The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนวิชาเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by John Spectum, 2022-05-12 23:17:29

วิชางานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

แผนวิชาเครื่องยนต์แก๊สโซลีน

รหสั วิชา..20101-2101.ชอื่ วชิ า…งานเคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลนี …จานวน.3.. …6…
หลักสตู ร ..…ปวช… ประเภทวิชา …..อุตสาหกรรม… สาขาวชิ า …ชา่ งยนต์……… …………

จุดประสงค์รายวชิ า

1. เพือ่ ให้มีความเข้าใจหลักการทางาน หน้าที่ระบบต่าง ๆ ของเครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน
2.เพ่ือให้มคี วามสามารถถอดประกอบตรวจสภาพชิ้นส่วนระบบตา่ งๆของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน
และบารงุ รักษาเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน
3. เพือ่ ให้มีกิจนิสยั ท่ีดีในการทางานดว้ ยความเปน็ ระเบยี บ สะอาด ประณีต ปลอดภยั และรักษา
สภาพแวดล้อม

มาตรฐานรายวิชา

1. เข้าใจหลกั การตรวจสอบ บารุงรกั ษา ปรบั แตง่ ช้นิ สว่ นเคร่อื งยนต์แก๊สโซลีน
2. บารุงรักษาชนิ้ ส่วนเคร่อื งยนต์แก๊สโซลีน
3. ตรวจสภาพช้ินส่วนของระบบตา่ ง ๆ
4. ถอด ประกอบชิ้นสว่ นของระบบต่าง ๆ
5. ปรับแต่งเครือ่ งยนต์

คาอธิบายรายวิชา

ศกึ ษาและปฏบิ ตั งิ านเก่ียวกับหลกั การทางาน การถอดประกอบ ตรวจสภาพช้ินสว่ นระบบน้ามัน
เชื้อเพลิง ระบบจดุ ระเบิด ระบบหล่อลื่น ระบบระบายความรอ้ น ระบบไอดี ระบบไอเสยี การติดเคร่ืองยนต์
การปรับแต่ง การบารุงรกั ษาเครือ่ งยนต์แก๊สโซลนี

สมรรถนะรายวิชา

1.ถอดประกอบ ตรวจสอบ แกไ้ ขข้อขัดข้อง ระบบน้ามันเชื้อเพลิง ระบบจดุ ระเบดิ ระบบหล่อลืน่
ระบบระบายความร้อน ระบบไอดี ระบบไอเสยี การติดเครื่องยนต์ การปรับแตง่
2. การบารุงรักษาเคร่ืองยนต์แก๊สโซลนี
3.ติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของระบบเครื่องยนต์แก๊สโซลนี

การบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1.นักเรยี นเข้าเรียนตรงเวลา (คุณธรรม)
2.นักเรียนมคี วามกลา้ แสดงความคิดเหน็ อย่างมีเหตุมผี ล (มีเหตุผล)
3.นกั เรียนใชว้ ัสดุ และอปุ กรณ์ถูกต้องเหมาะสมกบั งาน (พอประมาณ)
4.นักเรยี นมกี ารแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ ได้ดว้ ยตนเอง (ภูมคิ ุม้ กัน)
5.นักเรียนใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ ในการปฏิบัติงานดว้ ยความระมัดระวงั (ภูมคิ มุ้ กัน)
6.นักเรยี นทางานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากครดู ว้ ยตนเอง (คณุ ธรรม)
7.นักเรียนศึกษาค้นควา้ งานด้วยตนเอง (องคค์ วามรู้)
8.นกั เรยี นใช้วัสดุ อุปกรณใ์ นการปฏิบตั ิงานด้วยความประหยดั (พอประมาณ)
9.นักเรยี นปฏบิ ตั ติ ามคาส่ังของครอู ย่างเคร่งครัด (มเี หตผุ ล)
10.นกั เรยี นชว่ ยเหลอื งานเพ่ือนท่ีทางานกันเปน็ กลุม่ (คุณธรรม)

การวิเคราะห์ และสมรรถนะรายวชิ า

รหสั วิชา…20101-2101…ชื่อวชิ า..งานเครอื่ งยนต์แกส๊ โซลีน.จานวน…3.. …6…

ชื่อ สมรรถนะรายวิชาและ
การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1 หลกั การทางานของเครื่องยนต์ แกส๊ 1. อธบิ ายหลกั การทางานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ

โซลนี ไดถ้ ูกต้อง

2. อธบิ ายหลักการทางานของเคร่ืองยนต์ 2 จังหวะ

ไดถ้ ูกตอ้ ง

3. อธิบายระบบการดดู ไอดีของเครื่องยนต์ 2 จงั หวะ

ได้ถกู ตอ้ ง

4. บอกประวตั ิของเคร่อื งยนต์ลูกสบู หมุนได้ถูกต้อง

5. อธบิ ายหลกั การทางานของเครื่องยนตล์ ูกสูบได้

ถกู ตอ้ ง

6. บอกชอ่ื และหน้าที่ส่วนประกอบหลกั ของเครื่อง

ยนต์ลูกสูบหมุนไดถ้ กู ต้อง

บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1.นกั เรยี นเขา้ เรียนตรงเวลา

2.นกั เรียนปฏบิ ัติตามคาส่ังของครูอยา่ งเครง่ ครัด

3.นักเรียนทางานที่ไดร้ ับมอบหมายจากครดู ้วยตนเอง

2 โครงสรา้ งและสว่ นประกอบของ 1. บอกช่ือและหน้าท่ีของชิ้นส่วนท่อี ยกู่ บั ท่ีได้ถูกต้อง

เครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี 2. บอกช่ือและหนา้ ที่ของชิ้นส่วนทเ่ี คลอ่ื นท่ีได้ถูกต้อง

3. สามารถถอดประกอบชิน้ ส่วนตา่ ง ๆ ของเคร่ืองยนต์

แก๊สโซลนี ได้ถกู ต้อง

4. สามารถตรวจสภาพชิ้นส่วนตา่ ง ๆ ของเครือ่ งยนต์

แกส๊ โซลนี ได้ถูกต้อง

บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1.นกั เรยี นเข้าเรียนตรงเวลา

2.นกั เรียนใช้วสั ดุและอุปกรณ์ถกู ต้องเหมาะสมกบั งาน

3.นักเรียนมีความกลา้ แสดงความคิดเหน็ อย่างมีเหตุมี

ผล
4.นกั เรยี นทางานทไี่ ดร้ ับมอบหมายจากครูด้วยตนเอง

การวิเคราะห์ และสมรรถนะรายวชิ า (ตอ่ )

ช่ือ สมรรถนะรายวิชาและ
การบรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

3 ระบบน้ามันเชือ้ เพลิงของเครื่องยนต์ 1.บอกความหมายและคณุ สมบตั ิของน้ามนั เบนซนิ ได้

แก๊สโซลีน ( Gasoline engine of ถกู ต้อง

Fuel system ) 2. อธิบายสารเพิ่มคุณภาพได้ถกู ต้อง

3. บอกหนา้ ที่ของระบบน้ามันเช้อื เพลิงไดถ้ ูกต้อง

4. บอกชือ่ และหน้าท่ีของสว่ นประกอบระบบน้ามัน

เช้ือเพลิงได้ถูกตอ้ ง

5. อธบิ ายการทางานของเคร่ืองยนตใ์ นสภาพตา่ ง ๆ

ไดถ้ ูกตอ้ ง

บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1.นักเรียนเข้าเรยี นตรงเวลา

2.นักเรยี นใช้วัสดแุ ละอปุ กรณ์ถกู ต้องเหมาะสมกับงาน

3.นักเรียนมคี วามกล้าแสดงความคดิ เหน็ อย่างมีเหตมุ ี

ผล

4.นักเรียนปฏบิ ัติตามคาสั่งของครอู ยา่ งเครง่ ครัด

4 ระบบจดุ ระเบิดของเคร่ืองยนต์แก๊ส 1. บอกหน้าท่ีของระบบจุดระเบดิ ได้ถูกต้อง

โซลีน ( Gasoline engine of 2. บอกช่ือและหนา้ ทส่ี ่วนประกอบของระบบจดุ

Ignition system ) ระเบดิ ได้ถูกตอ้ ง

3. อธบิ ายระบบการปรับแตง่ การจดุ ระเบิดไดถ้ ูก

ตอ้ ง

บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1.นกั เรียนเขา้ เรยี นตรงเวลา

2.นกั เรียนใชว้ ัสดแุ ละอปุ กรณ์ถกู ต้องเหมาะสมกบั งาน

3.นกั เรยี นมีความกลา้ แสดงความคิดเหน็ อย่างมเี หตมุ ี

ผล

4.นักเรยี นปฏิบตั ิตามคาส่งั ของครูอย่างเครง่ ครัด

5 ระบบหล่อล่นื เครื่องยนตแ์ ก๊สโซลนี 1. บอกหน้าที่ของน้ามนั หลอ่ ล่ืนไดถ้ ูกต้อง

( Gasoline engine of 2. บอกคุณสมบตั ิของน้ามันหลอ่ ลน่ื ได้ถูกตอ้ ง

lubrication system ) 3. อธบิ ายความหมายของนา้ มันหลอ่ ล่ืนพืน้ ฐานได้

ถูกตอ้ ง

4. อธิบายคุณสมบัตติ ่าง ๆ ของสารเพ่ิมคณุ ภาพได้

ถูกตอ้ ง

5. อธบิ ายการแยกประเภทของนา้ มนั เครื่องได้ถกู

ตอ้ ง

6. บอกชนิดของการหล่อลื่นได้ถูกต้อง

7. บอกช่อื และหน้าทส่ี ่วนประกอบของระบบหล่อ

ลนื่ เครื่องยนตไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง

บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1.นักเรยี นเข้าเรียนตรงเวลา

2.นักเรียนใชว้ สั ดแุ ละอุปกรณ์ถกู ต้องเหมาะสมกับงาน

3.นักเรียนมีความกลา้ แสดงความคดิ เห็นอย่างมเี หตมุ ี

ผล

4.นกั เรียนชว่ ยเหลอื งานเพื่อนที่ทางานกันเป็นกลุ่ม

การวิเคราะห์ และสมรรถนะรายวิชา (ต่อ)

ชือ่ สมรรถนะรายวชิ าและ
6 ระบบระบายความร้อนของ การบรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1. บอกหน้าที่ของระบบระบายความรอ้ นได้ถูกต้อง
เครื่องยนต์แกส๊ โซลนี (Gasoline 2. บอกชนดิ ของการระบายความร้อนได้ถูกต้อง
engine of cooling system) 3. บอกช่อื และหนา้ ที่สว่ นประกอบของระบบ
ระบายความร้อนไดถ้ ูกตอ้ ง
7 ระบบไอดแี ละระบบไอเสีย บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เครื่องยนต์แก๊สโซลนี 1.นักเรียนเข้าเรยี นตรงเวลา
2.นักเรียนใชว้ ัสดแุ ละอุปกรณ์ถกู ต้องเหมาะสมกับงาน
8 การติดเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน 3.นักเรียนมคี วามกล้าแสดงความคิดเห็นอยา่ งมเี หตุมี
ผล
4.นักเรยี นชว่ ยเหลืองานเพ่ือนทีท่ างานกันเปน็ กลุ่ม
1. บอกหน้าที่ของระบบไอดีและระบบไอเสียของ
เคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลนี ได้ถูกตอ้ ง
2. บอกช่ือและหนา้ ทีส่ ว่ นประกอบของระบบไอดี
เครื่องยนต์แก๊สโซลนี ได้ถูกต้อง
3. บอกชื่อและหน้าทส่ี ่วนประกอบของระบบไอ
เสยี เคร่อื งยนต์แกส๊ โซลีนไดถ้ ูกต้อง
บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1.นกั เรยี นเข้าเรียนตรงเวลา
2.นกั เรยี นใชว้ ัสดุและอปุ กรณ์ถูกต้องเหมาะสมกบั งาน
3.นักเรยี นมคี วามกล้าแสดงความคิดเห็นอย่างมเี หตมุ ี
ผล
4.นักเรียนชว่ ยเหลืองานเพ่ือนทีท่ างานกันเปน็ กล่มุ
1. อธบิ ายการตรวจสอบอุปกรณเ์ ชอ้ื เพลิงของเครื่อง
ยนตแ์ กส๊ โซลนี ไดถ้ ูกต้อง
2. อธิบายการตรวจสอบระบบจุดระเบิดของเครือ่ ง
ยนต์แกส๊ โซลีนได้ถกู ต้อง
3. อธิบายการตรวจสอบระบบระบายความร้อนของ

