การศกึ ษากระบวนการจัดการเรยี นรู้ในสภาวการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา
สายพันธใ์ หม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก
สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 32
The Study of Learning Process during Coronavirus Disease 2019
(COVID-19) Pandemic of Lahansairatchadapisek School under
The Secondary Educational Service Area Office 32
.
โดย
โรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก
สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 32
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
พ.ศ. 2563
.
ค
ช่ือเรอื่ ง การศกึ ษากระบวนการจดั การเรยี นรใู้ นสภาวการณแ์ พรร่ ะบาดของไวรสั โคโรน่าสายพนั ธใ์ หม่ 2019
(COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 32
ชอื่ คณะผวู้ ิจยั The Study of Learning Process During Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Pandemic of
ชอื่ ผู้เชีย่ วชาญ Lahansairatchadapisek School under The Secondary Educational Service Area Office 32
ปที ี่พมิ พ์ ประเสรฐิ ชัย พสิ าดรัมย์, ทกั ษณิ า จัตุกลู , กฤษณา ไสยาศร,ี เขมกิ า วงเวยี นและคณะ
อรทยั โรจน์สกุ จิ , พิสิทธ์ิ นอ้ ยพลี และบญุ เรอื ง อมั พาพัฒนะนันท์
2563
บทคัดย่อ
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ในสภาวการณ์แพรร่ ะบาดของไวรสั
โคโรน่าสายพนั ธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภิเษก 2) สารวจความคิดเหน็ ของครผู สู้ อนเกีย่ วกับ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ในสภาวการณแ์ พรร่ ะบาดของไวรสั โคโรน่าสายพันธใ์ หม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทราย
รชั ดาภเิ ษก กลมุ่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ครผู สู้ อน จานวน 147 คน โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภิเษก ภาคเรยี นท่ี 1
ปีการศึกษา 2563 กล่มุ ตัวอย่างทใี่ ช้ในการศึกษา คือ ครูผูส้ อนจานวน 25 คน โดยการสุ่มกลุ่มตัวอยา่ งแบบโควตา้ (Quota
Sampling) เครอ่ื งมือที่ใช้ในการรวบรวมขอ้ มูล ไดแ้ ก่ แบบสัมภาษณก์ ่งึ โครงสร้าง การวิเคราะหข์ อ้ มูลเชิงคณุ ภาพ โดยใช้การวิเคราะห์
เนอ้ื หา (Content Analysis)
ผลการวิจัย พบวา่
1. กระบวนการจดั การเรยี นรใู้ นสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนาสายพนั ธ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
ของโรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
ดา้ นชอ่ งทางการสื่อสารในการจดั การเรียนการสอน โรงเรียนเปดิ การเรยี นการสอนโดยแบ่งกลุ่มนักเรยี นออกเปน็
2 กลุม่ กลมุ่ A และ B สลบั สัปดาห์กนั มาเรยี น และรปู แบบ (Platform)หรอื เครื่องมอื ท่ีครูผสู้ อนเลอื กใช้ในการจัดการเรยี น
การสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนาสายพันธใ์ หม่ 2019 (COVID-19) เรยี งตามลาดบั ชอ่ งทางที่ใชม้ าก
ทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ Line Google Classroom Facebook คลปิ วิดีโอ Google Meet Google Form Zoom YouTube
Google Doc Google Jam Board DLTV E-mail และ Discord
ด้านรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ ครผู ้สู อนมีกระบวนการจัดการเรยี นรู้ เปน็ 4 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ ขัน้ นา
ขนั้ สอน ขัน้ สรุป และขน้ั ประเมนิ ผล โดยมแี นวทางการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 3 รปู แบบ ดงั นี้ รปู แบบท่ี 1 เรยี นในชัน้ เรียน
ออนไลน์ (On-Line) พร้อมกับคนทีเ่ รียน (On-site) แตม่ าสอบหรือส่งงานใหค้ รปู ระเมนิ ผลในวันทีเ่ รยี นในหอ้ งเรยี นจริง
(On-site) รูปแบบท่ี 2 เรียนในชน้ั เรยี นออนไลน์ (On-Line) พรอ้ มกับคนท่ีเรยี น (On-site) ส่งงานเพอ่ื ให้ครูประเมนิ ผล
หรอื สอบแบบออนไลน์ รูปแบบท่ี 3 แบบผสมนกั เรยี นสามารถเลอื กเรยี นออนไลน์ (On-Line) พรอ้ มกบั คนท่ีเรียน (On-site)
หรือสามารถเรียนจากสื่อ (On-Air) หรอื Classroom ทคี่ รจู ัดไวใ้ ห้ สง่ งานหรือทาแบบทดสอบวดั และประเมนิ ผล
ตามจดุ ประสงค์
ง
2. ความคิดเหน็ เกีย่ วกบั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนาสายพนั ธใ์ หม่
2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
ด้านความพรอ้ มของนักเรียนและครู ครูมคี วามพร้อมมาก เน่ืองจากมีการอบรมให้ความรใู้ นการจดั การเรียน
การสอนออนไลน์ แตข่ าดอุปกรณท์ เ่ี พยี งพอ นกั เรยี นมคี วามพรอ้ มระดับปานกลางไม่ถงึ รอ้ ยละ 80 บางสว่ นยงั ขาดอุปกรณ์
และสญั ญาณอินเทอรเ์ น็ต ดา้ นความเหมาะสมของชอ่ งทางการเรียนรู้ (On-Line, On–Site, On-Air) มคี วามเหมาะสม
ตามชว่ งวัยของนกั เรียน เชน่ การเรยี นแบบ On–Line เหมาะกบั นักเรียนมธั ยมศึกษา ตง้ั แต่ ม.1-ม.6, การเรยี นแบบ
On–Site เหมาะกับโรงเรยี นทมี่ ีพน้ื ท่ีควบคุมความปลอดภยั และการเรยี นแบบ On-Air เหมาะกบั เรยี นทีบ่ า้ น ชว่ ยปอ้ งกัน
การแพร่ระบาดของเชื้อโรคได้ และนกั เรยี นไดร้ บั การเรียนการสอน แตย่ ังมขี ้อจากัดนกั เรียนบางคนขาดความพรอ้ ม
ดา้ นเทคโนโลยี ขาดอปุ กรณ์ในการเรียน ขาดสญั ญาณอินเทอร์เนต็ ดา้ นรัฐควรส่งเสรมิ สนับสนนุ ในด้านใดบา้ ง
รฐั ควรสง่ เสรมิ 2 ด้าน คือ ดา้ นโรงเรียน ควรมสี ญั ญาณอินเทอร์เนต็ ทม่ี คี วามเร็วสงู ตอบสนองผใู้ ชเ้ ป็นจานวนมาก
ดา้ นนักเรียน นักเรียนขาดอุปกรณ์ เชน่ โทรศพั ท์ คอมพิวเตอร์ ขาดสญั ญาณอินเทอรเ์ น็ตขณะท่นี ักเรยี นอยูท่ ีบ่ า้ น
รัฐควรสนบั สนุนอุปกรณแ์ ละสญั ญาณอินเทอรเ์ นต็ ให้กบั นกั เรยี น
ดา้ นประโยชนข์ องการจดั การเรยี นการสอน (On–Line, On-Air) สามารถทดแทนการจดั กระบวนการเรยี น
การสอนตามปกตไิ ด้หรอื ไม่ สรปุ ไดว้ ่า สามารถทดแทนได้แตไ่ มใ่ ช่ท้ังหมด การจัดการเรยี นการสอนบางเนอ้ื หายังจาเปน็ ตอ้ ง
ใหน้ ักเรยี นมปี ฏิสมั พันธก์ ันในชนั้ เรยี น ด้านความพรอ้ มในการจดั การเรียนการสอนหากมีสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตอ่ ไป ครูมีความพรอ้ มในการสอน On-Line โดยสามารถพัฒนาส่ือและชอ่ งทาง
การสอนต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับนกั เรยี นย่ิงขึ้น
ด้านข้อดีของการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนาสายพันธใ์ หม่ 2019
(COVID-19) ช่วยลดการแพรร่ ะบาดของเชือ้ โรค นักเรยี นสามารถเรยี นซา้ ไดจ้ นกวา่ จะเข้าใจ พฒั นานกั เรียนและครู
ในการใช้เทคโนโลยี ส่งเสริมการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง และลดภาระคา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทาง ด้านข้อเสียของการจัดการเรยี น
การสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนาสายพันธใ์ หม่ 2019 (COVID-19) นักเรยี นไมม่ ีความพรอ้ ม
ด้านวินยั สมาธิ ส่อื อปุ กรณ์ อนิ เทอรเ์ น็ต ไมเ่ หมาะกบั วชิ าปฏบิ ตั ิและขาดทกั ษะแบบกลมุ่
กิตติกรรมประกาศ
งานวิจยั ฉบบั นี้สาเร็จสมบรู ณ์ได้ด้วยความกรณุ าและความชว่ ยเหลืออยา่ งดยี ง่ิ จาก
นายประเสริฐชัย พสิ าดรมั ย์ ตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรยี นละหานทรายรัชดาภิเษก เป็นท่ีปรึกษา
และอานวยการทาวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ นางอรทยั โรจนส์ กุ ิจ นายพิสิทธิ์ น้อยพลี
และนางสาวบุญเรือง อมั พาพฒั นะนันท์ ที่เปน็ ผ้เู ชยี่ วชาญการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือทีใ่ ช้
ในการวิจัย คณะวจิ ัยทร่ี ่วมมือในการจดั ทาวิจยั ใหส้ าเร็จ และตลอดจนขอขอบคณุ คณะครู โรงเรยี น
ละหานทรายรชั ดาภิเษกที่เข้ารว่ มการสัมภาษณเ์ ชิงลึก เพ่ือให้ข้อมูลและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ในสภาวการณ์แพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา่ สายพันธใ์ หม่ 2019 (COVID-19)
ของโรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก จนทาใหง้ านวจิ ยั นี้ประสบความสาเรจ็
คุณค่าและประโยชน์ของวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเคร่ืองบูชาพระคุณบิดามารดาและ
บูรพาจารย์ ผู้มีพระคุณทุกท่านท่ีมีส่วนสาคัญย่ิงในการสร้างพ้ืนฐานการศึกษาให้แก่คณะผู้วิจัย ตลอดจน
สานักเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ที่จะได้นาวิจัยเล่มน้ีไปดาเนินการเพื่อประโยชน์แก่การ
ศึกษาวิจยั โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบลตอ่ ไป
คณะผู้วจิ ยั
ตุลาคม 2563
จ
สารบัญ
บทที่ หน้า
บทคัดย่อ…………………………………………………………………………………………………………….… ค
กติ ตกิ รรมประกาศ…………………………………………………………………………………………….….. จ
สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………….….. ฉ
สารบัญตาราง…………………………………………………………………………………………….…….….. ช
1 บทนา.................................................................................................................................. 1
ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา ............................................................. 1
วตั ถุประสงค์การวจิ ยั ............................................................................................. 2
ความสาคัญของการวิจัย ..................................................................................... 3
ข้อตกลงเบอื้ งต้น ................................................................................................ 3
ขอบเขตของการวิจยั .......................................................................................... 3
นยิ ามศพั ท์เฉพาะ ............................................................................................... 3
2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยท่เี ก่ียวข้อง........................................................................... 5
โรงเรยี นละหานทรายรัชดาภิเษก.......................................................................... 5
แนวคิดเก่ยี วกับการเรียนการสอนทางไกล............................................................ 9
แนวคดิ เกีย่ วกับการเรียนการสอนออนไลน์........................................................... 10
แนวคิดเกีย่ วกับการวิเคราะหืขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ.................................................... 14
งานวิจัยทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ............................................................................................. 15
3 วิธดี าเนินการวิจยั .............................................................................................................. 18
ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง................................................................................... 18
รปู แบบในการวจิ ยั ................................................................................................ 18
เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั ....................................................................................... 19
ขั้นตอนการวจิ ัย.................................................................................................... 20
การเก็บรวบรวมข้อมลู .......................................................................................... 21
การวิเคราะหข์ ้อมูล............................................................................................... 21
สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวิจัย............................................................................................... 22
ฉ
สารบญั (ตอ่ )
บทท่ี หนา้
4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล .................................................................................................. 23
สัญลกั ษณท์ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล....................................................................... 23
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ............................................................................................. 23
ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบอ้ื งตน้ ........................................................... 23
ตอนท่ี 2 ผลการศึกษา 24
1. กระบวนการจดั การเรียนรใู้ นสภาวการณแ์ พร่ระบาดของไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรัชดาภิเษก.. 24
2. ความคิดเห็นต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ในสภาวการณ์แพร่
ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี น 29
ละหานทรายรชั ดาภิเษก....................................................................
5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ .................................................................... 41
สรุปผลการวจิ ยั ........................................................................................................ 41
อภปิ รายผลการวจิ ัย................................................................................................. 44
.
50
บรรณานุกรม ........................................................................................................................... 52
ภาคผนวก.................................................................................................................................. 53
64
ภาคผนวก ก คาสัง่ คณะทางาน ............................................................................ 67
ภาคผนวก ข เครอ่ื งมือที่ใช้ในการวิจยั ..................................................................
ภาคผนวก ค ประมวลภาพกิจกรรม.....................................................................
คณะผ้วู จิ ัย ................................................................................................................................. 82
ช
สารบญั ตาราง
ตารางที่ หน้า
4.1
สถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ ระดบั ชั้นทส่ี อน 76
และกลุ่มสาระการเรยี นรู้..........................................................................................
บทท่ี 1
บทนำ
ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019 : COVID-19) มีการระบาด
ในวงกว้าง โดยเมอื่ วนั ท่ี 30 มกราคม พ.ศ.2563 องค์การอนามยั โลก ไดป้ ระเมนิ สถานการณ์
และประกาศให้โรค COVID-19 เปน็ ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุขระหวา่ งประเทศ (Public Health
Emergency of International Concern) โดยแนะนําให้ทุกประเทศเร่งรดั การเฝ้าระวังและปอ้ งกัน
ความเสย่ี งจากเช้ือ COVID-19 ในประเทศไทยน้ัน ได้มีการพบผปู้ ่วยติดเชอ้ื จาํ นวนหนงึ่ อยใู่ น
สภาวการณ์ท่ไี ม่อาจวางใจได้ ดงั น้ันเพ่ือลดความเสีย่ งของประชาชนทุกคนต่อการสมั ผัสเช้อื โรค และ
ปอ้ งกนั ไม่ให้ประชาชนไดร้ บั ผลกระทบต่อสขุ ภาพ โดยเฉพาะในประชาชน กลุ่มเส่ยี ง ทง้ั เดก็ ผสู้ งู อายุ
และผูท้ ่ีมโี รคประจาํ ตวั รวมถึงการจัดการด้านอนามยั ส่งิ แวดลอ้ ม อยา่ งถูกสุขลักษณะและเหมาะสม
ในทกุ พน้ื ที่ โดยเฉพาะพน้ื ทสี่ าธารณะ กระทรวงศึกษาธิการ (2563 : ค) สํานักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ตระหนักถงึ ความสําคญั ในการดแู ลนกั เรยี น ผู้ปกครอง ครู
และบคุ ลากรทางการศึกษา จึงไดจ้ ดั ทําแนวทางการจดั การเรียนการสอน ของโรงเรียนสังกดั สาํ นกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ในสถานการณ์การระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) ปีการศึกษา 2563 เพ่ือให้โรงเรยี นใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของ
โรงเรียนใน สังกดั อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้กําหนดรปู แบบการจดั การเรียนการสอนสาํ หรับ โรงเรียน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใน 3 รูปแบบ
ซง่ึ โรงเรยี นสามารถเลือกรูปแบบการจัดการเรยี นการสอนโดยพิจารณาตามความเหมาะสมและบรบิ ท
ของโรงเรียน ดังนี้ 1. การเรียนในช้ันเรียน (On-Site) การเรียนการสอนทเี่ น้นการจดั กจิ กรรม
การเรียนรู้ในโรงเรียนหรือในชั้นเรยี น เป็นหลกั โดยครผู ู้สอนสามารถนาํ รปู แบบการเรียนการสอน
อนื่ ๆ มาบูรณาการใชก้ ับ การเรียนในช้ันเรยี นได้ เช่น การเรยี นผ่านโทรทัศน์ (On-Air) หรอื การเรยี น
ผา่ น อนิ เทอร์เน็ต (Online) เปน็ ต้น 2. การเรยี นผ่านโทรทัศน์ (On-Air) การเรียนการสอนทางไกล
ผา่ นโทรทัศนใ์ นระบบดจิ ทิ ัล และระบบดาวเทียม เพ่ือใหน้ ักเรียนเข้าถึงการเรียนรูใ้ นทกุ ครวั เรอื น
ทัง้ น้ี มลู นิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ไดอ้ นุเคราะห์ในการส่งสัญญาณ
