกลม ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ที่เรียนด้วย
ส่ือการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระหว่างวิธีการทากิจกรรมต่อเน่ืองเป็นรายบุคคล รายกลุ่มสามคน
และรายกลุ่มหา้ คน แตกตา่ งกัน

6. นักเรียนท่ีทาแฟูมสะสมผลงานมีความสนใจในการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ สูงกว่านักเรียนท่ีไม่ทา
แฟมู สะสมผลงาน

~ 133 ~

ค. ใหค้ านวณหาจานวนของกลมุ่ ตวั อยา่ งต่อไปน้ี
1. จานวนนักเรียนในโรงเรียนมัธยมสาธิตบ้านสมเด็จเจ้าพระยามีจานวน 500 คน ต้องการนามา
ศกึ ษา โดยยอมให้มคี วามคลาดเคลื่อนได้ร้อยละ 5 และต้องการให้มีระดับความเช่ือม่ัน 95 % โดยต้องการ
กลุม่ ตัวอย่างมาประมาณร้อยละ 15 จะได้จานวนนักเรียนมาเปน็ กลุ่มตัวอย่างเท่าใด
2. ถ้าต้องการศึกษาสภาพปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนประถมศึกษาที่อยู่ในเขตธนบุรี ที่มี
ประชากรจานวน 13,000 คนมาเป็นกลุ่มตัวอย่างโดยให้มีความคลาดเคลื่อนสูงสุดได้เพียงร้อยละ 5 จะได้
กลุ่มตวั อยา่ งจานวนเท่าใด (ใหค้ านวณตามสูตรของ ยามาเน่)
3. จานวนนักเรียนในโรงเรียนประถมสาธิตบ้านสมเด็จเจ้าพระยามีจานวน 400 คน ต้องการนามา
ศึกษา โดยยอมให้มีความคลาดเคลื่อนได้ร้อยละ 1 จะได้จานวนนักเรียนมาเป็นกลุ่มตัวอย่างเท่าใด (ให้
คานวณตามสูตรของ ยามาเน่)
4. ถ้าต้องการกลุ่มตัวอย่างจานวนหน่ึงมาเป็นตัวแทนของประชากรโดยกาหนดขนาดของกลุ่ม
ตวั อยา่ งตามตารางของเครจซีแ่ ละมอรแ์ กน จะตอ้ งใชจ้ านวนเทา่ ไร ถา้ ประชากรมีจานวนตอ่ ไปน้ี
300 450 500 700 1,200 3,500 9,000 20,000 10,000 15,000
5. ถ้าตอ้ งการเก็บขอ้ มลู จากกลุ่มตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้ ท่านคิดว่าจะใช้วิธีการสุ่มอย่างไรเพื่อเก็บข้อมูลได้
เหมาะสมท่สี ดุ
ก. สุ่มอย่างง่าย ข. ส่มุ อยา่ งมรี ะบบ ค. สมุ่ แบบแบง่ ชั้น
ง. สมุ่ แบบแบ่งกลุม่ จ. สมุ่ แบบบงั เอิญ ฉ. สมุ่ แบบลูกบอลหมิ ะ
5.1 ผู้คนเดินเดินไปมาหน้าห้างสรรพสินคา้
5.2 นกั เรียนท่ีน่งั อยูใ่ นห้องจานวน 1 หอ้ งเรยี น
5.3 นักเรียนทั้งระดบั จานวน 8 ห้องเรยี น ที่มีเลขประจาตัว
5.4 นักเรยี นทง้ั ระดบั ตอ้ งการมาห้องละ 12 คน
5.5 นกั เรียนทงั้ ระดับ ตอ้ งการมาจานวน 3 หอ้ งเรียน
5.6 นักเรียนทีเ่ ดนิ กลบั บ้าน
5.7 นักเรียนทม่ี ปี ัญหาติดยาเสพติด
5.8 นักเรยี นทีส่ นใจต้องการเข้าร่วมกจิ กรรมอาสาพัฒนาชนบท
5.9 นักเรยี นในหมู่บา้ น เรียงตามเลขท่บี า้ น
5.10 นกั เรยี นทัง้ โรงเรยี น สมุ่ มาเฉพาะนกั เรยี นจานวนห้องละ 3 คน