เครอ่ื งยนต์แก๊สโซลีนได้ถูกตอ้ ง
4. อธบิ ายการตรวจสอบระบบหลอ่ ลนื่ ของเคร่อื ง

ยนตแ์ ก๊สโซลนี ไดถ้ กู ต้อง
5. อธบิ ายการตรวจสอบระบบสตาร์ทของเคร่ือง

ยนต์แก๊สโซลีนได้ถูกต้อง
6. อธิบายการตดิ เครื่องยนต์แก๊สโซลีนไดถ้ ูกต้อง
บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1.นักเรียนเขา้ เรยี นตรงเวลา
2.นกั เรียนใชว้ สั ดแุ ละอุปกรณ์ถกู ต้องเหมาะสมกับงาน
3.นักเรียนมคี วามกลา้ แสดงความคดิ เห็นอย่างมีเหตุมี
ผล
4.นกั เรียนศกึ ษาค้นควา้ งานด้วยตนเอง
9 การปรับแต่งเครือ่ งยนต์แกส๊ โซลนี 1. อธบิ ายการตรวจและปรับองศาการจดุ ระเบดิ ได้

ถกู ต้อง
2. อธิบายการตรวจเช็คและปรับแตง่ รอบเดินเบาได้

ถูกตอ้ ง
3. อธิบายการปรบั ตัง้ รอบเดินเบาสงู ไดถ้ ูกต้อง
4. อธบิ ายการตรวจสอบหัวเทียนและสายไฟแรงสูง

ได้ถูกต้อง
5. อธบิ ายการตรวจสอบจานจ่ายได้ถูกตอ้ ง
6. อธิบายการตรวจสอบคอล์ยจุดระเบดิ ได้ถกู ต้อง
บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
1.นกั เรียนเขา้ เรียนตรงเวลา
2.นักเรยี นใช้วสั ดุและอุปกรณ์ถูกต้องเหมาะสมกบั งาน
3.นักเรยี นมคี วามกลา้ แสดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุมี
10 การบารุงรกั ษาเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน 1. อธบิ ายการบารุงรักษารถยนต์ประจาวนั ได้ถูก

ต้อง
2. อธิบายการบารงุ รักษารถยนตต์ ามระยะได้ถูก

ต้อง
บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1.นักเรยี นเขา้ เรียนตรงเวลา
2.นักเรยี นใชว้ ัสดแุ ละอปุ กรณ์ถูกต้องเหมาะสมกบั งาน
3.นักเรียนมีความกลา้ แสดงความคดิ เห็นอย่างมเี หตุมี

ต หน่วยการเรยี นรู้และเวลาทใี่ ช้ในการจัดการเรยี นรู้

รหสั วชิ า…20101-2101 ชื่อวิชา…งานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลนี … จานวน…3… …6..

ชือ่ และรายการสอน สัปดาห์ท่ี ชัว่ โมงท่ี
1 หลกั การทางานของเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลนี 1-2 1-12
2 โครงสรา้ งและส่วนประกอบของเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน 3-5 13-30
3 ระบบนา้ มนั เชื้อเพลงิ ของเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี 6-7 31-42
4 ระบบจุดระเบิดของเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน 8-9 43-54
5 ระบบหลอ่ ล่ืนเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน 10-11 55-66
6 ระบบระบายความร้อนของเครอ่ื งยนต์แก๊สโซลนี 12-13 67-78
7 ระบบไอดีและระบบไอเสียเครือ่ งยนตแ์ ก๊สโซลนี 14 79-84
8 การตดิ เคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี 15 85-90
9 การปรับแตง่ เครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลีน 16 91-96
10 การบารุงรักษาเครื่องยนต์แก๊สโซลนี 17 97-102
18 103-108
สอบปลายภาค

รวม 18 108

รหสั วิชา.. 20101-2101… ช่ือวิชา …งานเคร่อื งยนต์แก๊สโซลนี … …1 …

1… ……หลักการทางานของเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน… ..... ล …12…

สาระสาคัญ
จังหวะการทางานของเครือ่ งยนต์ 4 จังหวะ คือ จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะระเบิด และ

จังหวะคาย การท่ีเคร่ืองยนต์ทางานครบ 4 จังหวะ ซึ่งในขณะเดียวกนั เพลาข้อเหวี่ยงจะหมนุ 2 รอบ หรือ
720 องศา เรียกวา่ “ Four stroke cycle engine ”

สมรรถนะที่พึงประสงค์ ( ความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ )
1. อธิบายหลกั การทางานของเคร่อื งยนต์ 4 จังหวะไดถ้ ูกตอ้ ง
2. อธิบายหลกั การทางานของเคร่ืองยนต์ดีเซล 2 จงั หวะ ได้ถูกตอ้ ง
3. อธบิ ายระบบการดดู ไอดีของเคร่ืองยนต์ดเี ซล 2 จงั หวะ ได้ถูกต้อง
4. บอกประวตั ขิ องเครื่องยนต์ลกู สบู หมุนไดถ้ ูกตอ้ ง
5. อธิบายหลักการทางานของเครอื่ งยนต์ลูกสบู หมนุ ได้ถูกต้อง
6. บอกชือ่ และหน้าทส่ี ว่ นประกอบหลักของเครอ่ื งยนต์ลูกสูบหมนุ ไดถ้ ูกต้อง
7. ความมีวินยั : การแต่งกาย , การตรงต่อเวลา
8. ความรบั ผิดชอบ : ทางานเสร็จทนั ตามเวลาทีก่ าหนด
9. ความสนใจใฝ่รู้ : มีความสนใจในการหาความรเู้ พม่ิ เตมิ , การกระตือรอื ร้นที่จะเรยี นรู้
10. ความซือ่ สตั ยส์ ุจรติ : ไม่นาผลงานผู้อืน่ มาแอบอ้างเป็นของตน
11. การประหยดั : ใชว้ ัสดุทเ่ี หมาะสมกับงาน , ปดิ ไฟฟา้ และน้า ทุกครงั้ ทีเ่ ลกิ ใช้
12. ความกตัญญกู ตเวที : อาสาช่วยเหลอื งานครู – อาจารย์ และสว่ นรวม

เน้อื หาสาระ
1.หลกั การทางานของเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลนี
1.1 หลักการทางานของเคร่ืองยนต์

1.1.1 จงั หวะดดู ( Intake stroke )
1.1.2 จงั หวะอัด ( Compression stroke )

1.1.3 จงั หวะระเบิด ( Power stroke )
1.1.4 จังหวะคาย ( Exhaust stroke )
1.2 หลักการทางานของเคร่ืองยนต์ 2 จังหวะ
1.2.1 การดูดและอดั ในกระบอกสูบ ( Intake and compression in cylinder )
1.2.2 จงั หวะระเบิดและการอัดในหอ้ งเพลาข้อเหว่ียงและการกวาดไล่ไอเสีย

( Power and compression in crankcase ; Exhaust and scavenging in cylinder )
1.3 ระบบการดูดไอดีของเครื่องยนต์ 2 จงั หวะ

1.3.1 ระบบล้ินลูกสบู ( Piston valve system )
1.3.2 ระบบลนิ้ หมุน (Rotary valve system )
1.3.3 ระบบลิ้นรีด ( Reed valve system )
1.4 ประวตั ขิ องเครื่องยนตล์ ูกสูบ
1.4.1 ข้อได้เปรียบของเคร่ืองยนต์ลูกสูบหมุนกบั เครอ่ื งยนต์ลูกสูบเลอื่ น
1.4.2 ลกั ษณะเดน่ ของเครื่องยนต์ลกู สบู หมุน
1.5 หลักการทางานของเครอื่ งยนต์ลูกสบู หมุน ( Operating principle )
1.5.1 จังหวะดูด ( Intake stroke )
1.5.2 จังหวะอัด ( Compression stroke )
1.5.3 จังหวะระเบิด ( Power stroke )
1.5.4 จงั หวะคาย ( Exhaust stroke )
1.6 ส่วนประกอบหลักของเคร่อื งยนตล์ ูกสูบหมนุ ( Main component parts and Operating
principle )
1.6.1 เส้ือสบู ( Rotor housing )
1.6.2 โรเตอร์ ( Rotor )
1.6.3 เสอื้ สูบด้านขา้ ง ( Side housing )
1.6.4 เฟืองอยกู่ บั ที่ ( Stationary gears )

กิจกรรมการเรียนการสอน

ขน้ั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนหรอื กจิ กกรมของนกั เรียน

ขัน้ เตรยี มหรือข้นั นา

1. ครชู แี้ จงให้นกั ศกึ ษาทราบถึงแนวทางใน 1. นักศึกษารบั ฟังคาชี้แจงจากครูผสู้ อนและ

การปฏิบตั ิตน เกย่ี วกับการเรียนการสอน การ ซกั ถามเพ่ือความเข้าใจ และรบั ฟังการอบรม

ประเมนิ ผลการเรียน และได้อบรมคุณธรรม คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์

จริยธรรม และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ คอื เร่ือง เรอ่ื ง ความมวี นิ ยั โดยเฉพาะการแต่งกายและการ

ความมีวนิ ยั โดยเฉพาะการแต่งกายและการตรงต่อ ตรงตอ่ เวลา

เวลา

2. ครถู ามนกั ศกึ ษาทกุ คนในช้ันเรียนว่า 2. นกั ศึกษายกมอื ขนึ้ เมื่อครอู นุญาต จงึ

เคร่ืองยนต์แก๊สโซลีนสามารถทาให้เกดิ กาลงั งานได้ ตอบคาถาม

อย่างไร

ข้นั สอน 1. นกั ศกึ ษาฟังครูอธบิ ายและจดบนั ทึก
1. ครูอธิบายเร่อื งหลักการทางานของ เน้ือหา เรื่อง หลักการทางานของเครือ่ งยนต์ 4
จังหวะ
เครื่องยนตเ์ คร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ
2. นกั ศึกษาชว่ ยการสรปุ เรื่อง หลักการทางาน
2. ครูให้นักศึกษาคนหน่งึ อธิบายหลักการ ของเคร่ืองยนต์ดีเซล 4 จงั หวะ
ทางานของเคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ และใหน้ ักศึกษา
คนอ่นื ชว่ ยอธิบายเพ่ิมเติม แลช่วยกนั สรุป 3. นักศึกษาฟังครูสรุป แลว้ จดบันทกึ เร่อื ง
หลกั การทางานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ ลงใน
3. ครูสรปุ หลักการทางานของเครอ่ื งยนต์ 4 สมดุ
จงั หวะซา้ โดยใชแ้ ผน่ ใสท่ี 3 - 7 เรอื่ งการทางานของ
เคร่อื งยนต์ 4 จงั หวะ 4. นกั ศกึ ษาฟังครูอธบิ าย และจดบันทึกตาม
ลงในสมุด
4. ครูอธบิ าย เรอื่ ง หลกั การทางานของ
เครื่องยนต์ 2 จงั หวะ 5. นกั ศกึ ษาช่วยกนั สรปุ เร่ือง หลกั การ
ทางานของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ
5. ครูให้นกั ศึกษาช่วยอธบิ ายเร่ืองหลกั การ
ทางานของเครื่องยนต์ 2 จงั หวะ

กิจกรรมการเรยี นการสอน

ขน้ั ตอนการสอนหรอื กิจกรรมของครู ข้ันตอนการเรยี นหรือกิจกกรมของนักเรยี น

6. ครูสรปุ เร่ือง หลกั การทางานของ 6. นักศึกษาจดบนั ทึก เร่อื ง หลกั การ

เครื่องยนต์ 2 จงั หวะเพิ่มเตมิ โดยใชแ้ ผน่ ใสแผ่นที่ ทางานของเคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะท่คี รูสรปุ ใหล้ งใน

8-10 เรอื่ งหลักการทางานของเครอื่ งยนต์ 2 สมุด

จังหวะ 7. นักศึกษาฟังครูอธบิ าย และจดบนั ทึก

7. ครอู ธบิ ายเร่อื งระบบการดูดไอดีของ เน้ือหา เรื่อง ระบบการดูดไอดขี องเคร่ืองยนต์ 2

เครื่องยนต์ 2 จังหวะ จังหวะ

8. นกั ศึกษาช่วยกนั สรุปเรอ่ื งระบบการดดู

8. ครใู หน้ ักศึกษาชว่ ยกนั อธิบายระบบการดดู ไอดีของเคร่อื งยนต์ 2 จงั หวะ

ไอดีของเครือ่ งยนต์ 2 จงั หวะ 9. นักศกึ ษาฟังครูสรปุ แลว้ จดบนั ทึกลงใน

9. ครูสรุปเรื่องระบบการดูดไอดีของเครือ่ ง สมดุ

ยนต์ 2 จังหวะ โดยใชแ้ ผ่นใสแผน่ ท่ี 11-12 เรอื่ ง

ระบบการดูดไอดีของเครื่องยนต์ 2 จงั หวะ 10. นักศกึ ษาฟงั ครูอธบิ ายและจดบนั ทกึ

10. ครอู ธิบายเรอื่ งประวตั ิและหลักการทางาน เนื้อหา เรือ่ ง ประวัติและหลกั การทางานของ

ของเคร่ืองยนตล์ กู สูบหมุน เคร่อื งยนต์ลูกสูบหมุน

11. นักศึกษาช่วยกนั สรปุ เรอื่ งประวตั แิ ละ

11. ครใู หน้ กั ศึกษาคนหน่งึ อธิบายประวตั แิ ละ หลักการทางานของเคร่ืองยนต์ลกู สบู หมนุ