ออกอากาศ 15 ชอ่ งสญั ญาณ (อ.1–ม.6) พรอ้ มทงั้ อนุเคราะหเ์ น้อื หาสาระการเรยี นรู้ในระดบั ชน้ั
อนบุ าลปีท่ี 1 ถงึ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ส่วนเนอื้ หาสาระการเรยี นรู้ในระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4
ถึงระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน เป็นผจู้ ัดทําสอื่ วดิ ทิ ัศน์
การเรียนการสอน 3. การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) การเรยี นการสอนแบบออนไลน์
เป็นการศึกษาผ่านเครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ โดยนักเรยี นสามารถเลอื กเรียนตามความสนใจ
2
หรอื ครูอาจกําหนดเน้ือหาการเรียนรู้ เพอ่ื ใหน้ ักเรียนเข้าถงึ เนอ้ื หาดว้ ยตนเองได้ทกุ ที่ทุกเวลา เนอ้ื หา
อาจประกอบด้วย ข้อความ, รปู ภาพ, เสยี ง, วิดีโอและสอื่ มัลติมีเดียอื่น ๆ ซง่ึ นักเรยี น ครู และเพ่ือน
ร่วมชน้ั เรียน สามารถตดิ ต่อ ส่ือสาร ปรึกษา หรือแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นแบบเดียวกบั การเรยี น
ในชนั้ เรยี นทั่วไป โดยใชช้ อ่ งทางการส่ือสารผา่ น E-mail, Chat, Social Network เปน็ ต้น
กระทรวงศึกษาธกิ าร (2563 : 6)
โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษกเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษได้ตระหนักถึงความสาํ คัญ
และจาํ เปน้ ในการเฝา้ ระวงั การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สถานศึกษาประเมนิ
ตนเองโดยผา่ นความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ตามแบบประเมินตนเอง
สําหรบั สถานศกึ ษาในการเตรียมความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรียน เพ่ือเฝา้ ระวังและป้องกนั การแพร่
ระบาดของโรคโควดิ 19 ที่ปรากฏใน “คู่มือการปฏบิ ัติสาํ หรบั สถานศกึ ษาในการปอ้ งกนั การแพร่
ระบาดของโรค โควดิ 19” ของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ ซึ่งผลการประเมนิ ได้เปน็ สีเขยี ว
โรงเรียนสามารถเปิดเรยี นได้ โรงเรียนศกึ ษาแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบผสมสาน คอื
การจัดการเรยี นรู้ ท่ีใชร้ ปู แบบ การเรียนรหู้ ลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการเรยี นรู้ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในห้องเรยี น
ผสมผสานกบั การเรยี นรู้นอกหอ้ งเรยี นทค่ี รูและนักเรยี นไม่ได้เผชญิ หน้ากัน หรอื การใชแ้ หลง่ เรยี นรู้
ที่มอี ยู่อยา่ งหลากหลาย ซง่ึ มีเปา้ หมายอยู่ทีก่ ารเรยี นรูข้ องนักเรียนเป็นสาํ คญั โดยโรงเรียนเลือก
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบการสลบั กลุม่ นกั เรียน แบบแบ่งนกั เรยี นในหอ้ งเรียนเป็น 2 กลุม่
สลับการมาเรยี นของนักเรยี น แบบสลบั วนั มาเรียน 5 วัน หยุด 9 วันกลุ่ม A และกลุ่ม B
สืบเนือ่ งจากบทสรุปการประชมุ ผบู้ ริหารโรงเรียนโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจาํ ตาํ บล
สงั กดั สาํ นักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 ได้แจง้ ให้โรงเรียนดาํ เนนิ การกิจกรรม
การวิจยั โครงการโรงเรียนคุณภาพประจาํ ตาํ บล เรื่อง การศึกษากระบวนการเรยี นรู้ในสภาวการณ์
แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธใ์ หม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนคณุ ภาพประจําตาํ บล
สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 32 โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อศึกษากระบวนการ
จดั การเรียนรแู้ ละความคิดเห็นของผเู้ กี่ยวข้องในสภาวการณแ์ พร่ระบาดของไวรสั โคโรนาสายพันธใ์ หม่
2019 (COVID-19) ของโรงเรียนคุณภาพประจาํ ตําบล สงั กัดสํานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา
เขต 32 ในการน้โี รงเรยี นจงึ แตง่ ต้งั คณะวิจยั เรือ่ ง การศึกษากระบวนการเรียนรู้ในสภาวการณ์
แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก
สงั กัดสาํ นักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 32 โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษากระบวนการ
จดั การเรยี นรู้และความคดิ เห็นของผ้เู กย่ี วขอ้ งในสภาวการณ์แพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนาสายพนั ธใ์ หม่
2019 (COVID-19) ของโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก
วตั ถปุ ระสงคข์ องกำรวิจัย
1. เพอื่ ศึกษากระบวนการจดั การเรียนรแู้ ละความคิดเหน็ ของผู้เกย่ี วข้องในสภาวการณ์
แพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนละหานทรายรชั ดาภิเษก
3
2. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของครูผู้สอนเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ในสภาวการณ์
แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพนั ธใ์ หม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
ควำมสำคัญของกำรวิจัย
1. เปน็ แนวทางในการจัดการเรยี นรู้ในสภาวการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธใ์ หม่
2019 (COVID-19)
2. เป็นแนวทางสาํ หรบั ผเู้ กย่ี วข้องในการพฒั นาปรับปรงุ กระบวนการจัดการเรียนรู้
ในสภาวการณแ์ พรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนาสายพันธใ์ หม่ 2019 (COVID-19)
ข้อตกลงเบ้ืองต้น
รปู แบบการวิจยั ใช้วิจยั เชงิ คุณภาพโดยการสัมภาษณ์ด้วยแบบสมั ภาษณเ์ ชิงโครงสร้าง
และวิเคราะห์ข้อมลู โดยการวเิ คราะห์เนอื้ หา
ขอบเขตของกำรวิจัย
ขอบเขตดำ้ นประชำกร
กลุ่มประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี คือ ครูผู้สอน จาํ นวน 145 คน
โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563
ขอบเขตดำ้ นเนื้อหำ
ขอบข่ายของการศึกษาเน้ือหา ด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ และความคิดเห็นเก่ียวกับ
กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขอบเขตดำ้ นเวลำ
ระยะเวลาท่ีใช้ในการวิจัย กําหนดในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เดือนสิงหาคม-เดือน
กันยายน พ.ศ. 2563 ใช้เวลา 2 เดอื น
นิยำมศพั ท์เฉพำะ
กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ หมายถึง ข้ันตอนการจัดการเรียนการสอนที่ครูผู้สอนใช้ใน
การจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์แพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 (COVID-19)
สถำนกำรณแ์ พร่ระบำดของไวรัสโคโรนำสำยพันธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) หมายถงึ
ชว่ งเวลาที่สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานประกาศใหเ้ ป็นการเฝ้าระวังการแพรร่ ะบาด
ของไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ใหโ้ รงเรยี นจดั การเรยี นการสอนได้ 3 รูปแบบ
ไดแ้ ก่ On-Line On-Site On-Air ซึง่ เริม่ ตัง้ แต่เปิดภาคเรยี น 1 กรกฎาคม 2563 ถึงวันท่ี 13 สิงหาคม
2563
4
ควำมคิดเห็น หมายถึง ความรู้สึกของครูผู้สอนเก่ียวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ใน
สถานการณแ์ พร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่งึ ไดจ้ ากการสัมภาษณ์
แบบสัมภำษณ์ก่ึงโครงสร้ำง หมายถึง แบบวัดที่คณะผู้วิจัยสร้างข้ึนเพ่ือใช้สัมภาษณ์
ครูผู้สอนในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ 1) รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ใช้ 2) กระบวนการจัดการ
เรียนรู้ 3) ความคิดเหน็ เป็นแบบปลายเปดิ
โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มธั ยมศกึ ษา เขต 32
บทที่ 2
แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกย่ี วข้อง
งานวิจัยเรือ่ ง การวจิ ยั ปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นรว่ มเพ่ือพัฒนาคุณลกั ษณะสุจริตของนกั เรยี น
โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษกโดยใช้กจิ กรรมพลังสสี รา้ งสรรค์ คณะผู้วิจยั ได้กาหนดขอบขา่ ยของ
การศกึ ษา ดงั น้ี
1. โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภิเษก
2. แนวคิดเก่ียวกบั การเรยี นการสอนทางไกล
3. แนวคิดเกีย่ วกับการเรยี นการสอนออนไลน์
4. แนวคิดเก่ียวกับการวเิ คราะหข์ ้อมลู เชงิ คณุ ภาพ
5. งานวิจัยทเี่ กี่ยวข้อง
โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภิเษก
โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตาบลละหานทราย เลขท่ี 264 หมู่ 8
ตาบลละหานทราย อาเภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ 31170 มีพื้นที่ 239 ไร่ 3 งาน 95 ตารางวา
ต้ังข้ึนเม่ือปีการศึกษา 2514 ในวโรกาสพระราชพิธีรัชดาภิเษก อันเป็นมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบตั ิครบรอบปีท่ี 25 ในวันที่ 9 มิถุนายน 2514
ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดต้ังโรงเรียนข้ึน เพ่ือเป็นการเฉลิมพระเกียรติพระองค์ท่าน จานวน
9 โรงเรียน ต้ังอยู่ในทิศต่างๆ ทั้ง 8 ทิศ และให้ต้ังอยู่ส่วนกลางอีก 1 โรงเรียน และเพิ่มโรงเรียน
รัชดาภเิ ษก อ.หนองจิก จ.ปัตตานีในภายหลงั รวม 10 โรงเรียน ประกอบด้วย
1. โรงเรยี นราชประชาสมาสยั ฝ่ายมธั ยมศึกษารชั ดาภิเษก จงั หวดั สมทุ รปราการ
2. โรงเรียนฉวางรัชดาภเิ ษก อาเภอฉวาง จงั หวัดนครศรีธรรมราช
3. โรงเรียนท่าแซะรัชดาภิเษก อาเภอท่าแซะ จังหวดั ชุมพร
4. โรงเรียนขลงุ รชั ดาภเิ ษก อาเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี
5. โรงเรยี นบ่อพลอยรชั ดาภเิ ษก อาเภอบ่อพลอย จังหวดั กาญจนบรุ ี
6. โรงเรียนพรหมบุรีรัชดาภเิ ษก อาเภอพรหมบรุ ี จังหวัดสงิ ห์บุรี
7. โรงเรยี นปงรชั ดาภเิ ษก อาเภอปง จังหวัดพะเยา
8. โรงเรียนจตุรพักตร์พมิ านรัชดาภิเษก อาเภอจตรุ พกั ตร์พมิ าน จังหวดั ร้อยเอ็ด
9. โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภิเษก อาเภอละหานทราย จังหวดั บุรรี มั ย์
10. โรงเรียนรชั ดาภเิ ษก อาเภอหนองจิก จังหวดั ปัตตานี
6
โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก เปิดทาการสอนคร้งั แรก เม่อื วนั ที่ 17 พฤษภาคม 2514
โดยนายกิมยง นันทวิเชตพงษ์ เปน็ ผบู้ รหิ ารคนแรก และปี พ.ศ.2561 ถงึ ปจั จุบันผูบ้ ริหาร คือ
นายประเสรฐิ ชยั พสิ าดรัมย์
ทตี่ ัง้ ของโรงเรียนอยู่ทางทศิ ตะวันออกของทีว่ า่ การอาเภอละหานทราย ติดทางหลวงสาย
ละหานทราย – บา้ นกรวด ห่างจากตวั จังหวัดบุรรี ัมย์ ประมาณ 95 กโิ ลเมตร เปน็ โรงเรียนมัธยมศึกษา
สังกัดสานักงานพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 32 มโี รงเรียนมัธยมศกึ ษาที่อยู่ใกล้เคยี ง ไดแ้ ก่
ทศิ เหนอื โรงเรยี นละหานทรายวทิ ยา อาเภอละหานทราย
ทิศใต้ ระยะทางประมาณ 7 กโิ ลเมตร
ทิศตะวนั ออก โรงเรียนรว่ มจติ ตว์ ิทยา อาเภอละหานทราย
ทิศตะวนั ตก ระยะทางประมาณ 25 กโิ ลเมตร
โรงเรียนตาจงพทิ ยาสรรค์ อาเภอละหานทราย
ระยะทางประมาณ 12 กโิ ลเมตร
โรงเรียนปะคาพทิ ยาคม อาเภอปะคา
ระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร
ชอื่ โรงเรยี น ละหานทรายรัชดาภิเษก
ประเภทโรงเรียน สหศึกษา
อักษรย่อโรงเรยี น ล.ร.ภ.
วันสถาปนาโรงเรียน 9 มถิ นุ ายน 2514
สญั ลกั ษณ์ของโรงเรียน
สีประจาโรงเรียน เหลือง – นา้ เงนิ
สเี หลอื ง เป็นสีประจารัชกาลท่ี 9 ซึง่ เปน็ สปี ระจาวันพระราชสมภพเปน็
สัญลกั ษณ์แหง่ ความจงรักภกั ดี มีวินัย ซอื่ สัตย์ เสียสละ และอดทน
สีน้าเงิน คอื สีเงิน เป็นความหมาย “รชั ดา”
เปน็ สัญลักษณ์ของความดี ความมรี ะเบียบ ความมีคุณค่า และ
คตธิ รรม ความกตัญญูกตเวที
วสิ ัยทศั น์ น สยิ า โลก วฑฺฒโน “อย่าเป็นคนรกโลก”
โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภิเษกมุ่งมั่นพฒั นาผ้เู รียนให้
“เรยี นรูอ้ ยา่ งสขุ ใจ ใฝ่คณุ ความดี มีปัญญาเลิศ”
7
เอกลกั ษณโ์ รงเรยี น แหลง่ เรียนรู้ธรรมชาติ สวนพฤกษศาสตรร์ นื่ รมย์
อตั ลกั ษณโ์ รงเรียน ใฝ่ดี ใฝ่รู้ อยู่อยา่ งพอเพยี ง
แนวคิดเก่ยี วกบั การเรยี นการสอนทางไกล
ระบบการศึกษาทางไกล เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่เกิดข้ึนเพื่อตอบสนองความต้องการ
ของระบบการศึกษาปจั จบุ ัน ซึ่งเปน็ ยุคของข้อมลู ข่าวสารรวมถงึ เปน็ สังคมแห่งการเรยี นรู้ นอกจากนี้
ยังเป็นการลดช่องว่างและเป็นการเปดิ โอกาสทางการศึกษาได้มผี ู้ให้ความหมายของ การศกึ ษา
ทางไกลไว้มากมายหลายทา่ น ท้ังนักการศกึ ษาในประเทศไทยและตา่ งประเทศ จงึ ขอนาคานยิ ามท่ีนัก
การศกึ ษาบางท่านได้ให้ไวม้ านา เสนอให้เหน็ ความหมาย ดังน้ี
วิจติ ร ศรสี อา้ น (2529) ไดใ้ ห้ความหมายของ การเรยี นการสอนทางไกล (Distance
learning) ว่า หมายถงึ ระบบการเรียนการสอนท่ีไมม่ ชี ั้นนกั เรยี น แตอ่ าศัยสื่อประสม อนั ได้แก่ สื่อทาง
ไปรษณยี ์วทิ ยุกระจายเสียงวทิ ยโุ ทรทัศน์และการสอนเสริม รวมทัง้ ศนู ยบ์ รกิ ารการศึกษา เปน็ หลักโดย
มงุ่ ให้ผ้ เู้ รียนเรียนไดด้ ้วยตนเองอย่กู บั บ้าน ไม่ต้องมาเข้าชน้ั เรยี นตามปกตินอกจากน้ยี ังให้ความหมาย
ของ “การสอนทางไกล”วา่ หมายถงึ การสอนทผ่ี เู้ รียนผ้สู อนอยไู่ กลกันแต่สามารถมีกิจกรรมการเรยี น
การสอนรวมกันไดโ้ ดยอาศัยสื่อประสมเป็นส่ือการเรยี นการสอน โดยผเู้ รยี น ผสู้ อนมโี อกาสพบกันอยู่
บ้าง ณ ศูนยบ์ ริการการศึกษาเทา่ ทจี่ าเปน็ การเรยี นรูส้ ว่ นใหญ่เกิดขน้ึ จากสอ่ื ประสมทผ่ี ู้เรียนใชเ้ รียน
ด้วยตนเองในเวลาและสถานทีท่ ่ีสะดวก
การศกึ ษาทางไกล มีคาท่ีใชเ้ รียกอย่างแพรห่ ลายอยู่ 3 คา คือ การศึกษาทางไกล (Distance
Education) การสอนทางไกล (Distance Teaching) และ การเรียนทางไกล (Distance Learning)
ซึง่ ไม่ว่าจะใช้คา เรยี กใดกจ็ ะมีความหมายใกล้เคยี งกนั แตม่ ีรายละเอียดปลีกยอ่ ยทแ่ี ตกต่างกัน ดงั นี้
1. การศึกษาทางไกล (Distance Education) หมายถงึ ระบบของการจดั การศกึ ษา แบบ
หนึ่งทผ่ี ู้สอนและผเู้ รยี นไม่ต้องมานงั่ อยู่ในหอ้ งเรยี น คอื อยหู่ ่างไกลจากกนัการจัดการเรียน ไดอ้ าศัยส่ือ
ประเภทต่าง ๆ ทีช่ ่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้เชน่ สงิ่ พิมพเคร่ืองมือจักรกล และอุปกรณ์
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ต่าง ๆ ความหมายของการศกึ ษาทางไกลจึงมองความสาคญั หรือมีจดุ เนน้ ทรี่ ะบบ
ของ การให้การศึกษาที่เนน้ ปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างผสู้ อนกบั ผู้เรียน
2. การสอนทางไกล (Distance Teaching) หมายถงึ กระบวนการเรียนการสอนทีม่ ี
ความยืดหยนุ่ ในเร่ืองของสถานที่ เวลา โดยถือเอาความสะดวกและความพร้อมของผู้เรยี นเป็นหลัก
ลักษณะการสอนที่สาคัญ คือเปิดโอกาสในการเลอื กวิธีการเรียนการสอนไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง
ไม่ว่าผูเ้ รยี นจะอยทู่ ่ใี ด มกี ารใช้ส่ือการเรยี นหลาย ๆ อยา่ งผู้เรียนไม่ต้องมานั่งเรียนในหอ้ งเรียน
และไมต่ องมคี รสู อนประจา
3. การเรียนทางไกล (Distance Learning) หมายถึง รูปแบบทางการเรียนรู้ที่ผเู้ รยี นได้รับ
ความร้แู ละประสบการณ์จากสื่อการเรยี นประเภทต่าง ๆ ผ่านทางระบบการส่ือสารมวลชน โดยมติ อ้ ง
เขา้ ไปน่ัง เรียนในห้องใดหอ้ งหนง่ึ หรอื ทีใ่ ดท่ีหนึง่ การเรยี นรู้ทางไกลจงึ มจี ดุ เน้นที่บคุ คล แสวงหา
ความรดู้ ว้ ยตนเองจากสือ่ สารมวลชนประเภทต่าง ๆ น่ันเอง
8
กดิ านนั ท์ มลิทอง (2543) กล่าวว่า การศึกษาทางไกล (Distance Education) หมายถงึ
ระบบการศกึ ษาท่ผี ู้เรียนและผู้สอนอยไู่ กลกนั แต่สามารถทาให้เกิดการเรยี นรู้ไดโ้ ดยอาศัยส่ือการสอน
ในลักษณะของสื่อประสม โดยการใชส้ ือ่ ต่าง ๆ รวมกัน อาทิเช่น ตารางเรียน เทปเสยี ง แผนภูมิ
คอมพิวเตอร์ หรือโดยการใช้อุปกรณโ์ ทรคมนาคม และสื่อมวลชนประเภทวิทยุและโทรทัศน์ เข้ามา
ช่วยในการแพร่กระจายการศึกษาไปยงั ผทู้ ่ีปรารถนาจะเรียนรูไ้ ด้อยา่ งกว้างขวางทว่ั ทุกท้องถ่ิน
การศกึ ษานีม้ ีท้ังในระดบั ตน้ จนถงึ ระดับสงู ขั้นปรญิ ญาการศึกษาทางไกลเป็นการศึกษาวิธหี นง่ึ
ในการศึกษาทงั้ ในระบบและนอกระบบโรงเรียนที่อาศัยสือ่ สิ่งพิมพส์ อ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ และส่ือบคุ คล
รวมทั้งระบบโทรคมนาคมรูปแบบตา่ ง ๆ เป็นหลักในการเรียนการสอน เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรียนรู้ได้
ดว้ ยตนเองจากสื่อเหล่านีแ้ ละอาจมกี ารสอนเสริมควบคู่ไปด้วยเพื่อให้ผเู้ รียนสามารถ ซักถามปัญหา
จากผสู้ อนเองหรือผู้สอนเสริม โดยที่การศกึ ษาน้อี าจจะอยู่ในรปู แบบของการศึกษาอสิ ระ การศกึ ษา
รายบคุ คล หรือรูปแบบของมหาวิทยาลัยเปิดก็ได้
พงศป์ ระเสริฐ หกสุวรรณ (2540) ได้ใหค้ วามหมายวา่ การสอนทางไกล หมายถึง การสอนที่
ผ้เู รยี นและผูส้ อนไม่จาเป็นต้องอยูเ่ ผชญิ หน้ากนั แต่ใช้การจัดระบบเพ่ือช่วยให้ผู้เรยี น สามารถเรียนรู้
ได้ด้วยตนเองจากสอื่ ตา่ ง ๆ ท่ีจดั ให้
ผวู้ ิจัยสรปุ ได้วา่ การศกึ ษาทางไกล หมายถึง วิธีการจดั การศกึ ษาทีผ่ เู้ รียนและผู้สอน ไม่ไดพ้ บ
กนั โดยตรงเป็นส่วนใหญแ่ ต่ผู้สอนจะถ่ายทอดเน้ือหาวิชาความรูม้ วลประสบการณต์ ่าง ๆ ไปทางสื่อ
อาจจะเปน็ ส่ือสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ เทปเสยี ง วิดที ัศน์ และสอ่ื คอมพวิ เตอร์ทุกประเภท เม่ือ
การศึกษาทางไกล หมายถงึ กิจกรรมการเรยี นที่สถาบันการศกึ ษาไดจ้ ัดทา เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนซ่ึงไม่ได้
เลอื กเข้าเรียนหรือไมส่ ามารถจะเข้าเรียนในชนั้ เรียนที่มีการสอนตามปกตไิ ด้ผูเ้ รยี นและผู้สอน มกี าร
พบปะกันนอ้ ยครง้ั ซ่ึงจะมีการผสมผสานวธิ ีการทีส่ ัมพนั ธ์กับทรัพยากรการกาหนด ให้มีระบบการ