~ 134 ~

แบบฝึกหัดท่ี 4
เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจยั

ก. จงบอกความหมาย ลกั ษณะ ประเภทและประโยชน์ของเครอ่ื งมือการวิจัยแต่ละประเภทต่อไปน้ี
1. แบบทดสอบ 2. แบบสอบถาม 3. แบบสัมภาษณ์
4. แบบสงั เกต 5. มาตรประมาณค่า 6. แบบวัดเจตคติ
7. แบบสารวจ

ข. จากขอ้ 1 -10 ผู้วจิ ัยจะเลือกเครือ่ งมอื อะไรเพือ่ เก็บขอ้ มูลทีเ่ หมาะสมที่สุด เพยี ง 1 ประเภท
ก) แบบทดสอบ ข) แบบสอบถาม ค) แบบสมั ภาษณ์
ง) แบบสงั เกต จ) แบบวดั เจตคติ ฉ) แบบสารวจ
1. ต้องการทราบความร้สู ึก ชอบ ไม่ชอบ รัก ไมร่ ัก ต่อวธิ ีการสอนของครู
2. ปัญหาการเสพยาเสพติดของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษา
3. ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพ่อื ความเข้าใจของนิสติ อยู่ในระดบั ใด
4. ผลการเรียนรู้ของนักเรยี น
5. พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
6. ความพงึ พอใจต่อการเรียนการสอนของนกั เรียนจานวน 5 ห้องเรยี น จานวน 250 คน
7. ความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีตอ่ การสูบบหุ รี่ในมหาวิทยาลัย
8. ความสามารถทางดา้ นการพูดของนักเรียนปฐมวัย
9. ความชอบหรอื ไม่ชอบของนิสิตหญงิ ต่อสถาบันเสรมิ ความงาม
10. ความสนใจในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมของนักเรยี นทั้งโรงเรียน

ค. ให้ศึกษาตวั อย่างของเครอ่ื งมือการวจิ ัยต่อไปนี้ แลว้ นามารายงานหน้าชน้ั เรยี นพรอ้ มสง่
เอกสารประกอบ
1. แบบทดสอบ 2. แบบสอบถาม 3. แบบสัมภาษณ์
4. แบบสังเกต 5. มาตรประมาณคา่ 6. แบบวดั เจตคติ
7. แบบสารวจ

~ 135 ~

แบบฝึกหัดท่ี 5
ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลย่ี ค่ามธั ยฐาน และค่าฐานนิยม

1. นักเรียนมัธยมสาธิตบ้านสมเด็จ จานวนท้ังหมด 550 คน เป็นชาย 225 คน และหญิง 325 คน เป็น
นักเรียน ม. ต้น 300 คน และเป็นนักเรียน ม. ปลาย 250 คน โดยมีผู้ปกครองอาชีพ รับราชการ 225
คน ธุรกิจส่วนตัว 125 คน และทางานบริษัทเอกชน 200 คน จงหาค่าร้อยละของแต่ละตัวแปร แล้ว
แสดงเป็นตารางทีเ่ หมาะสม

2. จงหาค่าเฉลย่ี (Mean, x ) มัธยฐาน (Median) และฐานนยิ ม (Mode) ของข้อมูลตอ่ ไปน้ี
ก. 10, 8, 6, 0, 8, 3, 2, 2, 8, 0
ข. 8 8 8 8 8 8 8 8 8 8 8 8 8 8
ค. 1, 3, 3, 5, 5, 5, 7, 9
ง. 120, 5, 4, 4, 4, 4, 2, 1, 0
จ. 20, 18, 18, 19, 17, 16, 14, 4, 7
ฉ. 4, 5, 4, 3, 4, 8, 5, 7, 9, 6
ช. 1, 2, 2, 2, 3, 4, 5, 6, 4, 4, 5, 5, 7, 7

3. ข้อมลู ชุดใดในข้อ 1 ทีไ่ มค่ วรใช้ค่าเฉล่ยี (Mean, x ) ในการวัดแนวโนม้ เขา้ ส่สู ่วนกลาง เพราะเหตใุ ด
4. จงกล่าวถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉล่ีย (Mean, x ) มัธยฐาน (Median) และฐานนิยม (Mode) เมื่อ