หลกั การทางานของเคร่ืองยนตล์ ูกสบู หมุนและให้

นักศึกษาคนอ่ืน ๆ ชว่ ยกันอธิบายเพมิ่ เติม 12. นกั ศกึ ษาจดบันทึกเรอื่ งประวัตแิ ละ

12. ครูสรปุ ซ้าและอธิบายเพมิ่ เติม โดยใช้ หลกั การทางานของเคร่ืองยนต์ลูกสบู หมุน

แผน่ ใสแผ่นท่ี 12-14 เร่อื ง ประวัติและหลักการ

ทางานของเครื่องยนตล์ ูกสบู หมุน 13. นกั ศกึ ษาฟังครูอธิบายและจดบันทกึ

13. ครอู ธิบายเรื่องสว่ นประกอบของ เนื้อหา เรอ่ื ง ส่วนประกอบของเครอ่ื งยนตล์ กู สูบ

เคร่อื งยนต์ลูกสูบหมนุ หมนุ

14. นักศึกษาช่วยกนั สรุปหนา้ ทีข่ อง

14. ครูให้นกั ศกึ ษาทุกคนช่วยกนั สรุปหน้าท่ี ส่วนประกอบเครอ่ื งยนต์ลกู สูบหมนุ

ของส่วนประกอบเครอื่ งยนต์ลูกสบู หมนุ

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขัน้ ตอนการเรียนหรือกจิ กกรมของนกั เรยี น

15. ครสู รปุ ซ้าและอธบิ ายเพม่ิ เติม โดยใช้ 15. นักศึกษาจดบนั ทึกเร่อื งส่วนประกอบ

แผ่นในแผน่ ท่ี 14-19 เรือ่ ง ส่วนประกอบของ ของเครอ่ื งยนต์ลูกสบู หมุน

เคร่อื งยนต์ลูกสูบหมุน

ขั้นสรุปและวดั ผล

16. ครจู ับสลากแบ่งกลมุ่ นกั ศกึ ษาแล้วให้แต่ 16. นกั ศกึ ษาแบ่งกลุ่ม ตามทคี่ รจู บั สลาก

กลมุ่ ชว่ ยกันระดมสมอง หวั ข้อตา่ ง ๆ ดงั น้ี แลว้ ช่วยกนั ระดมสมองภายในกล่มุ สรุปหวั ขอ้

- หลกั การทางานของเครื่องยนต์ 4 ตา่ ง ๆ ทีค่ รูแบง่ ให้แตล่ ะกลุ่ม

จงั หวะ

- หลักการทางานของเครื่องยนต์ 2

จังหวะ

- ระบบการดูดไอดีของเคร่อื งยนต์ 2 จงั

หวะ

- ประวัตขิ องเครื่องยนตล์ กุ สบหมุน

- หลักการทางานของเคร่ืองยนต์ลูกสูบ

หมุน

- สว่ นประกอบหลักของเครือ่ งยนต์ลูก

สบู หมุน

14. ครใู หน้ ักศึกษาแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทน 14. นกั ศกึ ษาแต่ละกลุ่ม ส่งตวั แทนออกมาสรุป

ออกมาสรปุ หนา้ ชน้ั เรยี น หนา้ ช้ันเรียน

15. ครูแจกแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ที่ 1 15.นักศึกษาตอบคาถามลงในแบบ

แลว้ ใหน้ ักศึกษาตอบคาถามลงในแบบประเมินผล ประเมินผลการเรียนรูท้ ี่ 1 แล้วร่วมกันเฉลย

การเรยี นร้ทู ่ี 1 โดยใชเ้ วลาประมาณ 10 นาที แลว้ คาตอบ และตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นท่ี 1

รว่ มกันเฉลยคาตอบในชั้นเรยี น พร้อมกันในชน้ั เรยี น

สอื่ การเรียนการสอน
ส่อื สิ่งพิมพ์
1. ศรีณรงค์ ตู้ทองคา และคณะ. ทฤษฎแี กส๊ โซลนี . กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม, 2541.
2. ศรณี รงค์ ตู้ทองคา และคณะ. ปฏิบตั แิ กส๊ โซลนี . กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จรญิ ธรรม, 2541.
3. พงศ์ศกั ด์ิ ศิริขันธ์ และคณะ. งานเครื่องยนตเ์ บื้องตน้ . นนทบรุ ี : เจรญิ รงุ่ เรอื งการพมิ พ,์

2546.
4. ศรีณรงค์ ตู้ทองคา และคณะ. การปรับแตง่ เครื่องยนต์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ จรญิ ธรรม,

2541.
5. ศรณี รงค์ ตู้ทองคา และคณะ. การซอ่ มเคร่ืองยนต์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์เจริญธรรม, 2541.
6. โตโยตา้ . ค่มู อื การซ่อมเคร่ืองยนต์ 1Y, 2Y : บรษิ ทั โตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทย จากัด,

2529.
สอื่ โสตทัศน์ ( ถา้ มี )
1. แผน่ ภาพ แสดงลักษณะหลักการทางานของเคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ และ 2 จงั หวะ
2. แผ่นใส แสดงลักษณะหลกั การทางานของเครื่องยนต์แกส๊ โซลีน

หุ่นจาลองหรอื ของจริง
1. ชุดสาธติ หลกั การทางานของเครอ่ื งยนต์
2. เครอ่ื งยนต์แก๊สโซลีนตงั้ แท่น
3. เครือ่ งยนต์ผ่าให้เหน็ ชนิ้ สว่ นภายใน

7 และ
7.1 เคร่ืองมือประเมนิ

- ใบงานท่ี 1
- แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1
7.2 เกณฑ์การประเมนิ
- เกบ็ คะแนนจากใบงานเพื่อใชเ้ ป็นสว่ นหนึ่งในการประเมินผลการเรียน
-แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ ผู้เรยี นจะต้องได้คะแนน 70 เปอรเ์ ซ็นต์ขึ้นไปถึงจะผา่ น

เกณฑ์

8. บันทกึ ผลหลังการจดั การเรยี นรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………

9. ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

.................................................. ผ้สู อน
วนั ท่ี ..............................................

10. ความเห็นของผบู้ ริหาร/ผ้ทู ี่ได้รับมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

.................................................. ผ้บู ริหาร
วันท่ี ............................................

รหัสวิชา.. 20101-2101… ชอ่ื วิชา …งานเครือ่ งยนต์แก๊สโซลีน……… …2 … 2…

……โครงสร้างและส่วนประกอบของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน……… ล … 18…

1.
สว่ นประกอบของเครอ่ื งยนตท์ ที่ าใหเ้ คร่ืองยนต์สามารถทางานได้ ประกอบด้วยชิ้นส่วนทอี่ ย่กู บั

ที่และช้ินส่วนท่เี คลื่อนท่ี โดยการทางานของสว่ นประกอบทง้ั หมดจะตอ้ งสัมพันธ์กนั ตามจังหวะการทางาน
ของเคร่อื งยนต์ ซง่ึ ชนิ้ ส่วนแต่ละช้ินของเครื่องยนตจ์ ะเกดิ การชารดุ เสยี หายหรือเสื่อมสภาพการใชง้ านตาม
ระยะเวลา จงึ ควรมีการถอดประกอบและตรวจสภาพช้ินส่วนต่าง ๆ ของเคร่ืองยนต์

สมรรถนะที่พึงประสงค์ ( ความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ )
1. บอกชอ่ื และหน้าทขี่ องช้นิ สว่ นทอี่ ย่กู ับท่ไี ด้ถกู ต้อง
2. บอกชอ่ื และหน้าที่ของช้ินส่วนทีเ่ คล่ือนทไ่ี ด้ถกู ต้อง
3. สามารถถอดประกอบช้ินสว่ นต่าง ๆ ของเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลนี ได้ถกู ต้อง
4. สามารถตรวจสภาพชน้ิ สว่ นต่าง ๆ ของเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลีนได้ถูกตอ้ ง
5. ความมีวินยั : การแต่งกาย, การตรงตอ่ เวลา
6. ความรบั ผดิ ชอบ : ทางานเสร็จทนั ตามเวลาที่กาหนด
7. ความสนใจใฝร่ ู้ : มีความสนใจในการหาความรู้เพิ่มเตมิ , การกระตือรือร้นทจี่ ะเรยี นรู้
8. ความมมี นุษย์สัมพันธ์ : ยอมรับความคิดเหน็ ผู้อื่น
9. ความอดทน อดกลนั้ : มีสติควบคุมอารมณ์ได้ดี
10. ความซอื่ สัตย์สุจริต : ไมน่ าผลงานผู้อ่นื มาแอบอ้างเปน็ ของตน
11. การประหยัด : ใชว้ ัสดุทีเ่ หมาะสมกับงาน, ปิดไฟฟ้าและน้าทกุ ครัง้ ท่ีเลิกใช้
12. ความกตญั ญกู ตเวที : อาสาช่วยเหลอื งานครู – อาจารย์ และสว่ นรวม
13. นักเรยี นใช้วัสดแุ ละอปุ กรณ์ถูกต้องเหมาะสมกับงาน

เนือ้ หาสาระ
2.1 ชิน้ ส่วนที่อยูก่ ับท่ี ( Stationary parts )
2.1.1 เส้ือสบู ( Cylinder block )
2.1.2 ฝาสบู ( Cylinder head )
2.1.3 ปะเก็นฝาสบู (Cylinder head gasket )
2.1.4 อา่ งน้ามันเคร่อื ง ( Oil pan )
2.2 ชนิ้ สว่ นที่เคล่อื นที่ ( Moving parts )
2.2.1 ชิ้นสว่ นทีเ่ คลื่อนที่กลบั ไปกลับมา ( Reciprocating motion )
2.2.1.1 ลูกสูบ ( Piston )
2.2.1.2 กา้ นสบู ( Connecting rod )
2.2.1.3 ลิ้นและกลไกของลิ้น ( Valve and valve mechanics )
2.2.2 ชนิ้ ส่วนทีเ่ คลอื่ นท่ีด้วยการหมุน ( Rotary motion )
2.2.2.1 เพลาข้อเหวีย่ ง ( Crankshaft )
2.2.2.2 เพลาลกู เบย้ี ว ( Camshaft )
2.2.2.3 ล้อชว่ ยแรง ( Fly wheel )
1. ฟงั บรรยายและดูสอ่ื จรงิ ประกอบความรู้ความเขา้ ใจ
2. ตอบคาถามเพ่ือทบทวนความร้คู วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั เนือ้ หา
3. ศึกษาและทาแบบฝกึ หดั ตอบคาถามดว้ ยตวั เอง

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ขน้ั ตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขนั้ ตอนการเรยี นหรอื กจิ กกรมของนักเรียน

ขัน้ เตรียมหรือขั้นนา

1. ครทู าการอบรมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและให้ 1. นกั ศกึ ษารบั ฟงั การอบรมคุณธรรม

ข้อคิดในการพฒั นาตนเองในด้านการเรยี น จริยธรรม และข้อคดิ ในการพฒั นาตนเองใน

ดา้ นการเรยี น

2. ครูทบทวนเนือ้ หาทสี่ อนในแผนการสอน 2. นักศึกษารบั ฟังครูสรุปทบทวนเน้อื หาใน

หน่วยท่ี 1 เพ่ือเปน็ การกระตุ้นให้นกั ศึกษา แผนการสอนหน่วยท่ี 1 และจดบนั ทึกลงใน

พร้อมท่จี ะเรยี น โดยสรุปประเด็นสาคญั ของ สมดุ พรอ้ มทั้งตอบคาถามที่ครูซกั ถาม

เน้ือหา และซักถามนักศึกษาเป็นรายบคุ คล

และเป็นกลมุ่

ขน้ั สอน 1. นกั ศกึ ษาจดบนั ทึกตามที่ครูอธบิ ายลงใน
1. ครอู ธิบายถึงหน้าทขี่ องช้ินส่วนทีอ่ ยู่กบั ท่ีของ สมุด
เครอื่ งยนต์แก๊สโซลีน 2. นักศึกษาตอบคาถาม และชว่ ยกันสรปุ
2. ครถู ามทบทวน โดยการสุ่มถามเปน็
รายบคุ คล และใหน้ ักศึกษาร่วมกันสรปุ 3. นักศกึ ษาช่วยกนั สรุป เรื่อง หนา้ ทข่ี อง
3. ครูให้นักศึกษาคนใดคนหนึง่ บอกหน้าท่ขี อง ช้ินส่วนท่อี ยู่กบั ที่ของเครือ่ งยนตแ์ ก๊สโซลีน
ชิ้นสว่ นท่อี ยู่กบั ทีข่ องเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลนี
และใหน้ กั ศึกษาคนอ่นื ๆ ช่วยกนั สรปุ 4. นกั ศกึ ษารบั ฟงั ครูสรปุ และจดบนั ทึกลง
4. ครสู รุปหน้าท่ีของช้นิ สว่ นท่อี ยูก่ บั ที่ของ ในสมุด
เครอื่ งยนต์แก๊สโซลนี ซา้ และอธิบายเพม่ิ เตมิ
โดยการใช้แผน่ ใสแผ่นท่ี 21-40 เรอื่ ง ชนิ้ สว่ น 5. นกั ศกึ ษาฟังครูอธิบาย และจดบนั ทึก
ทีอ่ ยกู่ บั ท่ี เนือ้ หาเรือ่ งชิ้นสว่ นท่ีเคล่ือนท่ีของเครอ่ื งยนต์
5. ครอู ธบิ ายถงึ หนา้ ท่ีของชน้ิ ส่วนทเ่ี คลื่อนท่ี แก๊สโซลนี
ของเครอื่ งยนต์แกส๊ โซลนี 6. นกั ศึกษาชว่ ยกันสรปุ และชว่ ยกันสรุป