จัดสง่ สอื่ การสอน และมีการวางแผนการดาเนนิ การรปู แบบของทรัพยากร ประกอบด้วยเอกสาร
สิ่งพมิ พ์โสตทศั นูปกรณ์ สื่อคอมพวิ เตอร์ซึง่ ผู้เรียนอาจเลือกใช้สื่อเฉพาะตน หรือเฉพาะกลุ่มไดร้ ะบบ
การสอนทางไกลนนั้ มกี ารเรียกทแ่ี ตกต่างกันออกไป ได้แก่ การสอนทางไกล การเรียนทางไกล
การศกึ ษาทางไกล ซ่ึงความหมายเปน็ ไปในทางเดยี วกัน คือระบบการเรยี นการสอนที่ผู้เรียนและผูส้ อน
อยู่หา่ งกนั ไกล อยตู่ า่ งเวลาหรือตา่ งสถานท่กี ัน แต่มถี า่ ยทอดเนื้อหาสาระ และมีปฏิสัมพันธ์กนั โดย
ผ่านสือ่ ต่าง ๆ ในปัจจุบันมีการใชส่อื เสริมประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะทใี่ ช้ผ่านระบบคอมพิวเตอร์
เชน่ การศกึ ษาแบบออนไลน์ (E-learning) หมายถงึ การศึกษาการเรียนรผู้ ่านเครือข่ายคอมพวิ เตอร์
อนิ เทอร์เนต็ (Internet) หรืออนิ ทราเนต็ (Intranet) เปน็ การเรียนรู้ ตามความสามารถ
และความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรยี นจะถูกสง่ ผ่านไปยังผู้เรยี นผา่ น Webbrowser
ท่ีผเู้ รยี นสามารถค้นหา (Search)ไดต้ ามที่ต้องการจึงสรปุ ได้ว่า ระบบการศึกษาทางไกลเป็นอีกรปู แบบ
หนึ่งของการศึกษาท่ีผเู้ รียนและผู้สอนซงึ่ อยู่ห่างไกลกันให้มีโอกาสปฏิสมั พนั ธ์กนั โดยเน้นที่ผเู้ รียน
ตอ้ งมุง่ เรยี นรู้ดว้ ยตนเองขณะเดียวกันถึงแมว้ า่ ผเู้ รยี นและผูส้ อนจะอยู่คนละสถานท่ีกันแต่ก็สามารถ
มกี จิ กรรมการเรียนการสอนร่วมกันไดโ้ ดยอาศัยสอ่ื ประสมต่าง ๆ หรอื ช่องทางการส่อื สารตา่ ง ๆ
9
สุมาลี สังข์ศรี (2545) ได้กล่าวถึง ความสาคญั ของการศึกษาทางไกล องค์ประกอบหลัก
ของการศึกษาทางไกลและลักษณะของการศึกษาทางไกล ไว้ดังนี้
ความสาคญั ของการศึกษาทางไกล
1. เปน็ การเพิ่มทางเลือกในการกระจายโอกาส และยกระดับการศกึ ษาของผเู้ รยี น
2. เปน็ ตัวการเปลีย่ นแปลงกระบวนวธิ กี ารเรียนรูแ้ ละการจัดการศึกษาของสงั คมในปจั จุบนั
และอนาคต
3. ชว่ ยสรา้ งความเสมอภาคในการเข้าถึงบรกิ ารทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ ขณะเดยี วกันก็
ชว่ ยลดอุปสรรคดา้ นทรพั ยากร สถานท่ี เวลา และบคุ ลากร
4. ช่วยลดภาระของครูทงั้ ในด้านการเตรียมการ การใชเ้ วลา และยงั ชว่ ยเพิ่มประสทิ ธิภาพ
ในการจัดการเรียน การสอนให้มคี ุณภาพ
5. การเรยี นการสอนทางไกลสามารถ "แพร่กระจาย" และ "เข้าถงึ " ตวั บคุ คลไดอ้ ยา่ ง
หลากหลายและกว้างขวาง
องคป์ ระกอบหลกั ของการศึกษาทางไกล
1. ผเู้ รียนจะเน้นผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง ผู้เรียนมีอิสระในการกาหนดเวลา สถานท่ี และวิธี
เรียนของตนเอง โดยสามารถเรยี นรไู้ ด้จากแหลง่ ทรัพยากรการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น จากการสอน
โดยผ่านการสือ่ สารทางไกล วดี ีทศั นท์ ผี่ ลิตเปน็ รายการ วดี ที ัศน์ท่ีบันทึกจากการสอน ตารา หนงั สอื
เอกสารประกอบการสอนในรูปของบทเรียนดว้ ยตนเอง คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน และระบบเครือข่าย
อินเตอรเ์ น็ต เป็นตน้
2. ผสู้ อนจะเน้นการใช้สอ่ื การสอนทม่ี ีคุณภาพและหลากหลายรูปแบบซ่ึงจะช่วยให้ผเู้ รียนรู้
ได้ด้วยตนเอง หรือเรียนเสรมิ ในภายหลัง เน่อื งจากผ้สู อนมโี อกาสพบผ้เู รียนโดยตรงน้อยมาก
คอื มีโอกาสพบปะผ้เู รียนแบบเผชิญหนา้ ในตอนแรกและตอนทา้ ยของภาคเรียน หรอื ไปสอนเสริม
ในบางบทเรยี นท่ีพจิ ารณาเหน็ วา่ ยากตอ่ การเขา้ ใจเทา่ น้นั
3. การจดั ระบบบริหารและบริการ เป็นการจดั โครงสรา้ งอื่นมาเสริมการสอนทางไกล
โดยตรง เชน่ อาจมคี รูทปี่ รึกษาประจาตัว ผู้เรียน มศี นู ย์บริการการศึกษาทใี่ กลต้ ัวผู้เรียน รวมทง้ั ระบบ
การผลติ และจดั สง่ สื่อให้ผูเ้ รยี นโดยตรงอยา่ งมีประสิทธิภาพ
4. การควบคุมคุณภาพ จะจดั ทาอย่างเปน็ ระบบ และดาเนินการอยา่ งตอ่ เนื่องสมา่ เสมอ
โดยเนน้ การควบคมุ คณุ ภาพในดา้ นองค์ประกอบของการสอนทางไกล เชน่ ขน้ั ตอนการวางแผน
กระบวนการเรยี นการสอน วิธีการประเมนิ ผล และการปรับปรุงกระบวนการ เปน็ ต้น
5. การติดตอ่ ระหว่างผเู้ รยี น ผู้สอน และสถาบนั การศึกษา เปน็ การติดต่อแบบ 2 ทาง
โดยใชโ้ ทรศพั ท์ โทรสาร ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือจดหมาย เป็นต้น
10
ลกั ษณะของการศึกษาทางไกล
1. การเรยี น-การสอน การศกึ ษาทางไกลต้องอาศยั ครู และอปุ กรณ์การสอนทส่ี ามารถใช้
สอนนกั เรยี นได้มากกว่า 1 ห้องเรียน และไดใ้ นหลายสถานท่ี เช่น วชิ าพ้ืนฐาน ทาใหไ้ ม่ต้องจา้ งครู
และซ้อื อปุ กรณ์สาหรับการสอนในวิชาเดียวกันของแตล่ ะแห่ง และครสู ามารถเลือกให้นักเรียนแต่ละ
แหง่ ถามคาถามได้ เนื่องจากแตล่ ะหอ้ งมีขนาดไมใ่ หญน่ กั และจานวนนกั เรยี นกม็ ีไม่มากนัก โดยมี
อปุ กรณช์ ่วยในการโตต้ อบ เช่น ไมโครโฟน กล้องวีดีทศั น์ และจอภาพ เป็นตน้
2. การถาม-ตอบ หากนักเรียนมปี ญั หาข้อสงสยั อาจสามารถถามครูไดโ้ ดยผา่ นโทรศัพท์
หรอื ผา่ นกล้องโทรศัพท์ หรอื ผ่านกล้องวีดที ัศนใ์ นระบบการประชมุ ทางไกล (Video
Conference) ในขณะที่เรยี น หรือสง่ โทรสาร ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ไปถามไดใ้ นภายหลัง หรือครู
อาจจะนดั เวลาเป็นการเฉพาะเพ่อื เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนซักถาม การถามตอบในลักษณะน้ี จะทาให้ครู
จะมเี วลามากขนึ้ ในการคน้ คว้าเพ่อื ส่งคาตอบกลับไปใหท้ าเรียนในภายหลงั
3. การประเมนิ ผล ผเู้ รยี นสามารถสง่ การบ้านและการทดสอบไดท้ างไปรษณีย์ โทรสาร
หรือไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ แตท่ ัง้ นีร้ ูปแบบและวิธีการประเมินผลจะต้องได้รบั การออกแบบเฉพาะ
หรืออาจจะใชก้ ารประเมนิ ผลในรูปแบบปกติในห้องเรียน (ให้ผูเ้ รยี นไปทดสอบ ณ สถานทท่ี ี่จัดไวไ้ ห้)
เพื่อผสมผสานกันไปกับการเรียนทางไกล
แนวคิดเกี่ยวกบั การเรียนการสอนออนไลน์
มีนักการศึกษาได้กล่าวถงึ การเรยี นการสอนออนไลน์ ดังนี้
ปัทมา นพรัตน์ (2548) กลา่ วว่า การเรยี นการสอนออนไลน์ หรอื e-Learning เป็น
การศึกษาเรียนรผู้ ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต็ (Internet) หรอื อนิ ทราเน็ต (Intranet) ด้วยตัวเอง
ผ้เู รียนจะได้เรียนตามความร้แู ละความสามารถของตนเอง โดยเนื้อหาของบทเรยี นประกอบด้วย
ขอ้ ความ รูปภาพ เสยี ง วีดีโอ และมัลติมีเดยี อ่ืน ๆ โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชน้ั เรยี นทุกคน
สามารถตดิ ต่อ ปรึกษา แลกเปลีย่ นความคดิ เห็น ระหว่างกันได้เชน่ เดียวกบั การเรยี นในช้ันเรียน
ตามปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการตดิ ต่อสอ่ื สารท่ีทนั สมยั เชน่ E-mail, Web-board, Chat และ
Social Network การเรียนรูแ้ บบออนไลน์จึงเปน็ การเรียนสาหรบั ทุกคน เรยี นไดท้ กุ เวลาและทุก
สถานที่
จักรกฤษณ์ โพดาพล (2563) กลา่ วถึง การเลอื กแพลตฟอร์มการจัดการเรียนการสอนและ
อุปสรรคในการจดั การเรียนรู้ออนไลนส์ ิง่ สาคัญคือ “ระบบส่อื สาร” ตอ้ งมคี วามเขา้ ใจที่ตรงกันระหวา่ ง
“ผู้บริหารกบั ครผู ู้สอน” “ผูส้ อนด้วยกันเอง” และ “ผู้สอนกับผเู้ รียน” การเลือกใชแ้ พลตฟอร์ม
ในการใช้สอน จึงเปน็ ส่ิงสาคัญ ดังน้ี
1. การใชแ้ พลตฟอรม์ การสอนในแตล่ ะแพลตฟอรม์ มีค่าใชจ้ า่ ยในการเปดิ ใช้ Account
ซง่ึ ผบู้ รหิ าร จาเปน็ ต้องทาเรือ่ งจัดซ้ือจดั จา้ งเพื่อขอเปดิ ใชง้ านเพื่อให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพการทางาน
ของแพลตฟอร์มอย่างเต็มประสทิ ธภิ าพ จึงจาเป็นต้องเลือกใชเ้ พียงแพลตฟอร์มเดียว
11
2. การเลอื กใช้แพลตฟอร์มจะตอ้ งเปน็ ไปตามความต้องการของบุคลากรส่วนใหญ่
ทมี่ ีความถนดั และใช้งานสะดวก
3. การเลือกใชแ้ พลตฟอรม์ เดียวทาใหเ้ กดิ ความสะดวกแก่ผู้เรียน หากใหส้ ิทธผิ์ ู้สอนเลือกใช้
งานตาม ตวั เองถนัด ตา่ งคนต่างใช้ จะเกิดปัญหาการเรียนของผเู้ รยี นทตี่ ้องตามเรียนกบั รายวชิ าตา่ ง ๆ
ของผู้สอนทใ่ี ชแ้ พลตฟอร์มต่าง ๆ กนั ไป
4. การเลอื กใชแ้ พลตฟอร์มใด ๆ ก็ตามจาเปน็ ต้องมีการฝกึ อบรมในการใชง้ านให้ท้ังผ้สู อน
และผู้เรียน ให้สามารถใช้งานคล่องและมีประสิทธภิ าพ
อปุ สรรคในการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ จากการปฏบิ ัติ
ทผ่ี ่านมาพบปัญหาและอปุ สรรคในการปฏิบตั จิ รงิ ดังตอไปนี้
1. ทศั นคติของผู้สอน ถงึ แม้ว่าจะมีการอบรมการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21
มาระยะหนง่ึ แล้ว และบางสถานทีม่ ีการอบรมการจัดการเรยี นการสอนออนไลนแ์ ล้ว แต่เม่ือมีการ
ปฏบิ ตั ิจริง ยงั มผี สู้ อนบาง ทา่ นทยี่ งั เข้าใจในแนวคิดหรือการเปล่ียนแปลงในกระบวนทัศนก์ ารเรยี น
การสอนในศตวรรษท่ี 21 รวมท้งั การจัดการเรียนการสอนออนไลนก์ ารจดั การห้องเรียนทบี่ างครั้ง
อาจารยบ์ างท่านยังถนัดการบรรยายอยา่ งเดยี ว นงั่ บรรยายตาม power point ตลอด 3 ช่วั โมง
การวัดผลประเมินผลการเรียนการสอนยังคงยดึ ตดิ การสอบ แบบเดิมเป็นหลัก
2. ความชานาญการในเทคโนโลยี การเรียนการสอนออนไลน์เป็นการใชโ้ ปรแกรม
คอมพิวเตอร์ อาจารยผ์ ู้สอนท่ีบางคนอายุมากแลว้ ยงั ไม่สามารถปรับตัวในการใช้เทคโนโลยใี นการ
จดั การเรยี นการสอน ดังน้ันมีผลต่อการเรียนการสอนออนไลน์
3. การผลิตสื่อเพ่ือใช้ในการเรียนการสอน โดยเฉพาะการผลิตสอื่ วดิ โี อเพ่ือใช้ในการเรียน
การสอนให้ เกิดความน่าสนใจ ทอี่ าจารย์ผูส้ อนโดยส่วนมากยังไมม่ ีความรู้และความสามารถผลติ ส่อื
เองได้
4. ขาดบุคลากรฝ่ายสนบั สนนุ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ตอ้ งมบี คุ ลากรฝา่ ย
สนับสนนุ ดา้ น เทคโนโลยไี ว้คอยสนับสนนุ อาจารย์ผสู้ อนทไ่ี มค่ ่อยชานาญในการใช้ รวมทั้งช่วยในการ
ผลิตส่อื การสอนด้วย
5. ปัญหาดา้ นเทคนิค ไมว่ ่าจะเป็นปัญหาเรื่องไฟฟ้าดบั คอมพิวเตอรม์ ีปัญหา ระบบ
อนิ เทอร์เน็ตล่ม ลว้ นก่อใหเ้ กิดผลกระทบในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ทั้งสน้ิ
6. ความพร้อมของผ้เู รียน การขาดเครื่องไมเ้ คร่ืองมือในการเรยี น ขาดสัญญาณเนต็
ซึง่ ผ้เู รยี นบางคนมี ปัญหาอยใู่ นสถานที่ห่างไกล
7. การเพิม่ ข้นึ ของตน้ ทนุ ในการจดั การเรียนการสอน การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์
ก่อให้เกิด ต้นทุนสาหรับการจัดการเรียนการสอนเพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะการลงทุนในระบบฮารด์ แวร์ และ
คา่ ไฟฟา้ ทสี่ งู ขน้ึ
12
พริ ยิ ะ ผลพริ ุฬห์ (2563) กล่าววา่ จากการเฝา้ ดแู ละประเมินการเรยี นออนไลน์พบข้อสงั เกต
และข้อสรปุ ดงั นี้
1. การเรยี นออนไลนเ์ ป็นเร่ืองการปรับตัวของครูและนักเรียนครั้งใหญ่ โรงเรียนอนิ เตอร์ใน
ไทยถือวา่ สามารถปรับพฤติกรรมเรว็ มาก มีการซ้อื โปรแกรมและอบรมครูใหจ้ ดั การเรยี นการสอน
แบบออนไลน์ได้อยา่ ง รวดเรว็ ภายใน 1-4 สปั ดาห์ โรงเรียนทปี่ รับตวั ช้าหน่อยถึงกบั หยดุ เรยี นเพื่อ
อบรมครูและจัดวางระบบการเรียน ออนไลน์ได้อย่างรวดเร็วกอ่ นท่ีจะถกู สง่ั ปดิ โรงเรยี น เหตเุ พราะ
โรงเรียนเหล่านม้ี คี วามพร้อม แตก่ ารปรับตัวท่ี ยากทีส่ ดุ คือระบบการเรยี นของระบบฝรงั่ (ขอใชค้ า
รวม) จะเปน็ การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ เนน้ การคิด วเิ คราะห์ เนน้ การพดู คยุ เน้นการสอื่ สาร
ทาใหก้ ารเรยี นออนไลน์เปน็ เร่ืองท่ตี ้องปรับตัวสงู มากสาหรับครแู ละเด็ก การเรียกเดก็ ตอบหรือยกมือ
ผ่านคอมพิวเตอร์ หรือสังเกตวา่ เด็กกาลงั เบื่อเปน็ เรอื่ งยากมากสาหรบั ครฝู รั่ง เดก็ เองก็มีความเศรา้ ที่
ไม่ได้มีปฏิสัมพนั ธ์กบั เพ่ือน การทางานกลมุ่ การปรึกษากนั การเปิดเพลงเต้นระหว่าง ทางานกลุม่ ใน
หอ้ งกลายเปน็ อดตี ทีน่ า่ เศรา้ แม้แต่การเชยี รเ์ พื่อนในทีมในการเล่นวิชาพละศึกษา ก็ไม่เกิดขึน้ ใน การ
เรียนออนไลน์
2. การเรียนออนไลน์เป็นเรื่อง “น่าเบ่อื และเครียด” สาหรบั ทุกคน ถ้าเราต้งั ต้นวา่ การไป
โรงเรยี นควร เปน็ เร่ืองสนกุ เรื่องนา่ เบ่ือท่เี กิดขน้ึ ของการเรียนออนไลนก์ ็คือ เมื่อเราต้องทาตามตาราง
การเรียน มเี วลาตาม คาบเรยี น มีเวลาพักเบรกท่ีเดก็ ไม่ได้พักจรงิ เพราะต้องตามงานท่ีทาไม่เสร็จ จน
เกดิ ความเครยี ด การคาดหวังให้ เดก็ เลก็ มวี นิ ยั ดนู าฬิกาเป็น ทางานส่งตามตารางเปน็ เร่ืองที่เปน็ ไป
แทบไม่ได้ ไมร่ วมกบั ทพี่ ่อแม่บางคนต้อง เสียเวลามากไปกับการชว่ ยเหลือลูกเรอ่ื งการเรียน ท้ังยังตอ้ ง
เตรยี มอาหารให้ลูก 3 มอื้ ทกุ วัน และอีก 2 เบรก ตามตารางโรงเรยี น
3. การเรยี นออนไลนเ์ ปน็ เรื่องของความพร้อมของครูการเรียนออนไลนเ์ ปน็ การวางแผนของ
ครทู ่จี ะ นาบทเรยี นมาประยกุ ตใ์ หส้ ามารถเรียนโดยที่ไม่มีปฏสิ ัมพนั ธ์ 1 ตอ่ 1 ได้ ครูต้องสรรหา
บทเรยี น คลปิ เอกสาร การสอนทเ่ี หมือนในห้องเรยี น หาอุปกรณจ์ รงิ ทดลองจริงให้ดู และต้องหา
บทเรียนเพิม่ เติมสาหรบั เรื่องที่ ทดแทนด้วยการทางานหน้าคอม ฯ ไม่ได้ ครตู ้องพร้อมมาก ๆ
4. การเรียนออนไลน์เป็นเรื่องของความพร้อมของเดก็ ความพรอ้ มของเด็กในท่ีน้ีคอื ความมี
วนิ ยั ความพร้อมด้านไอที ความกล้าแสดงออกและโตต้ อบในการถามคาถาม ซง่ึ มีความแตกต่างกัน
มากในเด็ก โรงเรียนไทยและโรงเรยี นฝรงั่ รวมถงึ ระดบั ความเครยี ดทีเ่ ด็กจะรับไดใ้ นเร่ืองการแข่งขัน
ในการเรียนออนไลน์ ของฝรง่ั เด็กจะมีการสือ่ สารกนั ตลอดเวลา ไม่มีการเปรียบเทยี บคะแนนกัน ไม่
กลัวเพื่อนลอก ไม่กลวั การแสดง ความคดิ เหน็ แลว้ เสียหนา้ หากเดก็ โรงเรยี นไทยไม่พร้อมกจ็ ะมีความ
เสี่ยงทจ่ี ะเกิดหายนะทางด้านจิตใจหาก ต้องมีการเรยี นออนไลนก์ ับระบบไทยทเ่ี ราคุ้นเคย
13
5. การเรยี นออนไลนไ์ มไ่ ด้มีประสทิ ธผิ ลการเรยี นรูอ้ ยา่ งที่เราเคยคาดหวงั (Over-rated)
ผมให้ Rating ประสทิ ธิผลของการเรยี นออนไลน์ของลกู คนเล็กท่ีเรยี นประถมไว้ท่ี 25-30 % และลกู
คนโตที่ 30-40 % ในขณะที่เดก็ ๆ ใหค้ ะแนนท่ี 10-20 % และเราม่ันใจว่า พอ่ แมท่ ม่ี ีมุมองด้าน
พฒั นาการเด็กก็คงจะมี Rating ท่ีไม่ต่างจากเรามากนกั สาเหตุหลกั ๆ ก็คือการเรียนรทู้ ี่ดี (ของ
หลกั สูตรฝร่ังไม่ใช่หลกั สตู รไทย) ในวยั นเ้ี ป็นการเรยี นเชงิ คิดวิเคราะห์ เชิงสร้างสรรค์ และเชิง
ปฏิสมั พนั ธ์ ซึ่งการเรยี นออนไลน์ทาได้น้อยมาก
6. การเรียนออนไลน์ไม่เหมาะกบั เดก็ ทุกคน เราคน้ พบวา่ การเรียนออนไลน์ (หรือการสอน
ออนไลน)์ ไมไ่ ดเ้ หมาะกับเด็กทกุ คน สาหรับเด็กบางคนทว่ี ินยั สงู และเป็นกลมุ่ ทเ่ี ก็บตัวกไ็ ม่น่ากงั วล แต่
เด็กบางคนทตี่ ้องการสังคม มีความสขุ กับการพบเพ่ือนและครจู ะเป็นเด็กท่ีได้รบั ผลกระทบในเชงิ ลบ
ที่สุด เรายังพบวา่ เดก็ ทไ่ี ม่ชอบออกกาลังกายจะไม่มที างบังคับตวั เองให้ทาตามวีดีโอท่คี รูส่งมาใหไ้ ด้
ครบ หรือ เด็กท่ีห่วงคะแนนก็จะไม่ มีทางซื่อสัตย์ในการสอบออนไลน์ได้ ฯลฯ นย่ี งั ไม่ได้พดู ถึงปัญหา
ความเหลอ่ื มล้าทางการศกึ ษาท่เี ด็กยากจนทีไ่ มส่ ามารถเข้าถงึ การมีคอมพวิ เตอร์สว่ นตัว การมหี ้อง
เงยี บ ๆ ไวเ้ รยี นคนเดยี ว หรือการเข้าถึงสัญญาณ อินเทอร์เน็ต ซงึ่ หมายความวา่ การแจกแทป็ เล็ตไม่ได้
ชว่ ยอะไรได้เลย ซึ่งเรื่องนเี้ รามปี ระเด็นให้ขบคดิ มากมาย ในเชิงนโยบาย ฺ
7. การเรียนออนไลนเ์ ป็นแค่ Second-best ไม่ใช่ First-best ถงึ จุดน้ี เราและนักวชิ าการ
บางกลุ่ม ประเมินกันมาผิดตลอดวา่ การเรยี นออนไลน์จะมาแทนการเรียนการสอนในทุกระดับ แมแ้ ต่
ในมหาวิทยาลัยท่ี น่าจะทาได้ง่ายท่สี ุด ประสบการณ์ 6 สปั ดาหส์ อนเราวา่ ตราบใดทโ่ี ครงสรา้ งและ
ปรัชญาการเรยี นรู้ของสังคม ยังไม่นิง่ การเรยี นออนไลน์ไม่สามารถเปน็ First-best ในประชากรเฉล่ีย
ไดเ้ ลย ซงึ่ หมายความว่า การเรยี นออนไลน์เป็นเพยี งเครื่องมือรองไม่ใชเ่ ครื่องมือหลักท่ีครูจะใชใ้ น
การศกึ ษา
8. การเรยี นออนไลนใ์ ห้ได้ผลเป็นเรือ่ งของการปรบั ปรชั ญาการสอนทีก่ ระทรวงศึกษาธิการ
ต้องคิดหนัก การให้เดก็ ไทยปรบั ไปใชร้ ะบบการเรยี นออนไลน์จะต้องคานงึ ถึงข้อ 1-7 ท่กี ลา่ วมา
ทั้งหมด ปรชั ญาการสอนของไทยเคยเป็นแบบ Traditional หรือแบบอนรุ ักษ์นยิ ม ทผ่ี ูส้ อนเป็นใหญ่
ในปฏิสัมพนั ธ์ของการเรียนรแู้ ละมกี ารเนน้ ผลสมั ฤทธท์ิ างการศกึ ษาทีค่ ะแนน หากใชป้ รัชญาการเรยี น
ออนไลนแ์ บบอนุรกั ษ์นิยม การเรียนการสอนจะงา่ ยมากสาหรับผสู้ อน แต่จะเป็นความน่าเบื่อและ
ความเครียดสาหรับเด็กและผู้ปกครอง เพราะหน้าที่ของคนจดั ทาระบบออนไลน์ก็จะเป็นเพียงแค่การ
หาครูดี ๆ มาสรา้ งสื่อการเรยี น และให้นกั เรยี นเปดิ คลิปดูตาม ตารางเรยี น สัง่ การบ้าน และสอบ
(ออนไลน์) หากเราจะทาเรอ่ื งนเ้ี ปน็ การเฉพาะหน้า เรากค็ งไม่ต้องเตรยี มการ อะไรมากไปกว่านม้ี าก
นัก ยกเว้นการจดั หา Facility ใหเ้ กดิ การเรียนออนไลน์ได้เท่าน้ัน
14
แนวคิดเก่ียวกับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
มีนกั การศึกษากลา่ วถงึ การวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงคณุ ภาพ ไว้ดังน้ี
เออ้ื มพร หลนิ เจริญ (2555 : 17) กล่าวว่า การวเิ คราะห์ข้อมูลเชงิ คุณภาพ เป็นวิธกี ารสร้าง
ขอ้ สรุปจากข้อมลู จา นวนหนึ่งซึง่ มักไม่ใช้สถติ ิในการ วิเคราะห์ ท้ังนก้ี ารวิเคราะห์ข้อมูลเชงิ คณุ ภาพ
อาจใช้กบั การวิจยั เชงิ ปรมิ าณที่ผูว้ ิจัยมีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เชงิ คุณภาพ เชน่ แบบสอบถาม
ปลายเปิด การสมั ภาษณ์ การสังเกต จดบนั ทกึ เทคนคิ วิเคราะหข์ ้อมลู เชิงคุณภาพทนี่ ักวจิ ยั นยิ มใช้
ไดแ้ ก่ การจาแนกหรือ การจดั กลุ่มข้อมูล การเปรยี บเทียบเหตุการณ์ การวิเคราะหส์ ว่ นประกอบ การ
วิเคราะหแ์ บบอุปนยั และ การวิเคราะห์ข้อมูลทีเ่ ป็นเอกสาร