ข้อมูลมีการแจกแจงในลักษณะดังน้ี
ก. เปน็ โคง้ เบท้ างบวก
ข. เปน็ โคง้ เบท้ างลบ
5. อายุของนักศึกษา 6 คน ท่ีเรียนวิชาดนตรี เป็น 18, 19, 20, 17, 19 และ 18 และอายุของอาจารย์ที่
สอนนักศึกษากลุ่มนี้เป็น 50 จงหาค่าเฉลี่ย (Mean, x ) มัธยฐาน (Median) และฐานนิยม (Mode)
และจงสรปุ วา่ ค่าใดเป็นตวั แทนทด่ี ีท่สี ุดของขอ้ มูลชดุ นี้ เพราะเหตใุ ด
6. จากการสอบถามนักเรียน 10 คน ของโรงเรยี นแห่งหนง่ึ วา่ น่ังรถเมลส์ ายใดไปโรงเรยี น ไดค้ าตอบดงั นี้ :
10, 206, 38, 38, 60, 58, 9, 58, 74, 58 ท่านจะวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางด้วยวิธีใด และได้
คาตอบเทา่ ใด
7. นักเรยี น 15 คน เดินชมภาพฝาผนังในโบสถว์ ดั พระแกว้ ใช้เวลาในการชมคิดเป็นนาทีต่าง ๆ กัน ดังนี้
:
2, 10, 15, 8, 6, 17, 20 10, 3, 9, 5, 9, 1, 10, และ 13
ก. จงหาค่าเฉลย่ี (Mean, x )
ข. จงหาค่ามธั ยฐาน (Median)
ค. จงหาคา่ ฐานนยิ ม (Mode)

~ 136 ~

แบบฝึกหดั ท่ี 6
สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานและความแปรปรวน

1. การแจกแจงของขอ้ มูลจะมลี กั ษณะอย่างไร ถา้ S = 0
2. การคานวณหาส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานและความแปรปรวนของขอ้ มลู ชุดต่าง ๆ ต่อไปนี้

ก. 10, 8, 6, 0, 8, 3 2, 2, 8, 0
ข. 1, 3, 3, 5, 5, 5, 7, 7, 9
ค. 20, 1, 2, 5, 4, 4, 4, 0
ง. 5, 5, 5, 5, 5, 5, 5, 5, 5
3. ข้อมลู ชดุ ใดในขอ้ 2 ท่มี คี า่ ความเบ่ยี งเบนมาตรฐานมากที่สุด เพราะเหตุใดจงึ เปน็ เชน่ นัน้
4. จงหาค่าพิสัยของข้อมูลทุกชุดในข้อ 2 ข้อมูลชุดใดท่ีหาค่าพิสัยแล้วทาให้ตีความหมายการกระจายของ
ขอ้ มลู คลาดเคล่อื นมาก เพราะเหตุใด
5.. จงหาค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐานและความแปรปวนจากข้อมลู ท่กี าหนดให้
X 29 33 37 38 39 40 42 43 45 47
f1134232231
6.. สุ่มนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 มา 10 คนจากโรงเรียน ก. แล้วทาการทดสอบการพิมพ์ดีด โดยสุ่ม
ให้พิมพ์บทความท่ีกาหนดให้ใน 1 นาที แล้วนับจานวนตัวพยัญชนะท่ีพิมพ์ผิด ปรากฏว่า จานวน
ตวั อกั ษรท่ีนกั เรียนแต่ละคนพมิ พ์ผดิ มีดงั น้ี

9, 11, 8, 18, 12, 15, 7, 16, 14, 10
จงหาค่าความเบ่ียงเบนมาตรฐานและความแปรปวนจากขอ้ มูลที่กาหนดให้

~ 137 ~

แบบฝกึ หดั ท่ี 7
การทดสอบดว้ ย t-test

คาชแ้ี จง จงตอบคาถามและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ตอ่ ไปน้ี
1. กลุม่ ท่ีสัมพนั ธ์กนั หรือกลมุ่ ทไี่ ม่อิสระ (Dependent Group) หมายถงึ อะไร
2. กล่มุ ที่ไมส่ ัมพันธก์ ันหรอื กลมุ่ ทเี่ ป็นอิสระ (Independent Group) หมายถงึ อะไร
3. จากการเรียนวิชาวิชาชีพครู ก่อนเรียนผู้สอนได้ทาการสอบกับวิชาชีพครู หลังจากจัดกิจกรรม
การเรียนรู้เสร็จผู้สอนก็สอบกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดิม ด้วยแบบทดสอบชุดเดิม ปรากฏว่าได้ดังตาราง จง
ทดสอบวา่ การจัดกิจกรรมการเรียนวิชาชีพครู ทาให้ผู้เรียนมีความรู้แตกต่างไปจากเดิมหรือไม่ (กาหนดให้