6. ครถู ามทบทวนเน้อื หา โดยการสุ่มถามเป็น
รายบคุ คล และให้นักศึกษาทุกคนช่วยกนั สรปุ

กิจกรรมการเรียนการสอน

ขั้นตอนการสอนหรอื กิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นหรอื กิจกกรมของนกั เรยี น

8. ครูสรปุ ซา้ และอธิบายเพิม่ เติม โดยใช้แผน่ ใส 8. นกั ศกึ ษาฟังครูสรปุ เรอื่ งชน้ิ ส่วนทีเ่ คลื่อนที่

แผน่ ที่ 41-76 เร่ือง ช้ินส่วนทเ่ี คลอื่ นทขี่ อง ของเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลีน และจดบนั ทึกลงใน

เครอื่ งยนต์แก๊สโซลนี สมดุ

ขนั้ สรุปและวัดผล

9. ครูจับสลากแบง่ กลุ่มนักศึกษา แล้วใหแ้ ต่ 9. นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ตามที่ครจู ับสลาก แล้ว

ละกลมุ่ ช่วยกนั ระดมสมอง หัวข้อตา่ ง ๆ ดงั นี้ ช่วยกนั ระดมสมองภายในกลุ่ม สรปุ หวั ขอ้ ต่าง ๆ ท่ี

- ชน้ิ สว่ นที่อยูก่ ับที่ ครูแบง่ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่ม

- ชน้ิ สว่ นทเ่ี คลือ่ นท่ี

10.ครใู หน้ กั ศกึ ษาแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนออกมา 10. นกั ศกึ ษาแต่ละกลุ่ม ส่งตัวแทนออกมาสรุป

สรปุ หนา้ ชั้นเรียน หนา้ ชนั้ เรียน

11. ครูแจกแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ที่ 2 แลว้ 11. นกั ศึกษาตอบคาถามลงในแบบประเมินผลการ

ให้นักศึกษาตอบคาถามลงในแบบประเมินผล เรียนร้ทู ่ี 2 แลว้ ร่วมกนั เฉลยคาตอบ และตรวจ

การเรยี นร้ทู ่ี 2 โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาที แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ท่ี 2 พร้อมกันในชน้ั

แล้วร่วมกนั เฉลยคาตอบในชั้นเรียน เรยี น

ส่อื การเรยี นการสอน
สือ่ ส่งิ พิมพ์

1. ศรีณรงค์ ตู้ทองคา และคณะ. ทฤษฎีแก๊สโซลีน. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์เจริญธรรม, 2541.
2. ศรีณรงค์ ต้ทู องคา และคณะ. ปฏบิ ตั ิแก๊สโซลนี . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ จริญธรรม, 2541.
3. พงศ์ศกั ด์ิ ศิริขนั ธ์ และคณะ. งานเครือ่ งยนตเ์ บ้ืองตน้ . นนทบรุ ี : เจรญิ รุ่งเรืองการพิมพ,์

2546.
4. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. การปรบั แตง่ เครื่องยนต์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ จรญิ ธรรม,

2541.
5. ศรีณรงค์ ตทู้ องคา และคณะ. การซอ่ มเคร่อื งยนต์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม, 2541.
6. โตโยตา้ . คู่มือการซ่อมเครื่องยนต์ 1Y, 2Y : บริษัทโตโยต้ามอเตอร์ประเทศไทย จากัด,

2529.
สอื่ โสตทัศน์ ( ถ้ามี )
1. แผน่ ภาพ แสดงลักษณะสว่ นประกอบของชิ้นส่วนทีอ่ ยกู่ ับที่และชนิ้ สว่ นทเ่ี คลือ่ นที่
2. แผน่ ใส

ห่นุ จาลองหรือของจรงิ ( ถา้ มี )
1. เส้อื สูบ ( Cylinder block )
2. ฝาสูบ ( Cylinder head )
3. ปะเกน็ ฝาสูบ ( Cylinder head gasket )
1. อ่างน้ามันเคร่ือง ( Oil pan )
2. ลกู สบู ( Piston )
3. กา้ นสบู ( Connecting rod )
4. ลนิ้ และกลไกยกลิ้น ( Valve and valve mechanics )
5. เพลาข้อเหว่ยี ง ( Crankshaft )
6. เพลาลูกเบยี้ ว ( Camshaft )
7. ล้อช่วยแรง ( Fly wheel )

และ
7.1 เคร่อื งมือประเมิน

- ใบงานที่ 2
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 2
7.2 เกณฑ์การประเมิน
- เก็บคะแนนจากใบงานเพื่อใช้เป็นส่วนหนึง่ ในการประเมนิ ผลการเรียน
-แบบประเมินผลการเรยี นรู้ ผู้เรยี นจะต้องไดค้ ะแนน 70 เปอรเ์ ซน็ ต์ขน้ึ ไปถึงจะผ่าน

เกณฑ์

8. บันทึกผลหลังการจดั การเรียนรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………

9. ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………

.................................................. ผ้สู อน
วันที่ ..............................................

10. ความเห็นของผู้บริหาร/ผทู้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

.................................................. ผ้บู ริหาร
วันท่ี ..............................................

รหัสวิชา.. 20101-2101… ช่ือวชิ า …งานเคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลีน……… …3 … 3…

………ระบบนา้ มนั เชอ้ื เพลงิ ของเครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลนี ……… ล … 12…

1.
ระบบนา้ มันเชอื้ เพลิงของเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี ทาหน้าที่ จ่ายส่วนผสมของอากาศกับนา้ มัน

เชือ้ เพลิง หรอื เรียกอีกช่ือหนึ่งวา่ “ ไอดี ” เข้าไปภายในกระบอกสบู ซงึ่ ระบบน้ามนั เชือ้ เพลิงจะมีการปรับ
อตั ราสว่ นผสมของเช้อื เพลงิ ใหม้ คี วามเหมาะสมกับสภาพการใช้งานของเคร่ืองยนต์

สมรรถนะท่พี ึงประสงค์ ( ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี )
1. บอกความหมายและคุณสมบัติของนา้ มันเบนซนิ ได้ถูกตอ้ ง
2. อธิบายสารเพ่มิ คุณภาพได้ถูกต้อง
3. บอกหน้าที่ของระบบน้ามนั เช้ือเพลงิ ไดถ้ ูกต้อง
4. บอกช่ือและหนา้ ทีข่ องสว่ นประกอบระบบน้ามนั เช้ือเพลิงได้ถูกต้อง
5. อธิบายการทางานของเคร่ืองยนต์ในสภาพตา่ ง ๆ ได้ถกู ตอ้ ง
6. ความมีวินยั : การแต่งกาย, การตรงตอ่ เวลา
7. ความรับผดิ ชอบ : ทางานเสรจ็ ทนั ตามเวลาท่ีกาหนด
8. ความสนใจใฝ่รู้ : มคี วามสนใจในการหาความรเู้ พิ่มเติม, การกระตือรอื รน้ ท่จี ะเรยี นรู้
9. ความมมี นษุ ย์สมั พนั ธ์ : ยอมรับความคิดเห็นผอู้ ื่น
10. ความอดทน อดกลัน้ : มสี ตคิ วบคมุ อารมณ์ได้ดี
8. ความซือ่ สตั ย์สจุ ริต : ไม่นาผลงานผูอ้ น่ื มาแอบอ้างเปน็ ของตน
9. การประหยัด : ใช้วสั ดุท่ีเหมาะสมกับงาน, ปิดไฟฟ้าและนา้ ทุกคร้งั ท่เี ลิกใช้
10. ความกตัญญูกตเวที : อาสาชว่ ยเหลอื งานครู – อาจารย์ และสว่ นรวม

เน้ือหาสาระ
3.1 ความหมายและคุณสมบตั ิของนา้ มนั เบนซนิ
3.2 สารเพิ่มคณุ ภาพ
3.3 หน้าท่ีของระบบน้ามันเชือ้ เพลงิ
3.4 หน้าท่ีของสว่ นประกอบระบบน้ามันเช้ือเพลิง
3.4.1 ถงั น้ามันเชอ้ื เพลิง ( Fuel tank )

3.4.2 ป๊มั น้ามนั เชื้อเพลิง ( Fuel pump )
3.4.2.1 ปั๊มแบบกลไก (Mechanical fuel pump )
3.4.2.2 ปัม๊ แบบไฟฟ้า (Electromagnetic fuel pump )

3.4.3 คารบ์ ูเรเตอร์ ( Carburetor )
3.5 การทางานของเครื่องยนตใ์ นสภาพต่าง ๆ

กิจกรรมการเรียนการสอน

ขน้ั ตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรยี นหรือกิจกกรมของนกั เรยี น

ขนั้ เตรยี มหรือขัน้ นา

1. ครทู าการอบรมคณุ ธรรม จริยธรรม เร่ือง 1. นกั ศกึ ษารับฟังการอบรมคุณธรรม

ความสนใจใฝ่รูใ้ นการเรียน และแนะนาให้ จริยธรรม และแนวปฏบิ ัติในการค้นคว้าหา

นักศกึ ษาร้จู ักการคน้ ควา้ หาความรู้ใหม่ ๆ เพ่มิ ความรใู้ หม่ ๆ เพ่ิมเตมิ

เตมิ จากวารสาร หนังสือพิมพ์ เปน็ ต้น

2. ครทู บทวนเนอื้ หาท่ีสอนในแผนการสอน 2. นักศึกษารับฟังครสู รุปทบทวนเนื้อหาใน

หน่วยท่ี 2 เพอื่ เป็นการกระตนุ้ ให้นกั ศึกษา แผนการสอนหนว่ ยที่ 2 และจดบนั ทึกลงใน

พรอ้ มที่จะเรยี น โดยสรุปประเดน็ สาคญั ของ สมดุ พรอ้ มท้ังตอบคาถามที่ครซู กั ถาม

เน้อื หา และซักถามนักศึกษาเปน็ รายบุคคล

และเป็นกลมุ่

ข้นั สอน 1. นักศกึ ษาจดบนั ทึกตามท่ีครูอธิบายลงใน
1. ครอู ธิบายความหมายและคุณสมบตั ขิ อง สมุด
นา้ มันเบนซิน 2. นักศึกษาตอบคาถาม และช่วยกนั สรปุ
2. ครูใหน้ ักศึกษาคนใดคนหนึง่ บอก ความหมายและคณุ สมบตั ขิ องนา้ มนั เบนซนิ
ความหมายและคุณสมบตั ขิ องนา้ มนั เบนซิน
และให้นักศกึ ษาคนอน่ื ๆ ชว่ ยกันสรุป 3. นกั ศึกษารบั ฟังครสู รุป และจดบันทึกลง
3. ครสู รปุ ความหมายและคุณสมบตั ขิ องน้ามนั ในสมุด
เบนซินเพมิ่ เติมโดยใช้แผน่ ใสแผ่นที่ 78-79
เร่ือง ความหมายและคุณสมบัติของนา้ มนั
เบนซนิ

4. ครอู ธบิ ายสารเพมิ่ คณุ ภาพและบอกหน้าที่ 4. นกั ศึกษาจดบนั ทึก ตามทคี่ รูอธบิ ายลงใน
ของระบบน้ามันเช้ือเพลงิ สมุด
5. ครูให้นกั ศกึ ษาคนใดคนหนึง่ อธิบายสารเพ่ิม 5. นกั ศกึ ษาตอบคาถาม และชว่ ยกันสรปุ
คุณภาพ และบอกหนา้ ท่ขี องระบบน้ามัน
เชือ้ เพลิง แล้วใหน้ ักศึกษาคนอน่ื ๆ สรุป
เพ่มิ เติม