วัชรนิ ทร์ อนิ ทพรหม. (2562 : 317-318 ) กล่าวถงึ วิธีวิเคราะห์ข้อมูลเชงิ คุณภาพ วิธกี าร
วเิ คราะหข์ ้อมูลเชงิ คุณภาพ ของจอนน์ ดูดอฟสก้ี (Dudovskiy, 2018) โมเซอร์ และครอสเจนส์
(Moser & Korstjens, 2017) นาเสนอไว้ดงั น้ี จอนน์ ดดู อฟสกี้ (Dudovskiy, 2018) กลา่ ววา่
ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพเป็นข้อมลู ที่ไม่ใช่ ตัวเลขเช่นการถอดเสยี งสัมภาษณ์ การบนั ทึก วิดีโอภาพและ
เอกสารต่าง ๆ ดังน้ันวิธกี ารวเิ คราะห์ ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพสามารถแบ่งได้ 5 ประเภท ดังต่อไปน้ี
1. การวิเคราะหเ์ นื้อหา (Content analysis) เปน็ กระบวนการจัดหมวดหมู่ของขอ้ มลู
เปน็ การวิเคราะห์ข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการส่ือสาร ของมนุษยเ์ ช่น เอกสาร การพดู หรือการสื่อสาร ภาพถา่ ย
หรอื สญั ลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ท่ีไม่ใช่ภาษาพดู
2. การวิเคราะห์เชงิ บรรยาย (Narrative analysis) วธิ ีการน้ีเกย่ี วขอ้ งกับการกาหนด รูปแบบ
ในการนาเสนอเร่ืองราวใหมท่ ่ีคานงึ ถึง บรบิ ทในแต่ละกรณีและประสบการณ์ของผใู้ ห้ ข้อมลู สาคัญ
แตล่ ะรายท่ีแตกต่างกัน หรอื โดยกลา่ วอีกนยั หนึ่งเป็นการวิเคราะห์เนื้อหาแลว้ นามาเรียบเรยี งบรรยาย
เพอื่ นาเสนอหรือเลา่ เรื่องใหม่ อีกครง้ั จากข้อมลู ปฐมภูมโิ ดยนกั วิจยั
3. การวเิ คราะหข์ ้อคิดเห็น (Discourse analysis) เปน็ วธิ กี ารวิเคราะหก์ ารพูดคยุ และ
ข้อความท่เี ป็นลายลกั ษณ์อกั ษรทุกประเภทท่ี เกดิ ข้นึ ตามธรรมชาติ
4. กรอบการวิเคราะห์ (Framework analysis) เป็นแนวคิดของวิธีการวเิ คราะห์ข้อมลู
เชงิ คณุ ภาพขน้ั สงู ท่ปี ระกอบด้วยหลายขั้นตอน อาทิเช่นการทาความคุน้ เคยสรา้ งความเขา้ ใจ
ปรากฏการณ์ของนักวจิ ยั การระบกุ รอบแนวคดิ และข้นั ตอนเพื่อใชใ้ นการวเิ คราะห์ ได้แก่
การเขา้ รหัส การสร้างแผนภมู กิ ารสรา้ งแผนภาพ และการตีความ
5. ทฤษฎฐี านราก (Grounded theory) เปน็ วิธกี ารวิเคราะห์ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพที่เริม่ จาก
การวิเคราะห์กรณเี ดยี วเพ่ือสร้างทฤษฎีหลงั จากนั้น ได้มีการวจิ ยั ในกรณีอืน่ ๆ ท่ีคลา้ ยคลึงกนั เพิ่มเติม
เพอ่ื ทดสอบทฤษฎีหรือองค์ความร้ทู ีไ่ ด้นั้นมีความ ถูกต้องหรือไม่ หรือกลา่ วอีกนัยหนง่ึ คือ สามารถ
สนบั สนนุ การสรา้ งทฤษฎีขา้ งตน้ ไดห้ รอื ไมซ่ ึ่งผล การวิเคราะห์ข้อมลู จากการวิจยั ท่ีสอดคล้องกบั กรณี
อื่น ๆ นั้นสามารถยนื ยันหรือสอดคลอ้ งกนั จนนาไปสกู่ ารสรา้ งทฤษฎใี หม่ได้
15
สุภางค์ จนั ทวานิช (2547 : 31-33) กล่าวถงึ วิธกี ารตรวจสอบข้อมลู แบบสามเสา้
(Triangulation) ซ่งึ เป็นการตรวจสอบขอ้ มลู จากแหล่งข้อมูลที่แตกตา่ งกันเพ่อื ยืนยันความถูกต้องของ
ขอ้ มลู โดยวธิ ีการตรวจสอบสามเสา้ (Triangulation)
ดา้ นขอ้ มลู (Data) การตรวจสอบสามเส้าด้านขอ้ มูล (Data Triangulation) คอื การพิสูจน์ว่า
ข้อมลู ทผี่ วู้ จิ ยั ไดม้ านนั้ ถูกต้องหรือไมโ่ ดยมวี ธิ ีการตรวจสอบคือการสอบแหล่งทม่ี าของข้อมลู ไดแ้ ก่
การตรวจสอบเวลา วา่ ถา้ เวลาต่างกันข้อมลู จะตา่ งกันหรือเหมอื นกนั แหลง่ สถานที่ หมายถึง ถา้ ข้อมูล
ตา่ งสถานท่ีกนั จะเหมอื นกนั หรือต่างกัน และแหล่งบุคคล หมายถงึ ถ้าผใู้ ห้ข้อมูลเป็นบคุ คลท่ีแตกต่าง
กัน จะใหข้ ้อมูลเหมือนกันหรือต่างกันอยา่ งไร
ด้านทฤษฎี การตรวจสอบสามเสา้ ดา้ นทฤษฎี (Theory Triangulation) คือ การตรวจสอบ
ว่าถา้ ผู้วิจยั ใช้ทฤษฎีทแี่ ตกต่างกนั มาวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวเิ คราะห์จะแตกต่างกันหรือเหมือนกัน
อย่างไร
ด้านผู้วจิ ยั การตรวจสอบสามเส้าดา้ นผศู้ ึกษาวจิ ัย (Investigator Triangulation) คือการ
ตรวจสอบวา่ ผู้วิจัยที่แตกต่างกัน จะให้ข้อมลู หรือจะไดข้ ้อมูลหรอื ผลการวจิ ัยแตกตา่ งกันหรอื
เหมือนกนั อยา่ งไร
งานวจิ ยั ทีเ่ กี่ยวข้อง
ชานาญ เชากรี ตพิ งศ์ (2544) การวจิ ยั ครั้งนี้มวี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ระหว่างวธิ สี อนด้วยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ผา่ นเครือข่ายกับวธิ กี ารสอนปกติเรอ่ื ง
อิเลก็ ทรอนิกส์เบื้องตน้ กลุ่มตัวอย่างเป็นนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนเบตง “วรี ะราษฎร์
ประสาน” ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2554 จานวน 2 ห้องเรียนใชว้ ธิ สี ุ่มแบบกล่มุ เป็นกล่มุ ทดลอง
และกลมุ่ ควบคมุ กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัยได้แก่ บทเรียนคอมพิวเตอรผ์ า่ นเครือข่าย
เอกสารการสอน แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอรผ์ า่ นเครอื ข่าย แผนการจดั การเรียนรู้
ปกติ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติท่ใี ชว้ ิเคราะห์ข้อมลู ได้แก่ ร้อยละ คา่ เฉล่ยี ส่วน
เบ่ยี งเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบคา่ ที ผลการวิจยั ปรากฏวา่ (1) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ท่ีสอน
ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอรผ์ ่าน เครอื ขา่ ยสูงกว่าวิธีสอนปกติอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ิท่ีระดับ .05
โชติกา เรอื งแจ่ม (2548 : บทคดั ย่อ) ไดศ้ ึกษาการศึกษาเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
และเจตคตติ ่อวิชาฟสิ ิกส์ของนกั เรียนระหว่างการสอนโดยบทเรยี นออนไลน์ ผ่านเครือข่าย
อนิ เทอรเ์ นต็ กับการเรยี นปกติในชน้ั เรยี น วัตถปุ ระสงค์ คือ 1. เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรยี นรู้ผา่ น
เครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต เร่ือง แรง มวล และกฎการเคล่ือนที่ของนิวตัน ให้มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์
80/80 2. เพื่อศึกษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรยี นรู้ผ่านเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ เร่อื ง
มวล แรง และ กฎการเคล่ือนทขี่ องนิวตนั 3. เพื่อศึกษาเจตคติของนกั เรยี นต่อกจิ กรรมการเรียนรู้ผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เร่ือง มวล แรง และกฎการเคลื่อนท่ีของนวิ ตนั พบวา่ นักเรยี นทเี่ รียนโดย
บทเรยี น ออนไลน์ มคี า่ เฉลยี่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนและเจตคติต่อวิชาฟิสิกสส์ งู กวา่ นักเรียนทเ่ี รียน
แบบปกติในชั้นเรยี น และเมื่อวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนพหุคูณของท้ังสองกลุ่มพบวา่ ผลสมั ฤทธิ์
16
ทางการเรียนและ เจตคติต่อวิชาฟิสิกส์ของท้ังสองกลมุ่ ไม่มีความแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสาคัญท่รี ะดบั
.05 สรปุ ไดว้ ่า นักเรียนท่ีเรียนโดยใชบ้ ทเรยี นออนไลน์ผ่านเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตมีผลสมั ฤทธ์ิทางการ
เรียนและเจตคติตอ่ การเรียนวิชาฟิสิกสส์ งู กวา่ การเรยี นแบบปกติ เนื่องจากการเรียนแบบบทเรียน
ออนไลน์สามารถเรียนได้ทุกสถานท่ี ทุกเวลา มีแบบทดสอบทท่ี าใหน้ ักเรียนสามารถฝึก และทราบ
พัฒนาการของตนเอง รวมทงั้ สามารถสบื คน้ ข้อมลู จากเว็บอน่ื ๆ ไดท้ นั ที ด้วยเหตุนีจ้ งึ ทาใหน้ ักเรยี นที่
เรียนดว้ ย บทเรียนออนไลน์มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนวชิ าฟสิ ิกสส์ ูงกว่าการ
เรียนแบบปกติ และจากผลการวเิ คราะหค์ วามแปรปรวนพบวา่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนและเจตคตติ ่อ
วชิ าฟิสิกสข์ องทง้ั สองกลุม่ ไม่มคี วามแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ที่ระดบั .05 แสดงใหเ้ ห็นว่าบทเรยี น
ออนไลน์ สามารถนามาใชท้ ดแทนการเรียนรูจ้ ากผสู้ อนโดยตรงได้ จึงเห็นว่าส่ือบทเรียนออนไลน์ผ่าน
เครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ต สามารถนามาใช้แก้ปัญหาในการขาดแคลนครูฟสิ กิ สไ์ ด้ระดับหนึง่
สมคั รสมร ภกั ดีเทวา (2553 : บทคัดย่อ) ทศ่ี ึกษาวจิ ยั เรือ่ งการพฒั นารูปแบบการออกแบบ
การเรียนการสอนอเี ลริ ์นนิง่ ระดบั บัณฑติ ศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซ่งึ ผลการศกึ ษา
พบว่า รูปแบบการออกแบบการเรียนการสอนอเี ลริ ์นน่ิง ประกอบด้วย 9 ขนั้ ตอน ขน้ั ตอนท่ี 1 กาหนด
อดุ มการณ์ ได้แก่ ปรัชญา วิสัยทัศน์ ข้นั ตอนท่ี 2 ศกึ ษาสภาพปจั จุบนั ปญั หาและความต้องการ
ในการเรยี นการสอนอเี ลิรน์ นงิ่ ขน้ั ตอนที่ 3 วเิ คราะห์ผูเ้ รียน ข้ันตอนท่ี 4 วเิ คราะห์บรบิ ท
และสภาพแวดล้อม ขนั้ ตอนท่ี 5 วเิ คราะหเ์ นื้อหาและประสบการณ์ ข้ันตอนท่ี 6 การออกแบบ
การเรียนการสอนโดยวธิ ีการเรยี นรูร้ ่วมกันและการเรียนรู้ แบบโครงงาน ขน้ั ตอนที่ 7 พัฒนา
ชดุ การเรยี นอีเลิรน์ นง่ิ และกิจกรรมสัมมนาปฏิสมั พันธ์บนเว็บ ข้นั ตอนที่ 8 ดาเนนิ การเรียนการสอน
อเี ลิร์นนิ่งและกจิ กรรมสัมมนาปฏิสัมพันธ์บนเวบ็ ข้นั ตอนที่ 9 ประเมนิ การเรียนการสอนอีเลริ ์นน่ิง
กวิตา ปานล้าเลศิ และณมน จรี ังสุวรรณ (2556 : 744-752) ท่ีศึกษาวจิ ัยเรอ่ื งการออกแบบ
รปู แบบการเรียนการสอนผ่านเอ็มเลริ น์ น่งิ ด้วยวิธีการเรยี นรู้ร่วมกันเพ่ือพฒั นาทักษะการทางาน
ร่วมกันทีผ่ ลการศึกษา พบวา่ รูปแบบการเรยี นการสอน ผา่ นเอ็มเลิร์นน่งิ ด้วยวธิ กี ารเรยี นรูร้ ว่ มกัน
ประกอบไปด้วย 4 องคป์ ระกอบ คอื 1) การวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน 2) การเตรียมการเรียน
การสอน 3) การจดั การเรยี นการสอน ซึ่งประกอบดว้ ย 2 ข้ันตอน 3.1) การเรยี นผ่านอุปกรณ์เคล่ือนท่ี
3.2) การเรียนในห้องเรยี น 4) การวัดและการประเมนิ ผล
สุคนธ์ทพิ ย์ สภุ าจันทร์ (2556 : บทคัดย่อ) การวจิ ยั ครงั้ นีเ้ ป็นการวจิ ยั เชิงทดลอง โดยมี
วตั ถุประสงคเ์ พ่ือ เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนโดยการสอนท่ีใช้ส่อื การสอน E-Book
และการสอนแบบปกติ กลมุ่ ตวั อย่างท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั คร้ังน้คี ือ นักศึกษาช้นั ปีที่ 2 สาขาคอมพวิ เตอร์
ธุรกิจ คณะวทิ ยาการจัดการ ท่ลี งทะเบียนเรยี นวชิ าการวิเคราะห์ข้อมลู ทางธุรกจิ ในภาคเรยี น
ที่ 2/2555 ทม่ี รี ะดบั ผลการเรียนตั้งแต่ 2.50 ข้นึ ไป จานวน 40 คนโดยใชก้ ารสมุ่ แบบเจาะจง
17
และทาการแบ่งกล่มุ เรียนเปน็ 2กลมุ่ คือ กลุ่มทดลอง จานวน 20 คน จะใช้รูปแบบการเรียนการสอน
แบบบรรยายและใชส้ ่ือ E-Book ประกอบ และกลุม่ ควบคุม จานวน 20 คน ทาการเรียนการสอนแบบ
ปกตโิ ดยจัดการเรยี นการสอนแบบบรรยายและใชส้ ่ือคอมพิวเตอร์ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
เร่ือง รายไดป้ ระชาชาติ การเรียนแบบออนไลนแ์ ละการเรยี นการสอนแบบปกติ ผลของการศึกษาวิจยั
พบวา่ ประสิทธิภาพของ.E-Book.เรอ่ื ง การวเิ คราะหข์ ้อมูลธุรกิจ มคี ่าเท่ากับ 80.25/86.85 (E1/E2)
ซึง่ สูงกวา่ เกณฑ์ท่ีกาหนดไวใ้ นสมมติฐาน คอื 80/80 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักศกึ ษาทงั้ สองกลมุ่
คือกลุ่มทม่ี ีการจัดการเรียนสอนแบบใช้สือ่ E-Book และกลุ่มที่มกี ารจดั การ เรยี นการสอนแบบปกติ
ผลการศกึ ษาวจิ ยั พบว่า ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของกลุ่มทดลองและกลมุ่ ควบคมุ มผี ลการทดสอบ
กลางภาค ท่คี วามแตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ 0.05 โดยกลุ่มที่มีการจัดการเรียนสอน
แบบใช้สื่อ E-Book มีคา่ เฉลี่ยของผลการสอบกลางภาคสงู กวา่ กลุ่มท่ีมีการจัดการเรียน การสอนแบบ
ปกตแิ ละผลการทดสอบปลายภาค มคี วามแตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั 0.05 โดยกลมุ่
ทมี่ กี ารจัดการเรียนสอนแบบใช้สอ่ื E-Book มีค่าเฉล่ยี ของผลการสอบกลางภาคสูงกว่ากลุ่ม กลุม่ ท่ีมี
การจดั การเรียนการสอนแบบปกติ
บทท่ี 3
วธิ ีดำเนินกำรวิจยั
งานวิจัย เรอ่ื ง การศึกษากระบวนการเรยี นรู้ในสภาวการณ์แพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา
สายพันธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษก สังกัดสานักงานเขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 32 ในครง้ั น้ี คณะผู้วิจยั ไดน้ าหลักการวิจยั เชงิ คุณภาพ ซง่ึ ได้นาเสนอตาม
หัวข้อตอ่ ไปน้ี
1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
2. รูปแบบการวจิ ัย
3. เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั
4. ขัน้ ตอนการวจิ ยั
5. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
6. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
7. สถติ ทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
ประชำกรและกลมุ่ ตัวอย่ำง
ประชาการท่ีใชใ้ นการวจิ ัยครงั้ น้ีใช้เปน็ ครูผูส้ อน นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1- 6 และระดับ
ประกาศนียบตั รวิชาชพี ชัน้ ปีที่ 1-3 โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก ในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา
2563 จานวน 147 คน
กลมุ่ ตัวอยา่ งทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัยครัง้ นี้ใชเ้ ปน็ ครผู ู้สอน นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1- 6 และระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันปีท่ี 1-3 โรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2563 จานวน 26 คน ทสี่ ุ่มกลุ่มตวั อยา่ งแบบโควตา้ (Quota Sampling)
รปู แบบในกำรวิจยั
งานวิจัย เร่ือง การศึกษากระบวนการเรียนรู้ในสภาวการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสาย
พนั ธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก สังกัดสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา
มัธยมศึกษา เขต 32 ในครัง้ นเ้ี ปน็ การวิจยั เชิงคุณภาพ
19
เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นกำรวิจัย
เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ัยเป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสมั ภาษณก์ ่ึง
โครงสร้าง มีขั้นตอนการสร้างดังน้ี
1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ างไกล
2. ประชมุ ผ้บู รหิ าร ครแู ละบุคลากร คณะวจิ ยั เพื่อร่วมระดมความคิด กาหนดกรอบ
เนอ้ื หา สาระสาคัญ และคาถามสาคญั เพ่ือจัดทาเป็นแบบสัมภาษณก์ ึ่งโครงสรา้ ง ทม่ี ีเน้ือหา
รายละเอียด ดังน้ี
2.1 รปู แบบการจดั การเรียนรู้
2.2 กระบวนการจัดการเรียนรู้
2.3 ความคิดเห็น
3. เสนอแบบสัมภาษณก์ ่ึงโครงสร้างต่อผ้เู ชี่ยวชาญ เพ่ือประเมินความเหมาะสม ความเป็นไป
ได้ และความเปน็ ประโยชน์ จานวน 3 ท่าน ดังรายนามตอ่ ไปนี้
3.1 นางอรทัย โรจน์สุกิจ คุณวุฒิ ค.ม.สาขาหลักสูตรและเทคโนโลยีการศึกษา
ตาแหน่งครูชานาญการพิเศษ สาขาวิชาภาษาไทย โรงเรียนละหานทรายรชั ดาภิเษก
3.2 นายพิสิทธิ์ น้อยพลี คุณวุฒิ ค.บ.สาขาวิชาภาษาอังกฤษ หัวหน้างานวิชาการ
ตาแหนง่ ครูชานาญการพิเศษ สาขาภาษาอังกฤษ โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภิเษก
3.3 นางสาวบุญเรือง อัมพาพัฒนะนันท์ คุณวุฒิ ค.บ.สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป
หวั หนา้ งานกระบวนการเรยี นรู้ ตาแหน่งครชู านาญการพิเศษ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรท์ วั่ ไป
4. นาคะแนนการประเมินความถูกต้องสมบูรณ์ของแบบสมั ภาษณ์กึ่งโครงสร้างตามความคิดเห็น
ของผ้เู ช่ยี วชาญมาหาค่าเฉลยี่ โดยมีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั น้ี
คะแนน 5 เหมาะสมมากทสี่ ุด
คะแนน 4 เหมาะสมมาก
คะแนน 3 เหมาะสมปานกลาง
คะแนน 2 เหมาะสมนอ้ ย
คะแนน 1 เหมาะสมนอ้ ยที่สดุ
คา่ เฉลย่ี คะแนนการประเมินจากผเู้ ช่ยี วชาญควรมคี ะแนนมากกว่า 3.00 ข้ึนไป
จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน จึงจะถือว่า แบบสัมภาณ์ก่ึงโครงสร้างทสี่ ร้างข้ึนมีความเหมาะสมสามารถ
นาไปใชส้ าหรับการจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณลักษณะสุจรติ ของนักเรียนได้ ผลการประเมนิ เทา่ กับ 3.75
ถอื ว่าเหมาะสม สามารถนาไปใชใ้ นการสัมภาษณ์ได้
20
1.6 นาแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสรา้ งไปใชจ้ ริงกับกลุ่มประชากร คือ ครูผ้สู อน จานวน 26
คน ในภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 โดยการสัมภาษณร์ ่วมกับการประชมุ ระดมสมองด้วย
กระบวนการ (Focus Group)
ข้นั ตอนกำรวิจัย
เครื่องมอื ในการวจิ ยั คร้ังนี้ประกอบด้วยคาถามสาหรบั การสมั ภาษณ์เชิงลึก (In–depth
Interview) และประเดน็ ในการสนทนากล่มุ (Focus–Group)
คาถามสาหรับการวิจัยเชิงลึก (In–depth Interview) มหี ลกั เกณฑก์ ารกาหนดคาถามมาจาก
วัตถุประสงค์การวจิ ัย การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิดในการวิจยั ซง่ึ ผู้วิจยั ได้กาหนดขอ้
คาถามเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากผูใ้ ห้ข้อมูลสาคัญ (Key Informant) จานวน 8 ขอ้ ได้แก่
1. ท่านดาเนินการสอนในรายวชิ าที่รบั ผดิ ชอบในชว่ งสถานการณ์โควิค (COVID-19) อย่างไร
เชน่ สอนโดยใช้ Line , Face book , Google Classroom
2. ทา่ นมกี ระบวนการจดั การเรยี นรูอ้ ยา่ งไร
3. ท่านมีความคิดเหน็ อย่างไรในการจดั การเรียนการสอนในช่วงสถานการณ์โควิด
3.1 ช่องทางการเรยี นรู้ (On–Line, On–Site, On-Air) มีความเหมาะสมหรือไม่
อยา่ งไร
3.2 นกั เรยี นและครูมีความพร้อมมากน้อยเพียงไร อยา่ งไร
3.3 รัฐควรส่งเสริมสนับสนุนในด้านอะไรบา้ ง..