 = .05)
คนท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ก่อนเรยี น 7 9 4 10 3 3 9 4 4 8
หลังเรยี น 12 15 16 19 13 14 17 17 18 16
4. ครูสอนวิชาดนตรีศึกษาโดยไม่ใช้อุปกรณ์กับนักเรียนจานวนหน่ึง 16 คน และ สอนโดยใช้
อุปกรณ์ดนตรีกับนักเรียนอีกกลุ่มหน่ึง จานวน 18 คน เม่ือถึงปลายเทอมทาการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของนักเรียนทั้ง 2 กลมุ่ ปรากฏผลดงั น้ี
n X S2

กลุ่มที่ 1 (ใช้อุปกรณ์) 18 27 10
กลุ่มที่ 2 (ไมใ่ ช้อุปกรณ์) 16 20 7
จงทดสอบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาดนตรีของนักเรียนท้ังสองกลุ่มนี้แตกต่างกันหรือไม่ โดย
กาหนดระดับนัยสาคญั ที่ .05 และตง้ั ขอ้ ตกลงว่า ความแปรปรวนของกลุ่มตวั อย่างทง้ั สองเทา่ กนั
5. อาจารย์ท่านหน่ึงต้องการทดสอบสมมติฐานทางการวิจัยที่ว่า นักศึกษาหญิงมีความสามารถใน
การตัดสนิ ใจมากกว่านักศึกษาชาย เขาจึงสุ่มกลุ่มตัวอย่างแล้วเก็บข้อมูลด้วยแบบวัดการตัดสินใจท่ีเขาสร้าง
ขึน้ ได้ข้อมูลดังน้ี
n X S2
นักศกึ ษาหญงิ 10 45 10
นักศกึ ษาชาย 15 40 12
จงทดสอบว่าจะยอมรับสมมติฐานทางการวิจัยท่ีต้ังไว้ได้หรือไม่ เม่ือกาหนด  = .05 และต้ัง
ข้อตกลงว่า 2 = 2

~ 138 ~

แบบฝึกหดั ท่ี 8
การทดสอบดว้ ยไค-สแควร์

จงทดสอบสมมตุ ิฐานตอ่ ไปนี้
1. จากการสอบถามนักเรียนจานวน 200 คน เก่ียวกับการใช้โทรศัพท์มือถือ พบว่า ชอบใช้ Samsung

จานวน
65 คน คน ชอบใช้ i-phone จานวน 110 คน ชอบใช้ Nokia จานวน 15 และชอบใช้ Sony จานวน
10 คน จะสรุปได้ว่า นักเรียนชอบใช้โทรศัพท์มือถือแต่ละบริษัทมีจานวนที่แตกต่างกันหรือไม่ โดย
กาหนดให้  = .05

2. จากการทดสอบวิชาการวิจัยทางการศึกษา โดยให้คะแนนเป็นเกรด ปรากฏว่า ผู้ชายได้เกรด A =
30% เกรด B = 25% เกรด C = 45 % ส่วนผู้หญิง ได้เกรด A = 35% เกรด B = 20% เกรด C
= 45 % จงทดสอบว่า ผลการทดสอบวิชาการวิจัยทางการศึกษาขึ้นอยู่กับเพศหรือไม่ โดย
กาหนดให้  = .05

3. จากการสารวจผู้ท่ีสูบบุหร่ีและไม่สูบบุหรี่ ท้ังหมด 80 คน พบว่าผู้ที่ไม่สูบบุหรี่ 30 คน สูบบุหร่ี 50
คน ในกลุ่มผู้ไมส่ ูบบุหร่เี ปน็ มะเร็ง 12 คน ไม่เป็นมะเร็ง 18 คน ในกลุ่มผู้สูบบุหรี่ 50 คน เป็นมะเร็ง
30 คน จงทดสอบว่า การสบู บหุ รี่กับการเป็นมะเรง็ มคี วามสัมพันธก์ นั หรอื ไม่ โดยกาหนดให้  = .05

~ 139 ~

ประเดน็ สาคญั การจัดทารายงานการอ่าน “รายงานการวิจัย”