6. ครสู รุปซ้า แล้วอธิบายเพิม่ เติม โดยใช้ 6. นักศึกษารับฟังครูสรุป และจดบนั ทึกลงใน
แผน่ ใสแผ่นท่ี 79-81 เรื่อง สารเพมิ่ คุณภาพ สมุด
และหนา้ ที่ของระบบนา้ มนั เชอื้ เพลงิ
7. ครอู ธบิ ายหน้าทีข่ องส่วนประกอบระบบ 7. นักศกึ ษาจดบันทกึ ตามท่ีครอู ธิบายลงใน
นา้ มันเชือ้ เพลงิ และการทางานของเคร่ืองยนต์ สมดุ
ในสภาพต่าง ๆ
8. ครใู ห้นกั ศกึ ษาคนหน่งึ บอกหน้าท่ี 8. นักศกึ ษาชว่ ยกนั สรปุ เรอื่ ง หน้าท่ี
สว่ นประกอบของระบบน้ามันเชอ้ื เพลิงและการ สว่ นประกอบของระบบน้ามนั เช้ือเพลิงและ
ทางานของเคร่ืองยนต์ในสภาพตา่ ง ๆ แลว้ ให้ การทางานของเคร่ืองยนต์ในสภาพต่าง ๆ
นักศึกษาคนอนื่ ๆ ชว่ ยกันสรุป
9. ครสู รปุ ซา้ และอธิบายเพิม่ เตมิ เรือ่ ง หน้าท่ี 9. นกั ศกึ ษาฟงั ครูสรปุ และจดบันทึกลงใน
สว่ นประกอบของระบบนา้ มนั เช้อื เพลิงและการ สมุด
ทางานของเคร่ืองยนต์ในสภาพตา่ ง ๆ โดยใช้
แผน่ ใสแผน่ ท่ี 81-118 เรื่อง ส่วนประกอบของ 10. นกั ศึกษาตอบคาถาม และช่วยกันสรุป
ระบบนา้ มนั เชือ้ เพลงิ และการทางานของ ประเด็นสาคญั ของเนอื้ หาแต่ละเร่ือง
เครื่องยนต์ในสภาพต่าง ๆ 11. นักศกึ ษารว่ มกันสรุปหนา้ ทแี่ ละอธิบาย
ขน้ั สรุปและวัดผล การทางานของเคร่ืองยนตใ์ นสภาพตา่ ง ๆ
10. ครสู รุปเนอื้ หาทงั้ หมดโดยวธิ กี ารถามเพอื่
ทบทวนประเด็นสาคญั ของเนื้อหาแต่ละเร่อื ง 12. นกั ศกึ ษาตอบคาถามลงในแบบ
11. ครูมอบหมายให้นกั ศกึ ษารว่ มกนั บอก ประเมินผลการเรยี นรู้ท่ี 3 และตรวจแบบ
หนา้ ท่ีและอธบิ ายการทางานของเครอื่ งยนตใ์ น
สภาพต่าง ๆ
12. ครแู จกแบบประเมนิ ผลการเรยี นร้ทู ี่ 3
แล้วใหน้ กั ศกึ ษาตอบคาถามลงในแบบ

ประเมินผลการเรียนรู้ที่ 3 โดยใชเ้ วลา ประเมนิ ผลการเรียนรู้ท่ี 3 พร้อมกันในชั้น
ประมาณ 10 นาที แลว้ ร่วมกันเฉลยคาตอบใน เรยี น
ช้ันเรียน

สอ่ื การเรียนการสอน
ส่ือส่งิ พิมพ์

1. ศรณี รงค์ ตทู้ องคา และคณะ. ทฤษฎแี กส๊ โซลีน. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม, 2541.
2. ศรณี รงค์ ตู้ทองคา และคณะ. ปฏิบัตแิ กส๊ โซลีน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์เจริญธรรม, 2541.
3. พงศ์ศกั ดิ์ ศิริขันธ์ และคณะ. งานเคร่ืองยนตเ์ บื้องต้น. นนทบรุ ี : เจรญิ รงุ่ เรืองการพมิ พ์,

2546.
4. ศรณี รงค์ ตูท้ องคา และคณะ. การปรับแตง่ เคร่ืองยนต์. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์เจรญิ ธรรม,

2541.
5. ศรณี รงค์ ตทู้ องคา และคณะ. การซ่อมเคร่อื งยนต์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์เจริญธรรม, 2541.
6. โตโยต้า. คูม่ อื การซ่อมเครื่องยนต์ 1Y, 2Y : บริษทั โตโยต้ามอเตอรป์ ระเทศไทย จากัด,

2529.
ส่อื โสตทัศน์ ( ถา้ มี )
1. แผน่ ภาพ แสดงลักษณะระบบนา้ มนั เชือ้ เพลิงของเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีน
2. แผน่ ใส

หุ่นจาลองหรือของจริง ( ถา้ มี )
1. ถงั นา้ มันเช้ือเพลงิ
2. ปั๊มนา้ มันเชอื้ เพลิง
3. คารบ์ ูเรเตอร์

และ
7.1 เคร่ืองมือประเมิน

- ใบงานที่ 3
- แบบประเมินผลการเรียนรู้ หนว่ ยที่ 3
7.2 เกณฑ์การประเมิน
- เก็บคะแนนจากใบงานเพื่อใช้เป็นส่วนหนึง่ ในการประเมนิ ผลการเรียน
-แบบประเมินผลการเรยี นรู้ ผู้เรยี นจะต้องไดค้ ะแนน 70 เปอรเ์ ซน็ ต์ขน้ึ ไปถึงจะผ่าน

เกณฑ์

8. บันทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………

9. ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………

.................................................. ผ้สู อน
วนั ที่ ..............................................

10. ความเห็นของผู้บริหาร/ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

.................................................. ผ้บู ริหาร
วนั ที่ ..............................................

รหสั วชิ า.. 20101-2101… ช่อื วิชา …งานเครือ่ งยนต์แก๊สโซลนี ……… …4 … 4…

…… ระบบจดุ ระเบดิ ของเครอื่ งยนตแ์ กส๊ โซลนี ………… ล … 12…

1.
เคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีนจะอาศยั ประกายไฟที่เขีย้ วหวั เทียนจุดระเบิดสว่ นผสมของอากาศกับน้ามนั

เชอ้ื เพลงิ เพื่อทาใหเ้ กดิ การเผาไหม้ภายในห้องเผาไหม้ของเครือ่ งยนต์ ซึง่ กระแสไฟฟ้าท่เี กดิ ขึ้นน้ันประมาณ
10,000 – 25,000 โวลท์ โดยการแปลงแรงเคลือ่ นไฟฟา้ ของคอลย์ จุดระเบิด แลว้ สง่ กระแสไฟฟ้าแรงสูงไป
ยังหวั เทียนตามสบู ตา่ ง ๆ
สมรรถนะทีพ่ ึงประสงค์ ( ความรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ )

1. บอกหนา้ ที่ของระบบจุดระเบิดไดถ้ ูกต้อง
2. บอกชอ่ื และหนา้ ทส่ี ่วนประกอบของระบบจดุ ระเบดิ ได้ถูกต้อง
3. อธบิ ายระบบการปรบั แตง่ การจุดระเบดิ ได้ถูกตอ้ ง
4. ความมวี ินยั : การแต่งกาย, การตรงตอ่ เวลา
5. ความรบั ผิดชอบ : ทางานเสร็จทันตามเวลาทก่ี าหนด
6. ความสนใจใฝร่ ู้ : มีความสนใจในการหาความร้เู พิ่มเติม, การกระตือรือรน้ ทจี่ ะเรยี นรู้
7. ความมมี นษุ ย์สัมพันธ์ : ยอมรบั ความคิดเห็นผอู้ ืน่
8. ความอดทน อดกลัน้ : มสี ติควบคมุ อารมณ์ได้ดี
9. ความซือ่ สัตยส์ จุ รติ : ไมน่ าผลงานผู้อน่ื มาแอบอ้างเปน็ ของตน
10. การประหยัด : ใช้วัสดทุ เ่ี หมาะสมกบั งาน, ปดิ ไฟฟา้ และนา้ ทกุ ครง้ั ท่ีเลกิ ใช้
11. ความกตญั ญกู ตเวที : อาสาช่วยเหลอื งานครู – อาจารย์ และสว่ นรวม

เน้ือหาสาระ
4. ระบบจุดระเบดิ ของเครอ่ื งยนตแ์ ก๊สโซลีน ( Gasoline engine of Ignition system )

4.1 หน้าท่ขี องระบบจุดระเบิด ( Function of ignition system )
4.2 สว่ นประกอบของระบบจดุ ระเบดิ

4.2.1 แบตเตอรี่ ( Battery )
4.2.2 แอมมเิ ตอร์ ( Ammeter )
4.2.3 คอล์ยจุดระเบิด ( Ignition coil )
4.2.4 จานจา่ ย ( Distributor )

4.2.5 คอนเดนเซอร์หรือคาร์ปาซเิ ตอร์ ( Condenser or capacitor )
4.2.6 หนา้ ทองขาว ( Contact )
4.2.7 สายไฟแรงสูง ( High tension cable )
4.2.8 หวั เทยี น ( Spark plug )
4.3 ระบบการปรบั แต่งเวลาการจดุ ระเบดิ ( Ignition timing adjusting system )
4.3.1 การจุดระเบิดลว่ งหนา้ แบบแรงเหวย่ี ง ( Centrifugal advance )
4.3.2 การจดุ ระเบดิ ลว่ งหน้าแบบผสม ( Combination of centrifugal and vacuum advance
)

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขัน้ ตอนการสอนหรอื กิจกรรมของครู ขนั้ ตอนการเรยี นหรือกจิ กกรมของนักเรียน

ขั้นเตรียมหรือข้นั นา

1. ครทู าการอบรมคุณธรรม จริยธรรม เรอ่ื ง 1. นกั ศกึ ษารับฟังการอบรมคุณธรรม

การตรงต่อเวลาซงึ่ เปน็ เรื่องท่ีมคี วามสาคญั จริยธรรม และแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับการตรงต่อ

อยา่ งยงิ่ สาหรับการเปน็ ช่างท่ีดี เช่น การทางาน เวลา

หรอื การนัดหมายจะต้องมีการกาหนดเวลาไว้

อย่างชดั เจน

2. ครทู บทวนเนอื้ หาทีส่ อนในแผนการสอน 2. นักศกึ ษารับฟังครสู รุปทบทวนเน้อื หาใน

หนว่ ยที่ 3 เพอื่ เป็นการกระตุ้นใหน้ ักศึกษา แผนการสอนหนว่ ยท่ี 3 และจดบนั ทกึ ลงใน

พรอ้ มท่จี ะเรียน โดยสรุปประเดน็ สาคญั ของ สมดุ พรอ้ มทง้ั ตอบคาถามท่ีครูซักถาม

เน้อื หา และซักถามนักศึกษาเปน็ รายบุคคล

และเป็นกลุ่ม

ขั้นสอน 1. นักศกึ ษาจดบันทึกตามท่คี รอู ธบิ ายลงใน
1. ครูอธิบายหน้าทขี่ องระบบจุดระเบิดและ สมุด
สว่ นประกอบของระบบจดุ ระเบดิ 2. นักศึกษาตอบคาถาม และชว่ ยกันสรุป
2. ครใู ห้นกั ศึกษาคนใดคนหนงึ่ บอกหน้าท่ีของ หน้าทข่ี องระบบจดุ ระเบิดและสว่ นประกอบ
ระบบจุดระเบิดพร้อมทั้งบอกชือ่ และหน้าท่ี ของระบบจุดระเบดิ
ส่วนประกอบของระบบจุดระเบดิ และให้
นกั ศึกษาคนอ่ืน ๆ ช่วยกันสรุป

3. ครสู รปุ หน้าท่ีของระบบจุดระเบิดและ 3. นักศกึ ษารับฟังครสู รปุ และจดบันทึกลง
ส่วนประกอบของระบบจุดระเบดิ เพิ่มเติม โดย ในสมุด
ใช้แผ่นใสแผน่ ท่ี 120-133 เรอื่ ง หนา้ ที่ของ
ระบบจดุ ระเบิดและสว่ นประกอบของระบบจุด 4. นกั ศกึ ษาจดบันทึก ตามทคี่ รูอธิบายลงใน
ระเบิด สมดุ
4. ครอู ธบิ าย เร่ือง ระบบการปรับแตง่ เวลา 5. นกั ศกึ ษาตอบคาถาม และชว่ ยกนั สรุป
การจุดระเบดิ
5. ครูให้นักศกึ ษาคนใดคนหน่ึงอธบิ ายระบบ 6. นกั ศกึ ษารบั ฟงั ครสู รุป และจดบันทึกลงใน
การปรบั แต่งเวลาการจดุ ระเบิด และให้ สมุด
นักศึกษาคนอ่นื ๆ ช่วยกันสรปุ
6. ครสู รุปซา้ และอธบิ ายเพ่ิมเตมิ โดยใช้ 7. นกั ศึกษาแบ่งกลมุ่ ตามที่ครจู บั สลาก
แผ่นใสแผน่ ที่ 134-136 เร่ือง ระบบการ แลว้ ช่วยกันระดมสมองภายในกลมุ่ สรปุ
ปรับแตง่ เวลาการจุดระเบิด หัวขอ้ ต่าง ๆ ท่ีครูแบ่งให้แต่ละกลุ่ม
ขั้นสรปุ และวัดผล
7. ครูจบั สลาก แบ่งกลุ่มนักศึกษาแล้วใหแ้ ต่ 8. นกั ศึกษาแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมา
ละกล่มุ ช่วยกันระดมสมอง หวั ข้อต่าง ๆ ดงั น้ี สรุปหนา้ ชนั้ เรียน
9. นกั ศกึ ษาตอบคาถามลงในแบบประเมินผล
- หน้าท่ีของระบบจดุ ระเบิด การเรียนร้ทู ่ี 4 แลว้ รว่ มกันเฉลยคาตอบและ
- ส่วนประกอบของระบบจดุ ระเบิด ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นร้ทู ่ี 4 พร้อม
- ระบบการปรับแตง่ เวลาการจดุ ระเบิด กนั ในช้ันเรียน
8. ครูให้นกั ศึกษาแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมา
สรุปหนา้ ชนั้ เรยี น
9. ครแู จกแบบประเมินผลการเรียนรู้ท่ี 4 แล้ว
ใหน้ ักศึกษาตอบคาถามลงในแบบประเมินผล
การเรียนรูท้ ่ี 4 โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาที
แล้วร่วมกนั เฉลยคาตอบในช้ันเรียน