3.4 การจัดการเรียนการสอน (On–Line, On–Site, On-Air) สามารถทดแทนการ
จดั กระบวนการเรยี นการสอนตามปกติไดห้ รือไม่ อย่างไร
. 3.5 หากมกี ารระบาดของโควิดตอ่ ไป ท่านคดิ ว่าควรดาเนนิ การจดั การเรียนการสอน
อยา่ งไร
4. ขอ้ ดขี องการจดั การเรยี นการสอนยคุ โควดิ
5. ข้อเสียของการจัดการเรียนการสอนยคุ โควิด
ประเด็นสาหรบั การสนทนากลุ่ม (Focus Group) มีหลกั เกณฑก์ ารกาหนดประเดน็ มาจาก
วตั ถปุ ระสงค์การวิจัย การทบทวนกรอบแนวคิดในการวิจัย ซึง่ ผวู้ ิจัยได้กาหนดขอ้ คาถามเพ่ือเกบ็
รวบรวมข้อมลู จากผใู้ ห้ข้อมลู สาคญั (Key Informant) จานวน 3 ประเดน็ ไดแ้ ก่
1. ขอ้ คน้ พบที่เป็นจดุ เดน่ /วธิ กี ารปฏิบตั ิทดี่ ี
2. ปัญหาและอุปสรรคท่ีพบ
3. ขอ้ เสนอแนะ
21
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
คณะผวู้ ิจัยไดด้ าเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยดาเนนิ การ 2 ขนั้ ตอน ดงั น้ี
1. ขน้ั ตอนเตรียมการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
1.1 ประชุมชี้แจงรายละเอียด แนวทางการดาเนินการโครงการวิจัยแก่คณะผู้ร่วมวิจัย
และผู้ประสานงาน
1.2 ประสานงานคณะครู หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ เพ่ือชี้แจงวัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั และวิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
1.3 เตรียมแบบสัมภาษณก์ ่ึงโครงสร้างท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
2. ขนั้ ตอนดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การวจิ ัยครัง้ นีด้ าเนนิ การเกบ็ ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณจ์ ากผู้เกีย่ วข้อง และการ
ประชุม การสัมภาษณ์ กลุ่มเป้าหมายท่ีใหข้ ้อมูล ไดแ้ ก่ ตัวแทนครู 26 คน จากการสมุ่ ตวั อยา่ งแบบสุม่
กลุม่ ตัวอย่างแบบโควตา้ (Quota Sampling) เพอ่ื เปน็ ตวั แทนของแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้และตาม
โครงสรา้ งหลกั สูตรของโรงเรียน แล้วใชว้ ิธีการสัมภาษณ์เชงิ ลึกโดยคณะผวู้ จิ ยั
กำรวิเครำะหข์ อ้ มลู
การวเิ คราะห์ข้อมลู จะใช้ระเบียบวิธีการวิเคราะห์ข้อมลู เชิงคุณภาพ ได้แก่ การวิเคราะห์
ข้อมูลสามเสา้ การวิเคราะหป์ ระเดน็ ปัญหา และการวเิ คราะห์เน้อื หา (Content Analysis)
ผู้วิจัยใช้วธิ กี ารตรวจสอบขอ้ มูลแบบสามเส้า (Triangulation) ซึ่งเป็นการตรวจสอบข้อมูล
จากแหลง่ ข้อมลู ท่ีแตกต่างกนั เพอื่ ยนื ยันความถูกต้องของข้อมลู (สุภางค์ จันทวานิช, 2547 : 31-33)
ซึ่งผู้วจิ ยั ได้ใชว้ ิธกี ารตรวจสอบสามเส้า (Triangulation)
ด้านขอ้ มูล (Data) การตรวจสอบสามเสา้ ด้านข้อมูล (Data Triangulation) คอื การพสิ ูจนว์ ่า
ข้อมลู ทผี่ ้วู จิ ัยไดม้ านัน้ ถูกต้องหรือไม่โดยมวี ธิ กี ารตรวจสอบคอื การสอบแหล่งที่มาของข้อมลู ไดแ้ ก่
การตรวจสอบเวลา ว่าถ้าเวลาต่างกนั ข้อมลู จะต่างกนั หรอื เหมือนกนั แหล่งสถานที่ หมายถึง ถ้าข้อมลู
ต่างสถานที่กนั จะเหมือนกันหรือต่างกนั และแหล่งบุคคล หมายถึง ถา้ ผู้ให้ข้อมลู เป็นบคุ คลท่ีแตกตา่ ง
กนั จะใหข้ ้อมูลเหมือนกนั หรือต่างกันอยา่ งไร
ด้านทฤษฎี การตรวจสอบสามเสา้ ด้านทฤษฎี (Theory Triangulation) คือ การตรวจสอบ
ว่าถ้าผู้วจิ ัยใช้ทฤษฎที แ่ี ตกต่างกนั มาวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวเิ คราะหจ์ ะแตกตา่ งกนั หรือเหมอื นกัน
อย่างไร
ดา้ นผวู้ จิ ัย การตรวจสอบสามเส้าด้านผ้ศู ึกษาวิจยั (Investigator Triangulation) คอื การ
ตรวจสอบวา่ ผวู้ ิจยั ท่ีแตกต่างกัน จะใหข้ ้อมลู หรือจะได้ข้อมูลหรือผลการวิจยั แตกตา่ งกนั หรือ
เหมือนกนั อย่างไร
การนาเสนอข้อมูล จะนาเสนอข้อมลู ในรูปแบบของการบรรยาย (Descriptive
Presentation) โดยให้รายละเอียดตามวัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย
22
สถติ ทิ ่ใี ช้ในกำรวิจยั
1. คา่ สถิติพ้นื ฐาน ไดแ้ ก่
ค่ารอ้ ยละ
P = คะแนนท่ีได้ x 100
คะแนนเต็ม
2 สถติ ิท่ีใช้ในการตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือ
คา่ เฉลี่ย (Mean) คานวณจากสตู ร (บุญชม ศรีสะอาด 2545 : 103)
X = X
n
เมอื่ X แทน คา่ เฉล่ีย
X แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมด
n แทน จานวนประชากร
เกณฑ์การแปลผลคะแนนความเหมาะสมของแบบสมั ภาษณ์กึ่งโครงสรา้ ง ดังน้ี (บญุ ชม
ศรีสะอาด 2545 : 103)
ค่าเฉล่ีย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดบั มากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดับ มาก
คา่ เฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดบั ปานกลาง
คา่ เฉลย่ี 1.51 – 2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดบั น้อย
คา่ เฉลย่ี 1.00 – 1.50 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดับ น้อยที่สุด
41
บทที่ 5
สรปุ อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ
การวิจยั คร้ังนีเ้ ป็นการวจิ ยั เร่ือง การศึกษากระบวนการเรียนรูใ้ นสภาวการณ์แพรร่ ะบาดของ
ไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก สังกัดสานกั งาน
เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 32 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพือ่ ศึกษากระบวนการจัดการ
เรยี นรแู้ ละความคิดเหน็ ของผู้เก่ียวข้องในสภาวการณ์แพร่ระบาดของไวรสั โคโรนาสายพันธใ์ หม่ 2019
(COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก 2) เพ่ือสารวจความคดิ เหน็ ของครผู ้สู อนเก่ียวกับ
กระบวนการจดั การเรียนร้ใู นสภาวการณแ์ พรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธใ์ หม่ 2019 (COVID-
19) ของโรงเรียนละหานทรายรชั ดาภเิ ษก กลุ่มตัวอยา่ งท่ใี ชใ้ นการวิจัยครัง้ นี้ใชเ้ ปน็ ครุผู้สอน นักเรยี น
ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1-6 และระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชัน้ ปีที่ 1-3 โรงเรยี นละหานทราย
รชั ดาภเิ ษก ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 จานวน 25 คน โดยการส่มุ กลมุ่ ตัวอย่างแบบโควตา้
(Quota Sampling) เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการวิจยั เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการรวบรวมข้อมูล ไดแ้ ก่ แบบสัมภาษณ์ก่ึง
โครงสรา้ ง การวิเคราะห์ข้อมลู เชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์เน้อื หา (Content Analysis)ผ้วู จิ ัยได้
นาเสนอการสรุปผลการวิจยั อภิปรายผล และข้อเสนอแนะตามลาดบั ดงั นี้
1. สรุปผลการวิจัย
2. อภิปรายผลการวิจยั
3. ข้อเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย
การวจิ ัย เร่ือง การศึกษากระบวนการเรยี นรู้ในสภาวการณแ์ พร่ระบาดของไวรัสโคโรนา
สายพันธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ที่
การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 32 สรุปผลการวจิ ัยไดด้ ังน้ี
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ผตู้ อบแบบสอบถามจานวนรวม
ทง้ั สน้ิ 25 คน คิดเป็นร้อยละ100.00 จาแนกตามเพศ เป็นเพศชายจานวน 9 คน คดิ เปน็ ร้อยละ
36.00 เพศหญิง จานวน 16 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 64.00 จาแนกตามระดบั ชัน้ ท่สี อน ระดับชั้น
มธั ยมศึกษาตอนตน้ จานวน 11 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 44.00 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
จานวน 12 คน คิดเปน็ ร้อยละ 48.00 และระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี จานวน 2 คน คดิ เป็น
รอ้ ยละ 8.00 จาแนกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ จานวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 20
คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ การงานอาชีพ สังคมศึกษาฯ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
42
คอมพิวเตอร์และพาณชิ ยกรรม จานวนกลุ่มสาระละ 2 คน คิดเปน็ กลมุ่ สาระ รอ้ ยละ 8 ศิลปะ จานวน
4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 16
ผลการศึกษากระบวนการจดั การเรยี นรู้และความคิดเหน็ เก่ียวกับการจัดกระบวนการเรียนรู้ใน
สถานการณแ์ พร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลเชงิ คุณภาพ
1. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา
สายพนั ธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภิเษก
ด้านชอ่ งทางการส่อื สารในการจดั การเรียนการสอน โรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
เปดิ การเรยี นการสอนโดยแบ่งกลุ่มนกั เรยี นออกเป็น 2 กลุ่ม กลุม่ A และ B สลับสัปดาหก์ นั มาเรียน
และรปู แบบ (Platform) หรอื เคร่อื งมอื ท่คี รูผู้สอนโรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภิเษกเลือกใช้ในการ
จดั การเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธใ์ หม่ 2019 (COVID-19)
เรยี งตามลาดบั ช่องทางที่ใช้มากทีส่ ดุ ได้แก่ Line Google Classroom Facebook คลิปวิดีโอ
Google Meet Google Form Zoom YouTube Google Doc Jam Board DLTV E-mail
และ Discord
ด้านรปู แบบกระบวนการจดั การเรียนรู้ ครผู สู้ อนโรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษกมี
กระบวนการจัดการเรยี นรู้ เปน็ 4 ขน้ั ตอน ได้แก่ ขั้นนา ขนั้ สอน ขน้ั สรปุ และข้นั ประเมนิ ผล โดยมี
แนวทางการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 3 รูปแบบ ดังนี้
รูปแบบท่ี 1 เรียนในช้นั เรยี นออนไลน์ (On-Line) พร้อมกับคนทเ่ี รียน (On-site) แต่มา
สอบหรอื ส่งงานใหค้ รูประเมินผลในวันทีเ่ รียนในห้องเรยี นจรงิ (On-site)
รูปแบบท่ี 2 เรยี นในช้ันเรยี นออนไลน์ (On-Line) พร้อมกับคนทเี่ รียน (On-site) สง่ งาน
เพือ่ ให้ครปู ระเมินผลหรอื สอบแบบออนไลน์
รูปแบบท่ี 3 แบบผสมนักเรยี นสามารถเลือกเรียนออนไลน์ (On-Line) พร้อมกบั คนท่ี
เรียน (On-site) หรือสามารถเรยี นจากสื่อ (On-Air) หรอื Classroom ท่คี รจู ดั ไว้ใหไ้ ด้ สง่ งานหรือทา
แบบทดสอบวัดและประเมนิ ผลตามจุดประสงค์
2. ความคิดเห็นเกยี่ วกับกระบวนการจัดการเรยี นร้ใู นสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
ไวรสั โคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก
ดา้ นความพร้อมของนักเรียนและครเู ก่ยี วกับกระบวนการจดั การเรียนรูใ้ นสถานการณก์ าร
แพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา สายพันธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทราย
รัชดาภิเษก ครมู คี วามพร้อมมาก เนื่องจากมีการอบรมให้ความรู้ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
แตข่ าดอุปกรณท์ เี่ พยี งพอ นักเรียนมคี วามความระดับปานกลางไม่ถึงรอ้ ยละ 80 บางส่วนยังขาด
อุปกรณ์และสญั ญาณอนิ เทอร์เน็ต
43
ด้านความเหมาะสมของช่องทางการเรียนรู้ (On-Line, On–Site, On-Air) มีความ
เหมาะสมตามช่วงวัยของนักเรียน เช่น การเรียนแบบ On–Line เหมาะกับนักเรยี นมัธยมศึกษา ตั้งแต่
ม.1-ม.6, การเรยี นแบบ On–Site เหมาะกบั โรงเรยี นท่มี ีพื้นทีค่ วบคุมความปลอดภยั และการเรียน
แบบ On-Air เหมาะกบั เรยี นที่บา้ น ซง่ึ เหมาะสมกับสถานการณท์ ม่ี ีการแพรร่ ะบาดของเช้อื โควดิ 19
ชว่ ยป้องกนั การแพรร่ ะบาดของเชือ้ โรคได้ และนักเรียนกย็ ังคงไดร้ ับการเรยี นการสอน แต่ยงั มี
ข้อจากัดบางประการกับนกั เรียนบางคนท่ีขาดความพร้อมทางด้านเทคโนโลยี เนอ่ื งจากนักเรียนบาง
คนยังขาดอุปกรณใ์ นการเรียน
ดา้ นรฐั ควรส่งเสริมสนบั สนนุ ในด้านใดบ้าง รัฐควรส่งเสริม 2 ด้าน คือ ดา้ นโรงเรียน
การสอนระบบออนไลนต์ ้องใชส้ ัญญาณอินเทอร์เนต็ ท่มี ีความเร็วสงู และมผี ้ใู ชเ้ ปน็ จานวนมาก
โรงเรยี นควรได้รบั การสนบั สนุนจากรัฐในเรื่องนี้ ดา้ นนักเรยี น นักเรียนบางคนท่ีไม่มีอุปกรณใ์ นการรบั
สารจากครูผู้สอน เชน่ โทรศพั ท์ หรือคอมพิวเตอร์ ขาดสญั ญาณอินเทอร์เน็ตขณะที่นักเรียนอยูท่ ี่บา้ น
รัฐควรสนับสนนุ อุปกรณ์และสญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ตใหก้ บั นักเรียน
ดา้ นประโยชน์ของการจัดการเรียนการสอน (On–Line, On-Air) สามารถทดแทนการจดั
กระบวนการเรียนการสอนตามปกติไดห้ รอื ไม่ สรปุ ความคดิ เห็นไดว้ ่า สามารถทดแทนได้แตไ่ ม่ใช่
ท้ังหมด การจดั การเรยี นการสอนบางเนอื้ หายงั จาเป็นต้องใหน้ กั เรียนมีปฏสิ ัมพันธ์กนั ในชั้นเรียน
ดา้ นความพรอ้ มในการจดั การเรียนการสอนหากมสี ถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโค
โรนา 2019 (COVID-19) ตอ่ ไป สรุปได้ว่า ครูมีความพรอ้ มในการสอน On-Line โดยพฒั นาสอื่
และช่องทางต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับนักเรียนยง่ิ ข้นึ
ดา้ นขอ้ ดขี องการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนาสาย
พนั ธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ครผู ู้สอนได้อภปิ รายข้อดีของการจดั การเรียนการสอนไวอ้ ยา่ ง
กว้างขวาง ซง่ึ สรุปได้ ดงั น้ี ช่วยลดการแพร่ระบาดของเชื้อโรค นกั เรยี นสามารถเรียนซา้ ได้
จนกวา่ จะเขา้ ใจ พฒั นานักเรียนและครใู นการใช้เทคโนโลยี ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
และลดภาระคา่ ใช้จา่ ยในการเดินทาง