1. ชอ่ื เรือ่ ง 2. ผู้วิจัย 3. ปีที่ทาการวจิ ยั ระบุชอ่ื งานวจิ ัย ชือ่ ผทู้ ่ที าวจิ ยั ปที ีร่ ะบใุ นรายงานวิจยั

4. สถาบันทีท่ าการวิจัย เป็นของมหาวิทยาลยั หรอื หน่วยงานใด

5. ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา ระบเุ หตผุ ล ความจาเป็นทต่ี อ้ งทาวจิ ัย พอสังเขป 1 ย่อหน้า

6. วัตถุประสงค์ ระบุวัตถุประสงคข์ องการทาวิจยั

7. ประโยชน์ของการวิจยั ระบุว่าการวิจยั ครั้งนมี้ ีความสาคัญอยา่ งไร (มีมมุ มองอยา่ งนอ้ ย 2 ด้าน)

8. ประชากร ระบุรายละเอียดประชากร

9. กลมุ่ ตวั อยา่ ง ระบุกลุ่มตัวอย่างและวิธีการที่ได้มาของกลุ่มตัวอย่างในการทาวิจัย เช่น
10. ตวั แปร เป็นการสมุ่ แบบง่าย (Simple Random Sampling)
ระบุตวั แปรต้น ตวั แปรตาม หรอื ตวั แปรทใี่ ช้ในการวิจัย

11. สมมติฐานวิจยั ให้แยกเป็นขอ้ ๆ สอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคห์ รือไม่

12. กรอบแนวคิดการวจิ ยั ระบแุ นวคดิ หรือทฤษฎที ี่ใช้เป็นกรอบในการทาวิจัย
13. เอกสารและงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ระบหุ วั ขอ้ ท่ผี ้วู จิ ยั ได้ศึกษามาท้ังหมด
14. รูปแบบการวิจยั ระบุระเบียบวิธีของงานวิจัย เช่น การวิจัยเชิงทดลอง แบบทดสอบก่อน-
หลงั , การวิจยั เชงิ สารวจ , การวจิ ัยเชงิ ประเมิน ,การวิจัยในชัน้ เรยี น เป็น
15. เคร่อื งมอื ต้น

ระบุเคร่อื งมอื ท่ีใช้ในงานวิจัย เชน่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ เป็นต้น

16. วิธีการรวบรวมข้อมูล ระบุขัน้ ตอนของการดาเนินการในการเก็บรวบรวมข้อมูลทีใ่ ช้ในการวิจยั

17. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ระบวุ ิธีการวิเคราะหข์ ้อมูล และสถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะห์

18. สรุปผลวิจัย ระบุผลสรปุ ท่ไี ด้จากงานวจิ ยั พอสงั เขป (ดูจากบทคัดย่อ)

19. ประโยชนท์ ่ีไดจ้ ากการอ่านงานวจิ ัย ให้สรุปถึงประโยชน์ของการนางานวิจัยไปใช้ให้เป็นประโยชน์ รวมทั้ง
ประโยชน์ทีไ่ ดจ้ ากการอา่ นงานวิจัยเรอ่ื งดังกลา่ ว

หมายเหตุ บางประเด็น ในรายงานการวจิ ัยไมไ่ ด้เขยี นไว้ ใหร้ ายงานว่า “ไมไ่ ดร้ ะบุไวใ้ นงานวิจยั ”
ให้เข้าห้องสมุดของมหาวิทยาลัยเพ่ือสืบค้น หรือ เข้าสืบค้นจากเวปไซท์ของมหาวิทยาลัย หรือ ท่ีอื่นๆ เพื่ อ
Download งานวิจยั “ทางด้านการเรียนการสอน” เทา่ นน้ั แลว้ นามาเขียนเป็นรายงาน โดย
... เขยี น ตามหัวขอ้ ไม่เกนิ 5 หนา้ กระดาษ ตอ่ 1 เร่อื ง (ห้ามพิมพ์) เย็บเล่ม เรียงตามลาดับ โดยส่งเป็นชุด ไม่เกิน 3
สปั ดาห์ หลังจากเปดิ เรยี น แล้วสง่ พรอ้ มกันท่ีหัวหนา้ หมู่เรยี น (ไม่รบั แยกชน้ิ งาน หรือ แยกส่งรายบุคคล)

~ 140 ~

~ 141 ~




Click to View FlipBook Version