ส่อื การเรียนการสอน
สอื่ สง่ิ พิมพ์

1. ศรณี รงค์ ตูท้ องคา และคณะ. ทฤษฎแี ก๊สโซลนี . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์เจริญธรรม, 2541.
2. ศรีณรงค์ ตู้ทองคา และคณะ. ปฏิบัตแิ ก๊สโซลนี . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์เจรญิ ธรรม, 2541.
3. พงศ์ศกั ดิ์ ศิริขนั ธ์ และคณะ. งานเครอ่ื งยนต์เบื้องต้น. นนทบรุ ี : เจริญรุ่งเรอื งการพมิ พ์,

2546.
4. ศรีณรงค์ ตูท้ องคา และคณะ. การปรับแตง่ เครื่องยนต์. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม,

2541.
ส่อื โสตทศั น์ ( ถา้ มี )
1. แผน่ ภาพ แสดงลักษณะระบบจดุ ระเบิดและสว่ นประกอบของระบบจดุ ระเบิด
2. แผน่ ใส

ห่นุ จาลองหรือของจรงิ ( ถ้ามี )
1. แบตเตอร่ี ( Battery )
2. แอมมเิ ตอร์ ( Ammeter )
3. คอลย์ จุดระเบดิ ( Ignition coil )
3. จานจา่ ย ( Distributor )
4. คอนเดนเซอร์หรือคาร์ปาซิเตอร์ ( Condenser or capacitor )
5. หน้าทองขาว ( Contact )
6. สายไฟแรงสงู ( High tension cable )
7. หัวเทยี น ( Spark plug )

และ
7.1 เครือ่ งมือประเมิน

- ใบงานที่ 4
- แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 4
7.2 เกณฑ์การประเมิน
- เก็บคะแนนจากใบงานเพื่อใชเ้ ป็นส่วนหนง่ึ ในการประเมินผลการเรียน
-แบบประเมินผลการเรยี นรู้ ผู้เรยี นจะตอ้ งได้คะแนน 70 เปอร์เซน็ ตข์ น้ึ ไปถึงจะผ่าน

เกณฑ์

8. บันทึกผลหลังการจัดการเรยี นรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………

9. ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………

.................................................. ผ้สู อน
วนั ท่ี ..............................................

10. ความเห็นของผบู้ ริหาร/ผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

.................................................. ผ้บู ริหาร
วนั ที่ ..............................................

รหสั วิชา.. 20101-2101… ชอื่ วิชา …งานเครื่องยนต์แก๊สโซลนี ……… …5 … 5…
……ระบบหล่อลื่นเครือ่ งยนตแ์ ก๊สโซลนี …… ล … 12…

1.
เคร่ืองยนตแ์ กส๊ โซลีนประกอบด้วยชน้ิ ส่วนทอี่ ยู่กับท่แี ละช้ินสว่ นท่เี คล่ือนที่ ซึ่งเมื่อเคร่อื งยนต์

ทางานจะทาใหช้ ้นิ สว่ นทเี่ คลอื่ นทเี่ กดิ การเสยี ดสีกนั ข้ึน ทาใหเ้ กิดความร้อนและจะทาให้ชิน้ สว่ นเกดิ การสกึ
หรออย่างรวดเรว็ จึงจาเป็นจะตอ้ งมกี ารหล่อลนื่ ชิน้ สว่ นของเครือ่ งยนต์ โดยการใชน้ ้ามนั หล่อล่นื และ
จาระบี เพ่ือทาให้ช้นิ ส่วนของเครื่องยนต์ยนต์มีอายุการใช้งานที่ยาวนานยง่ิ ขนึ้

สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ ( ความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี )
1. บอกหน้าทขี่ องน้ามันหล่อล่นื ได้ถูกต้อง
2. บอกคณุ สมบตั ิของน้ามันหล่อลน่ื ไดถ้ กู ต้อง
3. อธิบายความหายของนา้ มนั หล่อล่นื พนื้ ฐานได้ถูกต้อง
4. อธบิ ายคณุ สมบัติต่าง ๆ ของสารเพิม่ คุณภาพไดถ้ ูกต้อง
5. อธบิ ายการแยกประเภทของน้ามันเคร่ืองได้ถูกต้อง
6. บอกชนิดของการหล่อลื่นได้ถูกต้อง
7. บอกช่อื และหน้าทีส่ ่วนประกอบของระบบหล่อล่นื เคร่ืองยนต์ได้ถูกตอ้ ง
8. ความมีวินัย : การแต่งกาย, การตรงต่อเวลา
9. ความรับผิดชอบ : ทางานเสรจ็ ทันตามเวลาที่กาหนด
10. ความสนใจใฝ่รู้ : มคี วามสนใจในการหาความรเู้ พิ่มเติม, การกระตือรอื รน้ ท่ีจะเรยี นรู้
11. ความมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ : ยอมรบั ความคิดเห็นผอู้ ่นื
12. ความอดทน อดกล้นั : มสี ตคิ วบคมุ อารมณไ์ ด้ดี

เนอ้ื หาสาระ
5. ระบบหลอ่ ลื่นเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี ( Gasoline engine of lubrication system )

5.1 หน้าทขี่ องนา้ มนั หล่อลื่น
5.2 คณุ สมบตั ขิ องนา้ มันหลอ่ ลน่ื
5.3 น้ามันหลอ่ ลืน่ พนื้ ฐาน ( Basic oils )
5.4 สารเพมิ่ คุณภาพ ( Additives )

5.4.1 คุณสมบัติในการหลอ่ ลนื่
5.4.2 คณุ สมบตั ใิ นการรักษาความสะอาด
5.4.3 คณุ สมบัตใิ นการระบายความร้อน
5.4.4 คณุ สมบตั ิในการป้องกนั การกัดกร่อน
5.4.5 ปอ้ งกนั การร่ัวซึมของแก๊ส
5.5 การแยกประเภทน้ามันเครือ่ ง
5.5.1 มาตรฐานการแยกประเภทน้ามันเครื่องตามความหนดื
5.5.2 มาตรฐานการแยกประเภทน้ามันเคร่ืองตามสภาพการใช้งาน
5.6 ชนดิ ของการหลอ่ ลื่น ( Type of lubricating system )
5.6.1 ระบบวิดสาด (Splash system)
5.6.2 ระบบใช้แรงดนั (Pressure system)
5.7 สว่ นประกอบของระบบหล่อลื่นเคร่ืองยนต์
5.7.1 ปม๊ั น้ามนั เครื่อง ( Oil pump )
5.7.2 กรองน้ามันเครอื่ ง ( Oil filter )

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ข้ันตอนการสอนหรอื กจิ กรรมของครู ขัน้ ตอนการเรียนหรอื กิจกกรมของนักเรียน

ขัน้ เตรียมหรือขน้ั นา

1. ครูทาการอบรมคุณธรรม จริยธรรม และ 1. นกั ศึกษารบั ฟังการอบรมคุณธรรม

ข้อคิดเห็นในการอดทน อดกลัน้ โดยการมีสติ จริยธรรม และขอ้ คดิ เหน็ ในการอดทน อด

ควบคุมอารมรณ์ของตนเองให้ดไี ม่เปน็ คนใจ กลน้ั โดยการมีสตคิ วบคุมอารมณข์ องตนเอง

รอ้ นหรอื ประมาทในขณะปฏิบตั ิงาน ให้ดี

2. ครูทบทวนเนือ้ หาทสี่ อนในแผนการสอน

หน่วยท่ี 4 เพื่อเปน็ การกระตุ้นให้นักศึกษา 2. นกั ศึกษารบั ฟังครูสรปุ ทบทวนเนอื้ หาใน

พรอ้ มท่ีจะเรยี น โดยสรปุ ประเดน็ สาคญั ของ แผนการสอนหน่วยท่ี 4 และจดบนั ทึกลงใน

เนื้อหา และซกั ถามนักศึกษาเปน็ รายบุคคล สมดุ พรอ้ มท้ังตอบคาถามที่ครซู ักถาม

และเป็นกลุ่ม

ขน้ั สอน 1. นกั ศึกษาจดบนั ทกึ ตามท่ีครอู ธิบายลงใน
1. ครอู ธิบายหน้าที่ของระบบหล่อลน่ื และ สมดุ
คุณสมบัติของน้ามันหลอ่ ลนื่ 2. นกั ศึกษาตอบคาถาม และช่วยกนั สรปุ
2. ครูถามทบทวน โดยการสุ่มถามเป็น
รายบคุ คล และใหน้ ักศึกษาร่วมกันสรปุ 3. นักศกึ ษาชว่ ยกันสรปุ เรอ่ื ง หนา้ ท่ขี อง
3. ครใู ห้นักเรยี นคนใดคนหนึ่งบอกหนา้ ทีข่ อง ระบบหลอ่ ลื่นและคณุ สมบตั ิของนา้ มันหล่อลื่น
ระบบหล่อล่ืน และคณุ สมบตั ิของน้ามนั หล่อลน่ื 4. นักศึกษารับฟังครูสรปุ และจดบนั ทึกลง
และใหน้ กั ศกึ ษาคนอน่ื ๆ ชว่ ยกนั สรุป ในสมดุ
4. ครสู รุปหนา้ ท่ขี องระบบหลอ่ ลนื่ และ
คณุ สมบัติของน้ามนั หล่อลน่ื เพ่ิมเติมโดยใช้ 5. นักศกึ ษาฟังครูอธิบาย และจดบันทกึ
แผ่นใสแผ่นที่ 138-139 เรอ่ื งหน้าที่ของระบบ เน้อื หา เรื่อง นา้ มนั หล่อลน่ื พน้ื ฐาน สารเพิ่ม
หลอ่ ล่นื และคุณสมบตั ขิ องน้ามันหล่อลื่น คณุ ภาพและการแยกประเภทของน้ามันเคร่ือง
5. ครอู ธบิ ายความหมายของน้ามันหล่อล่ืน
พื้นฐาน สารเพมิ่ คณุ ภาพและการแยกประเภท
ของนา้ มนั เครื่อง

6. ครูให้นักเรียนชว่ ยกนั อธิบายความหมายของ 6. นักศกึ ษาชว่ ยกันสรุป เรื่อง นา้ มนั หล่อลน่ื
นา้ มันหลอ่ ลื่นพ้ืนฐาน สารเพ่ิมคุณภาพและการ พื้นฐาน สารเพิม่ คุณภาพและการแยกประเภท
แยกประเภทของนา้ มนั เครอื่ ง ของนา้ มันเครื่อง
7. ครูสรุปซา้ เรื่อง น้ามนั หล่อลนื่ พ้นื ฐาน สาร 7. นกั ศกึ ษาฟงั ครูสรปุ แลว้ จดบันทกึ ลงใน
เพม่ิ คุณภาพและการแยกประเภทของ สมดุ
น้ามันเครอื่ งโดยใชแ้ ผ่นใสแผ่นที่ 140-149 เรอ่ื ง
น้ามนั หล่อลื่นพนื้ ฐาน สารเพ่ิมคุณภาพและการ 8. นกั ศึกษาจดบนั ทึกตามทค่ี รูอธิบายลงใน
แยกประเภทของนา้ มนั เครอ่ื ง สมดุ
8. ครูอธิบายชนิดของการหล่อล่นื และหนา้ ท่ี 9. นักศกึ ษาตอบคาถามและชว่ ยกันสรปุ
ของส่วนประกอบระบบหล่อล่ืนเคร่อื งยนต์
9. ครใู ห้นักศึกษาคนคนหนึ่งบอกชนิดของการ 10. นกั ศึกษารบั ฟังครูสรุป และจดบนั ทึกลง
หล่อล่ืน และหน้าทข่ี องส่วนประกอบระบบหล่อ ในสมุด
ลื่นเครอ่ื งยนต์
10. ครูสรปุ เร่ืองชนดิ ของการหลอ่ ล่นื และหนา้ ที่ 11. นกั ศึกษาแบ่งกลมุ่ ตามที่ครจู ับสลาก
ของสว่ นประกอบระบบหลอ่ ลื่นเครอ่ื งยนต์ แล้วชว่ ยกันระดมสมองภายในกลมุ่ สรุป
เพิ่มเติม โดยใช้แผ่นใสแผ่นท่ี 150-155 เรอ่ื ง หัวขอ้ ตา่ ง ๆ ที่ครแู บง่ ให้แต่ละกลุ่ม
ชนิดของการหลอ่ ล่นื และส่วนประกอบระบบ
หลอ่ ลน่ื เครื่องยนต์
ข้ันสรุปและวดั ผล
11. ครูจบั สลากแบง่ กลุ่มนักศกึ ษาแล้วให้แต่ละ
กลมุ่ ช่วยกันระดมสมองหวั ข้อต่าง ๆ ดังนี้