ด้านขอ้ เสยี ของการจดั การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา
สายพันธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ครผู สู้ อนได้อภิปรายข้อดีของการจัดการเรยี นการสอนไว้อย่าง
กวา้ งขวาง ซึง่ สรปุ ได้ว่า นักเรียนไมม่ ีความพร้อมในดา้ นวนิ ัย สมาธิ สื่ออุปกรณ์ อนิ เทอร์เน็ต ไมเ่ หมาะ
กบั วชิ าปฏบิ ตั ิ และขาดทักษะแบบกลุ่ม
ด้านข้อคน้ พบทเ่ี ป็นจดุ เด่น/วิธีการปฏบิ ัตทิ ด่ี ี สรุปได้ดงั น้ี ครมู ีการตื่นตัวทางเทคโนโลยี
สามารถเพิ่มชอ่ งทางการพัฒนาส่ือการเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย นกั เรยี นสามารถใช้เทคโนโลยีในการ
เรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งไรข้ ีดจากัดด้านเวลาและสถานท่ี สะดวก ปลอดภัย ประหยัดค่าใช้จา่ ย
44
ด้านปัญหาและอุปสรรคที่พบ สรุปไดว้ ่าปัญหาอปุ สรรค ไดแ้ ก่ ด้านผู้เรียน ความพร้อม
ดา้ นสอื่ อุปกรณ์ อนิ เทอรเ์ นต็ ความรับผิดชอบ ความมีวนิ ยั ดา้ นผปู้ กครอง ขาดการควบคุมดแู ล
ตอ้ งไปทางาน ขาดทนุ ทรัพยใ์ นการจัดหาอุปกรณ์และอินเทอรเ์ นต็ ดา้ นครู ขาดปฏสิ ัมพนั ธก์ ับชนั้ เรียน
ขาดการควบคุมช้ันเรียนทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ ขาดความรู้ความเข้าใจในการเตรยี มบทเรียน ใช้เวลาเตรยี ม
นาน ไมค่ รอบคลุมเน้ือหา ด้านส่งิ แวดลอ้ ม มีเสียงรบกวนสมาธิขณะสอนออนไลน์ บรรยากาศในการ
เรียนไมเ่ หมาะสม
ด้านข้อเสนอแนะ ด้านรฐั ควรจัดสรรงบประมาณสนับสนนุ ให้นกั เรยี นมีอุปกรณ์และ
อนิ เทอร์เนต็ เรยี นได้อย่างเสมอภาค ด้านโรงเรยี น ควรปรับปรงุ ระบบอินเทอร์เน็ตใหเ้ ร็วแรงและท่ัวถึง
ด้านครู ควรเตรยี มความพร้อมในสถานการณ์ฉุกเฉนิ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนดว้ ยเทคโนโลยอี ยู่
เสมอ ด้านนักเรียน ควรมีวนิ ยั และความรบั ผิดชอบในการกากับตนเองในการเรียนได้
อภปิ รายผลการวิจัย
จากการการศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้และความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ในสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนละหานทรายรัชดาภิเษก
มปี ระเด็นซง่ึ ถอื วา่ เป็นข้อค้นพบจากการวิจยั ควรแกก่ ารจะนาอภิปรายผล ซึ่งผู้วิจัยขอเสนอการอภิปราย
ประเดน็ ตอ่ ไปนี้
1. กระบวนการจัดการเรยี นรูใ้ นสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา
สายพันธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรียนละหานทรายรัชดาภเิ ษก
ด้านชอ่ งทางการสอ่ื สารในการจดั การเรยี นการสอน โรงเรียนเปิดการเรยี นการสอน
โดยแบ่งกลุม่ นักเรียนออกเปน็ 2 กลมุ่ กล่มุ A และ B สลับสปั ดาหก์ นั มาเรียน และรูปแบบ
(Platform) หรือเครอ่ื งมอื ที่ครูผู้สอนเลือกใช้ในการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของไวรสั โคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) เรียงตามลาดับช่องทางที่ใช้มากทส่ี ดุ ไดแ้ ก่
Line Google Classroom Facebook คลปิ วดิ โี อ Google Meet Google Form Zoom
YouTube Google Doc Jam Board DLTV E-mail และ Discord ซึ่งสอดคลอ้ งกับท่ี
จักรกฤษณ์ โพดาพล (2563) กลา่ วถึง การเลอื กแพลตฟอร์มการจดั การเรียนการสอนในการจัดการ
เรยี นรอู้ อนไลน์สง่ิ สาคัญคือ “ระบบสือ่ สาร” ต้องมีความเข้าใจท่ตี รงกันระหว่าง “ผูส้ อนกบั ผเู้ รียน”
การเลือกใชแ้ พลตฟอร์มในการใชส้ อน จงึ เปน็ สิ่งสาคญั การเลอื กใชแ้ พลตฟอรม์ ใด ๆ ก็ตามจาเปน็ ตอ้ ง
มีการฝึกอบรมในการใช้งานให้ทงั้ ผสู้ อน และผู้เรยี น ใหส้ ามารถใช้งานคล่องและมีประสิทธภิ าพ
ด้านรูปแบบกระบวนการจดั การเรียนรู้ ครผู ้สู อนโรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภิเษกมี
กระบวนการจัดการเรยี นรู้ เป็น 4 ข้นั ตอน ได้แก่ ขั้นนา ขนั้ สอน ขนั้ สรุป และขั้นประเมินผล โดยมี
แนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ 3 รูปแบบ ดังนี้ รปู แบบท่ี 1 เรียนในช้ันเรียนออนไลน์ (On-Line)
45
พร้อมกับคนทเ่ี รยี น (On-site) แตม่ าสอบหรือสง่ งานให้ครปู ระเมินผลในวนั ท่เี รยี นในห้องเรียนจรงิ
(On-site) รปู แบบท่ี 2 เรยี นในชน้ั เรยี นออนไลน์ (On-Line) พรอ้ มกับคนทเ่ี รียน (On-site) สง่ งาน
เพ่ือใหค้ รูประเมนิ ผลหรอื สอบแบบออนไลน์ และรูปแบบท่ี 3 แบบผสมนกั เรียนสามารถเลือกเรยี น
ออนไลน์ (On-Line) พร้อมกับคนที่เรยี น (On-site) หรือสามารถเรียนจากสื่อ (On-Air) หรอื
Classroom ท่ีครูจัดไว้ให้ได้ สง่ งานหรือทาแบบทดสอบวัดและประเมินผลตามจุดประสงค์ ซง่ึ
สอดคลอ้ งกบั ที่สุมาลี สังขศ์ รี (2545) กลา่ วถงึ ลกั ษณะของการศกึ ษาทางไกล คือ 1) มกี ารเรียน-
การสอน การศึกษาทางไกลต้องอาศัยครู และอปุ กรณ์การสอนท่สี ามารถใชส้ อนนักเรยี นได้มากกวา่ 1
ห้องเรียน และได้ในหลายสถานที่ โดยมอี ปุ กรณช์ ว่ ยในการโต้ตอบ เช่น ไมโครโฟน กลอ้ งวีดที ัศน์ และ
จอภาพ เปน็ ตน้ 2) มีการถาม-ตอบ หากนกั เรยี นมีปัญหาข้อสงสัย อาจสามารถถามครไู ด้โดยผ่าน
โทรศพั ท์ หรอื ผ่านกล้องโทรศัพท์ หรอื ผ่านกล้องวีดที ัศน์ในระบบการประชุมทางไกล (Video
Conference) ในขณะทเี่ รยี น หรือส่งโทรสาร ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์ ไปถามได้ในภายหลัง หรอื ครู
อาจจะนดั เวลาเป็นการเฉพาะเพ่อื เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นซักถาม และ 3) มกี ารประเมินผล ผเู้ รียน
สามารถส่งการบ้านและการทดสอบได้ทางไปรษณยี ์ โทรสาร หรือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ แต่ท้ังนี้
รูปแบบและวิธีการประเมินผลจะต้องไดร้ บั การออกแบบเฉพาะ หรืออาจจะใชก้ ารประเมินผลใน
รปู แบบปกตใิ นห้องเรยี นผสมผสานกันไปกบั การเรียนทางไกล
2. ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั กระบวนการจัดการเรยี นรูใ้ นสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
ไวรัสโคโรนาสายพันธใ์ หม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรัชดาภเิ ษก
ดา้ นความพร้อมของนักเรยี นและครูเก่ยี วกับกระบวนการจดั การเรยี นรใู้ นสถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของไวรสั โคโรนา สายพันธใ์ หม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภเิ ษก
ครมู ีความพร้อมมาก เนอ่ื งจากมีการอบรมให้ความรใู้ นการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ แตข่ าด
อปุ กรณ์ที่เพยี งพอ นกั เรยี นมีความความระดับปานกลางไม่ถงึ รอ้ ยละ 80 บางสว่ นยังขาดอปุ กรณ์และ
สัญญาณอนิ เทอร์เน็ต ซง่ึ สอดคล้องกับท่ี จกั รกฤษณ์ โพดาพล (2563) กล่าวถึง อุปสรรคในการจดั การ
เรยี นรู้ออนไลน์ ปญั หาดา้ นเทคนิค ไมว่ ่าจะเป็นปญั หาเร่ืองไฟฟา้ ดับ คอมพวิ เตอร์มีปัญหา ระบบ
อินเทอร์เนต็ ลม่ ล้วนก่อให้เกิดผลกระทบในการจัดการเรียนการสอนออนไลนท์ ัง้ ส้ิน ความพร้อมของ
ผเู้ รยี น การขาดเครื่องไมเ้ คร่ืองมอื ในการเรยี น ขาดสญั ญาณอนิ เทอร์เนต็ ซึง่ ผู้เรยี นบางคนมปี ญั หา
อยู่ในสถานที่ห่างไกลความเจรญิ
ด้านความเหมาะสมของชอ่ งทางการเรยี นรู้ (On-Line, On–Site, On-Air) มีความ
เหมาะสมตามชว่ งวยั ของนักเรยี น เช่น การเรยี นแบบ On–Line เหมาะกบั นักเรยี นมธั ยมศกึ ษา ต้ังแต่
ม.1-ม.6, การเรยี นแบบ On–Site เหมาะกบั โรงเรยี นท่มี ีพื้นทค่ี วบคมุ ความปลอดภัย และการเรียน
แบบ On-Air เหมาะกบั เรยี นท่บี ้าน ซง่ึ เหมาะสมกับสถาณการณ์ที่มีการแพร่ระบาดของเชื้อโควดิ 19
ช่วยป้องกันการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื โรคได้ และนักเรยี นกย็ ังคงไดร้ ับการเรยี นการสอน แต่ยังมี
46
ข้อจากดั บางประการกับนักเรียนบางคนที่ขาดความพร้อมทางดา้ นเทคโนโลยี เนอ่ื งจากนักเรยี นบาง
คนยังขาดอปุ กรณ์ในการเรียน ซง่ึ สอดคล้องกับที่ จกั รกฤษณ์ โพดาพล (2563) กลา่ วถงึ อปุ สรรคใน
การจดั การเรียนรู้ออนไลน์ ความพร้อมของผู้เรียน การขาดเคร่ืองไม้เครื่องมือในการเรยี น ขาด
สัญญาณอนิ เทอร์เน็ต ซ่งึ ผ้เู รยี นบางคนมปี ญั หาอยใู่ นสถานทหี่ า่ งไกลความเจรญิ และสอดคลอ้ งกบั ท่ี
โชตกิ า เรืองแจม่ (2548 : บทคัดยอ่ ) ไดศ้ ึกษาการศึกษาเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
และเจตคตติ ่อวชิ าฟสิ ิกส์ของนกั เรยี นระหว่างการสอนโดยบทเรียนออนไลน์ ผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตกับการเรยี นปกติในชั้นเรียน พบว่า นักเรยี นทีเ่ รยี นโดยบทเรยี นออนไลน์ มีค่าเฉลีย่
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติตอ่ วชิ าฟิสิกส์สูงกว่านักเรียนท่เี รยี นแบบปกติในชนั้ เรยี น
ดา้ นรัฐควรส่งเสรมิ สนับสนนุ ในด้านใดบา้ ง รัฐควรสง่ เสรมิ 2 ดา้ น คอื ดา้ นโรงเรียน
การสอนระบบออนไลนต์ ้องใช้สญั ญาณอนิ เทอร์เน็ตทม่ี คี วามเรว็ สงู และมผี ู้ใช้เปน็ จานวนมาก
โรงเรยี นควรได้รับการสนบั สนุนจากรัฐในเรื่องน้ี ดา้ นนักเรียน นักเรียนบางคนที่ไม่มอี ปุ กรณ์ในการรบั
สารจากครูผสู้ อน เช่น โทรศพั ท์ หรอื คอมพวิ เตอร์ ขาดสญั ญาณอนิ เทอรเ์ น็ตขณะทีน่ ักเรียนอยทู่ ่บี ้าน
รฐั ควรสนับสนนุ อุปกรณ์และสัญญาณอินเทอร์เน็ตให้กบั นักเรียน สอดคล้องกับที่พริ ยิ ะ ผลพริ ุฬห์
(2563) กลา่ วว่า การเรียนออนไลน์ไม่เหมาะกบั เด็กทุกคน ปญั หาความเหลื่อมล้าทางการศึกษาท่เี ดก็
ยากจนทไี่ มส่ ามารถเขา้ ถึงการมคี อมพวิ เตอรส์ ว่ นตัว การมหี ้องเงยี บ ๆ ไว้เรียนคนเดยี ว หรอื การ
เข้าถงึ สัญญาณ อินเทอร์เน็ต ซง่ึ หมายความว่าการแจกแท็ปเลต็ ไมไ่ ด้ชว่ ยอะไรไดเ้ ลย ซ่ึงเร่ืองนีเ้ รามี
ประเด็นใหข้ บคิดมากมายในเชงิ นโยบาย
ดา้ นประโยชน์ของการจัดการเรยี นการสอน (On–Line, On-Air) สามารถทดแทนการ
จัดกระบวนการเรยี นการสอนตามปกติไดห้ รอื ไม่ สรุปความคิดเหน็ ได้วา่ สามารถทดแทนไดแ้ ต่ไม่ใช่
ท้งั หมด การจัดการเรียนการสอนบางเน้อื หายังจาเป็นต้องใหน้ กั เรียนมปี ฏิสัมพนั ธก์ ันในชน้ั เรียน
สอดคลอ้ งกบั ที่พิริยะ ผลพริ ุฬห์ (2563) กลา่ ววา่ การเรยี นออนไลนเ์ ป็นแค่ Second-best ไม่ใช่
First-best ถงึ จดุ น้ี เราและนักวิชาการบางกลุ่ม ประเมนิ กันมาผดิ ตลอดว่า การเรยี นออนไลน์จะมา
แทนการเรยี นการสอนในทกุ ระดับ แม้แตใ่ นมหาวทิ ยาลัยท่ีน่าจะทาได้งา่ ยท่สี ดุ ตราบใดทีโ่ ครงสร้าง
และปรชั ญาการเรยี นรู้ของสงั คม ยงั ไม่นงิ่ การเรียนออนไลน์ไมส่ ามารถเปน็ First-best ในประชากร
เฉล่ยี ไดเ้ ลย ซ่ึงหมายความวา่ การเรียนออนไลน์เป็นเพียงเครอ่ื งมือรองไม่ใชเ่ ครอื่ งมือหลักทีค่ รูจะใช้
ในการศึกษา
ดา้ นความพร้อมในการจดั การเรียนการสอนหากมีสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรัสโค
โรนา 2019 (COVID-19) ต่อไป สรปุ ได้วา่ ครูมคี วามพร้อมในการสอน On-Line โดยพัฒนาส่อื
และช่องทางต่าง ๆ ให้เหมาะสมกบั นักเรยี นยิ่งข้นึ สอดคล้องกบั ท่ีพิริยะ ผลพริ ุฬห์ (2563) กลา่ วว่า
การเรยี นออนไลน์เปน็ เรื่องของความพร้อมของครูการเรยี นออนไลนเ์ ปน็ การวางแผนของครู
47
ทจ่ี ะนาบทเรยี นมาประยกุ ตใ์ ห้สามารถเรียนโดยทไ่ี ม่มีปฏิสัมพนั ธ์ 1 ต่อ 1 ได้ ครตู ้องสรรหาบทเรียน
คลิป เอกสาร การสอนทเ่ี หมือนในหอ้ งเรยี น หาอปุ กรณ์จริง ทดลองจรงิ ให้ดู และต้องหาบทเรยี น
เพ่มิ เติมสาหรบั เรอ่ื งท่ที ดแทนด้วยการทางานหน้าคอม ฯ ไม่ได้ ครูต้องพร้อมมาก ๆ
ดา้ นขอ้ ดีของการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนาสาย
พนั ธใ์ หม่ 2019 (COVID-19) ครผู ู้สอนได้อภปิ รายข้อดีของการจัดการเรยี นการสอนไวอ้ ยา่ ง
กว้างขวาง ซง่ึ สรุปได้ ดงั น้ี ช่วยลดการแพรร่ ะบาดของเชื้อโรค นักเรยี นสามารถเรียนซ้าได้
จนกว่าจะเขา้ ใจ พฒั นานักเรียนและครใู นการใชเ้ ทคโนโลยี ส่งเสริมการเรียนรดู้ ้วยตนเอง
และลดภาระค่าใชจ้ ่ายในการเดินทาง ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ที่โชติกา เรอื งแจ่ม (2548 : บทคัดยอ่ ) ได้ศกึ ษา
การศกึ ษาเปรยี บเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น และเจตคติต่อวิชาฟสิ ิกสข์ องนักเรยี นระหว่างการสอน
โดยบทเรียนออนไลน์ ผา่ นเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ กับการเรยี นปกตใิ นชัน้ เรยี น สรปุ ไดว้ า่ นักเรยี นที่
เรียนโดยใชบ้ ทเรยี นออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติตอ่ การ
เรียนวชิ าฟสิ ิกส์สงู กวา่ การเรียนแบบปกติ เนื่องจากการเรยี นแบบบทเรียนออนไลนส์ ามารถเรียนได้ทุก
สถานที่ ทกุ เวลา มแี บบทดสอบทท่ี าให้นักเรยี นสามารถฝึก และทราบพัฒนาการของตนเอง รวมทั้ง
สามารถสบื ค้นข้อมลู จากเวบ็ อื่น ๆ ไดท้ ันที ด้วยเหตนุ ้ีจงึ ทาใหน้ กั เรียนทเี่ รยี นดว้ ย บทเรยี นออนไลนม์ ี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคตติ ่อการเรียนวชิ าฟิสกิ สส์ ูงกว่าการเรียนแบบปกติ
ด้านข้อเสียของการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของไวรัสโคโรนา
สายพนั ธ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ครผู ูส้ อนได้อภปิ รายข้อดขี องการจดั การเรียนการสอนไวอ้ ย่าง
กว้างขวาง ซึง่ สรปุ ไดว้ ่า นักเรียนไมม่ ีความพร้อมในด้านวนิ ยั สมาธิ สอื่ อุปกรณ์ อนิ เทอรเ์ น็ต ไมเ่ หมาะ
กบั วชิ าปฏบิ ตั ิ และขาดทักษะแบบกล่มุ สอดคลอ้ งกับท่ีพิรยิ ะ ผลพริ ุฬห์ (2563) กล่าววา่ การเรยี น
ออนไลนไ์ ม่เหมาะกับเด็กทุกคน เราค้นพบวา่ การเรียนออนไลน์ ไม่ได้เหมาะกับเด็กทุกคน สาหรบั เดก็
บางคนทวี่ ินยั สงู และเปน็ กลุ่มท่ีเกบ็ ตวั ก็ไม่นา่ กังวล แต่เดก็ บางคนที่ต้องการสังคม มีความสุขกบั การ
พบเพื่อนและครูจะเป็นเดก็ ท่ีไดร้ ับผลกระทบในเชงิ ลบทีส่ ุด เรายงั พบวา่ เด็กที่ไม่ชอบออกกาลงั กาย
จะไม่มที างบังคบั ตัวเองให้ทาตามวดี โี อทีค่ รสู ่งมาให้ได้ครบ หรอื เดก็ ท่ีห่วงคะแนนก็จะไม่มที างซ่ือสัตย์
ในการสอบออนไลนไ์ ด้
ด้านขอ้ คน้ พบทเ่ี ปน็ จุดเด่น/วธิ กี ารปฏบิ ตั ิทด่ี ี สรปุ ได้ดังนี้ ครมู ีการตนื่ ตวั ทางเทคโนโลยี
สามารถเพ่ิมชอ่ งทางการพัฒนาส่อื การเรยี นรู้ได้อยา่ งหลากหลาย นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยใี นการ
เรยี นรูไ้ ดอ้ ยา่ งไรข้ ีดจากัดด้านเวลาและสถานที่ สะดวก ปลอดภัย ประหยดั คา่ ใช้จา่ ย ซงึ่ สอดคล้องกบั
ทโ่ี ชตกิ า เรืองแจ่ม (2548 : บทคดั ย่อ) ได้ศกึ ษาการศกึ ษาเปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น และ
เจตคติต่อวิชาฟสิ ิกส์ของนักเรียนระหว่างการสอนโดยบทเรียนออนไลน์ ผา่ นเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ กับ
การเรียนปกติในชัน้ เรียน สรุปไดว้ า่ นกั เรยี นที่เรยี นโดยใช้บทเรียนออนไลนผ์ ่านเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็
มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนและเจตคตติ ่อการเรียนวิชาฟสิ ิกส์สูงกวา่ การเรียนแบบปกติ เนื่องจากการ
48
เรยี นแบบบทเรยี นออนไลน์สามารถเรยี นได้ทกุ สถานท่ี ทุกเวลา มแี บบทดสอบที่ทาให้นักเรยี น
สามารถฝกึ และทราบพัฒนาการของตนเอง รวมทงั้ สามารถสืบคน้ ข้อมลู จากเวบ็ อืน่ ๆ ไดท้ นั ที ด้วย
เหตนุ จ้ี งึ ทาใหน้ กั เรยี นท่เี รยี นดว้ ย บทเรียนออนไลน์มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและเจตคตติ ่อการเรยี น
วชิ าฟิสกิ สส์ งู กวา่ การเรียนแบบปกติ
ด้านปัญหาและอุปสรรคที่พบ สรุปได้ว่าปญั หาอุปสรรค ได้แก่ ด้านผเู้ รียน ความพร้อม
ดา้ นสื่ออปุ กรณ์ อินเทอร์เนต็ ความรบั ผิดชอบ ความมีวนิ ัย ด้านผปู้ กครอง ขาดการควบคุมดูแล
ต้องไปทางาน ขาดทนุ ทรพั ยใ์ นการจัดหาอุปกรณ์และอนิ เทอรเ์ นต็ ด้านครู ขาดปฏิสัมพนั ธก์ ับชนั้ เรยี น
ขาดการควบคุมชนั้ เรียนทีม่ ีประสิทธภิ าพ ขาดความรู้ความเขา้ ใจในการเตรียมบทเรียน ใชเ้ วลาเตรยี ม
นาน ไม่ครอบคลมุ เนื้อหา ดา้ นสิง่ แวดล้อม มีเสียงรบกวนสมาธิขณะสอนออนไลน์ บรรยากาศในการ
เรยี นไม่เหมาะสม สอดคล้องกับท่ีพิริยะ ผลพิรุฬห์ (2563) กล่าวว่า การเรยี นออนไลนเ์ ปน็ เรอ่ื ง “นา่
เบื่อและเครียด” สาหรับทุกคน เรอ่ื งนา่ เบ่ือท่ีเกิดข้ึนของการเรยี นออนไลนก์ ค็ ือ เมื่อเราต้องทาตาม
ตารางการเรยี น มีเวลาตาม คาบเรียน มเี วลาพักเบรกทีเ่ ด็กไม่ไดพ้ ักจริงเพราะต้องตามงานท่ีทาไม่
เสรจ็ จนเกิดความเครียด การคาดหวงั ให้ เดก็ เลก็ มีวินยั ดูนาฬิกาเปน็ ทางานส่งตามตารางเป็นเร่อื งท่ี
เปน็ ไปแทบไม่ได้ ไม่รวมกบั ที่พอ่ แมบ่ างคนตอ้ งเสียเวลามากไปกับการชว่ ยเหลอื ลกู เรื่องการเรยี น และ
สอดคลอ้ งกบั ที่จักรกฤษณ์ โพดาพล (2563) กล่าวถงึ อปุ สรรคในการจัดการเรยี นรอู้ อนไลน์สิ่งสาคัญ
คอื การผลิตสอ่ื เพื่อใชใ้ นการเรียนการสอน โดยเฉพาะการผลติ สื่อวิดีโอเพ่ือใชใ้ นการเรียนการสอนให้
เกิดความน่าสนใจ ท่ีอาจารย์ผ้สู อนโดยส่วนมากยังไม่มคี วามรแู้ ละความสามารถผลติ ส่ือเองได้
ขาดบคุ ลากรฝ่ายสนับสนนุ การจดั การเรียนการสอนออนไลน์ต้องมบี ุคลากรฝา่ ยสนบั สนุนด้าน
เทคโนโลยีไว้คอยสนบั สนุนอาจารย์ผ้สู อนที่ไม่ค่อยชานาญในการใช้ รวมทงั้ ช่วยในการผลิตสอ่ื การสอน
ดว้ ย ความพรอ้ มของผู้เรยี น การขาดเคร่ืองไมเ้ ครอื่ งมอื ในการเรียน ขาดสัญญาณเน็ต ซึ่งผเู้ รยี นบาง
คนมี ปญั หาอยใู่ นสถานทีห่ ่างไกล
ดา้ นข้อเสนอแนะ ดา้ นรัฐควรจัดสรรงบประมาณสนบั สนนุ ใหน้ กั เรียนมีอปุ กรณ์และ
อนิ เทอรเ์ นต็ เรยี นได้อยา่ งเสมอภาค ด้านโรงเรียน ควรปรับปรงุ ระบบอนิ เทอร์เนต็ ให้เร็วแรงและท่วั ถงึ
ดา้ นครู ควรเตรยี มความพร้อมในสถานการณฉ์ ุกเฉินพัฒนาการจัดการเรียนการสอนดว้ ยเทคโนโลยีอยู่
เสมอ ด้านนักเรียน ควรมีวนิ ยั และความรบั ผดิ ชอบในการกากับตนเองในการเรยี นได้ สอดคลอ้ งกับท่ี
พิริยะ ผลพริ ุฬห์ (2563) กลา่ ววา่ การเรียนออนไลน์เป็นเรื่องการปรบั ตัวของครแู ละนักเรยี นครั้งใหญ่
การเรยี นออนไลนเ์ ปน็ เร่ืองของความพร้อมของครกู ารเรียนออนไลน์ ครตู อ้ งสรรหาบทเรียน คลิป
เอกสาร การสอนที่เหมือนในห้องเรียน หาอุปกรณจ์ ริง ทดลองจริงใหด้ ู และตอ้ งหาบทเรียนเพิ่มเติม
ครูตอ้ งพร้อมมาก ๆ การเรยี นออนไลนเ์ ปน็ เรอื่ งของความพรอ้ มของเด็ก ความพรอ้ มของเดก็ คอื
ความมวี ินัย ความพร้อมดา้ นไอที ความกลา้ แสดงออกและโตต้ อบในการถามคาถาม การเรียน
ออนไลน์ไม่เหมาะกบั เด็กทุกคน เดก็ ท่วี ินัยสูงและเป็นกลมุ่ ท่ีเกบ็ ตัวกไ็ มน่ ่ากังวล แตเ่ ดก็ ท่ีต้องการ
49
สงั คม มคี วามสุขกบั การพบเพ่ือนและครจู ะได้รบั ผลกระทบในเชิงลบทีส่ ดุ ปัญหาความเหล่ือมล้า
ทางการศึกษาทเ่ี ด็กยากจนทไี่ ม่สามารถเขา้ ถึงการมีคอมพวิ เตอร์ส่วนตัว การมีหอ้ งเงียบ ๆ ไว้เรยี นคน
เดียว หรือการเข้าถงึ สญั ญาณ อนิ เทอร์เน็ต ซ่ึงหมายความว่าการแจกแท็ปเลต็ ไม่ไดช้ ว่ ยอะไรได้เลย ซึ่ง
เร่อื งน้เี รามีประเด็นให้ขบคดิ มากมายในเชงิ นโยบาย การเรียนออนไลน์ใหไ้ ด้ผลเปน็ เรื่องของการปรบั
ปรัชญาการสอนที่กระทรวงศึกษาธิการต้องคิดหนา้ ที่ของคนจดั ทาระบบออนไลนก์ ็จะเป็นเพียงแคก่ าร
หาครูดี ๆ มาสรา้ งสอ่ื การเรียน และใหน้ ักเรยี นเปิดคลิปดตู าม ตารางเรียน สั่งการบา้ น และสอบ
(ออนไลน์) หากเราจะทาเรื่องน้เี ปน็ การเฉพาะหนา้ เราตอ้ งเตรยี มการจัดหา Facility ใหเ้ กิดการเรยี น
ออนไลนไ์ ด้เทา่ นั้น
ข้อเสนอแนะ
จากข้อค้นพบของการวจิ ยั เรื่อง การศึกษากระบวนการเรียนร้ใู นสภาวการณแ์ พรร่ ะบาดของ
ไวรัสโคโรนาสายพนั ธใ์ หม่ 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี นละหานทรายรชั ดาภิเษก สังกัดสานกั งาน
เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 32 ในคร้งั น้ี คณะผูว้ ิจัยมีข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้
1. ขอ้ เสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้
1.1 การวจิ ยั ในครงั้ นเี้ ป็นวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพและไม่ได้สอบถามความคิดเหน็ ของ
ผ้เู ก่ียวขอ้ งอื่น ๆ เช่น ผ้บู รหิ าร นักเรียน ผ้ปู กครอง การวจิ ัยจึงมีข้อจากดั ซึ่งต้องพัฒนาในครัง้ ต่อไป
1.2 ข้อจากัดด้านสถานการณ์แพร่ระบาดของเช้ือโรคอุบตั ิใหมท่ าให้แนวทาง
การศกึ ษาเก่ยี วกบั เร่ืองน้ียงั ไม่กวา้ งขวางนัก แต่สามารถเป็นแนวทางในการจัดการเรยี นการสอน
ทางไกลหรือการเรียนการสอนออนไลนใ์ นสถานการณ์อน่ื ๆ ท่อี าจจะเกดิ ขึ้นได้ในอนาคต
1.3 คณะผ้วู ิจัยควรศกึ ษาและทาความเข้าใจรูปแบบการวิจัยเชิงคณุ ภาพให้เกดิ ความ
เขา้ ใจ เพื่อให้สามารถวเิ คราะห์เนื้อหาได้อย่างถกู ต้อง
2. ขอ้ เสนอแนะในการวิจยั ครั้งต่อไป
2.1 ควรทาวจิ ัยเชิงปรมิ าณร่วมดว้ ย
2.2 ควรศึกษาความคิดเหน็ ของผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง เชน่ ผูบ้ รหิ าร นักเรียน ผู้ปกครอง
บรรณานกุ รม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2563). แนวทางการจดั การเรยี นการสอนของโรงเรียนสังกัดสานกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ปีการศึกษา 2563. (ออนไลน์) สบื ค้นจาก
http://www.secondary35.go.th/wp-content/uploads/2020/06/book34-63.
(เข้าถึงข้อมูล 25 กนั ยายน 2563).
กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2563). รปู แบบและแนวทางการบรหิ ารจดั การเรยี นการสอน
โรงเรียนในสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานในสถานการณ์
แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในวันเปดิ ภาคเรียน.
(ออนไลน์) สบื คน้ จาก http://www.sisaketedu1.go.th/63/ed1July.pdf. (เขา้ ถงึ ข้อมูล
25 กันยายน 2563).
กวิตา ปานล้าเลิศ และณมน จรี งั สวุ รรณ. (2556). “การออกแบบรปู แบบการเรียนการสอนผ่าน
เอม็ เลิร์นนง่ิ ดว้ ยวธิ กี าร เรียนรู้ร่วมกันเพือ่ พัฒนาทักษะการทางานรว่ มกนั ". การประชุม
วิชาการแหง่ ชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ครัง้ ที่ 10. 744-752.
กิดานันท์ มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีการศกึ ษาและนวตั กรรม. พมิ พค์ รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จกั รกฤษณ์ โพดาพล. (2563). “การจัดการเรียนรูอ้ อนไลน์ : วถี ที ่ีเปน็ ไปทางการศกึ ษา”.
แหลง่ สืบคน้ ออนไลน์ http://slc.mbu.ac.th/wp-content/uploads/. สบื ค้น
เมอ่ื วนั ที่ 2 ตุลาคม 2563.
โชติกา เรืองแจ่ม. (2548). การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและเจตคติ
ต่อวิชาฟิสกิ ส์ของนกั เรียนระหว่างการสอนโดยบทเรยี นออนไลนผ์ ่านเครอื ขา่ ย
อินเทอร์เนต็ กับการเรยี นปกติในช้นั เรยี น. (ออนไลน์). สบื ค้นจาก
http://www.riclib.nrct.go.th/abs/ab185813. (เขา้ ถึงข้อมลู 10 ตลุ าคม 2563).
ชานาญ เชากรี ตพิ งศ.์ (2544). เปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างวธิ สี อนด้วยบทเรียน
คอมพิวเตอรผ์ า่ นเครือข่ายกับวธิ ีการสอนปกติเรื่อง อิเลก็ ทรอนกิ ส์เบ้ืองตน้ . การประชุม
เสนอผลงานวิจัยระดบั บัณฑิตศึกษา ณ มหาวิทยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช. กรงุ เทพฯ.
บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2545). การวิจยั เบื้องตน้ . พิมพค์ รง้ั ท่ี7. กรงุ เทพฯ : สวุ รี ิยาสาสน์ .
ปัทมา นพรัตน.์ (2548). “e-learning ทางเลือกใหม่ของการศึกษา” ในวารสารกรมวิทยาศาสตร์
บรกิ าร, 48(167), 15-16.
51
พงศ์ประเสรฐิ หกสวุ รรณ. (2540). การพฒั นารปู แบบการสอนเสริมโดยใช้วิทยุทัศนป์ ฏสิ มั พันธ์
ในการสอนทางไกลของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช. วิทยานพิ นธ์ปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑติ
สาขาหลักสูตรและการสอน บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร.
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร.
พริ ิยะ ผลพิรุฬห์. (2563). เรยี น “ออนไลน์” กับการปดิ -เปิดโรงเรยี นในชว่ งโควิด-19.
(ออนไลน์) สืบคน้ จาก https://www.posttoday.com/finance-stock/columnist/
6219 35. (เขา้ ถึงข้อมลู 28 กันยายน 2563).
วัชรินทร์ อินทพรหม. (2561). การวจิ ยั ทางรัฐประศาสนศาสตร.์ พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ :
เมคมีเดยี คอร์ปอเรชนั .
วิจิตร ศรีสอ้าน. (2529). การศกึ ษาทางไกล Distance Education. กรงุ เทพฯ :
มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช.
สมัครสมร ภกั ดีเทวา. (2553). การพัฒนารปู แบบการออกแบบการเรยี นการสอนอีเลิร์นนิ่ง
ระดับบณั ฑิตศึกษา มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. วิทยานพิ นธ์ปรัชญาดุษฎบี ณั ฑิต
สาขาหลักสตู รและการสอน บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศิลปกร.
สุคนธ์ทพิ ย์ สุภาจนั ทร.์ (2557). “การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นดยการสอนท่ีใช้
ส่ือการสอน E-book และการสอนปกต”ิ . ในวารสารสถาบันวจิ ยั ญานสังวร, 5(1),1-10.
(ออนไลน์) สบื ค้นจาก https://www.mbu/yri/wp-content/uploads. (เขา้ ถึงข้อมลู 25
กันยายน 2563).
สุภางค์ จันทรานิช. (2547). วธิ กี ารวิจัยเชิงคณุ ภาพ. พมิ พค์ รง้ั ที่ 12. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั .
สุมาลี สงั ข์ศรี. (2545). การจัดการศกึ ษานอกระบบด้วยวธิ ีการศกึ ษาทางไกล เพ่อื การศกึ ษา
ตลอดชีวิต. นนทบรุ ี : โรงพมิ พม์ หาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช,
เออ้ื มพร หลินเจรญิ . (2555). “การวเิ คราะห์และการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู เชงิ คณุ ภาพ”
ในวารสารการวัดผลการศกึ ษา. 17(1), 17-29.
52
ภาคผนวก
53
ภาคผนวก ก
คาส่งั คณะทางาน
54
คำสง่ั โรงเรยี นละหำนทรำยรชั ดำภเิ ษก
ที่ ๑๔๕ /๒๕๖๓
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมกำรดำเนินงำนพัฒนำส่ือนวัตกรรมและวิจยั กำรแก้ปัญหำในชน้ั เรียน
ของโรงเรียนคุณภำพประจำตำบล ประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓
***************************************
ด้วยสถำนกำรณก์ ำรแพร่ระบำดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนำ ๒o๑๙ (COVID-๑๙)
กระทรวงศกึ ษำธิกำรได้ให้สถำนศกึ ษำในสังกัดและในกำกับ ปิดเรยี นดว้ ยเหตุพเิ ศษนี้ พรอ้ มทง้ั ใหส้ ่วนรำชกำร
ต้นสังกดั กำหนดแนวทำงกำรแกป้ ญั หำกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทไ่ี ม่สำมำรถเปิดเรยี นได้ตำมปกติ โรงเรยี น
ละหำนทรำยรชั ดำภเิ ษก จึงได้จัดรปู แบบกำรเรยี นกำรสอนทำงไกลกรณีท่ีไมส่ ำมำรถเปิดเรียนไดต้ ำมปกติ เพ่ือ
ควำมปลอดภัยของนักเรียน ผู้ปกครอง และบุคลำกร ทเ่ี ก่ียวข้อง โรงเรียนละหำนทรำยรัชดำภเิ ษก จงึ กำหนด
เปิดเรยี นปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๓ ในวนั ท่ี ๑ กรกฎำคม ๒๕๖๓ โดยกำหนดกำรจดั กำรเรยี นรู้ ๓ รปู แบบ ดังน้ี ๑.