- หนา้ ทีข่ องนา้ มนั หล่อล่ืน
- คณุ สมบัตขิ องน้ามันหล่อลน่ื
- น้ามนั หลอ่ ล่นื พ้ืนฐาน
- สารเพมิ่ คุณภาพ
- การแยกประเภทของนา้ มันเคร่ือง
- ชนดิ ของการหลอ่ ล่ืน
-ส่วนประกอบของระบบหลอ่ ลื่นเครอื่ งยนต์

12. ครูใหน้ กั ศึกษาแตล่ ะกลุ่ม ส่งตัวแทน 12. นกั ศึกษาแต่ละกลุ่ม ส่งตัวแทนออกมา
ออกมาสรุปหนา้ ช้นั เรยี น สรปุ หนา้ ชน้ั เรยี น
13. ครแู จกแบบประเมินผลการเรยี นรทู้ ี่ 5 13. นกั ศึกษาตอบคาถามลงในแบบ
แล้วใหน้ กั ศึกษาตอบคาถามลงในแบบ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ท่ี 5 แล้วช่วยกันเฉลย
ประเมินผลการเรียนรทู้ ่ี 5 โดยใช้เวลา คาตอบและตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู่ที่
ประมาณ 10 นาทแี ล้วช่วยกนั เฉลยคาตอบใน 5 พรอ้ มกนั ในชัน้ เรยี น
ชน้ั เรยี น

สื่อการเรยี นการสอน
ส่ือส่ิงพิมพ์

1. ศรณี รงค์ ตู้ทองคา และคณะ. ทฤษฎีแกส๊ โซลีน. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์เจริญธรรม, 2541.
2. ศรีณรงค์ ตทู้ องคา และคณะ. ปฏิบตั แิ ก๊สโซลีน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พเ์ จรญิ ธรรม, 2541.
3. พงศ์ศกั ดิ์ ศิริขันธ์ และคณะ. งานเครอื่ งยนตเ์ บื้องต้น. นนทบรุ ี : เจริญรุ่งเรอื งการพิมพ์,

2546.
4. ศรีณรงค์ ตู้ทองคา และคณะ. การปรับแต่งเครื่องยนต์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์เจรญิ ธรรม,

2541.
5. ศรณี รงค์ ต้ทู องคา และคณะ. การซอ่ มเครอื่ งยนต์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเ์ จริญธรรม, 2541.
6. โตโยตา้ . ค่มู ือการซ่อมเคร่ืองยนต์ 1Y, 2Y : บริษทั โตโยต้ามอเตอรป์ ระเทศไทย จากัด,

2529.
สื่อโสตทัศน์ ( ถา้ มี )
1. แผน่ ภาพ แสดงลกั ษณะ ชนิดของการหลอ่ ลน่ื เครือ่ งยนต์แกส๊ โซลีน
2. แผน่ ใส

ห่นุ จาลองหรอื ของจรงิ ( ถ้ามี )
1. ปม๊ั นา้ มันหลอ่ ลน่ื แบบเฟือง
2. ปม๊ั น้ามนั หลอ่ ลืน่ แบบโรเตอร์
3. กรองน้ามนั เคร่ือง ( Oil filter )
4. นา้ มนั หล่อลนื่ เครอื่ งยนตช์ นิดต่าง ๆ

และ
7.1 เครื่องมือประเมิน

- ใบงานที่ 4
- แบบประเมินผลการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 4
7.2 เกณฑ์การประเมนิ
- เกบ็ คะแนนจากใบงานเพื่อใชเ้ ป็นส่วนหน่ึงในการประเมนิ ผลการเรยี น
-แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ ผ้เู รยี นจะต้องไดค้ ะแนน 70 เปอร์เซน็ ต์ขน้ึ ไปถึงจะผ่าน

เกณฑ์

8. บนั ทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………

9. ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………

.................................................. ผ้สู อน
วันท่ี ..............................................

10. ความเหน็ ของผบู้ ริหาร/ผทู้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

.................................................. ผ้บู ริหาร
วันที่ ..............................................

รหัสวิชา.. 20101-2101… ชอื่ วชิ า …งานเคร่อื งยนต์แกส๊ โซลีน……… … 6… 6…

………ระบบระบายความร้อนเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลีน… … ล … 12…

1.
ในขณะทเ่ี คร่ืองยนต์ทางานหรือเคร่ืองยนต์หมุน จะทาใหเ้ กิดความร้อนสงู มากภายในเครอ่ื งยนต์

จึงจาเป็นจะต้องมีการระบายความร้อนออกจากเคร่ืองยนต์ ซึ่งเปน็ การรักษาอุณหภมู ิการทางานของ
เคร่ืองยนต์ให้สามารถทางานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยมวี ิธกี ารระบายความร้อนให้กบั เคร่อื งยนต์อยู่ 2
วิธี คอื การระบายความรอ้ นด้วยอากาศและการระบายความรอ้ นดว้ ยน้า

2. สมรรถนะทีพ่ ึงประสงค์ ( ความรู้ ทักษะ คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี )
1. บอกหน้าที่ของระบบระบายความร้อนได้ถกู ต้อง
2. บอกชนดิ ของการระบายความร้อนไดถ้ ูกตอ้ ง
3. บอกชือ่ และหน้าทส่ี ่วนประกอบของระบบระบายความร้อนได้ถูกตอ้ ง
4. ความมีวินยั : การแต่งกาย, การตรงต่อเวลา
5. ความรับผิดชอบ : ทางานเสรจ็ ทนั ตามเวลาที่กาหนด
6. ความสนใจใฝร่ ู้ : มคี วามสนใจในการหาความรู้เพ่ิมเติม, การกระตือรอื ร้นที่จะเรยี นรู้
7. ความมีมนษุ ยส์ ัมพนั ธ์ : ยอมรบั ความคิดเหน็ ผู้อื่น
8. ความอดทน อดกล้ัน : มสี ติควบคุมอารมณ์ไดด้ ี
9. ความซือ่ สัตยส์ จุ ริต : ไมน่ าผลงานผู้อ่นื มาแอบอ้างเปน็ ของตน
10. การประหยดั : ใช้วสั ดทุ เ่ี หมาะสมกบั งาน, ปิดไฟฟ้าและน้าทุกครัง้ ท่ีเลิกใช้

3. เนือ้ หาสาระ
3.1 ระบบระบายความร้อนของเครื่องยนต์แก๊สโซลนี ( Gasoline engine of cooling system )

- หน้าท่ขี องระบบระบายความรอ้ น
- ชนดิ ของการระบายความร้อน

- การระบายความร้อนดว้ ยอากาศ
- การระบายความร้อนด้วยน้า

3.2 ส่วนประกอบของระบบระบายความร้อนด้วยน้า
1 ทางน้า ( Water jacket )
2 หมอ้ น้า ( Radiator )
3 ฝาปดิ หมอ้ น้า ( Radiator cap )
4 พัดลมเคร่อื งยนต์ ( Engine fan )
5 ป๊ัมนา้ ( Water pump )
6 เทอร์โมสแตท ( Thermostat )

กิจกรรมการเรียนการสอน

ข้ันตอนการสอนหรอื กิจกรรมของครู ขน้ั ตอนการเรยี นหรอื กิจกกรมของนักเรียน

ขัน้ เตรยี มหรือขัน้ นา

1. ครทู าการอบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม และ 1. นกั ศกึ ษารบั ฟงั การอบรมคุณธรรม

ขอ้ คิดเหน็ ในเร่ืองความมวี นิ ยั เช่น การแตง่ จริยธรรม และข้อคิดเหน็ ในเรอ่ื งความมีวินัย

กายจะต้องถูกต้องตามระเบียบของสถานศึกษา และความตรงตอ่ เวลา

และการตรงต่อเวลาไม่ว่าจะเปน็ การเข้าร่วม

กิจกรรมหนา้ เสาธงหรือการเข้าเรยี นในแต่ละ

รายวิชา นักศกึ ษาควรจะมีความตรงต่อเวลา

2. ครูทบทวนเนอื้ หาท่สี อนในแผนการสอน 2. นักศกึ ษารับฟังครูสรุปทบทวนเน้ือหาใน

หน่วยที่ 5 เพ่อื เป็นการกระตุ้นให้นักศึกษา แผนการสอนหน่วยท่ี 5 และจดบันทกึ ลงใน

พร้อมที่จะเรียน โดยสรปุ ประเด็นสาคัญเนื้อหา สมดุ พรอ้ มทัง้ ตอบคาถามท่ีครูซกั ถาม

และซกั ถามนักศึกษาเป็นรายบคุ คลและเป็น

กลุม่

ขนั้ สอน 1. นกั ศึกษาจดบันทกึ ตามท่ีครอู ธบิ ายลงใน
1. ครูอธิบายถึงหน้าทข่ี องระบบระบายความ สมุด
รอ้ น 2. นกั ศึกษาชว่ ยกันสรุปหน้าท่ีของระบบ
2. ครใู ห้นกั ศกึ ษาคนใดคนหนง่ึ บอกหนา้ ที่ของ ระบายความร้อน
ระบบระบายความร้อน และใหน้ กั ศึกษาคนอน่ื
ๆ ชว่ ยกันสรปุ 3. นักศกึ ษารบั ฟงั ครูสรปุ และจดบนั ทึกลง
3. ครสู รุปหนา้ ทขี่ องระบบระบายความร้อน

เพ่มิ เติม โดยใช้แผน่ ใสแผ่นที่ 158 เรื่อง ในสมุด
หนา้ ที่ของระบบระบายความรอ้ น
4.ครูอธิบายชนิดของการระบายความร้อนและ 4. นักศกึ ษาฟังครูอธิบาย และจดบันทกึ
หน้าทสี่ ่วนประกอบของระบบระบายความร้อน เนื้อหาลงในสมดุ
ด้วยน้า
5. ครใู หน้ กั ศึกษาช่วยกันอธิบายชนดิ ของการ 5. นกั ศกึ ษาช่วยกันสรปุ เรอื่ ง ชนดิ ของการ
ระบายความร้อนและหนา้ ทสี่ ่วนประกอบของ ระบายความร้อนและหน้าทส่ี ่วนประกอบของ
ระบบระบายความร้อนดว้ ยน้า ระบบระบายความร้อนดว้ ยน้า

6. ครูสรปุ ซ้าเรื่องชนิดของการระบายความ 6. นกั ศึกษาฟงั ครสู รุป แลว้ จดบันทกึ ลงใน
ร้อนและหน้าทส่ี ่วนประกอบของระบบระบาย สมดุ
ความรอ้ นดว้ ยนา้ โดยใชแ้ ผน่ ใสแผ่นท่ี159-177
เรือ่ งชนดิ ของการระบายความรอ้ นและหนา้ ที่
ส่วนประกอบของระบบระบายดว้ ยน้า

ขน้ั สรุปและวัดผล

7. ครจู ับสลากแบง่ กลมุ่ นักศกึ ษาแล้วใหแ้ ต่ละ 7. นกั ศึกษาแบ่งกลมุ่ ตามท่ีครจู บั สลาก แลว้

กล่มุ ช่วยกันระดมสมองหัวข้อตา่ ง ๆ ดงั น้ี ช่วยกนั ระดมสมองภายในกลุ่ม สรปุ หัวขอ้ ตา่ ง

- หนา้ ท่ีของระบบระบายความรอ้ น ๆ ท่ีครแู บ่งให้แต่ละกลุ่ม

- ชนิดของการระบายความร้อน

- สว่ นประกอบของระบบระบายความ

ร้อน

ดว้ ยน้า 8. นกั ศกึ ษาแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมา

8. ครใู ห้นักศึกษาแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมา สรปุ หนา้ ชน้ั เรียน

สรุปหนา้ ชนั้ เรียน 9. นกั ศึกษาตอบคาถามลงในแบบประเมนิ

9. ครแู จกแบบประเมินผลการเรยี นรู้ท่ี 6 แล้ว ผลการเรียนรทู้ ่ี 6 แลว้ ร่วมกนั เฉลยคาตอบ