กำรเรียนท่ีโรงเรยี น (ON -SITE) ๒.กำรเรียนผำ่ นทวี ี (ON-AIR) เรียนท่ีบำ้ นในระดับชั้นมัธยมศกึ ษำปีที่ ๑ -๓
เรียนโดยใชส้ อ่ื ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขนั้ พื้นฐำน DLTV ในระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีที่ ๔-๖ และ
๓. กำรเรียนผ่ำนอินเตอรเ์ น็ตและแอปพลเิ คชนั (ON - LINE)
ดงั น้ันเพือ่ ให้กำรดำเนนิ งำนพัฒนำส่ือนวัตกรรมและวิจยั กำรแก้ปญั หำในชั้นเรยี น ในช่วงทม่ี ีกำร
ระบำดของไวรัสโคโรนำ ๒o๑๙ (COVID-๑๙) ประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓ ของโรงเรยี นละหำนทรำย
รัชดำภิเษก ดำเนินงำนในคร้งั นี้เปน็ ไปดว้ ยควำมเรียบร้อย บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ วี่ ำงไวแ้ ละมปี ระสทิ ธภิ ำพ จึง
แต่งตง้ั คณะกรรมกำรดำเนนิ กำรดังน้ี
๑. คณะกรรมการอานวยการ ประธำนกรรมกำร
๑. นำยประเสรฐิ ชัย พิสำดรมั ย์ ผอู้ ำนวยกำรชำนำญกำรพิเศษ รองประธำนกรรมกำร
๒. นำงลักษณ์มี สงั คมศิลป์ รองผู้อำนวยกำรชำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๓. นำยสพุ จน์ ปำนใจนำม รองผูอ้ ำนวยกำรชำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๔. นำยอภชิ ำ วงคเ์ มธชนนั รองผู้อำนวยกำรชำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร
๕. นำยบุญเยยี่ ม วงศรษี ำ รองผอู้ ำนวยกำรชำนำญกำร กรรมกำร
๖. นำยเชำววิ ัฒน์ มหำโยชน์ธนิศร ครชู ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๗. นำงรัมภำ สดุ ำจันทร์ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร
๘. นำงปณรรญธร รัชนะปกจิ ครูชำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๙. นำยสรุ เชษฐ์ เสมยี นรมั ย์ ครูชำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๑๐. นำยวิโรจน์ นำมนำค ครูชำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร
๑๑. นำยอำนำจ ศิลปักษำ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ
55
๑๒. นำยมำนพ ทองคำ ครชู ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๑๓. นำยพสิ ิทธ์ิ น้อยพลี ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร
๑๔. นำยยุทธกำร เหมกลู ครชู ำนำญกำร กรรมกำร
๑๕. นำงสำวทักษิณำ จัตุกูล ครูชำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำรและเลขำนุกำร
๑๖. นำงสำวกฤษณำ ไสยำศรี ครูชำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผชู้ ่วยเลขำนกุ ำร
๑๗. นำงนติ ยำ คนชมุ ครชู ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผู้ชว่ ยเลขำนุกำร
๑๘. นำยเฉลิมพล คนชมุ ครชู ำนำญกำร กรรมกำรและผ้ชู ว่ ยเลขำนุกำร
มีหน้าที่ ประสำนงำนระหวำ่ งคณะกรรมกำรตำ่ ง ๆ ให้คำปรึกษำ ข้อเสนอแนะและอำนวยควำมสะดวกแก่
คณะกรรมกำร ให้ดำเนนิ กำรไปด้วยควำมเรยี บร้อยเกิดประสิทธิภำพและประสทิ ธผิ ล
๒. คณะกรรมการดาเนนิ งาน มีดังน้ี
๑. นำงลักษณ์มี สังคมศิลป์ รองผู้อำนวยกำรชำนำญกำรพิเศษ ประธำนกรรมกำร
๒. นำยพสิ ทิ ธิ์ น้อยพลี ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ รองประธำนกรรมกำร
๓. นำงรัสรินทร์ แพร่งสวุ รรณ์ ครูชำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๔. นำงสำวโกสมุ ประสงค์ทรพั ย์ ครชู ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๕. นำยบรรจง ประสงค์ทรพั ย์ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร
๖. นำงเบญจรตั น์ ใจภพ ครชู ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๗. นำงชณันภัสร์ ธรี เสรมิ พงศ์ ครชู ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๘. นำงสำวศศปิ ำรย์ณิชำ ปมุ สันเทยี ะ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร
๙. นำยสธุ รรม จีนแส ครชู ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๑o. นำยมำนพ ทองคำ ครูชำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๑๑. นำงนติ ยำ คนชมุ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร
๑๒. นำงสำวสุธภำ กลมนุกลู ครูชำนำญกำรพิเศษ กรรมกำร
๑๓. นำงสำวนิตยำ สำละ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำร
๑๔. นำยยุทธกำร เหมกลู ครชู ำนำญกำร กรรมกำร
๑๕ นำยเฉลมิ พล คนชมุ ครชู ำนำญกำร กรรมกำร
๑๖. นำงสำวบวรลักษณ์ กะกำรดี ครูชำนำญกำร กรรมกำร
๑๗. นำงสำววิรตั น์ สวำยพล ครู กรรมกำร
๑๘ นำยอำนุภำพ สกจิ ขวำ ครู กรรมกำร
๑๙. นำงสำวจำรีฎำ สทุ ธิ ครู กรรมกำร
๒o. นำงสำวทกั ษิณำ จตั ุกลู ครูชำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและเลขำนุกำร
๒๑. นำงสำวกฤษณำ ไสยำศรี ครูชำนำญกำรพเิ ศษ กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนกุ ำร
๒๒. นำงสำวกำญจนำ จำ่ แสนชืน่ ครูชำนำญกำร กรรมกำรและผชู้ ่วยเลขำนกุ ำร
๒๓. นำงสำวกนกพร เทพธี ครูชำนำญกำร กรรมกำรและผชู้ ่วยเลขำนุกำร
56
มหี น้าท่ี
๑. วำงแผนกำรดำเนินกำรวจิ ัย “กำรศึกษำกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ในสภำวกำรณ์แพร่ระบำดของ
ไวรัสโคโรนำสำยพันธ์ใหม่ ๒o๑๙ (COVID – ๑๙) ของโรงเรียนคุณภำพประจำตำบล สังกัด
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศกึ ษำมัธยมศกื ษำเขต ๓๒”
๒. วำงแผนกำรดำเนนิ กำรรวบรวมข้อมลู กำรวจิ ยั สร้ำงเคร่อื งมือวจิ ยั ติดตำมผลกำรดำเนนิ งำนวิจัย
๓. อำนวยควำมสะดวก สนับสนุนส่งเสริมให้คณะอนุกรรมกำรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ศึกษำค้นคว้ำ
สร้ำงส่ือนวัตกรรม ในกำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ในสภำวกำรณ์แพร่ระบำดของไวรัสโคโรนำสำย
พันธ์ใหม่ ๒o๑๙ (COVID – ๑๙) ในกำรเรียนที่โรงเรียน (ON -SITE) และกำรเรียนผ่ำน
อินเตอร์เน็ตและแอปพลิเคชนั (ON -LINE) และกำรกำกบั ดแู ลนักเรยี น ON-AIR ท่ีบำ้ น
๓. คณะอนุกรรมการกลุม่ สาระการเรยี นรู้
๓.๑ คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย มีดังนี้
๑. นำงปณรรญธร รชั นะปกจิ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ ประธำนอนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๒. นำงรสั รนิ ทร์ แพรง่ สุวรรณ์ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๓. นำงกัลยำณี นำมนำค ครูชำนำญกำรพิเศษ อนุกรรมกำร
อนกุ รรมกำร
๔. นำงอรทัย โรจน์สกุ จิ ครูชำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๕. นำงเพญ็ แข ไชยเทพ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ อนุกรรมกำร
อนกุ รรมกำร
๖. นำงกนยำณสริ ิ พลเดชำ ครูชำนำญกำร อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๗. นำยทวศี ักดิ์ ทวนั เวทย์ ครูชำนำญกำร อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำรและเลขำนกุ ำร
๘. นำยเอกชยั เมฆมนต์ ครูชำนำญกำร
๙. นำงสำวชญำดำ บตุ รสบื สำย ครชู ำนำญกำร
๑o. นำงสำวศศธิ ร สงั ฆะวรรณำ ครู
๑๑. นำงสำวชญำธร วงศอ์ รัญ ครู
๑๒. นำงสำวสุภนชิ โสกลุ ครผู ้ชู ว่ ย
๑๓. นำงสำวสรุ ัตน์วดี ศิลแสน พนกั งำนรำชกำร
๑๔. นำงสำววิลำวัลย์ โรจนส์ กุ ิจ ครชู ำนำญกำร
๓.๒ คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ มดี ังน้ี
๑. นำงสำวกฤษณำ ไสยำศรี ครูชำนำญกำรพเิ ศษ ประธำนอนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๒. นำยบุญมำ สุภศร ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๓. นำงธีรำพร เสมยี นรมั ย์ ครชู ำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๔. นำยไพฑูรย์ โจมพรม ครูชำนำญกำรพเิ ศษ อนุกรรมกำร
อนกุ รรมกำร
๕. นำงอำรที ิพย์ บญุ ศกั ดำพร ครูชำนำญกำรพิเศษ
๖. นำงสำวทักษิณำ จตั กุ ูล ครูชำนำญกำรพิเศษ
๗. นำงสำวไพวรรณ ศักด์ิสุระ ครูชำนำญกำรพิเศษ
๘. นำงสำวนติ ยำ สำละ ครูชำนำญกำรพิเศษ
57
๙. นำยเฉลมิ พล คนชุม ครชู ำนำญกำร อนกุ รรมกำร
๑o. นำยทวศี กั ดิ์ แพงเจรญิ ครูชำนำญกำร อนุกรรมกำร
๑๑. นำงสำวกนกพร เทพธี ครูชำนำญกำร อนุกรรมกำร
๑๒. นำงวงจนั ทร์ เพช็ รรตั น์ ครูชำนำญกำร อนกุ รรมกำร
๑๓. นำยประยูร บวั นำค ครูชำนำญกำร อนกุ รรมกำร
๑๔. นำงสำวกำญจนำ จำ่ แสนชืน่ ครชู ำนำญกำร อนกุ รรมกำร
๑๕. นำยวทิ วสั โชรัมย์ ครู อนุกรรมกำร
๑๖. นำงสำวทัศพร บุญมำพลิ ำ ครู อนกุ รรมกำร
๑๗. นำยอิสระ ชมุ ศรี ครู อนกุ รรมกำร
๑๘. นำงสำวนนั ทยำ วงศำ ครู อนกุ รรมกำร
๑๙. นำงนรินทร์ สุธรรม ครูชำนำญกำรพเิ ศษ อนุกรรมกำรและเลขำนกุ ำร
๓.๓ คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มดี ังน้ี
๑. นำยยุทธกำร เหมกูล ครชู ำนำญกำร ประธำนอนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๒. นำงรชั นี วรศิริ ครูชำนำญกำรพิเศษ อนุกรรมกำร
อนกุ รรมกำร
๓. นำยบรรจง ประสงคท์ รัพย์ ครูชำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๔. นำงสำวบญุ เรอื ง อมั พำพัฒนะนันท์ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๕. นำงอมลวรรณ สงั ข์ขำว ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ อนุกรรมกำร
อนุกรรมกำร
๖. นำงสำวนติ ิกำญจน์ สิริพนมศักด์ิ ครชู ำนำญกำรพิเศษ อนุกรรมกำร
อนกุ รรมกำร
๗. นำยวสวตั ต์ิ รัตนะสำนนท์สกุล ครูชำนำญกำรพเิ ศษ อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๘. นำงชณันภัสร์ ธีรเสริมพงศ์ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ อนุกรรมกำร
อนุกรรมกำร
๙. นำงธญั ธรณ์ วิสุทธ์ิเมธำกร ครูชำนำญกำรพิเศษ อนุกรรมกำร
อนกุ รรมกำร
๑o. นำงเรณู วงคป์ ินตำ ครูชำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๑๑. นำงนิตยำ คนชมุ ครชู ำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๑๒. นำงทพิ วรรณ ปำนสวำ่ ง ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ
๑๓. นำงสำวสุธภำ กลมนกุ ูล ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ
๑๔. นำยสุธรรม จนี แส ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ
๑๕. นำงสำวกำญจนำ ธรรมมีภักดิ์ ครชู ำนำญกำรพิเศษ
๑๖. นำยอธภิ ัทร ยอดนำงรอง ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ
๑๗. นำยก้องเกยี รตชิ ัย ทบวงศรี ครูชำนำญกำร
๑๘. นำงณัฐญำดำ ภรู่ ะยำ้ ครชู ำนำญกำร
๑๙. นำยวรี พนั ธ์ เสำเคหำ ครชู ำนำญกำร
๒o. นำยนคร สะเทนิ รมั ย์ ครูชำนำญกำร
๒๑. นำยวนั ชัย ก้อมน้อย ครูชำนำญกำร
๒๒. นำยสำมำรถ เกียรตินำโชค ครู
58
๒๓. นำงสำวสรุ รี ตั น์ อำนประโคน ครู อนกุ รรมกำร
๒๔. นำยทกั ษิณ หอมหวล ครู อนกุ รรมกำร
๒๕. นำงสำวสนุ วี ลั ย์ ไชยรัตน์ ครู อนุกรรมกำร
๒๖. นำยอำนภุ ำพ สกจิ ขวำ ครู อนกุ รรมกำร
๒๗. นำงมทั รี ศรวี งยำง ครู อนกุ รรมกำร
๒๘. นำงสำวสุภทั รำ เพชรเลศิ ครู อนกุ รรมกำร
๒๙. นำยวรี ะพงษ์ ปะวะระ ครู อนุกรรมกำร
๓o. นำยอดุ มศักด์ิ สำรวจวงค์ ครู อนุกรรมกำร
๓๑. นำยสำยวสนั ต์ วเิ ศษสตั ย์ ครู อนุกรรมกำร
๓๒. นำยปฐมรกั บวั ลอย ครู อนกุ รรมกำร
๓๓. นำงสำวจดิ ำพัชญ์ เกสรจันทร์ ครู อนุกรรมกำร
๓๔. นำงกำญจนำ คำวงษำ ครผู ู้ชว่ ย อนกุ รรมกำร
๓๕. นำยณัฐกำนต์ นำมนำค ครอู ัตรำจำ้ ง อนกุ รรมกำร
๓๖. นำยสุรเชษฐ์ เสมียนรัมย์ ครชู ำนำญกำรพิเศษ อนุกรรมกำรและเลขำนุกำร
๓๗. นำงเบญจรตั น์ ใจภพ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษอนกุ รรมกำรและผชู้ ่วยเลขำนกุ ำร
๓.๔ คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีดงั น้ี
๑. นำยเชำววิ ฒั น์ มหำโยชน์ธนิศร ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ ประธำนอนุกรรมกำร
๒. นำยบญุ ลือ จนั ทรอ์ ยู่จรงิ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ อนกุ รรมกำร
๓. นำงเพญ็ ศรี จนั ทรอ์ ยจู่ รงิ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ อนกุ รรมกำร
๔. นำยอภิเดช ผำสขุ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ อนกุ รรมกำร
๕. นำงไมตรี กลุ ลอยทำม ครชู ำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
๖. นำงสำวสุกญั ญำ หำรโกทำ ครูชำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
๗. นำงสำวชตุ ิมำ บำเพ็ญกลุ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ อนกุ รรมกำร
๘. นำงสำวศศปิ ำรย์ณิชำ ปุมสนั เทียะ ครชู ำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
๙. นำงสุวรรณำพร บำลโสง ครูชำนำญกำร อนุกรรมกำร
๑o. นำงสำวบวรลกั ษณ์ กะกำรดี ครูชำนำญกำร อนุกรรมกำร
๑๑. นำงศิรำณี แสงแดง ครูชำนำญกำร อนกุ รรมกำร
๑๒. นำงสำวพรรณี พรหมลักษณ์ ครชู ำนำญกำร อนุกรรมกำร
๑๓. นำงปยิ ะนชุ ยิม้ รัมย์ ครชู ำนำญกำร อนกุ รรมกำร
๑๔. นำงสำวศริ กิ ำนต์ สลี ำเหล่ียม ครู อนุกรรมกำร
๑๕. นำงเขมกิ ำ วงเวียน ครู อนกุ รรมกำร
๑๖. นำงสำวสมฤดี อยู่สมบูรณ์ ครู อนกุ รรมกำร
๑๗. นำงสำวจำรีฎำ สทุ ธิ ครู อนกุ รรมกำร
๑๘. นำยเด่นทวี บญุ ศรรี ัมย์ พนักงำนรำชกำร อนกุ รรมกำร
59
๑๙. นำงสำววภิ วำนี สรุ ิยนั ต์ พนักงำนรำชกำร อนกุ รรมกำร
๒o. นำงสำวปัทมำ เสกขำ ครอู ัตรำจ้ำง อนุกรรมกำร
๒๑. นำงสำวปฤษณำ สำลี ครูชำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำรและเลขำนกุ ำร
๓.๕ คณะอนกุ รรมการกลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา มีดงั น้ี ประธำนอนุกรรมกำร
อนุกรรมกำร
๑. นำยอำนำจ ศลิ ปักษำ ครูชำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๒. นำยสรุ พล วรศิริ ครูชำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๓. นำยพยัคฆพล พลอำจ ครู อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๔. นำยป้องยศ สุนทรำรกั ษ์ ครู อนุกรรมกำร
อนุกรรมกำร
๕. นำยจกั รำวุธ เปริบรัมย์ ครู อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำรและเลขำนกุ ำร
๖. นำยภำณุวัฒน์ เหมนวล ครู
ประธำนอนกุ รรมกำร
๗. นำยอทิ ธฤิ ทธิ์ ศรีดำพล พนกั งำนรำชกำร อนุกรรมกำร
อนุกรรมกำร
๘. นำยธีระพงษ์ ธงศรี พนักงำนรำชกำร อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๙. นำยขวญั ชยั พรมบบุ ผำ ครอู ตั รำจำ้ ง อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๑๐. นำยชยพล เก่ำแก่กลุ วงศ์ ครูอตั รำจำ้ ง อนุกรรมกำร
อนกุ รรมกำร
๑๑. นำยวฒุ ชิ ยั เทยี มเลศิ ครูอตั รำจำ้ ง อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำรและเลขำนกุ ำร
๑๒. นำงสำวโกสมุ ประสงค์ทรัพย์ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ
ประธำนอนุกรรมกำร
๓.๖ คณะอนุกรรมการกล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ มีดังนี้ อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๑. นำยมำนพ ทองคำ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ อนุกรรมกำร
๒. นำยสพุ จน์ วิชัด ครูชำนำญกำรพเิ ศษ
๓. นำยศักด์ศิ รี ดวงมำเกดิ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ
๔. นำยเดชำ กญั ญำโภค ครชู ำนำญกำรพิเศษ
๕. นำงสำวชลนำฏ ศรกี ิมแก้ว ครูชำนำญกำรพเิ ศษ
๖. นำงสำวรชั วิน โปรง่ สงู เนิน ครู
๗. นำงสำวลภสั รดำ สมำนสำรกิจ ครู
๘. นำยศุภนิมติ ฤำไชยสำ พนักงำนรำชกำร
๙. นำยธีรเมศร์ ธีรจรรยำรัตน์ พนักงำนรำชกำร
๑๐. นำยสชู้ วี ติ สขุ ประเสรฐิ พนักงำนรำชกำร
๑๑. นำยอำนำจ ตอบกุลกติ ิกร ครูชำนำญกำร
๓.๗ คณะอนุกรรมการกลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ มดี งั น้ี
๑. นำยวโิ รจน์ นำมนำค ครชู ำนำญกำรพิเศษ
๒. นำยสุเทพ สหวัฒนชำติ ครูชำนำญกำรพิเศษ
๓. นำยมนเฑียร วงค์ปนิ ตำ ครูชำนำญกำรพิเศษ
๔. นำงสำวเพญ็ พร ดำน้อย ครู
๕. นำยกศุ ล จันทรว์ นั ครู 60
๖. นำยคมกฤษณ์ เจียมทพิ ย์ ครู
๗. นำงจุฬำรตั น์ สงสกุ แก ครู อนกุ รรมกำร
๘. นำงสำวพชั รี โคแสงรกั ษำ ครู อนกุ รรมกำร
๙. นำงนภิ ำภรณ์ แยม้ ศรี ครู อนกุ รรมกำร
๑o. นำงสำววสิ ำร์กร กญั ญำโภค ครูอัตรำจ้ำง อนุกรรมกำร
๑๑. นำงส่องศรี เหล็กสี ครชู ำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๓.๘ คณะอนกุ รรมการกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ มดี ังน้ี อนุกรรมกำรและเลขำนกุ ำร
๑. นำงรัมภำ สดุ ำจันทร์ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ ประธำนอนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๒. นำงสุภำภรณ์ อภัยจิตร ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ อนุกรรมกำร
อนุกรรมกำร
๓. นำยพิสิทธิ์ นอ้ ยพลี ครูชำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
๔. นำงพนำวนั แดงชำติ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๕. นำยบญั ชำ พรหมโสฬส ครชู ำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๖. นำงสำวสภุ ำพร พวงประโคน ครชู ำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๗. นำงสำวพรเพ็ญ มำศวรรณำ ครูชำนำญกำร อนกุ รรมกำร
อนกุ รรมกำร
๘. นำยวีระพนั ธ์ บุญศกั ดำพร ครชู ำนำญกำร อนุกรรมกำร
อนุกรรมกำร
๙. นำงสำวสติ ำพชั ญ์ ไชยอำพรวัชร์ ครชู ำนำญกำร อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำรและเลขำนุกำร
๑o. นำงศุภำพิชญ์ วิงประโคน ครชู ำนำญกำร
ประธำนอนุกรรมกำร
๑๑. นำงสำวจุฑำทพิ ย์ เลิศลำ้ ครูชำนำญกำร อนุกรรมกำร
อนกุ รรมกำร
๑๒. นำยจำรญู สมจิต ครู อนุกรรมกำร
อนุกรรมกำร
๑๓. นำงสำวเสำวนยี ์ สิงหค์ ำ ครู อนุกรรมกำร
อนกุ รรมกำร
๑๔. นำงสำวกนกวรรณ เรอื งชำญ ครู
๑๕. นำงหทั ยำ มีพวงผล ครู
๑๖. นำงสำวสรำลี พูนลำภ ครู
๑๗. นำงสำวมำริสำ ปำหลำ ครู
๑๘. นำยธงชัย ดียง่ิ ครูชำนำญกำรพิเศษ
๓.๙ คณะอนกุ รรมการกลมุ่ งานพาณชิ ยกรรมและคอมพิวเตอร์ มีดังนี้
๑.นำยสุรเชษฐ์ เสมยี นรัมย์ ครูชำนำญกำรพิเศษ
๒.นำยสมพร รำชรักษ์ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ
๓. นำงชลธชิ ำ หลำบนอก ครูชำนำญกำรพิเศษ
๔. นำงจิรกำล สภุ ศร ครชู ำนำญกำรพิเศษ
๕. นำยสธุ รรม จีนแส ครชู ำนำญกำรพิเศษ
๖. นำงสำวกำญจนำ ธรรมมภี กั ดิ์ ครชู ำนำญกำรพิเศษ
๗. นำยอธภิ ทั ร ยอดนำงรอง ครูชำนำญกำรพิเศษ
๘. นำยวรี พนั ธ์ เสำเคหำ ครชู ำนำญกำร 61
๙. นำยนคร สะเทนิ รัมย์ ครูชำนำญกำร
๑o. นำยวันชัย กอ้ มน้อย ครูชำนำญกำร อนุกรรมกำร
๑๑. นำยวรี ะพงษ์ ปะวะระ ครู อนกุ รรมกำร
๑๒. นำยอดุ มศักด์ิ สำรวจวงค์ ครู อนกุ รรมกำร
๑๓. นำยสำยวสันต์ วิเศษสัตย์ ครู อนกุ รรมกำร
๑๔. นำยปฐมรกั บัวลอย ครู อนกุ รรมกำร
๑๕. นำงสำววิรตั น์ สวำยพล ครู อนกุ รรมกำร
๑๖. นำงสำวจดิ ำพชั ญ์ เกษรจนั ทร์ ครู อนกุ รรมกำร
๑๗. นำงสำวสุธภำ กลมนุกูล ครูชำนำญกำรพเิ ศษ อนกุ รรมกำร
อนุกรรมกำร
อนกุ รรมกำรและเลขำนกุ ำร
๓.๑o คณะอนกุ รรมการกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน มีดังนี้
๑. นำยสุรพล วรศิริ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ ประธำนอนกุ รรมกำร
๒. นำยบุญมำ สุภศร ครชู ำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
๓. นำยเชำวิวฒั น์ มหำโยชนธ์ นิศร ครูชำนำญกำรพิเศษ อนุกรรมกำร
๔. นำยบญุ ลือ จันทรอ์ ยู่จรงิ ครชู ำนำญกำรพิเศษ อนกุ รรมกำร
๕. นำงสำวบุญเรือง อัมพำพัฒนะนนั ท์ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ อนุกรรมกำร
๖. นำยอำนำจ ศลิ ปักษำ ครูชำนำญกำรพิเศษ อนุกรรมกำร
๗. นำงสำวปฤษณำ สำลี ครูชำนำญกำรพิเศษ อนุกรรมกำร
๘. นำยสุรเชษฐ์ เสมียนรมั ย์ ครูชำนำญกำรพิเศษ อนุกรรมกำร
๙. นำยมำนพ ทองคำ ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ อนกุ รรมกำร
๑๐. นำยประยรู บัวนำค ครชู ำนำญกำร อนุกรรมกำร
๑๑. นำงนิภำภรณ์ แย้มศรี ครู อนุกรรมกำร
๑๒. นำยอำนภุ ำพ สกิจขวำ ครู อนุกรรมกำร
๑๓. นำยอสิ ระ ชมุ ศรี ครู อนุกรรมกำร
๑๔. นำงสำวสมฤดี อยู่สมบรู ณ์ ครู อนุกรรมกำร
๑๕. นำงสภุ ำภรณ์ อภัยจิตร ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ อนุกรรมกำรและเลขำนุกำร
๑๖. นำยบรรจง ประสงคท์ รัพย์ ครูชำนำญกำรพิเศษอนกุ รรมกำรและผ้ชู ว่ ยเลขำนุกำร
มีหน้าที่
๑. กำหนดสัดส่วนสำระกำรเรียนรู้กลุ่มวิชำ และพัฒนำหลักสูตรกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ให้สอดคล้อง
ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศกึ ษำข้นั พนื้ ฐำน หลักสูตร ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง ๒๕๖o)
๒. ดำเนินกำรพฒั นำกำรจัดกระบวนกำรเรยี นรู้ทเี่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญที่สุดและกำรวัดและประเมนิ ผล
กำรเรยี นรรู้ ำยวชิ ำตำ่ งๆ เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ มูลทแ่ี สดงควำมสำมำรถท่แี ท้จริงของนักเรียน