ใหน้ กั ศึกษาตอบคาถามลงในแบบประเมินผล และตรวจแบบประเมินผลการเรียนรทู้ ่ี 6

การเรยี นรูท้ ี่ 6 โดยใช้เวลาประมาณ 10 พรอ้ มกันในชัน้ เรยี น

นาทแี ลว้ ชว่ ยกันเฉลยคาตอบในชนั้ เรยี น

ส่อื การเรียนการสอน
สอื่ สิง่ พิมพ์

1. ศรีณรงค์ ตู้ทองคา และคณะ. ทฤษฎแี กส๊ โซลีน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์เจริญธรรม, 2541.
2. ศรีณรงค์ ตู้ทองคา และคณะ. ปฏบิ ัติแกส๊ โซลีน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เจรญิ ธรรม, 2541.
3. พงศ์ศกั ดิ์ ศิริขนั ธ์ และคณะ. งานเครอื่ งยนตเ์ บื้องตน้ . นนทบุรี : เจรญิ รุ่งเรอื งการพมิ พ,์

2546.
4. ศรณี รงค์ ตทู้ องคา และคณะ. การปรบั แตง่ เครื่องยนต์. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์เจรญิ ธรรม,

2541.
สื่อโสตทัศน์ ( ถา้ มี )
1. แผ่นภาพ แสดงลักษณะชนดิ ของการระบายความร้อน
2. แผน่ ใส

หนุ่ จาลองหรือของจรงิ ( ถ้ามี )
1. หม้อน้า ( Radiator )
2. ฝาปดิ หมอ้ นา้ ( Radiator cap )
3. เทอร์โมสตัท ( Thermostat )
4. ป๊มั น้า ( Water pump )
5. พดั ลมเคร่ืองยนต์ ( Engine fan )

และ
7.1 เครื่องมือประเมิน

- ใบงานที่ 7
- แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ หน่วยท่ี 7
7.2 เกณฑ์การประเมิน
- เก็บคะแนนจากใบงานเพื่อใช้เปน็ สว่ นหน่ึงในการประเมนิ ผลการเรียน
-แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ผูเ้ รยี นจะตอ้ งไดค้ ะแนน 70 เปอรเ์ ซ็นตข์ ้นึ ไปถึงจะผ่าน

เกณฑ์

8. บนั ทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………

9. ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………

.................................................. ผ้สู อน
วันท่ี ..............................................

10. ความเหน็ ของผบู้ ริหาร/ผทู้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………

.................................................. ผ้บู ริหาร
วันที่ ..............................................

รหสั วิชา.. 20101-2101… ช่ือวชิ า …งานเครื่องยนตแ์ กส๊ โซลีน……… …7 … 7…

……ระบบไอดแี ละระบบไอเสียเครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลีน……… ล … 6…

1.
ระบบไอดี ( Intake system ) คือ กระบวนการทาให้อากาศสะอาด บรสิ ทุ ธิ์ กอ่ นท่จี ะเข้าไป

ภายในกระบอกสูบ โดยอากาศจะต้องผา่ นการกรองฝ่นุ ละอองหรือสง่ิ แปลกปลอมท่ปี ะปนมากบั อากาศ
ระบบไอเสีย ( Exhaust system ) คอื การนาเอาความร้อนออกจากเคร่ืองยนต์ ลดเสียงดงั ท่ี

เกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงภายในกระบอกสูบ และรวมแก๊สไอเสยี ของแต่ละสบู ให้เข้าไปภายในท่อ
เดียวกนั เพือ่ ส่งออกไปสบู่ รรยากาศภายนอก

2. สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ ( ความรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ )
1. บอกหนา้ ที่ของระบบไอดแี ละระบบไอเสยี ของเคร่ืองยนต์แก๊สโซลนี ได้ถกู ตอ้ ง
2. บอกชื่อและหน้าท่สี ว่ นประกอบของระบบไอดเี คร่ืองยนต์แก๊สโซลีนไดถ้ ูกต้อง
3. บอกชอื่ และหนา้ ทส่ี ่วนประกอบของระบบไอเสียเครื่องยนต์แกส๊ โซลนี ได้ถูกต้อง
4. ความมวี นิ ยั : การแต่งกาย, การตรงตอ่ เวลา
5. ความรับผดิ ชอบ : ทางานเสรจ็ ทันตามเวลาทกี่ าหนด
6. ความสนใจใฝ่รู้ : มีความสนใจในการหาความร้เู พ่ิมเติม, การกระตือรอื รน้ ทจ่ี ะเรยี นรู้
7. ความมีมนุษยส์ มั พนั ธ์ : ยอมรับความคดิ เห็นผอู้ ่นื
8. ความอดทน อดกลน้ั : มีสติควบคุมอารมณไ์ ด้ดี
8. ความซอ่ื สตั ยส์ ุจริต : ไม่นาผลงานผูอ้ ื่นมาแอบอ้างเปน็ ของตน
9. การประหยัด : ใช้วัสดุท่เี หมาะสมกบั งาน, ปิดไฟฟ้าและนา้ ทุกคร้ังท่ีเลกิ ใช้
10. ความกตัญญูกตเวที : อาสาช่วยเหลอื งานครู – อาจารย์ และสว่ นรวม

3. เน้ือหาสาระ

1. ระบบไอดีและระบบไอเสยี เคร่อื งยนตแ์ ก๊สโซลนี

2. หน้าทข่ี องระบบไอดแี ละระบบไอเสยี เคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน

3. สว่ นประกอบของระบบไอดเี คร่อื งยนต์แก๊สโซลนี

1 ลนิ้ ไอดี ( Intake valve )

2 ท่อไอดี ( Intake pipe )

3 หมอ้ กรองอากาศ ( Air cleaner )

4. สว่ นประกอบของระบบไอเสียเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน

1 ลน้ิ ไอเสยี ( Exhaust valve )

2 ทอ่ รว่ มไอเสีย ( Exhaust manifold )

3 หมอ้ พักหรือหม้อเก็บเสยี ง ( Muffler )

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขัน้ ตอนการเรยี นหรอื กิจกกรมของนักเรียน

ข้ันเตรยี มหรือขนั้ นา

1. ครทู าการอบรมคณุ ธรรม จริยธรรม และ 1. นักศกึ ษารบั ฟงั การอบรมคุณธรรม

ขอ้ คิดเห็นในเรอื่ งความซื่อสตั ย์สจุ รติ การเป็น จริยธรรม และข้อคดิ เหน็ ในเรือ่ งความ

ช่างที่ดีหรอื การเป็นคนดนี ั้น จะต้องไม่ลักเลก็ ซือ่ สัตย์สจุ ริต

ขโมยนอ้ ย ไม่คดโกงผู้อ่นื และไม่นาผลงานผูอ้ ืน่

มาแอบอา้ งเปน็ ของตนเอง เพอื่ นาไปหา

ผลประโยชนใ์ ห้กับตนเอง ส่งิ เหลา่ นน้ี ักศกึ ษาไม่

ควรกระทาเป็นอยา่ งยงิ่

2. ครูทบทวนเนอ้ื หาท่สี อนในแผนการสอน 2. นักศกึ ษารบั ฟังครูสรปุ ทบทวนเนือ้ หาใน

หนว่ ยที่ 6 เพอ่ื เป็นการกระตุน้ ให้นกั ศึกษา แผนการสอนหน่วยท่ี 6 และจดบันทกึ ลงใน

พรอ้ มท่จี ะเรียน โดยสรุปประเด็นสาคญั เน้ือหา สมดุ พรอ้ มทง้ั ตอบคาถามท่ีครูซกั ถาม

และซักถามนักศึกษาเปน็ รายบคุ คลและเปน็

กลุ่ม

ขนั้ สอน 1. นักศึกษาจดบันทึกตามท่ีครูอธิบายลงใน
1.ครอู ธิบายถงึ หนา้ ทขี่ องระบบไอดีและระบบ สมดุ
ไอเสยี เคร่ืองยนต์แกส๊ โซลนี 2. นักศกึ ษาตอบคาถาม และชว่ ยกนั สรุป
2.ครูใหน้ ักศึกษาคนใดคนหน่งึ บอกหนา้ ทขี่ อง

ระบบไอดีและระบบไอเสียเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน 3. นกั ศกึ ษารบั ฟงั ครูสรุป และจดบนั ทึกลง
และให้นักศกึ ษาคนอืน่ ๆ ชว่ ยกันสรปุ ในสมุด
3.ครสู รุปซ้า เรอ่ื ง หนา้ ทข่ี องระบบไอดแี ละ
ระบบไอเสียเคร่ืองยนตแ์ ก๊สโซลนี โดยใช้ 4. นักศึกษาฟังครูอธิบาย และจดบนั ทกึ
แผ่นใสแผ่นที่ 179 เร่ือง หน้าท่ขี องระบบไอดี เนื้อหาลงในสมุด
และของระบบไอเสีย 5. นกั ศึกษาช่วยกนั สรุป เร่อื ง หนา้ ท่ี
4. ครอู ธิบายหนา้ ท่สี ่วนประกอบของระบบไอดี สว่ นประกอบของระบบไอดีและระบบไอเสยี
และระบบไอเสยี เครือ่ งยนตแ์ ก๊สโซลนี เครอ่ื งยนต์แกส๊ โซลนี
5. ครูให้นกั ศึกษาช่วยกนั อธบิ ายหนา้ ที่ 6. นกั ศกึ ษาฟงั ครูสรปุ แลว้ จดบนั ทึกลงใน
ส่วนประกอบของระบบไอดีและระบบไอเสีย สมุด
เครื่องยน๖แกส๊ โซลีน
6. ครสู รปุ เรอ่ื งหน้าท่ีส่วนประกอบของระบบไอดี
และส่วนประกอบของระบบไอเสียเคร่ืองยนต์แก๊ส
โซลนี เพิ่มเตมิ โดยใชแ้ ผน่ ใสแผ่นท่ี 180-189 เร่อื ง
สว่ นประกอบของระบบไอดี และสว่ นประกอบของ
ระบบไอเสียเครื่องยนตแ์ ก๊สโซลีน

ข้นั สรุปและวดั ผล 7. นกั ศกึ ษาแบ่งกลมุ่ ตามที่ครจู บั สลาก แลว้
7. ครจู ับสลากแบง่ กลุ่มนักศึกษา แลว้ ให้แต่ละ ช่วยกันระดมสมองภายในกลุ่ม สรุปหวั ข้อตา่ ง
กล่มุ ชว่ ยกนั ระดมสมอง หวั ข้อตา่ ง ๆ ดังน้ี ๆ ท่ีครแู บง่ ให้แต่ละกลุ่ม
- หนา้ ทขี่ องระบบไอดแี ละระบบไอเสยี
เครอ่ื งยนตแ์ กส๊ โซลีน 8. นักศกึ ษาแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนออกมาสรุป
- สว่ นประกอบของระบบไอดเี ครื่องยนต์ หน้าชัน้ เรียน
แกส๊ โซลนี 9. นกั ศึกษาตอบคาถามลงในแบบประเมิน
- ส่วนประกอบของระบบไอเสยี เคร่อื ง
ยนตแ์ ก๊สโซลนี
8. ครูให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมา
สรปุ หน้าช้ันเรยี น
9.ครูแจกแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ท่ี 7 แลว้
ให้นักศึกษาตอบคาถามลงในแบบประเมนิ ผล

การเรียนรู้ที่ 7 โดยใช้เวลาประมาณ 10 ผลการเรียนรทู้ ่ี 7 แลว้ รว่ มกนั เฉลยคาตอบ
นาที แลว้ รว่ มกนั เฉลยคาตอบในชั้นเรยี น และตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ที่ 7
พรอ้ มกันในช้ันเรยี น

ส่ือการเรียนการสอน
สือ่ ส่ิงพิมพ์

1. ศรีณรงค์ ต้ทู องคา และคณะ. ทฤษฎแี กส๊ โซลีน. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์เจริญธรรม, 2541.
2. ศรณี รงค์ ตูท้ องคา และคณะ. ปฏิบัตแิ ก๊สโซลีน. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ จริญธรรม, 2541.
3. พงศ์ศักด์ิ ศิริขนั ธ์ และคณะ. งานเครือ่ งยนต์เบื้องต้น. นนทบุรี : เจริญรุ่งเรืองการพมิ พ์,

2546.
4. ศรณี รงค์ ตู้ทองคา และคณะ. การปรับแตง่ เคร่ืองยนต์. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์เจรญิ ธรรม,

2541.

สื่อโสตทศั น์ ( ถา้ มี )
1. แผน่ ภาพ แสดงลักษณะโครงสรา้ งของระบบไอดแี ละระบบไอเสียของเคร่ืองยนต์แกส๊ โซลีน
2. แผ่นใส

หนุ่ จาลองหรอื ของจริง ( ถ้ามี )
1. ลิน้ ไอดี ( Intake valve )
2. ทอ่ ไอดี ( Intake pipe )
3. หมอ้ กรองอากาศ ( Air cleaner )
4. ล้ินไอเสีย ( Exhaust valve )
5. ท่อร่วมไอเสยี ( Exhaust manifold )
5. หม้อพักหรือหม้อเก็บเสียง ( Muffler )


Click to View FlipBook Version